ชอ่ื เรอื่ ง : การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาสงั คมศกึ ษา 5 โดยใช Google Classroom ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3/2 โรงเรยี นบางกะป ผูวจิ ยั : นายสันติชัย สระทองอวน กลุมสาระการเรยี นรู : สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรยี น : บางกะป ภาคเรยี น : ที่ 1 ปการศึกษา : 2564 บทคดั ยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา 5 ระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปที่ 3/2 ทเ่ี รียนโดยใชโดยใช Google Classroom กลมุ เปาหมายทใี่ ชในการวิจัย เปนนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 จาํ นวน 1 หอง คอื หอง 2 ของโรงเรียนบางกะป ในปการศกึ ษา 2564 ภาคเรยี นที่ 1 จาํ นวน นักเรียน 43 คน ซึ่งไดมาจากการเลือกแบบแบบเจาะจง (Purposive Selection) เนื้อหาวิชาที่ใชในการวิจัย เปนเนื้อหาในในวิชาสังคมศึกษา 5 ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เครื่องมือที่ใชในการ วิจัยประกอบดวย แผนการจัดการเรียนรู ชุดกิจกรรมการเรียนรูและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถติ ิทใี่ ชในการวเิ คราะหขอมูล คือ คาเฉล่ยี และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวาผลการประเมนิ การเรียนรูรายวิชาสงั คมศกึ ษา 5 ของนักเรียนที่เรยี นตามหลกั สตู ร ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/2 มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.50 อยูในระดับคอนขางดี สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 12.18
รายงานการวิจัยในชัน้ เรียน เรอ่ื ง : การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ในรายวิชาสังคมศึกษา 5 โดยใช Google Classroom ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 3/2 โรงเรียนบางกะป ช่อื ผูวิจยั : นายสันตชิ ยั สระทองอวน กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1. ความเปนมาของปญหา ผูวิจัยไดรับมอบหมายใหสอนในรายวิชาสังคมศกึ ษา 5 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 3/2 จากปการศึกษา ที่ผานมาพบวาโรงเรียนบางกะปไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดของไวรัสโคโรนาหรือโควิด-19 สงผลให นักเรียนโรงเรียนบางกะปตองหยุดเรียนไปจนถึงเดือนกรกฎาคม หมายความวา การระบาดของเชื้อไวรัส โค วิด-19 สงผลตอระบบการศึกษาเปนอยางมาก ตั้งแตเชื้อไวรัสเริ่มระบาดในประเทศจีนปลายปที่แลวจนถึง ปจจุบัน UNESCO รายงานวารัฐบาล 191 ประเทศทั่วโลก ประกาศปดสถานศึกษาทั้งประเทศ มีผูเรียนไดรับ ผลกระทบกวา 1.5 พันลานคน (มากกวารอยละ 90 ของผูเรียนทั้งหมด) สําหรับประเทศไทยสถานการณการ ระบาดเกิดขึ้นในชวงสถานศึกษาขั้นพื้นฐานปดภาคเรียน โดยในชวงตนเดือนเมษายน คณะรัฐมนตรีมีม ติ เห็นชอบใหเลื่อนวันเปดเทอมภาคเรียนที่ 1 ไปเปนวันที่ 14 มิถุนายน 2564 ไทยจึงมีโอกาสทบทวนบทเรียน จากตางประเทศเพื่อเตรียมตัวใหพรอมในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหมที่สอดรับกับมาตรการปองกัน การระบาด พรอมกับเตรียมมาตรการตาง ๆ เพื่อปองกันไมใหผูเรียนไดรับผลกระทบจากรูปแบบการเรียนที่ เปลย่ี นไปในรายวิชา ม.3/2 ในรายวชิ าสังคมศกึ ษา 6 มเี นื้อหาท่เี ยอะจึงทาํ ใหมีการจดั การเรยี นการสอนไมทัน ตรงตามหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ปจจุบนั เทคโนโลยมี ีบทบาทตอการเรียนและผเู รียนเปนอยางมากในโลกในศตวรรษท่ี21 แอพพลเิ คช่ัน “Google classroom” ซึง่ เปนสวนหน่งึ ของ Google Apps for Education จงึ เปนเครอ่ื งมอื ท่ีชวยอํานวย ความสะดวกดานการศึกษา เพมิ่ ประสิทธิภาพการทํางานเพื่อใหผสู อนมีเวลาทีต่ ดิ ตอสอ่ื สารกับผูเรยี นมากขึ้น ในขณะเดียวกนั ผเู รียนก็มีเวลาคนหาขอมูลเพ่ือการเรียนรูมากขึ้นดวยเชนกนั Google Classroom ซ่ึงเปน หองเรียนออนไลน นักเรยี นสามารถเรยี นรไู ดดวยตนเอง ทุกที ทกุ เวลา และสามารถใชโทรศพั ทเปนเครื่องมือใน การเรียนรูได ครูสามารถออกแบบการจดั การเรียนการสอนไดโดยผาน Google Classroom ดวยเหตุนี้ทางผูวิจัยจึงไดทําวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาสังคม ศึกษา 5 โดยใช Google Classroom ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 3/2 2. วตั ถุประสงค 2.1 เพอื่ ศกึ ษาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรายวิชาสังคมศึกษา 5 โดยใช Google Classroom ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 3/2
3. วธิ ีดาํ เนินการวิจัย (วางแผนอยางไร ทาํ อยางไร จะทําสิ่งใดเพ่ือเพื่อแกปญหา) 3.1. กาํ หนดเปาหมาย/ปญหา 3.2. วางแผนบทเรียนตามหลักสตู รแกนกลางฯ และสรางหองเรียน 3.3. ใหนักเรยี นเขาเรียนและสงั เกต 3.4. ตดิ ตามผลการประเมินและผลการเรียนรู 3.5. ปรับปรุงแกไข 4. เคร่อื งมือท่ใี ช 4.1. Google Classroom สังคมศึกษา 5 4.2. แผนการจดั การเรยี นรู 4.3. ใบงาน 4.4. แบบทดสอบ 5. สถติ ทิ ใี่ ช 5.1 คาเฉลย่ี 5.2 คารอยละ 5.3 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6. ประชากร (ศึกษาจากนักเรียนหองไหนหรือกลมุ ไหนหรือคนไหน จํานวนเทาไร) นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/2 จาํ นวน 43 คน ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564 7. ผลการศกึ ษา ตารางท่ี 1 แสดงคาเฉล่ยี และคาเบย่ี งเบนมาตรฐานของผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนรูในรายวชิ าประวัติศาสตร 1 โดยใช Google Classroom ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1/3 จํานวน จํานวนนกั เรยี นท่ีไดรบั ผลการเรียน (คน) ผลการ สวน ชน้ั นักเรยี น เรยี น เบ่ยี งเบน (คน) 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0 ร เฉล่ยี มาตรฐาน ม. 43 11 2 1 6 5 6 12 0 0 3/2 2.50 12.18 รวม 43 11 2 1 6 5 6 12 0 0 2.50 12.18 รอย 100 25.58 4.65 13.95 2.33 11.63 13.95 27. 0 0 ละ 91 65.07 -
จากตารางที่ 1 พบวาผลการประเมินการเรียนรูรายวิชาสังคมศึกษา 6 ของนักเรียนที่เรียนตามหลักสูตร ภาค เรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/2 มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.50 อยูในระดับคอนขางดี สวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 12.18 8. อภปิ รายผล จากผลการจัดการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา 6 โดยใช Google Classroom พบวานักเรียน สามารถเรยี นรูเน้ือหาในสังคมศึกษา 6 ไดดวยตนเอง นักเรยี นสามารถเรียนรูไดตามทต่ี องการ สามารถพูดคุย และสงงานโดยไมเฉพาะภายในคาบเรียนเทานั้น สะดวกและสามารถกลับมายอยดูหรือศึกษาเพิ่มเติมได ซึ่ง สอดคลองกับผลวิจัยการใช Google Classroom ในหองเรียนของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี พบวานักศึกษาที่เรียนผาน Google Classroom มีความรูสึกถึงความสะดวกสบายในการใช เทคโนโลยีในการเรียนมากกวารอยละ 80 ผูสอนและเจาหนาที่สามารถดําเนินการจัดการหองเรียนขนาด ใหญ ไดอยางมปี ระสิทธิภาพ Google Classroom ไดรบั การออกแบบมาเพ่ือชวยใหครสู ามารถสรางและเก็บงานไดโดยไมตอง ส้ินเปลืองกระดาษ มีคุณลักษณะท่ีชวยประหยดั เวลา เชน สามารถทาํ สําเนาของ Google เอกสารสาํ หรบั นกั ศกึ ษาแตละคนไดโดยอตั โนมัติโดยระบบจะสรางโฟลเดอรของไดรฟสาํ หรับแตละงานและนักศกึ ษาแตละคน เพอ่ื ชวยจดั ระเบียบใหทกุ คนนกั ศกึ ษาสามารถติดตามวามีอะไรครบกําหนดบางในหนางาน และเรม่ิ ทํางานได ดวยการคลกิ เพยี งครัง้ เดยี ว อาจารยสามารถดไู ดอยางรวดเร็ววาใครทํางานเสรจ็ หรอื ไมเสรจ็ บางตลอดจน สามารถแสดงความคิดเห็นและใหคะแนนถึงแมบริการจะอํานวยสะดวกและมีขอดีหลายประการ การเรียนใน ชั้นเรียนยังเปนสิ่งจําเปนทจี่ ะตองมีครคู วบคูกนั ไป เพราะเทคโนโลยีไมสามารถทดแทนครูผสู อนไดทงั้ หมด โดยเฉพาะเร่ืองของคุณธรรมและจริยธรรม 9. ขอเสนอแนะ 1. การเรียนรูผาน Google Classroom ตองใชโทรศัพทหรือคอมพิวเตอร ยงั มีนักเรยี นบางคนที่ไมมี ส่งิ เหลาน้ีครูผูสอนตองเตรยี มแท็บเล็ตไวใหนักเรยี น 2. ถาเปดในโทรศัพทบางคร้ังมขี อมูลบางสวนหายไปและมองเห็นไมครบครูตองเตรยี มวางแผนและ ตรวจสอบทุกครัง้ ในการสั่งงานหรอื แนบเอกสาร 10. ภาคผนวก สามารถเขาไปดูไดที https://classroom.google.com/c/MzQyODM0Mjg5MjA4?cjc=jydgqfg
1 2564 2
classcraft 54 1 2564
2 classcraft .... .... .... .... .... ( ผั
3 class craft 54 :1 : 2564 class craft class craft 54 class craft 5 class craft 60 ) 43 2564 class craft 5 4 class craft
: 5/4 4 classcraft : 35 1. 5 - Apps for Education 3 classcraft 54 Role-playing game: RPG) RPG
5 54 class craft 54 43 master Classcraft gamification Classcraft Game Google classroom
6 2 Motivation) Domjan 1996: 199) drive ) Needs ) needs stage ) stress ) Motivation ) drive stage ) 3. behavior stage )
7 4. drive reduction stage ) B.F. Skinner) ---> CR) ---> UCS) ---> UCR) 2 S1) ---> (R1) ---> S2 ---> R2 CS) CR) UCS) UCR) Strang , 2007 2550 : 9 ) 1. 2. 3. ,
8
9 1 2564 2. 6. 7.
10 Analysis) Design) 2.1 2.2 2.3 - 5.2.1 X x 100 N X= N=
11 1. 2. 5/4 43 1/2564 , 1 1 2 3 4 5 6 7 8 google meet 9 10
12 1) google meet 2 1 2 3 4 5 6 7 8 google meet 9 10
62.06 13 79.42 41.89 google meet 46.55 classcraft classcraft Google Classroom 1. classcraft.com I'm a teacher 2. google account Google classroom Google Classroom 3. create a class 4. 5. 6. remote learning Don't see your school? Add it 7.
14 8. google classroom Review behavior Reviw powers 9. review behaviors XP 10. HP 11. student code game.classcraft.com/student. classcraft Google google classroom playstore App Store 12. Play
15 classcraft 4 43 3 1 2 3 4 5 6 7 8 google meet 9 10 google meet
16 4 7.30 37.21 53.49 13.95 46.51 39.54 1 75.14 25.22 4.64 2 0.00 4.65 95.35 3 0.00 11.63 88.37 4 90.69 9.31 0.00 5 93.03 6.97 0.00 6 90.70 9.30 9.30 7 8 google meet 76.74 23.26 0.00 79.06 20.94 0.00 9 10
17 7 75.14 google meet
18 class craft 4
19 2564 1 2 2 1 1 2 76.74 13.96 9.30 80.74 11.96 7.30 3 69.77 25.58 4.65 67.77 25.58 4.65 4 72.09 18.60 9.31 62.06 28.63 9.31 5 58.14 25.58 16.28 58.12 25.56 16.28 6 74.42 25.58 9.30 79.42 20.56 9.28 7 41.86 44.19 13.95 41.89 43.19 14.92 8 46.51 46.51 6.98 40.51 46.51 12.98 google 44.19 51.16 4.65 44.19 51.16 4.65 meet 25.58 46.51 27.91 30.58 41.51 27.91 9 41.89 46.57 11.54 39.89 39.89 14.56 10
20 2564 3 4 1 2 1 10.30 36.21 20.93 7.30 79.06 53.49 13.95 46.51 20.93 13.95 46.51 39.54 2 65.12 30.23 4.65 75.14 25.22 4.64 10.00 4.65 85.35 0.00 4.65 95.35 3 22.00 13.63 68.37 0.00 11.63 88.37 90.64 6.31 68.37 90.69 9.31 0.00 4 83.03 6.90 10.07 93.03 6.97 0.00 5 google 70.70 29.30 9.30 90.70 9.30 9.30 66.64 23.26 10.14 76.74 23.26 0.00 6 67.03 20.93 12.04 79.06 20.94 0.00 7 8 meet 9 10 34 , , google meet
21
22
: 2 1 23 1. . .. 54 2. 1 . 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 2
24 classcraft
25
26
27
28
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรอ่ื ง การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่อื ง อำนาจอธิปไตยของไทย ของนกั เรียน ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3/1 โรงเรียนบางกะป โดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟก (Infographic) ประกอบการจัดการเรยี นรผู านระบบออนไลน Google Meet ผวู จิ ยั นายณภทั ร จลุ ทศั น ตำแหนงครูอัตราจาง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบางกะป สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
บนั ทึกขอความ สวนราชการ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษาฯ กลุมบริหารวิชาการ โรงเรียนบางกะป ที่ สค ๘๙/๒๕๖๔ วันท่ี ๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ เร่ือง รายงานผลการทำวจิ ยั ในชน้ั เรียน เรียน ผอู ำนวยการโรงเรียนบางกะป ดวยขาพเจา นายณภัทร จุลทัศน ตำแหนง ครูอัตราจาง กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม โรงเรียนบางกะป ไดทำวิจัยในชั้นเรียน เร่ือง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง อำนาจ อธิปไตยของไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๓/๑ โรงเรียนบางกะป โดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟก (Infographic) ประกอบการจดั การเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet เพื่อแกปญหานักเรียนและพัฒนา คุณภาพการจัดการเรียนรู รายวิชา สังคมศึกษา ๕ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๔ ซงึ่ มรี ายละเอยี ดตามเอกสารแนบ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ ลงชอ่ื ....................................................... ลงชือ่ ....................................................... (นายอรินทร นวมถนอม) (นายณภทั ร จลุ ทศั น) ผรู ายงาน หวั หนางานวจิ ยั เพื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษา ยลงชื่อ....................................................... ความคิดเห็นของรองผอู ำนวยการฯ เพื่อโปรดทราบ (นายสมั ประสทิ ธิ์ สนิ เจรญิ ) อ่ืน ๆ.................................................................... หัวหนากลมุ สาระฯ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ความคิดเห็นของผูอำนวยการโรงเรียน ทราบ อนื่ ๆ.................................................................... ลงชอ่ื ....................................................... ลงชือ่ ....................................................... (นางสาวศริตยา ชนะภู) (นายประจกั ษ ประจมิ ทิศ) รองผอู ำนวยการกลุมบริหารวิชาการ ผอู ำนวยการโรงเรยี นบางกะป และงานประกันคุณภาพการศึกษา
บทคัดยอ ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง อำนาจอธิปไตยของไทย ของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปที่ 3/1 โรงเรียนบางกะป โดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟก (Infographic) ประกอบการจดั การเรยี นรผู านระบบออนไลน Google Meet ชื่อผูวจิ ัย นายณภทั ร จุลทัศน ตำแหนง ครูอัตราจาง กลมุ สาระการเรยี นรู สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม งานวิจยั นีม้ วี ตั ถปุ ระสงค 1) เพ่ือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เร่อื ง อำนาจอธปิ ไตยของไทย กอนและหลังการจัดการเรียนรูโดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟก ประกอบการจัดการเรียนรูผานระบบ ออนไลน Google Meet และ 2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู เรื่อง อำนาจ อธิปไตยของไทย กอนและหลังการจัดการเรียนรโู ดยการสรางสรรคงานอนิ โฟกราฟก ประกอบการจัดการเรียนรู ผานระบบออนไลน Google Meet กลุมเปาหมายท่ีใชในคร้ังน้ี คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3/1 โรงเรียน บางกะป ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 จำนวน 44 คน โดยใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย ไดแก 1) แผนการจัดการเรียนรู โดยการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet ซึ่งมีความเหมาะสมอยูในระดับมากท่ีสุด (X = 4.77, S.D = 0.30) 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เรื่อง อำนาจอธิปไตยของไทย มีคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอคำถามกับจุดประสงค (IOC) ซ่ึงมีคาระหวาง 0.67-1.00 และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนตอการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet มีคาดัชนีความเหมาะสมของขอคำถาม (IOC) ซึง่ มีคาระหวาง 0.67-1.00 สถติ ิที่ใชในการวเิ คราะหขอมูล ไดแก คาเฉลีย่ (X) และคาเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการศกึ ษาพบวา 1. ผลสัมฤทธ์ิการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/1 กอนและหลังการจัดการเรียนรู โดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟก ประกอบการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet พบวาหลัง การจดั การเรยี นรู มีคาเฉลี่ย (X = 18.42) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 3.94) สงู กวากอนการจดั การเรียนรู ซึ่งมีคาเฉลีย่ (X = 9.94) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 3.35) 2. ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรยี นท่ีมีตอการจัดการเรียนรู เร่ือง อำนาจอธปิ ไตยของไทย โดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟก ประกอบการจัดการเรียนรผู านระบบออนไลน Google Meet โดยภาพรวม อยใู นระดบั มากท่สี ดุ มคี าเฉลีย่ (X = 4.54) และคาเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.05) คำสำคัญ : ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน, การจัดการเรียนรูระบบออนไลน Google Meet, อินโฟกราฟก, อำนาจอธปิ ไตย
บทนำ ความสำคัญและทม่ี าของปญหา อำนาจอธิปไตยเปนอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศท่ีมีรูปแบบการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยแบงออกเปน 3 ฝาย ตามทฤษฎขี องมองเตสกิเออร (Montesqieu) คือ อำนาจบรหิ าร อำนาจนติ ิ บัญญัติ และอำนาจตุลาการ สอดคลองกับทฤษฎีของจอห ล็อก (John Locke) ท่ีวาประชาชนเปนเจาของ อำนาจอธิปไตย รวมถึงคำกลาวของอดีตประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา อับราฮัม ลินคอลน ที่กลาววา “ประชาธิปไตย เปนการปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพ่ือประชาชน” และตามบทบัญญัติ แหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 3 บัญญัติไววา อำนาจอธิปไตยเปนของ ปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยผูทรงเปนประมุขทรงใชอำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล องคกรอิสระ และหนวยงานของรัฐ ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และหลักนิติธรรม เพื่อประโยชนสวนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม (ราชกิจจา นเุ บกษา, 2560 : 3-4) การศึกษาอำนาจอธิปไตยของไทย จะกอใหเกิดความรูความเขาใจในบรบิ ทและวัฒนธรรม การปกครองครองของไทยตามกระบวนการวิถีทางแหงประชาธิปไตย ซึ่งสามารถนำความรูเหลาน้ัน มาประยุกตใชใหเปนประโยชนตอท้ังปจจุบันและอนาคต ในแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2560-2578 กลาววา การศึกษาเปนเคร่ืองมือสำคัญในการสรางคน สรางสังคม และสรางชาติ เปนกลไกหลักในการพัฒนากำลังคน ใหมคี ุณภาพ สามารถดำรงชีวติ ใหอยูรวมกับผอู นื่ ในสงั คมไดอยางเปนสขุ ในกระแสการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ ของโลกศตวรรษที่ 21 เนื่องจากการศึกษามีบทบาทสำคัญในการสรางความไดเปรียบของประเทศ เพ่ือการ แขงขันและยนื หยดั ในเวทีโลก การจัดการศกึ ษาในปจจบุ ันจึงตองมงุ เนนการจัดการเรยี นการสอน เพอื่ ใหผเู รียน มีทักษะจำเปนตามคำยอวา 3Rs+8Cs (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560 : 1-16) สอดคลองกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ที่กลาวถึงความมุงหมายของการจัดการศึกษา เชน มาตรา 6 การจัดการศึกษาตองเปนไปเพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข มาตรา 7 ในกระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงจิตสำนึกท่ีถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รูจักรักษาและสงเสริมสิทธิ หนาที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศกั ด์ศิ รคี วามเปนมนุษย มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย รูจักรกั ษาผลประโยชนสวนรวม และของประเทศชาติ รวมท้ังสงเสรมิ ศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมปิ ญญา ไทย และความรูอันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีความสามารถ ในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง มีความริเร่ิมสรางสรรค ใฝรูและเรียนรูดวยตนเองอยางต อเน่ือง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 3-4) และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุม สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ไดกำหนดสาระการเรียนรูตาง ๆ ท่ีจัดการเรียนการสอนไว ดังน้ี สาระศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม หนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิต เศรษฐศาสตร ประวัติศาสตร และภูมิศาสตร โดยกำหนดคุณภาพของผูเรียนเม่ือจบชวงชั้นท่ี 3 และชวงชั้นที่ 4 ไว เชน
2 ไดรับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะหเหตุการณในอนาคต สามารถนำมาใชเปนประโยชนในการดำเนินชีวิต และวางแผนการดำเนินงานไดอยางเหมาะสม ไดเรียนรูเร่ืองภูมิปญญาไทย ความภูมิใจในความเปนไทย ประวัติศาสตรของชาติไทย ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมขุ เปนผูมีความรูความสามารถในการจดั การเรียนรูของตนเอง ชี้นำตนเองได และสามารถแสวงหา ความรูจากแหลงการเรียนรูตาง ๆ ในสงั คมไดตลอดชีวติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551 : 4-5) จากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา หรือโควิด-19 (COVID-19) นับต้ังแต ปลายป 2562 และไดแพรกระจายไปทั่วโลกอยางรวดเร็วจนถึงปจจุบนั สงผลใหมีผูติดเช้ือท่ัวโลกมากกวา 200 ลานคน และเสียชีวิตมากกวา 5 ลานคน ซ่ึงประเทศไทยไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดในหลายระลอก รฐั บาลจึงไดประกาศสถานการณฉุกเฉินทั่วราชอาณาจักรตงั้ แตวันที่ 26 มีนาคม 2563 เพ่อื ควบคมุ สถานการณ การแพรระบาด ประกอบกับกรุงเทพมหานครเปนเขตพน้ื ท่ถี ูกจัดอยูในกลุมจังหวัดควบคมุ สูงสุดและเขมงวด (สี แดงเขม) ตามประกาศของศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) ท่ีไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาตามขอกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แหงพระราชกำหนดการบริหาร ราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 24) สาระสำคัญสวนหน่ึงไดกำหนดใหโรงเรียนหรือ สถาบันการศึกษาทุกประเภทงดใชอาคารเรียนหรือสถานที่เพ่ือการจัดการเรียนการสอน การสอบ การฝกอบรม หรือกิจกรรมใด ๆ ที่มีผูเขารวมกิจกรรมเปนจำนวนมาก และใหจัดการเรียนการสอนแบบทางไกลหรือดวย วิธกี ารทางระบบอิเล็กทรอนกิ ส (บบี ีซไี ทย,2564) สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย ระลอกใหม นับตั้งแตชวงเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคม 2564 กระทรวงศึกษาธิการ จึงไดประกาศ เร่อื ง การเลือ่ นเปดภาคเรียนที่ 1 ประจำปการศึกษา 2564 จากวนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2564 เปนวันท่ี 1 มถิ ุนายน 2564 โดยใหโรงเรียนหรือสถานศึกษาในสังกัดที่ต้ังอยูในพ้ืนที่ควบคุมสูงสุดและเขมงวด (สีแดงเขม) ใหจัด การเรียนการสอนเฉพาะรูปแบบการศึกษาทางไกล (On Air, Online, On Demand, On Hand) เทาน้ัน (กระทรวงศกึ ษาธิการ,2564) โรงเรียนบางกะป สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ซง่ึ มีท่ี ต้ังอยูในพ้ืนท่ีควบคุมสูงสุดและเขมงวด (สีแดงเขม) ไมสามารถเปดเรียนในรูปแบบปกติได จึงไดออกประกาศ โรงเรียนบางกะป เรื่อง การเปดภาคเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2564 ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ โดยเปดภาคเรียนในรูปแบบออนไลน จัดการเรียนการสอนทางไกลดวยระบบออนไลน (Online) เชน Google Classroom, Google Meet, Zoom, Line และรูปแบบการศกึ ษาดวยตนเองผานเอกสารประกอบการเรยี น (On Hand) ใหครูผูสอนปรับวธิ ีการสอนออนไลน ใหยืดหยุน ทาทาย รวมถึงบูรณาการชิ้นงานและลดภาระงานที่ไม จำเปน สงเสรมิ ใหผูเรยี นสามารถแสวงหาความรูเพม่ิ เตมิ ไดดวยตนเอง จากสภาพปญหาและเหตุผลดังกลาว ผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะทำการศึกษาวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง อำนาจอธิปไตยของไทย ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/1 โรงเรียนบางกะป โดยการ สรางสรรคงานอินโฟกราฟก (Infographic) ประกอบการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet วาจะสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไดหรือไม อยางไร เพ่ือจะนำผลการวิจัยไปพัฒนา ในการจัดการเรยี นการสอนตอไป
3 วตั ถปุ ระสงคของการวจิ ยั 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง อำนาจอธิปไตยของไทย กอนและหลังการจัดการ เรยี นรูโดยการสรางสรรคงานอนิ โฟกราฟก ประกอบการจัดการเรยี นรผู านระบบออนไลน Google Meet 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการจัดการเรียนรู เรื่อง อำนาจอธิปไตยของไทย กอนและหลังการจัดการเรียนรูโดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟก ประกอบการจัดการเรียนรูผานระบบ ออนไลน Google Meet สมมติฐานของการวิจัย นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/1 ท่ีสรางสรรคงานอินโฟกราฟก เรื่อง อำนาจอธิปไตยของไทย ประกอบการจดั การเรียนรผู านระบบออนไลน Google Meet มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูงขน้ึ รอยละ 60 ขน้ึ ไป ขอบเขตของการวิจัย 1. กลุมเปาหมาย กลุมเปาหมายท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/1 โรงเรียนบางกะป ท่ีกำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 จำนวน 44 คน โดยใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เน่ืองจากนักเรียนกลุมนี้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเร่ืองอำนาจอธิปไตยของไทยต่ำกวาเกณฑ โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธกิ์ อนเรยี น และแบบประเมินการมีสวนรวมในชั้นเรยี นเปนรายบคุ คล เนือ่ งจาก สถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทสี่ งผลตอการจัดการเรียนรู ซ่งึ ทำให นกั เรยี นไดรบั ความรูความเขาใจในเน้อื หาบทเรยี นท่ีตำ่ กวาเกณฑ 2. ตวั แปรทใ่ี ชในการวิจัย ตัวแปรตน คือ การสรางสรรคงานอินโฟกราฟกประกอบการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อำนาจอธิปไตยของไทยและความพึงพอใจ ของนกั เรยี นทีม่ ตี อการจดั การเรยี นรูผานระบบอนนไลน Google Meet 3. เนือ้ หาทใ่ี ชในการวจิ ัย เนอื้ หาท่ใี ชในการวิจยั ครัง้ นี้ คอื หนวยการเรยี นรูที่ 5 การเมอื งการปกครองของไทยในปจจุบัน เรื่อง อำนาจอธปิ ไตยของไทย สาระหนาที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสังคม ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
4 4. ระยะเวลาท่ีดำเนินการวจิ ยั ผูวิจัยดำเนินการวิจัยในการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet เรื่อง อำนาจ อธิปไตยของไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/1 โรงเรียนบางกะป ในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2564 ระหวางเดือนสิงหาคม-เดือนกันยายน พ.ศ.2564 จำนวน 16 คาบเรียน คาบเรียนละ 50 นาที เปนเวลา 8 สปั ดาห สัปดาหละ 2 คาบเรียน ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรบั 1. นักเรยี นมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เร่อื ง อำนาจอธิปไตยของไทยมากขึน้ 2. เปนแนวทางสำหรับครูผูสอนในการพัฒนาการจัดการเรียนรู เพ่ือแกปญหาและพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนผานระบบออนไลน Google Meet ในสถานการณการแพรระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ไดอยางมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล นิยามศพั ทเฉพาะ 1. Google Meet หมายถึง แพลตฟอรมหน่ึงในผลิตภัณฑของ Google โดยเปนแพลตฟอรม ประชุมออนไลน ทีใ่ ชสำหรับติดตอพูดคุยกันผานวิดีโอคอล เพื่อใชประชมุ ออนไลน ซ่ึงรองรบั ผูเขารวมไดสูงสุด 100 คน และใชงานไดนานถึง 60 นาทีตอคร้ัง สำหรับบัญชีผูใชงานท่ัวไป สวนผูใชงานระดับองคกร หรือ สถาบันการศึกษาตาง ๆ สามารถรองรับการรวมประชุมไดสูงสุดถึง 250 คน พรอมสามารถรองรับการ Live Stream ออนไลนไดถึง 100,000 คนดู รวมถึงสามารถใชงานไดไมจำกัดเวลาการใชงาน Google Meet มีอยู 2 วิธีดวยกัน คือ ใชผานเบราวเซอรบนคอมพิวเตอร และแอปพลิเคชันบนสมารทโฟน หรือแท็บเล็ต ซง่ึ สามารถแชรหนาจอ รปู ภาพ ไฟล เวบ็ ไซต ขอความโตตอบ และฟงกชันการทำงานอีกหลากหลาย 2. อินโฟกราฟก หมายถึง การนำขอมูลหรือความรูมาสรุปใหเปนสารสนเทศในลักษณะของขอมูล และกราฟกตาง ๆ เชน สัญลักษณ กราฟ แผนภูมิ ไดอะแกรม แผนท่ี เปนตน ท่ีออกแบบเปนภาพน่ิง หรือภาพเคลื่อนไหว เพ่ือใหเขาใจไดงายและรวดเร็วชัดเจน สามารถส่ือความหมายของขอมูลทั้งหมดไดโดย ไมจำเปนตองมีผนู ำเสนอมาขยายความเขาใจ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถของบุคคลในดานตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนหลังจาก ผานกระบวนการเรียนการสอน หรือการฝกฝนอบรมมาแลว ซึ่งทำใหนักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม และสามารถวัดไดโดยการแสดงออกมาท้ัง 3 ดาน คือ ดานพทุ ธพิ สิ ัย ดานจติ พสิ ยั และดานทักษะพิสัย 4. อำนาจอธิปไตย หมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐหรือประเทศ โดยมอี ิสระไมอยใู นอาณตั ิ ของผูใด แบงออกเปน 3 ฝาย คือ อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ และอำนาจตุลาการ ซึ่งในทางทฤษฎี ดานรัฐศาสตรการเมืองการปกครอง อำนาจอธิปไตย ยอมมีความแตกตางกันไปในแตละระบอบการปกครอง ของประเทศน้ัน ๆ เชน ในระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยจะเปนของประชาชน ในระบอบเผด็จการ อำนาจอธิปไตยจะเปนของคณะบุคคลที่ปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย อำนาจอธิปไตย เปนของพระมหากษตั ริยแตเพียงผูเดียวทใ่ี ชอำนาจดงั กลาว
5 วิธดี ำเนินการวจิ ัย 1. เคร่ืองมอื ที่ใชในการวจิ ยั การวิจยั คร้งั นผ้ี ูวจิ ยั ไดกำหนดเครอ่ื งมือทใี่ ชในการวจิ ยั โดยจำแนกรายละเอยี ด ดังนี้ 1) แผนการจัดการเรียนรู โดยการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet เร่อื ง อำนาจอธิปไตยของไทย จำนวน 1 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ เร่ือง อำนาจอธิปไตยของไทย แบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ขอ 3) แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรยี นตอการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet 2. การสรางเครื่องมือทีใ่ ชในการวจิ ัย ผูวิจัยไดดำเนินการสรางเคร่ืองมือและหาคุณภาพเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย โดยจำแนก รายละเอยี ด ดังน้ี 2.1 การสรางแผนการจัดการเรียนรู 1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการสรางแผนการจัดการเรียนรู จากเอกสารงานวิจัย ทเ่ี กย่ี วของ 2) ศึกษาวิเคราะหมาตรฐาน และตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน บางกะป และศึกษารายละเอียดเน้ือหาจากหนังสือเรียนรายวิชาหนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ในสังคม ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยนำเนื้อหา เรื่อง การเมือง การปกครองไทยในปจจุบนั ในสวนท่ีเกยี่ วของกบั อำนาจอธิปไตยของไทยมาจัดทำแผนการจดั การเรียนรู 3) จัดลำดบั เนือ้ หา และสวนประกอบของแผนการจัดการเรยี นรู 4) สรางแผนการจัดการเรียนรู โดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟกประกอบการจัด การเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet เรอ่ื ง อำนาจอธิปไตยของไทย 5) นำแผนการจดั การเรยี นรูไปใหผูเช่ยี วชาญตรวจสอบความถกู ตองและความครอบคลุม ของเนื้อหา จำนวน 3 ทาน โดยใชแบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรูแบบประเมินคา 5 ระดับ (Rating Scale) โดยมคี วามเหมาะสมอยใู นระดบั มากทส่ี ดุ (X = 4.77,S.D. = 0.30 ) 6) นำแผนการจัดการเรียนรูที่ทำการตรวจสอบแลวมาปรับปรุงแกไขใหมีความถูกตอง และเหมาะสมมากข้นึ ตามคำแนะนำของผเู ช่ยี วชาญ และนำไปใชในการจดั การเรียนการสอนตอไป 2.2 การสรางแบบทดสอบวดั ทักษะการคิดวเิ คราะห การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ เรื่อง อำนาจอธิปไตยของไทย เพ่ือใชวัดผล การเรียนรูของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/1 ซ่ึงผูวิจัยใชแบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก โดยมขี นั้ ตอนการสรางเครอ่ื งมอื ดงั นี้
6 1) ศึกษาทฤษฎีและหลักการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์จากเอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวของ 2) ศึกษาวิเคราะหเนื้อหาอำนาจอธิปไตยของไทยระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 จากหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 3) สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิใหครอบคลุมเน้ือหาและจุดประสงคการเรียนรู จำนวน 1 ฉบบั ซึ่งผวู จิ ยั ใชแบบทดสอบปรนัยชนดิ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ขอ 4) นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิไปใหผูเช่ียวชาญดานเน้ือหาจำนวน 3 ทาน เพื่อตรวจสอบความสอดคลองระหวางขอคำถามกับจุดประสงค (Index of Item-objective Congruence : IOC) จากนนั้ นำมาวเิ คราะหหาคาดชั นีความสอดคลองของคำถามกบั จุดประสงค โดยแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ มีคาดชั นีความสอดคลอง (IOC) อยรู ะหวาง 0.67-1.00 5) นำแบบทดสอบท่ีไดรับการตรวจสอบระหวางขอสอบกับจุดประสงค (IOC) จากผเู ชย่ี วชาญมาปรับปรงุ แกไขตามคำแนะนำของผเู ชย่ี วชาญ จัดพิมพ และนำไปใชในการจดั การเรยี นการสอน ตอไป 2.3 การสรางแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 1) ศึกษาเอกสารแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวของกับแบบประเมินความพึงพอใจ ของนักเรียน 2) สรางแบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี นตอการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet เรื่อง อำนาจอธิปไตยของไทย ของนักเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3/1 โดยแบงเปน 3 ดาน จำนวนขอคำถาม 14 ขอคำถาม 3) นำแบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรียนตอการจัดการเรยี นรูผานออนไลน Google Meet เร่ือง อำนาจอธิปไตยของไทย ของนักเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3/1 ไปใหผูเช่ียวชาญ ดานเนื้อหา จำนวน 3 ทาน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของขอคำถาม (Index of Item-objective Congruence : IOC) จากนั้นนำมาวิเคราะหหาคาดัชนีความเหมาะสมของขอคำถาม โดยแบบประเมินความพึงพอใจมีคาคุณภาพ อยูในระดบั เหมาะสมมากทีส่ ุด ซ่งึ มีคา (IOC) ระหวาง 0.67-1.0 4) นำแบบประเมินความพึงพอใจท่ีไดรับการตรวจสอบความเหมาะสมของขอคำถาม (IOC) จากผูเชี่ยวชาญมาปรับปรุงแกไขตามคำแนะนำของผูเช่ียวชาญ จัดพิมพแบบประเมินความพึงพอใจ และนำไปใชตอไป 3. วิธีการเกบ็ รวบรวมขอมลู ผวู จิ ยั ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอมูลตามลำดับ ดงั นี้ 1) ผูวิจัยทำการทดสอบกอนเรียนกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/1 ดวยแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธ์ิ เร่ือง อำนาจอธิปไตยของไทย จำนวน 40 ขอ แลวบันทึกผลการสอบไวเปนคะแนนกอนเรียน สำหรับการวเิ คราะหขอมูล
7 2) ดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูแบบออนไลน ท้ังหมด 10 สัปดาห แบงเปน สัปดาหละ 2 คาบ คาบละ 50 นาที 3) เก็บรวบรวมขอมูลหลังการจัดการเรียนรูโดยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ จำนวน 40 ขอ ซง่ึ เปนแบบทดสอบชดุ เดียวกนั ที่ใชทดสอบกอนเรียน 4) เก็บรวบรวมขอมูลความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอแผนการจัดการเรียนรูผานระบบ ออนไลน เรอื่ ง อำนาจอธปิ ไตยของไทย จำนวน 10 ขอคำถาม ในสปั ดาหที่ 8 ซ่ึงเปนแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ท่ีผวู ิจัยสรางข้ึน 5) เม่ือเก็บรวบรวมขอมูลดวยแบบทดสอบและแบบประเมินความพึงพอใจเรียบรอย ผวู จิ ัยก็นำขอมูลทไ่ี ดไปวเิ คราะหดวยวิธกี ารทางสถิติและสรปุ ผลตอไป 4. การวิเคราะหขอมลู ผูวิจัยทำการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติบรรยาย วิเคราะหหาคาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง อำนาจอธิปไตยของไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3/1 โรงเรียนบางกะป โดยการจัดการเรียนรู ผานระบบออนไลน Google Meet และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉล่ีย (X) และคาเบ่ียงเบน มาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัย การศึกษาครงั้ น้ีผวู จิ ยั นำเสนอผลการวิเคราะหขอมลู ตามวัตถุประสงคการวจิ ยั ดังนี้ ตารางท่ี 1 คาเฉลีย่ และสวนเบย่ี งเบนมาตรฐานคะแนนผลสมั ฤทธิ์การเรียนของนกั เรียน โดยการสรางสรรคงาน อินโฟกราฟกประกอบการจัดการเรยี นรูผานระบบออนไลน Google Meet โดยภาพรวม n = 44 การทดสอบ X S.D. แปลความหมาย กอนเรียน 9.94 3.35 ต่ำกวาเกณฑรอยละ 60 หลังเรยี น 18.42 3.94 เกินเกณฑรอยละ 60 จากตารางท่ี 1 พบวา นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิการเรียน เรื่อง อำนาจอธิปไตยของไทย หลังการสรางสรรคงานอินโฟกราฟกประกอบการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet หลังเรียน มีคาเฉลี่ย (X) เทากับ 18.42 (S.D. = 3.94) สูงกวาคะแนนกอนเรียน ซึ่งมีคาเฉลี่ย (X) เทากับ 9.94 (S.D. = 3.35)
8 ตารางท่ี 2 คาเฉล่ียและสวนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรยี นท่มี ตี อการสรางสรรคงาน อินโฟกราฟกประกอบการจัดการเรยี นรูผานระบบออนไลน Google Meet n = 44 ขอ รายการประเมิน X S.D. การแปล ความหมาย 1. กจิ กรรมการเรยี นรูโดยการสรางสรรคงานอนิ โฟ 4.77 0.52 มากทส่ี ดุ กราฟกประกอบการเรยี นรูผานระบบออนไลน Google Meet ชวยใหนกั เรียนมีความรูมากขน้ึ 2. กิจกรรมการเรียนรูโดยการสรางสรรคงานอินโฟ 4.65 0.64 มากท่สี ุด กราฟกประกอบการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet ชวยสงเสริมทกั ษะการคิดวิเคราะห ของนักเรียน 3. กจิ กรรมการเรียนรูโดยการสรางสรรคงานอินโฟ 4.38 0.64 มาก กราฟกประกอบการเรยี นรูผานระบบออนไลน Google Meet ชวยใหนกั เรยี นมีทักษะการ คนหาคำตอบอยางเปนกระบวนการ 4. กิจกรรมการเรยี นรูโดยการสรางสรรคงานอินโฟ 4.52 0.65 มากทีส่ ดุ กราฟกประกอบการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meetชวยสงเสริมทักษะการเรยี นรดู วย ตนเอง 5. กระบวนการจัดการเรียนรูโดยการสรางสรรค 4.31 0.69 มาก งานอนิ โฟกราฟกประกอบการเรียนรูผานระบบ ออนไลน Google Meet กระตุนใหนักเรยี นมี สวนรวมในการพูดอภิปรายตอบคำถาม 6. กิจกรรมการเรยี นรูโดยการสรางสรรคงานอินโฟ 4.58 0.65 มากทีส่ ดุ กราฟกประกอบการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet ชวยสงเสรมิ ใหนกั เรียนมีสวน รวมในกิจกรรมการเรยี นรู 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสรางสรรคงาน 4.60 0.61 มากทส่ี ดุ อนิ โฟกราฟกประกอบการเรยี นรูผานระบบ ออนไลน Google Meet สรางสัมพันธภาพ ระหวางครูกับนักเรยี น และระหวางนกั เรียนกับ นักเรียน
9 ตารางท่ี 2 n = 44 ขอ รายการประเมนิ X S.D. การแปล ความหมาย 8. กิจกรรมการเรียนรูโดยการสรางสรรคงานอนิ โฟ 4.52 กราฟกประกอบการเรยี นรูผานระบบออนไลน 4.46 0.68 มากทส่ี ุด Google Meet สรางบรรยากาศแหงการเรียนรู 4.52 4.46 0.62 มาก 9. กิจกรรมการเรยี นรูโดยการสรางสรรคงานอนิ โฟ 4.56 กราฟกประกอบการเรยี นรูผานระบบออนไลน 4.50 0.68 มากท่ีสุด Google Meet กระตนุ ใหนักเรยี นอยากมสี วน 4.58 รวมในการแสวงหาความรู 0.68 มาก 10. การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสรางสรรคงาน 0.68 มากทส่ี ดุ อนิ โฟกราฟกประกอบการเรียนรูผานระบบ ออนไลน Google Meet สรางบรรยากาศการ 0.68 มากที่สุด เรยี นรูระหวางเพื่อนภายในกลุม 0.71 มากที่สุด 11. กิจกรรมการเรยี นรูโดยการสรางสรรคงานอนิ โฟ กราฟกประกอบการเรยี นรูผานระบบออนไลน Google Meet เกดิ ประโยชนตอนกั เรียนในการ นำไปประยุกตใช 12. กระบวนการจดั การเรยี นรูโดยการสรางสรรค งานอินโฟกราฟกประกอบการเรียนรูผานระบบ ออนไลน Google Meet ทำใหนักเรียนไดเรียนรู วธิ ีการแสวงหาความรู และคนหาคำตอบ 13. การจดั การเรียนรูโดยการสรางสรรคงานอินโฟ กราฟกประกอบการเรยี นรูผานระบบออนไลน Google Meet ทำใหนักเรยี นไดเรียนรูวธิ กี าร วเิ คราะหและตรวจสอบขอมูล 14. กิจกรรมการเรียนรูโดยการสรางสรรคงานอินโฟ กราฟกประกอบการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meetทำใหนักเรียนไดแลกเปล่ียน ความรกู ันระหวางเพ่ือนและครู
10 จากตารางที่ 2 พบวาผูที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู เร่ือง อำนาจอธปิ ไตย ของไทย โดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟกประกอบการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet มคี วาม พงึ พอใจโดยรวมอยใู นระดบั มากท่สี ุด (X = 4.53, S.D. = 0.05) เมอ่ื พจิ ารณาเปนรายขอ พบวา ขอท่มี ี ความพึงพอใจสูงท่ีสุด คือ ขอ 1 กิจกรรมการเรียนรูโดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟกประกอบการจัดการ เรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet ชวยใหนักเรียนมีความรูมากข้ึน (X = 4.77, S.D. = 0.52) ขอท่ีมี ความพึงพอใจต่ำที่สุด คือ ขอ 5 กระบวนการจัดการเรียนรูโดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟกประกอบการ จัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet กระตุนใหนักเรียนมีสวนรวมในการพูดอภิปรายตอบคำถาม (X = 4.31,S.D. = 0.69) สรุปผลและอภปิ รายผล จากการวิเคราะหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง อำนาจอธิปไตยของไทย ของนักเรียนนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3/1 โดยการสรางสรรคงานอนิ โฟกราฟกประกอบการจดั การเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet ผวู ิจยั ขออภปิ รายผลตามวัตถปุ ระสงคการวิจัย ดังน้ี 1. ผลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์กิ ารเรียนของนักเรียน เรอื่ ง อำนาจอธิปไตยของไทย กอนและหลัง การจัดการเรียนรู โดยการสรางสรรคงานอินโฟกราฟกประกอบการจัดการเรียนรูผานระบบออนไลน Google Meet พบวาผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/1 หลังการจัดการเรียนรูมีคาเฉลี่ย (X = 18.42, S.D. = 3.94) สูงกวากอนการจัดการเรียนรู ซึ่งมีคาเฉล่ีย (X = 9.94, S.D. = 3.35) ซึ่งกลาวไดวา การจั ดการเรียนรู โดยการสรางสรรค งานอินโฟกราฟ กประกอบการจัดการเรียนรู ผ านระบบออนไลน Google Meet ทำใหนักเรยี นมีความรแู ละผลสัมฤทธ์ิในเรื่องอำนาจอธิปไตยของไทยสูงข้ึน ทัง้ นอี้ าจเน่อื งมาจาก การจัดการเรียนรูผานระบบออนไลนมีประสิทธิภาพ โดยเนนกระบวนการแสวงหาความรูดวยตนเอง มีข้ันตอน การสืบคนขอมูลที่ครูผูสอนไดกำหนดปญหาไวอยางเปนระบบ ใหผูเรียนมีอิสระทางความคิดในการวิเคราะห สืบเสาะหาความรูจนเกิดความเขาใจ ประกอบกับการจัดการเรียนรูท่ีเนนการอภิปรายคำถามใหเกิดการคิด วิเคราะห และใหนักเรียนไดมีสวนรวมในระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนรู เปนคำถามที่กระตุนใหมีการ แสวงหาคำตอบในหลายทิศทาง ซึ่งครูผูสอนนำเน้ือหาอำนาจอธิปไตยของไทยที่สำคัญเขามาจัดการเรียน การสอน มีภาพประกอบเพื่อใหเกิดความเขาใจมากย่ิงขึ้น นอกจากน้ีในระหวางท่ีครูจัดกิจกรรมการเรียนรู ครูไดตั้งประเด็นคำถามลักษณะปลายเปดเชิงวิเคราะหใหนักเรียนไดตอบถามโตตอบกับครูผูสอน และได เปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถามในประเด็นท่ีเกิดขอสงสัยหรือไมเขาใจ โดยครูผูสอนไมไดเนนเน้ือหา ที่เปนความจำ แตใหฝกการคิดวิเคราะหดวยคำถามท่ีครูตั้งประเด็นปญหาข้ึน สอดคลองกับทฤษฎีพัฒนาการ ทางสติปญญาของเพียเจท พรรณี ช. เจนจติ , 2528 (อางถึงใน สมชาย รัตนทองคำ, 2556 : 22-23) โดยเพียเจท กลาววา โดยธรรมชาติแลวมนุษยมีแนวโนมพ้ืนฐานท่ีติดตัวมาแตกำเนิด 2 ลักษณะ คือ การจัดระบบภายใน (organization) เปนการจัดการภายในโดยวิธีรวมกระบวนการตาง ๆ เขาดวยกันอยางเปนระบบ อยางตอเน่ืองกันเปนเร่ืองเปนราว และการปรบั ตัวเขากับสภาพแวดลอม (adaptation) เปนการปรับตัวเขากับ ส่ิงแวดลอมเปนแนวโนมที่มีแตกำเนิด การที่มนุษยมีการปรับตัว เนื่องจากการท่ีมีปฏิสัมพันธกับส่ิงแวดลอม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221