19. สงั เกต อธบิ าย การกนิ อาหารของไฮดราและพลานาเรีย 20. อธิบายเกย่ี วกบั โครงสรา้ ง หนา้ ท่ี และกระบวนการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหารภายใน ระบบยอ่ ยอาหารของมนษุ ย์ รวมทั้งหมด 20 ผลการเรียนรู
คำอธบิ ายรายวิชาวิทยาศาสตรเ์ พ่มิ เติม รายวชิ า ชีววิทยา 2 รหสั วิชา ว31242 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาเกี่ยวกับโครโมโซม และสารพันธุกรรม โครงสร้างของดีเอ็นเอ การจำลองดีเอ็นเอ การควบคุม ลักษณะทางพันธุกรรม ของดีเอ็นเอ มิวเทชันและการเกิดมิวเทชัน ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุ ศาสตร์เมนเดล การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศ ยีนบนโครโมโซมเดียวกัน ศึกษาเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ พันธุ วิศวกรรม และการโคลนยีน การหาขนาดของดีเอ็นเอ และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ทางดีเอ็นเอและเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอกับความปลอดภัยทางชีวภาพ และชีวะจริยธรรม ศึกษาเกี่ยวกับ วิวัฒนาการ หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิต พันธุศาสตร์ประชากร ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีน และกำเนิดสปีชีส์ โดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสืบค้นขอ้ มลู การสงั เกต วิเคราะห์ เปรยี บเทยี บ อธบิ าย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทาง วิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้ านการคิดและการ แก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทกั ษะด้านการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นขอ้ มลู อธิบายสมบตั ิและหน้าทีข่ องสารพันธุกรรม โครงสร้างและองคป์ ระกอบทางเคมีของ DNA และสรุปการจำลอง DNA
2. อธิบายและระบุข้นั ตอนในกระบวนการสังเคราะหโ์ ปรตีน และหนา้ ที่ของ DNA และRNA แตล่ ะชนิด ในกระบวนการสงั เคราะห์โปรตนี 3. สืบค้นข้อมูล อธบิ ายการเกิดมิวเทชนั ระดับยีนและระดับโครโมโซม สาเหตกุ ารเกิดมิวเทชนั รวมท้งั ยกตวั อย่างโรคและกลุ่มอาการท่ีเปน็ ผลของการเกดิ มวิ เทชัน 4. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย และสรปุ ผลการทดลองของเมนเดล 5. สรปุ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสารพนั ธุกรรม แอลลีน โปรตีน ลักษณะทางพันธุกรรม และเชือ่ มโยงกับ ความรเู้ รือ่ งพันธุศาสตร์เมนเดล 6. อธบิ ายและสรุปกฎการแยก และกฎแห่งการร่วมกลุ่มอย่างอิสระ และนำกฏของเมนเดล น่ไี ปอธิบาย การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม และใชใ้ นการคำนวณโอกาสในการเกดิ ฟโี นไทป์ และจโี นไทป์ แบบต่าง ๆ ของรุน่ F1 และ F2 7. สืบคน้ ขอ้ มูล วเิ คราะห์ อธบิ าย และสรปุ เก่ียวกบั การถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรม ท่เี ปน็ สว่ น ขยายของพนั ธุศาสตรเ์ มนเดล 8. สืบคน้ ข้อมลู วเิ คราะห์ และเปรยี บเทียบลักษณะทางพันธุกรรมท่มี กี ารแปรผนั ใหม่ต่อเน่ือง และ ลักษณะทางพันธกุ รรมทม่ี ีการแปรผนั ตอ่ เนอ่ื ง 9. อธบิ ายการถ่ายทอดยนี บนโครโมโซม และยกตวั อย่างทางพันธุกรรมท่ีถูกควบคุมด้วยยีนบนออโตโซม และยีนบนโครโมโซมเพศ 10. อธิบายหลักการสรา้ งส่งิ มีชวี ติ ดัดแปรพันธุกรรมโดยใชด้ ีเอ็นเอรคี อมบิแนนท์ 11. สืบคน้ ข้อมูล ยกตวั อย่าง และอภิปรายการนำเทคโนโลยที างดเี อ็นเอไปประยุกต์ใช้ทั้งในดา้ น สิ่งแวดล้อม นิตวิ ิทยาศาสตร์ การแพทย์ การเกษตร และอุตสาหกรรม และขอ้ ควรคำนงึ ถงึ ดา้ นชวี ะจรยิ ธรรม 12. สืบคน้ ขอ้ มูลและอธิบายเกี่ยวกับ หลักฐานทีส่ นับสนุน และข้อมูลทีใ่ ช้อธิบายการเกดิ ววิ ัฒนาการ ของสงิ่ มชี ีวติ 13. อธิบายและเปรยี บเทียบแนวคดิ เกี่ยวกบั ววิ ฒั นาการของสิง่ มีชวี ิตของฌองลามาร์ก และทฤษฎี เก่ียวกับววิ ฒั นาการของสง่ิ มชี ีวิตของชาล์ดารว์ ิน 14. ระบสุ าระสำคญั และอธิบายเงอื่ นไขของภาวะสมดุลของฮารด์ ี-ไวนเ์ บริ ์ก ปัจจยั ท่ีทำใหเ้ กดิ การ เปลยี่ นแปลงความถ่ีของแอลลลี ในประชากร พร้อมทั้งคำนวณหาความถขี่ องแอล และจีโนไทป์ของประชากรโดย ใช้หลกั ของฮารด์ ี-ไวน์เบริ ์ก 15. สืบคน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย และอธบิ ายกระบวนการเกิดสปีชีสใ์ หม่ของสง่ิ มชี ีวติ รวมท้ังหมด 15 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เติม รายวิชา ชีววิทยา 3 รหสั วิชา ว32243 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาเกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอกกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้เพศเมียและการ ปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดและโครงสร้างของเมล็ดและผล ปรึกษาชนิดและลักษณะของเนื้อเยื่อพืช โครงสร้าง ภายในรากลำต้น และใบของพืช ศึกษาการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำของพืช กลไกการลำเลียงน้ำ ธาตุ อาหาร และอาหารในพืช ศึกษาการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช C3 การตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C3 พชื C4 และพชื CAM ปัจจัย ทีม่ ผี ลตอ่ การสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื รวมทงั้ ศึกษาสภาพพักตวั ของเมลด็ และปจั จยั ทมี่ ีผลต่อการงอกของเมล็ด สิ่งเร้าภายในและภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชและการนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร โดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสบื เสาะหาความรู้ การสบื ค้นขอ้ มูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทยี บ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทาง วิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในด้านการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ดา้ นการคิดและการ แก้ปญั หา ดา้ นการสอื่ สาร สิ่งที่เรียนร้แู ละนำความร้ไู ปใชใ้ นชีวติ ของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายวัฏจักรชวี ติ แบบสลบั ของพืชดอก 2. อธิบายและเปรียบเทยี บกระบวนการสร้างเซลลส์ บื พนั ธุ์เพศผู้และเพศเมยี ของพืชดอก และอธบิ าย การปฏสิ นธิของพชื ดอก 3. อธิบายการเกดิ เมลด็ และการเกดิ ผลของพชื ดอก โครงสร้างของเมล็ดและผลและยกตัวอยา่ งการใช้ ประโยชน์จากโครงสรา้ งต่าง ๆ ของเมลด็ และผล 4. อธิบายเก่ยี วกบั ชนดิ และลักษณะของเน้ือเย่ือพืช และเขียนแผนผังเพื่อสรปุ ชนิดของเน้ือเยื่อพืช
5. สงั เกต อธบิ าย และเปรยี บเทยี บโครงสร้างภายในของรากพชื ใบเลย้ี งเดี่ยวและรากพืชใบค่จู ากการตดั ตามขวาง 6. สงั เกต อธิบาย และเปรยี บเทียบโครงสร้างภายในของลำต้นใบเลย้ี งเดี่ยวและลำต้นพชื ใบเลยี้ งคู่จาก การตดั ตามขวาง 7. สังเกต และอธบิ ายโครงสร้างภายในของใบพชื จากการตัดตามขวาง 8. สืบคน้ ข้อมลู สงั เกต และอธิบายการแลกเปล่ียนแกส๊ และการคายนำ้ ของพชื 9. สืบคน้ ขอ้ มลู และอธิบายกลไกการลำเลียงน้ำและธาตุอาหารของพืช 10. สืบค้นขอ้ มูล อธิบายความสำคัญของธาตุอาหาร และยกตวั อยา่ งธาตุอาหารท่ีสำคญั ทม่ี ีตอ่ การ เจริญเติบโตของพชื 11. อธบิ ายกลไกการลำเลียงอาหารในพชื 12. สบื คน้ ขอ้ มูลและสรุปการศึกษาจากการทดลองของนักวทิ ยาศาสตรใ์ นอดีตเก่ียวกับกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง 13. อธบิ ายขน้ั ตอนท่เี กดิ ขึ้นในกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื C3 14. เปรยี บเทยี บกลไกการตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C3 พชื C4 และพชื CAM 15. สืบค้นขอ้ มูล อภิปรายและ สรุปปัจจัยความเขม้ ของแสง ความเข้มข้นของคารบ์ อนไดออกไซด์ และอุณหภมู ิที่มผี ลต่อการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื 16. ทดลอง และอธบิ ายเกย่ี วกับปจั จยั ต่าง ๆ ทมี่ ีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตวั ของเมลด็ และ บอกแนวทางในการแกส้ ภาพพักตัวของเมลด็ 17. สืบค้นข้อมลู อธิบายบทบาทและหนา้ ท่ีของออกซนิ ไซโทไคนิน จบิ เบอเรลลนิ เอทิลีน และกรด แอบไซซกิ และอภิปรายเกีย่ วกบั การนำไปใชป้ ระโยชนท์ างการเกษตร 18. สบื ค้นข้อมูล ทดลอง และอภปิ รายเกี่ยวกับสง่ิ เรา้ ภายนอกที่มีผลตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื รวมทั้งหมด 18 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ รายวิชา ชีววิทยา 4 รหสั วิชา ว32244กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ โครงสร้างและกระบวนการ แลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์และมนุษย์ การทำงานของปอดและการวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของ มนุษย์ ศึกษาระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดในสัตว์โครงสร้างและการทำงาน ของหัวใจและหลอดเลือดในมนุษย์ เซลล์เม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ หมู่เลือดและหลักการให้และรับเลือดใน ระบบ ABO และระบบ Rh ส่วนประกอบและหน้าที่ของน้ำเหลือง โครงสร้างและหน้าที่ของหลอดน้ำเหลือง และต่อมน้ำเหลอื ง ศึกษากลไกการต่อต้านหรือทำลายสิง่ แปลกปลอมแบบไมจ่ ําเพาะและแบบจำเพาะ การสร้าง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกนั รวมทั้งศึกษาเก่ียวกับโครงสรา้ งและ หน้าที่ในการจำกัดของเสียออกจากร่างกายของสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของไต กลไกการทำงานของหน่วยไต และโครงสร้างที่ใช้ลำเลียงปัสสาวะออกจากร่างกายของมนุษย์ และความผิดปกติของไตจากโรคต่าง ๆ โดยใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ขอ้ มูล การสังเกต วเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทาง วิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและ การแก้ปญั หา ด้านการสอ่ื สาร สามารถสือ่ สารส่ิงที่เรยี นรแู้ ละนำความรู้ไปใช้ในชีวติ ของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. สืบค้นข้อมลู อธบิ าย และเปรยี บเทียบโครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของสตั ว์ที่ไม่มที างเดนิ อาหาร สัตว์ทม่ี ีทางเดินอาหารแบบไม่สมบรู ณ์ และสตั ว์ที่มีทางเดินอาหารแบบสมบรู ณ์ 2. สงั เกต อธบิ าย การกนิ อาหารของ ไฮดรา และพลานาเรีย
3. อธบิ ายเก่ยี วกบั โครงสร้าง หนา้ ท่ี และกระบวนการย่อยอาหาร และการดดู ซึมสารอาหารภายใน ระบบยอ่ ยอาหารของมนษุ ย์ 4. สืบค้นขอ้ มลู อธบิ าย และเปรียบเทยี บโครงสรา้ งทีท่ ำหน้าท่แี ลกเปลย่ี นแกส๊ ของฟองน้ำ ไฮดรา พลา นาเรยี ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก 5. สงั เกต และอธิบายโครงสร้างของปอดในสัตว์เลยี้ งลูกด้วยนม 6. สืบค้นขอ้ มูล อธิบายโครงสรา้ งท่ีใช้ในการแลกเปล่ยี นแก๊สและกระบวนการแลกเปล่ียนแกส๊ ของ มนษุ ย์ 7. อธิบายการทำงานของปอด และทดลองวัดปรมิ าตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย์ 8. สืบค้นข้อมลู อธิบายและเปรียบเทยี บระบบหมนุ เวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบ ปิด 9. สงั เกตและอธิบายทิศทางการไหลของเลอื ดและการเคลื่อนท่ขี องเซลลเ์ ม็ดเลอื ดในหางปลา และสรปุ ความสัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของหลอดเลือดกบั ความเรว็ ในการไหลของเลือด 10. อธิบายโครงสร้างและการทำงานของหัวใจและหลอดเลือดในมนุษย์ 11. สงั เกตและอธบิ ายโครงสร้างหวั ใจของสตั วเ์ ลี้ยงลกู ดว้ ยน้ำนม ทศิ ทางการไหลของเลือดผา่ นหวั ใจ ของมนุษย์ และเขยี นแผนผังสรปุ การหมุนเวียนเลอื ดของมนุษย์ 12. สบื คน้ ขอ้ มูล ระบุความแตกตา่ งของเซลลเ์ ม็ดเลือดแดง เซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาว เพลตเลต และพลาสมา 13. อธิบายหมูเ่ ลอื ดและหลักการใหแ้ ละรับเลือดในระบบ ABO และระบบ R h 14. อธบิ าย และสรปุ เกี่ยวกับส่วนประกอบและหนา้ ท่ีของนำ้ เหลอื ง รวมทงั้ โครงสรา้ งและหน้าทีข่ อง หลอดนำ้ เหลือง และตอ่ มน้ำเหลือง 15. สบื คน้ ข้อมลู อธบิ าย และเปรียบเทยี บกลไกการต่อตา้ นหรือทาํ ลายสงิ่ แปลกปลอมแบบไมจ่ ำเพาะ และแบบจำเพาะ 16. สืบคน้ ข้อมูล อธบิ าย และเปรียบเทียบการสร้างภูมคิ ุ้มกันก่อเองและภมู ิคุ้มกนั รับมา 17. สบื คน้ ขอ้ มูลและอธิบายเกี่ยวกบั ความผดิ ปกติของระบบภูมคิ ุ้มกนั ทท่ี ำใหเ้ กิดเอดส์ ภูมิแพ้ การ สรา้ งภูมิตา้ นทานต่อเนือ่ งเยอื่ ตนเอง 18. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย และเปรยี บเทยี บโครงสรา้ งและหน้าท่ีในการกำจดั ของเสยี ออกจากรา่ งกาย ของฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไสเ้ ดอื นดนิ แมลงและสตั ว์มกี ระดูกสนั หลงั 19. อธิบายโครงสรา้ งและหน้าทีข่ องไต และโครงสร้างท่ีใชล้ ำเลียงปสั สาวะออกจากรา่ งกาย 20. อธิบายกลไกการทำงานของไตในการกำจัดของเสยี ออกจากรา่ งกาย และเขยี นแผนผงั สรปุ ขนั้ ตอน การกำจัดของเสียออกจากรา่ งกายโดยหน่วยไต 21. สืบคน้ ข้อมูล อธบิ ายและยกตวั อยา่ งเก่ียวกับความผดิ ปกติของไตอันเน่ืองมาจากโรคต่าง ๆ รวมทั้งหมด 21 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพิม่ เติม รายวชิ า ชีววิทยา 5 รหัสวิชา ว33245 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาเกี่ยวกับการรับรู้และการตอบสนองของสัตว์โครงสร้างและการทำงานของเซลล์ประสาท ศูนย์ ควบคุมระบบประสาทของมนุษย์ การทำงานของระบบประสาท อวัยวะรับความรู้สึก การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์มีกระดูกสันหลัง รวมทั้งการเคลื่อนที่ของมนุษย์ ศึกษาระบบต่อมไร้ท่อ การทำงานร่วมกันของระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาท ฮอร์โมนและการทำงานของฮอรโ์ มน การรักษาสมดุล ของฮอร์โมน การสืบพันธุ์ของสัตว์และมนุษย์ การเจริญเติบโตของสัตว์ การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ กลไกการ เกิดพฤติกรรม ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมและวิวัฒนาการของระบบประสาท และการสื่อสารระหว่างสัตว์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ สังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปรายและสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถใน การตัดสินใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ในด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำ ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทกั ษะด้านการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. สบื คน้ ข้อมลู อธบิ าย และเปรียบเทียบโครงสรา้ งและหน้าท่ี ของระบบประสาทของไฮดรา พลานา เรีย ใส้เดือน ก้งุ หอย แมลงและสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั 2. อธิบายเกยี่ วกับโครงสร้างและหนา้ ทีข่ องเซลลป์ ระสาท 3. อธบิ ายเก่ยี วกบั การเปลย่ี นแปลงของศักย์ไฟฟา้ ท่เี ย่อื หุ้มของเซลลป์ ระสาทและกลไกการทอดกระแส ประสาท
4. อธบิ าย และสรุปเกีย่ วกบั โครงสร้างของระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก 5. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายโครงสร้างและหน้าท่ีของส่วนตา่ ง ๆ ในสมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมอง สว่ นหลัง และไขสันหลงั 6. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ าย เปรียบเทียบ และยกตวั อยา่ งการทำงานของระบบประสาทโซมาติกและระบบ ประสาทอัตโนมัติ 7. สืบค้นข้อมูล อธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าท่ีของ ตา หู จมูก ล้นิ และผวิ หนงั ของมนษุ ย์ ยกตัวอย่างโรค ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และบอกแนวทางในการดูแลปอ้ งกันและ และผิวหนงั ของมนุษย์ ยกตวั อยา่ งโรคต่าง ๆ ท่ี เก่ียวข้อง และบอกแนวทางในการดูแลป้องกนั และรกั ษา 8. สงั เกต และอธิบายการหาตำแหน่งของจุดบอด โฟเวีย และความไวในการรับสมั ผสั ของผิวหนงั 9. สืบค้นข้อมลู อธบิ าย และเปรยี บเทยี บโครงสร้างและหน้าทขี่ องอวัยวะทเี่ กย่ี วข้องกับการเคล่ือนท่ี ของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเล ไส้เดอื นดนิ แมลง ปลา และนก 10. สืบค้นขอ้ มูลและอธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของกระดูกและกลา้ มเน้ือทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการ เคลื่อนไหวและการเคลอื่ นท่ีของมนุษย์ 12. สบื ค้นขอ้ มูลอธิบายและเขียนแผนผังสรปุ หนา้ ที่ของฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและเนื้อเย่อื ทสี่ ร้าง ฮอร์โมน 13. สบื คน้ ขอ้ มูลอธิบายและยกตัวอย่างการสืบพนั ธแุ์ บบไม่อาศัยเพศและอาศยั เพศในสัตว์ 14. สบื ค้นขอ้ มูลอธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของอวัยวะในการสืบพนั ธเุ์ พศชายและระบบสืบพันธุ์เพศหญิง 15. อธิบายกระบวนการสรา้ งสเปริ ์มกระบวนการสรา้ งเซลล์ไขก่ ารปฏิสนธิในมนุษย์ 16. อธบิ ายการเจรญิ เติบโตระยะเอม็ บริโอและระยะหลงั เอ็มบรโิ อของกบไก่และมนุษย์ 17. สืบคน้ ข้อมูลอธิบายเปรียบเทยี บและยกตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นมาแตก่ ำเนิดและพฤตกิ รรมท่ีเกิด จากการเรียนร้ขู องสัตว์ 18. สบื ค้นข้อมลู อธบิ ายและยกตัวอยา่ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพฤติกรรมกับวิวฒั นาการของระบบ ประสาท 19. สืบคน้ ข้อมูลอธบิ ายและยกตัวอยา่ งการสอื่ สารระหว่างสตั วท์ ่ีทำใหส้ ตั ว์แสดงพฤตกิ รรม รวมทั้งหมด 19 ผลการเรยี นรู้
คำอธบิ ายรายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ รายวชิ า ชีววิทยา 6 วิชา ว33246 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพกำเนิดเซลล์เริ่มแรกความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกลุ่มโปร คาริโอตไดแ้ กแ่ บคทีเรียอารเ์ คยี และกล่มุ ยแู คริโอตไดแ้ ก่ โพรทิสต์ พืช ฟังใจ สัตว์ ศกึ ษาการจำแนกสิง่ มีชวี ิต การ ตั้งชื่อ และการระบุชื่อวิทยาศาสตร์ ศึกษาเกี่ยวกับไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของส่ิ งมีชีวิตในระบบนิเวศ ความหลากหลายของระบบนิเวศและกระบวนการที่สำคัญในระบบนิเวศเช่นวัฏจักรสาร และการถ่ายทอด พลังงานในสิ่งมีชีวิต ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของประชากร การเติบโตของประชากร และประชากรมนุษย์ ในแง่ของโครงสร้างอายุของประชากรและอัตราส่วนระหว่างเพศ ศึกษาเก่ียวกับประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งทรัพยากรน้ำ ดิน อากาศ ป่าไม้ และสัตว์ป่ารวมทั้งปัญหาและการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ หลักการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบ ต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้น ข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปรายและสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และมี ความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ดา้ นการคดิ และการแก้ปญั หา ดา้ นการส่อื สาร สามารถส่ือสารสิง่ ทเ่ี รยี นรู้และ นำความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน มีจติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะดา้ นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มท่เี หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อภิปรายความสำคญั ของความหลากหลายทางชวี ภาพ และความเชือ่ มโยงระหว่างความหลากหลาย ทางพันธกุ รรม ความหลากหลายของสปีชีส์ ความหลากหลายของระบบนเิ วศ 2. อธบิ ายการเกดิ เซลลเ์ ร่มิ แรกและวิวัฒนาการของสิง่ มชี วี ติ เซลล์เดียว 3. อธิบายลักษณะสำคญั และยกตวั อย่างสิง่ มชี วี ิตกลุ่มแบคทเี รยี ส่งิ มีชีวิตกลุม่ โพรทสิ ต์ สิ่งมีชีวติ กลมุ่ พชื สิ่งมชี ีวติ กลุ่มฟังไจ และสิ่งมชี วี ิตกล่มุ สตั ว์
4. อธบิ าย และยกตัวอยา่ งการจำแนกสงิ่ มีชีวติ จากหมวดหมู่ใหญ่จนถึงหมวดหมู่ยอ่ ย และวิธกี ารเขียน ชอื่ วทิ ยาศาสตรใ์ นระดบั ขน้ั สปีชสี ์ 5. สร้างไดโคโตมสั คยี ์เพื่อใช้ในการระบุส่งิ มีชีวิตหรอื ตัวอยา่ งทก่ี ำหนด 6. วิเคราะห์ อธิบาย ให้ยกตัวอยา่ งกระบวนการถ่ายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ 7. อธบิ าย ยกตวั อยา่ งการเกิดไบโอม แมกนิฟิเคชัน และบอกแนวทางในการลดการเกิดไบโอม แมกนิฟิเค ชนั 8. โอนข้อมลู ไม่เขียนแผนภาพ เพ่ืออธบิ ายวัฏจกั รไนโตรเจน วฏั จกั รกำมะถัน และวฏั จกั รฟอสฟอรัส 9. สืบคน้ ขอ้ มลู ยกตัวอย่าง และอธบิ ายลักษณะของไบโอมทก่ี ระจายอยตู่ ามเขตภมู ิศาสตรต์ า่ ง ๆ บน โลก 10. สบื ค้นข้อมลู ยกตัวอย่าง อธบิ าย และเปรยี บเทียบการเปลย่ี นแปลงแทนทแี่ บบปฐมภูมิ และการ เปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบทุตยิ ภมู ิ 11. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ าย ยกตัวอย่าง และสรุปเกย่ี วกบั ลักษณะเฉพาะของประชากรของสิง่ มชี วี ติ บาง ชนดิ 12. สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ าย เปรียบเทยี บ และยกตวั อยา่ งการเพมิ่ ของประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียลและ การเพ่ิมของประชากรแบบลอจิสตกิ 13. อธบิ าย และยกตวั อย่างปัจจยั ทค่ี วบคุมการเจรญิ เตบิ โตของประชากร 14. วิเคราะห์ อภปิ ราย และสรปุ ปญั หาการขาดแคลนน้ำ การเกิดมลพษิ ทางน้ำ และผลกระทบทมี่ ตี ่อ มนษุ ย์และสิ่งแวดลอ้ ม รวมท้ังเสนอแนวทางการวางแผนการจดั การน้ำและการแก้ไขปัญหา 15. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหาที่เกดิ กบั ทรัพยากรดนิ และผลกระทบทม่ี ีต่อมนุษยแ์ ละ ส่ิงแวดล้อม รวมทง้ั เสนอแนวทางการแก้ปัญหา 16. วเิ คราะห์ อภปิ ราย และสรุปปัญหามลพษิ ทางอากาศ และผลกระทบทม่ี ีต่อมนุษย์และสิง่ แวดล้อม รวมท้งั เสนอแนวทางการแก้ปัญหา 17. วิเคราะห์ อภิปราย และสรปุ ปัญหาผลกระทบท่เี กิดจากการทำลายป่าไม้ รวมทง้ั เสนอแนวทางใน การป้องกนั การทำลายป่าไมแ้ ละการอนรุ กั ษป์ ่าไม้ 18. วิเคราะห์ อภปิ ราย และสรปุ ปัญหาผลกระทบท่ีทำให้สัตว์ปา่ มีจำนวนลดลง และแนวทางในการ อนุรักษ์สตั วป์ า่ รวมท้ังหมด 18 ผลการเรยี นรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พม่ิ เติม รายวิชา เคมี 1 รหสั วิชา ว31221 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาข้อปฏิบัติเบื้องต้นรายการทำปฏิกิริยาเคมี การเลือกใช้อุปกรณ์และเครื่องมือในการ ปฏบิ ตั ิการการระบุหนว่ ยวัดปริมาณต่าง ๆ ของสาร การเปล่ยี นหน่วยในระบบเอสไอดว้ ยการใช้แฟกเตอร์เปล่ียน หนว่ ย ศกึ ษาแบบจำลองอะตอม สญั ลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุ อนุภาคมูลฐานของธาตุ การจดั เรียงอิเล็กตรอนใน อะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ แนวโน้มสมบัติบางประการของธาตุใน ตารางธาตุตามหมู่และคาบ สมบัติของธาตุโลหะทรานซิชัน การเปรียบเทียบสมบัติกับธาตโุ ลหะในกลุ่มธาตุเรพรี เซนเททีฟ ศึกษาและอธิบายสมบัติ และคำนวณครึ่งชีวิตของไอโซโทป กัมมันตรังสี ยกตัวอย่างการนำธาตุมาใช้ ประโยชน์รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ศึกษาการเกิดพันธะไอออนิก สูตรและการเรียกช่ือ สารประกอบไอออนิกการเปล่ยี นแปลงพลงั งานในการเกิดสารประกอบไอออนิก สมบัตขิ องสารประกอบไอออนิก ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก ศึกษาการเกิดพันธะ และชนิดของพันธะโคเวเลนต์ เขียนสูตร และเรียกชื่อ สารโคเวเลนต์ความยาวพันธะ และพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์ พลังงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาของสารโคเว เลนต์ รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ สมบัติ ของสารโคเวเลนต์ โครงรา่ งตาข่าย ศกึ ษาการเกดิ โลหะ และสมบตั ิของโลหะ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะด้านการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. บอกและอธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้นและปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการทำปฏิกิริยาเคมี เพอ่ื ให้มีความปลอดภยั ทั้งตอ่ ตนเองและผูอ้ ่นื และส่ิงแวดล้อมและเสนอแนวทางแกป้ ญั หาเมอ่ื เกดิ อุบัติเหตุ 2. เลอื กและใชอ้ ุปกรณห์ รอื เครอื่ งมือในการปฏบิ ตั ิการและวัดปริมาณตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. นำเสนอแผนภาพการทดลองการทดลองและเขียนรายงานการทดลอง
4. ระบุหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ของสารและเปลี่ยนหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบ SI ด้วยการใช้แฟค เตอร์เปลยี่ นหนว่ ย 5. สืบค้นข้อมูลสมมติฐานการทดลองหรือผลการทดลอง ที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอแบบจำลอง อะตอมของนกั วทิ ยาศาสตร์ และอธบิ ายววิ ฒั นาการของแบบจำลองอะตอม 6. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม จากสัญลกั ษณน์ วิ เคลยี รร์ วมทงั้ บอกความหมายของไอโซโทป 7. อธิบายการเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อยเมื่อทราบเลข อะตอมของธาตุ 8. ระบหุ มูค่ าบความเปน็ โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะของธาตุ เรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชนั ใน ตารางธาตุ 9. วเิ คราะหแ์ ละบอกแนวโน้มสมบัตขิ องธาตเุ รพรเี ซนเททีฟตามหมู่ และตามคาบ 10. บอกสมบัตขิ องธาตุโลหะแทรนซชิ นั และเปรียบเทียบสมบตั ิของธาตุโลหะในกลุ่มธาตุเรพรีเซน เททฟี 11. อธบิ ายสมบัติ และคำนวณครงึ่ ชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรงั สี 12. สืบค้นข้อมูล และยกตวั อย่างการนำธาตุไปใช้ประโยชน์ รวมทั้งผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี ีวิต และ ส่ิงแวดลอ้ ม 13. อธบิ ายการเกิดไอออน และการเกิดพนั ธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพหรอื สัญลักษณแ์ บบจดุ ของ ลวิ อิส 14. เขียนสูตรและเรยี กช่ือสารประกอบไอออนิก 15. คำนวณพลงั งานทเี่ กย่ี วกับปฏิกริ ิยาการเกดิ สารประกอบไอออนิกจากวฏั จกั รบอร์น - ฮาเบอร์ 16. อธิบายสมบตั ขิ องสารประกอบไอออนิก 17. เขยี นสมการไอออนกิ และสมการไอออนิกสทุ ธขิ องปฏิกริ ยิ าของสารประกอบไอออนิก 18. อธบิ ายการเกิดพันธะโคเวเลนตแ์ บบพันธะเดีย่ วพนั ธะคแู่ ละพันธะสามด้วยโครงสรา้ งลวิ อิส 19. เขียนสูตรและเรียกชือ่ สารโคเวเลนต์ 20. วิเคราะห์และเปรียบเทียบความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์รวมทั้งคำนวณ พลงั งานท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ปฏิกิรยิ าของสารโคเวเลนตข์ องพลงั งานพันธะ 21. คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โดยใช้ทฤษฎีการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนซ์ และ ระบุสภาพขวั้ ของโมเลกุลโคเวเลนต์ 22. ระบุชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ และเปรียบเทยี บจุดหลอมเหลวจดุ เดือดและ การละลายนำ้ ของสารโคเวเลนต์ 23. สืบคน้ ขอ้ มลู และอธิบายสมบตั ขิ องสารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ งตาข่ายชนดิ ต่าง ๆ 24. อธิบายการเกิดพันธะโลหะและสมบตั ิของโลหะ
25. เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และพันธะ สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างการใชป้ ระโยชน์ของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะได้อยา่ งเหมาะสม รวม 25 ผลกรเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์เพม่ิ เตมิ รายวิชา เคมี 2 รหัสวิชา ว31222 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาเกีย่ วกับมวลอะตอมของธาตุ มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลอะตอมเฉล่ยี ของธาตุ มวลโมเลกลุ ของ สาร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งจำนวนโมล อนุภาค มวล และปริมาตรของแกส๊ ท่ี STP ศึกษาหน่วยและการคำนวณ ความเข้มข้นของสารละลาย การทดลองเตรยี มสารละลาย การเปรียบเทยี บจุดเดือดและจดุ หลอมเหลวของสาร บริสุทธิแ์ ละสารละลาย ศึกษาความหมายและเขียนสตู รโมเลกุล สูตรเอมพริ ิคัล หรอื สูตรอยา่ งง่าย และสตู ร โครงสรา้ ง การคำนวณหามวลเปน็ ร้อยละจากสตู ร การคำนวณหาสตู รเอมพิรคิ ลั และสูตรโมเลกุลของสาร ศึกษา การเขียนและดลุ สมการเคมี ทดลองและคำนวณหาอตั ราส่วนจำนวนโมลของสารตง้ั ตน้ ที่ทำปฏิกริ ยิ าพอดีกนั ศกึ ษา สมบตั ขิ องระบบปิดและระบบเปิด ศึกษาและฝกึ คำนวณปริมาณสารในปฏกิ ริ ิยาเคมีท่ีเปน็ ไปตามกฎทรงมวล กฎ สดั ส่วนคงท่ี ศกึ ษาทดลองและคำนวณปริมาตรของแก๊สในปฏกิ ริ ิยาเคมตี ามกฎของเกย์- ลูสแซก และกฎของอาโว กาโดร ศึกษาและฝึกคำนวณหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปริมาณของสารในสมการเคมีนั้น ๆ และสมการเคมีที่ เกี่ยวข้องมากกว่าหนงึ่ สมการ สารกำหนดปรมิ าณ และผลไดร้ ้อยละ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ สังเกต การวิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การ คิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และ ภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคำนวณมวลอะตอมเฉล่ยี ของธาตุ มวลโมเลกลุ และมวลสูตร ได้ 2. อธบิ ายและคำนวณปริมาณใดปริมาณหนงึ่ จากความสัมพนั ธ์ของโมล จำนวนอนภุ าค มวล และ ปรมิ าตรของแกส๊ ท่ี STP ได้ 3. คำนวณอัตราส่วนโดยมวลของธาตุองค์ประกอบของสารประกอบตามกฎสัดสว่ นคงทไ่ี ด้ 4. คำนวณสูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกุลของสารได้ 5. คำนวณความเขม้ ขน้ ของสารละลายในหน่วยต่าง ๆ ได้
6. อธบิ ายวิธีการและเตรียมสารละลายให้มคี วามเขม้ ข้นในหน่วยโมลารติ ี และปริมาตรสารละลายตามที่กำหนด ได้ 7. เปรยี บเทียบจดุ เดอื ดและจุดเยือกแข็งของสารละลายกับสารบริสทุ ธ์ิ รวมทัง้ คำนวณจุดเดอื ดและจดุ เยอื กแข็งของสารละลายได้ 8. แปลความหมายสัญลกั ษณ์ในสมการเคมี เขียนและดลุ สมการเคมีของปฏิกริ ิยาเคมบี างชนิดได้ 9. คำนวณปริมาณของสารในปฏิกริ ยิ าเคมีทเี่ ก่ียวข้องกบั มวลสารได้ 10. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ริ ยิ าเคมที เี่ กยี่ วข้องกบั ความเขม้ ขน้ ของสารละลายได้ 11. คำนวณปริมาณของสารในปฏิกริ ิยาเคมที ่เี ก่ยี วข้องกบั ปริมาตรแกส๊ ได้ 12. คำนวณปริมาณของสารในปฏิกริ ยิ าเคมหี ลายขั้นตอนได้ 13. ระบสุ ารกำหนดปริมาณและคำนวณปริมาณสารตา่ ง ๆ ในปฏกิ ริ ิยาเคมีได้ 14. คำนวณผลได้ร้อยละของผลิตภัณฑ์ในปฏกิ ริ ยิ าเคมีได้ รวม 14 ผลการเรยี นรู้
รายวชิ า เคมี 3 คำอธบิ ายรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เติม ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวชิ า ว32223 กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ศึกษาและอธิบายความสัมพันธ์ของปรมิ าตร ความดัน และอุณหภูมิ คำนวณหาปริมาตร ความดัน หรือ อุณหภูมิของแก๊สตามกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกรย์-ลูสแซก และกฎรวมแก๊ส คำนวณปริมาตร ความ ดัน อุณหภูมิ จำนวนโมล หรือมวลของแก๊สตามกฎของอาโวกาโดร และกฎแก๊สอุดมคติ คำนวณความดันย่อย หรอื จำนวนโมลของแก๊สในแกส๊ ผสมโดยใช้กฎความดันย่อยของดอลตัน ศกึ ษาและทดลองการแพร่และอัตราการ แพรข่ องแกส๊ คำนวณเก่ียวกับกฎการแพร่ผา่ นของเกรแฮม ศึกษาเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับสมบัติของแก๊ส ศึกษา และทดลองเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารจากกราฟ ศึกษาและ วิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้ทฤษฎีจลน์และการชนกันของอนุภาค ศึกษา ทดลอง และ อธบิ ายผลของความเข้มข้น พน้ื ทผี่ วิ ของสารต้ังตน้ อุณหภูมิ และตวั เร่งปฏิกิริยาท่ีมีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ยกตัวอย่างและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน หรืออุตสาหกรรม ศึกษาการ เกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า ปฏิกิริยาย้อนกลับ และปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ ทดลองปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ ศึกษาและ ทดลองสมดุลเคมีในปฏิกิริยา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ณ ภาวะสมดุล ค่าคงที่ กับสมการเคมี คำนวณค่าคงที่สมดุล และหาความเข้มข้นของสารในปฏิกิริยา ณ ภาวะสมดุล ทดลองเพื่อศึกษา ผลของความเข้มข้น ความดัน และอุณหภูมิต่อภาวะสมดุลและค่าคงที่สมดุล ศึกษาหลักของเลอชาเตอลิเอ และ การนำหลักของเลอชาเตอลิเอไปใช้อธิบายสมดุลเคมีของกระบวนการที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต ปรากฏการณ์ใน ธรรมชาติและกระบวนการในอุตสาหกรรม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ สังเกต การวิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การ คิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และ ภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความสัมพันธแ์ ละคำนวณปริมาตร ความดนั หรืออณุ หภมู ขิ องแก๊สท่ภี าวะตา่ ง ๆ ตามกฎของ บอยล์ กฎของชารล์ กฎของเกย์-ลูสแซก
2. คำนวณปริมาตร ความดัน หรืออณุ หภมู ิของแก๊สท่ภี าวะตา่ ง ๆ ตามกฎรวมแก๊ส 3. คำนวณปรมิ าตร ความดนั อุณหภูมิ จำนวนโมล หรือมวลของแก๊สจากความสัมพนั ธต์ ามกฎของอาโวกา โดร และกฎแก๊สอุดมคติ 4. คำนวณความดนั ย่อยหรือจำนวนโมลของแก๊สในแก๊สผสม โดยใช้กฎความดนั ย่อยของดอลตัน 5. อธบิ ายการแพร่ของแกส๊ โดยใช้ทฤษฎจี ลนข์ องแกส๊ คำนวณและเปรียบเทียบอตั ราการแพรข่ องแก๊ส โดยใช้กฎการแพรผ่ า่ นของเกรแฮม 6. สืบค้นข้อมลู นำเสนอตวั อยา่ ง และอธบิ ายการประยุกต์ใชค้ วามรเู้ ก่ียวกบั สมบัติและกฎต่าง ๆ ของ แกส๊ ในการอธบิ ายปรากฏการณ์ หรือแกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวันและในอตุ สาหกรรม 7. ทดลองและเขียนกราฟการเพมิ่ ข้นึ หรือลดลงของสารท่ีทำการวดั ในปฏิกริ ยิ า 8. คำนวณอตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี และเขียนกราฟการลดลงหรอื เพิ่มขน้ึ ของสารท่ีไม่ไดว้ ัดใน ปฏิกริ ิยา 9. เขียนแผนภาพ และอธบิ ายทศิ ทางการชนกนั ของอนภุ าคและพลังงานท่สี ่งผลต่ออตั ราการเกิดปฏิกริ ิยา เคมี 10. ทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้น พื้นท่ีผิวของสารตง้ั ตน้ อณุ หภูมิ และตวั เร่งปฏิกริ ยิ าท่ีมีต่อ อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี 11. เปรียบเทยี บอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเมื่อมกี ารเปลี่ยนแปลงความเข้มขน้ พ้ืนทผ่ี วิ ของสารตัง้ ตน้ อุณหภมู ิ และตัวเรง่ ปฏิกิรยิ า 12. ยกตัวอย่างและอธบิ ายปัจจยั ที่มีผลตอ่ อัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีในชวี ติ ประจำวัน หรือ อตุ สาหกรรม 13. ทดสอบและอธิบายความหมายของปฏิกิริยาผนั กลบั ไดแ้ ละภาวะสมดุล 14. อธิบายการเปลีย่ นแปลงความเขม้ ข้นของสารอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าไปข้างหน้า และอัตราการ เกิดปฏิกริ ิยาย้อนกลบั เม่ือเริ่มปฏิกิรยิ าจนกระทง่ั ระบบอยู่ในภาวะสมดุล 15. คำนวณคา่ คงทสี่ มดุลของปฏกิ ริ ิยา 16. คำนวณความเข้มขน้ ของสารท่ีภาวะสมดลุ 17. คำนวณค่าคงท่ีสมดุลหรือความเขม้ ข้นของปฏกิ ิริยาหลายขั้นตอน 18. ระบุปจั จัยทมี่ ีผลตอ่ ภาวะสมดุลและคา่ คงทส่ี มดลุ ของระบบ รวมทั้งคาดคะเนการเปลยี่ นแปลงที่ เกิดขึน้ เม่ือภาวะสมดุลของระบบถูกรบกวน โดยใช้หลกั ของเลอชาเตอลเิ อ 19. ยกตวั อยา่ ง และอธบิ ายสมดุลเคมีของกระบวนการที่เกิดข้นึ ในสง่ิ มชี ีวติ ปรากฏการณใ์ นธรรมชาติ และกระบวนการในอุตสาหกรรม รวม 19 ผลการเรยี นรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พ่มิ เตมิ รายวชิ า เคมี 4 รหสั วชิ า ว32224 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาไอออนในสารละลายกรดและเบส ทฤษฎกี รด-เบสของอารเ์ รเนียส เบรินสเตด-ลาวรี และลิวอิส ศกึ ษาและทดลองเก่ียวกบั การถ่ายโอนโปรตอนของสารละลายกรด-เบส ศึกษาคู่กรด-เบส คำนวณและเขียน สมการการแตกตวั ของกรด-เบส การคำนวณค่าคงท่ีการแตกตวั เปน็ ไอออนของกรดอ่อนและเบสอ่อน ศึกษาและ ทดลองการแตกตัวเปน็ ไอออนของน้ำ การคำนวณคา่ คงที่ของการแตกตัวของนำ้ pH ของสารละลายกรด-เบส ศกึ ษาและทดลองเร่ืองปฏกิ ิริยาสะเทนิ และปฏิกริ ิยาการเกิดเกลอื จากปฏิกริ ยิ าระหว่างสารละลายกรดกับ สารละลายเบส ปฏิกิริยาไฮโดรลซิ ิสของเกลือ ศึกษาเกย่ี วกับการไทเทรตสารละลายกรด-เบส การเขียนกราฟและ การหาจุดสมมูลจากกราฟของการไทเทรต และคำนวณหาความเขม้ ข้นของสารละลายกรด-เบส ศกึ ษาหลักการ เลอื กใชอ้ นิ ดิเคเตอรส์ ำหรบั ไทเทรตกรด-เบส ศกึ ษาและทดลองสมบัติความเปน็ บฟั เฟอร์ของสารละลาย ศกึ ษา และทดลองการถ่ายโอนอเิ ลก็ ตรอนในปฏกิ ิริยาระหวา่ งโลหะกบั สารละลายของโลหะไอออน ศกึ ษาปฏิกิริยา ออกซเิ ดชัน ปฏกิ ริ ิยารีดกั ชนั ตัวรีดิวซ์ และตัวออกซไิ ดส์ การเขยี นและดลุ สมการรีดอกซ์โดยใชเ้ ลขออกซเิ ดชนั และครงึ่ ปฏกิ ริ ยิ า ศกึ ษาเซลล์ไฟฟ้าเคมี ศึกษาและทดลองเก่ียวกับหลกั การของเซลลก์ ัลวานกิ ศกึ ษาการเขยี น แผนภาพของเซลลก์ ัลวานกิ การหาค่าศักยไ์ ฟฟา้ ของเซลล์และศกั ย์ไฟฟา้ มาตรฐานของครึ่งเซลลป์ ฏกิ ริ ิยาในเซลล์ กัลวานิกประเภทเซลลป์ ฐมภูมแิ ละเซลลท์ ตุ ิยภูมบิ างชนดิ ทดลองเพือ่ ศึกษาหลกั การสรา้ งและการทำงานของ เซลลส์ ะสมไฟฟ้าแบบตะก่ัว ศึกษาหลักการของเซลล์อิเลก็ โทรไลตกิ และทดลองการแยกสารละลายด้วยไฟฟา้ ตามหลกั การของเซลล์อิเลก็ โทรไลติก ศึกษาการแยกสารที่หลอมเหลวด้วยไฟฟ้า ศึกษาและทดลองชบุ โลหะด้วย กระแสไฟฟา้ ศึกษาวิธกี ารทำใหโ้ ลหะบริสุทธิ์ ศกึ ษาและทดลองเกย่ี วกบั การผกุ ร่อนและการปอ้ งกนั การผกุ ร่อน ของโลหะ ศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยที เี่ ก่ยี วขอ้ งกับเซลลไ์ ฟฟ้าเคมี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ สังเกต การวิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การ คิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และ ภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทเี่ หมาะสม
ผลการเรยี นรู้ 1. ระบุ และอธบิ ายวา่ สารเป็นกรดหรอื เบสโดยใช้ทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เรเนยี สเบรินสเตด–ลาวรแี ละลวิ อสิ 2. ระบคุ กู่ รด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี 3. คาํ นวณ และเปรียบเทยี บความสามารถในการแตกตวั หรอื ความแรงของกรดและเบส 4. คํานวณคา่ pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนยี มไอออนหรอื ไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรดและ เบส 5. เขยี นสมการเคมีแสดงปฏิกริ ิยาสะเทนิ และระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทิน 6. เขียนปฏกิ ิรยิ าไฮโดรลิซิสของเกลือ และระบคุ วามเปน็ กรด-เบสของสารละลายเกลอื 7. ทดลอง และอธบิ ายหลักการการไทเทรตและเลอื กใชอ้ นิ ดเิ คเตอร์ท่ีเหมาะสมสาํ หรับการไทเทรตกรด- เบส 8. คาํ นวณปรมิ าณสารหรือความเข้มข้นของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต 9. อธบิ ายสมบัติองคป์ ระกอบ และประโยชนข์ องสารละลายบัฟเฟอร์ 10. สบื คน้ ข้อมูลและนาํ เสนอตวั อย่างการใช้ประโยชน์ และการแกป้ ญั หาโดยใช้ความรู้เก่ียวกับกรด– เบส 11. คํานวณเลขออกซเิ ดชัน และระบุปฏกิ ิรยิ าท่ีเปน็ ปฏิกิริยารดี อกซ์ 12. วเิ คราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงเลขออกซิเดชนั และระบุตวั รีดวิ ซแ์ ละตวั ออกซิไดส์ รวมทั้งเขยี นครง่ึ ปฏกิ ิริยาออกซเิ ดชนั และคร่งึ ปฏกิ ิริยารีดกั ชนั ของปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์ 13. ทดลอง และเปรยี บเทยี บความสามารถในการเปน็ ตวั รีดิวซ์หรือตวั ออกซิไดส์ และเขียนแสดง ปฏกิ ริ ยิ า รดี อกซ์ 14. ดุลสมการรดี อกซด์ ว้ ยการใชเ้ ลขออกซเิ ดชันและวธิ คี รึง่ ปฏกิ ริ ิยา 15. ระบอุ งคป์ ระกอบของเซลล์เคมีไฟฟ้า และเขียนสมการเคมขี องปฏกิ ิริยาท่ีแอโนดและแคโทด ปฏกิ ิริยารวม และแผนภาพเซลล์ 16. คํานวณค่าศกั ย์ไฟฟา้ มาตรฐานของเซลลแ์ ละระบุประเภทของเซลลเ์ คมไี ฟฟา้ ขวั้ ไฟฟา้ และปฏิกิริยา เคมที เ่ี กดิ ขน้ึ 17. อธิบายหลักการทาํ งาน และเขยี นสมการแสดงปฏกิ ิรยิ าของเซลล์ปฐมภูมิและเซลลท์ ุตยิ ภูมิ 18. ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟา้ และอธิบายหลักการทางเคมีไฟฟ้าท่ีใชใ้ นการชุบ โลหะ การแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า การทาํ โลหะใหบ้ ริสุทธิ์ และการป้องกนั การกดั กรอ่ นของโลหะ 19. สืบค้นข้อมลู และนาํ เสนอตัวอย่างความก้าวหน้าทางเทคโนโลยที ่เี กยี่ วขอ้ งกับเซลลเ์ คมีไฟฟ้าใน ชวี ติ ประจําวนั รวม 19 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เติม รายวชิ า เคมี 5 รหัสวชิ า ว33225 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ สบื คน้ ข้อมลู และนำเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรียท์ ี่มีพนั ธะเดี่ยว พนั ธะคู่ หรือพนั ธะสาม เขียนสูตร โครงสรา้ งลวิ อสิ สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสตู รโครงสรา้ งแบบเส้นของสารประกอบอินทรยี ์ วิเคราะห์โครงสร้าง และระบุประเภทของสารประกอบอนิ ทรีย์จากหมู่ฟังก์ชัน เขียนสูตรโครงสร้างและเรียกชื่อสารประกอบอนิ ทรีย์ ประเภทต่าง ๆ ที่มีหมู่ฟังก์ชันไม่เกิน 1 หมู่ ตามระบบ IUPAC เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบ อินทรีย์ประเภทต่าง ๆ วิเคราะห์และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในนำ้ ของสารประกอบอินทรีย์ที่มหี มู่ ฟังก์ชัน ขนาดโมเลกุล หรือโครงสร้างต่างกัน ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขียนผลิตภัณฑ์ จากปฏิกิรยิ าการเผาไหม้ ปฏกิ ิริยากับโบรมนี หรือปฏิกริ ิยากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต เขยี นสมการเคมีและ อธบิ ายการเกดิ ปฏิกิรยิ าเอสเทอริฟเิ คชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์ ปฏิกิริยาการไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะ ปอนนิฟิเคชัน ทดสอบปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน สืบค้น ข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและอุตสาหกรรม ระบุ ประเภทของปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์จากโครงสร้างของมอนอเมอร์หรือพอลิเมอร์ วิเคราะห์และอธิบาย ความสัมพันธร์ ะหว่างโครงสรา้ งและสมบตั ิของพอลิเมอร์ รวมทัง้ การนำไปใช้ประโยชน์ ทดสอบและระบปุ ระเภท ของพลาสตกิ และผลติ ภัณฑ์ยาง รวมทั้งการนำไปใช้ประโยชน์ อธบิ ายผลของการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง และการ สังเคราะห์พอลิเมอร์ที่มีต่อสมบัติของพอลิเมอร์สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างผลกระทบจากการใช้และการ กำจดั ผลิตภัณฑ์พอลเิ มอรแ์ ละแนวทางแกไ้ ข โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะดา้ นการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. สืบค้นข้อมลู และนำเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ท่ีมีพันธะเดีย่ ว พันธะคู่ หรือพนั ธะสามท่ีพบใน ชวี ิตประจำวัน
2. เขยี นสูตรโครงสร้างลวิ อสิ สตู รโครงสร้างแบบยอ่ และสูตรโครงสรา้ งแบบเส้นของสารประกอบอนิ ทรีย์ 3. วเิ คราะห์โครงสรา้ ง และระบปุ ระเภทของสารประกอบอินทรีย์จากหมฟู่ ังกช์ นั 4. เขยี นสตู รโครงสรา้ งและเรียกช่ือสารประกอบอนิ ทรยี ป์ ระเภทต่าง ๆ ที่มีหมู่ฟงั ก์ชนั ไม่เกิน 1 หมู่ ตามระบบ IUPAC 5. เขียนไอโซเมอรโ์ ครงสร้างของสารประกอบอนิ ทรีย์ประเภทตา่ ง ๆ 6. วิเคราะห์ และเปรยี บเทียบจุดเดอื ดและการละลายในน้ำของสารประกอบอนิ ทรีย์ท่ีมีหมูฟ่ งั ก์ชัน ขนาดโมเลกลุ หรือโครงสรา้ งต่างกนั 7. ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขียนผลติ ภณั ฑ์จากปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้ ปฏิกริ ยิ า กบั โบรมนี หรือปฏกิ ิรยิ ากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต 8. เขียนสมการเคมีและอธิบายการเกิดปฏิกริ ยิ าเอสเทอริฟเิ คชนั ปฏกิ ิริยาการสงั เคราะห์เอไมด์ ปฏิกิรยิ าไฮโดรลซิ ิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟเิ คชัน 9. ทดสอบปฏกิ ริ ิยาเอสเทอริฟเิ คชัน ปฏิกริ ยิ าไฮโดรลิซิส และปฏกิ ิรยิ าสะปอนนฟิ เิ คชัน 10. สบื คน้ ข้อมลู และนำเสนอตัวอย่างการนำสารประกอบอินทรยี ไ์ ปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั และ อตุ สาหกรรม 11. ระบปุ ระเภทของปฏิกริ ิยาการเกดิ พอลิเมอร์จากโครงสรา้ งของมอนอเมอร์หรือพอลเิ มอร์ 12. วเิ คราะห์ และอธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งโครงสรา้ งและสมบัตขิ องพอลิเมอร์ รวมท้ังการนำไปใช้ ประโยชน์ 13. ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสติกและผลติ ภัณฑ์ยาง รวมทัง้ การนำไปใชป้ ระโยชน์ 14. อธบิ ายผลของการปรับเปล่ียนโครงสรา้ ง และการสงั เคราะห์พอลเิ มอรท์ ี่มตี อ่ สมบัติของพอลิเมอร์ 15. สืบคน้ ขอ้ มูล และนำเสนอตวั อย่างผลกระทบจากการใช้และการกำจัดผลิตภณั ฑพ์ อลเิ มอรแ์ ละแนว ทางแก้ไข รวม 15 ผลการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์เพม่ิ เติม รายวชิ า เคมี 6 รหสั วิชา ว33226 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************ กำหนดปัญหาและนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมี แสดงหลักฐานการบูรณา การความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น รวมทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการออกแบบ เชงิ วิศวกรรม เพื่อแกป้ ญั หาในสถานการณ์หรือประเด็นท่สี นใจ นำเสนอผลงานหรอื ชนิ้ งานท่ีได้จากการแก้ปัญหา และแสดงหลักฐานการเข้าร่วมการสัมมนา การเข้าร่วมประชุมวิชาการ หรือการแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ในงาน นิทรรศการ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทีเ่ หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. กำหนดปัญหาและนำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจำวนั การประกอบอาชีพ หรอื อุตสาหกรรม 2. แสดงหลักฐานถึงการบรู ณาการความร้ทู างเคมรี ่วมกบั สาขาวิชาอ่ืน รวมทัง้ ทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตรห์ รือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเนน้ การคิดวเิ คราะห์ การแกป้ ญั หาและความคิด สร้างสรรค์ เพอ่ื แก้ปญั หาในสถานการณห์ รือประเด็นที่สนใจ 3. นำเสนอผลงานหรอื ชน้ิ งานที่ไดจ้ ากการแก้ปญั หาในสถานการณ์หรือประเด็นท่สี นใจ โดยใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 4. แสดงหลกั ฐานการเขา้ รว่ มการสัมมนา การเข้ารว่ มประชมุ วชิ าการ หรือการแสดงผลงาน สิ่งประดษิ ฐใ์ นงานนทิ รรศการ รวม 4 ผลการเรยี นรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ รายวิชา ฟิสิกส์ 1 รหสั วิชา ว31201 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาความรู้ทางฟสิ กิ ส์ ประวัตคิ วามเปน็ มา พฒั นาการของหลกั การและแนวคดิ ทางฟิสิกส์ การวัด ปรมิ าณทางฟิสกิ ส์ ความคลาดเคลือ่ นในการวัด การแสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟ ความหมายจากกราฟ เส้นตรง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตำแหนง่ การกระจัด ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนท่ีของวัตถุในแนวตรงท่ีมี ความเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ คา่ ความเร่งโน้มถ่วงของโลก แรงลพั ธข์ องแรงสองแรงท่ีทำมุมตอ่ กนั กฎการ เคลื่อนท่ีของนิวตนั กฎความโนม้ ถว่ งสากล การใช้กฎการเคล่ือนท่ขี องนวิ ตนั กับสภาพการเคล่ือนท่ีของวัตถุ แรง เสียดทานระหวา่ งผวิ สัมผสั ของวัตถุคู่หน่งึ ๆ ในกรณีที่วตั ถหุ ยุดนงิ่ และวตั ถุเคลื่อนท่ี สัมประสทิ ธค์ิ วามเสียดทาน ระหวา่ งผิวสัมผัสของวตั ถุคู่หนง่ึ ๆ และนำความรู้เร่ืองแรงเสยี ดทานไปใช้ในชีวติ ประจำวัน การเคลอ่ื นทีแ่ บบ โพรเจกไทล์ และปรมิ าณตา่ ง ๆ ของการเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจกไทล์ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศนู ย์กลาง รัศมขี อง การเคลื่อนท่ี อัตราเรว็ เชงิ เสน้ อตั ราเร็วเชิงมมุ มวลของวัตถุในการเคล่ือนทแ่ี บบวงกลมในระนาบระดบั การ ประยกุ ต์ใช้ความรกู้ ารเคลอื่ นที่แบบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทียม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทกั ษะดา้ นการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. สืบคน้ และอธบิ ายการคน้ หาความร้ทู างฟสิ กิ ส์ ประวตั ิความเป็นมา รวมท้ังพัฒนาการของหลักการ และแนวคดิ ทางฟิสิกสท์ ีม่ ีผลต่อการแสวงหาความร้ใู หม่และการพัฒนาเทคโนโลยไี ด้ 2. วัดและรายงานผลการวดั ปรมิ าณทางฟิสิกส์ได้ถูกตอ้ งเหมาะสม โดยนำความคลาดเคลอ่ื นในการวดั มาพิจารณาในการนำเสนอผล รวมท้งั แสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟ วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายจาก กราฟเสน้ ตรงได้
3. ทดลองและอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งตำแหน่ง การกระจัด ความเรว็ และความเร่งของการ เคลอื่ นที่ของวตั ถใุ นแนวตรงท่ีมคี วามเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ รวมท้ังทดลองหาคา่ ความเร่งโน้มถว่ งของ โลก และคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องได้ 4. ทดลองและอธิบายการหาแรงลพั ธข์ องแรงสองแรงที่ทำมุมตอ่ กนั ได้ 5. เขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุอิสระ ทดลองและอธบิ ายกฎการเคลื่อนท่ีของนวิ ตันและการ ใชก้ ฎการเคล่ือนทีข่ องนิวตนั กบั สภาพการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ รวมท้งั คำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้องได้ 6. อธบิ ายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโนม้ ถ่วงท่ที ำให้วตั ถุมีนำ้ หนกั รวมทง้ั คำนวณปริมาณ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องได้ 7. วเิ คราะห์ อธิบาย และคำนวณแรงเสยี ดทานระหวา่ งผิวสมั ผสั ของวัตถุคู่หนงึ่ ๆ ในกรณีทวี่ ัตถุหยดุ น่งิ และวัตถุเคลื่อนที่ รวมทั้งทดลองหาสัมประสทิ ธค์ิ วามเสียดทานระหวา่ งผวิ สมั ผสั ของวตั ถุคู่หน่ึง ๆ และนำความรู้ เรือ่ งแรงเสยี ดทานไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ 8. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และ ทดลองการเคล่ือนทแี่ บบโพรเจกไทล์ได้ 9. ทดลองและอธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงสศู่ ูนย์กลาง รศั มีของการเคลือ่ นท่ี อัตราเร็วเชงิ เส้น อตั ราเรว็ เชงิ มมุ และมวลของวตั ถุในการเคลื่อนท่ีแบบวงกลมในระนาบระดบั รวมทง้ั คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่ เก่ียวขอ้ ง และประยุกตใ์ ช้ความรูก้ ารเคลื่อนท่แี บบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทียมได้ รวมทั้งหมด 9 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ รายวิชา ฟสิ ิกส์ 2 รหสั วิชา ว31202 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ************************************************************************************************ ศึกษางานของแรงคงตัวจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับตำแหน่ง กำลังเฉลี่ย พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานจลน์ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งงานกับ พลังงานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริงยืดออก ความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น ความสัมพันธ์ระหว่างงานของแรงลัพธ์และพลังงานจลน์ งานที่เกิดขึ้นจาก แรงลพั ธ์ กฎการอนุรกั ษพ์ ลังงานกล ปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การเคลื่อนท่ีของวตั ถใุ นสถานการณ์ต่าง ๆ โดย ใช้กฎการอนุรักษ์พลังงานกล การทำงาน ประสิทธิภาพ การได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิดโดย ใช้ความรู้เรื่องงานและสมดุลกลในการพิจารณา โมเมนตัมของวัตถุ การดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์กับเวลา ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดลกับโมเมนตัม ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการ ชนของวัตถุในหนึ่งมิติทั้งแบบยืดหยุ่น ไม่ยืดหยุ่น การดีดตัวแยกจากกันในหนึ่งมิติที่เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์ โมเมนตัม สมดลุ กลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวมของโมเมนต์ท่ีมีต่อการหมนุ แรงคูค่ วบ ผลของแรงคู่ควบที่มีต่อ สมดุลของวัตถุ แผนภาพของแรงที่กระทำต่อวตั ถุอิสระเมื่อวตั ถุอยู่ในสมดุลกล สมดุลของแรงสามแรง สภาพการ เคลื่อนที่ของวัตถเุ มื่อแรงท่ีกระทำตอ่ วัตถุผ่านศูนย์กลางมวลของวัตถุ และผลของศูนย์ถ่วงที่มีต่อเสถียรภาพของ วตั ถุ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์และคำนวณงานของแรงคงตัวจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับ ตำแหนง่ รวมทั้งอธิบายและคำนวณกำลังเฉล่ียได้ 2. อธิบายและคำนวณพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างงานกับ พลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหวา่ งงานกับพลังงานศกั ย์โนม้ ถ่วงความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงทีใ่ ช้ดึงสปรงิ
กับระยะที่สปริงยืดออกและความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่าง งานของแรงลัพธแ์ ละพลงั งานจลน์ และคำนวณงานท่ีเกดิ ข้นึ จากแรงลัพธ์ได้ 3. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทั้งวิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการ เคล่ือนทีข่ องวัตถใุ นสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใชก้ ฎการอนุรักษ์พลังงานกลได้ 4. อธิบายการทำงาน ประสิทธิภาพ และการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด โดยใช้ ความร้เู รือ่ งงานและสมดลุ กล รวมท้ังคำนวณประสทิ ธิภาพและการได้เปรยี บเชิงกลได้ 5. อธิบายและคำนวณโมเมนตัมของวตั ถุและการดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธร์ ะหวา่ ง แรงกับเวลา รวมทง้ั อธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงดลกับโมเมนตมั ได้ 6. ทดลอง อธิบาย และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหน่ึงมิติทั้งแบบยืดหยุ่น ไม่ ยืดหยุ่น และการดดี ตัวแยกจากกนั ในหนงึ่ มติ ซิ ่งึ เปน็ ไปตามกฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตัมได้ 7. อธิบายสมดลุ กลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวม ของโมเมนตท์ ีม่ ตี อ่ การหมนุ แรงคคู่ วบและผลของแรง คู่ควบที่มีต่อสมดุลของวัตถุเขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลกล และคำนวณ ปริมาณต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง รวมทัง้ ทดลองและอธบิ ายสมดุลของแรงสามแรงได้ 8. สังเกตและอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ เมื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุผ่านศูนย์กลางมวลของวัตถุ และผลของศนู ยถ์ ว่ งทม่ี ตี อ่ เสถียรภาพของวตั ถไุ ด้ รวมทั้งหมด 8 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พ่มิ เตมิ รายวิชา ฟิสิกส์ 3 รหสั วิชา ว32203 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮารม์ อนกิ อย่างง่ายของระบบมวล-สปริงเบา เงาของวัตถุ ที่เคลื่อนท่ีเป็นวงกลมสม่ำเสมอ การแกว่งของลกู ตุ้มนาฬิกาอย่างง่าย การสั่นพ้อง การถ่ายโอนพลงั งานของคล่ืน กล ชนิดของคลื่น รปู ร่างและสว่ นประกอบของคลื่น คลนื่ ผิวน้า คลน่ื ในเส้นเชือก การซ้อนทับของคล่ืน หลักของ ฮอยเกนส์ การสะท้อนของคลื่น การหักเหของคล่ืน การเลี้ยวเบนของคลืน่ การแทรกสอดของคลืน่ การเคลื่อนที่ ของเสียงผ่านอากาศ อัตราเร็วของคลื่นเสียง การสะท้อนของเสียง การหักเหของเสียง การเลี้ยวเบนของเสียง การแทรกสอดของเสียง ความเข้มเสียง ระดับเสียง หูกับการได้ยิน มลภาวะทางเสียง เสียงดนตรี ระดับสูงต่ำของเสียง คุณภาพเสียง การสั่นพ้องของเสียง บีต คลื่นนิ่งของเสียงในท่อ ปรากฏการณ์ด อปเพลอร์ คลื่นกระแทก การนำความรู้ของเสียงไปใช้ประโยชน์ การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง การสะท้อน ของแสงที่ผวิ วตั ถุตามกฎการสะท้อน การเขียนรงั สีของแสง การคำนวณตำแหน่งและขนาดภาพของวัตถุเม่ือแสง ตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม การหักเหของแสง กฎการหักเหของแสง ภาพที่เกิดจากการหักเหที่ผิวเรียบ ความลึกจริง ความลึกปรากฏ มุม วิกฤตและการสะท้อนกลับหมด การเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง การหาตำแหน่ง ขนาด ชนิดของภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกัส ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง เช่น การกระจายแสง รงุ้ การทรงกลด มิราจ เปน็ ต้น ทัศนอปุ กรณ์ เช่น เครื่องฉายภาพ กล้องถา่ ยรูป กลอ้ งจุลทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์ เป็นตน้ ความสว่าง ตา และการมองเหน็ สี การผสมสารสี การผสมแสง สาเหตขุ องการบอดสี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่าง ยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. ทดลอง และอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย รวมทั้งคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งได้
2. อธบิ ายความถีธ่ รรมชาติของวตั ถุและการเกดิ การส่ันพ้องได้ 3. อธิบายปรากฏการณค์ ล่นื ชนิดของคลืน่ สว่ นประกอบของคลนื่ การแผข่ องหน้าคล่นื ดว้ ยหลักการของ ฮอยเกนส์ และการรวมกันของคลื่นตามหลักการซ้อนทับ พร้อมทั้งคำนวณ อัตราเร็ว ความถี่ และ ความยาวคล่นื ได้ 4. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำ รวมทั้งคำนวณ ปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวข้องได้ 5. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างคลื่น การกระจัดของ อนุภาคกับคล่ืน ความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึน้ กับอุณหภมู ิในหนว่ ยองศาเซลเซียส สมบัติ ของคลืน่ เสยี ง ได้แก่ การสะทอ้ น การหักเห การแทรกสอด และการเล้ียวเบน รวมท้ังคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้องได้ 6. อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยิน คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง รวมท้ัง คำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งได้ 7. ทดลอง และอธบิ ายการเกดิ การส่นั พ้องของอากาศในท่อปลายเปดิ หนงึ่ ด้าน รวมทัง้ สังเกต และอธิบาย การเกิดบีต คลื่นนิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสียง คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำความรเู้ ร่ืองเสยี งไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ 8. ทดลอง และอธบิ ายการสะท้อนของแสงที่ผิววัตถุตามกฎการสะท้อน เขียนรงั สีของแสงและคำนวณตำแหน่ง และขนาดภาพของวัตถุ เม่ือแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมทั้งอธบิ าย การนำความรู้เรื่องการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมไปใช้ประโยชน์ใน ชีวติ ประจำวันได้ 9. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดรรชนีหักเห มุมตกกระทบ และมุมหักเห รวมทั้งอธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่างความลึกจริง และความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง และ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งได้ 10. ทดลอง และเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง หาตำแหน่ง ขนาด ชนิดของภาพ และ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกัส รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และอธิบายการนำความรเู้ รือ่ งการหกั เหของแสงผา่ นเลนส์บางไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั ได้ 11. อธิบายปรากฏการณธ์ รรมชาติทเ่ี ก่ยี วกับแสง เชน่ รงุ้ การทรงกลด มิราจ การเห็นท้องฟา้ เปน็ สตี ่าง ๆ ในช่วงเวลาต่างกนั ได้ 12. สังเกต และอธบิ ายการมองเหน็ แสงสี สขี องวตั ถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสี รวมท้งั อธิบายสาเหตุ ของการบอดสีได้ รวม 12 ผลการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพิ่มเตมิ รายวชิ า ฟิสิกส์ 4 รหสั วิชา ว32204 กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายการศึกษาแสงเชิงกายภาพ การทดลองการแทรกสอดของยัง การแทรกสอดของแสงผ่านช่องเปิดคู่ การค้นพบสมบัติการเลี้ยวเบนของแสงของกริมัลดิ การเลี้ยวเบนของแสง ผ่านช่องเปดิ เดี่ยว การแทรกสอดของแสงที่เลีย้ วเบนผา่ นช่องแคบของเกรตตงิ การกระเจิงของแสง ปัจจัยทีม่ ีผล ต่อการกระเจิงของแสง สีของท้องฟ้า ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า ประจุไฟฟ้า กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า การเหนี่ยวนำไฟฟ้า แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์ การคำนวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทำกับ อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่อยู่ในสนามไฟฟ้า การหาสนามไฟฟ้าลัพธ์เนื่องจากระบบจุดประจุโดยรวมกันแบบ เวกเตอร์ ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ ศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม ความสัมพันธ์ระหว่างความ ต่างศักย์และสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ การถ่ายโอนประจุระหว่างตัวนำทรงกลม ชนิดของตัวเก็บประจุ พลังงาน สะสมในตัวเก็บประจุและความจุสมมูลของตัวเก็บประจุที่ต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน การนำความรู้เกี่ยวกับ ไฟฟา้ สถิตไปใชป้ ระโยชน์ เช่น เครือ่ งถา่ ยเอกสาร เคร่อื งพ่นสี ไมโครโฟนแบบตวั เก็บประจุ การประยุกต์ใช้ไฟฟ้า สถิตกับการทดลองหาประจุไฟฟ้า เป็นต้น การนำไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในตัวนำไฟฟ้า กฎของโอห์ม ชนิดของตัว ต้านทาน ความต้านทานสมมูลเม่ือนำตวั ต้านทานมาต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนาน สภาพต้านทานไฟฟ้าและ สภาพนำไฟฟา้ ผลของอณุ หภูมิที่มีต่อสภาพตา้ นทาน แรงเคล่ือนไฟฟ้าและความต่างศกั ย์ แรงเคลอ่ื นไฟฟ้าสมมูล ของการต่อแบตเตอรแ่ี บบอนกุ รมและแบบขนาน การคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ซึ่งประกอบด้วยแบตเตอร่ีและตัวต้านทาน พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า เช่น แอมมิเตอร์ โวลต์ มิเตอร์ โอห์มมิเตอร์ เป็นต้น การคำนวณหาพลงั งานไฟฟ้าของเครือ่ งใช้ไฟฟา้ ในบ้าน วงจรไฟฟ้าในบ้าน อุปกรณ์ ไฟฟ้าและเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าในบา้ น การใชไ้ ฟฟ้าอยา่ งปลอดภัย ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะด้านการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม
ผลการเรียนรู้ 1. ทดลอง และอธบิ ายการแทรกสอดของแสง ผ่านสลิตค่แู ละเกรตตงิ การเลีย้ วเบนและการแทรกสอดของแสง ผ่านสลติ เดยี่ ว รวมทงั้ คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 2. อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวกับแสง เช่น รุ้ง การทรงกลด มิราจ และการเห็นท้องฟ้าเป็นสีต่าง ๆ ในชว่ งเวลาตา่ งกนั 3. ทดลอง และอธบิ ายการทำวตั ถุท่ีเปน็ กลางทางไฟฟา้ ให้มปี ระจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกันและการเหน่ยี วนำไฟฟ้า สถติ 4. อธิบาย และคำนวณแรงไฟฟา้ ตามกฎของคลู อมบ์ 5. อธิบาย และคำนวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟา้ ทก่ี ระทำกับอนุภาคท่มี ีประจุไฟฟ้าท่ีอยู่ในสนามไฟฟ้า รวมท้ัง หาสนามไฟฟา้ ลัพธ์เนอ่ื งจากระบบจุดประจุ โดยรวมกนั แบบเวกเตอร์ 6. อธบิ าย และคำนวณพลงั งานศักยไ์ ฟฟา้ ศกั ย์ไฟฟา้ และความตา่ งศกั ยร์ ะหว่างสองตำแหน่งใด ๆ 7. อธิบายสว่ นประกอบของตวั เกบ็ ประจุ ความสมั พนั ธ์ระหว่างประจุไฟฟา้ ความต่างศักย์ และความจขุ อง ตัวเก็บประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูลรวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง 8. นำความรู้เรื่องไฟฟ้าสถิตไปอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด และปรากฏการณ์ ในชวี ติ ประจำวนั 9. อธิบายการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตวั นำ ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า ในลวดตัวนำกับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอน ในลวดตัวนำและพนื้ ท่ีหนา้ ตัดของลวดตัวนำ และคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 10. ทดลอง และอธิบายกฎของโอห์ม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความยาว พื้นที่หน้าตัด และสภาพต้านทานของตัวนำโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอธิบาย และคำนวณความตา้ นทานสมมูล เม่ือนำตัวต้านทานมาต่อกนั แบบอนกุ รมและแบบขนาน 11. ทดลอง อธิบาย และคำนวณอเี อม็ เอฟของแหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้ากระแสตรง รวมท้งั อธิบายและคำนวณพลังงาน ไฟฟา้ และกำลังไฟฟา้ 12. ทดลอง และคำนวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน รวมทั้งคำนวณ ปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งในวงจรไฟฟา้ กระแสตรงซ่งึ ประกอบด้วยแบตเตอร่ีและตัวต้านทาน 13. อธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยี ที่นำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า โดยเน้นด้านประสิทธิภาพและ ความคุม้ ค่าด้านค่าใชจ้ า่ ย รวม 13 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชาวทิ ยาศาสตรเ์ พมิ่ เติม รายวิชา ฟิสิกส์ 5 รหสั วิชา ว33205 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายหลักการของแม่เหล็กไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก ฟลักซ์แม่เหล็ก การเคลื่อนที่ ของอนุภาคในสนามแม่เหลก็ แรงกระทำตอ่ ลวดตัวนำท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่านเมอื่ วางอย่ใู นบรเิ วณท่ีมีสนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนำ แกลแวนอมิเตอร์ มอเตอร์กระแสตรง กระแสเหนีย่ วนำ กฎ การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าของฟาราเดย์และกฎของเลนซ์ หลักการของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า หม้อแปลงวงจร พน้ื ฐานของไฟฟ้ากระแสสลบั การแปลงไฟฟา้ กระแสสลบั เป็นไฟฟ้ากระแสตรง ความรอ้ น อุณหภูมิ ความจุความ ร้อน การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน สถานะและการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การถ่ายโอนความ ร้อน แก๊สอุดมคติ กฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์-ลูสแซก กฎของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ความดนั และพลงั งานจลน์เฉล่ียของโมเลกลุ ของแกส๊ อตั ราเร็วของโมเลกุลของแก๊ส พลังงานภายในระบบ กฎข้อ ที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์ การประยุกต์เกี่ยวกับอุณหพลศาสตร์ สภาพยืดหยุ่นของวัสดุ ความเค้น ความเครียด มอดุลัสของยัง ความดันในของไหลและกฎพาสคัล แรงพยุงและหลักอาร์คิมีดีส ความตึงผิว การเคลื่อนที่ในของ ไหล สมบตั ขิ องของไหลอุดมคติ สมการความต่อเน่ือง และสมการแบรน์ ลู ลี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะดา้ นการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. สงั เกต และอธิบายเสน้ สนามแมเ่ หลก็ อธิบายและคำนวณฟลกั ซ์แม่เหลก็ ในบรเิ วณทกี่ ำหนด รวมทง้ั สังเกตและอธิบายสนามแม่เหลก็ ที่เกิดจากกระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นำเส้นตรงและโซเลนอยด์ได้
2. อธบิ าย และคำนวณแรงแมเ่ หลก็ ที่กระทำตอ่ อนภุ าคที่มปี ระจุไฟฟ้าเคล่อื นทใ่ี นสนามแม่เหลก็ แรงแม่เหล็กท่ี กระทำต่อเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้งของการเคล่ือนที่เมื่อประจุ เคลอื่ นท่ีตง้ั ฉากกับสนามแมเ่ หล็ก รวมทง้ั อธิบายแรงระหวา่ งเส้นลวดตวั นำคู่ขนานท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่านได้ 3. อธิบายหลักการทำงานของแกลแวนอมิเตอรแ์ ละมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่ เก่ยี วข้องได้ 4. สังเกต และอธบิ ายการเกดิ อีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำ กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ และคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง รวมทัง้ นำความร้เู รื่องอเี อ็มเอฟเหนยี่ วนำไปอธบิ ายการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าได้ 5. อธบิ าย และคำนวณความตา่ งศกั ย์อารเ์ อม็ เอส และกระแสไฟฟ้าอารเ์ อ็มเอสได้ 6. อธิบายหลักการทำงานและประโยชน์ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟของ หม้อแปลง และคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งได้ 7. อธิบายและคำนวณความร้อนท่ีทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ ความร้อนที่ทำให้สสารเปล่ียนสถานะ และความร้อนที่เกิดจากการถ่ายโอนตามกฎการอนรุ ักษ์พลังงาน 8. อธิบายกฎของแก๊สอดุ มคตแิ ละคำนวณปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 9. อธิบายแบบจำลองของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ และอัตราเรว็ อาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแกส๊ รวมท้ัง คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้อง 10.อธิบายและคำนวณงานทที่ ำโดยแกส๊ ในภาชนะปิดโดยความดนั คงตวั และอธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่างความ ร้อน พลังงานภายในระบบ และงานรวมทั้งคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ เรื่อง พลังงาน ภายในระบบไปอธิบายหลักการทำงานของเครอ่ื งใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั 11.อธิบายสภาพยืดหยุ่นและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุที่เป็นแท่ง เมื่อถูกกระทำด้วยแรงค่าต่าง ๆ รวมทั้งทดลอง อธิบาย และคำนวณความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาวและมอดุลัสของยัง และนำ ความรู้ เรือ่ งสภาพยืดหยุน่ ไปใช้ในชีวติ ประจำวนั 12.อธบิ าย และคำนวณความดนั เกจ ความดันสัมบูรณ์ และความดันบรรยากาศ รวมทง้ั อธิบายหลักการทำงาน ของแมนอมิเตอร์ บารอมเิ ตอร์ และเคร่อื งอดั ไฮดรอลิกได้ 13.ทดลอง อธบิ าย และคำนวณขนาดแรงพยงุ จากของไหลได้ 14.ทดลอง อธิบาย และคำนวณความตงึ ผวิ ของของเหลว รวมทงั้ สังเกตและอธิบายแรงหนดื ของของเหลวได้ 15.อธบิ ายสมบตั ขิ องของไหลอดุ มคติ สมการความต่อเน่ือง และสมการแบร์นลู ลี รวมท้งั คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำความรู้เกี่ยวกับสมการความต่อเนื่องและสมการแบร์นูลลีไปอธิบายหลักการทำงานของ อปุ กรณต์ ่าง ๆ ได้ รวม 15 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวิชาวทิ ยาศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ รายวิชา ฟิสิกส์ 6 รหัสวิชา ว33206 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชิงเส้น แผ่นโพลารอยด์ การนำคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ รวมทั้งการสื่อสารโดยอาศัยคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า ฟิสิกส์อะตอม อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน รังสีแคโทด การทดลองของทอมสัน การทดลองของ มิลลิแกน แบบจำลองอะตอม แบบจำลองอะตอมของทอมสัน แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด สเปกตรัมของ อะตอม สเปกตรัมจากอะตอมของแก๊ส การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากวัตถุดำ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ระดับพลังงาน ของอะตอม การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ รังสีเอกซ์ ความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎีอะตอมของโบร์ ทวิภาวะของคลื่น และอนุภาค ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ปรากฏการณ์คอมปต์ นั สมมติฐานเดอบรอยล์ กลศาสตร์ควอนตัม หลกั ความไม่ แนน่ อนของไฮเซนเบิร์ก โครงสร้างอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม ฟสิ ิกส์นวิ เคลียร์ การค้นพบกมั มันตภาพรงั สี การ เปลี่ยนสภาพนิวเคลียส องค์ประกอบของนิวเคลียส การค้นพบนิวตรอน การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี ไอโซโทป เสถียรภาพของนิวเคลียส แรงนิวเคลียร์ พลังงานยึดเหนี่ยว ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน ฟิวชัน ประโยชน์ของ กัมมันตภาพรังสีและการใช้พลังงานนิวเคลียร์ รังสีในธรรมชาติ อันตรายจากรังสี และการป้องกัน การค้นคว้าวิจัยและ ประโยชน์ด้านฟสิ กิ ส์อนุภาค โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทกั ษะดา้ นการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่เี หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อธบิ ายการเกิดและลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไมโ่ พลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชิงเสน้ และแผ่นโพลา รอยด์รวมท้ังอธิบายการนำคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้และหลักการทำงานของ อุปกรณ์ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 2. สืบค้นและอธิบายการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและเปรียบเทียบการ สื่อสารดว้ ยสญั ญาณแอนะลอ็ กกับสัญญาณดจิ ทิ ัล
3. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ และการเกิดเส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน รวมท้ัง คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง 4. อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ ทริกและคำนวณพลังงาน โฟตอน พลงั งานจลน์ของโฟโตอิเลก็ ตรอน และฟงั ก์ชัน งานของโลหะ 5. อธบิ ายทวภิ าวะของคล่ืนและอนุภาค รวมทงั้ อธิบายและคำนวณความยาวคลื่นเดอบรอยล์ 6. อธิบายกัมมนั ตภาพรงั สแี ละความแตกต่างของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา 7. อธิบายและคำนวณกัมมันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทั้งทดลอง อธิบาย และคำนวณจำนวน นวิ เคลียสกมั มนั ตภาพรงั สีท่ีเหลอื จากการสลาย และครง่ึ ชีวิต 8. อธบิ ายแรงนวิ เคลียร์ เสถยี รภาพของนิวเคลยี ส และพลังงานยึดเหน่ยี ว รวมท้งั คำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี เกย่ี วข้อง 9. อธิบายปฏกิ ิริยานวิ เคลียร์ ฟิชชัน และฟิวชัน รวมทัง้ คำนวณพลงั งานนวิ เคลยี ร์ 10.อธบิ ายประโยชนข์ องพลงั งานนิวเคลียร์และรงั สี รวมทัง้ อันตรายและการป้องกันรงั สีในด้านต่าง ๆ 11.อธิบายการค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาคแบบจำลองมาตรฐานและการใช้ประโยชน์จากการค้นคว้าวิจัย ด้านฟสิ กิ สอ์ นภุ าคในด้านตา่ ง ๆ รวม 11 ผลการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม รายวชิ า โลกดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วิชา ว31261 กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และฯ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาเกีย่ วกับการแบง่ ชั้นและสมบตั ิของโครงสร้างโลก หลักฐานทางธรณวี ทิ ยาท่สี นบั สนนุ การเคล่ือนที่ ของแผ่นธรณี ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีตามทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน การลำดับชั้นหินและธรณีประวัติ หลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยา การหาอายเุ ปรียบเทยี บ อายสุ มั บรู ณ์ มาตราธรณีกาล สาเหตแุ ละกระบวนการเกิดภูเขา ไฟระเบดิ แผ่นดนิ ไหว สนึ ามิ การทำความเข้าใจธรรมชาตขิ องธรณีพิบัตภิ ยั เพื่อเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทีเ่ หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายการแบ่งชน้ั และสมบตั ิของโครงสรา้ งโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมลู ที่สนับสนุนได้ 2. อธิบายหลกั ฐานทางธรณีวทิ ยาทส่ี นับสนุนการเคลอื่ นท่ขี องแผ่นธรณไี ด้ 3. ระบุสาเหตุและอธิบายรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัญฐานและ โครงสรา้ งแบบต่าง ๆ ได้ 4. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบดิ และปัจจัยที่ทำใหค้ วามรุนแรงของการปะทุและรูปร่างของ ภเู ขาไฟแตกต่างกัน รวมทั้งสืบคน้ ขอ้ มลู พืน้ ที่เสย่ี งภัย ออกแบบและนำเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และ การปฏบิ ัติตนใหป้ ลอดภัยได้ 5. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผ่นดินไหว รวมทั้งสืบคน้ ขอ้ มูลพืน้ ท่ี เสย่ี งภัย ออกแบบและนำเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบัติตนใหป้ ลอดภยั ได้ 6. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสึนามิ รวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและ นำเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบตั ติ นใหป้ ลอดภยั ได้ 7. วิเคราะหห์ ลักฐานทางธรณวี ทิ ยาที่พบในปัจจุบนั และอธิบายลำดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยาในอดตี ได้ รวมทง้ั หมด 7 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพิ่มเตมิ รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วิชา ว31262 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละฯ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาเกี่ยวกับการตรวจสอบ การระบุชนิดของแร่และสมบัติของแร่ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรแร่ อย่างเหมาะสม การตรวจสอบและจำแนกประเภทของหิน การระบุชื่อหิน วิเคราะห์สมบัติของหิน การใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรหินอย่างเหมาะสม กระบวนการเกิดและการสำรวจแหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียมและถ่านหิน การอ่านและแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ ธรณีวิทยา การประยกุ ตค์ วามรูเ้ กย่ี วกับแผนทีใ่ นชีวิตประจำวนั โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ สังเกต การวิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การ คิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และ ภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มท่เี หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. ตรวจสอบ และระบชุ นดิ แร่ รวมท้งั วเิ คราะห์สมบัติและนำเสนอการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรแร่ ทีเ่ หมาะสม 2. ตรวจสอบ จำแนกประเภท และระบชุ อ่ื หนิ รวมท้งั วิเคราะหส์ มบัตแิ ละนาเสนอการใช้ประโยชน์ จากทรพั ยากรหินทเ่ี หมาะสม 3. อธบิ ายกระบวนการเกดิ และการสำรวจแหล่งปิโตรเลยี มและถา่ นหนิ โดยใชข้ ้อมูลทางธรณวี ิทยา 4. อธิบายสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียมและถ่านหิน พร้อมนำเสนอการใช้ประโยชน์อย่าง เหมาะสม 5. อา่ นและแปลความหมายจากแผนที่ภูมปิ ระเทศและแผนทธี่ รณวี ิทยาของพนื้ ที่ท่ีกำหนด พร้อมท้งั อธิบาย และยกตวั อย่างการนำไปใชป้ ระโยชน์ รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวิชาวทิ ยาศาสตรเ์ พ่ิมเติม รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวชิ า ว32263 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละฯ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของอากาศ พลังงานจากดวงอาทิตย์ อุณหภูมิของอากาศ ปัจจัยที่มีผลต่อ การรับและคายพลังงานจากดวงอาทิตย์ ผลที่มีต่ออุณหภูมิอากาศในแต่ละบริเวณของโลก กระบวนการที่ทำให้ เกิดสมดุลพลังงานของโลก การเกิดลม ผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ การหมุนเวียน ระบบลม แบบจำลองการหมุนเวยี นอากาศ การหมุนเวยี นอากาศตามเขตละตจิ ูด ผลจากการหมนุ เวยี นของระบบ ลม พายุ พายุฝนฟ้าคะนอง ทอร์นาโด พายุหมุนเขตร้อน การเกิดมรสุม อิทธิพลของมรสุมต่อประเทศไทย ร่อง มรสุม การหมุนเวียนของน้ำในมหาสมุทร การแบ่งชั้นน้ำในมหาสมุทร ผลกระทบจากการหมุนเวียนของ กระแสนำ้ ในมหาสมุทร โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายปัจจัยสำคัญที่มผี ลต่อการรับและคายพลังงานจากดวงอาทิตย์แตกต่างกันและผลท่ีมีต่ออุณหภูมิ อากาศในแตล่ ะบริเวณของโลก 2. อธิบายกระบวนการทที่ ำใหเ้ กดิ สมดลุ พลังงานของโลก 3. อธบิ ายผลของแรงเนอ่ื งจากความแตกตา่ งของความกดอากาศ แรงคอริออลิส แรงสูศ่ นู ย์กลาง และแรงเสียดทานทม่ี ีต่อการหมนุ เวยี นของอากาศ 4. อธบิ ายการหมนุ เวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลทม่ี ตี อ่ ภมู อิ ากาศ 5. อธบิ ายปจั จัยทท่ี ำใหเ้ กดิ การแบ่งชั้นน้ำในมหาสมทุ ร 6. อธิบายปัจจัยที่ทำให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำในมหาสมุทรและรูปแบบการหมุนเวียนของน้ำใน มหาสมทุ ร 7. อธบิ ายผลของการหมนุ เวียนของนำ้ ในมหาสมุทรท่ีมตี ่อลักษณะลมฟ้าอากาศ สงิ่ มชี วี ิตและสงิ่ แวดลอ้ ม รวม 7 ผลการเรยี นรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพ่มิ เติม รายวชิ า โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วชิ า ว32264 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และฯ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาและเกี่ยวกับการเกิดเมฆ เสถียรภาพอากาศ แนวปะทะอากาศ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของ โลก ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก ข้อมูลสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศของโลก เช่น ปรากฏการณ์เอลนีโญและลาณีญา ปรากฏการณ์เรือนกระจก การเกิดคลื่นความร้อน สามารถอธิบายเกี่ยวกับเรื่องการพยากรณ์อากาศ การ ตรวจสอบอากาศ ขั้นตอนการพยากรณ์อากาศ วิธีการพยากรณ์อากาศ และแผนที่อากาศได้ การทำความเข้าใจ ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกจะทำให้เข้าใจเนื้อหาที่เรียน เพิ่มข้ึน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพอากาศและการเกดิ เมฆ 2. อธบิ ายการเกดิ แนวปะทะอากาศแบบต่าง ๆ และลกั ษณะลมฟา้ อากาศท่เี ก่ียวข้อง 3. อธบิ ายปจั จยั ตา่ ง ๆ ที่มผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงภมู ิอากาศโลก พร้อมยกตัวอยา่ งข้อมูลสนบั สนนุ 4. วเิ คราะห์และอธบิ ายเหตุการณ์ทีเ่ ป็นผลจากการเปลีย่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก และนำเสนอแนวปฏิบตั ิ ของมนุษยท์ ่มี สี ่วนชว่ ยในการชะลอการเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก 5. แปลความหมายสญั ลักษญ์ลมฟา้ อากาศบนแผนที่อากาศ 6. วิเคราะห์ และคาดการณ์ลักษณะลมฟ้าอากาศเบือ้ งต้นจากแผนทอ่ี ากาศและข้อมูลสารสนเทศอน่ื ๆ เพื่อวางแผนในการประกอบอาชพี และการดำเนินชวี ิตให้สอดคล้องกบั สภาพลมฟา้ อากาศ รวม 6 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ รายวชิ า โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วิชา ว33265 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละฯ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายกำเนิดวิวัฒนาการของเอกภพ หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง กาแล็กซีและกาแล็กซีทางช้างเผือก สมบัติของดาวฤกษ์ กำเนิดดาวฤกษ์ กระจุกดาว แหล่งกำเนิดพลังงานของ ดาวฤกษ์ วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ กำเนิดระบบสุริยะและการแบ่งเขตบริวารรอบดวงอาทิตย์ การโคจรของดาว เคราะหร์ อบดวงอาทติ ย์ โครงสร้างและปรากฏการณ์บนดวงอาทติ ย์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาดอณุ หภมู ิของเอกภพหลงั เกิดบิกแบงในช่วงเวลา ต่าง ๆ ตามวิวฒั นาการของเอกภพ 2. อธบิ ายหลกั ฐานทสี่ นับสนุนทฤษฎีบิกแบงจากความสัมพันธร์ ะหวา่ งความเร็วกับระยะทางของกาแล็กซี รวมทั้ง ขอ้ มูลการค้นพบไมโครเวฟพ้ืนหลังจากอวกาศ 3. อธบิ ายโครงสร้างและองคป์ ระกอบของกาแลก็ ซีทางช้างเผอื ก และระบุตำแหน่งของระบบสรุ ิยะพรอ้ มอธิบาย เชื่อมโยงกบั การสงั เกตเหน็ ทางช้างเผอื กของคนบนโลก 4. อธบิ ายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ โดยแสดงการเปล่ียนแปลงความดัน อุณหภูมิ ขนาด จากดาวฤกษ์ก่อนเกิด จนเป็นดาวฤกษ์ 5. อธิบายกระบวนการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์และผลที่เกิดขึ้น โดยวิเคราะห์ปฏิกิริยาลูกโซ่โปรตอน - โปรตอน และวัฏจักรคาร์บอนไนโตรเจน ออกซิเจน 6. ระบุปัจจยั ท่ีสง่ ผลต่อความสอ่ งสว่างของดาวฤกษ์ และอธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างความสอ่ งสว่างกับ โชติมาตรของดาวฤกษ์ 7. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรมั ของดาวฤกษ์ 8. อธบิ ายวิธกี ารหาระยะทางของดาวฤกษด์ ว้ ยหลักการแพรลั แลกซ์ และคำนวณระยะทางของดาวฤกษ์
9. อธิบายลำดบั วิวัฒนาการทส่ี ัมพนั ธ์กับมวลตัง้ ต้น และวเิ คราะห์การเปลี่ยนแปลงสมบัตบิ างประการของ ดาวฤกษ์ในลำดับวิวฒั นาการ จากแผนภาพเฮริ ตซ์ปรงุ -รัสเซลล์ 10. อธบิ ายกระบวนการเกิดระบบสรุ ิยะ การแบ่งเขตบรวิ ารของดวงอาทติ ย์และลกั ษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อ ตอ่ การดำรงชีวิต 11. อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตยด์ ้วยกฎเคพเลอร์ และกฎความโนม้ ถว่ งของนิวตนั พรอ้ มคำนวณคาบการโคจรของดาวเคราะห์ 12. อธิบายโครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ และวิเคราะห์ นำเสนอปรากฏการณ์หรือ เหตุการณท์ ่ีเกี่ยวข้องกับผลของลมสรุ ิยะ และพายสุ ุรยิ ะทมี่ ตี ่อโลก รวมท้ังประเทศไทย รวม 12 ผลการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์เพิม่ เติม รายวชิ า โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว33266 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และฯ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายส่วนประกอบบนทรงกลมฟ้า การระบุตำแหน่งบนทรงกลมฟ้า การเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์และดวงดาว เวลาสุริยคติ มุมห่างและตำแหน่งของดาวเคราะห์ ในวงโคจร การเคลื่อนที่ปรากฏของดาวเคราะห์วงในและดาวเคราะห์วงนอก เทคโนโลยีกับการสำรวจ อวกาศ เทคโนโลยอี วกาศกับการประยุกต์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ สังเกต การวิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การ คิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และ ภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมทีเ่ หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. สร้างแบบจำลองทรงกลมฟ้า สังเกตและเชื่อมโยงจุดและเส้นสำคัญของแบบจำลองทรงกลมฟ้ากับท้องฟ้า จริง และอธบิ ายการระบุพกิ ัดของดาวในระบบขอบฟา้ และระบบศนู ย์สตู ร 2. สังเกตทอ้ งฟา้ และอธบิ ายเส้นทางการขึ้น การตกของดวงอาทิตยแ์ ละดาวฤกษ์ 3. อธิบายเวลาสรุ ยิ คติปรากฏ โดยรวบรวมข้อมูลและเปรียบเทียบเวลาขณะทดี่ วงอาทิตย์ผา่ นเมริเดียนของ ผสู้ ังเกตในแต่ละวนั 4. อธิบายเวลาสรุ ิยคตปิ านกลาง และการเปรียบเทียบเวลาของแตล่ ะเขตเวลาบนโลก 5. อธบิ ายมุมหา่ งทส่ี ัมพันธก์ บั ตำแหน่งในวงโคจร และอธบิ ายเชอ่ื มโยงกบั ตำแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ ท่สี งั เกตไดจ้ ากโลก 6. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ ายการสำรวจอวกาศ โดยใช้กล้องโทรทรรศนใ์ นช่วงความยาวคลน่ื ต่าง ๆ ดาวเทยี ม ยานอวกาศ สถานอี วกาศ และนำเสนอแนวคิดการนำความรูท้ างด้านเทคโนโลยอี วกาศมาประยุกตใ์ ช้ ในชีวติ ประจำวันหรือในอนาคต 7. สืบค้นข้อมูล ออกแบบ และนำเสนอกิจกรรมการสังเกตดาวบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าและ/หรือกล้อง โทรทรรศน์ รวม 7 ผลการเรยี นรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม รายวิชา หุ่นยนต์ 1 รหสั วชิ า ว21281 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/1 เวลา 40 ชัว่ โมง ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.0 หน่วยกิต ************************************************************************************************ ศกึ ษาองค์ประกอบและชิน้ ส่วนของห่นุ ยนต์ LEGO MINDSTORMS EV3 เขา้ ใจหลักการทำงาน ของ หนุ่ ยนต์ LEGO MINDSTORMS EV3 ซึง่ ประกอบไปด้วย ส่วนควบคุมการทำงาน ส่วนขับเคลื่อน สว่ นของ สว่ นโครงสร้าง ได้แก่ MINDSTORMS EV3 มอเตอร์ขับเคลื่อน เซนเซอร์สัมผสั เซนเซอร์แสง เซนเซอร์เสียง เซนเซอร์วดั ระยะทาง สามารถนำเอาหลักการของแต่ละสว่ นมาออกแบบหนุ่ ยนต์ และการเขยี น โปรแกรมควบคุมการทำงานของหนุ่ ยนตด์ ้วยโปรแกรมบล็อก Lego mindstorm ev3ในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ ตามทโ่ี จทย์กำหนด และสามารถประยุกตก์ ารใชง้ านหุ่นยนต์ตามความคิดสรา้ งสรรค์ และพฒั นาตอ่ ไปได้ โดยใชกระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการกลุม การคิดวเิ คราะห การแกปญหาและการออกแบบ ดวยโปรแกรม LEGO MINDSTORMS Education เพอ่ื ใหเกิดความรูความเขาใจใฝเรียนรเู พอื่ การพัฒนาตนเอง มีความรบั ผิดชอบ มีการทำงานเปน ระบบ เห็นคุณคาการใชเทคโนโลยเี พื่อใชในการทำงานไดอยางมีประสิทธภิ าพประสิทธิผลและมีจริยธรรม ผลการเรียนรู้ 1.นกั เรียนรู้และเขา้ ใจองค์ประกอบของหนุ่ ยนต์ LEGO MINDSTORMS EV3 2.นักเรยี นสามารถออกแบบหุ่นยนต์โดยใช้ ช้นิ สว่ นเลโก้ มอเตอรข์ บั เคลอ่ื น เซนเซอรส์ ัมผัส เซนเซอร์ แสงเซนเซอร์เสยี ง เซนเซอรว์ ัดระยะทางในแบบตา่ งๆได้ 3.นกั เรียนสามารถอธบิ ายการทำงานของโปรแกรม และเขียนคำสง่ั ควบคุมการทำงานมอเตอร์ ขบั เคล่อื นเซนเซอร์สัมผสั เซนเซอรแ์ สง เซนเซอร์เสียง เซนเซอร์วัดระยะทางได้ 4.นักเรยี นสามารถออกแบบหุ่นยนต์ และเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานของหุน่ ยนต์เบ้ืองต้นและ ประยุกตต์ ามทโ่ี จทย์กำหนดได้ รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เติม รายวชิ า การออกแบบโปรแกรมสามมิติ (สายวิทย์) รหสั วิชา ว31281 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4/1 เวลา 40 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.0 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษา วิเคราะห์ อธบิ ายหลักการ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ร้จู ักกับโปรแกรม SketchUp การทำงาน เบอื้ งต้นของโปรแกรม SketchUp การสรา้ งโมเดลดว้ ย SketchUp การนำเสนอโมเดล สร้างโมเดลช้นิ งานและตกแต่งช้ินงานของตนเองพร้อมทั้ง Export ไฟลเ์ ป็นภาพเคล่ือนไหวได้ โดยใช้ โปรแกรม SketchUp โดยนำหลักการการออกแบบผลิตภัณฑ์ มาพัฒนาผลงานตามความสนใจและความถนดั อย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศใหเ้ หมาะสมมีหลักการใช้โปรแกรมในการนำเสนอ ผลงานด้วย กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการทำงานเปน็ กลุม่ จนสามารถสรา้ งช้นิ งานจากจินตนาการ เพอื่ สรา้ งชน้ิ งานตามหลกั การการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ มีจิตสำนึกในการใชท้ รพั ยากรอย่างคุ้มค่า มี จริยธรรมคอมพิวเตอรใ์ นการใชค้ อมพวิ เตอร์ ไมค่ ดั ลอกผลงาน ผู้อ่นื ใช้คำสภุ าพ และไม่สรา้ งความเสียหาย ตอ่ ผอู้ ่นื ผลการเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมาย ความสำคญั คณุ สมบตั ิและองคป์ ระกอบของการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ได้ 2. รู้และเข้าใจการออกแบบผลิตภณั ฑ์ด้วยโปรแกรม Google SketchUp ได้ 3. รู้และเขา้ ใจการใชง้ านเครื่องมือหลักของโปรแกรม Google SketchUp ได้ 4. รแู้ ละเขา้ ใจการใช้งานเครื่องมือวาดรูปในการออกแบบโมเดลได้ 5. รแู้ ละเข้าใจการใชง้ านเคร่ืองมือปรบั แต่งได้ 6. สามารถออกแบบ สรา้ งตกแต่งและนำเสนอชนิ้ งานได้อย่างสร้างสรรคแ์ ละสวยงามได้ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์เพม่ิ เติม รายวิชา โปรแกรมภาพกราฟกิ (สายศลิ ป์) รหสั วิชา ว30295 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เวลา 40 ชวั่ โมง ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาคุณสมบัตขิ องคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ประเภทของภาพกราฟิก เคร่ืองคอมพิวเตอรใ์ นงานกราฟิก ความเปน็ มา คุณสมบตั ิ ของโปรแกรม Adobe Photoshop รู้จกั แถบเครือ่ งมือออปช่นั และพาเนลต่าง ๆ ท่ี สำคญั ในใชง้ านพื้นฐานของโปรแกรม การนำภาพกราฟกิ มาใช้ การสรา้ ง Selection การใช้เลเยอร์ การใช้ รูปทรง การใชส้ ี การวาดภาพ สร้างตัวอกั ษรและข้อความ การปรบั แต่งขอ้ ความด้วย Layer Style การ ปรบั แตง่ สแี ละแสงเงาของรูปภาพ การตกแต่งแกไ้ ขภาพ การตกแตง่ ภาพด้วยเครื่องมือ Healing Brush ใช้ เครื่องมอื และอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถงึ คำส่งั ท่ีสำคญั ในการออกแบบคอมพวิ เตอร์กราฟิกในโปรแกรม Adobe Photoshop ได้อยา่ งชำนาญ การนำภาพจากแหลง่ ภาพต่างๆ มาสรา้ งสรรค์งานกราฟิกให้มจี ินตนาการตาม ความคิดริเรมิ่ ของตนเอง นำความรมู้ าประยุกตใ์ ชใ้ นการสร้างสรรคง์ านต่าง ๆ โดยใชท้ ักษะกระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการสร้างคา่ นยิ ม กระบวนการกลุ่ม ทกั ษะกระบวนการ ทำงาน ทักษะการทำงานรว่ มกัน ทักษะการแสวงหาความรู้ ทกั ษะการจัดการ กระบวนการแก้ปญั หา เพื่อใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจหลักการทำงาน มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ มที กั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกป้ ญั หา ทกั ษะการทำงานร่วมกนั และทักษะการแสวงหาความรู้ สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งปรับตนในการเป็นพลเมืองท่ีดภี ายใตก้ ฎบัตรของอาเซยี น สามารถดำรงชวี ิตในยุคโลกาภิวตั นไ์ ด้อย่างเหมาะสม มีคณุ ธรรม และมลี ักษณะนสิ ัยรักการทำงาน ผลการเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายประเภทของภาพกราฟิกและระบบสีได้ 2. สามารถอธบิ ายคณุ สมบตั ิโปรแกรม Adobe Photoshop ได้ 3. สามารถใชเ้ ครอื่ งมือในการตัดภาพได้ 4. สามารถใชเ้ ครื่องมือในการตกแตง่ ภาพได้ รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวิชาวิทยาศาสตรเ์ พิ่มเติม รายวิชา หนุ่ ยนต์และวศิ วกรรมพน้ื ฐาน รหสั วิชา ว30285 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ฯ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลา 40 ชว่ั โมง ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************ ศกึ ษาองค์ประกอบและช้นิ สว่ นของหุน่ ยนต์ LEGO MINDSTORMS EV3 เขา้ ใจหลักการทำงาน ของ หนุ่ ยนต์ LEGO MINDSTORMS EV3 ซ่งึ ประกอบไปด้วย สว่ นควบคมุ การทำงาน ส่วนขับเคล่อื น ส่วนของ ส่วนโครงสรา้ ง ไดแ้ ก่ MINDSTORMS EV3 มอเตอรข์ ับเคลื่อน เซนเซอรส์ ัมผสั เซนเซอรแ์ สง เซนเซอรเ์ สียง เซนเซอร์วัดระยะทาง สามารถนำเอาหลักการของแต่ละส่วนมาออกแบบหุน่ ยนต์ และการเขยี น โปรแกรมควบคุมการทำงานของหุ่นยนต์ดว้ ยโปรแกรมบล็อก Lego mindstorm ev3ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ ตามท่ีโจทย์กำหนด และสามารถประยุกต์การใชง้ านหุน่ ยนต์ตามความคิดสร้างสรรค์ และพัฒนาตอ่ ไปได้ โดยใชกระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุม การคดิ วิเคราะห การแกปญหาและการออกแบบ ดวยโปรแกรม LEGO MINDSTORMS Education เพอื่ ใหเกิดความรูความเขาใจใฝเรียนรูเพือ่ การพัฒนาตนเอง มคี วามรบั ผิดชอบ มีการทำงานเปน ระบบ เห็นคณุ คาการใชเทคโนโลยเี พื่อใชในการทำงานไดอยางมีประสิทธภิ าพประสิทธิผลและมจี ริยธรรม ผลการเรยี นรู้ 1.นกั เรยี นร้แู ละเขา้ ใจองคป์ ระกอบของหุน่ ยนต์ LEGO MINDSTORMS EV3 2.นกั เรียนสามารถออกแบบหุ่นยนตโ์ ดยใช้ ชนิ้ ส่วนเลโก้ มอเตอร์ขบั เคล่ือน เซนเซอร์สัมผัส เซนเซอร์ แสง เซนเซอร์เสียง เซนเซอร์วัดระยะทางในแบบตา่ งๆได้ 3.นกั เรยี นสามารถอธิบายการทำงานของโปรแกรม และเขียนคำสง่ั ควบคมุ การทำงานมอเตอร์ ขับเคลื่อน เซนเซอร์สมั ผสั เซนเซอรแ์ สง เซนเซอร์เสียง เซนเซอรว์ ัดระยะทางได้ 4.นักเรียนสามารถออกแบบหุ่นยนต์ และเขียนโปรแกรมควบคมุ การทำงานของหนุ่ ยนต์เบ้อื งต้นและ ประยุกตต์ ามท่ีโจทยก์ ำหนดได้ รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพม่ิ เตมิ รายวชิ า โปรแกรมงาน 3 มิติ 1 รหัสวิชา ว30287 กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เวลา 40 ช่วั โมง ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษา วิเคราะห์ อธบิ ายหลักการ การออกแบบผลติ ภัณฑ์ ร้จู ักกบั โปรแกรม SketchUp การทำงาน เบือ้ งตน้ ของโปรแกรม SketchUp การสรา้ งโมเดลดว้ ย SketchUp การนำเสนอโมเดล สร้างโมเดลชน้ิ งานและตกแต่งชน้ิ งานของตนเองพร้อมทั้ง Export ไฟล์เป็นภาพเคลื่อนไหวได้ โดยใช้ โปรแกรม SketchUp โดยนำหลกั การการออกแบบผลิตภัณฑ์ มาพฒั นาผลงานตามความสนใจและความถนัด อย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศให้เหมาะสมมีหลกั การใชโ้ ปรแกรมในการนำเสนอ ผลงานดว้ ย กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม จนสามารถสรา้ งชนิ้ งานจากจินตนาการ เพอ่ื สรา้ งชนิ้ งานตามหลักการการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ มีจิตสำนกึ ในการใช้ทรพั ยากรอย่างคุ้มค่า มี จรยิ ธรรมคอมพิวเตอร์ในการใช้คอมพวิ เตอร์ ไมค่ ัดลอกผลงาน ผ้อู ื่น ใชค้ ำสภุ าพ และไม่สร้างความเสยี หาย ตอ่ ผู้อน่ื ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย ความสำคัญ คุณสมบัตแิ ละองค์ประกอบของการออกแบบผลติ ภัณฑ์ได้ 2. รแู้ ละเขา้ ใจการออกแบบผลิตภัณฑ์ดว้ ยโปรแกรม Google SketchUp ได้ 3. รู้และเข้าใจการใชง้ านเครื่องมือหลกั ของโปรแกรม Google SketchUp ได้ 4. รแู้ ละเข้าใจการใชง้ านเคร่ืองมือวาดรูปในการออกแบบโมเดลได้ 5. รู้และเข้าใจการใชง้ านเคร่ืองมือปรบั แต่งได้ 6. สามารถออกแบบ สร้างตกแตง่ และนำเสนอช้นิ งานไดอ้ ย่างสร้างสรรค์และสวยงามได้ รวมทั้งหมด 6 ผลการเรยี นรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พมิ่ เติม รายวิชา เทคโนโลยีการเพาะเล้ียงเนือ้ เย่ือเหด็ รหัสวชิ า ว31287 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรฯ์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ********************************************************************************* ศกึ ษาฝึกทกั ษะการปฏิบัติ สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย อภิปราย เก่ยี วกับหลกั การขั้นตอนในการทำอาหาร PDA และข้ันตอนกระบวนการในการเพาะเลีย้ งเน้ือเย่ือเหด็ สามารถทดลองทำอาหาร PDA และสามารถใช้ เทคโนโลยีในการเพาะเลยี้ งเน้ือเย่อื เห็ดได้อยา่ งถูกต้องตามหลกั การทางวิทยาศาสตร์ มีความพงึ พอใจในการ เรียนรู้ และสามารถนำความรู้ทีไ่ ด้ไปใช้ในชีวติ ประจำวัน โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสบื ค้นข้อมูล การสังเกต การ วเิ คราะห์การอธบิ าย การอภปิ รายและสรปุ ทกั ษะด้านการอา่ น (Reading) การเขยี น (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และ ภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. สามารถสืบค้นขอ้ มูล อธบิ ายเกีย่ วกับขน้ั ตอนในการทำอาหาร PDA 2. สามารถทดลองทำอาหาร PDA 3. สามารถสบื ค้นขอ้ มลู อธิบายเก่ียวกับขนั้ ตอนในการเพาะเล้ียงเนอ้ื เยื่อเหด็ 4. สามารถทดลองเพาะเลยี้ งเน้อื เยอ่ื เห็ด 5. สามารถใชอ้ ปุ กรณ์เคร่อื งมือทางวิทยาศาสตร์ได้อยา่ งถูกวธิ ี รวมทั้งหมด 5 ผลการเรยี นรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พิม่ เติม รายวิชา เทคโนโลยีการผลิตเช้ือเห็ด รหสั วชิ า ว31288 กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ฯ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ ********************************************************************************* ศึกษาฝึกทกั ษะการปฏบิ ตั ิ สืบคน้ ขอ้ มลู อธบิ าย อภิปราย เกย่ี วกับหลกั การขั้นตอนในการเขยี่ เชอื้ เห็ด และข้นั ตอนกระบวนการในการเตรียมวสั ดอุ ปกรณ์สำหรบั เขยี่ เช้อื เหด็ สามารถทดลองเข่ียเชื้อเหด็ และ สามารถใช้เทคโนโลยีในการเขยี่ เชื้อเหด็ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามหลกั การทางวิทยาศาสตร์ มีความพงึ พอใจในการ เรียนรู้ และสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้ไปใช้ในชีวิตประจำวนั โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสบื คน้ ขอ้ มลู การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภปิ รายและสรุป ทกั ษะดา้ นการอา่ น (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และ ภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. สามารถสืบคน้ ข้อมูล อธบิ ายเกย่ี วกับขัน้ ตอนในการผลติ เช้อื เหด็ 2. สามารถทดลองผลิตเชื้อเห็ด 3. สามารถสืบค้นข้อมูล อธบิ ายเกยี่ วกับขั้นตอนในการผลิตเช้ือเหด็ 4. สามารถใช้อปุ กรณ์เครอ่ื งมือทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถกู วธิ ี รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306