รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) รงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) รขนส่งสนิ คา้ คลังสินคา้ หรือพ้นื ท่ีให้บริการกจิ กรรมโลจิสตกิ ส์ (ต่อ) สรปุ ประเดน็ สำคญั ทีไ่ ด้จากการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ มา รฟท. ได้มกี ารปรับโครงสร้างองค์กรโดยดงึ ไอซดี ี ลาดกระบงั กลบั ไปเป็นสว่ นหนง่ึ ของฝา่ ย นมมุ ของการบรกิ าร ไอซดี ี ลาดกระบงั นนั้ จะทำให้เกดิ ข้ันตอนการทำงานท่ซี บั ซ้อนข้ึนกวา่ เดมิ บ้าง รจดั ทำงบประมาณประจำปี โดยจากเดิมเปน็ การต้ังงบประมาณจากหนว่ ยโดยตรง เป็นการตอ้ ง ผา่ นฝ่ายบริการสนิ คา้ ตอ่ ไป แต่การปรับโครงสรา้ งไปอยใู่ ตฝ้ า่ ยบริการสนิ คา้ จะชว่ ยให้การปรบั โยก ด้ง่ายขึ้น ารนำเทคโนโลยมี าใช้ในส่วนของการควบคมุ การเดินรถเชน่ การสบั ประแจจงึ ต้องใช้บคุ ลากร กรรมนี้ ผ้รู บั สมั ปทานมีสทิ ธ์ิในการปรับปรุงตอ่ เรม่ิ หรือก่อสรา้ งเพิม่ เติมอาคารสถานทเี่ พื่อใหเ้ หมาะสมกบั การ ประสิทธภิ าพสูงสดุ ซ่งึ โดยหลักพื้นฐานของสัญญาเม่ือส้ินสุดการใช้งานจะต้องปรับสภาพอาคารสถานที่ สู่สภาพเดมิ ที่รับมอบพ้ืนท่ี อย่างไรกด็ ี รฟท. เห็นวา่ การปรับปรงุ ต่อเตมิ หลายๆ รายการนนั้ มีประโยชน์ การตอ้ งทบุ ทำลายหรือร้ือถอนน้ันย่อมไม่ก่อให้เกดิ ประโยชน์ต่อบุคคลใด รฟท. จงึ มีความยดื หย่นุ โดยผรู้ บั สมั ปทานสามารถส่งมอบพืน้ ทค่ี ืนไดต้ ามสภาพปจั จบุ ันโดยไมจ่ ำเป็นตอ้ งรือ้ ถอนสงิ่ ปลกู สร้าง หมด แต่ รฟท. จะตั้งคณะกรรมการเพื่อมาพิจารณาว่าสิง่ ใดสามารถส่งมอบคืนได้ สง่ิ ใดจำเปน็ จะต้องมี ส่งมอบคืน และสิ่งได้จำเป็นจะต้องร้ือถอนและซอ่ มบำรงุ ให้กลบั สสู่ ภาพเดมิ ก่อนส่งมอบพ้ืนท่คี ืนใหแ้ ก่ ญา ซึ่งจะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์กับทกุ ฝา่ ย แนวคดิ น้ีอาจนำมาประยุกต์ใช้กับสถานขี นสง่ สนิ ค้าของ ขบ. ได้ น ผรู้ บั สัมปทานพ้ืนทจี่ ะต้องรบั ผดิ ชอบคา่ ใชจ้ า่ ยทัง้ หมดทเี่ กิดข้ึนในพ้ืนทเ่ี ชน่ ของตนโดยไม่มี 8-37
โคร ตารางท่ี 8.2-1 สรุปการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานขี นส่งสินค้า ศูนย์การ ลำดับ หน่วยงาน รายชื่อและตำแหนง่ ของ ผูบ้ ริหารที่ทำการสัมภาษณเ์ ชงิ ลกึ 4 ศูนย์การขนสง่ ตู้ 1. เรอื เอกกานต์ เมนะรุจิ • หลกั การทำงานของ สนิ คา้ ทางรถไฟ ท่ี (รองผอู้ ำนวยการท่าเรือแหลมฉบงั ) ขึน้ เรือต่อไป และรับ ท่าเรือแหลมฉบงั 2. นางสาวนฐั อนันดา จินดาพงศเ์ จรญิ • สำหรบั โมเดลทางธรุ (SRTO) (ผอู้ ำนวยการกองแผนงาน) และอปุ กรณ์ขนถ่าย 3. นายอดุ ม ตนั ตเิ วชกลุ อย่างไรก็ดใี นสว่ นขอ (หัวหนา้ เจ้าหนา้ ท่ีปฏบิ ตั ิการขนส่ง ลกั ษณะของ Mana สินค้า) • ด้วยรปู แบบธุรกจิ ดัง ภาระงาน (3 ตำแหน สามารถปฏบิ ัติงานไ • ในส่วนของผู้รบั จา้ งเ จ่ายคา่ จา้ งแกผ่ รู้ บั จ ให้แก่กทท. ไดเ้ ป็นอ • ในสว่ นของเทคโนโล เช่ือมโยงขอ้ มลู กบั ไอ ลาดกระบัง เพ่อื ใหบ้ • อัตราค่าภาระยกขน • กทท. มีการจัดทำแผ การเฉพาะ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) รงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) รขนส่งสินค้า คลังสินค้า หรือพนื้ ที่ให้บรกิ ารกิจกรรมโลจิสตกิ ส์ (ต่อ) สรุปประเด็นสำคญั ที่ไดจ้ ากการสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ ง SRTO คือการยกขนตูส้ นิ คา้ ท่ขี นสง่ ทางรางมาจากไอซดี ี ลาดกระบัง ลงท่ีท่าเรือแหลมฉบงั เพอื่ ขนส่ง บสินคา้ จากกาบเรอื ลงสรู่ ถไฟเพ่ือขนสง่ ไปยังไอซีดี ลาดกระบัง รกิจของ SRTO การท่าเรอื แห่งประเทศไทยเป็นผู้ลงทุนโครงสรา้ งพน้ื ฐานและเครอื่ งมอื เครอ่ื งจักร ยสินคา้ หลกั ท้ังหมด รวมทั้งมีการบริหารกิจการเองโดยไม่เขา้ สูก่ ระบวนการใหเ้ อกชนร่วมลงทุน องการปฏิบตั กิ าร (Operation) กทท. ได้วา่ จา้ งให้บรษิ ัทเอกชนเป็นผู้ดำเนนิ งานให้ท้ังหมด ใน agement Contract หรือ ทม่ี กั เรยี กกนั ว่า Outsourcing งกลา่ วทำให้การท่าเรอื สามารถกำหนดอัตราบคุ ลากร (ตามมติ ครม.) ไดใ้ นจำนวนทีน่ ้อยเม่อื เทียบกบั น่ง 5 อตั รา) อย่างไรกด็ ี ด้วยปรมิ าณการขนส่งสนิ ค้าทางรางในปจั จุบนั บุคลากรของกทท. ยังคง ไดใ้ นระดบั หน่ึง แตห่ ากมปี ริมาณการขนส่งสินคา้ มากย่งิ ข้ึนอาจจำเปน็ ต้องเพิ่มอัตราพนักงาน งเอกชน (Outsourcing) ในกจิ กรรมการเคลอื่ นยา้ ยตู้คอนเทนเนอร์ มีพนักงงาน จำนวน 320 คน มีการ จา้ งเอกชนตามจำนวนครั้งของการยกขนส่งสินคา้ (Moves) ซง่ึ การบรหิ ารในลักษณะน้ีชว่ ยลดภาระ อยา่ งดี โดยเฉพาะหากได้ผรู้ บั จา้ งท่มี ีความสามารถและมีประสทิ ธิภาพในการทำงานที่ดี ลยี นอกจากระบบเอกสารซึ่งใช้คอมพิวเตอรเ์ ปน็ หลัก SRTO จะมรี ะบบการจองแคร่บรรทกุ ออนไลนท์ ่ี อซดี ี ลาดกระบงั และมรี ะบบระบบบริหารจดั การตู้คอนเทนเนอร์ ในลักษณะเชน่ เดยี วกบั ไอซดี ี บรกิ ารสนิ คา้ เท่ียวขึน้ (จาก SRTO ไป ไอซดี ี ลาดกระบงั ) นตู้คอนเทนเนอร์ขั้นต่ำ 376 บาทต่อตู้ แต่ไมเ่ กิน 835 บาทต่อตู้ ผนบรหิ ารความต่อเน่ือง (BCP) ในภาพรวมขององค์กร แต่ SRTO ไม่มีการจดั ทำ BCP ของหน่วยเป็น 8-38
โคร ตารางที่ 8.2-1 สรุปการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานขี นส่งสนิ ค้า ศูนย์การ ลำดบั หน่วยงาน รายชอ่ื และตำแหนง่ ของ ผบู้ ริหารท่ีทำการสมั ภาษณ์เชงิ ลกึ 5 หจก. พรของแม่ ผูจ้ ัดการสถานีขนสง่ สินค้าและ • ธุรกิจการสรา้ งและใ ขนส่ง (พเี คเอ็มท คลงั สินคา้ ของ PKM ทจ่ี งั หวัด จะมกี ารชะลอตัวก็ต รานสปอรต์ 2020) ขอนแก่น ตลาดแมว้ ่าจะมีการ • การขนส่งสินค้าโดย สินค้า ยังคงเปน็ รูปแ • สญั ญาเช่าใช้พื้นทจ่ี ะ สญั ญาเชา่ ของ PKM • ในประเดน็ ของประก นนั้ เปน็ ประโยชน์แล ประกันจะอยู่ในระด • โครงสรา้ งการบริหา มคี วามกระชับ • ในมุมมองต่อการทำ ผู้บริหารกเ็ ห็นว่าน่า ทางการ แต่อาศัยกา ของแตล่ ะบริษทั เป็น • สำหรับมาตรการเร่อื ความตกลงกบั ผเู้ ช่า ผูเ้ ช่ากแ็ ล้วแต่ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) รงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) รขนส่งสินค้า คลังสนิ ค้า หรือพน้ื ทใี่ ห้บรกิ ารกิจกรรมโลจิสตกิ ส์ (ต่อ) สรุปประเดน็ สำคัญทีไ่ ด้จากการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ ให้เช่าสถานีขนส่งสนิ ค้าในเมืองภูมิภาคยงั คงเป็นธุรกจิ ทม่ี คี วามตอ้ งการแม้สภาพเศรษฐกจิ ในปจั จบุ ัน ตาม อยา่ งไรกด็ ีการกำหนดราคาท่ีสอดคล้องกับราคาตลาดเป็นส่ิงสำคญั ซงึ่ หากราคาทส่ี ูงเกินกว่าราคา รใหบ้ ริการทีด่ กี ว่าเจา้ อ่ืน แต่อาจส่งผลให้ความนา่ สนใจของสถานลี ดลง ยมสี ถานขี นส่งสนิ ค้าที่ปลายทั้งสองข้างของการขนสง่ และใชส้ ถานีขนสง่ สินค้าเพ่ือรอบรวมแลกระจาย แบบการขนสง่ ที่สามารถลดต้นทนุ การขนส่งได้เปน็ อย่างดี จะต้องมีประเดน็ ท่ีครบถ้วนครอบคลุมและชดั เจน แต่บางคร้ังกต็ ้องมคี วามยดื หยุ่นด้วยเช่นกนั โดยใน M ไดม้ กี ารพดู ถึงความรบั ผิดชอบตา่ งๆ กนั ภัย PKM มีการทำประกันภยั โครงสร้างอาคารสถานี ซึ่งเห็นว่าการทำประกันภยั โครงสร้างอาคาร ละค้มุ ค่า โดยในขนาดของโครงการเชน่ สถานีขนสง่ สินคา้ ทจ่ี ังหวดั ขอนแก่น (20,000 ตร.ม.) เบี้ย ดับประมาณ 5-8 แสนบาทตอ่ ปี ารกจิ การสถานีขนส่งสินคา้ ของ PKM ไม่มคี วามซบั ซ้อนมากนัก โดยจะพยายามออกแบบโครงสร้างให้ ำแผน BCP และการบริหารความเสย่ี ง จรงิ อยู่ท่วี า่ การทำ BCP เป็นส่งิ ท่พี ึงกระทบและในมมุ มองของ าจะเป็นประโยชน์ อย่างไรก็ดีปัจจุบนั สถานีขนสง่ สินคา้ ของ PKM ยงั คงไม่มกี ารทำ BCP อย่างเป็น ารพูดคุยระหวา่ งผู้ให้บริการและผู้เช่าเป็นสำคญั เช่น ให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภยั ในการทำงาน (จป.) นผมู้ ีหนา้ ท่ปี ระสานระหว่างกนั องการควบคมุ โรคระบาดภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ได้มีการทำ าโดยเน้นท่ีการไม่ใหป้ กปิดขอ้ มูลหากเกิดการติดเชือ้ ภายในสถานไี มว่ ่าจะเป็นฝา่ ยของ PKM หรือ 8-39
โคร ตารางที่ 8.2-1 สรุปการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานขี นส่งสินค้า ศนู ย์การ ลำดับ หน่วยงาน รายชอ่ื และตำแหนง่ ของ ผู้บรหิ ารที่ทำการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ • เม่อื ถามถึงความเป็น ซ่ึงเปน็ เอกชนผดู้ ำเน ในการดำเนินการดัง สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) รงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) รขนส่งสินคา้ คลังสนิ ค้า หรือพืน้ ทใี่ ห้บริการกิจกรรมโลจิสตกิ ส์ (ต่อ) สรปุ ประเดน็ สำคัญทไี่ ด้จากการสมั ภาษณ์เชิงลกึ นไปไดใ้ นการร่วมลงทุนในกิจการสถานีขนสง่ สนิ ค้าของกรมการขนส่งทางบก ในมมุ มองของ PKM นินธุรกิจสถานีขนสง่ สนิ คา้ ให้เช่าในปจั จุบัน ก็มองว่าเป็นโอกาสอันดี และบรษิ ทั กไ็ มป่ ดิ โอกาส งกลา่ ว อยา่ งไรก็ดหี ากโครงการเกิดขน้ึ จริงจะเป็นจะตอ้ งพิจารณารายละเอียดอีกครง้ั 8-40
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ท่ี 8.3 การจดั ทำกรอบแนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี (Best Practice) ของการจัดการสถานขี นส่งสินคา้ ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัดการสถานีขนส่งสินค้าหลากหลายรูปแบบ ไดเ้ ขา้ มามีบทบาทสำคญั ต่อประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั ิการภายในสถานขี นส่งสนิ ค้า การบรรลวุ ัตถุประสงค์ ของการจดั การสถานีขนส่งสินค้า จำเป็นต้องมดี ัชนีช้ีวัดระดบั ของการจัดการ รวมถึงการระบุปจั จัย สนับสนุนการเคล่อื นย้ายสินคา้ ท่ที นั สมัยอย่างหลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมาการจัดการสถานีขนส่งสินค้ามีพัฒนาการอย่างต่อเน่ือง จากการปฏิบัติการ ด้วยแรงงานและการใช้เอกสาร ไปสู่การใช้เทคโนโลยเี สมอื นจรงิ และการจำลองสถานการณ์รูปแบบ ต่างๆ ซ่งึ ชว่ ยให้การจัดสรรและการใช้ทรัพยากรต่างๆ เป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ เช่น การ ประยุกต์ใช้แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์ช่วยหาจุดสมดุลในแต่ละกระบวนการ การใช้โปรแกรม สำเร็จรูปด้านการออกแบบและวางผังการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ภายในสถานี การรักษาความปลอดภัย ด้วยระบบติดตามไร้สาย หรือระบบจัดการคลังสินค้า เป็นต้น โดยเทคโนโลยีเหล่านี้ก็ยังเป็นส่วน สง่ เสรมิ และสนับสนุนการดำเนนิ งานของโซอ่ ปุ ทานด้วย การศึกษาดูงาน รวบรวมข้อมูลของศูนย์การขนส่งสินค้า คลังสินค้า หรือพื้นที่ให้บริการกิจกรรม โลจิสติกส์ที่กล่าวไปแล้วน้ัน พบว่าหลายแห่งได้ลงทุนในระบบควบคุมอัตโนมัติ โปรแกรมการ วางแผนทรพั ยากรองค์กร และระบบจัดการคลังสินค้า โดยมีเป้าหมายเพ่ือลดต้นทุนการปฏิบัตกิ าร ควบคุมระดับสนิ คา้ คงคลัง และเปน็ สว่ นช่วยส่งเสริมให้เกิดระบบอัตโนมตั ิขึน้ ในอนาคต ท่ีปรึกษาได้ทำการกำหนดกรอบแนวปฏิบัติที่ดีของการจัดการสถานีขนส่งสินค้า เพ่ือนำมาใช้เป็น แนวทางสำหรับการบริหารจัดการสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลท้ัง 3 แห่ง ในปัจจุบัน โดยกำหนดหัวข้อตามประเด็นหลักที่ได้ทำการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การจัดการพื้นที่ เทคโนโลยี แผนบรหิ ารความต่อเน่ือง โครงสร้างบุคลากร อัตราค่าบรกิ าร ดงั ตารางท่ี 8.3-1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 8-41
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ตารางท่ี 8.3-1 แนวทางท่ีดีท่ีจะนำมาใชส้ ำหรับการจัดการสถานขี นสง่ สินคา้ ทั้ง 3 แห่ง ในปัจจุบัน หนว่ ยงาน การจัดการ เทคโนโลยี ประเด็น โครงสร้าง อตั รา พืน้ ท่ี แผนบริหาร บุคลากร ค่าบริการ บรษิ ทั อนิ เตอร์ เอก็ ซเ์ พรส โลจสิ ติกส์ จำกัด (InterExpress Logistics) ความ บริษทั เอก-ชัย ดสี ทริบิวช่นั ซสิ เทม ต่อเนื่อง จำกดั (Tesco Lotus) สถานีบรรจแุ ละแยกสนิ คา้ กล่อง ลาดกระบงั (ICD ลาดกระบงั ) ศนู ย์ขนส่งสนิ ค้าทางรถไฟ (SRTO) - - - ทา่ เรือแหลมฉบัง หจก. พรของแม่ขนสง่ (พีเคเอ็มทราน - - - สปอรต์ 2020) - - - - • ประเด็นด้านการจัดการพน้ื ท่ี ที่สามารถนำมาถอดบทเรยี นเพื่อจดั ทำกรอบแนวปฏบิ ัติท่ดี ขี อง การจัดการสถานีขนส่งสินค้า พบว่าสถานประกอบการทุกแห่งยกเว้นสถานีบรรจุและแยก สินค้ากล่องลาดกระบัง (เน่ืองจากเป็นการให้สัมปทานเอกชนในการเช่าใช้พื้นท่ีเต็มรูปแบบบ) สามารถนำมาเป็นข้อมูลในการจัดทำแนวปฏิบัติท่ีดีได้ ประเด็นด้านการจัดการพ้ืนท่ีจะมุ่งเน้น ที่การวางผังและการใช้พื้นที่อย่างเหมาะสม เน่ืองจากส่งผลโดยตรงต่อผลิตภาพของสถานี ขนส่งสนิ ค้า ทง้ั นี้ จากการศึกษาดูงานพบว่าการจัดการพ้ืนท่ีจะมงุ่ เนน้ ท่ีเร่ืองการแยกสินคา้ ท่มี ี การหมุนเวียนเข้าออกจากพื้นท่ีปฏิบัตงิ าน การจัดชนั้ วางและชน้ั ลอย ความสามารถในการซ้อนกัน ของสินค้า การกำจัดฟังก์ชันที่ไม่ก่อให้เกิดการกระจาย (เช่น การมีสินค้าที่หน่วยบรรจุภัณฑ์ แบบเฉพาะไม่เป็นไปตามขนาดมาตรฐาน การมีพื้นที่บำรุงรักษา พ้ืนท่ีจอด และพ้ืนที่สำหรับ สถานีชาร์จไฟให้กับรถโฟล์คลิฟท์ขนาดใหญ่ และการมีพ้ืนที่สำนักงานขนาดใหญ่) การจัดผัง คลังสินค้าบริเวณทา่ เทียบยานพาหนะและทางเดนิ และการจัดผังคลังสินค้าบรเิ วณจุดรับและ สง่ สินค้า • สำหรับประเด็นด้านเทคโนโลยีที่สำคัญ ได้แก่ เทคโนโลยีที่เก่ียวข้องกับความปลอดภัยและ การรักษาความปลอดภัย (การป้องกันโจรกรรมท่ีเกิดขึ้นจากบุคคลภายในและภายนอก องค์กร) ระบบข้อมูลสารสนเทศในสถานีขนส่งสินค้า ระบบอัตโนมัติ ระบบการหยิบสินค้า (เช่น ระบบอุปกรณ์สั่งด้วยเสียง การหยิบตามสัญญาณไฟ การระบุด้วยความถ่ีวิทยุ การหยิบ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 8-42
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) สินค้า ณ จุดท่ีกำหนด หุ่นยนต์และยานพาหนะอัตโนมัติไร้คนขับ และการดำเนินการหยิบ ด้วยมนุษย์และระบบเอกสาร) การจัดทำโปรไฟลแ์ ละการจดั ช่องเกบ็ สินคา้ • ประเด็นแผนบริหารความต่อเนื่อง แบ่งออกเป็นแผนท่ีดำเนินการแยกในแต่ละเหตุการณ์ (บริษัท อินเตอร์ เอ็กซ์เพรส โลจิสติกส์ จำกัด) และแผนปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินท่ีแบ่งตาม ระดับความรุนแรง (SRTO) ตามท่ีได้กล่าวไปแล้ว ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทาง จดั ทำกรอบแนวปฏบิ ตั ิทดี่ ีของการจัดการสถานขี นส่งสินค้าได้ • ประเด็นด้านโครงสร้างบุคลากร มุ่งเน้นท่ีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับพนักงาน ของสถานีขนสง่ สนิ คา้ โดยจะต้องมีการจัดทำตัวชี้วัดด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และขวัญ กำลังใจ การประเมินการปฏิบัติงาน การมีแผนการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพ การให้ ความรู้และการฝึกอบรมทักษะใหม่ การมแี ผนการสนับสนุนและส่งเสรมิ ผ้มู ศี ักยภาพสงู ในด้าน ต่างๆ ทงั้ นี้ ตัวชี้วัดในกล่มุ การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์สว่ นใหญจ่ ะเป็นดัชนชี ว้ี ัดเชงิ คุณภาพ • ประเด็นอัตราค่าบริการ แบ่งเป็นอัตราค่าบริการสำหรับการขนถ่ายสินค้าขึ้นและลงจาก ยานพาหนะของสินค้าขาเข้า ท่ีคิดค่าบริการตามขนาดของตู้คอนเทนเนอร์ อัตราค่าบริการใน กระบวนการตรวจสอบสนิ คา้ ทคี่ ิดตามปริมาณกลอ่ ง หรอื จำนวนแท่นรองรบั สนิ ค้าท่ีใช้ (ขน้ึ อยู่ กับการทำข้อตกลงระหว่างผู้จัดส่ง) สำหรับอัตราค่าบริการในการฝากสินค้าจะคิดตามปริมาตร (ลกู บาศก์เมตร) 8.4 สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาดูงานและรวบรวมข้อมูลของศูนย์การขนส่งสินค้า คลังสินค้า หรือพ้ืนท่ีให้บริการ กิจกรรมโลจิสติกส์ จำนวน 4 แห่ง และการดูงานผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์อีก 1 แห่ง โดยมีประเด็น หลักท่ีได้ทำการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การจัดการพื้นท่ี เทคโนโลยี แผนบริหารความต่อเน่ือง โครงสร้างบุคลากร และอัตราค่าบริการ เพ่ือเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำแนวปฏิบัติที่ดีของการ จัดการสถานีขนส่งสินค้าตามท่ีได้กล่าวไปแล้ว พบว่าแนวปฏิบัติท่ีดีของการจัดการสถานีขนส่ง สินค้า จะต้องมุ่งเน้นความเป็นเลิศในการเติมเต็มสินค้าจากช่องทางท่ีหลากหลาย (Omni-Channel Order Fulfilment) มีพื้นท่ีรวมทั้งช่องจัดเก็บสินค้าเพียงพอกับสำหรับเติมเต็มคำส่ังซ้ือจากช่องทาง ที่หลากหลาย โดยเฉพาะเทคโนโลยีในกระบวนการหยิบสนิ คา้ และกระบวนการจัดวางสินค้าบนแท่น รองรับสินค้าท่ีมีความหลากหลายมากขึ้น ซึ่งจะต้องสัมพันธ์กับการจัดการพ้ืนที่อย่างเหมาะสม กล่าวได้ว่าสถานีขนส่งสินค้าจะต้องมีความยืดหยุ่นเชิงกายภาพมากข้ึน และต้องมีการจัดทำแผน บริหารความต่อเนื่องเพ่ือตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดอันจะนำไปส่กู ารเพ่ิมระดบั การบรกิ าร ต่อลูกคา้ ในระดับสงู สดุ ต่อไป สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 8-43
บทท่ี 9 การศกึ ษารวบรวมขอ้ มลู การบริหารจดั การศนู ย์กระจายสินค้า และคลงั สนิ คา้ ของผู้ประกอบการธุรกจิ e-Commerce
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) บทที่ 9 การศึกษารวบรวมข้อมลู การบริหารจดั การศูนย์กระจายสินค้า และคลงั สินคา้ ของผู้ประกอบการธุรกิจ e-Commerce 9.1 ทิศทางของธุรกิจ e-Commerce 9.1.1 ธรุ กิจ e-Commerce e-Commerce หรือ Electronic Commerce เป็นการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การทำธุรกิจโดยซื้อ ขายสินค้าหรือโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในอดีตเคยนิยมใช้ช่องทางผ่านสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ และวิทยุ สำหรับในปัจจุบันส่ือกลางในการใช้งานท่ีมากท่ีสุดคืออินเตอร์เน็ต โดยสามารถใช้ท้ัง ขอ้ ความเสียง ภาพ และคลิปวีดีโอในการประกอบธรุ กิจได้ การทำธุรกิจแบบ e-Commerce สามารถ เข้าถึงลูกค้าได้อย่างกว้างขวาง และช่วยลดค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดำเนินธุรกิจได้เป็นอย่างดี ธุรกิจ รูปแบบ e-Commerce การเติบโตของธุรกิจรูปแบบ e-Commerce อย่างมากในปัจจุบันเน่ืองจากการใช้ชีวิตประจำวัน กา้ วขบั เคล่อื นไปพรอ้ มกับการใช้ Social Media หรือ Internet ช่องทางต่างๆ ผู้คนสามารถเข้าถึง ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ได้ง่าย สะดวกรวดเร็ว และการใช้งาน Internet กลายเป็นอีกหนึ่งกิจวัตรประจำวัน ด้วยเหตุน้ีทำให้หลายธุรกิจหันมาทำ e-Commerce เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายมากข้ึน ธุรกิจ e-Commerce มขี ้อดหี ลายประการ เชน่ • ไมต่ อ้ งมหี น้าร้านเพราะเราสามารถแสดงสินค้าได้ผ่านรูปภาพ วีดีโอ ผา่ นทาง Social Media • ลดค่าใช้จ่ายในการจ้างพนักงาน สามารถแสดงข้อมูลสินค้าพร้อมระบบสนทนาอัตโนมัติได้ ทำให้สามารถรองรับลูกค้าทสี่ นใจไดต้ ลอด 24 ชม. • เพ่ิมโอกาสในการขาย โอกาสเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้อย่างหลากหลาย ทำให้สามารถค้าขายได้ ทงั้ ภายในประเทศ และต่างประเทศ • ลดคา่ ใช้จ่ายในการบริหารจัดการ • ทำการตลาดได้อย่างแม่นยำและสามารถวัดผลได้ จากการใช้เว็ปไซต์หรือ Social Media เก็บข้อมูลลูกค้าและผู้เยี่ยมชมได้ สามารถนำข้อมูลเหล่าน้ีไปต่อยอดทำการตลาดออนไลน์ ไดต้ รงกลมุ่ เป้าหมาย สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 9-1
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 9.1.2 ภาพรวมของธรุ กิจ e-Commerce (1) ภาพรวมของธรุ กจิ e-Commerce ของโลก จากการแพร่ระบาดของ Covid-19 ทัว่ โลกนำไปสู่ พฤตกิ รรมของผู้บริโภคที่เปล่ยี นแปลงไป โดยพบว่ามกี ารปรับเปลย่ี นไปใช้ e-Commerce มากข้ึน และเรว็ ข้นึ ผู้บรโิ ภคถูกบังคับให้คุ้นชนิ และต้องปรบั ตัวกับการซ้อื ของใชป้ ระจำวันและสนิ คา้ อื่น ๆ ผ่านทางออนไลน์แทน เม่ือต้องเผชิญหน้ากับการแพร่ระบาดของ COVID-19 ท่ีส่งผลให้เกิด การล็อกดาวน์ และการเว้นระยะห่างทางสังคม ซึ่งเม่ือการซ้ือของออนไลน์กลายเป็นกิจวัตร ประจำวันของผู้บริโภคแล้วนั้น ทำให้พวกเขาเปิดรับการใช้จ่ายผ่านทาง e-Commerce มากขึ้น ส่งผลต่อผู้ประกอบการดั้งเดิมท่ีต้องเร่งปรับตัวโดยหันมาทำ e-Commerce เพื่อรองรับความ ตอ้ งการด้านนี้ ทำให้มูลค่า e-Commerce เตบิ โตขึ้นแบบก้าวกระโดด รูปท่ี 9.1-1 และเชอื่ มั่นว่า ความต้องการในการซ้ือสินค้าและบริการผ่านทางออนไลน์น้ันจะกลายเป็นช่องทางการซ้ือที่ สำคัญมากขึ้นสำหรับผู้บริโภค แม้เป็นยุคหลังการแพร่ระบาดของ COVID-19 เกิดเป็น New Normal อ้างอิงจากผลการสำรวจของ Tofugear ผู้ให้บริการด้าน Digital Solution สำหรับ ร้านค้าปลีก ซ่ึงพบว่าโดยเฉลี่ยแล้วร้อยละ 45 ของผู้บริโภคทวั่ เอเชียวางแผนทจ่ี ะเพมิ่ การใช้จ่าย ออนไลนแ์ ทนการใชช้ ่องทางการค้าปลีกแบบเดมิ ในชว่ ง 12 เดอื นขา้ งหนา้ ทม่ี า : https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Perspective-on-Future-of-e-Commerce.aspx รูปท่ี 9.1-1 แสดงสัดส่วนของมลู คา่ e-Commerce เทียบกบั การคา้ ปลีกในตลาดโลก จากการแพรร่ ะบาดของ COVID-19 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 9-2
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) (2) ภาพรวมของธุรกิจ e-Commerce ของไทย ธุรกิจ e-Commerce ของประเทศไทยมีขยายตัว อย่างรวดเร็ว จากการที่ผู้ประกอบการขยายช่องทางการขายสินค้าและบริการผ่านช่องทาง ออนไลน์มากข้ึน โดยพบว่าในปี 2562 ผู้ประกอบการ e-Commerce ไทยมีประมาณ 680,000 ราย มีมูลค่าธุรกิจรวมอยู่ที่ประมาณ 4 ล้านล้านบาท (คิดเป็น 24% ของมูลค่า GDP ปี 2562) ขยายตัวจากปี 2561 ราว 7% (สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์, 2563) โดยเฉพาะ หลังจากมีการระบาดของเช้อื Covid-19 พบว่า ประชาชนจำนวนมากมีการเปล่ียนพฤตกิ รรม การซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ แทนการซ้ือสินค้าท่ีร้านค้าและห้างสรรพสินค้า ส่งผลให้ มูลค่าของ e-Commerce มีแนวโน้มเติบโตแบบก้าวกระโดดในปี 2563 และมีโอกาสที่การ เปล่ียนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงระยะยาว ซึ่งจะส่งผลให้ e-Commerce มีบทบาทมากขึ้นต่อภาคการค้าของไทยในอนาคต ในปี 2563 ที่ผ่านมา e-Commerce ไทย เติบโตแบบก้าวกระโดด และเป็นธุรกิจท่ีเติบโตเร็วที่สุด มีมูลค่าแตะ 9,000 ล้านดอลลาร์ หรือ ราวกว่า 270,000 ล้านบาท (ข้อมูลวิจัย “เศรษฐกิจดิจิทัลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประจำปี 2563 จาก Google, Temasek และ Bain & Company) สิ่งท่ีทำให้เติบโตเพ่ิมข้ึนนี้ มาจากปัจจัยจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นตัวเร่งให้พฤติกรรมของผู้บริโภค เปลี่ยนแปลงไป และหนั มาช้อปปิง้ ออนไลน์กันมากข้ึน 9.1.3 กลยทุ ธ์ของธุรกจิ e-Commerce กลยุทธ์เป็นตัวกำหนดทิศทางและการดำเนินงานด้านต่างๆ ขององค์กรธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ธุรกิจ e-Commerce กลยุทธ์ในการตลาดจะมีบทบาทอย่างมากในการดึงดูดลูกค้าและรับรู้ข่าวสาร เกย่ี วกบั ผลติ ภัณฑ์ของธุรกิจ ตวั อย่างกลยทุ ธ์ของธรุ กจิ e-Commerce ดังนี้ (1) Email Marketing การตลาดอีเมลหรือการทำ Email Marketing เป็นหน่ึงในเครื่องมือที่ทำให้ ธุรกิจ e-Commerce สามารถเข้าถึงลูกค้าได้โดยตรง และเฉพาะเจาะจงผ่านอีเมลในกล่อง จดหมาย ดังน้ัน วิธีน้ีสามารถรักษาโอกาสในการขายและเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจได้ นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ยืนยันแพลตฟอร์ม e-Commerce ของธุรกิจว่ามีตัวตนจริงและยังคง ให้บริการอยู่ สามารถใช้อีเมลในรูปแบบต่างๆ เพื่อแนะนำแบรนด์ของธุรกิจ แจ้งเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ให้ความรู้เกี่ยวสินค้าและแบรนด์ หรือแบ่งปันข่าวสารต่างๆ ในปัจจุบัน สว่ นการ แจ้งเตือนเก่ียวกับส่วนลด หรือสินค้าลดราคา จะเป็นรายการที่เฉพาะเจาะจงอย่างมากสำหรับ ผู้ที่สนใจในสินค้านั้นๆ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 9-3
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) (2) กลยุทธ์การตลาดบนโซเชียลมีเดีย โซเชียลมีเดียเป็นหนึ่งในเคร่ืองมือท่ีมีประสิทธิภาพอย่างมาก ในการเข้าถึงผู้คนจำนวนมาก ในหลายพื้นท่ีและหลายกลุ่มอายุ ซึ่งการทำการตลาดผ่าน โซเชียลมีเดียในธุรกิจ e-Commerce มีประโยชน์อย่างมาก โดยจะช่วยสร้างการมีส่วน ร่วมกับผู้ใช้ เช่น การกดไลก์ แสดงความคิดเห็น การแชร์ และโต้ตอบกับโพสต์ ซ่ึงจะช่วยให้ แบรนด์อยู่ในใจของผู้คน และยังช่วยในการกระตุ้นยอดขาย นอกจากน้ียังมีความสำคัญอย่าง ย่ิงสำหรับการตลาดแบบปากต่อปาก (Word-of-Mouth) เนื่องจากการแบ่งปันข้อมูลภายใน และระหว่างแพลตฟอร์มเป็นเรื่องที่ง่ายมากยิ่งขึ้น แม้แต่การแชร์บทความบนเว็บไซต์ไปยัง ช่องทางต่างๆ ก็เช่นกัน ปัจจุบันแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียต่างๆ ได้ปรับรูปแบบการใช้งานให้ เหมาะกับธุรกจิ e-Commerce มากยิง่ ขึน้ ซึง่ ทำให้สามารถสรา้ งและรกั ษาตวั ตนของแบรนด์ ได้ง่ายขึน้ (3) การสรา้ งลูกคา้ ประจำ ลูกคา้ ประจำ คอื ลูกค้าระยะยาวของธุรกจิ โดยเปน็ ลูกค้าที่ภักดีต่อแบรนด์ ถ้าคู่แข่งของสามารถให้ข้อเสนอที่ดีกว่าลูกค้าก็จะรับไป ดังน้ัน ธุรกิจต้องหาวิธีที่จะมัดใจลูกค้า เพ่ือสานต่อความสัมพันธใ์ ห้เกิดเป็นลูกค้าประจำน้ันเอง โดยธุรกิจสามารถตอบโจทย์ลูกค้าได้ ด้วยบริการท่ียอดเยย่ี มและเหนือความคาดหมาย ซ่ึงอาจเป็นการมอบส่วนลด ของแถม วธิ ีใน การแก้ปญั หาตา่ งๆ เพ่อื ให้ลูกคา้ เกดิ ความประทบั ใจและจดจำแบรนดข์ องธรุ กิจ (4) การแชทแบบเรียลไทม์ ในการทำธุรกิจ e-Commerce สิ่งที่เป็นเหมือนหัวใจหลัก คือ การพูดคุย หรือแชทท่ีคอยตอบคำถามลูกค้ารวมไปถึงการรับออเดอร์ผ่านช่องทางข้อความ ย่ิงในยุค ปัจจบุ นั ความอดทนของผคู้ นเร่มิ ลดน้อยลง ดงั น้นั หากตอบแชทของลกู ค้าช้าไปเพยี งไม่กี่นาที ลูกค้าอาจเปลี่ยนใจไปหาคู่แข่งได้ การทำการตลาด e-Commerce ควรลงทุนในเรื่องของ ตอบแชทใหไ้ วที่สดุ หรือเรียลไทม์ และอาจใช้เครื่องมอื ที่สามารถตอบโจทย์ไดอ้ ย่าง แชท บอท เข้ามาชว่ ยเหลือในการตอบแชทหรอื คำถามทซี่ ้ำๆ (5) การใช้ Influencer ช่วยในการทำการตลาด การทำการตลาดผ่าน Influencer หรือผู้มี อิทธิพลในวงการนั้นๆ ซึ่งบุคคลเหล่าน้ีจะมีอิทธิพลต่อตลาดเป้าหมายของธุรกิจ ซ่ึงพวกเขา เหล่านี้เป็นท่ีรู้จักและมีผู้ติดตามจำนวนมากซ่ึงกลุ่มเป้าหมายหรือลูกค้าของธุรกิ จอาจติดตาม และชื่นชอบพวกเขาอยู่ ซึ่งสามารถเห็นได้อย่างชัดเจนในระยะหลังไม่ว่าจะเป็นวงการ ความ งาม การทอ่ งเท่ียว การชอ้ ปป้ิง การกิน ก็จะมผี ู้ท่ีมีเป็นผู้มีอิทธิพลในวงการน้ัน ซงึ่ สิ่งทแ่ี บรนด์ ต้องทำ คือศึกษาและมองหาบุคคลเหล่านั้นที่ลูกค้าของธุรกิจติดตามอยู่ และทำการตลาด ผ่านบุคคลเหล่าน้ันผ่านสินค้าแนะนำ หรือ “โพสต์ท่ีได้รับการสนับสนุน”เหล่า Influencer เป็นที่รู้จัก ที่ชืน่ ชอบ และได้รบั ความไว้วางใจความเชื่อถือจากคนจำนวนมาก จงึ เป็นเร่ืองงา่ ย สำหรบั พวกเขาในการดงึ ดูดความสนใจกลุม่ เป้าหมายของธุรกจิ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 9-4
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 9.1.4 แนวโนม้ ของธุรกิจ e-Commerce (1) การช้อปป้ิงบนมือถือ (Mobile Shopping) การค้าบนมือถือมีการเติบโตอย่างต่อเน่ือง จากข้อมูลของ Statista ยอดขายรวมในปี 2020 อยู่ที่ 2.91 ล้านล้านดอลลาร์และคาดว่าจะถึง 3.56 ล้านล้านดอลลาร์ภายในปี 2021 นอกจากน้ี 72.9% ของยอดขาย e-Commerce ทั้งหมด จะทำผ่านโทรศัพท์มือถือภายในส้ินปี 2021 ธุรกิจจึงให้ความสำคัญกับการปรับปรงุ อุปกรณ์เคล่ือนท่ี เพอ่ื สร้างโอกาสให้กบั ธรุ กิจ (2) การช้อปปิ้งด้วยเสียง (Voice Commerce) แม้วา่ การช้อปป้ิงด้วยเสียงจะอยู่ในช่วงเริ่มต้น ของการพัฒนา แต่ก็จะไดร้ ับความนิยมมากขึน้ และในอกี ไม่กีป่ ีขา้ งหนา้ Voice Commerce จะเป็นอีกหนึ่งประสบการณ์การช้อปปิ้งที่ไม่ได้ใช้แค่รูปภาพ แต่ลูกค้าต้องเลือกผลิตภัณฑ์ท่ี ตอ้ งการโดยอธิบายด้วยเสียงว่าพวกเขากำลังมองหาอะไร (3) โซเชียลมีเดียในอีคอมเมิร์ซ (Social Media in Ecommerce) จำนวนคนที่จับจ่ายบน โซเชียลมีเดียเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการเร่ิมต้นของ Facebook และ Instagram Checkout ในการเพ่ิมปุ่ม “ซ้ือ” ลงในแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย ซึ่งเร่ิมมีบทบาทสำคัญใน การคา้ บนมือถอื ทนั ที (4) การให้ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Awareness Topics) ผู้บริโภคสีเขียว เปน็ ท่ีนยิ มมากขึ้นทุกวัน ผ้ปู ระกอบธุรกจิ จึงต้องเร่มิ ให้ความสำคญั กับส่ิงแวดลอ้ ม ใช้แนวทาง ปฏบิ ัติที่ย่งั ยืนและเป็นมติ รต่อสิง่ แวดลอ้ ม (5) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) เคร่ืองมือปัญญาประดิษฐ์สามารถปรับปรุง บริการให้กับลูกค้าซึ่งจะทำให้พวกเขาได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น ซอฟต์แวร์การตลาด อัตโนมัติ (พร้อมเพ่ือสรา้ งข้อเสนอทท่ี ันเวลา) และ Chatbots (สามารถตอบคำถามของลูกค้า ไดท้ ันที) เป็นตน้ AI จะมีบทบาทสำคญั ในอีกไม่ก่ีปีขา้ งหน้า ผปู้ ระกอบการควรใหค้ วามสำคัญ เป็นอย่างมาก เพราะ AI จะสามารถเข้าใจพฤติกรรมของลูกค้าได้ สิ่งน้ีจะช่วยปรับปรุงการ บรกิ ารลูกค้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 9-5
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพสถานขี นสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 9.2 ผู้ประกอบการธรุ กิจ e-Commerce ท่ีปรึกษาได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลการบริหารจัดการศูนย์กระจายสินค้า และคลังสินค้าของ ผู้ประกอบการธุรกิจ e-Commerce จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ บริษัท ลาซาด้า จำกัด และบริษัท เซน็ ทรัล เจดี คอมเมริ ์ซ จำกดั โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ 9.2.1 บรษิ ทั ลาซาด้า จำกดั ลาซาด้ากรุ๊ปก่อต้ังโดย Rocket Internet GmbH ประเทศเยอรมนี ซ่ึงเป็นผู้สร้างธุรกิจการขายสินค้า ออนไลน์ชั้นนำ โดยมีบริษัทในเครือเป็นจำนวนมาก เช่น Zalora Foodpanda และ Easytaxi เป็นต้น โดยมีการดำเนินธุรกิจใน 40 ประเทศท่ัวโลก และในปี 2555 ลาซาด้ากรุ๊ปได้เร่ิมเปิดดำเนินการธุรกิจ e-Commerce เป็นคร้ังแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พร้อมกันใน 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนเี ซีย มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ เวยี ดนาม และไทย และในปี 2557 ไดเ้ ปิดดำเนนิ การในสิงคโปร์ ลาซาด้าประเทศไทยดำเนินธุรกิจในลักษณะเป็นห้างสรรพสินค้าออนไลน์ ที่มีสินค้าจำหน่ายมากกว่า 200,000 รายการ มีผู้ค้าออนไลน์ทั้งในและต่างประเทศมากกว่า 100,000 ร้านค้า และมีตราสินค้า มากกว่า 2,500 ตรา แบ่งออกเป็น 18 หมวดหมู่ เช่น ยานยนต์และอุปกรณ์ยานยนต์ สินค้าอุปโภค บริโภค กีฬาและกิจกรรมกลางแจ้ง เด็กอ่อนและเด็กวัยหัดเดิน และหนังสือและส่ือบันเทิง เป็นต้น มีระบบการชำระเงิน (ผ่านตัวแทนผู้ให้บริการ เช่น helloPay PayPal และ Line Pay เป็นต้น) และ จัดส่งสินค้า (ผ่านผู้ให้บริการขนส่ง เช่น Kerry Express และ DHL เป็นต้น) แบบครบวงจร มีการ รับประกันคุณภาพสินค้าและจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายเป็นจำนวนมาก ปัจจุบันมีกลุ่มบริษัท Alibaba เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ธุรกิจของลาซาด้าเติบโตอย่างรวดเร็วในประเทศไทย กล่าวได้ว่าเป็น ธรุ กิจ e-Commerce ที่ได้รับความนยิ มสูงสุดในประเทศไทย 1). กลยุทธ์ กลยุทธ์หลักในการบริหารของลาซาด้า แบง่ ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ กลยุทธ์ดา้ นโลจิสตกิ ส์ กลยุทธ์ดา้ น เทคโนโลยี และกลยทุ ธ์ดา้ นการชำระเงิน สามารถอธบิ ายได้ ดังนี้ • กลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ ลาซาด้ามีระบบโลจิสติกส์แบบครบวงจร (End-to-End Logistics) ตั้งแต่การจัดซื้อจนถึงการจัดส่งขนส่งไปยังลูกค้า มีศูนย์กระจายสินค้าและคลังสินค้าสำหรับ เติมเต็มคำส่ังซื้อ 17 แห่ง ท่ัวท้ังภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังมีการใช้ เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเปน็ จำนวนมากในการสรา้ งเครือขา่ ยโซ่อปุ ทานในแต่ละประเทศ • กลยุทธ์ด้านเทคโนโลยี ลาซาด้ามีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการสร้างประสบการณ์การซื้อ สินค้าออนไลน์ให้กับลูกค้า โดยมีการใช้ข้อมูลแบบเวลาจริงในการวิเคราะห์ความต้องการของ ลูกค้า และเงื่อนไขในการซื้อสินค้าท่ีแตกต่างกันสำหรับลูกค้าแต่ละราย นอกจากนี้ยังมีการ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 9-6
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) เชื่อมต่อข้อมูลกับเจ้าของตราสินค้าต่างๆ เพื่อสร้างประสบการณ์แบบเฉพาะใหก้ ับลูกค้าแต่ละราย โดยมุ่งเนน้ ประสบการณ์การซือ้ และความบนั เทงิ ให้เกิดขนึ้ พรอ้ มกัน • กลยุทธ์ด้านการชำระเงิน ความปลอดภัย และธุรกรรมแบบไร้รอยต่อ เป็นจุดแข็งของลาซาด้า ในประเด็นเก่ียวกับการชำระเงิน การลงทุนในโครงสร้างพ้ืนฐานด้านบริการทางการเงินและ การชำระเงนิ ทป่ี ลอดภัยเปน็ สิ่งสำคัญทผ่ี ู้บริหารลาซาด้าให้ความสำคัญเป็นลำดับแรก กลา่ วได้ว่า การชำระเงินของลาซาด้าเปน็ การชำระผ่านช่องทางดิจทิ ัลที่มคี วามปลอดภยั เต็มรูปแบบ 2). รปู แบบธุรกิจ รูปแบบธุรกิจของลาซาด้าแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ ธุรกิจค้าปลีก (LazMall) ตลาด (Lazada Marketplace) และการจัดส่งสินค้าจากตา่ งประเทศ (LazGlobal) สามารถอธบิ ายได้ ดังน้ี • ธรุ กิจค้าปลีก ลาซาด้าแพลตฟอร์มเป็นรปู แบบธุรกิจคา้ ปลีกท่ีดำเนินการโดยลาซาด้า ถอื เป็น หา้ งสรรพสินค้าเสมือนทมี่ ีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยการเชื่อมต่อ กับเจ้าของตราสินค้าทั้งในและต่างประเทศจำนวนมากกว่า 18,000 ตราสินค้า ทำให้เกิด มาตรฐานใหม่ของระบบการค้าปลีก ทั้งนี้การซ้ือสินค้าผ่านธุรกิจค้าปลีกของลาซาด้าลูกค้า จะมั่นใจได้ว่าจะได้รับสินค้าลิขสิทธ์ิ มีการรับรองความรวดเร็วในการจัดส่ง และมีนโยบาย คืนสินค้าภายใน 15 วัน นอกจากน้ีแพลตฟอร์มธุรกิจค้าปลีกของลาซาด้ายังเปิดโอกาสให้ ผู้ขาย (เจา้ ของตราสินค้า) สรา้ งประสบการณเ์ ฉพาะบคุ คลใหก้ บั ลูกค้าดว้ ย • ตลาด ตลาดลาซาด้าเป็นส่วนช่วยให้ผู้ค้าปลีกต่างๆ เข้าถึงลูกค้าได้อย่างง่ายดาย สิ่งที่เป็น จุดเด่นของตลาดลาซาด้า คือความปลอดภัยในการชำระเงินท่ีผ่านช่องทางการชำระท่ี หลากหลาย และการสนับสนุนการดูแลลูกค้า ตลาดลาซาด้ามีเครือข่ายการกระจายสินคา้ และ การวิเคราะห์การตลาดที่กว้างขวาง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้ขายสามารถขายสินค้าของตน ไดม้ ากยง่ิ ข้นึ ผ่านหมวดหมู่สนิ ค้าทัง้ 18 หมวด ซึ่งครอบคลุมสินค้าเกือบทกุ ประเภท • การจัดส่งสินค้าจากต่างประเทศ พันธกิจท่ีสำคัญอีกประการหน่ึงของลาซาด้าคือการจัดหา สินค้าจากท่ัวทุกมุมโลกมาทำการตลาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเปิดโอกาสให้ ลกู ค้าได้พบเจอกับสินค้านานาชาติ การจัดส่งสินค้าจากต่างประเทศของลาซาด้าใช้โครงสร้าง พน้ื ฐานด้านเทคโนโลยีของ Alibaba และเครือข่ายโลจสิ ตกิ สท์ ี่ทำให้ลกู ค้าม่ันไดว้ ่าจะสามารถ จัดส่งสินคา้ ไดภ้ ายใน 7 วนั นับจากการสั่งซ้ือ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 9-7
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) 3). คลังสนิ คา้ คลังสินค้าลาซาด้า (เรียกว่า Lazada Fulfillment Center) มีท่ีตั้งอยู่ท่ีศูนย์โลจิสติกส์ TPARK อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีพ้ืนที่รวม 24,000 ตารางเมตร เป็นพ้ืนท่ีจัดเก็บสินค้าจาก ตราสินค้าที่แตกต่างกัน 700 ตรา ท่ีมีจำหน่ายบนธุรกิจค้าปลีก LazMall จำแนกเป็นรายการสินค้า มากกว่า 50,000 รายการ จากหลากหลายหมวดหมู่สินค้า มีเวลามาตรฐานในการจัดการคำสั่งซื้อ เฉลีย่ ไมเ่ กนิ 2 ชัว่ โมงตอ่ คำสั่งซอ้ื ระบบปฏิบตั ิการทใ่ี ช้ใน Lazada Fulfilment Center ภายในคลังแห่งนีม้ ีการใช้เทคโนโลยีทนั สมัย และระบบปฏิบัติการที่มีประสิทธิภาพ ช่วยให้แบรนด์และผู้ขายไม่ว่าจะเป็นรายใหญ่หรือรายย่อย สามารถจัดการสนิ คา้ และจัดสง่ ได้เร็วยิง่ ขึ้น ได้แก่ • ระบบการจัดการคลังสินค้า Dabao (Dabao Warehouse Management System) ปัจจุบันคลังสินค้าลาซาด้ามีระบบการจัดการคลังสินค้าชื่อ Dabao (เป็นระบบที่ทันสมัยท่ีสุด จาก Alibaba) ท่ีอาลีบาบาให้ลาซาด้าใช้ในควบคุมสินค้าคงคลัง ระบุตำแหน่งสินค้าเมื่อได้รับ คำสั่งซื้อ ชว่ ยเสรมิ ศักยภาพการจัดการคลังสินค้า และยังสามารถแจง้ เตือนว่า สนิ ค้าใดใกล้ถึง วันหมดอายุ โดยเป็นระบบเดยี วกับท่ีใช้ในคลงั สินคา้ ไฉ่เหนยี ว (Cainiao’s Modern Fulfilment Center) ของอาลีบาบา โดยผสมผสานเข้ากับระบบการจัดการแรงงาน ซ่ึงประกอบด้วย พนักงานท่ีมีความสามารถและผ่านการอบรมทักษะมาแล้ว ซึ่งพนักงานเหล่านี้สามารถใช้งาน ระบบดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ทำให้เกิดการพัฒนาและยกระดับการบริการด้านจัดการพัสดุให้มี ประสิทธภิ าพมากย่ิงข้นึ • ระบบการจัดการแรงงาน (WMS : Workforce Management System) สำหรับพนักงานที่ มีความสามารถและผ่านการอบรมทักษะมาแล้ว โดยพนักงานเหล่านี้สามารถนำเทคโนโลยี ดังกล่าวมาพัฒนาและยกระดับบริการการจัดการพัสดุของลาซาด้าให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งข้ึน นอกจากน้ี ศูนย์บริการจัดการคลังสินค้ายังมีบริการเสริมอ่ืนๆ เพ่ือตอบสนองความ ต้องการของผขู้ ายแต่ละราย เช่น การให้บริการเช่าพ้ืนที่เกบ็ สินค้า บรกิ ารบรรจสุ ินคา้ บริการ รับและบรรจุสินค้า (FBL) การคืนสินค้า การร้องเรียนสำหรับสินค้าท่ีเสียหายหรือสูญหาย และบริการจัดส่งสินคา้ ไปยงั ลูกค้าใหก้ ับบริษัทขนาดใหญท่ ี่ไมม่ บี ริการในส่วนน้ี เทคโนโลยีท่ีใช้ในการจัดเก็บสินค้าภายในคลังสินค้าลาซาด้าเป็นระบบปฏิบัติการก่ึงอัตโนมัติ มีระบบ สายพานลำเลียงสินค้า บุคลากรของคลังสินค้าเป็นพนักงานประจำ 180 คน แบ่งเป็น 2 กะ ทำงาน ต้ังแต่เวลา 08.00-23.00 น. หากเป็นช่วงวันแคมเปญ เช่น 11.11 จะมีการรับพนักงานชั่วคราว 250 คน เพ่อื ตอบสนองคำสงั่ ซื้อทมี่ ีจำนวนมากกวา่ ปกติ โดยวันจะขยายเวลาทำงานไปจนถึง 03.00 น. ของ วันถัดไป ทั้งนพ้ี นักงานช่ัวคราวจะได้รับการฝึกปฏบิ ัติงาน 1 วนั เตม็ ก่อนเร่ิมงาน สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 9-8
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รายได้หลักของบริการการเติมเต็มคำส่ังซ้ือของลูกค้ามีท่ีมาจาก 2 แหล่ง ได้แก่ รายได้จากการจัดการ คำส่ังซื้อให้กับเจ้าของตราสินค้า (คิดราคาตามจำนวนชิ้น) และรายได้จากการเก็บสินค้าให้กับเจ้าของ ตราสินค้ารายต่างๆ (คิดราคาตามขนาดพื้นท่ีจัดเก็บ) นอกจากนี้ยังมีรายได้จากการใส่ใบปลิวจาก สินค้าต่างๆ และการใส่ของแถมลงในกล่องสนิ ค้าอีกดว้ ย (คดิ ราคาตามจำนวนชิ้น) อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารคลังสินค้าลาซาด้าก็มีแผนที่จะย้ายคลังสินค้าทั้งหมดไปอยู่ในพ้ืนท่ีเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึ่งมีขนาดพื้นที่คลังสินค้ามากกว่าปัจจุบันถึง 3 เท่า คลังสินค้า ลาซาด้า แสดงได้ดงั รูปท่ี 9.1-1 ทมี่ า: https://workpointtoday.com/lazada-fulfillment-center-tpark/ รูปท่ี 9.1-1 คลังสนิ ค้าลาซาด้า 4). การคัดแยกและการกระจายสนิ คา้ ศูนย์คัดแยกสินค้า ลาซาด้า เอ็กซ์เพรส สุขสวัสด์ิ (Lazada Express SSW Sortation Centre) รปู ที่ 9.1-2 เป็นศูนย์คัดแยกสินค้าที่ใหญ่และทันสมัยท่ีสุดของ ลาซาด้า เอ็กซ์เพรส ใน 5 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซ่ึงช่วยเพิ่มความเร็วในการจัดส่งสินค้าให้ถงึ มือลูกค้า ศูนย์คัดแยก สินค้าแห่งนี้จะอยู่ภายใต้การดูแลของลาซาด้า เอ็กซ์เพรส ประเทศไทย ซ่ึงเป็นบริษัทในเครือลาซาด้า ท่ีจัดต้ังขึ้นเพ่ือดำเนินการจัดการด้านโลจิสติกส์ ครอบคลุมต้ังแต่การรับสินค้าจากผู้ประกอบการ หรือจุดบริการรับสินค้า (Drop-off Point) ที่มอี ยู่กว่า 800 แห่งท่ัวประเทศไปยังศูนย์คัดแยกสินค้า ตลอดจนการขนส่งจากศูนย์คัดแยกสินค้าไปยังจุดหมายปลายทาง โดยมีเป้าหมายสำคัญเพ่ืออำนวย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 9-9
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ความสะดวกของผปู้ ระกอบการและผบู้ ริโภคที่สั่งซอื้ สนิ คา้ ผา่ นช่องทางอีคอมเมิร์ซโดยอาศัยนวตั กรรม เพื่อเสริมสร้างประสทิ ธภิ าพและช่วยลดตน้ ทุน ศูนยค์ ัดแยกสินคา้ ลาซาด้า เอ็กซ์เพรส สุขสวัสด์ิ ก่อตั้งขน้ึ เพื่อรองรบั การเติบโตอย่างก้าวกระโดดของ ธุรกิจอีคอมเมิรซ์ เพื่อเติมเต็มอโี คซิสเต็มของลาซาด้าให้สมบูรณ์ย่ิงขึ้น ผ่านการเสริมสร้างศักยภาพให้ ผูป้ ระกอบการเข้าถึงบริการคดั แยกและกระจายสินค้าที่เชื่อมตอ่ กบั ระบบคำส่ังซื้อสินค้าบนแพลตฟอร์ม อย่างไร้รอยต่อ ทำให้ได้การจัดส่งสินค้าที่แม่นยำ ตรงเวลา และติดตามสถานะได้อย่างชัดเจน เพื่อให้ พร้อมรองรับการแข่งขันทางธุรกิจอีคอมเมิร์ซ และคำส่ังซื้อท่ีมีเข้ามาจำนวนมากในแต่ละวัน โดยเฉพาะในชว่ งมหกรรมช้อปครัง้ ใหญ่ Lazada 12.12 แกรนดเ์ ซลสง่ ท้ายปี ศูนยค์ ัดแยกสินค้าแห่งน้ี สามารถช่วยเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการคัดแยกสินค้าจาก 12,000 ชิ้นตอ่ ชว่ั โมง เป็น 36,000 ช้ินต่อช่ัวโมง หรือคิดเป็นประมาณ 300,000 ช้ินต่อวัน ทำให้ไม่เหลือสินค้าตกค้าง ซึ่งประสิทธิภาพในการจัดส่งสินค้าของลาซาด้าน้ัน หากเป็นสินค้าในส่วนของ LazMall จะสามารถ ทำเวลาเฉล่ียได้ประมาณ 0.8 วันในการส่งสินคา้ ถึงมอื ลูกค้านับตั้งแต่การกดออเดอร์สินค้า เป็นค่าเฉลี่ย ของเวลาท่ีต่ำกว่าการการันตีของลาซาด้าที่เปิดบริการการันตีการจัดส่งสินค้าเป็นรายแรกจากท่ัวท้ัง ภูมิภาค พร้อมรับค่าชดเชยหากจัดส่งล่าช้ากว่าท่ีกำหนด โดยบริการการันตีการจัดส่งสินค้า LazMall (LazMall Guaranteed Delivery) เปิดให้บริการแล้วในประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม และฟิลิปปินส์ นับเป็นบรกิ ารที่ได้รับการออกแบบมาโดยเฉพาะ เพื่อให้ลูกคา้ LazMall มัน่ ใจยิ่งขึ้นว่า จะได้รับสินค้าอย่างรวดเร็ว และหมดกังวลเร่ืองการจัดส่ง พร้อมมอบค่าชดเชย หากการจัดส่งสินค้า ไมต่ รงตามวันที่กำหนด ขณะท่คี ่าเฉล่ียของการส่งสินค้าท่ัวไปจะมีประมาณ 2 วัน โดยสินค้า 300,000 ชิ้นที่ศูนย์คัดแยกสินค้า แห่งนี้ให้บริการแต่ละวันนั้น จะเป็นสินค้าในส่วนของ LazMall ประมาณ 75,000 ช้ิน ทั้งหมดเป็น สินค้าช้ินเล็ก โดยบริการการันตีการจัดส่งสินค้า LazMall ครอบคลุมผลิตภัณฑ์และสินค้ายอดนิยม ในหมวดอิเล็กทรอนิกส์ แม่และเด็ก เครื่องใช้ไฟฟ้า และอ่ืนๆ อีกมากมาย สำหรับประเทศไทย แบรนด์ ท่ีเปิดให้บริการน้ีแล้วในพ้ืนที่เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล อาทิเช่น Samsung, S-26, Enfagrow, MamyPoko และ BabyLove เม่ือสั่งซื้อจากผู้ขายใน LazMall ท่ีมีบริการการันตีการจัดส่งสินค้า ลูกค้าจะเห็นวันท่ีจัดส่งสินค้าระบุไว้บนหน้ายืนยันการส่ังซื้อ หากไม่มีการจัดส่งตามวันท่ีระบุไว้นั้น ลาซาด้าจะดำเนินการชดเชยลูกค้าโดยอัตโนมัติ โดยค่าชดเชยซ่ึงแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ จะถูกคืนไปยังลาซาด้าวอลเล็ต หรือลูกค้าจะได้รับเป็นคูปองส่วนลดแทน ทั้งนี้ ลูกค้าไม่จำเป็นต้อง ทำเรื่องยนื่ เรยี กร้องคา่ ชดเชยใดๆ การการันตีการส่งสินค้าได้ทันเวลาท่ีให้ไว้นั้นเป็นกลยุทธ์ท่ีทำให้เห็นถึงประสิทธิภาพในเร่ืองของการ จัดส่งสินค้าท่ีส่งสินค้าถึงมือลูกค้าได้ไวที่สุด ซ่ึงนอกจากศูนย์คัดแยกสินค้าที่สุขสวัสดิ์แล้ว ลาซาด้า ยังมีแผนที่จะเพ่ิมฮบั ในการรบั –ส่งสินค้าอีก โดยลาซาดา้ แบ่งฮบั ทีม่ ีอยู่ออกเป็น 3 เทียร์ ดังนี้ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 9-10
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิ่มศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • เทยี ร์ 1 จัดส่งสินคา้ ในเขตกรุงเทพฯ และจังหวัดปริมณฑลทอ่ี ยู่ใกล้กรุงเทพฯ • เทียร์ 2A จังหวัดรอบนอกกรุงเทพฯ เช่น จังหวัดสมุทรสงคราม พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี เปน็ ต้น • เทยี ร์ 2B จงั หวัดที่อยไู่ กลออกไป เชน่ จงั หวัดเชียงใหม่ ภเู ก็ต เป็นตน้ ฮับที่เป็นเทียร์ 1 และเทียร์ 2A ปัจจุบันจัดส่งได้ภายในเวลา 0.8 วัน ส่วนฮับท่ีเป็นเทียร์ 2 B นั้น จะใชเ้ วลาในการจัดส่งไดป้ ระมาณ 2 วัน ทม่ี า : https://www.thansettakij.com/tech/416651 รปู ที่ 9.1-2 ศนู ย์คดั แยกสินค้า ลาซาด้า เอ็กซ์เพรส สุขสวัสดิ์ 9.2.2 บรษิ ัท เซ็นทรลั เจดี คอมเมริ ซ์ จำกัด บริษัท เซ็นทรัล เจดี คอมเมิร์ซ จำกัด ดำเนินธุรกิจตลาดสินค้าออนไลน์ เกิดจากความร่วมมือของ ธุรกิจการค้าปลีก 2 แห่ง ได้แก่ บรษิ ัท เซ็นทรัลกรุ๊ป จำกัด และบรษิ ัท เจดีดอทคอม จำกัด ซึ่งเป็น ธุรกจิ e-Commerce ท่มี ีอัตราการเติบโตเร็วที่สุดและมีขนาดธุรกิจใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศจีน พันธกจิ หลักขององค์กร คือการมอบประสบการณ์ที่ดที ี่สุดให้กบั ลูกค้าอย่างเต็มรปู แบบ ไม่เพียงแต่ การสรา้ งประสบการณ์ช้ือสินคา้ ออนไลน์เทา่ นั้น แตย่ ังมอบความสนุกสนานใหก้ บั ลกู ค้าเม่ือคลิกเข้า สู่เว็บไซต์ โดยมุ่งมั่นพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางธุรกิจ e-Commerce ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใตใ้ นอนาคต จุดเด่นของบริษัท เซ็นทรัล เจดี คอมเมิร์ซ จำกัด คือแบรนด์ e-Commerce ท่ีให้ความสำคัญกับ การมอบประสบการณ์ท่ีดีท่ีสุดให้กับลูกค้าเป็นอันดับแรก โดยนำเสนอสินค้าจากทั้งในและนอก ประเทศท่ีมีคุณภาพสูง มีความหลากหลาย ในราคาท่ีจับต้องได้ รวมท้ังมอบความสนุกสนานให้กับ ลูกค้าผ่านเกมและกิจกรรมต่างๆ นอกจากนี้ยังขับเคลื่อนธุรกิจด้วยระบบข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ทำใหร้ ะบบโลจิสติกส์มีประสิทธิภาพและคุณภาพสงู สามารถจัดสง่ ของให้ลกู ค้าภายในเวลาอันรวดเร็ว และให้บรกิ ารหลงั การขายทม่ี ีคุณภาพผ่านชอ่ งทางออนไลนแ์ ละออฟไลน์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 9-11
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) บริษัท เซ็นทรัล เจดี คอมเมิร์ซ จำกัด มีการจัดส่งที่รวดเร็วด้วยมาตรฐานระดับโลก โดยระยะเวลา จัดส่งในเขตกรุงเทพมหานครจะใช้เวลา 1 - 2 วัน สำหรับต่างจังหวัดจะใช้เวลา 2 - 3 วัน โดยทำการ ขนส่งผ่าน Kerry Express DHL และ Yusen Logistics นอกจากน้ีหากซ้ือสินค้าครบ 99 บาท ก็จะทำ การจัดสง่ ฟรี อีกทัง้ ยงั สามารถคืนสนิ ค้าได้ 1). วิสยั ทัศน์ ภารกจิ และคา่ นยิ มขององคก์ ร วิสยั ทัศน์ ภารกิจ และคา่ นยิ มขององค์กร สามารถอธิบายได้ ดังน้ี • วสิ ยั ทัศน์ มุ่งส่กู ารเป็นอันดับ 1 ในธุรกิจออนไลน์ และเปน็ แบรนด์ท่นี ่าเชือ่ ถือท่ีสุดในประเทศไทย • ภารกิจ ช่วยให้ทุกคนช้อปปิ้งสนุกและสะดวกสบาย ช่วยให้ทุกคนสนุกกับการช้อปป้ิงอย่าง ม่นั ใจไรก้ ังวล สรา้ งสรรค์ประสบการณ์ชอ้ ปป้ิงสนกุ สนาน และมัน่ ใจไรก้ งั วลให้กบั ทุกคน • ค่านิยมองค์กร ประสบการณ์การช้อปปิ้งออนไลน์ที่ดีที่สุด ระบบจัดการสินค้า และการจัดส่ง ระดับโลก การผสานธุรกิจจากออนไลน์ไปยังออฟไลน์ได้อย่างยอดเย่ียม สินค้าจากแบรนด์ช้ันนำ ท้งั ของไทยและระดับโลก 2). กลยทุ ธ์ กลยุทธ์หลักในการบริหารของบริษัท เซ็นทรัล เจดี คอมเมิร์ซ จำกัด แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ อีคอมเมิร์ซ (e-Commerce) อีโลจิสติกส์ (E-logistic) อีไฟแนนซ์ (E-finance) และเทคโนโลยีและ ขอ้ มูล สามารถอธบิ ายได้ ดงั น้ี • กลยุทธ์ด้านอคี อมเมริ ์ซ รวบรวมหลากหลายร้านค้า Flagship Store ของกลุ่มเซ็นทรลั และ สินค้าคุณภาพนานาชนิด ท้ังในและต่างประเทศ รวมถึงสินค้าจากวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมในราคาที่เป็นธรรม พร้อมข้อเสนอสุดพิเศษ บนเว็บไซต์ที่ใช้ง่าย เหมาะกับลูกค้าทั่วโลก ทกุ เพศ และทุกวยั • กลยุทธ์ด้านอีโลจิสติกส์ พลิกโฉมการขนส่งสินค้าด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัยท่ีจะทำให้การขนส่ง รวดเร็วแม่นยำย่ิงข้ึน เช่น การใช้โดรน และยานพาหนะอัตโนมัติ เป็นต้น พร้อมระบบการจัดการ โซ่อุปสงคแ์ ละอปุ ทาน และคลังสนิ คา้ ทีท่ นั สมยั • กลยุทธ์ด้านอีไฟแนนซ์ พัฒนาบริการฟินเทค อำนวยความสะดวกด้านไฟแนนซ์ให้กับลูกค้า และผู้จัดส่งสินค้า (Supplier) มุ่งสร้าง ‘อีวอลเล็ท’ (E-wallet) และบริการทางการเงินออนไลน์ อนื่ ๆ ทใี่ ชง้ านง่ายเตรยี มพร้อมเข้าสู่สังคมไร้เงินสดในอนาคต • กลยุทธ์ด้านเทคโนโลยีและข้อมูล ใช้เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาเสริมสร้างการพัฒนาธุรกิจทุก ขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นการใช้ระบบวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เทคโนโลยีประมวลผลแบบ กลุ่มเมฆ ปัญญาประดิษฐ์ การตอบข้อความอัตโนมัติ เพ่ือใช้ในการปรับปรุงประสบการณ์การ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 9-12
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพิม่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) เยีย่ มชมเวบ็ ไซตแ์ ละบริการฟินเทคให้ตอบโจทยล์ ูกค้า รวมถงึ การใช้เทคโนโลยีโดรน ยานพาหนะ อัตโนมัติ หุ่นยนต์ และระบบอตั โนมัตใิ นการจดั การคลังสนิ คา้ เพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพด้านโลจิสติกส์ และการขนสง่ สนิ ค้า จากจำนวนผู้เข้าถึงอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง สะท้อนถึงโอกาสเติบโตของ ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ซึ่งเป็นไปตามแนวโน้มท่ี JD Central ประกาศทิศทางธุรกิจในปี 2021 ที่มียอดขาย ของเติบโตข้ึน 169% เมื่อเทียบกับปี 2019 และจำนวนผู้ใช้งานก็เพ่ิมขึ้นเกือบ 50% โดยเป้าหมายของ JD Central คือการเป็นแพลตฟอร์มที่ผู้บริโภคให้ความเช่ือถือ ซึ่งยืนยันตั้งแต่แนวทางของการ ให้บริการ “ช้อปของดี การันตีของแท้” ในปี 2021 JD Central ได้พัฒนากลยุทธ์ (โซลูช่ัน) ใหม่เพ่ือ เพ่มิ โอกาสในการขายสินคา้ และสร้างความม่นั ใจแก่ผู้บริโภค โดยแบ่งเป็น 4 ดา้ น คอื เทคโนโลยี โซลชู ัน เพอ่ื ผูข้ าย การทำตลาด คลังสินค้าและบริการจดั ส่ง • JOY Technology นำเสนอฟีเจอร์ One-Click Solution ที่จะช่วยให้ผู้ขายสามารถ ดำเนินการไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และตอบโจทย์งานขายได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพย่ิงขึน้ เพียงคลกิ เดียว และ QPS System (Quality Price Service) เปน็ ระบบให้คะแนนร้านคา้ เพ่ือรกั ษามาตรฐาน สินค้าทีข่ ายบนแพลตฟอร์มด้วยการใหค้ วามสำคญั กับคุณภาพ ราคา และบรกิ าร • JOY Retail Solution นำข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากข้ึนรวมถึงใช้คะแนน QPS เข้ามา ช่วย สร้างโซลูชันให้ผู้ขายสามารถได้ประโยชน์จากการวิเคราะห์ข้อมูล พฤติกรรมผู้บริโภค การวิเคราะห์คู่แขง่ และภาพรวมของอุตสาหกรรม พรอ้ มกับพัฒนาให้ JD Central เป็นแพลตฟอร์ม ที่เป็นมิตรกับลูกค้าและเช่ือถือได้ ขณะเดียวกันจะให้ความช่วยเหลือกับผู้ขายด้วยโครงการ JOY University เพ่ือเป็นแหล่งความรู้ สร้างความเข้าใจ และสนับสนุนผู้ขายให้เข้ามาอยู่บน โลกอคี อมเมิร์ซอยา่ งมีประสิทธภิ าพ • JOY Marketing เพิ่มระบบ CRM ด้วยการพัฒนาโซลูชัน Online Marketing Ad ให้ผู้ขาย สามารถจัดการร้านคา้ บนแพลตฟอรม์ ออนไลนไ์ ด้ดีขนึ้ • JOY Fulfillment สร้างประสบการณ์ที่ดี โดยเฉพาะการจัดส่งสนิ คา้ ซง่ึ ในปีน้จี ะปรบั รูปแบบ ให้เป็นการส่งแบบ Next Day ให้ได้ 100% และตงั้ เปา้ ลดจำนวนการยกเลิกคำสั่งซ้ือให้ได้ 50% ในปัจจุบันสินค้าขายดีของ JD Central ได้แก่ สินค้ากลุ่ม 3C (คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และมือถือ) โดย ปัจจุบันเร่ิมขยายมายังกลุ่ม FMCG, Home & Appliances, Health & Beauty เร่ิมได้รับความนิยม จากลกู ค้ามากข้ึน นอกจากนั้นการท่ี JD.com เปิดบริการการขนส่งสินค้าแบบเช่าเหมาลำ เสิ่นเจิ้น-กรุงเทพฯ ในวันที่ 28 พฤษภาคม 2564 ยักษ์อีคอมเมิร์ซจีน “เจดีดอตคอม” เปิดบริการขนส่งสินค้าแบบเช่าเหมาลำ “เสิ่นเจ้ิน-กรุงเทพฯ” หวังชว่ ยเอสเอ็มอี ในประเทศจีน-ไทย สะดวกด้านการจัดส่งสินค้าจากจีนไปไทย สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 9-13
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) และไทยไปจีนได้ภายใน 48 ชั่วโมง ซ่ึงจะได้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรด้านซัพพลายเชนระหว่าง ประเทศ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างไทยและจีน พร้อมอำนวยความสะดวกการขนส่งสินค้า คุณภาพสูงจากจีน ไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยจะเปิดบริการระหว่างสนามบินเส่ินเจิ้นเป่าอัน และสนามบินสุวรรณภูมิในกรุงเทพฯ สัปดาห์ละสามครั้ง พร้อมไปกลับในวันเดียวกัน ซึ่งเส้นทางการ ขนส่งเช่ือมต่อเต็มรูปแบบ end-to-end ไม่เพียงช่วยเพ่ิมความรวดเร็วในการขนส่งสินค้าข้าม พรมแดน แต่ยังเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจข้ามพรมแดนผ่านช่องทางอีคอมเมิร์ซ ท้งั ไทยและจีนอย่างเตม็ ประสิทธิภาพ รวมไปจนถึงการร่วมทุนระหวา่ ง JD.com และ JD ในประเทศไทย หรอื JD Central (JDC) อีกดว้ ย ดงั รปู ท่ี 9.2-1 ทีม่ า : https://www.prachachat.net/ict/news-679195 รูปท่ี 9.2-1 บริการการขนส่งสนิ คา้ แบบเชา่ เหมาลำ เส่ินเจิ้น-กรุงเทพฯ ของ JD.com 3). คลังสินค้า บริษัท เซ็นทรัล เจดี คอมเมิร์ซ จำกัดได้ทำการเช่าคลังสินค้าจากบริษัท ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) มีขนาดพ้ืนที่ 6,848 ตารางเมตร บนถนนบางนา-ตราด กิโลเมตรที่ 19 ซ่ึงเป็นบริเวณ เดียวกับพ้ืนท่ีคลังสินค้าของกลุ่มเซ็นทรัลอีกสามกลุ่มธุรกิจ ได้แก่ เซ็นทรัล ดีพาร์ตเมนต์ สโตร์ เซ็นทรัล เรสเตอรองต์ กรุ๊ป และเซ็นทรัล กรุ๊ป ออนไลน์ คลังสินค้าของ JD Central แสดงได้ดัง รูปท่ี 9.2-2 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 9-14
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) รปู ที่ 9.2-2 คลังสนิ คา้ ของ JD Central 4). การคดั แยกและการกระจายสนิ คา้ ระบวนการขนส่งของ JD Central มีจุดเร่ิมต้นจากคลังสินค้า สถานีคัดแยกประเภทสินค้า สถานีกระจายสินค้าจากคลังสินค้าต้นทางสู่คลังสินค้าปลายทางท่ีใช้ระบบอัตโนมัติทั้งหมด และการขนส่งสินค้าโดยพนักงานถึงมือลูกค้า ทั้งหมดนี้ดำเนินการภายใต้แนวคิด “สู่สากล” ของ JD.COM ซ่ึงเป็นต้นแบบของการจัดส่งสินค้าทันใจภายใน 48 ช่ัวโมง จากจีนสู่เมืองต่างๆ ท่ัวประเทศ และทัว่ โลก ระบบจัดการคลังสินค้าของ JD Central เป็นแบบอัตโนมัติ โดยกระบวนการทำงานและการจัดวาง สินค้าของเราอาศัย AI algorithms และการวิเคราะห์เซ็ตข้อมูลขนาดใหญ่ในการบริหารจัดการ ซ่ึงการใช้เทคโนโลยีคลังสินค้าอัตโนมัติเช่นนี้ช่วยให้เราประหยัดต้นทุนได้มากถึ ง 50% แต่เพิ่ม ผลิตภาพด้านการจดั การพ้นื ที่คลังสนิ ค้าไดถ้ งึ 500% JD Central ยกระดับประสิทธิภาพซัพพลายเชนสู่มาตรฐานโลก โดยเจริญรอยตามนวัตกรรมระบบ จัดการคลังสินคา้ อตั โนมัติของ JD.COM ดังนี้ • เทคโนโลยีผสานประสบการณ์ คลังสินค้าของเราผสานเทคโนโลยีและอุปกรณ์ล้ำสมัย มาตรฐานสากล เขา้ กบั ประสบการณก์ ารจัดการท่ีใส่ใจทุกขั้นตอนปลกี ย่อย • บรรจุภัณฑ์แน่นหนา สินค้าทุกช้ินจดั ส่งในบรรจุภัณฑท์ ี่แข็งแรง ได้มาตรฐานด้านขนาดและ การจัดการบรรจุภัณฑ์ เพ่ือให้แน่ใจว่าลูกค้าจะได้รับสินค้าในสภาพสมบูรณ์ที่สุด เพราะ แนวคดิ “ปกป้องพสั ดุทกุ กล่องอย่างปลอดภยั ” • บุคลากรที่ใส่ใจรายละเอียด ขณะบรรทุกสินค้าข้ึนรถเพ่ือจัดส่งจากคลังสินค้าไปยังสถานี กระจายสินค้า พนักงานจะถอดรองเท้าก่อนเข้าไปในตู้บรรจุสินค้าบนรถเสมอ เพื่อป้องกัน บรรจภุ ัณฑเ์ ปรอะเปื้อนก่อนถงึ มือลูกค้า สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 9-15
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 9.3 สรปุ ผลการศึกษา จากการรวบรวมข้อมูลการบริหารจัดการศูนย์กระจายสินค้า และคลังสินค้าของผู้ประกอบการ ธุรกจิ e-Commerce จำนวน 2 แห่ง พบวา่ แนวปฏิบัติท่ีดีของสถานีขนส่งสนิ คา้ จะต้องมุ่งเน้นด้าน การจัดการพ้ืนท่ีสำหรับรองรับคำส่ังซื้อจากช่องทางท่ีหลากหลาย ต้องประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ต่างๆ เพื่อเข้าถึงข้อมูลลูกค้าได้จากอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนท่ี ทั้งนี้ อาจมีนโยบายในการจ้างเหมา แรงงานในสถานีขนส่งสินค้าในกรณีที่มีคำสั่งซื้อมากผิดปกติ อันเน่ืองมาจากการส่งเสริมการขายใน แต่ละชว่ งเวลา สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 9-16
บทที่ 10 การศกึ ษาและวเิ คราะหข์ อ้ มูลการบริหารทรพั ยากรบคุ คล ในการบริหารจดั การ โครงสร้างพืน้ ฐานด้านการขนสง่ ของหนว่ ยงานภาครฐั
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) บทท่ี 10 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล ในการบริหารจัดการโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการขนส่ง ของหน่วยงานภาครัฐ ในการศึกษาและวิเคราะห์การบริหารทรัพยากรบุคคลในการบริหารจัดการโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการ ขนส่งสินค้าของหน่วยงานภาครัฐในปัจจุบัน ได้กำหนดกรอบการศึกษาและวิเคราะห์ไว้ 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ▪ โครงสรา้ งบคุ ลากรและอัตรากำลงั ▪ ภารกจิ ลักษณะงาน และคณุ สมบตั เิ ฉพาะตำแหน่ง ▪ การประเมนิ ผลงานและตวั ชว้ี ดั ประสิทธภิ าพของบุคลากร ▪ ภาระงานจากการปฏิบัติงานจริง โดยในการศึกษาครั้งนี้ ท่ีปรึกษาได้ทำการรวบรวมทบทวนและวิเคราะห์โครงสร้างพื้นฐานด้านการ ขนส่งของรัฐจำนวน 3 โครงการ เพื่อนำมาเทียบเคียง รวมถึงวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียจากแต่ละโครงการ เพ่ือนำสว่ นที่ดหี รือมปี ระโยชน์มาปรับใช้กับการบรหิ ารสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองภูมภิ าคและปริมฑล ทั้ง 3 แห่ง โดยโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการขนส่งของรัฐท้ัง 3 โครงการ ประกอบด้วย (1) สถานีบรรจุและ แยกสินค้ากล่องลาดกระบัง (ICD ลาดกระบัง) การรถไฟแห่งประเทศไทย (2) ศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทาง รถไฟ (Single Rail Transfer Operator: SRTO) การท่าเรือแห่งประเทศไทย และ (3) ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูป แบบการขนส่งสินค้าเชยี งของ จงั หวัดเชียงราย กรมการขนส่งทางบก โดยผลการศึกษาทบทวนแสดงใน หัวข้อ 10.1 ถึง 10.3 จากน้ันจึงทำการศึกษาวิเคราะห์และจัดทำข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงสร้าง การบรหิ ารงานและบคุ ลากรของสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองภูมภิ าคและปรมิ ฑลทง้ั 3 แห่ง ซึ่งแสดงใน หวั ขอ้ 10.4 ถงึ 10.6 ตอ่ ไป สำหรับรายละเอียดและผลการศกึ ษาท้ังหมดแสดงดังต่อไปน้ี 10.1 สถานีบรรจุและแยกสนิ คา้ กลอ่ งลาดกระบงั (ไอซีดี ลาดกระบงั ) การรถไฟแห่งประเทศไทย สถานีบรรจุและคัดแยกสินค้ากล่อง (Inland Container Depot : ICD) ดำเนินการก่อสร้างโดยการ รถไฟแหง่ ประเทศไทย (รฟท.) มีพ้ืนที่ท้ังหมดจำนวน 645 ไร่ ประกอบด้วยพื้นที่ส่วนกลางเพื่อขนถ่าย ตู้สินค้าทางรถไฟและถนน รวม 265 ไร่ และส่วนที่เหลือเป็นพ้ืนท่ีสัมปทานของ 6 สถานี รวม 380 ไร่ โดยบรษิ ทั ผไู้ ดร้ บั สัมปทานทั้ง 6 สถานี มดี งั นี้ 1) โรงพกั สินค้าสถานที ่ี 1 บรษิ ทั สยามชอรไ์ ซด์ เซอรว์ สิ จำกัด (Siam ShoreSide Services Co., Ltd.) 2) โรงพักสินค้าสถานีที่ 2 บริษัท อิสเทิร์นซีแหลมฉบังเทอร์มินัล (ประเทศไทย) จำกัด (Eastern Sea Laem Chabang Terminal Co., Ltd.) สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 10-1
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 3) โรงพักสินค้าสถานีที่ 3 บริษัท เอเวอร์กรีนคอนเทนเนอร์ เทอมินัล (ประเทศไทย) จำกัด (Evergreen Container Terminal Thailand) 4) โรงพักสินค้าสถานีที่ 4 บริษัท ทิฟฟ่าไอซีดี จำกัด (Thai International Freight Forwarders Association) 5) โรงพักสินค้าสถานีที่ 5 บรษิ ัท ไทยฮนั จนิ โลจิสตกิ ส์ จำกัด (Thai Hanjin Logistics Co.,Ltd.) 6) โรงพักสนิ คา้ สถานีที่ 6 บริษัท เอ็น วาย เคดิสทรบิ ิวช่ันเซอรว์ ิส (ประเทศไทย) จำกัด (สำนักงาน ศุลกากรตรวจสนิ คา้ ลาดกระบัง, 2563) ความสามารถในการรองรับคอนเทนเนอร์ของ ICD ลาดกระบัง อยู่ที่ 700,000 – 800,000 TEU ต่อปี แต่ปัจจุบันรองรับจริงอยู่ท่ีประมาณ 1,000,000 TEU ต่อปี และจากการลงพ้ืนที่เพ่ือเก็บข้อมูล พบว่าภายในพืน้ ที่ 645 ไร่ แบ่งเปน็ การใชป้ ระโยชน์ 3 สว่ นหลัก คอื 1) สถานีของ 6 บริษัทผู้ได้รับสัมปทาน นอกเหนือจากพ้ืนที่สถานีของท้ัง 6 บริษัทแล้ว จะมี คลังสินค้าตกค้างท่ีรวบรวมสินค้าตกค้างของทุกบริษัทไว้ในคลังสินค้าเดียวกันตามระเบียบ ขอ้ บังคบั โดยมีกรมศุลกากรเป็นผดู้ แู ล แต่ในอนาคตมแี นวทางในการปรับใหม้ ีการจดั เก็บแยก ตามในพืน้ ที่ของแตล่ ะสถานีเพอ่ื ให้สะดวกต่อการจดั การมากข้ึน 2) พืน้ ทสี่ ่วนกลาง (ประกอบดว้ ยสถานท่ดี ำเนนิ งานของ 6-7 หน่วยงาน) 3) พ้นื ท่ใี หเ้ ชา่ อน่ื ๆ รูปแบบของสัมปทานของทั้ง 6 บริษัท เป็นการร่วมลงทุนระหว่างรัฐกับเอกชน หรือ PPP (Public Private Partnership) โดยสัญญาสัมปทานมีระยะเวลา 15 ปี โดยทาง รฟท. เป็นผู้ลงทุนในด้าน ของโครงสร้างพ้ืนฐาน เช่น อาคารคลังสินค้า ลานขนถ่ายสินค้า เป็นต้นรวมถึงการให้บริการสนับสนุน ด้านการขนส่งทางรถไฟ ซึ่งทางบริษัทผู้ได้รับสัมปทานจะเป็นผู้จัดหาอปุ กรณ์เคร่ืองมือและบุคลากร มาดำเนินงานเอง ซึ่งบริษัทจะมีอำนาจเบ็ดเสร็จในการบริหารและจัดการด้านลูกค้าเอง ทั้งน้ีบริษัท ผไู้ ด้รับสัมปทานสามารถลงทุนก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานหรือลงทุนในดา้ นอืน่ ๆ เพิม่ เติมได้ แตต่ ้อง ผ่านการพิจารณาหรือตรวจสอบตามกระบวนการของ รฟท. โดยเม่ือสิ้นสุดสัญญาหรือบริษัทสิ้นสุด การดำเนินการไปน้ัน กรรมสิทธ์ิของสิ่งก่อสร้างที่เอกชนได้มีการลงทุนเพิ่มเติมจะเป็นของ รฟท. ต่อไป และในสัญญาจะมีการระบุให้ผู้ได้รับสัมปทานต้องมีการขนส่งทางรถไฟไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของ การขนส่งสินค้าท้ังหมดของบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐที่สนับสนุให้มีการใช้การขนส่ง ทางรถไฟเพม่ิ มากขึ้น ทั้งน้ีจะมีการจัดประชุมประจำทุกเดือนจากทั้ง 3 ส่วนท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ การรถไฟแห่งประเทศไทย กรมศุลกากร และบริษัทผู้ได้รับสัมปทาน โดยจะพิจารณาปริมาณการขนส่งและสถานการณ์การ ขนสง่ ในภาพรวมของประเทศ เพ่อื รับรู้ปญั หาหรือสถานการณต์ า่ ง ๆ และร่วมกนั หาแนวทางแกไ้ ข สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-2
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 10.1.1 โครงสร้างบคุ ลากรและอัตรากำลัง การบริหารจัดการ ไอซีดี ลาดกระบัง เป็นภาระหน้าท่ีของกองปฏิบัติการไอซีดีลาดกระบัง และเป็น กองหนงึ่ ในฝ่ายบริการสนิ ค้าและกลุ่มธรุ กิจการเดินรถ ดังแสดงในรูปที่ 10.1-1 รูปที่ 10.1-1 โครงสรา้ งกลุ่มธุรกิจการเดนิ รถ การรถไฟแหง่ ประเทศไทย จากเอกสารแนบเกี่ยวกับอัตรากำลังฝ่ายบริการสินค้าที่ได้จากการสัมภาษณ์ พบว่าอัตรากำลังและ ตำแหน่งงานภายใต้กองปฏิบัติการไอซีดีลาดกระบัง มีรายละเอียดดังตารางท่ี 10.1-1 ท้ังนี้ในส่วน งานบริหารจัดการไอซีดีลาดกระบังมีการจ้างบุคลากรนอกกรอบโดยมีรปู แบบการจ่ายค่าจ้างตามอัตรา ค่าแรงขนั้ ตำ่ ไม่มสี วสั ดิการเพม่ิ เติมเพ่ือสนบั สนุนการดำเนินงานของพนักงาน รฟท. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-3
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ตารางที่ 10.1-1 ตำแหน่งงานและอตั รากำลังของกองปฏิบตั ิการไอซีดีลาดกระบัง ตำแหน่งงานในกองปฏบิ ัตกิ ารไอซดี ีลาดกระบงั อัตรากำลัง งานบริหารจัดการไอซีดีลาดกระบัง หัวหนา้ กอง (พนกั งานการเดินรถ 10) 1 สารวตั ร (พนักงานการเดินรถ 8) 1 ผูช้ ่วยสารวัตร (พนักงานการเดินรถ 7) 1 พนักงานการเดนิ รถ 6 3 นายสถานี (พนกั งานการเดนิ รถ 6) 7 พนักงานรกั ษารถ (พนกั งานขบวนรถ 6) 9 นายสถานี (พนักงานการเดินรถ 5) 1 พนกั งานรักษารถ (พนักงานขบวนรถ 5) 2 พนกั งานห้ามลอ้ (พนกั งานขบวนรถ 2-4) 13 พนักงานสบั เปลย่ี น (พนกั งานการเดนิ รถ 4-5) 7 เสมียนสถานี (พนกั งานการเดนิ รถ 2-4) 6 พนกั งานพว่ งรถ (พนักงานการเดนิ รถ 2-3) 8 พนกั งานคมุ ประแจฯ (พนักงานการเดนิ รถ 2) 14 พนักงานก้นั ถนน (พนกั งานการเดินรถ 2) 2 งานกำกับสัญญาและรว่ มทุน หัวหนา้ งาน (พนักงานการเดนิ รถ 8) 1 พนกั งานการเดนิ รถ 6 4 รวมทง้ั หมด 80 ทม่ี า : ปรบั ใชจ้ ากเอกสารแนบทีไ่ ด้จากการสัมภาษณ์ฯ 10.1.2 ภารกิจ ลกั ษณะงาน และคุณสมบัตเิ ฉพาะตำแหนง่ จากตำแหน่งงานและอัตรากำลังในตารางท่ี 10.1-1 ข้างต้น พบว่าบุคลากรของกองปฏิบัติการไอซีดี ลาดกระบังที่เก่ียวข้องโดยตรงกับงานขนส่งสินค้าและสามารถนำมาปรับใช้กับการบริหารจัดการสถานี ขนส่งสินคา้ ของกรมการขนสง่ ทางบกได้ ประกอบด้วย 1) หวั หนา้ กอง (พนักงานการเดินรถ 10) 2) สารวตั ร (พนักงานการเดินรถ 8) งานบรหิ ารจัดการไอซดี ีลาดกระบงั 3) ผูช้ ่วยสารวตั ร (พนักงานการเดนิ รถ 7) งานบริหารจัดการไอซีดีลาดกระบงั 4) พนักงานวิเคราะห์ (พนกั งานการเดินรถ 6) งานบรหิ ารจัดการไอซีดีลาดกระบัง 5) หัวหน้างาน (พนกั งานการเดนิ รถ 8) งานกำกบั สัญญาและรว่ มทุน 6) หัวหนา้ หมวด (พนกั งานการเดินรถ 6) งานกำกับสญั ญาและรว่ มทุน ท้ังน้ีสามารถสรุปภารกิจ ลักษณะงาน และคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของบุคลากรข้างต้น ได้ดัง ตารางที่ 10.1-2 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 10-4
ตารางท่ี 10.1-2 ภารกิจ ลักษณะงาน และคณุ สมบตั ิเฉพาะตำ ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าทค่ี วามรับผิดชอบ 1 หัวหนา้ กอง พนกั งานการเดนิ รถ 10 - ควบคุมบริหารงานจัดการ 1. ควบคุม ด และวางแผนด้านงาน สารบรรณ ปฏิบัติการขนส่งสินคา้ ระหว่าง 2. ตรวจสอบ ไอซีดีลาดกระบงั และท่าเรอื และงบปร แหลมฉบงั 3. วางแผนด - งานกำกับดูแลกจิ การร่วมทุน ปรบั ปรงุ ร - การวางแผนและวิเคราะห์ 4. ควบคุมกา ปรบั ปรุงระบบงาน 5. ควบคมุ กา - ควบคุมการบริหารสญั ญา 6. ควบคมุ สง่ั สัมปทาน ผปู้ ระกอบ เพื่อให้บรรลุผลงานตามเปา้ หมาย 7. กำกบั ดูแล ที่กำหนดไว้ของหน่วยงาน พสั ดุ การ 8. วางแผนห ตามแผนง แก้ปัญหา 9. ติดต่อประ 10. ชแ้ี จงให คณะกรร 11. จัดระบบ สอดคล้อง 12. ตดิ ตามแ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ำแหน่งของการพัฒนาและบริหารไอซดี ีลาดกระบังในปัจจบุ ัน ลกั ษณะงาน วุฒกิ ารศึกษา ประสบการณ/์ ความชำนาญ ดแู ลงานด้านสารบรรณ งานด้านบุคคล ปริญญาตรีหรือ ▪ ประสบการณ์ ณประวตั ิงานธรุ การและการเงนิ เทยี บเท่าทางการ 1). ได้ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 9 บและพิจารณาการของบประมาณทำการ บริหารหรือ มาแลว้ ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือ ระมาณลงทุน กฎหมายหรอื 2). ได้ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 8 ด้านปฏบิ ัติการเดนิ รถ และวิเคราะห์ รัฐศาสตร์หรอื มาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 3 ปี ระบบการปฏิบตั ิงาน เศรษฐศาสตร์หรอื ▪ คุณลักษณะ/ความสามารถ ารบริหารสญั ญาสัมปทานและอน่ื ๆ วิศวกรรมศาสตร์ 1). มีความรู้ความสามารถในงานเดินรถอยา่ ง ารจัดประชุมคณะกรรมการประสานงานฯ เหมาะสม งการตดิ ต่อประสานงานกับ 2). มีความรู้ความเข้าใจในกฎ ข้อบงั คับ บการ ระเบียบการ และคำส่งั ทเ่ี กี่ยวข้อง ลงานดา้ นธรุ การ บริหารงานบุคคล บญั ชี 3). มีความรู้ความเข้าใจในนโยบายการ รเงินและงบประมาณ บริหารและการบริหารงานบุคคลเป็น หรอื รว่ มดำเนนิ การวางแผนการทำงาน อย่างดี งานหรือโครงการของหนว่ ยงาน และ 4). มีความรู้ความเข้าใจในนโยบายการ าในการปฏบิ ัตงิ าน บรหิ ารงานของรัฐบาล และปัญหาดา้ น ะสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง การเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คมของ ห้ขอ้ ความเห็นขอ้ เสนอแนะในที่ประชุม ประเทศ รมการและคณะทำงานตา่ ง ๆ 5). มีความรู้ความเข้าใจในหลกั การและวิธี บงานและอตั รากำลังของหน่วยงานให้ ปฏิบตั ิเก่ียวกับการควบคุมการเบิก งกับภารกจิ จ่ายเงนิ และประเมินผลงานของพนักงาน 10-5
ตารางที่ 10.1-2 ภารกจิ ลักษณะงาน และคุณสมบัติเฉพาะตำแห ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ 13. ใหค้ ำปร ปฏิบตั ิงาน 14. วางแผน หนว่ ยงาน 15. ติดตาม งบประมา 16. ปฏิบัตงิ า 2 สารวตั ร พนกั งานการเดินรถ 8 ควบคุมดูแลงานด้านงานบริหาร 1. ประสานงา (งานบริหารจัดการไอซีดี จดั การ ตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน การจัดสร ลาดกระบัง) ของไอซีดีลาดกระบังและสถานี สนิ ค้า กา แหลมฉบัง รวมถงึ ทา่ เรือ โกดังสินค แหลมฉบัง 2. ควบคุมวาง - ปกครองผู้บังคับบัญชา และการจ ตลอดจนหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ 3. ควบคุมกา ไดร้ ับมอบหมาย ดา้ นการเด เพ่ือให้บรรลุผลงานตามเป้าหมาย เจ้าหน้าท ทีก่ ำหนดไว้ของหน่วยงาน 4. ควบคุมกา ให้บริการ อำนวยคว 5. ควบคุมกจิ ปฏบิ ัติงาน สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) หน่งของการพัฒนาและบริหารไอซีดีลาดกระบังในปัจจบุ ัน (ต่อ) ลักษณะงาน วุฒิการศึกษา ประสบการณ/์ ความชำนาญ รึกษาแนะนำ ปรับปรงุ และพฒั นาการ 6). มีความรู้ความสามารถในการกำหนด นของพนกั งาน นโยบาย วางแผน จดั ระบบงาน วินิจฉัย นการใชท้ รัพยากรและงบประมาณของ สั่งการ ประสานงาน ปกครองบังคับ นท่รี บั ผิดชอบ บัญชา และให้คำปรกึ ษาแนะนำในการ ตรวจสอบการใชท้ รัพยากรและ แกป้ ญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง าณ ต่าง ๆ เก่ยี วกบั งานในหน้าท่ี านอน่ื ๆ ตามท่ผี ู้บังคับบัญชามอบหมาย 7). มีความเขา้ ใจปัญหาแรงงาน และการ แก้ไขปัญหาเป็นอยา่ งดี านการจัดทำกำหนดตารางเวลาการเดินรถ ประกาศนียบัตร ▪ ประสบการณ์ รรรถจักร รถพ่วง การจดั เดินขบวนรถพเิ ศษ วชิ าชพี หรอื กรณี ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือ ารใช้ประโยชนช์ านบรรทุก ลานบรรทุก เทียบเท่าทาง เทียบเท่าทางพาณิชย์ ต้องมีประสบการณ์ ค้า และสิ่งอำนวยความสะดวกตา่ ง ๆ พาณิชย์ ข้ันต่ำ ดงั นี้ างแผนด้านการขนสง่ เคล่ือนย้ายสินค้า หรือปริญญาตรี 1). ได้ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 7 จัดเดินขบวนรถสินค้า ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ หรอื ปริญญาโท มาแลว้ ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรอื ารปฏิบัตงิ านด้านสำนักงาน ด้านการสินค้า หรือปริญญาเอก 2). ได้ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 6 ดินรถ การสอบสวน การพัสดุ การ (คกู่ บั ประสบการณ)์ มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี ท่ี กรณไี ดร้ ับปริญญาตรีหรือเทยี บเท่าทางการ ารปฏิบัติงานด้านสถานีและย่าน การ บรหิ ารหรอื กฎหมายหรือรฐั ศาสตร์หรือ รดา้ นสินค้า เพ่ือให้เกดิ ความปลอดภัยและ เศรษฐศาสตรห์ รอื วิศวกรรมศาสตร์ ต้องมี วามสะดวกผู้ประกอบการขนส่งสินค้า ประสบการณข์ ้ันต่ำ ดงั น้ี จกรรมด้านขบวนรถ การตรวจสอบการ 1). ได้ดำรงตำแหน่งพนกั งานการเดินรถ 7 นของพนักงานขบวนรถสินค้า มาแลว้ ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรอื 10-6
ตารางท่ี 10.1-2 ภารกจิ ลกั ษณะงาน และคณุ สมบตั เิ ฉพาะตำแห ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าที่ความรบั ผิดชอบ 6. ควบคุมกจิ ภายในแล ข้อบกพร่อ ผ้ปู ฏิบตั ิง 7. เสนอแนะ ประกาศ 8. ควบคุมกา สถานีและ ปรับปรุงอ 9. ติดต่อประ ซ่อม รกั ษ การสือ่ สา 10. ควบคุมง 11. ควบคุมข 12. กำกบั ดแู บญั ชี พัส 13. วางแผนห ตามแผนง แก้ไขปัญ 14. ติดตอ่ ปร 15. ชแี้ จงให้ข คณะกรร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) หน่งของการพัฒนาและบริหารไอซดี ลี าดกระบังในปัจจุบนั (ต่อ) ลกั ษณะงาน วฒุ ิการศึกษา ประสบการณ/์ ความชำนาญ จกรรมด้านการสอบสวนเร่อื งราวต่าง ๆ ท้งั 2). ได้ดำรงตำแหน่งพนกั งานการเดินรถ 6 ละภายนอกกจิ การรถไฟฯ การตรวจสอบ มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี องให้เป็นไปตามระเบียบ การควบคุม กรณีไดร้ ับปริญญาโทหรือปริญญาเอกหรอื งานด้านสถานแี ละย่าน และขบวนรถ เทียบเท่าทางการบริหารหรอื กฎหมายหรือ ปรบั ปรุง แกไ้ ข ระเบียบ คำสัง่ หรือ รัฐศาสตรห์ รือเศรษฐศาสตรห์ รือ ารจัดผลัดการทำงานของพนักงานย่าน วศิ วกรรมศาสตร์ ตอ้ งมีประสบการณข์ ั้นต่ำ ะขบวนรถให้เหมาะสม ควบคุมและ ดงั นี้ อัตรากำลัง 1). ได้ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 7 ะสานงานกับหนว่ ยงานที่เก่ียวข้องในการ ษาอุปกรณ์เครอ่ื งใชเ้ กย่ี วกับการเดนิ รถ มาแล้วไม่นอ้ ยกวา่ 1 ปี าร อาคารและทรพั ยส์ ินของ รฟท. ▪ คณุ ลักษณะ/ความสามารถ งบประมาณทำการของงาน ขบวนรถสนิ คา้ 1). มีความรู้ความสามารถในงานเดินรถอยา่ ง แลงานด้านธรุ การ บริหารงานบุคคล เหมาะสม สดุ การเงนิ และงบประมาณ หรือรว่ มดำเนินการวางแผนการทำงาน 2). มีความรู้ความเข้าใจในกฎ ขอ้ บังคับ งานหรือโครงการของหน่วยงาน และ ระเบียบการ และคำสง่ั ทเี่ ก่ยี วข้อง ญหาในการปฏิบตั ิงาน ระสานงานกับหน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ ง 3). มีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหาร ข้อความเห็นขอ้ เสนอแนะในทีป่ ระชุม และการบริหารงานบุคคล 4). มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ 5). มีความสามารถในการริเริม่ ปรบั ปรงุ นโยบายและแผนงาน รมการและคณะทำงานตา่ ง ๆ 10-7
ตารางท่ี 10.1-2 ภารกจิ ลักษณะงาน และคุณสมบัติเฉพาะตำแห ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ 16. จัดระบบ สอดคลอ้ 17. ตดิ ตามแ 18. ให้คำปรึก ปฏิบัตงิ าน 19. วางแผนก หนว่ ยงาน 20. ตดิ ตาม ต งบประมา 21. ปฏิบัตงิ า 3 ผชู้ ว่ ยสารวัตร พนกั งานการเดนิ รถ 7 ชว่ ยงานสารวัตรงานบรหิ าร 1. ชว่ ยการจ (งานบริหารจัดการไอซดี ี จดั การไอซีดี ลาดกระบัง การสินค้า ลาดกระบงั ) ควบคุมดแู ลและตรวจสอบการ 2. ปฏิบัตงิ าน ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกบั งานการเดนิ ผู้ประกอบ รถ งานปฏิบัตกิ ารสถานแี ละ 3. ชว่ ยควบค ย่าน การปฏบิ ัติงานของ เปน็ ไปตา ผูใ้ ตบ้ งั คบั บัญชา ช่วยในการ กำหนดไว ติดตอ่ ประสานงานกบั 4. ชว่ ยดูแลก หน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง สงั กดั 5. มอบหมาย และให้คำ 6. ตรวจสอบ เพอื่ ใหเ้ ป สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) หน่งของการพัฒนาและบริหารไอซดี ีลาดกระบังในปัจจุบัน (ต่อ) ลักษณะงาน วุฒิการศึกษา ประสบการณ/์ ความชำนาญ บงานและอตั รากำลังของหน่วยงานให้ 6). มีความสามารถในการให้คำปรกึ ษา องกับภารกจิ แนะนำ แก้ไขปญั หาข้อขัดขอ้ งในการ และประเมินผลงานของพนักงาน ปฏิบตั ิงานของผู้ใตบ้ ังคับบัญชา กษาแนะนำ ปรับปรงุ และพฒั นาการ 7). มีความสามารถในการติดตามผลงาน การ นของพนักงาน ประเมนิ ผล การจัดวางแผน และแก้ไข การใช้ทรัพยากรและงบประมาณของ ปญั หาขอ้ ขัดขอ้ งต่าง ๆ นท่รี ับผิดชอบ 8). มีความเขา้ ใจปัญหาแรงงาน เข้าใจปัญหา ตรวจสอบการใช้ทรัพยากรและ และการแก้ไขปัญหาเป็นอยา่ งดี าณ านอ่ืน ๆ ตามท่ีผู้บังคับบัญชามอบหมาย จัดวางระเบยี บปฏิบตั งิ านด้านการเดินรถ ประกาศนยี บัตรไม่ ▪ ประสบการณ์ า ตำ่ กว่าประโยค กรณีไดร้ ับประกาศนยี บัตรไม่ต่ำกว่าประโยค นเกยี่ วกบั การจองแคร่บรรทุกตูส้ นิ ค้าของ มัธยมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นหรอื เทียบเท่า และ ได้ บการ ตอนต้นหรอื ดำรงตำแหน่งพนกั งานการเดินรถ 6 หรือ คมุ ปกครองบงั คบั บัญชาผู้ปฏิบตั งิ านให้ เทียบเท่า พนักงานขบวนรถ 6 มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ามนโยบาย ขอ้ บังคับ ระเบยี บ คำสง่ั ท่ี หรอื ปริญญาตรี หรอื ว้ (คู่กบั ประสบการณ)์ กรณไี ด้รับปรญิ ญาตรีหรือเทียบเท่าทางการ การจดั ผลัดเวรทำการของพนกั งานใน บรหิ ารหรือกฎหมายหรือรัฐศาสตร์หรือ ยและวนิ จิ ฉัยสั่งการควบคุมตรวจสอบ เศรษฐศาสตร์หรือวิศวกรรมศาสตร์ และ ได้ ำปรึกษา แนะนำ แก้ไขปัญหาขัดข้อง ดำรงตำแหนง่ พนักงานการเดินรถ 6 หรือ บการทำงานของพนักงานขบวนรถ สถานี พนกั งานขบวนรถ 6 มาแลว้ ไม่น้อยกว่า 1 ปี ป็นไปตามขอ้ บงั คบั ระเบียบ และคำสง่ั 10-8
ตารางที่ 10.1-2 ภารกจิ ลักษณะงาน และคณุ สมบัติเฉพาะตำแห ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าที่ความรบั ผิดชอบ 7. วางแผนห หรือโครง 8. ประสานก ใหค้ วามเ 9. ให้ข้อคดิ เห 10. ปฏบิ ัติงา 4 พนกั งานวิเคราะห์ พนกั งานการเดนิ รถ 6 ปฏิบัติงานเก่ียวกับงานสนับสนุน 1. ปฏิบตั งิ าน (งานบริหารจัดการไอซีดี การปฏบิ ัติงานสถานีและยา่ น งาน เจ้าหนา้ ท ลาดกระบงั ) ด้านการเดินรถ งานด้านบริการ 2. ประมวลส สินค้า งานพัสดุ งานธุรการ งาน เจ้าหนา้ ท จัดผลประโยชน์ งานบัญชขี องงาน 3. รวบรวมส บริหารจัดการไอซีดีลาดกระบัง และงบ ป ภ ายใต้ การก ำกั บ ดู แ ลข อ ง ลาดกระบ ผู้บังคับบัญชา และปฏิบัติหน้าที่ 4. ควบคุม ด อน่ื ๆ ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ไดด้ ี สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) หนง่ ของการพัฒนาและบริหารไอซีดีลาดกระบังในปัจจบุ นั (ต่อ) ลกั ษณะงาน วฒุ ิการศึกษา ประสบการณ/์ ความชำนาญ หรือรว่ มดำเนนิ การวางแผนการทำงาน ▪ คณุ ลกั ษณะ/ความสามารถ งการของหน่วยงาน และแกป้ ัญหา 1). มีความรู้ความสามารถในงานเดินรถอย่าง การทำงานร่วมกัน โดยมีบทบาทในการ เหมาะสม เห็นและคำแนะนำเบื้องตน้ 2). มีความรู้ความเข้าใจในกฎ ข้อบงั คับ หน็ หรอื คำแนะนำแก่พนักงาน ระเบียบการ และคำสัง่ ทเ่ี กี่ยวข้อง านอ่ืน ๆ ตามทผ่ี ู้บังคับบัญชามอบหมาย 3). มีความสามารถในการติดตอ่ ประสานงาน 4). มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมลู วเิ คราะหป์ ัญหา สรุปเหตุผล และ เสนอแนะ 5). มีความสามารถในการปกครองบงั คบั บญั ชา 6). มีความรูก้ ฎหมายแรงงานและการแก้ไข ปัญหาแรงงาน นด้านธุรการ การเงนิ การบัญชพี ัสดุ การ ประกาศนยี บตั ร ▪ ประสบการณ์ ทีข่ องงานบริหารจดั การไอซีดีลาดกระบัง ประโยค กรณีได้รับประกาศนียบัตรไม่ต่ำกว่าประโยค สรุปเรอื่ งดา้ นการเดนิ รถ ดา้ นการ มธั ยมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า และ ได้ ที่ และด้านการสินค้า ตอนต้นหรือ ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 5 หรือ สถติ กิ ารเดินรถ ดา้ นการสนิ ค้า การเงนิ เทยี บเท่าหรอื พนักงานขบวนรถ 5 มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ประมาณขของงานบริหารจัดการไอซีดี ปรญิ ญาตรี หรอื บัง (คู่กบั ประสบการณ์) กรณีได้รับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางการ ดูแลอุปกรณต์ า่ ง ๆ ให้อยู่ในสภาพใชก้ าร บริหารหรือกฎหมายหรอื รฐั ศาสตร์หรือ เศรษฐศาสตร์หรือวิศวกรรมศาสตร์ 10-9
ตารางท่ี 10.1-2 ภารกิจ ลกั ษณะงาน และคณุ สมบตั ิเฉพาะตำแห ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าที่ความรบั ผิดชอบ 5. ควบคุมกา มาตรฐาน 6. การจดั ทำ และงบปร 7. วางแผนห หรือโครง ปฏิบตั งิ าน 8. ประสานก ให้ความเ 9. ใหข้ ้อคิดเห 10. ปฏบิ ัติงา 5 หัวหนา้ งาน พนักงานการเดินรถ 8 ควบคุมกำกับงานด้านสัญญา 1. บริหารคว (งานกำกับสัญญาและร่วม และร่วมทุนไอซีดีลาดกระบัง ลาดกระบ ทนุ ) ก ารจั ด ป ระ โย ช น์ ใน พื้ น ท่ี 2. บรหิ ารคว ประสานงานกับหน่วยงานที่ 3. ติดตามแล เก่ียวข้อง เพ่ือให้ผลงานบรรลุ 4. ควบคุมกา ตามเป้าหมายของหนว่ ยงาน ทด่ี ิน ค่าบ คา่ เชา่ ค่า 5. ตรวจสอบ ของผู้เช่า 6. การเบกิ จา่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) หน่งของการพัฒนาและบริหารไอซีดีลาดกระบังในปัจจบุ ัน (ต่อ) ลกั ษณะงาน วฒุ ิการศึกษา ประสบการณ/์ ความชำนาญ ารจดั เก็บระเบียบคำส่งั ต่าง ๆ ให้เป็น คุณลกั ษณะ/ความสามารถ น 1). มีความรู้ความสามารถในงานเดินรถอย่าง ำรายละเอยี ดการตง้ั งบประมาณทำการ เหมาะสม ระมาณลงทุน 2). มีความรู้ความเข้าใจในกฎ ข้อบังคับ หรือร่วมดำเนนิ การวางแผนการทำงาน ระเบียบการ และคำสัง่ ที่เกี่ยวข้อง งการของหน่วยงาน และแกป้ ัญหาในการ 3). มีความสามารถในการติดตอ่ ประสานงาน น 4). มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมูล การทำงานร่วมกัน โดยมีบทบาทในการ วิเคราะห์ ปั ญ หา สรุปเหตุผล และ เห็นและคำแนะนำเบ้ืองต้น เสนอแนะ หน็ หรอื คำแนะนำ 5). มีความสามารถในการปกครองบังคับ านอื่น ๆ ตามท่ผี ู้บงั คับบัญชามอบหมาย บญั ชา 6). มีความรู้กฎหมายแรงงานและการแก้ไข ปัญหาแรงงาน วบคุมกำกบั สัญญาสัมปทานไอซดี ี ▪ ประสบการณ์ บัง กรณี ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือ วบคุมกำกบั สัญญาเช่าต่าง ๆ เทียบเท่าทางพาณิชย์ ต้องมีประสบการณ์ ละจดั ทำรายงานการประชมุ ข้นั ตำ่ ดังน้ี ารจดั ทำบัญชีค่าเช่า คา่ ภาษโี รงเรือนและ 1). ได้ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 7 บำรงุ ท้องทภี่ ายใน ตรวจสอบการชำระเงนิ มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ปี หรอื าธรรมเนียมและคา่ ตา่ ง ๆ หรอื ปริญญาโท 2). ได้ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 6 มาแลว้ ไมน่ ้อยกว่า 4 ปี บการขอต่อเติมอาคาร และส่ิงปลกู สร้าง หรอื ปริญญาเอก า (ค่กู บั ประสบการณ์) ายพสั ดุ ครภุ ณั ฑข์ องกองฯ 10-10
ตารางท่ี 10.1-2 ภารกิจ ลักษณะงาน และคุณสมบตั เิ ฉพาะตำแห ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าที่ความรบั ผิดชอบ 7. ตดิ ต่อประ จัดทำประ สถานที่ 8. พิจารณาต สรา้ ง และ ทรพั ยส์ นิ 9. ควบคุม ด งาน แนะ และประเ 10. หน้าทอ่ี ื่น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) หนง่ ของการพัฒนาและบริหารไอซดี ีลาดกระบังในปัจจุบนั (ต่อ) ลักษณะงาน วฒุ ิการศึกษา ประสบการณ/์ ความชำนาญ ะสานงาน วางแผน มอบหมายงาน กรณีได้รับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางการ ะมาณการ ตดิ ตามดำเนินการตามสัญญา บริหารหรือกฎหมายหรือรัฐศาสตร์หรือ ตรวจสอบการขอต่อเติมอาคารและสิ่งปลกู เศรษฐศาสตร์หรือวิศวกรรมศาสตร์ ต้องมี ะสัญญาอื่น ๆ ที่เก่ยี วข้อง และดูแล ประสบการณ์ขัน้ ต่ำ ดังนี้ นของ รฟท. ที่ไอซีดีลาดกระบัง 1). ได้ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 7 ดูแล ปกครองบังคับบญั ชา มอบหมาย ะนำ ช่วยเหลอื ตรวจสอบ กลน่ั กรองงาน มาแลว้ ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือ เมินผลการปฏิบตั ิงาน 2). ได้ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 6 น ๆ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี กรณีได้รับปริญญาโทหรือปริญญาเอกหรือ เที ย บ เท่ าท างก ารบ ริ ห ารห รื อ ก ฎ ห ม าย ห รื อ รั ฐ ศ า ส ต ร์ ห รื อ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ห รื อ วิศวกรรมศาสตร์ ต้องมีประสบการณ์ข้ันต่ำ ดังนี้ 1). ได้ดำรงตำแหน่งพนักงานการเดินรถ 7 มาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี ▪ คุณลกั ษณะ/ความสามารถ 1). มีความรู้ความสามารถในงานเดินรถอย่าง เหมาะสม 2). มีความรู้ความเข้าใจในกฎ ข้อบังคับ ระเบยี บการ และคำสัง่ ทเี่ ก่ยี วข้อง 3). มีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหาร และการบรหิ ารงานบุคคล 10-11
ตารางที่ 10.1-2 ภารกิจ ลกั ษณะงาน และคุณสมบตั ิเฉพาะตำแห ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าท่คี วามรบั ผิดชอบ 6 หัวหน้าหมวด พนกั งานการเดินรถ 6 ดำเนินการจัดเตรียมและจัดทำ 1. จัดทำสัญญ (งานกำกับสัญญาและร่วม สัญญาเช่าต่าง ๆ และดำเนินการ 2. จดั ทำรายง ทุน) ตามกระบวนการชำระภาษี 3. จดั ทำบัญช โรงเรือนและท่ีดิน ค่าภาษีบำรุง ทอ้ งทภี่ ายใ ท้องท่ีให้กับหน่วยงานรัฐ ติดต่อ 4. รายงานกา ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ผเู้ ช่า ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้ผลงานบรรลุ 5. ติดต่อประ ตามเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ ชแี้ จงตอบป 6. ติดต่อประ สร้างของผู้เ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) หน่งของการพัฒนาและบริหารไอซดี ลี าดกระบังในปัจจุบนั (ต่อ) ลักษณะงาน วุฒิการศึกษา ประสบการณ/์ ความชำนาญ 4). มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ 5). มีความสามารถในการริเร่ิม ปรับปรุง นโยบายและแผนงาน 6). มีความสามารถในการให้คำปรึกษา แนะนำ แก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการ ปฏบิ ัตงิ านของผู้ใต้บังคับบัญชา 7). มีความสามารถในการตดิ ตามผลงาน การ ประเมินผล การจัดวางแผน และแก้ไข ปญั หาข้อขัดข้องต่าง ๆ 8). มีความเข้าใจปัญหาแรงงาน เข้าใจปัญหา และการแก้ไขปัญหาเป็นอยา่ งดี ญาเชา่ ต่าง ๆ ให้กับผู้เช่า งานการประชุม ชีค่าเช่า คา่ ภาษีโรงเรือนและทด่ี ิน ค่าบำรุง ใน ารขอต่อเติมอาคาร และสิ่งปลูกสรา้ งของ ะสานงานกบั ผ้เู ช่าพ้ืนทตี่ ่าง ๆ พรอ้ มกับ ปัญหา ะสานงานการขอต่อเตมิ อาคาร และสง่ิ ปลกู เช่า 10-12
ตารางท่ี 10.1-2 ภารกิจ ลกั ษณะงาน และคุณสมบตั ิเฉพาะตำแห ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าที่ความรบั ผิดชอบ 7. จัดทำบัญช 8. ติดต่อประ ดำเนินการต 9. หน้าทีอ่ ่ืน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั
รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) หน่งของการพัฒนาและบริหารไอซดี ลี าดกระบังในปัจจุบนั (ต่อ) ลกั ษณะงาน วุฒิการศึกษา ประสบการณ/์ ความชำนาญ ชีการเบกิ จา่ ยพัสดุ ครภุ ณั ฑ์ของกองฯ ะสานงาน จัดทำประมาณการ ติดตาม ตามสัญญา สถานท่ี ๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 10-13
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 707
- 708
- 709
- 710
- 711
- 712
- 713
- 714
- 715
- 716
- 717
- 718
- 719
- 720
- 721
- 722
- 723
- 724
- 725
- 726
- 727
- 728
- 729
- 730
- 731
- 732
- 733
- 734
- 735
- 736
- 737
- 738
- 739
- 740
- 741
- 742
- 743
- 744
- 745
- 746
- 747
- 748
- 749
- 750
- 751
- 752
- 753
- 754
- 755
- 756
- 757
- 758
- 759
- 760
- 761
- 762
- 763
- 764
- 765
- 766
- 767
- 768
- 769
- 770
- 771
- 772
- 773
- 774
- 775
- 776
- 777
- 778
- 779
- 780
- 781
- 782
- 783
- 784
- 785
- 786
- 787
- 788
- 789
- 790
- 791
- 792
- 793
- 794
- 795
- 796
- 797
- 798
- 799
- 800
- 801
- 802
- 803
- 804
- 805
- 806
- 807
- 808
- 809
- 810
- 811
- 812
- 813
- 814
- 815
- 816
- 817
- 818
- 819
- 820
- 821
- 822
- 823
- 824
- 825
- 826
- 827
- 828
- 829
- 830
- 831
- 832
- 833
- 834
- 835
- 836
- 837
- 838
- 839
- 840
- 841
- 842
- 843
- 844
- 845
- 846
- 847
- 848
- 849
- 850
- 851
- 852
- 853
- 854
- 855
- 856
- 857
- 858
- 859
- 860
- 861
- 862
- 863
- 864
- 865
- 866
- 867
- 868
- 869
- 870
- 871
- 872
- 873
- 874
- 875
- 876
- 877
- 878
- 879
- 880
- 881
- 882
- 883
- 884
- 885
- 886
- 887
- 888
- 889
- 890
- 891
- 892
- 893
- 894
- 895
- 896
- 897
- 898
- 899
- 900
- 901
- 902
- 903
- 904
- 905
- 906
- 907
- 908
- 909
- 910
- 911
- 912
- 913
- 914
- 915
- 916
- 917
- 918
- 919
- 920
- 921
- 922
- 923
- 924
- 925
- 926
- 927
- 928
- 929
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 750
- 751 - 800
- 801 - 850
- 851 - 900
- 901 - 929
Pages: