Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged (10)

ilovepdf_merged (10)

Published by nka.inarm, 2021-11-13 12:58:50

Description: ilovepdf_merged (10)

Search

Read the Text Version

รายงานผลการวิจยั ในชน้ั เรียน ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรียนบางกะปิ สงั กดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 2 สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

.... ฐ.... .... ย ( .... ....

Google Classroom Google Classroom / () Google Classroom / Google Classroom Google Classroom Google Classroom / Google Classroom / Google Classroom / Google classroom Google classroom Google Classroom

Google classroom Classcraft / / Google Meet (Infographic)



วจิ ยั ในชน้ั เรียน เรอื่ ง การพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน โดยใชระบบหองเรียน ออนไลน Google Classroom ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/9 โรงเรียนบางกะป เรอ่ื งส่ิงแวดลอมทางกายภาพกบั ประชากรและการต้งั ถิ่นฐาน ผูวิจัย นายสมั ประสทิ ธิ์ สนิ เจริญ ตำแหนง ครูชำนาญการ กลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบางกะป สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

บนั ทึกขอความ สวนราชการ กลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษาฯ กลุมบรหิ ารงานวิชาการ โรงเรยี นบางกะป โทร ๑๐๓ ท่ี สค ๗๖/๒๕๖๔ วนั ที่ ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ เร่อื ง รายงานผลการทำวจิ ยั ในชนั้ เรียน เรียน ผอู ำนวยการโรงเรียนบางกะป ดวยขาพเจา นายสัมประสิทธิ์ สินเจริญ ตำแหนง ครูชำนาญการ กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนบางกะป ไดทำวิจัยในช้ันเรียนเร่ือง การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบ ออนไลน โดยใชระบบหองเรียนออนไลน Google Classroom ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๙ โรงเรียนบางกะป เรื่อง ส่ิงแวดลอมทางกายภาพกับประชากรและการต้ังถ่ินฐาน เพ่ือแกปญหานักเรียนและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน ๓ รหัสวิชา ส ๓๒๑๐๑ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ซึ่งมีรายละเอียดตามเอกสารแนบ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ ลงช่ือ....................................................... ย (นายอรินทร นวมถนอม) ลงชอื่ ....................................................... หวั หนางานวจิ ยั เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (นายสมั ประสิทธ์ิ สนิ เจริญ) ผรู ายงาน ย ลงชื่อ....................................................... (นายสัมประสทิ ธิ์ สนิ เจริญ) หัวหนากลุมสาระการเรยี นรูสังคมศกึ ษา ฯ ความคดิ เหน็ ของรองผูอำนวยการฯ ความคดิ เหน็ ของผูอำนวยการโรงเรียน เพ่อื โปรดทราบ ทราบ อื่นๆ .................................................................... อ่นื ๆ ...................................................................... ลงช่อื ....................................................... ลงชอ่ื ....................................................... (นางสาวศรติ ยา ชนะภู) (นายประจกั ษ ประจิมทิศ) รองผอู ำนวยการกลมุ บรหิ ารวชิ าการ ผูอำนวยการโรงเรยี นบางกะป และงานประกนั คุณภาพการศึกษา

1 ชือ่ ผลงาน : การพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน โดยใชระบบหองเรียนออนไลน Google Classroom ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 5/9 โรงเรยี นบางกะป เรื่องสง่ิ แวดลอมทางกายภาพกบั ประชากร และการตั้งถนิ่ ฐาน ผจู ัดทาํ : นายสัมประสิทธิ์ สินเจริญ หนวยงาน : โรงเรยี นบางกะป ปการศกึ ษา : 2564 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบออนไลน โดยใชระบบ หองเรียนออนไลน Google Classroom 2) เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอการจัดการเรียนการ สอนแบบออนไลน 3) เพ่ือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของผเู รยี นท่ีเรียนจากการจดั การเรียนการสอน แบบออนไลน โดยใชระบบหองเรียนออนไลน Google Classroom โดยกลุมตัวอยางในคร้ังนี้คือ นักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 5/9 โรงเรียนบางกะป จํานวน 44 คน และเครื่องมือท่ีใชในการวจิ ัยครั้งน้คี ือ การจัดการเรยี น การสอนแบบออนไลน โดยใชระบบหองเรียนออนไลน Google Classroom รายวิชา สิ่งแวดลอมทางกายภาพ กับประชากรและการตั้งถ่ินฐานแบบทดสอบเพ่ือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และ แบบประเมินความพึงพอใจ ของผูเรียนที่มีตอ การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบออนไลน และผลการวิจัยใน คร้ังน้ีพบวา ผลการหา ประสิทธภิ าพของสอื่ ท่ีพฒั นาจากแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู บบออนไลนมีคา ความเชอ่ื มน่ั เทากับ .90 ซง่ึ อยใู นเกณฑที่มีความเชอื่ มั่นสูง และจากการวเิ คราะหผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผูเรียน ระหวางเรียนและหลัง เรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และผูเรียนมีความพึงพอใจตอการจัด กิจกรรมการ เรยี นรูแบบออนไลนในระดับมากที่สดุ เพราะผเู รียนสามารถศึกษาบทเรียนไดดวยตนเองในชวงเวลาที่ตองการ

2 บทที่ 1 บทนาํ ความเปนมาและความสาํ คญั ของปญหา ปจจุบันการจัดการศึกษาของประเทศไทยมี แนวโนมการพัฒนาท่ีดีขึ้น มีหลากหลายรูปแบบซ่ึงเกิด จากความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีการสื่อสารท่ี เจริญเติบโตอยางรวดเร็ว เปนการส่ือสารที่ไรพรมแดน ซึ่ง เราทุกคนสามารถติดตอ พดู คุย สืบคนขอมลู ขาวสารผาน ชองทางตาง ๆ เชน เวบ็ ไชตยทู ูป อีเมล หรือผานการ ส่ือสารแบบสงั คมออนไลนทีท่ ุกคนเรียกวา \"social\"' เชน เฟซบกุ ไลนตางๆ ท้งั น้ีในกระบวนการจัดการศึกษาก็ เชนเดียวกัน ไดมีการนําคอมพิวเตอรเขามาชวยในการจัดการเรียนการสอน โดยมหาวิทยาลัยตางๆ ไดนําเอา ระบบคอมพิวเตอรมาชวยในดานการบริหารงานใน โรงเรียน การพัฒนาสื่อการสอนเพ่ือนํามาใชในการเรียน การสอนในหองเรียน การใชหองเรียนออนไลน ซ่ึงใน ปจจุบันมีหลากหลายชองทางสําหรับการจัดการเรียนรู แบบออนไลน เชนGoogle Classroom ระบบหองเรียนออนไลน ที่ใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศทาง ออนไลน เพื่อการเรียนการสอนในระดับประเทศของไทย มีคุณสมบัติเปนระบบชั้นเรียนออนไลน (LMS - Learning Management System) ท่ีไดรับการพัฒนาขึนเพื่อรองรับรูปแบบจัดการการเรียนการสอนแบบ หองเรียนกลับทาง (Flipped Classroom) และมุงสงเสริมกระบวนการเรียนรู ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูสอน สามารถออกแบบการเรียนการสอน ท่ีมีความยดื หยุนเพอ่ื ตอบสนองตอความตองการของผูเรียนไดอยางสะดวก ซึ่งไดรับผลตอบรับอยางดีจาก ผูเรียน แตอยางไรก็ตาม ระบบการศึกษาของไทยก็ ยังคงมีจุดออนในดานการ จดั การเรยี นรู ซ่งึ ในการพัฒนา ระบบการศกึ ษาน้นั รัฐบาลหรือผบู รหิ ารสถานศกึ ษา จาํ เปนทจ่ี ะตองมุงสงเสริม ใหผูเรียนมีความพรอมในดานความรู และทักษะตางๆท่ีจ าเปนในการดํารงชีวิต เชน ทักษะการจัดการเรียนรู ในศตวรรษท่ี 21 เชน ทกั ษะ ดานภาษา ทกั ษะการใชเทคโนโลยนี วตั กรรม และทกั ษะ ชวี ติ ซง่ึ จําเปนจะตองให ผูเรียนสามารถนํามาประยุกตใช ในการดําเนินชีวิตได รวมถึงกระตุนใหผูเรียนไดแสดงออก ซ่ึงความคิด สรางสรรคในการเรียนรูเพ่ือใหเปนมนุษยที่ สมบูรณ ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ และสังคม ซ่ึงในการปรับกระบวนการเรียนการสอนให เอื้อตอการพัฒนาขีดความสามารถของผูเรียนไดแสดง ศักยภาพ ของตนตามจดุ ประสงคการเรียนรูแตละระดับ โดยยดึ หลกั วาผเู รยี นมคี วามสาํ คญั ทส่ี ุด เทคโนโลยี คอมพิวเตอร ไดมีบทบาทโดยตรงกับการจัดการศึกษาใน ปจจุบนั โดยสามารถแสดงขอมูลขาวสารไดทั้งในรูปแบบของ เสียง ขอมูล ภาพ ภาพเคล่ือนไหว และวิดีโอ ทําให การเรียนรูในยุคใหมประสบความสําเร็จอยางรวดเร็ว (ยืน และ สมชาย, 2546) และการจัดการเรยี นรใู น ปจจุบัน นอกจากครจู ะเปนผบู รรยายในช้ันเรียนแลว ก็ มกี ิจกรรมอีก หลากหลายรูปแบบที่ไดนํามาจัดการเรียนรู ใหสอดคลองกับทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง เนนให ผูเรียนเปนสําคัญ โดยใหผูเรียนเปนผูทํากิจกรรม และครูเปนเพียงท่ีปรึกษา เชน การจัดการเรียนการสอน ออนไลน โดยใชระบบหองเรยี นออนไลน Google Classroom กเ็ ปนอกี หน่งึ แนวทางของการ จัดการเรยี นการ สอนแบบใหม โดยใหผเู รียน \"เรยี นที่ บาน ทําการบานทโ่ี รงเรยี น\" ซ่งึ เปนการนําส่ิงเดิมทเ่ี คย ทาํ ในชัน้ เรียน

3 ไปทําที่บาน และนําสิ่งท่ีไดรับมอบหมาย ใหทําท่ีบานมาทําท่ีหองเรียนหรือโรงเรียนแทน โดยไม เนนใหครูอยู ในช้นั เรยี นเพื่อสอนเน้ือหาตางๆ เพราะผูเรยี นสามารถศกึ ษาเนือ้ หานน้ั ๆ ดวยตนเอง

4 วตั ถุประสงคของการวิจยั 1. เพ่อื พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบออนไลน โดยใชระบบหองเรยี นออนไลน Google Classroom 2. เพื่อประเมินความพงึ พอใจของผเู รียนท่ีมตี อ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูแบบออนไลน 3. เพอ่ื เปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู รยี นท่เี รียนจากการจัดการเรยี นการสอน แบบออนไลน โดยใชระบบหองเรียนออนไลน Google Classroom ขอบเขตของการวิจยั ขน้ั ที่ 1 ผูสอนสรางหองเรียนออนไลนโดยใช ระบบหองเรยี นออนไลน Google Classroom และ ใหนักเรียนผูเรียนลงทะเบียนเขามาเรียนได ข้ันท่ี 2 ผูสอนพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู แบบออนไลน เร่ืองส่ิงแวดลอมทางกายภาพกับ ประชากรและการต้ังถ่ินฐาน เชน การทําแนบไฟล ใบความรู ทําขอสอบ ทําใบงาน เปนตน แสดงไวใน หองเรียนออนไลน ซ่ึงนกั เรยี นสามารถมาศกึ ษาขอมลู ไดดวยตนเองได ขัน้ ท่ี 3 เมื่อผูเรียนไดเขามาศึกษาเนื้อหาและ แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรแู บบออนไลนแลวผูสอน จะใหนกั เรียนทาํ แบบทดสอบ และใบงานออนไลน เพื่อเกบ็ คะแนนนักเรยี นในแตละหนวยยอยพรอมท้ังบอก คะแนนทนั ที ขน้ั ที่ 4 หากนักเรียนทาํ แบบทดสอบไมผาน นกั เรยี นสามารถทบทวนบทเรยี นได ตัวแปร 1. ตัวแปรทใี่ ชในการวิจัยครั้งน้ี ประกอบดวย 1.1 ตัวแปรตน ระบบหองเรียนออนไลน Google Classroom เร่ือง เรื่องส่ิงแวดลอมทางกายภาพกับประชากรและ การต้ังถ่นิ ฐาน 2.2 ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ผูเรียนท่ีเรียนดวยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนดีข้ึน และมี ความพงึ พอใจตอการเรยี นการสอนแบบออนไลน คาํ จํากัดความทใ่ี ชในการวจิ ัย Google Classroom คอื หนึง่ ใน Google Apps ท่ีรวบรวมบรกิ ารที่สาํ คญั ตางๆ เขาดวยกนั เพ่ือสนบั สนุนธรุ กจิ โรงเรียน และสถาบันตางๆ ใหใชผลิตภัณฑของ Google ไดอยางหลากหลาย Google Classroom ถูกออกแบบมาเพ่ือชวยใหครสู รางและลดกระดาษในการจัดเก็บรวมทั้ง คณุ สมบตั ทิ ีช่ วยประหยัดเวลา เชน ความสามารถในการสําเนาเอกสาร Google ใหกับนักเรยี นแตละคน นอกจากนยี้ ังสรางโฟลเดอรสาํ หรบั แตละบคุ คลที่ไดรบั มอบหมาย นกั เรียนสามารถตดิ ตามงาน ท่ีไดจากการ

5 กาํ หนดบนหนาและเริ่มตนการทํางาน ดวยเพียงไมก่ีคลกิ ครูสามารถติดตามการทาํ งานวาใครยังไมเสรจ็ ใหตรง ตามเวลา ยงั สามารถแสดงความคิดเห็นแบบเรียลไทม และผลการเรยี นในชนั้ เรยี น บทเรยี นออนไลน คือ บทเรยี นที่ใชคอมพิวเตอรในการนาํ เสนอเนื้อหาในรูปแบบบทเรยี น ออนไลนท่ีใชนําเสนอขอมูลประเภทตาง ๆ เชน ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว ตัวอักษรและเสียงในลักษณะของสื่อ หลายมิติ โดยผใู ชมกี ารโตตอบกับสื่อโดยตรง ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรบั 1. การจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน ดานชวยใหผเู รียนพัฒนาส่อื การเรยี นรูทมี่ ี ประสิทธิภาพ ย่ิงขึ้น 2. การจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน ทาํ ใหผูเรียนสามารถใชเวลาในการเรยี นรไู ดไม จาํ กดั

6 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวของ ในการวจิ ยั ในคร้ังนี้ ผวู ิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวของ ซึ่งจะไดนาํ เสนอตาม หวั ขอตอไปน้ี 1. Google Classroom 2. ความหมายของบทเรียนออนไลน 3. แนวคดิ ทฤษฎีที่เกย่ี วของกับการจดั การเรยี นการสอนในศตวรรษที่ 21eLearning หรอื ขอมูลของนกั ศึกษาในการโฆษณา และใหบรกิ ารฟรสี าํ หรับมหาวิทยาลัยฯ Google Classroom คืออะไร Classroom เปดใหบรกิ ารสาหรบั ทกุ คนที่ใช Google Apps for Education ซง่ึ เปนชดุ เคร่อื งมือ เพือ่ ประสิทธภิ าพการทางานทีใ่ หบริการฟรี ประกอบดวย Gmail, เอกสาร และไดรฟ Classroom ไดรบั การออกแบบมาเพื่อชวยใหอาจารยสามารถสรางและเก็บงานไดโดยไมตอส้นิ เปลอื ง กระดาษ มีคุณลักษณะทช่ี วยประหยดั เวลา เชน สามารถทําสาํ เนาของ Google เอกสารสาหรบั นกั ศึกษาแตละ คนไดโดยอัตโนมตั ิ โดยระบบจะสรางโฟลเดอรของไดรฟสาํ หรับแตละงานและนักศึกษาแตละคนเพ่ือชวยจดั ระเบยี บใหทุกคนนักศึกษาสามารถติดตามวามอี ะไรครบกําหนดบางในหนางาน และเริ่มทํางานไดดวยการคลิก เพียงคร้ังเดยี ว อาจารยสามารถดไู ดอยางรวดเร็ววาใครทํางานเสร็จหรอื ไมเสร็จบาง ตลอดจนสามารถแสดง ความคดิ เห็นและใหคะแนน ประโยชนของการใชงาน Google Classroom 1. ตงั้ คาไดงายดาย อาจารยสามารถเพ่ิมนักศึกษาไดโดยตรง หรือแชรรหสั เพ่ือใหนักศกึ ษาเขาชัน้ เรยี นได การตั้งคาใช เวลาเพียงครเู ดยี ว 2. ประหยัดเวลา กระบวนการของงานเรยี บงาย ไมล้ินเปลอื งกระดาษ ทาใหอาจารยสราง ตรวจ และใหคะแนนงานได อยางรวดเร็วในที่เดีย่ วกัน 3. ชวยจัดระเบยี บ นักศึกษาสามารถดูงานทั้งหมดของตนเองไดในหนางานและเนื้อหาสาหรับชนั้ เรียนทั้งหมดจะถูก จัดเก็บในโฟลเดอรภายใน Google ไดรฟโดยอัตโนมตั ิ

7 4. สื่อสารกนั ไดดยี ง่ิ ขนึ้ Classroom ทาํ ใหอาจารยสามารถสงประกาศและเร่ิมการพูดคุยในชั้นเรยี นไดทันที นักศึกษาสามารถ แชรแหลงขอมูลกันหรอื ตอบคําถามในสตรีมได 5. ประหยดั และปลอดภัย เชนเดยี วกับบรกิ ารอ่นื ๆ ของ Google Apps for Education คือ Classroom จะไมแสดงโฆษณาไม ใชเน้อื หาหรอื ขอมูลของนักศึกษาในการโฆษณา และใหบริการฟรสี ําหรับมหาวิทยาลยั ฯ ทาํ ความเขาใจเกยี่ วกบั งานของ Classroom Classroom ผสานรวม Google เอกสาร, ไดรฟ และ Gmail ไวดวยกัน เพื่อใหอาจารยสามารถสราง และรวบรวมงานโดยไมตองส้ินเปลืองกระดาษ ภายใน Classroom อาจารยสามารถสรางงาน ใชงานนน้ั ในช้ัน เรยี นตางๆ และเลือกวาจะใหนกั ศึกษาทํางานอยางไร (เชน นักศึกษาแตละคนจะไดรบั สําเนาของตนเอง หรือ นักศกึ ษาทุกคนจะทํางานในสําเนาเดยี วกนั ) อาจารยสามารถติดตามไดวานักศกึ ษาคนใดทํางานเสร็จแลวบาง และใครยงั ทํางานไมเสรจ็ 1. อาจารยเลือกตวั เลือกเพื่อสรางสาํ เนาของ Google เอกสารสําหรบั นกั ศึกษาแตละคน และสงงาน ใหกับชัน้ เรียน 2. หลงั จากสงงานแลว นกั ศกึ ษาจะไมมีสิทธ์ิแกไขเอกสาร แตยงั คงสามารถดูเอกสารได 3. อาจารยแกไขเอกสารเพ่อื ใหคะแนนงาน แลวจึงสงงนคืนใหนักศึกษา จากนนั้ นักศึกษาจะมสี ิทธิ์ใน การแกไขอกี ครง้ั ทัง้ อาจารยและนักศึกษาสามารถดูรายงานของชนั้ เรียนท่ีกําลังทาํ อยแู ละทาเสร็จแลวโดย อาจารยสามารถดคู ะแนนทงั้ หมดของงาน สวนนกั ศึกษาสามารถดคู ะแนนของตนเองสาํ หรับงานทท่ี าํ เสรจ็ แลว การสรางชั้นเรียน สําหรบั การใชงาน Google Classroom ในบทบาทของอาจารยนัน้ สามารถทําไดดงั นี้ 1. สรางชน้ั เรยี นออนไลนสําหรับรายวชิ านนั้ ๆ ได 2. เพิม่ รายช่ือนกั ศกึ ษาจากบัญชขี อง Google เขามาอยูในชน้ั เรียนได 3. สามารถกําหนดรหสั ผนใหนกั ศกึ ษานําไปใชเพื่อเขาช้ันเรียนเองได 4. สามารถตง้ั โจทย มอบหมายการบานใหนักศึกษาทาํ โดยสามารถแนบไฟลและกาหนดวนั ท่ีสง การบานได 5. นกั ศึกษาเขามาทําการบานใน Google Docs และสงเขา Google Drive ของอาจารย โดยจะจัดเก็บ ไฟลงานใหอยางเปนระบบภายใต Folder \"Classroom\" 6. สามารถเขามาดจู ํานวนนักศกึ ษาที่สงการบานภายในกาํ หนดและยงั ไมไดสงได

8 7. ตรวจการบานของนักศึกษาแตละคน พรอมทัง้ ใหคะแนนและคําแนะนาได 8. สามารถเชิญอาจารยทานอื่นเขารวมในช้นั เรยี นเพื่อรวมกันจัดการเรียนการสอนได 9. ปรบั แตงรูปแบบของชน้ั เรียนตามธีมหรือจากภาพสวนตัวได 10.สามารถใชงานบนมือถือ ท้ังระบบปฏิบตั ิการ Android และ iOS ได สาํ หรับ Google Classroom อาจารยไมจําเปนตองรูวิธกี ารเขยี นโคดหรสื รางเว็บไซหรือสบั สนกบั ขน้ั ตอน มากมายทต่ี องใชในการสรางชั้นเรียน สําหรบั Google Classเoom เปนเร่ืองงายในการสรางชน้ั เรยี นเพยี งแค คลกิ ท่ีปมุ และการเพ่ิมขอความบางสวน ขั้นตอนการสรางชั้นเรียน 1. เขาสรู ะบบของ Google Classroom ที่ https://classroom.google.com/ 2. สาํ หรบั การใชงาน Google Classroom ในคร้งั แรก เม่อื เขาสูระบบแลว จาํ เปนตองเลอื กบทบาทในการ ใชงาน Google Classroo

9 3. คลิกเครือ่ งหมาย + ท่บี รเิ วณดานมุมขวา 4. หลังจากนนั้ ให เลอื กสรางชนั้ เรยี น (Create Class) 5. ในการสรางช้ันเรียนตองใสขอมลู รายวิชาที่สอนดังตัวอยาง ชอง ช่ือช้ันเรียน : ระบุชอื่ วชิ าเชน คอมพิวเตอรเบื้องตน ชอง หอง : ระบหุ องท่สี อน เชน ปริญญาตรี ( ปกต)ิ ชอง เร่ือง ตาง ๆ เชน วันท่ีสอน ชอง หอง : ระบุหมายเลขหองท่ีสอน เชน 8207 กรอกขอมูลเสร็จ ใหคลิกเลือกที่ สราง (Create)

10 หนาจอการทาํ งานของ Google Classroom หมายเลข 1 : สามารถเปลีย่ น Theme ของหองเรียนได โดยเลอื ก Theme หรือ Upload photo จาก ภายนอก(สรางเปนรูปภาพแลวนาํ มาใส) หมายเลข 2 : แสดงรหสั เขาช้นั เรยี นเพื่อใหนักศึกษาใชใสรหัสเขาหองเรยี น การเปลย่ี นธีมของชั้นเรียน ในการเลือกรปู ภาพและม ใหทาํ ดงั นี้ 1. คลกิ เลือกธมี (Select theme)

11 2. เลือกอัปโหลดรปู ภาพ (Upload photo) รหัสเขาช้นั เรียนเพื่อใหนักศึกษาเขาชั้นเรยี น คลิกท่ีหมายเลข 1 จะแสดงรหัสเขาหองเรยี นขนาดใหญดังรูป

12 นกั ศกึ ษาเขาชน้ั เรยี น นักศึกษาเขาหองเรยี นดวย Google App เหมือนอาจารย คลิกเคร่ืองหมาย + จะแสดงเมนู 1. ใหนกั ศึกษาคลิก เมนู เขารวมชนั้ เรยี น 2. ใหนกั เรยี นคลิกเมนู เขารวมช้ันเรยี น

13 3. เมื่อมีการมอบหมายงาน จะจดหมายสงไปใหนกั ศึกษาทางอีเมล นกั ศกึ ษาสามารถลกิ เปดอานและทาํ งานได 4. การสงงานของนกั ศกึ ษา นกั ศึกษาสามารถแนบไฟลงานไดดังรปู 5. ใหนกั ศึกษาสามารถเขาไปดคู ะแนนไดดังรปู

14 การมอบหมายงาน 1. เลือกหวั ขอ งานของชน้ั เรยี น 2. คลิกหวั ขอสราง หมายเลข 1 ใสชือ่ งาน เชน แบบฝกหดั คร้งั ท่ี 1 หมายเลข 2 กําหนดคะแนน วันเวลาใหสงงาน หมายเลข 3 แนบไฟลเอกสาร

15 การสรางแบบทดสอบ หมายเลข 1 ใสคาํ ส่งั เชน จงเลือกคาํ ตอบท่ดี ีท่สี ดุ หมายเลข 2 ใสคาํ ถาม หมายเลข 3 ตัวเลือก หมายเลข 4 กาํ หนดคะแนน หมายเลข 5 เพ่ิมขอใหม ตวั อยางแบบทดสอบ

16 เมอื่ สรางแบบทดสอบเสร็จจะแสดงขอมูลใหเห็น การตรวจงาน 1. คลิกดหู ัวของานของชั้นเรยี น จะแสดงขอมูลจํานวนนกั ศึกษาท่สี งงาน และใหคะแนนแลว 2. คลกิ ดงู านจะแสดงหนา้ จออกี มมุ มองใหเ้ หน็ เพอื ตรวจงาน

17 3. การแสดงสถานะ การสงงานและการใหคะแนน Excel CSV 1.

18 2. สามารถเปลยี นไฟลน์ ามสกลุ .CSV เป็น (.xlรx) โดยการเลอื กสว่ นขยายใหมด่ งั รูป การเก็บชนั้ เรยี นเมือ่ ส้นิ สุดภาคเรียน 1. เม่ือคลกิ เลือกที่ หมายเลข 1 จะแสดงเมนู ใหเลือก เก็

19 2. หนาตางแจงวาตองการเก็บสําเนาหรอื ไม 3. ชนั เรยี นทเี ก็บแลว้ สามารถกคู้ นื ไดห้ รอื ลบถาวรได้

20 แอป Google Classroom สาหรบั ใชงานบนมือถือและแทบ็ เลต็ แอป Google Classroom สาหรบั Android 1. เปด Google Play 2. ในชองคนหา ใหคนหาคาวา Google Classroom 3. ดาวโหลดและตดิ ต้งั เพื่อใชงานไดทนั ที แอป Google Classroom สาหรับ iOS 1. เปด App Store 2. ในชองคนหา ใหคนหาคาวา Google Classroom 3. ดาวโหลดและตดิ ตงั้ เพื่อใชงานไดทันที

21 2.ความหมายของบทเรยี นออนไลน ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545: 4-5) ไดกลาวถึงความหมายของบทเรียนออนไลนออกเปน 2ลักษณะ ไดแก ความหมายโดยท่ัว ๆ ไป จะหมายถึงการเรียนในลักษณะใดก็ไดซึ่งการถายทอดเนื้อหาผานทางอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร เครือขายอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต สัญญาณโทรทัศนหรือสัญญาณ ดาวเทียมอีกความหมายหน่ึงคือ ความหมายเฉพาะ การเรียนเนื้อหาหรือสารสนเทศสําหรับการสอนหรือการ อบรม ซ่งึ ใชการนาํ เสนอดวยตัวอักษร ภาพนิง่ ผสมผสานกบั การใชภาพเคลือ่ นไหว วีดิทัศนและเสยี ง โดยอาศัย เทคโนโลยีของเครือขายในการถายทอดเนื้อหา รวมท้ังการจัดใหมีระบบบันทึกติดตามตรวจสอบ และ ประเมินผลการเรียน โดยผูเรียนที่เรียนจากบทเรียนออนไลนนี้ สวนใหญแลวจะศึกษาเน้ือหาในลักษณะ ออนไลนซ่ึงหมายถึงจากเครื่องที่มีการเชื่อมตอกับระบบลักษณะสําคัญของบทเรียนออนไลน ถนอมพร เลาห จรัสแสง (2545, หนา, 21-22) ไดกลาววาบทเรียนออนไลนที่ดีประกอบไปดวยลักษณะสําคัญ ดังน้ี (1) ทุกท่ี ทุกเวลา(evenwhereeverytime)หมายถึง บทเรียนออนไลน ที่สามารถชวยขยายโอกาสในการเขาถึงขอมูล และเนื้อหาการเรียนรูของผูเรียนไดจริง ในที่น้ีหมายรวมถึงการที่ผูเรียนสามารถเรียกดูเน้ือหาไดตามความ สะดวกของผูเรียน (2) มัลติมีเดีย (multimedia) หมายถึง บทเรียนออนไลนตองมีผสมผสานส่ือตางๆท่ีใช สําหรบั การนําเสนอเนือ้ หาโดยใชประโยชนจากส่ือประสม เพ่อื ชวยในการประมวลผลสารสนเทศของผเู รยี น ใหเกิดความคงทนในการเรียนรูไดดีขึ้น (3) ไมใชเสนตรง (non-linear) หมายถึง บทเรียนออนไลนสําหรับการ เรียนรูแบบที่ควรตองมีการนําเสนอเน้ือหาในลักษณะท่ีไมเปนเชิงเสนตรงกลาวคอื ผูเรยี นสามารถเขาถึงเน้ือหา ตามความตองการในแตละบทเรียนออนไลนจะตองจัดหาการเช่ือมโยงท่ียืดหยุนแกผูเรียน (4) ปฏิสัมพันธ (interaction) หมายถึง บทเรียนออนไลน ตองมีการเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธกับเนื้อหา หรือผูที่มี ความตองการเขาถึงขอมูลอื่นไดกลาวคือบทเรียนออนไลนควรตองมีการออกแบบกิจกรรมซ่ึงผูเรียนสามารถต ตอบกบั เนอ้ื หา รวมทง้ั มีการจดั เตรยี มแบบฝกหัด และแบบทดสอบใหผเู รียนสามารถตรวจสอบความเขาใจดวย ตนเองไดบทเรียนออนไลนควรตองมีการจัดทําเครื่องมือในการใหชองทางแกผูเรยี นในการติดตอสื่อสารเพื่อการ ปรึกษา สนทนา อภิปรายชักถามแสดงความคิดเห็นกับผูสอน วิทยากร ผูเช่ียวชาญ หรือเพ่ือน ๆไดเปนอยางดี (5) การตอบสนองแบบทันทีทันใด (immediate response) หมายถึง บทเรียนออนไลนควรตองมีการ ออกแบบใหมีการทดสอบ การวัดผลและการประเมินผล ซ่ึงใหผลตอบกลับโดยทันทีแกผูเรียนไมวาจะอยูใน ลักษณะของแบบทดสอบกอนเรียน (pre-test หรือแบบทดสอบหลังเรียน(post-test) เปนตนองคประกอบ ของบทเรียนออนไลน สุนันท สังขออง (2549, หนา, 7-8) กลาวถึงบทเรียนออนไลนวามีองคประกอบหลาย ๆ ดานไดแก (1)วิธีสอน (pedagogy) หมายถึง วิธีการนําเสนอการใหผูเรียนมีสวนรวมการเรียนการใชแรงเสริม แรงจูงใจ การจัดระบบการมอบหมายงาน การใหขอมูลปอนกลับ การวัดผล และการบูรณาการกับหลักสูตร (2) การประเมินผล (assessment) ถาเปนการสอนปกติครูจะเก็บขอมูลจากการวัดผลดวยคะแนนหรือจาก วธิ กี ารสังเกต เพื่อตดั สนิ วาผูเรยี นมีพฒั นาการอยางไร ในการเรยี นแบบบทเรียนออนไลน จะใชวธิ ีประเมินแบบ ไมเปนทางการไมไดเน่ืองจากยากที่จะวัดไดการประเมินผลจะตองมีการวางแผนอยางรัดกุมชัดเจนเพ่ือมุงวัด

22 สมรรถภาพที่เกิดขึ้น มีการใหขอมูลปอนกลับ และมีการตัดสินคะแนน การประเมินผลในบทเรียนออนไลนมี ความจําเปนมากกวาการสอนปกติ เน่ืองจากผูเรียนและผูสอนไมไดพบกันแบบหนาตอหนา การประเมินแบบ ไมเปนทางการ เชนการสังเกต การชักถาม จึงทําไมไดในบทเรียนออนไลนดังน้ันจึงตองมีการประเมินบอย ๆ และประเมินทุกขณะของการเรียนรู (3) เน้ือหา (content) ตามทฤษฎีเน้ือหาควรสัมพันธกับวิธีสอนหรือวิธี เรยี นจงึ ยังคงมีคําถามทีต่ องวจิ ัยวาเน้ือหาท่ีใชสอนในบทเรียนออนไลนใหประสบความสําเร็จควรมลี ักษณะเชน ไร (4) การนําเสนอเนื้อหา (instruction deliver)วิธีการที่ใชในการนําเสนอการเรียนแบบออนไลน มี ความสําคัญยิ่งในการเรียนแบบบทเรียนออนไลน( 5) การบริหารการเรียนการสอน(instructional management) มสี ง่ิ สําคัญ 2 อยางคือ แหลงความร(ู resource) และ ระบบ(systems) หมายถึง การจดั แหลง ความรู การใหขอมูลปอนกลับ การจัดเก็บขอมูลการประเมิน และการสนับสนุนเกี่ยวกับสมรรถภาพผูเรียน แหลงความรู ขอมูลระหวางเรียนการออกแบบการเรียนงานมอบหมาย และบันทีกระเบียบพัฒนาการ (6 ) มาตรฐานและเปาหมาย(standard and policies)หมายถึง ความสามารถเขาถึงได(accessibility) ความ ยืดหยุน (flexibity) การเรียนตามอัธยาศัย(asynchronous) บทเรียนออนไลนและการจัดองคประกอบของ บทเรยี นออนไลน ตองเปนไปตามมาตรฐานและเปาหมายปจจบุ ัน (7 รปู แบบบทเรยี นออนไลนที่ใชกันอยูน้ันยัง ไมมีขอมูลเชิงวิจัยสนับสนุนวาแบบใดจะมีประสิทธิภาพดีท่ีสุด ดังน้ันจึงควรมีการศึกษาวิจัยเพ่ือใชเปนขอมูล พ้ืนฐานในการทําใหบทเรียนออนไลนเกิดประสิทธิภาพมากท่ีสุดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน รูปแบบการเรียนการสอนที่นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใชในการเรียนการสอน โดยแบงการ เรียนการสอนเปนแบบชิงโครนัส(synchronous learning) และอะซงิ โครนสั (asynchronous(earning) ทก่ี าร เรียนการสอนในยุคสมยั ใหมไมตองอาศัยตําราเพียงอยางเดียว ผเู รยี นทกุ คนในชัน้ เรียนไมใชตาํ ราจากท่ีกําหนด โดยอาจารยผูสอนเทาน้ัน แตสามารถแสวงหาแหลงความรูอื่นไดอีกมากมาย เชน หองสมุดแบบดิจิทัล ท่ี เรียกวาขุมความรูโลก บทบาทการสอนของอาจารยจะเปล่ียนจากการใชชอลกและกระดานดํามาเปนการชน้ี าํ้ เพราะยืนเคียงขางผูเรียน เพ่ือใหผูเรียนไดแสวงหาความรูและเรียนรูตามการช้ีแนะเปนตัวของตัวเองในการ แสวงหาความรู มีความคิดริเร่ิมในการเรียนรูส่ิงใหม ตองเปล่ียนสภาพการเรียนแบบนั่งเรียนมาเปนแบบการ เรียนรูที่มีการใชปฏิสัมพันธโตตอบ มีการใชเทคโนโลยีประกอบการเรียนรูยังตองสรางบทบาทท่ีใหเรียนรูดวย ตนเองแบบอะชิงโครนัสไดและที่สาํ คัญการวัดการเรียนรคู งไมอยูท่ีผลของคะแนนสอบแตเพียงอยางเดียว ตอง เปล่ียนสภาพการเรียนการสอนแบบเดิมมาสูกระบวนการสรางและสังเคราะหความรูได รูปแบบของการเรียน การสอนแบบออนไลนสามารถแบงออกเปน 3รปู แบบคือ (1) การเรยี นดวยตนเอง (self-directed) (2) แบบ ผสมผสาน (asynchronous) ท่ีมีการผสมผสานท้ังการเรียนดวยตนเองกับการเรียนในช้ันเรียนมาไวบน เครือขายหรือบนอินเทอรเน็ตเหมาะสําหรับการอภิปราย ถกปญหาเปนทีม ซ่ึงลดขอจํากัดเรื่องเวลา สถานที่ สามารถเรยี นรไู ดทุกเวลา ซึ่งเปนการเรยี นการสอนผานทางเวบ็ มีการสรางโฮมเพจรายวิชา ทใ่ี หผูเรยี นสามารถ เรียนรูไดตามอัธยาศัย(3) การเรียนแบบหองเรียนเสมือนจริง (synchronous) มีขอจํากัดที่ตองกําหนดการ เรียนการสอนตามตารางสอนมีการใชหองเรียนและตองนัดเวลาเรยี น และมกี ารจําลองสถานการณจรงิ ของ

23 หองเรียนมาไวบนเครือขายอินเทอรเน็โดยใชศักยภาพของเครือขายและเทคนโยีสารสนเทศเพื่อนําบทเรียนที่ สอนบรรจุไวบนเคร่อื งแมขาย สามารถผลติ ส่ือการสอนดวยระบบมลั ติมเี ดยี ภาพและเสียงครบครัน รองรับการ สื่อสารในช้ันเรียนไดอยางเต็มท่ี นอกจากน้ันยังสามารถจัดการเก่ียวกับการสงตอองคความรู และการจัดการ ความรูไดอยางมีประสิทธิภาพซึ่งจะสามารถนําใหบริการในการเรียน การสอนแบบดวยตัวเองไดอยางมี ประสิทธิภาพขอดีของบทเรียนออนไลน ขอดีจากการเรียนการสอนแบบบทเรียนออนไลน มีดังตอไปน้ี(ถนอม พร เลาหจรัสแสง, 2545, หนา, 18-20) (1) ชวยใหการจัดการเรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพมากย่ิงข้นึ เพ่อื การ ถายทอดเน้ือหาผานทางมัลติมีเดีย สามารถทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดีกวาการเรียนจากสื่อขอความเพียง อยางเดียว หรือจากการสอน โดยชวยใหผูเรียนเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพในเวลาที่เร็วกวา (2)ชวยทําให ผูสอนสามารถตรวจสอบความกาวหนาพฤติกรรมการเรียนของผูเรียนไดอยางละเอียดและตลอดเวลา โดยมี การจัดหาระบบการจัดการรายวิชา (3) ชวยใหผูเรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได เน่ืองจากการ นาํ เอาเทคโนโลยีผสมผสานระหวางส่ือหลาย ๆ ชนิด (hypermedia) มาประยกุ ตใช ซ่งึ มลี กั ษณะการเชื่อมโยง ขอมูลที่เกี่ยวเน่ืองกันเขาไวดวยกันในลักษณะที่ไมเปนเชิงเสนตรง (non-linear)ดังน้ันผูเรียนสามารถเขาถึง ขอมูลใดกอนหลังกไ็ ดโดยไมตองเรียงตามลําดบั และเพิ่มความสะดวกในการเขาถึงของผูเรียน (4) ชวยใหผเู รียน สามารถเรียนรูไดตามจังหวะของตน (self-paced learning) ผูเรียนสามารถควบคุมการเรียนรูของตนในดาน ของลําดับการเรียนได (sequence) ตามพื้นฐานความรูความถนัดและความสนใจของตน(5 ชวยทําใหเกิด ปฏิสัมพนั ธระหวางผเู รียนกับครผู สู อน และกบั เพอ่ื น ๆไดเนื่องจากมเี ครอื่ งมือทเ่ี อ้ือตอการโตตอบทีห่ ลากหลาย เชน การพดู คุย กระดานสนทนา จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส เปนตน (6) ชวยสงเสรมิ ใหเกดิ การเรียนรทู ักษะใหมๆ รวมท้ังเนื้อหาที่มีความทันสมัยและตอบสนองตอเร่ืองราวตาง ๆ ในปจจุบันไดอยางทันที (7) ทําใหเกิดรูปแบบ การเรียนที่สามารถจัดการเรียนการสอนใหแกผเู รียนในวงกวางข้ึนเนือ่ งจากไมมีขอจํากัดดานเวลาและสถานท่ี จงึ สามารถนําไปใชเพ่อื การเรียนรูตลอดชวี ติ 3. แนวคิดทฤษฎีท่เี กยี่ วของกับการจัดการเรยี นการสอนในศตวรรษท่ี 21 eLearning การพัฒนาของโลกในยุคปจจุบันมงุ สูทศิ ทางของสังคมแหงการเรียนรู วิธกี ารเรียนรูของมนษุ ยจึงตองมี การปรับเปล่ียนใหทันยุคทันสมัยและเขากันไดกับสิ่งแวดลอมและทรัพยากรในปจจุบันซึ่งในขณะนี้เปนชวงยคุ ดิจิตอลในศตวรรษที่ 21 หรือท่ีเรียกอีกอยางหนึ่งวายุคสังคมสารสนเทศ ดังนั้นส่ืออิเล็กทรอนิกสจึงถือวามี บทบาทสําคัญเปนอยางมากในการถายทอดความรูดวยกระบวนตาง ๆ ท่ีหลากหลาย ไปสูกลุมเปาหมายที่มี ความตองการตางกัน นับต้ังแตมีการพัฒนาอินเทอรเน็ต การติดตอส่ือสารระหวางมนุษยก็เปนไปดวยความ สะดวกรวดเรว็ มากขึ้น รวมทั้งการเรียนการสอนและการศึกษาหาความรูกส็ ามารถทําไดอยางไรพรมแดนทําให เกิดคาวา E-Learningหรือ ElectronicLearning เปนที่รูจักกันไปท่ัวโลก (ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา ; 8 มกราคม 2550)1. ความหมายของ E-learningE-learning คอื อะไร ไดมีนกั วชิ าการหลายทานไดใหคํานยิ ามคา วาไวมากมายเกีย่ วกบั ความหมายของ E-learning

24 โดยขอสรุปวา \"E-Learning คือกระบวนการการเรียน การสอนผานทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร (ICT) และส่ืออิเล็กทรอนิกสอื่นๆที่เหมาะสม ซึ่งชวยลดขอจํากัดดานเวลาและสถานที่ระหวางผูเรียน และผสู อนชวยใหผเู รยี นสามารถเรียนไดตามความตองการและความจาเปนของตนไดอยางตอเนื่องตลอดเวลา\" 2. ประเภทของการศึกษาพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 การจัดการศกึ ษามี 3 รูปแบบ คือการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย (1) การศึกษาในระบบ เปนการศึกษาที่กาหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของ การศึกษา การวัดและการประเมินผล ซ่ึงเปนเง่ือนไขของการสําเร็จการศึกษาที่แนนอนศึกษา โดยมีการศึกษา ระดับปฐมวยั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาและระดบั การศึกษาอุดมศึกษา (2) การศึกษานอกระบบ เปนการศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกาหนดจุดมุงหมาย รูปแบบวิธีการจดั การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมิ่นผล โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสม สอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของบคุ คลแตละกลมุ (3) การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการศึกษาที่ใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพรอมและโอกาส โดยศึกษาจากบคุ คล ประสบการณ สภาพแวดลอม สังคม สื่อหรือแหลงความรูอ่ืนๆ ใน ท่ีนี้จะขอกลาวถึงการใช e-learning ที่เขามามีบทบาทกับการศึกษาไทย ซึ่งจะกลาวถึงการศึกษาในระบบ เพราะจะเห็นพัฒนาการเปลี่ยนแปลงทีเ่ ดนชดั ทสี่ ุด E-learning กับการศึกษาในประเทศไทยประเทศไทยมีการนาสื่ออิเล็กทรอนิกสมาใชสนับสนุน การศึกษาอยางเปนทางการต้ังแตพ.ศ. 2498 เม่ือกระทรวงศึกษาธิการไดกอต้ังสถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อ การศึกษาข้นึ มาเปนครั้งแรกหลังจากน้ันไมนานเม่ือมีการจดั ต้ังสถานวี ทิ ยุโทรทัศนข้ึน กระทรวง ศึกษาธิการก็มี โอกาสผลิตรายการเพ่ือการศึกษาออกอากาศไปสูประชาชนท่ัวไปอีกชองทางหน่ึง วิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศนจึงเปนสื่ออิเล็กทรอนิกสที่มีบทบาทในการสนับสนุนการศึกษามาเปนเวลานาน จนกระท่ังมีการกอต้ัง สถานีวิทยุโทรทัศนเพ่ือการศึกษากระทรวงศึกษาธิการขึ้นใน พ.ศ. 2537 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ การศึกษาในประเทศไทยเริม่ ตนในระดับอุดมศึกษาการใชคอมพวิ เตอรเพือ่ การศกึ ษาในระยะแรกเปนการใชใน รูปแบบของคอมพิวเตอรชวยสอน(Computer-Assisted Instruction: CAl)ตอมาเม่ือมีเทคโนโลยีเครือขาย และอินเทอรเน็ตเกิดข้ึน จึงพัฒนาไปสูการเรียนการสอนออนไลนหรือWeb-Based Instruction (WBl)e- Learning ในประเทศไทยเริ่มดาเนินการในป พ.ศ. 2538 โดยรัฐบาลไดเปดเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อโรงเรยี น ไทย เพ่ือตองการจะเชอ่ื มโยงโรงเรียนตาง ๆ ในประเทศเขาดวยกันโดยผานเทคโนโลยอี ินเทอรเน็ต เพ่ือสงเสริม การเรยี นรู ตลอดจนการแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารทางการศึกษารวมกนั บนเครือขาย ตอมาคณะรฐั มนตรีไดให ความเห็นชอบเม่ือวันท่ี 5 ตุลาคม 2542 ใหขยายเครือขายใหครอบคลุมโรงเรียนในระดับประถมศึกษา มธั ยมศึกษา และอาชวี ศกึ ษาทวั่ ประเทศโดยความรับผดิ ชอบของเนคเทค ปจจุบันเนคเทคไดดาเนินกจิ กรรมบน เครือขายหลายอยาง ประกอบดวยการจัดทําเว็บไซตของโครงการเพ่ือเปนส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนความรู และเรียนรู (เยาวลักษณพิพัฒนจําเริญกุล ;11 กุมภาพันธ 2555)กระทรวงศึกษาไดมีการรับรองการศึกษา ทางไกลผานอินเทอรเน็ตอยางเปนทางการตั้งแตตนป 2549 จึงทําใหการเติบโตของหลักสูตร E-learning มี

25 อัตราการเติบโตเปนเทาตวั เพราะการศึกษาทางไกลไมเพยี งจะอาํ นวยความสะดวกและเอื้อประโยชนตอผูเรียน แลวยังอํานวยประโยชนใหกับสถาบันการศึกษาในแงของการบริหารจัดการอีกดวย คือ ทําใหตนทุนในการ จัดการหลักสูตรตํ่าลงดวยรูปแบบการเรียนการสอนในระบบทางไกลที่นักศึกษาไมตองเดินทางมาเขาชั้นเรียน และสามารถรองรับนักศึกษาไดอยางไมจาํ กัด เปนชองทางในการสรางและขยายโอกาสทางการศึกษาใหเขาถงึ ผูที่มีความตองการในวงกวางข้ึน โดยเฉพาะนักศึกษาที่อาศัยในตางจังหวัดดังนั้น e-Learningจึงเปนชองทาง โอกาสและทางเลือกไมเพยี งแตนักศึกษาเทานัน้ มหาวทิ ยาลัยท้งั ภาครัฐและภาคเอกชนยังไดใหความสําคัญดวย เชนกัน โดยในชวง 2 ปท่ีผานมามหาวิทยาลัยท้ังภาครัฐและภาคเอกชนไดมีการเปดหลักสูตร e-Learning กัน มากมาย เชน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาการพัฒนาชอฟตแวร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ หลกั สตู รบริหารธรุ กิจมหาบัณฑิตสาขาการทองเที่ยว มหาวทิ ยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย หลกั สูตรศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการความรู คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากร เกิดขึ้นอีกอยางตอเน่ือง จะ เหน็ ไดวาจากการขยายตัวของหลักสูตรตางๆ ท่ีเกิดขน้ึ นน้ั ไดสะทอนใหเห็นแนวโนมของe-Learning ทีเ่ ขามามี บทบาทสําคัญในงานการศึกษา (อรวรรณ รักรู : 6 กรกฎาคม 2550)ตอมาเม่ือเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร สาย(wireless) ไดเริ่มเขามามีบทบาทและเติบโตอยางมากในชวงเวลา 2-3 ปท่ีผานมา อุปกรณแบบไรสาย ตางๆ ไดเขามาแทนที่อุปกรณแบบมีสาย (wired)ที่เราเห็นไดชัดเจนคือ โทรศัพทมือถือ เม่ือมีการพัฒนาอยาง รวดเร็วของเทคโนโลยีแบบไรสายเทคโนโลยีสาหรับอุปกรณไรสายตางๆ ก็ถูกพัฒนาตามขึ้นไปดวย ซ่ึงไดแก Bluetooth, WAP(Wireless Application Protocol) แ ล ะ GRPS (GeneralPacket Radio System) เ ม่ื อ เทคโนโลยีไดกาวหนาไป วิธีการศึกษาหาความรูก็ถูกพัฒนาตามไปดวยจึงเกิดขึ้น m-Learning ยอมาจาก mobile learning ซึ่งเปนการพัฒนาอีกข้ันของ e-Learning เปนการผสมผสานท่ีลงตัวของการพัฒนา การศึกษาเรยี นรู โดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาชวยเทคโนโลยที ่ีกลาวถึงน้ีก็คือ เทคโนโลยกี ารสื่อสารแบบไร สาย เราเรียกการเรียนแบบนี้วา WirelessLearning , Mobile Learning หรือ m-Learning ดังนั้น m- learning คือ การศึกษาทางไกลผานทางอุปกรณเคลอ่ื นท่ีแบบไรสายตางๆ เชน โทรศัพทมือถอื , PDA ,laptop computer;ipad, tabletเปนตน (ชนะศึก โพธิ์นอก ; 8 กันยายน 2554)ซ่ึงในขณะน้ีในหลายๆ สถาบันก็ไดมี การมีการสอนแบบ e-learning ผานส่ือ m-learning เชน ipad, tablet เหตุผลเนื่องจากสะดวกแกการเรียน การสอน เพราะ ในมหาวิทยาลัยก็มีระบบ wifi อยางท่ัวถึง ทําใหการเรียนผาน ipad, tablet ทําใหการเรียน แบบ e-learning เปนจรงิ และไดผลมากขึน้ เชนไมเพยี งแตอาจารยสามารถทาํ ตาราเรียนเปนPower point ให นักศึกษาดาวนโหลดมาเรียนได แตยังเพิ่มความสนุกสนานในการเรียนมากขึ้นอีกดวย VDO Clip และ interactive ทําใหการเรียนมีชีวิตชีวามากขึ้น การใชชีวิตในการเรียนไมนาเบ่ือ สรุปดังจะเห็นไดวา การเรียน การสอนแบบ e-learning น้นั ไดเขามาเปนสวนหนง่ึ ของการศกึ ษาไทยเปนเวลาชานาน และ e-learning ก็ไดมี การเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยของเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนไปทั้งน้ีก็เพื่อจะตอบสนองความตองการในการเรียนรู ของผูเรียนและเพ่ือตอบสนองนโยบายการเรียนรูเนื่องจากบุคลากรถือไดวาเปนกําลังสําคัญในการขับเคลื่อน องคกรใหกาวไปในทิศทางท่ีถูกตอง เพื่อพัฒนาประเทศใหเกิดการแขงขันไดกับประเทศอื่น ๆ จึงตองการ บุคลากรที่มีคุณภาพ โดยไดรับการศึกษาที่เปนระบบ มีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับความสามารถข องแต

26 ละคน ประกอบกับวิวัฒนาการของเทคโนโลยีตาง ท่ีเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น เร็วข้ึน ดังนั้นระบบการเรียนการ สอนทางไกลโดยใชเครือขายอินเตอรเนต็ ในลักษณะของ e-Learning จึงเกิดข้ึน เพ่ือใชสนบั สนนุ การศกึ ษาและ การฝกอบรมใหบคุ ลากรไดรบั การศึกษาอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต อันเปนแนวทางที่สาํ คัญในการพฒั นาประเทศ

27 บทท่ี 3 การดาํ เนนิ การวิจยั การวิจัยครั้งน้ีเปนการวิจัยในช้ันเรียนเพ่ือการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนโดยใช ระบบหองเรียนออนไลน Google Classroom ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5/9 เร่ืองส่ิงแวดลอมทางกายภาพกับ ประชากรและการตง้ั ถิ่นฐานมีรายละเอียดการดําเนินการวจิ ยั ดงั น้ี 1. กลมุ เปาหมาย กลุมเปาหมายท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5/9 โรงเรียนบางกะป จํานวน 44 คน 2. เคร่อื งมือที่ใชในการวิจยั เครอื่ งมือท่ีใชในการวิจัย ไดแก บทเรียนออนไลน โดยใชระบบหองเรียนออนไลนGoogle Classroom และ แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนบทเรยี นออนไลนบทเรยี นออนไลนประกอบไปดวย เนือ้ หา ขอสอบ และ ใบงาน เร่ืองสิง่ แวดลอมทางกายภาพกบั ประชากรและการตั้งถิ่นฐาน 3. ข้ันตอนการดําเนินการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้เปนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน โดยใชระบบหองเรียนออนไลน Google Classroom มขี ้นั ตอนการดาํ เนนิ การวิจยั ดงั นี้ ขั้นที่ 1 ผูสอนสรางหองเรียนออนไลนโดยใช ระบบหองเรียนออนไลน Google Classroom และ ให นกั เรียนผเู รียนลงทะเบียนเขามาเรยี นได ข้ันท่ี 2 ผูสอนพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู แบบออนไลน เร่ืององคประกอบของระบบ คอมพิวเตอร เชน การทําแนบไฟล ใบความรู ทําขอสอบ ทําใบงาน เปนตน แสดงไวใน หองเรียนออนไลน ซ่ึง นักเรียนสามารถมาศกึ ษาขอมูลไดดวยตนเองได ขน้ั ท่ี 3 เม่ือผูเรยี นไดเขามาศึกษาเน้ือหาและ แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรูแบบออนไลนแลว ผูสอน จะใหนักเรียนทําแบบทดสอบ และใบงานออนไลน เพ่ือเก็บคะแนนนักเรียนในแตละหนวยยอย พรอมทั้งบอก คะแนนทนั ที ขั้นท่ี 4 หากนกั เรยี นทาํ แบบทดสอบไมผาน นกั เรยี นสามารถทบทวนบทเรียนไดการ 4. วเิ คราะหขอมลู การวิเคราะหขอมลู มีการดาํ เนนิ การ ดงั นี้ 1. วิเคราะหขอมูลโดยการหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน 75/75 โดยใชสถิตคิ าเฉล่ีย และคา รอยละ ซง่ึ ดาํ เนินการดงั น้ีคาํ นวณหาประสทิ ธิภาพของบทเรยี นออนไลน โดยใชสูตร E1 / E2

28 2. ขอมูลจากแบบทดสอบกอนและหลงั เรียนออนไลนโดยการใชสถิติคาเฉลยี่ และคารอยละ ซง่ึ ดาํ เนนิ การดังน้ี 2.1 หาคาเฉล่ยี แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน 2.2 หาคะแนนความกาวหนาหรอื คะแนนท่ีเพม่ิ ข้นึ 2.3 หาคารอยละของความกาวหนาของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นโดยใชสตู รรอยละของความกาวหนา

29 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล สําหรบั การวิเคราะหขอมลู ในงานวิจยั นจี้ ะแบงออกเปน 3 ดาน คือ ดานการหาประสิทธิภาพของ บทเรยี นออนไลน ดานการวเิ คราะหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผเู รียนทเ่ี รียนแบบออนไลนโดยใชระบบ หองเรยี นออนไลน Google Classroom และดานการวเิ คราะหความพึงพอใจของผเู รยี นที่มีตอการ เรียนแบบออนไลน ดงั แสดงในตารางท่ี 1 ดงั นี้ 1. สัญลักษณทใ่ี ชในการเสนอผลการวิเคราะหขอมลู 2. ลาํ ดับขัน้ ตอนในการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล 3. ผลการวิเคราะหขอมลู สัญลกั ษณท่ีใชในการเสนอผลการวิเคราะหขอมลู ผูศึกษาคนควาไดกาํ หนดความหมายของสัญลักษณที่ใชในการวเิ คราะหขอมลู ดงั น้ี เมอ่ื E1 แทน ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ ∑x แทน คะแนนรวมของขอสอบ A แทน คะแนนเต็มของขอสอบ N แทน จํานวนผูเรยี น E2 แทน ประสทิ ธิภาพของผลลัพธ ∑F แทน คะแนนรวมหลงั การการเรียนออนไลน B แทน คะแนนเตม็ ของการสอบหลงั การเรยี นออนไลน ������̅ แทน คะแนนเฉลยี่ กอนการเรยี นออนไลน ������̅ แทน คะแนนเฉล่ียหลังการการเรียนออนไลน ลาํ ดบั ขัน้ ตอนในการเสนอผลการวเิ คราะหขอมลู ผูศกึ ษาคนควา ไดวิเคราะหขอมูลตามลําดับข้นั ตอนดังน้ี ตอนท่ี 1 วเิ คราะหหาประสิทธภิ าพของบทเรยี นออนไลนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 5/9 ทม่ี ี ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ 75/75 ตอนท่ี 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรยี นระหวางกอนและหลังเรยี น บทเรยี นออนไลน ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจนกั เรียนท่ีมตี อบทเรียนออนไลน

30 ผลการวิเคราะหขอมลู ตารางที่ 1 วิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5/9 โรงเรียนบางกะป จํานวน 44 คน ท่มี ปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ 75/75 ตาราง 4 - 1 แสดงคาคะแนนเฉลย่ี จากการเรยี นออนไลน ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 5/9 (N= 44) ลาํ ดบั ที่ ช่ือ – นามสกุล กอนเรียน หลังเรยี น 1 นายสทิ ธพิ ัฒน กองแกว 15 16 2 นายจาฏพจั น บุญประเสรฐิ 16 17 3 นายจีระวฒั น อบภริ มย 15 16 4 นายพสั กร พรหมอยู 17 18 5 นายพีรพล แกวสวุ รรณ 13 14 6 นายภรู ภิ ทั ร อุทยั พบิ ลู ย 17 18 7 นายพฒั นพงศ อรรถาวร 16 17 8 นายกติ ตพิ งษ ธีระเมฆ 17 18 9 นายปยะพนั ธ ขนั ทับทมิ 17 18 10 นายรัฐภมู ิ ลจุ ติ ร 16 17 11 นายสทิ ธพิ ร เอ่ยี มสังขทอง 15 15 12 นายนพรตั น ภาเมฆสวัสดิ์ 17 18 13 นายปฏญิ ญา ศริ ทิ รัพย 16 17 14 นายภาณุพงศ โรจนคงอยู 14 15 15 นายกิตตธิ ชั พุกรกั ษา 13 14 16 นายวทญั ู ตนั้ สกลุ วฒั นา 13 15 17 นายวรพรต ทิลาธรรม 14 15 18 นายคณุ ากร วงษพินจิ 15 17 19 นายพาทิศ เกียรตไิ ทยพพิ ฒั น 15 18 20 นายณฐั วฒุ ิ คลายแกว 17 19 21 นางสาวอภิญญา โอภาส 17 18 22 นางสาวธีรนิ ธร บุญรอด 15 17 23 นางสาวศิรประภา ฉายสวงิ 13 15 24 นางสาวศิวรนิ ทร ไตรมนตรี 14 15 25 นางสาวนานา เงินแพทย 14 15 26 นางสาวสจุ ริ า นามศร 15 16

27 นางสาวปยลกั ษณ อนิ ทรวนั 13 31 14 28 นางสาวภัณฑิลา บัวหลวง 15 14 17 15 29 นางสาวฐติ มิ า คาํ เอ่ยี ม 14 17 14 18 30 นางสาวธัญธร ศรีทะนนั ชัย 13 15 14 16 31 นางสาวยวษิ ฐา บุญมา 15 14 15 15 32 นางสาวชญานี มีบาง 16 17 14 15 33 นางสาวฟาใส โมกไธสงค 14 17 14 15 34 นางสาวอาภสั รา โคตรักษา 16 15 16 15 35 นางสาวนันทนภสั สุระมณี 15 16 16 17 36 นางสาวกนกพร สารวิถี 661 15 15.02 17 37 นางสาวสุรภา ทองศรี 711 16.15 38 นางสาวกานตพชิ ชา คเิ รยี คดิ ดีส 39 นางสาวกชพร ทองพูล 40 นางสาวพาขวญั แสนเมืองมา 41 นางสาวพชิ ญนาฏ วงศวิชชากร 42 นางสาวพชั รี สีวงั 43 นางสาวอรปรียา ชวยนุย 44 นางสาวปานตะวนั เสถียรธรรมกูล รวม ������ จากขอมลู ในตารางคาํ นวณหาคา E1และ E2 ไดดงั นี้ E1 = 661/44 x 100 = 75.11 20 E2 = 711/44 x 100 = 80.75 20 จากตาราง 4 - 1 พบวา เมอ่ื นักเรยี นทําแบบทดสอบกอนเรียน 20 คะแนน ไดคะแนนระหวาง ระหวางเรียนไดคาเฉลี่ย 15.02 คดิ เปนรอยละ 75.11 และผลการทดสอบหลงั เรียนออนไลนได คาเฉล่ีย 16.15 จากคะแนนเตม็ 20 คะแนน คดิ เปนรอยละ 80.75

32 ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหความพึงพอใจตอการเรียนบทเรียนออนไน โดยใชระบบหองเรียน ออนไลน Google Classroom ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 5/9 โรงเรียนบางกะป รายการ ระดับความพึงพอใจ รวม ������ แปลผล 5 4 32 1 1. นาสนใจดงึ ดดู ใจกระตุน ใหเกิดความ สนใจ 36 8 4.81 ดีมาก 2. ชวยเสริมสรางความเขาใจในบทเรียน 44 5 ดมี าก 3. มีการอพั เดตขอมลู ที่ทนั สมัย 44 5 ดมี าก 4. สามารถเขาใชงานไดตลอดเวลา 24 20 4.54 ดีมาก 5.การออกแบบหนาจอเหมาะสม 25 19 4.56 ดีมาก 6.ลักษณะขนาด สขี องตัวอกั ษร ชดั เจน สวยงาม อานงาย และเหมาะสมกบั ระดบั ชั้นท่เี รียน 20 20 4 4.36 ดี 7.ความเหมาะสมของสพี น้ื 30 10 4 4.59 ดมี าก 8. ภาพ/ ภาพเคล่อื นไหว/ เสียง ท่ีใช เหมาะสมกบั การเรยี นรูไดดี 32 12 4.72 ดมี าก 9.สื่อมีปฏิสมั พนั ธกบั ผเู รียนอยาง เหมาะสม 44 5 ดมี าก 10. ใหผลปอนกลับ เสรมิ แรงและให ความชวยเหลอื เหมาะสม 40 4 4.90 ดมี าก 11. สนองตอบตอความแตกตางระหวาง บคุ คล 35 9 4.79 ดีมาก 12. บทเรียนมีความยืดหยุนมีเมนู/ ปมุ ใหผเู รียนควบคมุ บทเรยี นไดสะดวก 40 4 4.90 13.การใชงานงายไมซบั ซอน สะดวกตอ ดมี าก การใชงาน 44 5 เฉลยี่ รวม 4.78 ดีมาก

33 จากตารางพบวาผูประเมินมคี วามคิดเห็นตอบทเรยี นออนไลนอยใู นระดับดมี าก 12 รายการ คือ ชวยเสริมสรางความเขาใจในบทเรียน มีการอัพเดตขอมูลที่ทันสมัย ส่ือมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนอยางเหมาะสม และการใชงานงายไมซับซอน สะดวกตอการใชงาน ( X = 5 ) และใหผลปอนกลับเสริมแรงและใหความ ชวยเหลือเหมาะสมและบทเรียนมีความยืดหยุนมีเมนู/ ปุมใหผูเรียนควบคุมบทเรียนไดสะดวก (X = 4.90 ) และนาสนใจดึงดูดใจกระตุน ใหเกิดความสนใจ ( X = 4.81 ) และ สนองตอบตอความแตกตางระหวางบุคคล ( X =4.79 ) และภาพเคลอ่ื นไหว/ เสยี ง ที่ใชเหมาะสมกับการเรยี นรูไดดี ( X =4.72 ) และความเหมาะสมของ สีพ้ืน ( X = 4.59 ) และการออกแบบหนาจอเหมาะสม ( ������ =4.56 ) สามารถเขาใชงานไดตลอดเวลา ( ������ = 4.54 ) อยูในระดับดี 1 รายการ คือ ลักษณะขนาด สีของตัวอักษร ชัดเจน สวยงาม อานงาย และ เหมาะสมกับ ระดบั ช้ันที่เรียน( ������ = 4.36)

34 บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผลและขอเสนอแนะ การวิจัยคร้ังน้ีเปนการศึกษาพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบออนไลน โดยใชระบบหองเรียน ออนไลน Google Classroom โดยมีวัตถุประสงคการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนซ่ึงกลุม เปาหมายทใี่ ชในการวจิ ัย ไดแก นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรยี นบางกะป จาํ นวน 1 หอง จํานวน 44 คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย ไดแก บทเรียนออนไลน , แบบฝกหัดกอนเรียนและหลัง ใชเวลาในการจัดการเรียนรู จํานวน 6 ชั่วโมง ตามแผนการจัดการเรียนรูจํานวน 3 แผน ไดแก แผนโครงสรางประชากร การกระจายและ ความหนาแนนของประชากร จํานวน 2 คาบ แผนการเปล่ียนแปลงประชากรโลกและประชากรไทย จํานวน 2 คาบและแผนการตั้งถ่ินฐานและความเปนเมือง จํานวน 2 คาบ การประเมินผลการพัฒนา วิเคราะหขอมูล โดยใชสถติ กิ ารหาคาเฉล่ยี รอยละ สรุปผลการวจิ ยั อภปิ รายผลและขอเสนอแนะมีรายละเอยี ดดังนี้ สรปุ ผลการวจิ ัย ผลการเปรยี บเทียบกอนและหลังเรยี นออนไลน ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 5/9 โรงเรียนบางกะป พบวา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นระหวางกอนและหลังเรยี นบทเรยี นออนไลน มี ประสทิ ธภิ าพ 75.11/80.75 ซง่ึ สงู กวาเกณฑที่ตัง้ ไว 2. ความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอการจัด กิจกรรมพัฒนาผูเรยี นแบบหองเรียนกลบั ดาน ผาน Google Classroom อภปิ รายผลการวจิ ัย นกั เรียนทท่ี าํ คะแนนกอนและหลังเรียนออนไลน เม่ือไดเรยี นออนไลนแลว จากการเปรยี บเทยี บ ผลการบันทึกคะแนนจากเกณฑทว่ี ดั และหาคาเฉล่ยี ของความกาวหนาในการเรยี นออนไลนจะเห็นไดวาคะแนน หลังเรียนสูงกวากอนเรียนแสดงวาบทเรียนออนไลนทําใหนักเรียนมีพัฒนาการท่ีดีขึ้น เปนเครื่องซ้ี ชัดวา บทเรียนออนไลนมีความเหมาะสม และกระตุนใหนกั เรยี นอยากเรยี นมากข้ึน ขอเสนอแนะ 1.1 ผูสอนตองศึกษาข้ันตอนของการจัด กิจกรรมเพ่ือพัฒนาการเรียนรูแบบออนไลน อยางละเอียด เพื่อใหเขาใจบทบาทของตนเอง และ บทบาทของผูเรียน เพ่ือใหสามารถนําไปใชในการจัดการ เรียนรูไดอยาง ถกู ตองและมีประสทิ ธภิ าพ ผูสอนควรให ผเู รียนไดมีอิสระทางความคดิ ในการรงั สรรคช้ินงาน 1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบออนไลน ควรใหผูเรียนไดมีบทบาทในการทํางานของตนเองมาก ทีส่ ดุ ผสู อนควรสงเสรมิ ใหผเู รยี นทาํ งาน รวมกนั เปนทีมได ทาํ งานดวยตนเองได 1.3 ผูสอนควรมีส่อื ท่ีหลากหลายเพือ่ กระตนุ ใหผูเรียนเกิดความสนใจและสนองตอบความ แตกตางระหวางบุคคลได

35 บรรณานุกรม นชิ าภา บรุ กี าญจน. (2556). ผลการจัดการเรียนรูวชิ าสขุ ศึกษาโดยใชแนวคดิ แบบหองเรียนกลับ ดานท่ีมีตอความรบั ผิดชอบและผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นมัธยมศึกษา ตอนตน. สาขาวิชาสุขศกึ ษาและพลศึกษา ภาควชิ าหลกั สูตรและการสอน คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สจุ ิตรา ยอดเสนหา. (2555). เสนทางการพฒั นหองเรียนออนไลนมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช มงคลธญั บรุ .ี รายงาน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาต.ิ (2553). พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และแกไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 3) พทุ ธศักราช 2553. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พคุรสุ ภา ลาดพราว. อพชั ชา ชางขวัญยืน และทพิ รัตน สิทธวิ งศ. (2559). การจัดการเรียนการสอนแบบหองเรียนกลับ ดานรวมกับการเรยี นรูแบบโครงงานรายวชิ าคอมพวิ เตอรสารสนเทศขนั้ พืน้ ฐาน สําหรบั นิสติ ปรญิ ญาตรี. นเรศวรวิจยั คร้ังที่ 12: วิจัยและนวัตกรรมกบั การพฒั นาประเทศ. มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. หนา 1344-1353 Google. ศูนยชวยเหลอื ของ Google Classroom, [ออนไลน]. เขาถึงจาก https://support.google.com/edu/classroom/?hl=th#topic=6020277 [2016,Jan 25] Google. ทาํ ความเขาใจเกยี่ วกบั งานของ Classroom, [ออนไลน]. เขาถึงจาก https://support.google.com/edu/classroom/answer/6020260?hl=th&ref_topic=602027 7 [2016,Jan 25] สสวท. แนวทางการจดั การเรียนการสอนดวย GOOGLE CLASSROOM, [ออนไลน] เขาถงึ จาก http://oho.ipst.ac.th/google-classroom-learning-approach/[2018,Feb 23]





Google Classroom 1 1/14 1 2564

Google Classroom / อ

: 1 Google Classroom 1/14 : : : :1 : 2564 1 1/14 Google Classroom 2564 1 11 14 Purposive Selection) 35 1 1 2564 1/14

: 1 Google Classroom 1/14 : 1. 1/14 - 1 2564 - 1/14 21 “Google classroom” Google Apps for Education Google Classroom Google Classroom Google Classroom 1/14 2. Google Classroom 1/14

3. ( 4. 5. 6. ( 1/14 35 1 2564 14 7. 1 Google Classroom 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0 - ( 1/14 35 23 11 1 0 0 0 0 0 0 35 0 0 0 0 0 0 100 65.71 31.43 2.86 0 0 0 0 0 0 80.97

1 2564 1/14 1 8. Google Classroom Google Classroom Google Classroom Classroom Google , gmail Classroom Google classroom Google Classroom 9. Google Classroom 10.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook