Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)

Published by Rodjana Binthabaht, 2022-04-25 09:09:23

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)

Search

Read the Text Version

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) 10.1.3 การประเมนิ ผลงานและตัวชวี้ ดั ประสิทธภิ าพของบุคลากร การประเมินผลการดำเนินงานของบุคลากรของไอซีดีลาดกระบัง ทง้ั พนักงานของ รฟท. และส่วนที่จ้าง บริษัทเอกชนภายนอก (Outsource) จะมีการประเมินผลปีละ 2 ครั้ง โดยไม่มีการกำหนดเป็น KPI ชดั เจน และดำเนินการประเมนิ โดยหัวหน้างาน โดยใช้เกณฑ์การประเมินตามระเบียบของ รฟท. เช่น พิจารณาจากเวลาเข้าและออกงาน คณุ ภาพของงาน เป็นตน้ สำหรับการบริหารทรัพยากรบุคคลของกองปฏิบัติการไอซีดีลาดกระบัง ในงานด้านปฏิบัติการ (Operation) ได้มีการจ้างบุคลากรนอกกรอบเป็นส่วนช่วยสนับสนุนการทำงาน โดยรูปแบบการจ้าง เป็นการจ่ายค่าจ้างตามอัตราค่าแรงข้ันต่ำและไม่มีสวัสดิการ ไม่เป็นการจ้างบริษัทเอกชนภายนอก (Outsource) จากการทบทวนแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคลในข้างต้น จะพบว่าในส่วนของข้อจำกัด ที่อัตรากำลังของหน่วยงานไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน โดยเฉพาะในส่วนของงานปฏิบัติการ ทั้ง 2 หน่วยงานพิจารณาเลือกการจ้างบุคลากรภายนอกเข้ามาเป็นส่วนสนับสนุน ซึ่งอาจเป็นได้ ทั้งในรูปแบบของการจ้างบริษัทเอกชนภายนอก (Outsource) หรือการจ้างบุคลากรนอกกรอบ โดย จะต้องพิจารณารูปแบบการจ้างให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์และระเบียบของหน่วยงานนั้น ๆ ทั้งน้ี สิ่งท่ีสอดคล้องกัน คือ การจ้างท้ัง 2 รูปแบบน้ันทางหน่วยงานสามารถลดภาระในการจัดการเรื่อง การเลอ่ื นขน้ั หรือขน้ึ เงนิ เดือนของพนักงานได้ 10.1.4 ภาระงานจากการปฏิบัติงานจรงิ กองปฏิบัติการไอซีดีลาดกระบัง (กปล.) มีส่วนงานย่อยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ งานบริหารจัดการ ไอซีดีลาดกระบัง และงานกำกบั สญั ญาและร่วมทนุ ซึ่งมีบทบาทหน้าท่หี ลัก ดงั น้ี 1. งานบรหิ ารจัดการไอซีดีลาดกระบัง เป็นดำเนินงานดา้ นปฏิบัติการซึ่งปัจจุบนั มีอัตรากำลังอยู่ท่ี 50 คน เป็นพนักงาน รฟท. ท้ังหมด โดย ในส่วนงานน้ีมีการจ้างบุคลากรนอกกรอบโดยมีรูปแบบการจ่ายค่าจ้างตามอัตราค่าแรงข้ันต่ำ ไม่มี สวัสดิการเพ่ิมเติมเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของพนักงาน รฟท. ซึ่งแตกต่างจากบุคลากรของ รฟท. ประเภทลูกจ้างเฉพาะงานที่จะมีสวัสดกิ ารแต่ไม่มีการขนึ้ เงนิ เดือน 2. งานกำกบั สญั ญาและรว่ มทุน มีบทบาทหน้าท่ีในด้านการเงิน สัญญา และการบริหารจัดการผู้ได้รับสัมปทาน เช่น ในการติดต่อ และประสานงานกับผู้ได้รับสัมปทานเพ่ือดูแลในเร่ืองของสัญญา หรอื การตรวจสอบการขอปรบั ปรุง หรือลงทุนเพิ่มเติมของผู้ได้รับสัมปทาน เป็นต้น ซ่ึงปัจจุบันมีอัตรากำลังอยู่ท่ี 5 คน เป็นพนักงาน ของ รฟท. ทัง้ หมด สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 10-14

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ทัง้ นี้ในกองปฏิบตั ิการไอซดี ีลาดกระบังมกี ารดำเนนิ งานในด้านงานสนบั สนุนอ่ืน ๆ เช่นกัน เช่น งาน ดา้ นพัสดุ บุคคล และงานซ่อม เป็นต้น และในอนาคตจะมีการปรับโครงสร้างองค์กรใหม่โดยให้งาน คอนเทนเนอร์สายตะวันออก ท่ีปัจจุบันอยู่ภายใต้กองบริการสินค้าคอนเทนเนอร์ ดังรูปที่ 10.1-1 ซ่ึงมีอัตรากำลงั 5 คน เขา้ มารวมในกองปฏิบัตกิ ารไอซดี ีลาดกระบัง เนื่องด้วยงานคอนเทนเนอรส์ าย ตะวันออกมีบทบาทหน้าท่ีในการติดต่อประสานงานกับผู้ได้รับสัมปทานในรายละเอียดเก่ียวกับการ จดั การคลงั สถิติการขนส่ง และการหาลกู คา้ เปน็ ต้น รฟท. มีการจ้างลกู จ้างเฉพาะงาน โดยในการจ้างและการกำหนดค่าตอบแทนจะเปน็ ไปตามระเบียบ ของ รฟท. โดยจะมีสวัสดิการและไมม่ ีการข้นึ เงนิ เดือน ในส่วนของการกำกับดูแลสัญญาสัมปทาน ทาง ICD ลาดกระบังจะมีสว่ นงานที่เป็นผู้ดูแลและกำกับ สัญญาสัมปทานของทุกบริษัท คือ งานกำกับสัญญาและร่วมทุน และในส่วนของการติดต่อ ประสานงานกับบริษทั เอกชนผไู้ ด้รับสัมปทานในรายละเอียดเกย่ี วกับการจัดการคลัง สถิตกิ ารขนส่ง และการหาลกู คา้ คอื งานคอนเทนเนอรส์ ายตะวนั ออก ที่ในอนาคตจะมีการปรับโครงสร้างองค์กรให้ 10.2 ศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟ (Single Rail Transfer Operator: SRTO) ท่ีท่าเรือ แหลมฉบัง การท่าเรือแห่งประเทศไทย ศนู ยก์ ารขนส่งตู้สนิ ค้าทางรถไฟ (SRTO) ก่อสรา้ งขึ้นโดยการท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) ตามมติ ครม. เมื่อวันท่ี 22 กันยายน พ.ศ. 2558 (กทท. เป็นผู้ลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐานและเครื่องมือยกขนหลัก ท้ังหมด รวมถึงการบริหารและการประกอบการ โดยใช้งบประมาณลงทุนของ กทท. วงเงินรวม 2,944.93 ล้านบาท แบง่ เป็นการก่อสร้างระยะที่ 1 วงเงิน 2,031.16 ลา้ นบาท และระยะท่ี 2 วงเงิน 913.77 ล้านบาท) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือรองรับการขนส่งตู้สินค้าด้วยระบบรางที่ท่าเรือแหลมฉบัง ตามนโยบายรัฐบาลท่ีต้องการให้ปรับเปล่ียนรูปแบบการขนส่งจากทางถนนเป็นทางรางและทางน้ำ เพ่ือเป็นการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ ประหยัดพลงั งาน ลดมลภาวะ ลดต้นทุนการขนส่ง และทำให้สัดส่วนการขนส่งทางรางเพ่ิมข้ึนเป็นร้อยละ 25 ปัจจุบันงานก่อสร้างระยะท่ี 1 แล้วเสร็จ และเปดิ ใชง้ านมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2561 SRTO เป็นการพัฒนาระบบการขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟหลังจากโครงการรถไฟทางคู่เปิดบริการ ให้สามารถรองรับปริมาณตู้สินค้าที่ขนส่งระหว่างไอซีดี ลาดกระบังกับท่าเรือแหลมฉบังได้สูงสุดถึง 2 ล้าน TEUs ต่อปี มีพื้นท่ีประมาณ 600 ไร่ แต่ละรางมีความยาวในช่วง 1,224-1,434 เมตร สามารถจอดขบวนรถไฟได้รางละ 4 ขบวน รวมเป็น 8 ขบวน รองรับและเช่ือมต่อกับโครงการ ก่อสร้างรถไฟทางคู่ของ รฟท. จากสถานีรถไฟแหลมฉบังเข้าสู่พ้ืนท่ีโครงการระยะทางประมาณ 4.3 กิโลเมตร ดังแสดงท่ีตั้งของโครงการศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟ (SRTO) ซ่ึงตั้งอยู่ระหว่าง ทา่ เทยี บเรือชุด B และชุด C ของทา่ เรือแหลมฉบัง ในรูปที่ 10.2-1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-15

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) รปู ที่ 10.2-1 ทีต่ ั้งของโครงการศูนย์การขนส่งตูส้ นิ คา้ ทางรถไฟ (SRTO) ท่ีท่าเรือแหลมฉบัง สิง่ อำนวยความสะดวกท่ีสำคัญของศนู ยก์ ารขนส่งตูส้ นิ คา้ ทางรถไฟ (SRTO) ไดแ้ ก่ • เส้นทางรถไฟทางคู่จากสถานรี ถไฟแหลมฉบัง • ยา่ นรถไฟ (Rail Yard) จำนวน 6 พวงราง ซึง่ สามารถจอดรถไฟได้รางละ 2 ขบวน รวมเป็น 12 ขบวนในเวลาเดียวกัน • ตดิ ต้งั ปั้นจั่นยกตู้สนิ คา้ ชนิดเดนิ บนรางคร่อมรางรถไฟหรือ Rail Mounted Gantry Crane (RMG) จำนวน 2 ตวั ทส่ี ามารถทำงานครอ่ มรางรถไฟไดท้ ั้ง 6 พวงรางในเวลาเดยี วกัน • ติดตั้งรถเครนเคลื่อนท่ียกตู้สินค้าหรือ Rubber-Tire Gantry Crane (RTG) ที่สามารถ จัดเรียงตู้สินค้าภายในบริเวณลานกองตู้สินค้า (Container Yard: CY) ที่อยู่ทางทิศเหนือ และทิศใต้ของพวงราง • พื้นทก่ี องเก็บตสู้ นิ คา้ รองรบั ตู้สนิ คา้ ได้สงู สดุ 28,000 TEUs สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-16

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ท้ังน้ีขีดความสามารถของ SRTO คือ สามารถรองรับการขนถ่ายตู้สินค้าไดส้ ูงสุดถึง 2 ล้าน TEUs ต่อปี ทั้งน้ีสามารถแสดงภาพจริงของ SRTO และภาพจำลองของการขนย้ายตู้โดยใช้เครน RMG บนพวงราง รถไฟ ดงั รูปที่ 10.2-2 รปู ท่ี 10.2-2 การปฏบิ ัติงานขนยา้ ยตู้ในบรเิ วณพนื้ ท่ีของ SRTO 10.2.1 โครงสรา้ งบุคลากรและอัตรากำลัง ในช่วงปีแรกของการเปิดให้บริการ (ปี พ.ศ. 2561) กทท. ยังไม่สามารถจัดจ้างเอกชนเข้ามา ดำเนินการได้ ทำให้ กทท.ต้องให้บริการยกตู้สินค้าและขนส่งเอง โดยใช้พนกั งานจากทา่ เรือกรงุ เทพ จำนวน 6 คน มาดำเนินการควบคุมเคร่ืองมือ ได้แก่ ปั้นจ่ันยกตู้สินค้าชนิดเดินบนรางคร่อมราง รถไฟ (RMG) และรถเครนเคล่ือนท่ียกตู้สินค้า (RTG) ในลานกองเก็บตู้สินค้า และประสบปัญหา ความล่าช้าในการยกขนตู้สินค้า เน่ืองจากมีอัตรากำลังคนเพียง 6 คนเท่านั้น จึงสามารถยกขนตู้สินค้า สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-17

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ได้เพียงประมาณ 1 หม่ืนตู้ต่อเดือน หรือประมาณ 1.2-1.3 แสน TEUs ต่อปีเท่านั้น (เทียบกับขีด ความสามารถที่ 2 ล้าน TEUs ตอ่ ปี) ปจั จุบัน กทท. มีการจ้างบริษัทเอกชน (Outsource) 1 ราย เข้ามาเป็นผู้ประกอบการยกขนตู้สนิ ค้า แทน กทท. แล้ว โดยเอกชนมีการนำพนักงานเข้ามาปฏิบัติงานทั้งสิ้น 320 คน แบ่งเปน็ คนขับเครน คนตรวจสอบตู้สินค้า และคนวางแผนการขนถ่ายตู้สินค้ารวมกัน 140 คน และคนขับรถบรรทุก จำนวน 180 คน ขณะที่ กทท. ไดร้ บั การจัดสรรเจา้ หน้าที่มาปฏบิ ัตหิ น้าทจ่ี ำนวน 6 คน หากพิจารณาจากผังโครงสร้างองค์กรของท่าเรือแหลมฉบัง จะพบว่า SRTO เป็นหน่วยธุรกิจหน่ึง ของทา่ เรือแหลมฉบงั โดยอยภู่ ายใต้ความรบั ผดิ ชอบโดยสำนกั ปฏิบตั กิ าร ดงั แสดงในรปู ท่ี 10.2-3 ทม่ี า : การท่าเรอื แหลมฉบงั , ม.ป.ป. 10-18 รปู ที่ 10.2-3 โครงสร้างองค์กรของท่าเรือแหลมฉบัง สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) เจ้าหน้าที่ของ กทท. ท่ีปฏิบัติงานที่ SRTO มีจำนวน 6 คน โดยเป็นผู้อำนวยการกอง (พนักงานการ สินคา้ 12) จำนวน 1 คน และเจา้ หนา้ ทอ่ี ีก 5 คน ซงึ่ มหี น้าท่ีหลักแบ่งออกเป็น 3 งาน ดงั นี้ 1) งานด้านปฏบิ ัติการ ดำเนินงานในการกำกับและดูแลงานในภาพรวมของการยกขนตู้สินค้าและเคร่ืองมืออุปกรณ์ ตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ยเจา้ หนา้ ท่ี 2 คน คือ พนกั งานการสินค้า 10 และพนกั งานการสนิ คา้ 8 2) งานดา้ นการเงนิ ดำเนินงานในส่วนของการรับจ่ายค่าบริการ โดยงานด้านการเงินจะมีเอกสารทางการเงิน ซ่ึงจะ รับเงินผ่านธนาคารเท่าน้ัน ไม่มีการรับเงินสดโดยตรง ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ 1 คน คือ พนักงานการสินค้า 6 3) งานดา้ นขอ้ มลู ต้สู นิ ค้าและวางแผน ดำเนินงานในส่วนของการประสานงาน และรวบรวมข้อมูลตู้สินค้าและจัดทำสถิติเพ่ือคิดค่า ให้บริการ โดยลักษณะงานมีท้ังงานเอกสารและจัดทำในระบบ ประกอบด้วยเจ้าหน้าท่ี 2 คน คอื พนกั งานการสินคา้ 10 และพนักงานการสนิ คา้ 8 ดังแสดงผังโครงสร้างบุคลากรในรูปที่ 10.2-4 โครงการขนส่งต้สู นิ ค้าทางรถไฟ พนง. 6 (SRTO) 1 ผูอ้ ำนวยการกอง พนักงานการสินคา้ 12 งานดา้ นปฏิบตั กิ าร 2 งานดา้ นการเงิน 1 งานดา้ นขอ้ มลู ตู้สนิ คา้ และ 2 พนกั งานการสินค้า 6 - 1 คน พนกั งานการสวินาคงา้แผ1น0 - 1 คน พนักงานการสินค้า 10 - 1 คน พนักงานการสนิ ค้า 8 - 1 คน พนักงานการสนิ ค้า 8 - 1 คน รปู ที่ 10.2-4 โครงสร้างบคุ ลากรและอัตรากำลังภายในศูนย์การขนส่งตสู้ นิ คา้ ทางรถไฟ (SRTO) 10.2.2 ภารกจิ ลักษณะงาน และคณุ สมบตั ิเฉพาะตำแหนง่ จากตำแหน่งงานและอัตรากำลังในรูปท่ี 10.2-2 ข้างต้น พบว่าบุคลากรของ SRTO มีภารกิจและ ลักษณะงานที่สามารถนำมาปรบั ใช้กับการบริหารจดั การสถานีขนส่งสินค้าของกรมการขนส่งทางบกได้ ท้ังนี้สามารถสรุปภารกิจ ลักษณะงาน และคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของบุคลากรข้างต้น ได้ดัง ตารางท่ี 10.2-1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-19

ตารางที่ 10.2-1 ภารกจิ ลักษณะงาน และคณุ สมบัตเิ ฉพาะตำแหนง่ ของบคุ ลำดบั ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกจิ /หน้าท่คี วาม ล 1 ผ้อู ำนวยการกอง พนักงานการสนิ คา้ 12 รบั ผิดชอบ 1. งานทางดา้ นตู้สนิ ค้าและเอกสารส ▪ กำกบั ดูแล ▪ กำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของ ▪ กำหนดแผนการ ▪ กำกบั ดูแลและกำหนดแผนกา ▪ ตดิ ตามประเมนิ ผล ▪ วางแผนกลยทุ ธ์ในการปฏบิ ตั ิง ▪ วางแผน ▪ กำกับดูแลและติดตามประเม ▪ ควบคุมงาน ▪ สนับสนุนใหค้ ำแนะนำ เป้าหมายท่ีกำหนดไว้ ▪ กำกับดูแลการตรวจสอบข้อม 2. งานทางดา้ นบริหาร ▪ บงั คบั บญั ชาพนักงานในสงั กัด ▪ วางแผนและปรบั ปรงุ แกไ้ ขกา ▪ กำกบั ดแู ลและควบคมุ งานทเ่ี ก ▪ ประสานงานกบั หนว่ ยงานอืน่ 3. งานทางด้านความปลอดภยั ▪ วางแผนดำเนนิ งานดา้ นความป ▪ ควบคุมดูแลและสงั่ การใหพ้ น ▪ สนบั สนุนและให้คำแนะนำแก ▪ จดั หาอปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตราย 4. งานทางดา้ นอืน่ ▪ กำกบั ดแู ลการจัดทำทะเบยี นแ ▪ กำกับดแู ลและตรวจตราอาคา ▪ กำกับดแู ลการรกั ษาความสะอ 5. ปฏิบตั งิ านอนื่ ๆ ตามคำส่งั ผู้บังคบั สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) คลากรที่ปฏบิ ตั ิงานที่ศนู ยก์ ารขนส่งตู้สนิ คา้ ทางรถไฟ (SRTO) ในปจั จุบนั ลกั ษณะงาน วฒุ กิ ารศึกษา ประสบการณ์/ความชำนาญ สนิ คา้ ปรญิ ญาตรี (1) ดำรงตำแหน่งงานในระดับ 11 (ผชู้ ว่ ย งระบบต้สู ินคา้ และงานเอกสารสินคา้ และ ผู้อำนวยการกอง หรอื เทยี บเท่า) ทีป่ ฏิบตั ิงาน ารปฏิบตั ิงาน ทางดา้ นเรอื ด้านสนิ คา้ เอกสารสินคา้ หรือตู้ งานและติดตามประเมนิ ผล ประสบการณ์ สนิ คา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี หรอื มินผลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบายและ (2) ดำรงตำแหน่งงานในระดับ 10 (หัวหน้าแผนก มูล ผลการปฏิบตั งิ าน และปญั หาอปุ สรรค หรือเทยี บเทา่ ) ทปี่ ฏิบตั ิงานทางดา้ นเรอื ด้าน สนิ คา้ เอกสารสินคา้ หรือตู้สินคา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ปี ดให้ปฏบิ ตั งิ านด้วยความเรยี บรอ้ ย ารปฏบิ ัตงิ านด้านตา่ ง ๆ สิ่งท่ตี ้องการเป็นพิเศษ (Other Qualifications) กี่ยวกับอตั รากำลัง การมาปฏบิ ัติงาน การลา ▪ มคี วามรู้เกยี่ วกับกฎระเบียบของ กทท. และ นทีเ่ กีย่ วข้อง กรมศุลกากรเป็นอยา่ งดี ▪ มีความรู้เกี่ยวกบั ระบบงานตสู้ ินค้าและ มปลอดภัย ตู้สินคา้ เป็นอย่างดี นกั งานในสังกัดปฏิบัติงานดว้ ยความระมดั ระวัง ▪ สามารถใชภ้ าษาอังกฤษในการสือ่ สารได้ใน ก่พนักงานในสังกัด ระดบั ดี ยส่วนบคุ คล ▪ สามารถใชค้ อมพวิ เตอร์ในการปฏบิ ัตงิ านได้ นและการเก็บรักษาเอกสาร ทรพั ยส์ ิน พสั ดุ าร บริเวณที่เกบ็ สินคา้ เพือ่ ปอ้ งกันอคั คภี ัย อาดอาคารสถานที่ บบญั ชา 10-20

ตารางท่ี 10.2-1 ภารกิจ ลักษณะงาน และคุณสมบตั เิ ฉพาะตำแหน่งของบุคล ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกจิ /หนา้ ทีค่ วาม ล 2 งานดา้ นปฏบิ ัตกิ าร พนกั งานการสินค้า 10 รับผิดชอบ 1. งานทางด้านบรรทุกและขนถ่ายต ▪ ประสานงาน ▪ ประสานงานกับผู้ควบคุมพนกั ง ▪ ควบคุมดูแล ผ้ปู ระกอบการบรรทกุ -ขนถ่ายต ▪ วางแผน ▪ ควบคุมดแู ลการปฏบิ ตั งิ านกา ▪ บรหิ ารงาน ▪ วางแผนกองเกบ็ ภายในลานต ▪ กำหนดมาตรฐาน ▪ ใหค้ ำแนะนำ 2. งานทางดา้ นควบคุมลานตูส้ ินคา้ ▪ จัดหาอปุ กรณ์ ▪ ควบคมุ ดแู ลการทำงานในการ ▪ ควบคุมดูแลการจัดสรรพ้ืนที่เพ สินค้าในลาน ▪ ควบคมุ ดูแลการซ่อมแซมเครอ่ื ▪ ควบคุมดูแลการปฏบิ ัติงานเป็น ในลานตูส้ นิ คา้ พนักงานขบั เคร 3. งานทางด้านบริหาร ▪ บงั คับบัญชาพนักงานในสังกดั ▪ ควบคุมดูแลอัตรากำลงั การม ▪ ประสานงานกับหนว่ ยงานอ่นื 4. งานทางดา้ นความปลอดภยั ▪ บริหารงานและกำหนดมาตรฐ ▪ ควบคมุ ดแู ลใหพ้ นักงานในสังก ▪ ใหค้ ำแนะนำและอบรมเร่อื งค ▪ ควบคุม ดแู ลการบำรงุ รักษาแ ▪ จดั หาอุปกรณป์ อ้ งกันภัยสว่ น สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่ิมศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ลากรที่ปฏบิ ตั ิงานที่ศูนยก์ ารขนสง่ ตูส้ ินคา้ ทางรถไฟ (SRTO) ในปัจจบุ นั (ต่อ) ลกั ษณะงาน วฒุ ิการศึกษา ประสบการณ์/ความชำนาญ ตู้สินคา้ ตาม (1) ดำรงตำแหน่งงานในระดับ 9 (ผู้ช่วยหัวหน้า งานขับเคร่ืองมือท่นุ แรง และบริษัท ประสบการณ์ แผนก หรอื เทียบเทา่ ) ท่ีปฏิบัตงิ านด้านสินค้าอยู่ ตู้สนิ ค้า ในปัจจบุ ัน หรือ ารบรรทุก-ขนถา่ ย รับมอบ –สง่ มอบตสู้ นิ ค้า ตู้สินค้า และวางแผนการรบั มอบ-สง่ มอบตู้สินค้า (2) ดำรงตำแหน่งงานในระดับ 8 (หัวหน้าหมวด หรือเทียบเท่า) ที่ปฏิบัติงานด้านสินค้า จนถึง รกองเกบ็ ตู้สนิ ค้าในลานตสู้ ินคา้ ท้ังขาเข้า-ขาออก ปัจจุบัน ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ปี หรอื พ่ือรบั มอบตู้สินคา้ ขาออก การวางแผนกองเกบ็ ตู้ (3) ได้รบั ปริญญาตรี และดำรงตำแหน่งงานในระดับ องมือทุ่นแรงท้ังหมด 6 ที่ปฏิบัติงานด้านสินค้า จนถึงปัจจุบันไม่น้อย นศูนย์วิทยุในการตดิ ตอ่ ประสานงานกับพนักงาน กว่า 2 ปี หรือ รอ่ื งมอื ทุ่นแรง หนว่ ยงานภายนอก (4) ดำรงตำแหน่งงานในระดับ 6 ท่ีปฏิบัติงานด้าน ดให้ปฏิบตั ิงานด้วยความเรียบร้อย สนิ ค้าจนถึงปัจจุบนั ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี มาปฏบิ ตั ิงาน การลา การบรรจแุ ต่งต้ัง นทเ่ี กย่ี วข้อง สงิ่ ทต่ี อ้ งการเปน็ พเิ ศษ (Other Qualifications) ▪ มีความรู้เก่ียวกับกฎและระเบียบของ กทท. ฐานดา้ นความปลอดภัยภายใน SRTO และกรมศุลกากรเป็นอย่างดี กัดปฏิบตั ิงานด้วยความระมัดระวัง ปลอดภยั ▪ มีความรู้เกี่ยวกับระบบงานสินค้าและตู้สินค้า ความปลอดภัยในการทำงาน เปน็ อย่างดี และทำความสะอาดสถานทท่ี ำงาน เคร่ืองมอื ▪ มีความร้ภู าษาอังกฤษพอสมควรกับตำแหน่ง นบุคคล และควบคมุ ดูแลให้ใช้อุปกรณ์ปอ้ งกนั ▪ สามารถใชค้ อมพิวเตอร์ในการปฏบิ ัติงานได้ 10-21

ตารางท่ี 10.2-1 ภารกจิ ลกั ษณะงาน และคณุ สมบตั เิ ฉพาะตำแหนง่ ของบคุ ล ลำดบั ตำแหนง่ ประเภท/ระดบั ภารกิจ/หน้าทคี่ วาม ล 3 งานดา้ นปฏบิ ตั กิ าร พนกั งานการสนิ ค้า 8 รับผิดชอบ 5. งานทางด้านอนื่ ▪ ประสานงาน ▪ ควบคมุ ดแู ลการจัดทำรายงานท ▪ ควบคุมดแู ลการ การส่งมอบ-รับมอบตสู้ นิ ค้า ▪ ควบคมุ ดูแลการจัดทำรายงานก ทำงาน ประจำหนา้ ท่าเทียบเรือ ▪ ประสานงาน ▪ วางแผนปรบั ปรุงแกไ้ ขปฏบิ ตั ▪ จัดทำสถิติ ▪ ควบคมุ ดแู ลการเบิกคา่ ล่วงเวล ▪ ตรวจสอบ ▪ ควบคมุ ดแู ลการจดั ทำทะเบยี น ▪ ควบคมุ ดูแลและตรวจตราอาค ▪ ควบคุมดแู ลการรกั ษาความสะ 6. ปฏิบตั งิ านอ่นื ๆ ตามคำส่งั ผบู้ ังคับ 1. งานทางด้านบรรทุกและขนถ่ายต ▪ ประสานงานกบั ผู้ควบคุมพนักง ผูป้ ระกอบการบรรทกุ -ขนถา่ ยต ▪ ดูแลการจัดลำดบั ขน้ั ตอนการป Sequence) และตรวจสอบคว ▪ ดแู ลการจดั เตรยี มบุคลากรและ ▪ ดูแลการซ่อมบำรุงเคร่ืองมอื ทนุ่ 2. งานทางดา้ นควบคุมลานตสู้ นิ ค้า ▪ ดแู ลการทำงานในการกองเกบ็ ต หมวดวางแผนระบบตสู้ ินค้ากำ อันตราย ▪ ประสานงานด้านจราจร ดแู ลร สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ลากรที่ปฏิบตั ิงานท่ีศูนยก์ ารขนสง่ ตสู้ นิ ค้าทางรถไฟ (SRTO) ในปจั จุบัน (ต่อ) ลกั ษณะงาน วฒุ ิการศึกษา ประสบการณ์/ความชำนาญ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับตสู้ นิ ค้าขาเขา้ -ขาออก และ การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกบั เครื่องมอื ทนุ่ แรง ติงานด้านต่าง ๆ ตาม (1) ได้รบั ปริญญาตรี และดำรงตำแหน่งงานระดับ 6 ลาและค่าใชจ้ ่ายอ่นื ๆ ประสบการณ์ ทป่ี ฏบิ ัตงิ านดา้ นสินคา้ อยู่ในปจั จบุ ัน หรอื ยนและการเก็บรกั ษาเอกสาร ทรพั ย์สิน พสั ดุ คาร บรเิ วณทีเ่ ก็บสนิ คา้ เพื่อปอ้ งกันอคั คีภยั (2) ดำรงตำแหน่งงานในระดับ 6 ท่ีปฏิบัติงานด้าน ะอาดอาคารสถานทตี่ ่าง ๆ ของสงั กดั สนิ ค้าจนถึงปจั จบุ ันไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี บบัญชา ต้สู ินคา้ ส่ิงท่ตี ้องการเปน็ พเิ ศษ (Other Qualifications) งานขบั เครื่องมอื ทนุ่ แรง และบรษิ ทั ▪ มีความรู้เก่ียวกับกฎและระเบียบของ กทท. ตู้สินคา้ และกรมศลุ กากรเป็นอยา่ งดี ปฏิบัติงานของเครอื่ งมือทนุ่ แรง (Working ▪ มีความรู้เก่ียวกับระบบงานสินค้าและตู้สินค้า วามถูกตอ้ งครบถ้วนก่อนเครอื่ งมือทุน่ แรงทำงาน เปน็ อยา่ งดี ะเครอ่ื งมอื ทนุ่ แรง ▪ มีความรูภ้ าษาองั กฤษพอสมควรกบั ตำแหน่ง นแรงต่าง ๆ ▪ สามารถใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการปฏิบัติงานได้ ตูส้ ินค้าในลานตสู้ นิ ค้าทั้งขาเขา้ -ขาออก ตามท่ี ำหนด รวมทงั้ ดำเนนิ การเก่ยี วกบั ต้สู นิ คา้ ลรกั ษาสนิ ค้า/ตูส้ นิ คา้ ภายในลานวางตู้สินคา้ 10-22

ตารางที่ 10.2-1 ภารกิจ ลักษณะงาน และคณุ สมบัตเิ ฉพาะตำแหน่งของบุคล ลำดับ ตำแหน่ง ประเภท/ระดบั ภารกจิ /หน้าท่ีความ ล รบั ผิดชอบ ▪ ดูแลจัดสรรพืน้ ท่ีเพ่อื รับมอบต ▪ ดูแลการรบั มอบ – ส่งมอบต้สู ▪ การใช้เครื่องมือทุ่นแรงยกตู้ส ลานกองเก็บ จนกระทั่งผ่าน Out) ▪ จดั ทำสถิติการใช้พ้ืนทีภ่ ายในล ▪ ดูแลและตรวจสอบระยะเวลา 3. งานทางด้านบรหิ าร ▪ ดแู ลและจดั พนกั งานในสงั กดั ▪ ดแู ลพนกั งานในสงั กดั ให้อยปู่ ▪ ประสานงานกับหนว่ ยงานอ่ืน 4. งานทางดา้ นความปลอดภัย ▪ ควบคมุ ดแู ลพนักงานในหมวด ▪ ดแู ล บำรุงรกั ษาและทำความ ▪ ควบคุมดูแลให้พนกั งานในหม 5. งานทางด้านอ่นื ▪ ดูแลการเบกิ คา่ ลว่ งเวลา และ ▪ ดูแลการจัดทำทะเบยี นและกา ▪ ดแู ลและตรวจตราอาคาร บริเ ▪ ดแู ลการรกั ษาความสะอาดอา 6. ปฏิบัติงานอ่นื ๆ ตามคำสง่ั ผู้บังคบั สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ลากรที่ปฏบิ ตั ิงานที่ศูนย์การขนสง่ ตูส้ ินค้าทางรถไฟ (SRTO) ในปัจจุบนั (ต่อ) ลักษณะงาน วุฒิการศึกษา ประสบการณ์/ความชำนาญ ตู้สนิ คา้ ขาออก และวางแผนการกองเก็บตสู้ ินค้า สนิ คา้ สินค้า การให้ยืนยันตำแหน่งตู้สินค้าที่ยกขึ้น-ลง นออกจากด่านตรวจสอบภายในขาออก (Gate นลานวางตสู้ นิ คา้ และรายงานผลรายวัน าการวางพกั ตสู้ ินค้าในการเรียกเก็บคา่ ภาระ ดใหป้ ฏิบัตงิ านตามหน้าท่ที ี่ไดร้ ับมอบหมาย ปฏบิ ัตงิ านในเวลาปกตแิ ละลว่ งเวลาตามเวลา นท่เี กีย่ วข้อง ดใหป้ ฏิบัตงิ านดว้ ยความระมดั ระวัง มสะอาดสถานท่ที ำงาน เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ มวดใชอ้ ปุ กรณ์ปอ้ งกนั ภัยส่วนบุคคลตลอดเวลา ะคา่ ใช้จา่ ยอื่น ๆ ของพนักงานในสังกดั ารเก็บรักษาเอกสาร ทรพั ย์สนิ พสั ดุ ครภุ ัณฑ์ เวณท่เี กบ็ สนิ คา้ เพอ่ื ปอ้ งกันอคั คีภยั าคารสถานทตี่ า่ ง ๆ ของสังกดั บบญั ชา 10-23

ตารางที่ 10.2-1 ภารกิจ ลกั ษณะงาน และคณุ สมบัตเิ ฉพาะตำแหน่งของบุคล ลำดบั ตำแหนง่ ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าทค่ี วาม ล รับผดิ ชอบ 4 งานด้านขอ้ มูลตู้สินค้า พนกั งานการสินคา้ 10 1. งานทางดา้ นตู้สินคา้ และเอกสารส และวางแผน ▪ ควบคุมดแู ล ▪ ควบคมุ ดแู ลการจัดเกบ็ เอกสา ▪ บงั คับบญั ชา ▪ วางแผน 2. งานทางด้านการแลกเปล่ียนข ▪ ติดตอ่ ประสานงาน Interchange : EDI) ▪ ให้คำแนะนำ ▪ จัดหาอปุ กรณ์ ▪ ควบคุมดูแลการรับข้อมูลตู้ส ▪ ให้ขอ้ มลู ขา่ วสาร ถูกต้องครบถ้วน และนำข้อ ครบถ้วน ตามแหลง่ ขอ้ มลู ทไ่ี ▪ ควบคมุ ดูแลการบนั ทกึ และตร ▪ ควบคุมดแู ลการปฏบิ ัตงิ านขอ 3. งานทางดา้ นบรหิ าร ▪ บังคับบัญชาพนักงานในสังกดั ▪ วางแผนการปฏิบัติงานประจำ ▪ ควบคุมดแู ลและจัดพนักงานใ ▪ ควบคุมดแู ลอตั รากำลัง การม ▪ ควบคมุ ดูแลการประสานงานก ▪ ตดิ ต่อประสานงานกับแผนกส ▪ ประสานงานกับหนว่ ยงานอ่ืน 4. งานทางดา้ นความปลอดภยั ▪ ควบคมุ ดูแลให้พนกั งานในสงั ก ▪ ให้คำแนะนำและอบรมพนกั ง ▪ ควบคุม ดแู ลการบำรุงรกั ษาแ ▪ จดั หาอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วน อปุ กรณ์ป้องกันฯ ตลอดเวลา สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) ลากรท่ีปฏบิ ตั งิ านท่ีศูนย์การขนสง่ ตูส้ นิ ค้าทางรถไฟ (SRTO) ในปจั จบุ ัน (ต่อ) ลกั ษณะงาน วุฒิการศึกษา ประสบการณ์/ความชำนาญ สินคา้ ตาม (1) ดำรงตำแหน่งงานในระดับ 9 (ผู้ช่วยหัวหน้า ารทีเ่ ก่ียวขอ้ งท้งั หมดใหเ้ ป็นระเบียบเรียบรอ้ ย ประสบการณ์ แผนก หรอื เทียบเท่า) ท่ีปฏิบัตงิ านด้านสนิ คา้ ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data อยใู่ นปจั จุบัน หรือ สินค้าขาเข้า–ออก ทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) ให้ (2) ดำรงตำแหน่งงานในระดับ 8 (หัวหน้าหมวด อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ให้เรียบร้อย ถูกต้อง หรือเทยี บเท่า) ทปี่ ฏบิ ัติงานดา้ นสนิ คา้ ได้รับแล้วสง่ ใหห้ นว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง จนถงึ ปจั จุบนั ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ปี หรอื รวจสอบขอ้ มลู ตู้สนิ คา้ เพ่ือจดั ทำสถติ ิและรายงาน องผ้ปู ระกอบการให้เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (3) ได้รับปริญญาตรีและดำรงตำแหน่งในระดับ 6 ที่ปฏิบัติงานดา้ นสนิ ค้าจนถงึ ปจั จบุ นั ไม่น้อยกว่า ดใหป้ ฏิบตั งิ านด้วยความเรยี บรอ้ ย 2 ปี หรือ ำวันของแผนกให้ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย ในสงั กัดให้ปฏิบตั ิตามหนา้ ที่ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย (4) ดำรงตำแหน่งงานในระดับ 6 ที่ปฏิบัติงานด้าน มาปฏบิ ตั ิงาน การลา การบรรจแุ ตง่ ต้งั สินคา้ จนถึงปจั จุบัน ไมน่ ้อยกวา่ 3 ปี กบั แผนกต่าง ๆ ภายในกอง สารสนเทศ ในกรณที ่รี ะบบคอมพวิ เตอร์ขดั ขอ้ ง สงิ่ ทตี่ อ้ งการเป็นพิเศษ (Other Qualifications) นท่ีเกีย่ วข้อง ▪ มีความรู้เก่ียวกับกฎและระเบียบของ กทท. และกรมศุลกากรเปน็ อยา่ งดี กัดปฏบิ ัตงิ านด้วยความระมัดระวัง ▪ มีความรู้เกี่ยวกับระบบงานสินค้าและตู้สินค้า งานในเรอื่ งความปลอดภัยในการทำงาน เปน็ อย่างดี และทำความสะอาดสถานที่ทำงาน เครื่องมอื ▪ มีความรภู้ าษาอังกฤษพอสมควรกับตำแหน่ง นบุคคล และควบคุมดูแลให้พนักงานในสังกดั ใช้ ▪ สามารถใช้คอมพวิ เตอร์ในการปฏิบัตงิ านได้ าเม่อื ปฏิบตั ิงานเสย่ี งตอ่ อนั ตราย 10-24

ตารางท่ี 10.2-1 ภารกิจ ลักษณะงาน และคุณสมบัตเิ ฉพาะตำแหน่งของบุคล ลำดบั ตำแหนง่ ประเภท/ระดบั ภารกิจ/หน้าท่คี วาม ล รับผดิ ชอบ 5 งานด้านขอ้ มูลตู้สินค้า พนักงานการสนิ ค้า 8 5. งานทางดา้ นอื่น และวางแผน ▪ ชว่ ยวางแผน/วางแผน ▪ ควบคมุ ดแู ลการรวบรวมข้อม ▪ ดแู ลการจดั เก็บเอกสาร ▪ ควบคุมดแู ลการบันทึกข้อมูลเ ▪ ประมวลผลขอ้ มลู ▪ ใหข้ ้อมลู ขา่ วสารเกยี่ วกับเรือส ▪ ตรวจสอบขอ้ มูล ▪ ควบคมุ ดแู ลการจัดทำทะเบยี น ▪ จัดทำสถิติ ▪ ควบคุมดแู ลและตรวจตราอาค ▪ จดั ทำขอ้ มลู ▪ ควบคมุ ดูแลการรกั ษาความสะ ▪ ตรวจสอบระยะเวลา ▪ ดแู ลการรบั ข้อมลู 6. ปฏบิ ัติงานอน่ื ๆ ตามคำสัง่ ผูบ้ ังค ▪ ดแู ลลบำรุงรักษา 1. งานทางดา้ นตู้สนิ ค้าและเอกสารส ▪ ดูแลการจดั พนักงาน ▪ ช่วยวางแผนการปฏิบตั ิงานปร ▪ ดแู ลการจัดเก็บเอกสารทเ่ี กีย่ ว ▪ ประมวลผลขอ้ มูลและตรวจสอ ▪ จดั ทำสถิติเกย่ี วกบั ผลการประ ▪ จัดทำ Truck Turnaround ▪ จดั ทำข้อมลู ตา่ ง ๆ เสนอผบู้ งั ค ▪ จัดทำ Crane Productivity ▪ ตรวจสอบระยะเวลาทใี่ ชใ้ นกา 2. งานทางด้านการแลกเปล่ียนข Interchange : EDI) ▪ ดูแลการรบั ขอ้ มูลเทยี่ วขบวนร ▪ ดแู ลการรบั -ส่งวทิ ยุ เพื่อประส ▪ ดแู ลการบันทึกและตรวจสอบ ขอ้ มูลขา่ วสารแก่หน่วยงานท สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ลากรที่ปฏบิ ัตงิ านที่ศูนยก์ ารขนสง่ ตู้สินค้าทางรถไฟ (SRTO) ในปัจจุบัน (ต่อ) ลกั ษณะงาน วฒุ กิ ารศึกษา ประสบการณ์/ความชำนาญ มลู และจัดทำรายงานสถิตติ า่ ง ๆ เสนอผ้บู ริหาร ตาม (1) ได้รบั ปรญิ ญาตรี และดำรงตำแหนง่ งานระดับ 6 เกยี่ วกับงานและจัดพมิ พร์ ายงาน เอกสาร ประสบการณ์ ทีป่ ฏบิ ตั ิงานด้านสนิ ค้าอยูใ่ นปัจจุบนั หรือ สินคา้ และตู้สนิ ค้าแก่หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ยนและการเก็บรกั ษาเอกสาร ทรัพย์สิน พัสดุ (2) ดำรงตำแหน่งงานในระดับ 6 ท่ีปฏิบัติงานด้าน คาร บรเิ วณทเ่ี ก็บสินคา้ เพอ่ื ป้องกนั อัคคภี ัย สินคา้ จนถงึ ปจั จบุ นั ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ปี ะอาดอาคารสถานที่ตา่ ง ๆ ของสังกดั คบั บญั ชา ส่ิงท่ตี ้องการเปน็ พเิ ศษ (Other Qualifications) รสินคา้ ▪ มีความรู้เก่ียวกับกฎและระเบียบของ กทท. ระจำวนั ของแผนกใหเ้ หมาะสมกบั ปริมาณงาน และกรมศลุ กากรเปน็ อย่างดี วขอ้ งทัง้ หมดให้เป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ▪ มีความรู้เกี่ยวกับระบบงานสินค้าและตู้สินค้า อบข้อมลู ตูส้ ินคา้ ทางรถไฟ เป็นอย่างดี ะกอบการใหเ้ ปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ ▪ มีความร้ภู าษาองั กฤษพอสมควรกบั ตำแหน่ง Time ▪ สามารถใช้คอมพิวเตอรใ์ นการปฏิบตั ิงานได้ งคับบญั ชาตามสายงาน ารขนถ่าย ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data รถไฟ เพอ่ื บันทึกขอ้ มลู ลงในระบบคอมพิวเตอร์ สานงานกบั หน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ ง บข้อมูลตู้สนิ ค้าเพ่อื การจัดทำสถติ ิและรายงานให้ ท่เี กีย่ วขอ้ งและผใู้ ชบ้ รกิ าร 10-25

ตารางที่ 10.2-1 ภารกจิ ลักษณะงาน และคุณสมบัตเิ ฉพาะตำแหน่งของบคุ ล ลำดบั ตำแหนง่ ประเภท/ระดับ ภารกจิ /หน้าทคี่ วาม ล รับผิดชอบ 3. งานทางดา้ นวางแผนและควบคมุ จัดทำรายงานเม่ือเสร็จสิ้นการขน แผนกข้อมูลตู้สนิ คา้ 4. งานทางดา้ นบริหาร ▪ ดูแลการจัดพนักงานในสังกัด ถกู ต้องตามหลักวธิ ปี ฏบิ ตั ิและ ▪ ดูแลพนักงานในสังกัดให้อยู่ป กำหนด 5. งานทางดา้ นความปลอดภยั ▪ ควบคุมดูแลพนักงานในหมวด ความปลอดภัยในการทำงานท ▪ ดูแลบำรุงรักษาและทำความ ตา่ ง ๆ ของหมวดให้อยู่ในสภา ▪ ควบคุมดูแลให้พนักงานในหม ในการปฏบิ ตั งิ านที่เสีย่ งอันตร 6. งานทางด้านอ่ืน ▪ ตรวจสอบการซ่อมบำรงุ เคร่ือ สาธารณูปโภคที่ท่าเรือแหลม ▪ ดูแลการจัดทำรายงานท่เี ก่ยี ว รบั มอบตู้สนิ คา้ ▪ ดูแลการจัดทำรายงานการปฏ หน้าท่าเทียบเรอื สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) ลากรที่ปฏบิ ตั ิงานที่ศูนยก์ ารขนส่งตู้สนิ คา้ ทางรถไฟ (SRTO) ในปจั จบุ นั (ต่อ) ลักษณะงาน วฒุ ิการศกึ ษา ประสบการณ์/ความชำนาญ มระบบตู้สนิ คา้ นถ่ายตู้สินค้าในแต่ละเท่ียว เพ่ือส่งข้อมูลให้กับ ดให้ปฏิบัติงานตามหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายให้ ะถกู ต้องตรงตามสายงาน ปฏิบัติงานในเวลาปกติและล่วงเวลาตามเวลาท่ี ดให้ปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวังโดยคำนึงถึง ทัง้ ตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื อย่เู สมอ มสะอาดสถานท่ีทำงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ าพทีป่ ลอดภัยและเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย มวดใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลตลอดเวลา ราย องมือทุ่นแรง สิง่ อำนวยความสะดวก และระบบ มฉบงั กำหนด วข้องกับตูส้ ินค้าขาเข้า-ขาออก และการส่งมอบ- ปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้องกับเครื่องมือทุ่นแรงประจำ 10-26

ตารางที่ 10.2-1 ภารกจิ ลกั ษณะงาน และคณุ สมบัตเิ ฉพาะตำแหนง่ ของบุคล ลำดบั ตำแหน่ง ประเภท/ระดับ ภารกิจ/หน้าท่คี วาม ล รบั ผดิ ชอบ ▪ ดูแลความเรียบรอ้ ยของอุปกร ▪ จัดพมิ พ์หนงั สอื ออก และเอก ▪ จัดเก็บเอกสารสำคญั เข้าแฟ้ม ▪ จดั ทำสถติ ติ ่าง ๆ ตามทไ่ี ด้รับ ▪ ดแู ลการจัดทำทะเบยี นและกา ▪ ดูแลและตรวจตราอาคาร บริเ ▪ ดูแลการรกั ษาความสะอาดอา 7. ปฏิบตั งิ านอ่นื ๆ ตามคำสั่งผบู้ ังค สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพ่มิ ศักยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ลากรที่ปฏบิ ตั งิ านท่ีศูนยก์ ารขนสง่ ตู้สนิ คา้ ทางรถไฟ (SRTO) ในปจั จุบนั (ต่อ) ลกั ษณะงาน วฒุ ิการศึกษา ประสบการณ์/ความชำนาญ รณ์ทีใ่ ชส้ ำหรบั ขนถ่ายตสู้ นิ ค้า กสารต่าง ๆ ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย ม ใหเ้ ปน็ ระเบียบเรยี บร้อย บมอบหมาย ารเก็บรกั ษาเอกสาร ทรัพยส์ นิ พัสดุ ครภุ ัณฑ์ เวณท่ีเกบ็ สินค้า เพอ่ื ป้องกันอคั คภี ัย าคารสถานทีต่ ่าง ๆ ของสงั กัด คับบญั ชา 10-27

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพิม่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 10.2.3 การประเมินผลงานและตัวชีว้ ดั ประสิทธภิ าพของบุคลากร การประเมินการดำเนินงานของ Outsource ทาง กทท. ได้กำหนด KPI ในด้านประสิทธิภาพการ ให้บริการลูกค้า ซึ่งถ้าบริษัทไม่สามารถดำเนินงานได้ตามตัวชี้วัดที่กำหนด จะมีการปรับตามระบบ จัดซื้อจัดจ้างท้ังไป คือ ฐานอยู่ท่ีร้อยละ 0.1 หรือ 0.2 โดยการพิจารณาการปรับจะดูจากจำนวน การขนส่งตสู้ นิ คา้ ท่ีควรดำเนินการได้ตอ่ วัน ถ้าหากดำเนินการได้ไม่ถงึ ที่กำหนดก็จะคิดค่าปรบั และ ในส่วนของการกำหนดโทษจะมีระบุอยู่ในสัญญาต้ังแต่แรก ดังนั้นทำให้อัตราค่าปรับมีหลายอัตรา โดยจะประเมินผลตามรอบบิลซึ่งจะมีการวางบิลทุกเดือน แต่ในส่วนผลการดำเนินงานรายวันจะมี การจัดเก็บสถติ ไิ ว้ทกุ วนั 10.2.4 ภาระงานจากการปฏิบัติงานจริง ปัจจุบัน กทท. มีการว่าจ้างบริษัทเอกชน (Outsource) เข้ามาดำเนินการเป็นผู้ให้บริการขนย้าย ตู้สินค้าแทน กทท. แล้ว แต่เนื่องด้วยการกำกับดูแลการดำเนินงานภายใน SRTO มีภาระงาน มากกว่าที่คาดการณ์ไว้ ทำให้อัตรากำลังของเจ้าหน้าท่ีเพียง 5 อัตรา จึงไม่เพียงพอต่อการ ดำเนินงาน และเจ้าหน้าที่ตอ้ งทำงานลว่ งเวลาเกือบทกุ วนั ในภาพรวม Outsource จะดำเนินการในส่วนงานปฏิบัติ โดยสัญญามีระยะเวลา 5 ปี โดยทาง บริษัท Outsource จะพิจารณาบริหารจัดการการดำเนินงานภายในบริษัทเอง โดยใช้โครงสร้าง พ้ืนฐานต่าง ๆ ท่ี กทท. ได้จัดสร้างขึ้นและเป็นผ้บู ำรุงรักษา ซง่ึ บริษัทจะตอ้ งจดั หาอุปกรณ์เครื่องมือ มาให้เพียงพอต่อการดำเนินงานให้มากท่ีสุด ในการจ้างบริษัทเอกชนทาง กทท. ไม่ได้ระบุถึงอัตรา กำลังคน และปริมาณรถที่ต้องนำมาใช้ในการดำเนินงาน เน่ืองจากเป็นการมุ่งเน้นไปที่การจ้างทำงาน ไมใ่ ช่การจ้างคน การกำหนดอตั ราคา่ จา้ งจะเป็นการจ่ายตามจรงิ ตามจำนวนตู้สินค้าที่ดำเนินการได้ และการคำนวณ ค่าจ้างต่อหน่ึงตู้สินค้าท่ีขนได้จะพิจารณาจาก ข้ันต่ำจำนวนคนและรถท่ีบริษัทใช้ เงินเดือนตาม ตำแหน่ง ค่าโอที ซ่ึงจำนวนพนักงานของบริษัทโดยรวมประมาณ 320 คน ดังนั้น กทท. จึงได้ กำหนดค่าจ้างหรือราคากลางไว้ท่ีประมาณ 407 บาทต่อตู้สินคา้ ในด้านการบรหิ ารความเส่ียงของ ทางบริษัทจะบริหารความเส่ียงของบริษัทเอง ในสัญญาที่ทำร่วมกับ กทท. ไม่มีการระบุถึงรายละเอียด เนื่องจากไม่ใช่การรว่ มลงทุนฯ (PPP) ปัจจบุ ัน กทท. ได้ร่วมดำเนินการกับ รฟท. ในการให้บริการจองแคร่ผ่านระบบออนไลน์ ซ่ึงจะเป็น การรับจองในส่วนของ ICD ลาดกระบัง โดยผู้ใช้บริการจะต้องดำเนินการกรอกข้อมูลผ่านระบบ และระบบจะประมวลผลค่าใช้จ่าย โดยแยกเป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของ รฟท. และ กทท. และ ผ้ใู ช้บริการสามารถพิมพใ์ บชำระเงินและนำไปจ่ายท่ีธนาคารไดท้ ันที สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 10-28

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) แนวโนม้ ในอนาคต การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในการดำเนินงานหรือพัฒนาให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลใน อนาคตเพื่อลดการพ่ึงพา Outsource อาจเป็นไปได้ในบางสว่ นแต่ยังคงต้องมีบุคลากรท่ีคอยกำกับ ดูแลความปลอดภัยในพื้นที่ลาน หรือเม่ือมีการเช่ือมโยงข้อมูลต่าง ๆ ก็ยังคงต้องมีคนที่คอย ตรวจสอบ เช่น เร่ืองของการเงนิ เป็นต้น และต้องคำนึงถึงความคุ้มค่าในการลงทุนด้านเทคโนโลยี สารสนเทศเม่ือเทียบกับค่าใช้จ่ายท่ีลดลงจากการลดการจ้างคน แต่ปัจจุบันผลการดำเนินงานใน ภาพรวมยังขาดทุนจึงคาดว่าอาจขออนมุ ัติเงนิ ลงทุนเพมิ่ ได้ยาก และในดา้ นการพฒั นาให้เป็น Smart port ในอนาคตคาดวา่ จะเป็นการร่วมลงทนุ ระหว่างรัฐกับเอกชน (Public Private Partnership: PPP) 10.3 ศูนยเ์ ปลีย่ นถา่ ยรูปแบบการขนสง่ สินค้าเชียงของ จังหวัดเชยี งราย กรมการขนสง่ ทางบก โครงการศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย กรมการขนส่งทางบก ตั้งอยู่บริเวณสะพานมิตรภาพไทย-ลาว (สะพานข้ามแม่น้ำโขง) แห่งที่ 4 ประชิดด่านพรมแดนเชียงของ จ.เชียงราย ฝ่ังเหนือ มีเน้ือท่ีจำนวน 335 ไร่ 1 งาน 10.6 ตารางวา แสดงในรูปท่ี 10.3-1 ได้เร่ิม ดำเนินการก่อสร้างมาตั้งแต่ปี 2560 ปัจจุบันงานก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว และเปิดให้บริการ บางส่วนเม่ือเดือนกรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา ท้ังนี้สามารถแสดงแผนผังศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบ การขนส่งสนิ ค้าเชียงของ จงั หวดั เชียงราย ดงั รปู ที่ 10.3-2 รูปท่ี 10.3-1 ตำแหนง่ ที่ตง้ั โครงการศนู ย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนสง่ สินคา้ เชยี งของ จงั หวัดเชียงราย สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-29

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) รปู ท่ี 10.3-2 แผนผงั ศูนย์เปล่ยี นถ่ายรูปแบบการขนสง่ สินค้าเชียงของ จงั หวัดเชียงราย คณะรฐั มนตรมี ีมติอนุมัตใิ นหลักการ เมอ่ื วันท่ี 20 เมษายน 2564 โครงการศนู ย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบ การขนส่งสินคา้ เชียงของ จงั หวดั เชียงราย ของกรมการขนส่งทางบก (ขบ.) และวงเงินงบประมาณ รายจ่ายของโครงการฯ ตามมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 ประกอบบทเฉพาะกาลมาตรา 68 (1) แห่งพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐ และเอกชน พ.ศ. 2562 กำหนดให้เอกชนร่วมลงทุนในรูปแบบ PPP Net Cost โดยภาครัฐ เป็นผู้ลงทุนค่าที่ดิน ค่าก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ขณะที่เอกชนเป็นผู้ลงทุนค่าอุปกรณ์ขนถ่าย สินค้า อุปกรณ์สำนักงานและส่วนประกอบ และงานระบบท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารด้านการขนส่ง สนิ ค้าและโลจิสติกส์และเอกชนเป็นผู้รับผิดชอบในส่วนของการดำเนินงานและบำรุงรักษา (Operation and Maintenance: O&M) ท้ังหมด รวมท้ังเป็นผู้รับความเสี่ยงทางด้านรายได้และจ่ายค่าสัมปทาน ใหภ้ าครฐั ตลอดระยะเวลา 15 ปี นับจากปีเปิดใหบ้ รกิ าร ปัจจุบันกรมการขนส่งทางบกอยู่ในระหว่างข้ันตอนการเตรียมการเชิญชวนเอกชนเข้าร่วมลงทุน ตามพระราชบัญญัติการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 คาดว่าจะสามารถคัดเลือก เอกชนที่มีศักยภาพเข้ามาบริหารจัดการศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัด เชียงราย ได้ภายในปี พ.ศ. 2565 ด้วยสถานการณ์ดังกล่าว ทำให้ในช่วงปีแรก (พ.ศ. 2564) ขบ. จำเป็นต้องเข้ามาบริหารจัดการศูนย์เปลีย่ นถา่ ยรปู แบบการขนสง่ สินค้าเชียงของ จังหวัดเชยี งราย ในรูปแบบที่เหมือนกันกับการบริหารสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทงั้ 3 แห่งในปัจจุบนั โดยไดก้ ำหนดให้งานบริหารศนู ยเ์ ปล่ียนถ่ายรปู แบบการขนส่งสนิ ค้าเชียงของ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-30

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอื่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) จังหวัดเชียงราย อยู่ภายใต้ งานบริหารสถานีขนส่งสินค้า 4 (เชียงของ)1 โดยกำหนดหน้าท่ีและ ความรับผดิ ชอบของกลมุ่ งานดังนี้ 1) ควบคุม กำกับ ดูแล ดำเนินงาน บริหารจัดการ ตรวจสอบและส่งเสริมการเข้าใช้สถานีขนส่ง สัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปลยี่ นถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) ตาม ขน้ั ตอนของกฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์ที่กำหนด 2) ดำเนินงานและประสานงานระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่ง สนิ ค้าขา้ มพรมแดน การเปล่ียนถา่ ยรูปแบบการขนสง่ สถานขี นสง่ สัตว์และหรือสง่ิ ของ 3) ควบคุม กำกับ ดูแล บรหิ ารจดั การและดำเนนิ การด้านส่งิ แวดลอ้ ม สุขาภบิ าลทัว่ ไป สุขาภบิ าล อาหารและน้ำในพ้ืนท่ีสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่ง สนิ ค้าเชยี งของ จังหวัดเชียงราย) ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ท่ีเก่ียวขอ้ ง และ ตรวจสอบ ดแู ล จดั ใหม้ รี ะบบปอ้ งกัน ควบคมุ พาหะนำโรคในบริเวณพ้ืนที่ปฏิบัติงานท้งั หมด 4) ศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อมลู และดำเนินการดา้ นต่างๆ ของสถานขี นสง่ สัตว์และหรอื สิง่ ของ (ศนู ย์เปลี่ยนถ่ายรปู แบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชยี งราย) 5) พิจารณาแก้ไขปัญหาต่างๆ ของสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการ ขนส่งสนิ คา้ เชียงของ จงั หวดั เชียงราย) 6) ปฏิบตั ิงานหรือสนับสนุนงานอนื่ ๆ ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย ดังน้ัน การศึกษารูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้า เชียงของ จังหวัดเชียงราย จะมุ่งเน้นที่การศึกษาทรัพยากรบุคคลที่ปฏิบัติหน้าท่ียังศูนย์เปล่ียน ถา่ ยรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จงั หวัดเชยี งราย โดยมีรายละเอียดแยกเป็นส่วน ๆ ดงั นี้ 10.3.1 โครงสรา้ งบคุ ลากรและอัตรากำลัง จากการที่กรมการขนส่งทางบกต้องเข้ามาดำเนินการบริหารจัดการศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่ง สินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงรายในช่วงระยะแรก (อย่างน้อยเป็นเวลา 1 ปี) กรมการขนส่งทางบกจึงมี คำสั่งกำหนดจำนวนอัตรากำลังข้าราชการและลูกจ้างของงานบริหารสถานีขนส่งสินค้า 4 (เชียงของ) จำนวน 9 คน เพ่ือไปปฏิบัติหน้าที่ยังศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัด เชียงราย โดยประกอบด้วยเจา้ หน้าทท่ี ่ีมีตำแหน่งดังแสดงในรูปท่ี 10.3-3 1 คำสง่ั กรมการขนส่งทางบกที่ 449/1/2563 เร่ือง จดั ต้ังงานบริหารสถานีขนส่งสินค้า 4 (เชียงของ) เป็นหน่วยงานภายใน ลงวันท่ี 31 กรกฎาคม 2563 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-31

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) งานบรหิ ารสถานขี นส่งสินคา้ 4 ขรก. - 5 (เชียงของ) ลชค. - 4 หวั หน้างาน 1 นกั วิชาการขนส่ง : ชำนาญการพเิ ศษ ขา้ ราชการ 5 ลูกจ้างชั่วคราว 4 นกั วชิ าการขนส่ง (ชก.) - 3 คน นักวชิ าการขนส่ง - 2 คน เจา้ พนกั งานขนส่ง (ปง./ชง.) - 1 คน นายชา่ งโยธา - 1 คน พนักงานขับรถยนต์ - 1 คน รปู ท่ี 10.3-3 โครงสรา้ งบคุ ลากรและอัตรากำลังของงานบรหิ ารสถานีขนส่งสินค้า 4 (เชียงของ) 10.3.2 ภารกิจ ลักษณะงาน และคุณสมบตั ิเฉพาะตำแหน่ง กรมการขนสง่ ทางบกไดก้ ำหนดหนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบของแต่ละตำแหนง่ แสดงรายละเอยี ดดังน้ี 1. ข้าราชการ: หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบของตำแหนง่ 1.1 นกั วิชาการขนส่ง ระดับชำนาญการหรอื ชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติงานในฐานะหวั หน้างาน ซง่ึ ตอ้ งปฏิบตั งิ านดังนี้ (1) กำกับ ดูแล บริหารจัดการ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา วางแผนหรือ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงาน รวมท้ังแก้ปัญหาการปฏิบัติงาน การอนุมัติ อนุญาต เก่ียวกับการใช้บริการตามท่ีได้รับมอบหมาย เพ่ือให้การดำเนินงานของสถานีขนส่งสัตว์ และหรือสง่ิ ของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนสง่ สนิ คา้ เชียงของ จังหวัดเชียงราย) เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพสามารถสนับสนุนต่อการพัฒนาระบบโลจิสติกส์และความมั่นคงทาง เศรษฐกิจของประเทศ สอดคล้องตามนโยบาย (2) กำกับ แนะนำการปฏิบัติงานด้านการเงิน การบัญชี การงบประมาณและงานพัสดุ ครุภัณฑ์ ของสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) เพ่ือให้ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์ที่ กำหนด (3) กำกับ แนะนำ และดำเนินงานเก่ียวกับงานการจัดระบบ จัดระเบียบการขนส่งภายในสถานี ขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัด เชยี งราย) สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-32

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพ่มิ ศักยภาพสถานีขนส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) (4) กำกับ แนะนำ ดูแล และบริหารจัดการงานด้านสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาลท่ัวไป สุขาภิบาล อาหารและน้ำ การจัดให้มีระบบป้องกัน ควบคุมพาหะนำโรค ในพ้ืนท่ีสถานีขนส่งสัตว์และ หรือส่ิงของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) ให้เป็นไป ตามกฎหมาย ระเบยี บ หลักเกณฑท์ เี่ กย่ี วข้อง (5) กำกับ แนะนำ ศึกษา วิเคราะห์และติดตามประเมินผลการดำเนินงานของสถานีขนส่งสัตว์ และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรปู แบบการขนส่งสินคา้ เชียงของ จังหวัดเชียงราย) เพ่ือใช้ ในการพฒั นาการดำเนนิ การของสถานี (6) ให้คำปรึกษา แนะนำเกย่ี วกับกฎหมายด้านการขนส่ง และระเบียบปฏิบตั ิที่เกย่ี วข้องกบั การ ดำเนินงานสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียง ของ จังหวัดเชียงราย) รวมทั้งให้คำปรึกษา แนะนำด้านวิชาการขนส่งสินค้าเพื่อให้ หน่วยงานภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องรวมถึงประชาชนได้รับความรู้และนำไปดำเนินการ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (7) ประสานงานการทำงานกับทีมงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดความร่วมมือและ ผลสมั ฤทธ์ิตามท่ีกำหนด (8) ปฏบิ ัตงิ านและสนบั สนนุ งานอ่ืนๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 1.2 นักวิชาการขนส่ง ระดบั ปฏิบตั กิ ารหรอื ชำนาญการ (1) การศึกษา วิเคราะห์ วางแผน พัฒนาการดำเนินการสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์ เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) ให้เป็นไปอย่างมี ประสทิ ธิภาพและถูกต้อง เปน็ ไปตามกฎ ระเบยี บ ข้อบังคับ และหลกั เกณฑ์ที่กำหนด (2) ปฏิบัติงานด้านการจัดระบบ จัดระเบียบการขนส่งและการจัดการงานด้านสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาลทั่วไป สุขาภิบาลอาหารและน้ำ การจัดให้มีระบบป้องกัน ควบคุมพาหะนำโรค ในพ้ืนที่สถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวดั เชยี งราย) ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และหลกั เกณฑท์ ี่เกยี่ วข้อง (3) ดำเนินการหรือการอนุมัติ อนุญาตเกี่ยวกับการใช้บริการสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศนู ย์เปลีย่ นถ่ายรปู แบบการขนสง่ สินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) และอื่นๆ ตามอำนาจท่ี ไดร้ บั มอบหมาย (4) ดำเนินการเก่ียวกับการกำหนดปรับปรุงมาตรฐาน กฎหมาย หลักเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ต่างๆ เกี่ยวกับการอบรมและการดำเนินการสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของเพื่อให้มีความ เหมาะสม สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-33

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) (5) ดำเนินการเกี่ยวกับการติดตามประเมินผลการดำเนินการสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) เพ่ือนำข้อมูลไป วิเคราะห์ วางแผน และพัฒนาการดำเนนิ การของสถานี (6) ให้คำชแ้ี จงเก่ียวกับกบั กฎหมายด้านการขนส่ง ระเบียบปฏิบัติและข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับการ พัฒนาสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของกับหน่วยงานท้ังภายในและภายนอกท่ีเก่ียวข้อง รวมท้งั ประชาชนไดร้ ับความรู้และนำไปดำเนินการได้อย่างถกู ตอ้ ง (7) ประสานการทำงานกับทีมงานหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือให้เกิดความร่วมมือและ ผลสัมฤทธ์ิตามทีก่ ำหนด (8) ปฏิบตั งิ านและสนับสนุนงานอื่นๆ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย 1.3 เจา้ พนักงานขนส่ง ระดบั ปฏิบัติงานหรอื ชำนาญงาน (1) ดูแล ตรวจสอบ ดำเนินงาน และส่งเสริมการใช้สถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์ เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบ และหลักเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ (2) ดำเนินการเร่งรัด จัดเก็บรายได้และจัดทำบัญชีรับจ่ายค่าบริการสถานีขนส่งสัตว์และหรือ สง่ิ ของ (ศูนยเ์ ปลยี่ นถา่ ยรปู แบบการขนสง่ สนิ คา้ เชยี งของ จงั หวดั เชียงราย) (3) ดำเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติต่างๆ และการรายงานผลการปฏิบัติงานของสถานี ขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัด เชียงราย) รวมทั้งแก้ไขปัญหาต่างๆ ของสถานีเพื่อใช้ในการพัฒนาสถานีขนส่งสัตว์และหรือ สิ่งของ (4) ปฏิบัติงานด้านการจัดระบบและระเบียบการขนส่งภายในสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ (ศนู ย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชยี งของ จงั หวัดเชยี งราย) (5) ปฏบิ ัตงิ านและสนับสนุนงานอ่ืนๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 2. ลกู จา้ ง: หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบของตำแหน่ง 2.1 นักวชิ าการขนส่ง (1) ปฏิบัติงานด้านวิชาการขนส่งเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วางแผน พัฒนา และเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหา รวมท้ังรวบรวม วิเคราะห์และจัดทำข้อมูลสถิติ เพ่ือให้การดำเนินงาน ของสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์ที่ กำหนด สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 10-34

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) (2) ปฏิบัติงานด้านการเงิน การบัญชี การงบประมาณ การเร่งรัดและจัดเก็บรายได้ งานพัสดุ และครุภัณฑ์ของสถานีขนส่งสัตว์และหรือสิ่งของ (ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้า เชยี งของ จงั หวัดเชียงราย) (3) ปฏิบัติงานด้านการจัดระบบ จัดระเบียบการขนส่งภายในสถานีขนส่งสัตว์และหรือส่ิงของ (ศนู ยเ์ ปล่ียนถา่ ยรูปแบบการขนส่งสนิ ค้าเชียงของ จังหวัดเชยี งราย) (4) ปฏิบัติงานเก่ียวกับการบริหารจัดการงานด้านส่ิงแวดล้อม สุขาภิบาลทั่วไป สุขาภิบาล อาหารและน้ำ การจัดให้มีระบบป้องกัน ควบคุมพาหะนำโรคในพื้นที่สถานีขนส่งสัตว์และ หรือสิ่งของ (ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย) ให้เป็นไป ตามกฎหมาย ระเบยี บ และหลักเกณฑท์ ่ีเก่ียวข้อง (5) ปฏบิ ัตงิ านและสนบั สนนุ งานอ่ืนๆ ตามทีร่ บั มอบหมาย 2.2 นายชา่ งโยธา (1) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่างๆ เพ่ือให้ตรงตาม หลักวิชาช่าง ความตอ้ งการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ (2) ตรวจสอบ แก้ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการเพื่อให้การ ดำเนนิ งานเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ (3) ถอดแบบ เพอ่ื สำรวจปรมิ าณวสั ดทุ ี่ใชต้ ามหลักวชิ าช่าง เพอ่ื ประมาณราคาค่าก่อสรา้ ง (4) ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามท่ีได้รับมอบหมาย เพอื่ ใหถ้ ูกตอ้ งเปน็ ไปตามระเบียบ และกฎหมายที่กำหนด (5) ให้คำแนะนำ และตอบปัญหาเก่ียวกับงานโยธาที่รับผิดชอบแก่ผู้บังคับบัญชา หรือ เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานภายในและภายนอก รวมทั้งประชาชนได้รับความรู้และ นำไปดำเนินการได้อย่างถูกต้อง (6) ปฏิบัตงิ านและสนับสนนุ งานอื่นๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย 2.3 พนกั งานขับรถยนต์ (1) ปฏิบัติงานในการขับรถยนต์เพ่ือรับ-ส่งเจ้าหน้าท่ี ไปปฏิบัติราชการตามที่ได้รับมอบหมาย ตรงตอ่ เวลา มคี วามรบั ผดิ ชอบในหน้าทีแ่ ละปฏบิ ัตหิ น้าทีข่ นเสร็จสิ้นภารกิจ (2) รักษาความสะอาดของตัวรถ และที่จอดรถ ตรวจสอบความพร้อมของรถ บำรุงรักษารถ รวมท้ังการแก้ไขข้อขัดข้องเบ้ืองต้นเพ่ือให้รถสามารถใช้งานได้ แจ้งซ่อมรถกรณีตรวจพบ ข้อบกพรอ่ ง 2 ท่ไี ม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-35

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) (3) จดั ทำรายงานการใชร้ ถยนต์ การใชพ้ ลังงานและการเบิกจ่ายเงินคา่ น้ำมนั เชื้อเพลิง (4) ปฏบิ ัติงานและสนบั สนุนงานอ่ืนๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย โดยสำหรับบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ยังศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัด เชยี งราย มขี ้อสังเกตดงั น้ี หวั หน้างาน: เน้นงานกำกับ ดูแล ตรวจสอบการดำเนินงานของผ้รู ่วมปฏิบัติงานให้สามารถปฏิบัติงาน ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาและการบริหารศูนย์ฯ เชียงของ ตลอดจนแก้ปัญหาการปฏิบัติงาน การ อนุมัติ อนุญาต งานด้านการเงิน การบัญชี งบประมาณและงานพัสดุ งานจัดระบบ จัดระเบียบการ ขนส่ง งานด้านสิ่งแวดล้อม งานติดตามและประเมินผล งานแนะนำเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบ และประสานงานการทำงานกบั ทีมงาน นักวิชาการขนส่งระดับปฏิบัติการหรือชำนาญการ: เน้นการวิเคราะห์ วางแผน พัฒนาการ ดำเนินการศูนย์ฯ เชยี งของ จัดระบบ จดั ระเบียบการขนส่งและการจัดการด้านสง่ิ แวดล้อม อนุมัติ และอนุญาตการใช้บริการศูนย์ฯ เชียงของ ปรับปรุงมาตรฐานและกฎหมาย ติดตามประเมินผล ให้คำชี้แจงเกี่ยวกับกฎหมาย และประสานการทำงานกับทีมงาน เจา้ พนักงานระดับปฏบิ ัติงานหรือชำนาญงาน: เน้นการดูแล ตรวจสอบ ดำเนินงาน และส่งเสริมการ ใช้ศูนย์ฯ เชียงของ เร่งรัดจัดเก็บรายได้และจัดทำบัญชีรับจ่าย จัดเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ จัดระบบ และระเบยี บการขนส่ง ท้ังน้ีความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะท่ีจำเป็นของข้าราชการท่ีปฏิบัติหน้าท่ียังศูนย์ฯ เชยี งของ เหมือนกนั กบั ขา้ ราชการของส่วนสถานีขนสง่ สินคา้ 10.3.3 การประเมนิ ผลงานและตัวช้ีวดั ประสิทธิภาพของบคุ ลากร การประเมินผลงานของบุคลากรของศนู ย์ฯ เชียงของ ใช้แนวทางเดียวกันกับส่วนสถานีขนสง่ สินค้า กลา่ วคือ มีการกำหนดตวั ชวี้ ัดประสิทธิภาพแยกตามหน้าที่ความรับผิดชอบท้ัง 4 ด้าน คือ ด้านการ ปฏบิ ัตกิ าร ดา้ นการวางแผน ด้านการประสานงาน และด้านการบริการ ทัง้ น้ี ตัวชว้ี ดั ด้านการปฏิบัติการและด้านการวางแผนจะมีความแตกต่างกนั สำหรับขา้ ราชการแต่ละ ระดับ แยกเป็นระดับชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ/ปฏิบัติการ และชำนาญงาน/ปฏิบัติงาน และ ตัวชว้ี ดั ด้านการประสานงานและการบริการจะกำหนดไวเ้ หมอื นกัน 10.3.4 ภาระงานจากการปฏบิ ตั ิงานจริง ศูนย์ฯ เชียงของ เพ่ิงเปิดดำเนนิ การและเปิดให้บรกิ ารเพียงบางส่วน ในขณะทโ่ี ครงสร้างพ้ืนฐานต่าง ๆ ยังอยู่ในระยะประกันของบริษัทรับเหมาก่อสร้าง ทำให้ภาระการบำรุงรักษายังอยู่ในภาระของ บรษิ ทั ดงั นั้น ภาระงานของเจ้าหนา้ ที่ยังถือว่าไม่มาก จงึ ยังไม่สามารถประเมินผลการดำเนนิ งานได้ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั 10-36

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่อื เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 10.3.5 การสัมภาษณ์บคุ ลากรของศนู ยเ์ ปล่ียนถ่ายรปู แบบการขนสง่ สนิ ค้าเชียงของ จากการสัมภาษณ์หัวหน้างานบริหารสถานีฯ และนักวิชาการขนส่งสินค้า ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบ การขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย เก่ียวกับภาพรวมการดำเนินงานและการบริหาร ทรพั ยากรบคุ คล มีรายละเอยี ด ดังน้ี 1. ภาพรวมการดำเนนิ งานของศนู ย์เปล่ียนถา่ ยรูปแบบการขนส่งสินคา้ เชยี งของ ศนู ย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชยี งของ จังหวดั เชียงราย สามารถรองรบั ปริมาณสินคา้ ได้ 270,000 TEU โดยได้เปิดตัวศูนย์ฯ ไปเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 เพื่อเปิดให้เอกชนร่วมลงทุน PPP ในปัจจุบันที่อยู่ระหว่างการให้เอกชนผู้ท่ีสนใจเข้ามาร่วมทุน ทางส่วนสถานีขนส่งสินค้า งาน บริหารสถานีขนส่งสินค้า 4 เป็นผู้ดำเนินการดูแลและบริหารจัดการ เพ่ือให้มีแผนงานและระบบ การดำเนินงานภายในสถานีท่ีชัดเจน เรียบร้อย และพร้อมรับกับการดำเนินการแบบ PPP ในอนาคต ซงึ่ จำนวนบุคลากรของศูนยเ์ ปลีย่ นถา่ ยรปู แบบการขนสง่ สนิ ค้าเชียงของ จงั หวัดเชยี งราย มดี งั น้ี 2. โครงสรา้ งบคุ ลากร ศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ มีจำนวนบุคลากรท้ังหมด 9 อัตรา จำแนกเป็น ข้าราชการ 5 อตั รา และลูกจ้างช่ัวคราว 4 อัตรา โดยในตำแหน่งนักวิชาการขนส่ง 2 อัตรา (ระดับ ชำนาญการพิเศษ และชำนาญการ) เป็นการช่วยราชการ จากกลุ่มวชิ าการขนสง่ เชยี งราย แสดงใน ตารางที่ 10.3-1 ตารางที่ 10.3-1 โครงสรา้ งบุคลากรภายของศนู ย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งเชียงของ ตำแหน่ง จำนวน หมายเหตุ ขา้ ราชการ นักวชิ าการขนส่ง 4 - หวั หน้างานสถานฯี (ระดบั ชำนาญการพเิ ศษ) 1 อัตรา - ระดับชำนาญการ 1 อตั รา เจ้าพนักงานขนส่ง 1 ปฏบิ ัติงานด้านการเงิน โดยปัจจบุ นั ประจำอยูท่ ส่ี ่วนกลาง รวม ยงั ไม่ไดม้ าปฏบิ ตั ิงานท่ีสถานฯี ลูกจา้ งชว่ั คราว นักวิชาการขนสง่ 5 นายช่างโยธา พนักงานขบั รถยนต์ 2 วฒุ ปิ ริญญาตรี รวม 1- 1- 4 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-37

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) 3. ลักษณะงาน งานบริหารสถานีในภาพรวมของศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของมีลักษณะ เดียวกันกับงานบรหิ ารสถานีขนสง่ สนิ ค้า 1-3 เชน่ งานการเก็บค่าบริการสถานีฯ ค่าสาธารณูปโภค และการกำกับดูแลการจ้างเหมาบริการ เป็นต้น และเน่ืองด้วยสถานที่ต้ังและรูปแบบการ ดำเนนิ งานของศูนย์ฯจะมีความแตกต่างจากสถานีขนสง่ สนิ คา้ 1-3 ดังน้ันจึงมบี างลักษณะงานทีท่ ่ีมี ความแตกต่างกนั ซ่งึ มีรายละเอียดดังน้ี ภารกิจหรอื ลักษณะงานทมี่ ีความแตกต่างจากสถานีขนสง่ สนิ คา้ 1-3 - ภารกิจด้านวิชาการ เน่ืองด้วยศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของอยู่ติด พื้นที่ชายแดน ต้องดูแลการขนส่งระหว่างประเทศ จึงได้มีการผลักดันให้ศูนย์ฯ เป็น One Stop Service (OSS) ดำเนินการร่วมกับศุลกากร เป็นการให้บริการตรวจปล่อยสินค้า นำเข้า - ส่งออก ให้เป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็วเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว ฯลฯ รวมถึงงาน ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อผลักดันให้เกิดเป็น CIQ โดยลูกจ้าง ช่ัวคราวจะปฏบิ ัติงานสนบั สนุนงานในส่วนน้ดี ว้ ยเชน่ กนั - การกำกับดูแลผู้รับเหมาและผลกระทบต่อประชาชนโดยรอบ เป็นการกำกับดูแลการ ก่อสร้างและการบำรุงรักษาตามระยะเวลาท่ีผูร้ ับเหมาประกันไว้ ทั้งในส่วนการดแู ลเฟส 1 ท่ีสร้างเสร็จแล้ว และการสร้างเฟส 2 ในอนาคต และการจัดการและดูแลกับผลกระทบท่ี จะเกิดขนึ้ กับประชาชนโดยรอบพืน้ ที่ของศูนยฯ์ - การจัดประมูลพ้ืนที่จำหน่ายอาหาร ทางศูนย์ฯจะดำเนินการจัดการและเปิดซองการ ประมูลเอง ซงึ่ แตกต่างกบั งานบริหารสถานฯี 1-3 ท่ที างสว่ นกลางจะเปน็ ผูด้ ำเนนิ การให้ ทั้งน้ีเม่ือมีเอกชนเข้ามาร่วมทุนบทบาทหน้าที่ในส่วนบุคลากรของศูนย์ฯ ก็อาจเปล่ียนเป็นการ กำกับดูแลการดำเนินงานของเอกชนในภาพรวมแทน และสำหรับระบบสารสนเทศหรือระบบ อิเล็กทรอนิกส์ที่สนับสนุนการทำงานของศูนย์ฯ จะเป็นระบบเดียวกันกับท่ีใช้ที่ส่วนกลาง ยังไม่มี ระบบเฉพาะของทางศนู ยฯ์ เอง 4. ประเดน็ ปญั หา จากการสมั ภาษณ์ พบวา่ ไมม่ ีประเดน็ ปัญหาในด้านบุคลากร แตเ่ นอื่ งด้วยปัจจุบันอยู่ระหวา่ งการให้ เอกชนมาร่วมทุน (PPP) ยังไม่มีการเข้าใช้พื้นที่อย่างหนาแน่น ในปัจจุบันทางศูนย์ฯ จึงส่งเอกสาร เสนอให้เข้าใช้พื้นที่ไปถึงผู้ประกอบการท่ีมีการเดินรถผ่านทางจังหวัดเชียงรายโดยตรง เพื่อให้ ผู้ประกอบการท่ีสนใจได้เข้ามาดูสถานที่ได้ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้ประกอบการใช้เป็นพื้นท่ีเก็บ สต็อกสินค้า และผลักดันให้ศูนย์ฯ เป็น OSS ต่อไป และประกอบกับจากข้อกำหนดเก่ียวกับผู้ที่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-38

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินค้า (Truck Terminal Development Plan) สามารถเช้าใช้พ้ืนท่ีของสถานีท่ีไม่รองรับผู้ประกอบการรายย่อย ทำให้เกิดข้อจำกัดต่อต่อโอกาสที่ ผปู้ ระกอบการท้องถ่นิ หรือรายย่อยในพ้ืนทท่ี ี่อาจสนใจเขา้ ใชพ้ ้ืนท่ีได้ จึงทำให้ปัจจุบันยังไม่มีงานในการดูแลผู้ประกอบการท่ีใช้พ้ืนท่ี งานด้านปฏิบัติการต่าง ๆ ทำให้ไม่ เห็นถึงปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึนเม่ือมีการดำเนินงานในอนาคต และรวมถึงบุคลากรของศูนย์ฯ ไม่ สามารถเขยี นค่างานท่ชี ดั เจนได้ เปน็ ต้น 10.4 งานศกึ ษาวเิ คราะห์โครงสร้างการบริหารงานของสว่ นสถานีขนส่งสินค้า กรมการขนส่งทางบก (ขบ.) ได้ดำเนินการดูแลและบริหารสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลจำนวน 3 แห่งในปัจจุบัน ได้แก่ สถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล สถานีขนส่งสินค้า คลองหลวง และสถานขี นส่งสนิ ค้าร่มเกล้า ซ่ึงทำหน้าที่หลักเป็นศูนย์รวบรวมและกระจายสนิ ค้าต้นทาง รองรับการขนส่งสินค้าบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นเคร่ืองมือสำคัญในการจัด ระเบียบการขนสง่ สินค้าด้วยรถบรรทกุ ใหม้ ีประสิทธภิ าพสงู สดุ และลดต้นทุนการขนส่งในภาพรวม การดูแลและบริหารสถานีขนส่งสินค้าอยู่ภายใต้ภารกิจของส่วนสถานีขนส่งสินค้า สำนักการขนส่ง สินค้า (สนค.) ดังน้ัน การศึกษารูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานีขนส่งสินค้าชานเมือง ในปัจจุบัน จะมุ่งเน้นท่ีการศึกษาทรัพยากรบุคคลภายใต้ส่วนสถานีขนส่งสินค้าทั้งหมด ท้ังพ้ืนที่ ส่วนกลางและพื้นท่สี ถานีขนส่งสนิ ค้าทั้ง 3 แห่ง โดยมรี ายละเอียดแยกเป็นสว่ นๆ ดังน้ี 10.4.1 โครงสร้างการบรหิ ารงานบุคลากรและอตั รากำลัง สว่ นสถานีขนส่งสินคา้ ประกอบด้วย 68 อัตรา โดยแบ่งเป็นเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัตงิ านทีส่ ่วนกลางจำนวน 32 อัตรา ปฏิบัติงานที่สถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 3 แห่งจำนวน 27 อัตรา และปฏิบัติงานท่ีศูนย์เปลี่ยนถ่ายฯ เชียงของจำนวน 9 อัตรา ในจำนวนนี้เป็นข้าราชการ จำนวน 19 อัตรา และลูกจ้างช่ัวคราวจำนวน 49 อัตรา อย่างไรก็ดี ณ เดือนธันวาคม 2564 มีอัตรา ทวี่ ่างอยู่ 4 อัตราโดยทั้งหมดอยใู่ นส่วนกลาง สำหรับโครงสร้างบุคลากรและภารกิจโดยสังเขปของส่วนสถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบันแสดงใน รูปท่ี 10.4-1 โดยแบ่งเป็น 5 แท่ง โดย แท่งที่ 1 ได้แก่ กลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้า ขณะท่ีอีก 4 แท่งท่ีเหลือได้แก่สถานีขนส่งสินค้าทั้ง 4 แห่ง (งานบริหารสถานีขนส่งสินค้า) ท่ีมีในปัจจุบัน โดย ภารกิจของแตล่ ะแท่งสรปุ โดยสงั เขปได้ดังน้ี • กล่มุ งานพัฒนาสถานีขนส่งสนิ ค้า ภารกิจหลักได้แก่การพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าท่ีจะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคตตั้งแต่จุดเร่ิมต้นจนการ ก่อสร้างแล้วเสร็จ กิจกรรมที่สำคญั อาทิ - งานดา้ นยุทธศาสตร์และนโยบาย สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั 10-39

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพือ่ เพมิ่ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) - ศกึ ษาความเปน็ ไปได้ของโครงการ - ศกึ ษาวเิ คราะห์การให้เอกชนรว่ มลงทุน - ขออนมุ ัตโิ ครงการใหเ้ อกชนร่วมลงทนุ ตามกฎหมาย - ดำเนนิ การทเี่ กีย่ วข้องกับการออก พ.ร.ฎ. เวนคนื ฯ - ออกแบบรายละเอียดเพ่ือก่อสร้าง - หาตวั ผู้รับเหมา/ผรู้ บั จา้ ง/ควบคุมงานก่อสรา้ ง/ตรวจรบั งาน นอกจากภารกิจหลักดังที่กล่าวไป ปัจจุบันกลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้า ยังจะต้องดูแล รับผดิ ชอบงานอนื่ ๆ ของสว่ นฯ อาทิ - งานแผนและงบประมาณ - งานบริหารทัว่ ไป / ธุรการ / บุคคล / พสั ดุ / เอกสารราชการ - เทคโนโลยี / ฐานข้อมลู - ตดิ ตามและกำกับสัญญา PPP - เลขานกุ ารส่วนฯ • งานบรหิ ารสถานขี นส่งสินคา้ แหง่ ที่ 1 2 และ 3 ประกอบด้วยสถานีขนส่งสินค้าพุทธมณฑล (บค.1) สถานีขนส่งสินค้าคลองหลวง (บค.2) และ สถานีขนส่งสินค้าร่มเกล้า (บค.3) โดยภารกิจหลักของงานบริหารสถานีขนส่งสินค้าทั้ง 3 แห่งน้ี ไดแ้ ก่การบริหารพ้ืนที่และกิจกรรมภายใน อาทิ - งานควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบ และให้คำแนะนำผู้เข้าใช้บริการสถานี ให้ปฏิบัติตาม กฎระเบียบ ประกาศ ของสถานี - งานควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบความปลอดภัย และเวรรักษาการณ์ - งานควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบการดำเนนิ งานการจ้างเหมาบริการ - งานควบคุม กำกับดูแล ตรวจสอบการใช้สาธารณูปโภคภายในสถานีขนส่งสินค้า และ วเิ คราะห์ขอ้ มูลสาธารณูปโภคของสถานขี นสง่ สินค้า - งานตั้งจุดตรวจ เช่น วัดแอลกอฮอล์ และ อุปกรณ์ล็อคตู้คอนเทนเนอร์ และการต้ังจุดตรวจ เพอื่ อำนวยความปลอดภัยในชว่ งเทศกาล - งานศึกษาวิเคราะห์ข้อมลู การใชส้ ถานี เพอ่ื นำมาวางแผนพฒั นาการบรหิ ารจดั การสถานี - งานแก้ปัญหาหน้างานและปญั หาเฉพาะหน้าต่างๆ - ควบคมุ งานซ่อมบำรุง - ประสานและกำกบั ผู้ใช้บริการ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-40

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) • งานบริหารสถานีขนส่งสินคา้ แห่งที่ 4 ได้แก่ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ (บค.4) โดยภารกิจหลักจะมีความเหมือน และแตกต่างจากงานบริหารสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและปริมณฑลท้ัง 3 แห่ง แตจ่ ะมภี าระงานบางสว่ นที่มคี วามแตกต่างและซับซ้อนมากกว่า ได้แก่ - งานกำกับและติดตามสัญญารว่ มทนุ ฯ - การกำกับดูแลงานการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งจะมีความซับซ้อนท้ังในด้านการ กฎหมาย ระเบียบ กฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกบั พธิ ี การระหว่างประเทศ อาทิ CIQ, OSS และ CBTA เปน็ ต้น จากโครงสร้างองค์กรซึ่งแสดงในรูปท่ี 10.4-1 จะเห็นว่าการบริหารงานในแต่ละแท่ง (กลุ่มงานพัฒนาฯ และ งานบริหารสถานีฯ ท้ัง 4 แห่ง) อยู่ภายใต้และขึ้นตรงกับหัวหน้าส่วนฯ โดยตรง แต่ในทางปฏิบัติ กลุ่มงานพัฒนาสถานีฯ จะมีบทบาทในการเป็นหน่วยประสาน คัดกรองงาน และสนับสนุนงาน ด้านสำนักงานต่างๆ ก่อนการส่งผ่านระหว่างหัวหน้าส่วนฯ และงานบริหารสถานีฯ ลักษณะการส่ังการ และลำดบั การบงั คับบัญชาในทางปฏิบตั ิจึงเป็นไปในลักษณะดังแสดงในรูปท่ี 10.4-2 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-41

รูปท่ี 10.4-1 โครงสรา้ งบุคลากรและอัตราก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) กำลังในปัจจุบนั ของสว่ นสถานีขนส่งสนิ ค้า 10-42

รปู ที่ 10.4-2 โครงสรา้ งบคุ ลากรและอัตรากำลงั ขอ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพฒั นาเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพสถานขี นส่งสินคา้ (Truck Terminal Development Plan) องส่วนสถานีขนสง่ สนิ ค้าในปัจจุบันในทางปฏบิ ตั ิ 10-43

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพสถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal Development Plan) 10.4.2 ข้อสงั เกตเก่ยี วกับโครงสรา้ งองค์กรและการบริหารงานส่วนสถานีขนส่งสนิ คา้ ในปจั จบุ ัน จากการทบทวนโครงสร้างบุคลากรและภาระงานของส่วนสถานีขนส่งสินค้าในปัจจุบนั ดังท่ีกล่าวไป ท่ี ปรกึ ษาพบข้อสงั เกตที่สำคัญใน 4 ประเด็น ได้แก่ • กลุ่มงานพฒั นาสถานฯี มีหน้าทใี่ นการเป็นจุดคัดกรองงานจาก งานบริหารสถานีฯ ท้ัง 4 แห่ง ก่อนท่ีจะส่งผ่านไปยัง “หัวหน้าส่วนฯ” จึงกล่าวได้ว่ากลุ่มงานนี้ทำหน้าที่เสมือนเป็น เลขานุการเพอ่ื ช่วยในการคัดกรองงานก่อนที่จะส่งผา่ นมายงั หวั หน้าสว่ นฯ • ในปัจจุบัน กลุ่มงานพัฒนาสถานีฯ มีขนาดใหญ่ และในอนาคตเมื่อจำนวนสถานีฯ เพ่ิมมาก ขึน้ กลุ่มงานพัฒนาสถานฯี จะยง่ิ มีขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมากยิ่งขนึ้ ไปอีก • เมื่อพิจารณาวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของกลุ่มงานพัฒนาสถานีฯ จะพบว่าภาระงานหลักควร เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าเป็นสำคัญ แต่ในปัจจุบันพบว่ามีภาระ งานอื่นท่ีไม่เก่ียวข้องโดยตรงกับการพัฒนาสถานีฯ แฝงอยู่ในกลุ่มงานพัฒนาสถานี เป็น จำนวนมาก ภาระงานเหล่านี้ส่งผลให้กลุ่มงานฯ มีขนาดใหญ่และมีแนวโน้มจะใหญ่ขึ้นใน อนาคต • ในอนาคต ส่วนสถานีขนส่งสินค้าจะมีสถานีขนส่งสินค้าในรูปแบบการร่วมลงทุนฯ (PPP) เพิ่มข้ึน จำเป็นจะต้องมีการเตรียมการรองรับภาระงานท่ีจะเกิดขึ้นในส่วนน้ี โดยเฉพาะภาระ งานด้านการกำกับสัญญารว่ มลงทุน จากการทบทวนข้อสังเกตหลักทั้ง 4 ข้อดังท่ีกล่าวมา ท่ีปรึกษามีความเห็นว่างานเลขานุการและทีม สนับสนุนงานหัวหน้าส่วนฯ เป็นงานที่มีความจำเป็นอย่างย่ิง และความสำคัญจะยิ่งเพ่ิมมากข้ึนเมื่อ จำนวนสถานีขนส่งสินค้าในกำกับเพิ่มมากยิ่งข้ึนในอนาคตอันใกล้ ด้วยเหตุนี้จึงควรมีกลุ่มงานหรือ ทีมงานหน่ึงเพื่อช่วยดำเนินภารกิจในส่วนน้ีให้มีความชัดเจนในผังโครงสร้างองค์กร และปรับให้กลุ่ม งานพัฒนาสถานีฯ มีภารกิจที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของกลุ่มงาน ได้แก่ การดำเนินการที่ เกยี่ วข้องกบั การพฒั นาสถานขี นสง่ สินค้าที่จะเกิดขึน้ ใหม่ในอนาคต จากข้อสังเกตท่ีกล่าวมา ประกอบกับการหารือกับผู้ปฏิบัติงานภายในส่วนสถานีขนส่งสินค้าและ กองการเจ้าหน้าที่ของกรมฯ สามารถจดั ทำเปน็ ชดุ ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการ บริหารของส่วนสถานีขนส่งสินค้า โดยแบ่งโครงสร้างเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะส้ัน ได้แก่ การ ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานส่วนสถานีขนส่งสินค้าบนเง่ือนไขปัจจุบัน และ ระยะยาว ได้แก่ การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานส่วนสถานีขนส่งสินค้าในอนาคตเม่ือมีจำนวนสถานีขนส่งสินค้า ในรูปแบบการร่วมลงทุนฯ (PPP) เพ่ิมจำนวนมากขึ้น โดยข้อเสนอแนะสำหรับการปรบั ปรุงพัฒนา แต่ละระยะจะกล่าวถงึ ในหวั ข้อต่อๆ ไป สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-44

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) 10.4.3 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและการบริหารงานส่วนสถานีขนส่งสินค้าบน เงื่อนไขปจั จบุ นั (ระยะส้นั ) • ขอ้ เสนอแนะในเชิงโครงสรา้ ง จากข้อสังเกตที่ได้กล่าวไป ไม่ว่าจะเป็นการขาดทีมงานเพื่อทำหน้าท่ีเป็นเลขานุการส่วนงาน เพื่อกลั่นกรองงานท่ีชัดเจน โดยปัจจุบันหัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาสถานีฯ และบุคลากรในกำกับ จำนวนหนึ่ง จะเป็นผู้รับภาระงานดังกล่าว ทำให้กลุ่มงานพัฒนาสถานีฯ มีขนาดใหญ่ และภาระงาน ในส่วนนี้ยังถือได้ว่าเป็นส่วนท่ีนอกเหนือจากภารกิจหลักของกลุ่มงานซึ่งได้แก่การพัฒนาสถานี ขนส่งสินค้าแห่งใหม่ ประเด็นภาระงานท่ีมีหลายมิติ ประกอบกับความไม่ชัดเจนในการบังคับบัญชา สง่ ผลให้การบริหาร มอบหมายงาน และกำกับตรวจติดตามงาน ทำได้ยาก และปัญหาดังกล่าวจะย่ิง มคี วามซับซ้อนมากยิ่งขึ้นเมื่อมีจำนวนสถานีขนส่งสินค้าท่ีอยู่ระหว่างพัฒนาและท่ีก่อสร้างแล้วเสร็จ เปิดใหบ้ ริการมากยิ่งข้ึนในอนาคต เพื่อให้เกิดลำดับช้ันของการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ และรองรับการขยายตัวของส่วนฯ ใน อนาคตที่ปรึกษาจึงเสนอให้มีการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและบุคลากรภายในส่วนฯ โดยเพิ่ม แท่งการบริหารงานเพิ่มเติมอีก 1 แท่ง ได้แก่ “กลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินค้า” โดยกลุ่ม งานดงั กลา่ วนี้จะมภี ารกิจหลักดังต่อไปน้ี - สนบั สนนุ คกก.บริหารสถานี - งานแผนและงบประมาณ - งานบริหารทว่ั ไป / ธุรการ / บคุ คล / พัสดุ / จดั ซ้อื จดั จา้ ง / เอกสารราชการ - เทคโนโลยี / ฐานข้อมลู - งานวิเคราะห์ขอ้ มูล - ตดิ ตามและกำกบั สัญญาร่วมลงทนุ - เลขานุการส่วนฯ ขณะที่ “กล่มุ งานพฒั นาสถานีขนส่งสินคา้ ” จะถูกปรบั ให้มีความกระชบั มากย่ิงขึ้นและมุ่งเปา้ ท่ี ภารกิจด้านการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าแห่งใหม่จากต้นน้ำจนถึงปลายน้ำของกระบวนการ ดงั แสดงในรูปท่ี 10.4-3 • ข้อเสนอแนะในเชิงโครงสร้างเพ่ิมเติมในส่วนของศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งเขียงของ แม้ในเบื้องต้นท่ีปรึกษาจะได้เสนอรูปแบบโครงสร้างองค์กรของส่วนสถานีขนส่งสินค้าดังแสดง ในรูปท่ี 10.4-3 แต่จากการหารือเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากกองการเจ้าหน้าท่ีของกรมฯ ได้มี ข้อสังเกตเพิ่มเติมในโครงสร้างการบริหารศูนย์เปล่ียนถ่ายรูปแบบการขนส่งเขียงของเนื่องจาก สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-45

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) ศูนย์ฯ ตั้งอยู่ในจงั หวัดเชียงรายซ่ึงมีบริบทในเชิงพ้นื ที่ที่แตกต่างไปจากสถานีขนส่งสินค้าชานเมือง กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑลทงั้ 3 แหง่ จงึ ได้มีขอ้ เสนอแนะโดยเป็นไปใน 2 แนวทาง ได้แก่ o แนวทางท่ี 1 โดยการดำเนินการและความรับผิดชอบทั้งหมดขึ้นตรงกับส่วนสถานีขนส่ง สินค้า ซ่ึงเป็นไปในลักษณะเช่นเดียวกับสถานีขนส่งสินค้าชานเมืองกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลท้ัง 3 แห่ง ดังที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นและแสดงไว้ในรูปท่ี 10.4-3 และมีจุดเด่น และจุดดอ้ ยสรุปไดด้ ังน้ี - จุดเด่น: ด้วยการบริหารงานสถานีขนส่งสินค้าเป็นงานที่มีความเฉพาะตัวและต้องการ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมากกว่าภารกิจในส่วนงานภูมิภาคทั่วไปของกรมฯ การ บรหิ ารงานท่ีเบ็ดเสร็จจากหน่วยงานรับผิดชอบส่วนกลางท่ีมีความรูค้ วามเช่ียวชาญและ ประสบการณน์ า่ จะสง่ ผลใหก้ ารบรหิ ารงานเกิดประสิทธิภาพมากกว่า - จุดด้อย: อุปสรรคสำคัญของการบริหารงานจากส่วนกลางได้แก่ระยะทางและความ ใกล้ชิดและการประสานงานกับหน่วยงานในพ้ืนที่ เช่น จงั หวดั ด่านพรมแดน หน่วยงาน CIQ ผู้ประกอบการในพ้ืนที่ รวมถงึ ประเทศเพ่ือนบ้าน o แนวทางที่ 2 ให้มีการถ่ายโอนภารกิจการกำกับและบริหารพื้นท่ีศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบ การขนส่งสินค้าเชียงของไปอยู่ท่ีกลุ่มวิชาการขนส่งของสำนักงานขนส่งจังหวัด เชียงราย ขณะที่ส่วนสถานีขนส่งสินค้าจะมีหน้าท่ีในการกำกับเชิงนโยบายและระเบียบกฎเกณฑ์ใน ภาพใหญ่เป็นหลักเท่านั้น อย่างไรก็ดีส่วนสถานีขนส่งสินค้าฯ ยังจำเป็นจะต้องรับผิดชอบ การต้ังงบประมาณและอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้องด้วย ดังแสดงในรูปท่ี 10.4-4 และมีจุดเด่นและจุด ด้อยสรุปไดด้ ังนี้ - จุดเด่น: ได้แก่ความคล่องตัวในการประสานงานและแก้ปัญหาในพ้ืนท่ี รวมถึงเข้าใจใน บริบทและสถานการณ์ของพ้ืนท่ี รวมถึงการประสานและรับส่งนโยบายกับจังหวัดผ่าน เวทตี ่างๆ เชน่ ผวู้ ่าราชการจังหวดั เป็นตน้ - จุดด้อย: ได้แก่การขาดบุคลากรและหน่วยงานที่มีองค์ความรู้และความชำนาญเฉพาะ ทางซงึ่ อาจทำใหก้ ารบริหารงานไม่เกิดประสทิ ธิภาพเทา่ ที่ควรได้ ท้ัง 2 แนวทางนี้มีข้อดีข้อเสียท่ีแตกต่างกันไป ซ่ึงกรมการขนส่งทางบกสามารถพิจารณาเลือก แนวทางใดแนวทางหน่ึงก็ได้เช่นกัน แต่เมื่อเลือกแนวทางใดไปแล้วก็จำเป็นจะต้องเตรียม แนวทางในการลดหรอื แก้ปญั หาจากจุดด้อยของแนวทางนั้นๆ อย่างไรก็ดีเมื่อช่ังน้ำหนักจุดเด่น จุดด้อยของท้ัง 2 แนวทางท่ียกมา ในมุมมองของท่ีปรกึ ษาเห็นว่าแนวทางที่ 1 น่าจะมีความเป็น แนวทางท่ีเหมาะสมมากกว่าด้วยเหตุผลของการที่สถานีขนส่งสินค้าเป็นภารกิจท่ีมีความ เฉพาะตัวและปัจจุบันเทคโนโลยกี ารส่ือสารดิจิทัลช่วยให้ข้อจำกัดของการบริหารงานระยะไกล ลดลงกว่าในอดตี สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-46

รูปท่ี 10.4-3 โครงสรา้ งบคุ ลากรเสนอแนะสำหรบั ส่วนสถา สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศกั ยภาพสถานขี นส่งสนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) านีขนสง่ สนิ ค้า : แนวทางท่ี 1 การดำเนินการทั้งหมดขึ้นกับสว่ นฯ 10-47

รูปที่ 10.4-4 โครงสรา้ งบคุ ลากรเสนอแนะสำหรับสว่ นสถานขี นสง่ สนิ ค้า แนวทางท่ี 2 ถา่ ยโอน สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง

รายงานฉบับสมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพฒั นาเพอื่ เพ่มิ ศกั ยภาพสถานีขนสง่ สนิ คา้ (Truck Terminal Development Plan) นภารกจิ การกำกับและบรหิ ารพ้ืนที่ศูนยเ์ ปลีย่ นถ่ายรปู แบบการขนส่งเชยี งของไปอยู่ท่ี ขสจ.เชยี งราย 10-48

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจัดทำแผนพัฒนาเพื่อเพ่มิ ศักยภาพสถานขี นสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) • ข้อเสนอแนะการกำหนดอัตราชำนาญการพิเศษ (ชพ.) สำหรับหวั หน้ากลุ่มงาน จากโครงสร้างองค์กรและการบริหารงานท่ีเสนอให้มีการปรับปรุงใหม่ (ดังแสดงในรูปที่ 10.4-3 และรูปท่ี 10.4-4) จะเห็นได้ว่า “กลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินค้า” ที่เสนอให้ตั้งข้ึนใหม่น้ี ถือว่ามีความหลากหลายและซับซ้อนของเนื้องานเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะงานในด้านเทคโนโลยี ฐานข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล และเน้ืองานในประเด็นเหล่านี้จะมีบทบาทมากข้ึนไปเรื่อยๆ ในอนาคต นอกจากน้ี งานติดตามและกำกับสัญญาการใหเ้ อกชนร่วมลงทนุ ฯ ก็เป็นงานที่ต้องมี ความรู้ที่หลากหลายท้ังในด้านกฎหมาย ระเบียบ การเงิน และวิศวกรรม ก็มีความซับซ้อน ไม่ยิ่งหย่อนกัน เมื่อพิจารณาในประเด็นความซับซ้อนและหลายหลายของภาระงานและปริมาณงาน ท่ีรับผิดชอบ พบว่าน่าจะสามารถกำหนดอัตราชำนาญการพิเศษ (ชพ.) สำหรับหัวหน้ากลุ่มงานท่ี ตั้งข้ึนใหม่น้ีได้ และเมื่อตรวจสอบกับระเบียบในการกำหนดอัตรา ชพ. พบว่าหัวหน้างาน จะสามารถกำหนดอัตรา ชพ. ได้จะต้องมีจำนวนบุคลากรใต้บังคับบัญชาเป็นข้าราชการต้ังแต่ 4 อัตราขึ้นไป และในจำนวนน้ีจะต้องเป็นข้าราชการระดับชำนาญการ (ชก.) ไม่น้อยกว่า 2 อัตรา ซ่ึงเม่ือตรวจสอบกับโครงสร้างท่ีเสนอข้ึนใหม่นี้พบว่ามีจำนวนบุคลากรในกำกับเป็นไปตามที่ ระเบียบกำหนด จึงเสนอให้ส่วนฯ พิจารณาปรับปรุงอัตราข้าราชการในตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน ใหเ้ ปน็ ระดับ ชพ. ได้ ขณะเดียวกัน แม้ “กลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งส่งสินค้า” จะมีการถ่ายโอนบุคลากรออกไปกว่าคร่ึง แต่เน่ืองจากการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าเป็ฯงานที่มีความหลากหลายทางวิชาการเป็นอย่างย่ิง ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ ตำแหน่งท่ีต้ัง การออกแบบทางวิศวกรรม งานด้านสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมถึงกระบวนการทางกฎหมายที่มีความสลับซับซ้อน ไม่ว่าจะ เป็นการเวนคืนท่ีดิน หรือการผลักดันโครงการเข้าสู่กระบวนการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน ประกอบกับจำนวนบุคลากรท่ียังคงอยู่ภายใต้กลุ่มงานยังคงท่ีเป็นไปตามระเบียบโดยมีข้าราชการ ในการบงั คบั บัญชาไม่น้อยกว่า 4 อัตราและในจำนวนนี้เป็นอัตรา ชก. ไม่น้อยกว่า 2 อัตรา เช่นกัน จึงอาจพิจารณาปรับให้หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าเป็นอัตราระดับ ชพ. ไปพรอ้ มกัน กบั กล่มุ งานกำกับกิจการสถานีขนส่งสนิ ค้าทเ่ี สนอให้ต้ังขึ้นใหม่ได้ • ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับโครงสร้างและภารกิจสำหรับ “กลุ่มงานพฒั นาสถานีขนส่งสินคา้ ” ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงสร้างและภารกิจสำหรับ “กลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้า” ภายหลัง การแยกภาระงานส่วนหนึ่งออกไปอยู่กับกลุ่มงานกำกับกิจการสถานีขนส่งสินค้าที่ต้ังขึ้นใหม่ สามารถสรุปได้ดังน้ี o ภารกิจและกจิ กรรมหลัก สำหรับกลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้า ภารกิจหลักได้แก่การริเริ่มและดำเนินการต่อเนื่องจน กระทง้ั เกิดสถานีขนส่งสินค้าแห่งใหม่ขึ้น ประกอบด้วย สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 10-49

รายงานฉบบั สมบรู ณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สนิ ค้า (Truck Terminal Development Plan) (1) งานด้านยุทธศาสตรแ์ ละนโยบาย รวมถงึ งานทบทวนและประเมินความเสี่ยงของโครงการ (2) งานศกึ ษาความเป็นไปได้ของโครงการสถานีขนส่งสินค้าท่ีจะพฒั นาข้ึน (3) งานศึกษาวิเคราะห์โครงการตาม พ.ร.บ. การร่วมลงทนุ ฯ (4) การย่นื เสนอและขออนุมัตโิ ครงการตามกระบวนการตาม พ.ร.บ. การรว่ มลงทุนฯ (5) การดำเนินการที่เก่ียวข้องกับกระบวนการได้มาของที่ดินเพ่ือดำเนินโครงการ เช่น การศึกษาสำรวจเพื่อจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน การออก พ.ร.ฎ. เวนคืน การจ่ายค่าชดเชย การ เจรจาและการแกป้ ัญหาที่เกี่ยวเน่ือง (6) การศึกษาออกแบบและก่อสร้างโครงการ เช่น การออกแบบรายละเอียดเพื่อก่อสร้าง การหาตัวผู้รับเหมาและท่ีปรึกษาควบคุมงานก่อสร้าง การกำกับและควบคุมงานก่อสร้าง และการตรวจรบั งานก่อสร้าง o ความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ของบคุ ลากร จากภารกิจและกิจกรรมท้ัง 6 ข้อ ที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่าในส่วนของผู้ปฏิบัติงานควรจะต้องมี ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ หรือมีพ้ืนฐานการศึกษาในหลักสูตรท่ีเก่ียวข้องกับประเด็น ดงั ต่อไปน้ี (1) วศิ วกรรมขนสง่ (2) วิศวกรรมโยธา (3) เศรษฐศาสตรแ์ ละการเงิน (4) กฎหมาย อย่างไรก็ดี ด้วยข้อจำกัดของระบบราชการซ่ึงอาจไม่สามารถกำหนดตัวบุคลากรท่ีมีความ เชี่ยวชาญได้ตรงตามท่ีต้องการทั้งหมด ดังน้ัน กระบวนการด้าน “การพัฒนาทรัพยากร บุคลากร” จะเข้ามามีบทบาทสำคัญยิ่ง เช่น การส่งเสริมและสนับสนุนผู้ปฎิบัติงานให้มีการ เรียนรู้เพ่ิมเติม ไม่ว่าจะเป็นการเข้าร่วมการฝึกอบรม การเรียนระยะส้ัน การเรยี นต่อ รวมถึงการ ขอทุนการศึกษา ในสายวิชาท่ีเก่ยี วเน่ืองจำเป็น ซงึ่ เป็นบทบาทสำคัญของผู้บริหารในหน่วยงาน o ขอ้ สงั เกตทพ่ี บจากการดำเนนิ งานในปจั จบุ ันและข้อเสนอแนะ ปัจจุบัน กรมการขนส่งทางบกแผนสถานีขนส่งสินค้าที่อยู่ระหว่างการพัฒนา 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์การขนส่งชายแดนนครพนม สถานีขนส่งสินค้าซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จและเริ่มเปิดให้ ดำเนินการแต่ยังอยู่ในกระบวนการหาเอกชนร่วมลงทุนซึ่งยังเป็นขอบเขตงานท่ีเก่ียวเนื่องกับ การพัฒนาสถานีขนส่งสินค้า 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งเชียงของ และ สถานีท่ีอยู่ในแผนการพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าในเมืองภูมิภาคอีก 17 แห่ง ท่ีจะต้องมีการ ดำเนินการในอนาคต ดังน้ันภารกิจของงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าจึงยังคงมีความสำคัญและ มีปริมาณงานที่ต่อเน่ืองในระยะยาว สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10-50

รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) โครงการจดั ทำแผนพัฒนาเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพสถานีขนสง่ สินคา้ (Truck Terminal Development Plan) ปัจจุบัน แนวทางการบริหารงานภายใต้กลุ่มงานพัฒนาสถานีขนส่งสินค้าในส่วนของงานพัฒนา โดยตรง จะใช้การจ่ายงานโดยข้าราชการ 1 อัตราจะถูกมอบหมายให้ดูแลรับผิดชอบงานพัฒนา สถานีขนส่งสินค้า 1 แหง่ เปน็ หลักตง้ั แต่ตน้ น้ำถึงปลายน้ำของการพฒั นา ดังแสดงในรปู ที่ 10.4-5 (รูปด้านซ้าย: เปน็ ลกั ษณะการกำหนดภาระงานในแนวดิ่ง) อย่างไรก็ดีท่ีปรึกษามีข้อสังเกตต่อแนวทางการบริหารงานในลักษณะดังกล่าวสรุปเป็นประเด็น ไดด้ งั นี้ • รูปแบบการบริหารและแจกจ่ายงานในปัจจุบันมีความเหมาะสมสำหรับกรณีท่ีสถานี ท่ีอยู่ระหว่างการพัฒนามีจำนวนไม่มากนักเช่นในช่วงระยะเวลาหลายปีท่ีผ่านมา แต่ ความเหมาะสมอาจลดลงเมอื่ มปี รมิ าณสถานขี นสง่ สนิ ค้าเพ่ิมมากย่ิงข้นึ ในอนาคต • การผูกพันภาระงานไวท้ ่ีอตั ราใดอัตราหนึง่ อยา่ งต่อเนื่องยาวนาน หากบุคลากรในอตั รา ดังกลา่ วมีการโอนย้ายจะสง่ ผลกระทบในเรอ่ื งความตอ่ เนื่องของงานโดยทนั ที • ในทางปฏิบัติ เมื่อปริมาณงานในบางโครงการเพ่ิมมากขึ้นจะมีการกำหนดให้บุคลากร อื่นๆ เขา้ มามีส่วนรว่ มและสนับสนุนผู้รับผดิ ชอบหลัก แตใ่ นกรณดี ังกล่าวน้ีจะทำให้การ บริหารงานมคี วามไม่ชดั เจน • การพัฒนาความเช่ียวชาญของบคุ ลากรทำไดย้ ากขน้ึ ดังน้ันในมุมมองของการบริหารองค์กร ท่ีปรึกษาจึงมีความเห็นว่า ในระยะที่ยังมีจำนวนโครงการ พัฒนาสถานีขนส่งสินค้าแห่งใหม่ท่ีอยู่ระหว่างการดำเนินการยังคงมีจำนวนไม่มากนักเช่นใน ปจั จบุ นั สว่ นฯ ยงั อาจพิจารณาบริหารงานในลักษณะปจั จบุ ันได้ แต่ในอนาคต เมื่อมีโครงการท่ีดำเนินการเพ่ิมข้ึน การบริหารงานควรเปลี่ยนเป็นการกำหนด ภาระงานสำหรับแต่ละอัตรา รวมถึงความรู้ความสามารถท่ีพึงมีของผู้ท่ีมาปฏิบัติงานในอัตรานั้นๆ เพ่ือให้สอดรับกับภารกิจและกิจกรรมหลักตามวัตถุประสงค์ของกลุ่มงานฯ โดยโครงสร้างดังแสดง ในรปู ที่ 10.4-5 (รปู ดา้ นขวา: เปน็ ลกั ษณะการกำหนดภาระงานในแนวราบ) ซ่ึงในการจัดโครงสรา้ ง การบริหารงานในลักษณะตามแนวราบนี้อาจมีจุดอ่อนในประเด็นท่ีแต่ละโครงการจะขาดตัวกลาง หรือผู้ประสานงานหลัก ดังนั้นจึงมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมให้กระจายบุคลากรในแต่ละทีมเพ่ือทำ หน้าที่เสมือนเป็นผู้ประสานงาน/ผู้จัดการโครงการสำหรับแต่ละโครงการ (เช่น ให้หัวหน้าทีม A เป็นผ้จู ดั การโครงการสถานี ก ไปพร้อมกัน) ซ่งึ จะชว่ ยแกป้ ัญหาท่ีกล่าวมาได้ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั 10-51


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook