คำอธบิ ายรายวิชา รหัสวิชา ค 20209 รายวชิ าคณิตศาสตร์เพมิ่ เตมิ เข้มขน้ 3 กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ……………………………………………………………………………………………………….......……..………………………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปน้ี การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ความหมายและสมบัติของเลขยก กำลงั การเขยี นจำนวนในรูป สัญกรณ์วทิ ยากศาสตร์ การดำเนนิ การของเลขยกกำลัง สมบตั อิ นื่ ๆ ของเลขยก กำลัง พหุนามและเศษส่วนของ พหุนาม การคูณพหุนาม การหารพหุนาม เศษส่วนของพหุนาม การประยุกต์เกีย่ วกับอัตราส่วนและ ร้อยละ การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราสว่ น การประยุกต์เกี่ยวกับร้อย ละ การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต การประยุกต์ของ การเลื่อนขนาน การประยุกต์ของการสะท้อน การประยุกตข์ องการหมุน เทสเซลเลชัน โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรอื สรา้ งสถานการณใ์ น ชีวิตประจำวนั ทีใ่ กล้ตวั ให้ผู้เรียนได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคลอ้ งกบั เนอื้ หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ การอา่ น คิดวิเคราะห์เขียน ส่ือความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวัง 1. คูณและหารจำนวนท่เี ขียนอยู่ในรูปของเลขยกกำลังท่มี เี ลขชก้ี ำลังเป็นจำนวนเตม็ โดยใชบ้ ท นิยามและสมบัติของเลขยกกำลงั และนำไปใช้แก้ปัญหาได้ 2. คำนวณและใชเ้ ลขยกกำลงั ในการเขียนแสดงจำนวนท่มี ีคา่ นอ้ ย ๆ และมาก ๆ ในรปู ของสัญกรณ์ วทิ ยาศาสตร์ 3. ตระหนกั ถึงความสมเหตุสมผลของตำตอบท่ีได้ 4. บวก ลบ คูณ หาร พหุนามได้ 5. บวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนของพหนุ ามที่มีดีกรไี ม่เกินหนึ่งได้ 6. ใช้ความรู้เกีย่ วกบั อตั ราส่วน สดั สว่ นและร้อยละ แก้ปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ 7. ตระหนกั ถงึ ความสมเหตุสมผลของคำตอบท่ไี ด้ 8. ใช้ความรู้เกี่ยวกับการเลอื่ นขนาน การสะท้อน และการหมนุ ในการสรา้ งสรรคง์ านศิลปะ หรอื ออกแบบ รวมท้ังหมด 8 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ค 20210 รายวิชาคณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ เข้มข้น 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ……………………………………………………………………………………………………….......……………………..………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในสาระต่อไปน้ี การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง การแยกตัว ประกอบของพหุนามดีกรสี องตัวแปรเดยี ว การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกำลังสองสมบูรณ์ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง โดยใช้สูตรที่เหมาะสม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี สอง ที่อยู่ในรูปผลต่างกำลังสอง สมการกำลังสองตัวแปรเดียว สมการกำลังสองตัวแปรเดียว โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว การแปรผัน การแปรผันตรง การแปรผกผัน การแปรผันเกี่ยวเนื่อง การนำไปใช้ โดยใชก้ ระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรอื สร้างสถานการณใ์ น ชวี ติ ประจำวนั ที่ใกล้ตวั ให้ผู้เรียนได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจรงิ สอดคลอ้ งกับเนอื้ หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การอา่ น คดิ วิเคราะห์เขียน สอ่ื ความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ผลการเรยี นรูท้ ่คี าดหวัง 1. แยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรสี องโดยใชส้ มบัตกิ ารแจกแจงได้ 2. แยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รีสองตัวแปรเดียวทีอ่ ยู่ในรปู ของ ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เปน็ คา่ คงตัว และa ≠ 0 ได้ 3. แยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รสี องตวั แปรเดียวทีอ่ ยู่ในรูปของกำลงั สองสมบรู ณ์ได้ 4. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตวั แปรเดยี วทีอ่ ยู่ในรูปผลตา่ งของกำลงั สองได้ 5. แกส้ มการกำลังสองตวั แปรเดียวโดยการแยกตวั ประกอบได้ 6. แกโ้ จทย์ปญั หาเกีย่ วกับสมการกำลังสองตวั แปรเดียวโดยการแยกตวั ประกอบได้ 7. แก้ปัญหาหรือสถานการณ์ท่ีกำหนดให้โดยใชค้ วามรู้เกีย่ วกับการแปรผนั ได้ 8. เขยี นสมการแสดงการแปรผันระหวา่ งปริมาณตา่ งๆท่ีแปรผันตอ่ กนั ได้ รวมทั้งหมด 8 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชา รหสั วชิ า ค 23101 รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน 5 กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ……………………………………………………………………………………………………….......……………………………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณติ ศาสตร์ และเช่อื มโยงคณติ ศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และมคี วามคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ในสาระต่อไปน้ี พ้ืนที่ผิว และปริมาตร ทบทวนรูปเรขาคณิตสามมิติ พื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด พื้นที่ผิวและปริมาตรของกรวย พื้นที่ผวิ และปริมาตรของทรงกลม ระบบสมการ ทบทวนสมการเชิงเส้นสองตวั แปร ระบบสมการเชิงเส้นสองตัว แปร โจทย์ปัญหาระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแยกตัวประกอบของพหุนาม ทบทวนการแยกตัว ประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง สมการกำลังสองตัวแปรเดียว การแก้ สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยวธิ ีแยกตัวประกอบ การแกส้ มการกำลังสองตัวแปรเดยี วโดยวธิ ที ำเป็นกำลังสอง สมบูรณ์ การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้สูตร โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการแก้สมการกำลังสองตัวแปร เดียว ฟังก์ชันกำลังสอง ฟังก์ชันกำลังสอง กราฟของฟังก์ชันกำลังสองจุดต่ำสุดหรือต่ำสุด โจทย์ปัญหาของ ฟงั ก์ชันกำลงั สอง โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรือสร้างสถานการณ์ใน ชีวิตประจำวันที่ใกลต้ ัว ให้ผู้เรียน ไดศ้ กึ ษาค้นควา้ โดยการปฏิบตั จิ ริง และในการคดิ คำนวณ การแก้ปญั หา การใหเ้ หตผุ ล การสือ่ ความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาสาระ ทกั ษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ การอ่าน คดิ วิเคราะห์เขียน สื่อความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น รหัสตวั ชวี้ ัด ค 1.2 ม.3/1,ม.3/2 ค 1.3 ม.3/2, ม.3/3 ค 2.1 ม.3/1, ม.3/2 รวมทงั้ หมด 6 ตัวชวี้ ดั
คำอธบิ ายรายวชิ า รหสั วชิ า ค 23102 รายวชิ าคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน 6 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อสมการ กราฟแสดงจำนวน อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการแก้สมการ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โจทย์ปัญหาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น เบื้องต้น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ความน่าจะเป็นกับการตัดสินใจ สถิติ ทบทวนการหามธั ยฐาน การวัดตำแหนง่ ท่ขี องขอ้ มูล แผนภาพกลอ่ ง การแปลความหมายผลลัพธ์ ความคล้าย ความคลา้ ย รปู สามเหลี่ยมทคี่ ล้ายกนั สมบัติของรูปสามเหลยี่ มทค่ี ลา้ ยกนั การนำความรเู้ กย่ี วกับความคล้ายไป ใชใ้ นการแก้ปัญหา อัตราส่วนตรโี กณมิติ อตั ราส่วนตรีโกณมติ ิ การนำอัตราส่วนตรโี กณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา ไปใช้ในการแกป้ ัญหา วงกลม สว่ นต่าง ๆ ของวงกลม มมุ ในสว่ นต่าง ๆ ๆของวงกลม รูปสี่เหลี่ยมแนบในวงกลม วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ของ วงกลม โดยใชก้ ระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรอื สรา้ งสถานการณ์ใน ชีวิตประจำวนั ท่ีใกล้ตัว ให้ผู้เรียน ได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อย่างสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคล้องกับเน้อื หาสาระ ทกั ษะ/กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ การอา่ น คิดวเิ คราะหเ์ ขียน สอ่ื ความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน รหัสตวั ชี้วัด ค 1.3 ม.3/1, ค 2.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 ค 3.1 ม. 3/1 ค 3/2 ม.3/1 รวมทั้งหมด 6 ตัวช้วี ดั
คำอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ค 20211 รายวิชาคณิตศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ เข้มข้น 5 กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ……………………………………………………………………………………………………….......……………………………………… ศกึ ษาฝึกทกั ษะการคดิ คำนวณและฝกึ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อนั ได้แก่การแก้ปญั หา การให้ เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณติ ศาสตร์ และเชอื่ มโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อนื่ ๆ และมีความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรคใ์ นสาระต่อไปนี้ กรณฑ์ที่ สอง สมบัติของ a เมื่อ a 0 สมบัติของรากที่สองของจำนวนจริง การบวก การลบ การคูณและการหาร จำนวนจริงที่อยู่ในรูป a เมื่อ a 0 การนำไปใช้ การแยกตัวประกอบพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุ นาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ สมการกำลังสอง ทบทวน สมการกำลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ การแก้ สมการกำลังสองตวั แปรเดียวโดยใช้สตู ร โจทยป์ ญั หาเกย่ี วกับสมการกำลังสองตวั แปรเดยี ว พาราโบลา สมการ ของพาราโปลา พาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการ y = ax2 เม่ือ a 0 พาราโบลาที่กำหนดด้วยสมการ y = ax2 + k เมื่อ a 0,k 0 พาราโบลาที่กำหนดให้ด้วยสมการ y = a(x − h)2 + k เมื่อ a 0 พาราโบลาทก่ี ำหนดด้วยสมการ y = ax2 + bx + c เมือ่ a 0 การหาจุดตดั บนแกน x ของพาลาโบลา การหา จุดตดั ของพาลาลาและเส้นตรงโดยใช้ความรู้เก่ียวกับกราฟ การแก้โจทย์ปญั หาโดยใช้ความรู้เก่ียวกับพาราโบลา ปริมาตรและพื้นที่ผิว พื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด พื้นที่ผิวและปริมาตรของกรวย พื้นที่ผิวและปริมาตร ของทรงกลม โดยใชก้ ระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรอื สรา้ งสถานการณ์ใน ชวี ติ ประจำวนั ท่ีใกล้ตวั ให้ผู้เรียน ไดศ้ กึ ษาคน้ คว้าโดยการปฏิบัตจิ รงิ และในการคิดคำนวณ การแกป้ ัญหา การใหเ้ หตผุ ล การส่อื ความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อยา่ งสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจรงิ สอดคล้องกบั เน้อื หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะหเ์ ขียน สือ่ ความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายเกย่ี วกบั กรณ์ที่สอง 2. แสดงการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนจริงที่อยู่รูป a เม่ือ a 0 3. แสดงการใช้สมบตั ขิ อง a = a เมื่อ a 0เมื่อ b 0 bb 4. .ใชค้ วามรู้เกย่ี วกบั กรณท์ ่ีสองในการแก้ปัญหาในชวี ิตประจำวนั 5. อธบิ ายเกีย่ วกบั การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีอยใู่ นรูปกำลงั สองสมบูรณ์
6. อธบิ ายเก่ียวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรสี งู กว่าดกี รสี องท่ีมสี ัมประสิทธเิ์ ป็นจำนวนเต็มโดยอาศัย วธิ ที ำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ หรือทฤษฎเี ศษเหลือ 7. แสดงการแยกตัวประกอบชองพหนุ ามดีกรสี องโดยวธิ ีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ 8. แสดงการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าดีกรีสองท่ีมสี ัมประสิทธิ์เปน็ จำนวนเตม็ โดยอาศยั วิธีทำเปน็ กำลังสองสมบูรณ์หรอื ทฤษฎีเศษเหลอื 9. อธิบายเกยี่ วกบั สมการกำลังสองตวั แปรเดยี ว 10. แสดงการแก้สมการกำลังสองตวั แปรเดยี วโดยวธิ ีทำเป็นกำลงั สองสมบรู ณ์และใชส้ ูตร 11. แกโ้ จทยป์ ญั หาเกีย่ วกบั สมการกำลงั สองตัวแปรเดยี ว 12. ตระหนกั ถงึ ความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ 13. อธิบายเกี่ยวกับพาราโบลา สมการพาราโบลา และกราฟของพาราโบลา 14. บอกลกั ษณะของกราฟพาราโบลาทก่ี ำหนดให้ 15. ใชค้ วามรเู้ กีย่ วกับพาราโบลาไปประยุกต์ใชแ้ ห้ปญั หาในชวี ติ ประจำวนั 16. อธบิ ายเก่ยี วกบั ปรมิ าตรและพืน้ ทีข่ องพระมดิ กรวย และทรงกลม 17. แสดงการหาพื้นท่ผี ิวของพรี ะมิด กรวย และทรงกลม 18. แสดงวธิ กี ารหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม 19. แกป้ ัญหาหรอื สถานการณ์ทีก่ ำหนดให้ โดยใชค้ วามรู้เกี่ยวกบั ปริมาตรและพน้ื ที่ผวิ ได้ 20. ตระหนกั ปละเหน็ ความสำคญั ถึงความสมเหตสุ มผลของคำตอบท่ีได้ 21. นำความรเู้ กย่ี วกบั ปริมาตรและพนื้ ที่ผวิ ไปประยุกตใ์ ช้แกป้ ญั หาในชีวติ ประจำวนั ได้ รวมท้ังหมด 21 ผลการเรยี นรู้ คำอธบิ ายรายวชิ า รหสั วชิ า ค 20212 รายวิชาคณติ ศาสตร์เพ่มิ เติมเข้มขน้ 6 กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ ……………………………………………………………………………………………………….......………………………………………
ศกึ ษาฝึกทักษะการคดิ คำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ อันไดแ้ ก่การแก้ปญั หา การให้ เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปน้ี ระบบ สมการ การแกร้ ะบบสมการสองตวั แปรทม่ี ีดีกรีไมเ่ กนิ สอง การแก้โจทย์ปัญหาเกยี่ วกบั ระบบสมการสองตัวแปร ที่มีดีกรีไม่เกินสอง การให้เหตุผลทางเรขาคณิต ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการให้เหตุผล สมบัติเกี่ยวกับวงกลม การให้เหตุผลเกี่ยวกับการสร้างรูปเรขาคณิต เศษส่วนของพหุนาม เศษส่วนพหุนาม การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนของพหุนาม การแก้สมการเศษสว่ นของพหนุ าม การแก้ปัญหาเกีย่ วกับเศษส่วนของพหนุ าม โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรือสรา้ งสถานการณ์ใน ชวี ติ ประจำวนั ที่ใกล้ตัว ให้ผู้เรียน ไดศ้ กึ ษาค้นควา้ โดยการปฏบิ ัตจิ รงิ และในการคิดคำนวณ การแก้ปญั หา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อย่างสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคลอ้ งกับเน้ือหาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์เขียน ส่อื ความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายเก่ียวกับการแกร้ ะบบสมการสองตัวแปรทม่ี ีดีกรไี ม่เกินสอง 2. แก้ระบบสมการสองตัวแปรทม่ี ีดีกรีไมเ่ กินสอง 3. แก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับระบบสมการสองตัวแปรทม่ี ีดีกรีไม่เกนิ สอง 4. ตระหนกั ถึงความสมเหตสุ มผลของคำตอบที่ได้ 5. อธิบายเกีย่ วกับการให้เหตุผลทางเรขาคณติ ได้ 6. ใชส้ มบัติเก่ียวกบั วงกลมในการให้เหตุผลได้ 7. สรา้ งและใหเ้ หตุผลเกย่ี วกับการสรา้ งรูปสี่เหล่ียมและรปู วงกลมที่กำหนดให้ได้ 8. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของการใหเ้ หตผุ ลทางเรขาคณติ 9. อธิบายเก่ียวกับลกั ษณะของเศษสว่ นของพหุนามได้ 10. แสดงการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษสว่ นของพหนุ ามได้ 11. แกส้ มการเศษส่วนของพหนุ ามได้ 12. แก้ปัญหาเกย่ี วกับเศษส่วนของพหุนามได้ 13. ตระหนกั ถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ รวมทั้งหมด 13 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวชิ า รหสั วิชา ค 31101 รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ นื้ ฐาน 1 กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ …………………………………………………………………………………………………………………………………..........………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณติ ศาสตร์ และเชอ่ื มโยงคณติ ศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ เซต การดำเนิการระหว่างเซต อินเตอร์เซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต์ ผลต่างระหว่างเชต และการแก้ปัญหาโดยใช้ เซต ตรรกศาสตร์เบ้ืองตน้ ประพจน์ การเชอ่ื มประพจน์ นิเสธของประพจน์ การเช่อื มประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “และ” การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “หรือ” การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ถ้า..แล้ว..” และการเชื่อม ประพจน์ดว้ ยตวั เชอ่ื ม “กต็ อ่ เมือ่ ” โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรอื สรา้ งสถานการณ์ใน ชวี ิตประจำวนั ที่ใกลต้ ัว ให้ผู้เรียน ได้ศกึ ษาคน้ ควา้ โดยการปฏิบัตจิ รงิ และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การใหเ้ หตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจรงิ สอดคล้องกบั เน้อื หาสาระ ทกั ษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะห์เขียน สอ่ื ความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น รหัสตัวช้ีวัด ค1.1 ม.4/1 ค1.1 ม.4/2 รวมทงั้ หมด 2 ตัวชีว้ ดั
คาํ อธิบายรายวิชา รหสั วชิ า ค 31102 รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ น้ื ฐาน 2 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………...……………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ หลักการนบั เบ้อื งตน้ หลักการบวกและหลักการคณู การเรยี งสบั เปล่ียนเชิงเสน้ ของสงิ่ ของทแ่ี ตกต่างกันท้ังหมด และการจัดหมู่ของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด ความน่าจะเป็น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ และความน่าจะ เป็น โดยใช้กระบวนการ ในการจดั ประสบการณ์ หรอื สรา้ งสถานการณใ์ น ชีวิตประจำวนั ท่ใี กล้ตัว ใหผ้ ้เู รียน ได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่งต่าง ๆ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคลอ้ งกบั เนอื้ หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การอ่าน คดิ วิเคราะหเ์ ขียน ส่ือความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน รหสั ตัวชีว้ ัด ค3.2 ม.4/1 ค3.2 ม.4/2 รวมท้ังหมด 2 ตวั ชว้ี ัด
คาํ อธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ค 32101 รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต …………………………………………………………………………………………………………………………………..……...………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ตา่ ง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ เลขยก กำลัง รากที่ n ของจำนวนจริงเมื่อ n เป็นจำนวนนับที่มากกว่าหนนึ่ง เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวน ตรรกยะ ฟังก์ชัน ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกำลังสอง ฟังก์ชันขั้นบันได ฟังกช์ ันเอ็กซ์โพแนนเชียล ลำดบั และอนกุ รม ลำดบั เลขคณติ และลำดบั เรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรม เรขาคณติ ดอกเบยี้ และมลู คา่ ของเงนิ ดอกเบีย้ มูลคา่ ของเงิน คา่ รายงวด โดยใช้กระบวนการในการจดั ประสบการณ์ หรอื สร้างสถานการณใ์ น ชีวิตประจำวันท่ีใกลต้ ัวให้ผู้เรียนได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจรงิ สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาสาระ ทกั ษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การอา่ น คดิ วิเคราะหเ์ ขียน สอ่ื ความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น รหสั ตวั ชี้วัด ค 1.1 ม.5/1 ค 1.2 ม.5/1 รวมทั้งหมด 2 ตัวช้วี ัด
คาํ อธิบายรายวิชา รหสั วิชา ค 32102 รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน 4 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ………………………………………………………………………………………………………………………………...……………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ตา่ ง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ ลำดับ และอนุกรม ลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต ดอกเบี้ยและมูลค่า ของเงิน ดอกเบ้ีย มูลค่าของเงิน ค่ารายงวด โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรอื สร้างสถานการณใ์ น ชีวิตประจำวนั ที่ใกลต้ วั ให้ผ้เู รียนได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคล้องกบั เนอื้ หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์เขียน สอ่ื ความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น รหัสตวั ชี้วดั ค 1.2 ม.5/2 ค 1.3 ม.5/1 รวมท้ังหมด 2 ตวั ช้ีวดั
คําอธบิ ายรายวิชา รหัสวชิ า ค 33101 รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ น้ื ฐาน 5 กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ………………………………………………………………………………………………………………………………...……………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปน้ี ความหมายของสถิติศาสตร์และข้อมูล สถิติศาสตร์ คำสำคัญในสถติ ศิ าสตร์ ประเภทของข้อมูล สถิติศาสตรเ์ ชิง พรรณนาและสถิติศาสตร์เชิงอนุมาน การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพการวิเคราะห์และนำเสนอ ข้อมลู เชิงคุณภาพดว้ ยตารางความถ่ี โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรือสร้างสถานการณ์ใน ชีวิตประจำวันที่ใกลต้ ัว ให้ผู้เรียน ได้ศึกษาค้นควา้ โดยการปฏบิ ัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตผุ ล การสอื่ ความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคล้องกับเนอื้ หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอา่ น คิดวเิ คราะหเ์ ขียน ส่อื ความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น รหสั ตวั ช้ีวัด ค 3.1 ม.6/1 รวมทั้งหมด 1 ตัวชวี้ ัด
คําอธิบายรายวชิ า รหสั วชิ า ค 33102 รายวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………...……………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปน้ี การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ การวิเคราะห์และนำเสนอขอ้ มูล การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณดว้ ยตารางความถี่ การวิเคราะห์ และนำเสนอข้อมลู เชิงปริมาณด้วยแผนภาพ คา่ วัดทางสถิติ โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรือสร้างสถานการณ์ใน ชีวิตประจำวันที่ใกล้ ตัว ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการ เรยี นรูส้ ง่ิ ต่าง ๆ อย่างสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคล้องกับเนอ้ื หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ การอา่ น คิดวิเคราะหเ์ ขียน สอ่ื ความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน รหสั ตวั ชี้วดั ค 3.1 ม. 6/1 รวมท้ังหมด 1 ตวั ชี้วัด
คาํ อธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ค 30201 รายวชิ าคณิตศาสตรเ์ พิ่มเติมเข้มขน้ 1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ………………………………………………………………..............………………………………………………………………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ เซต เซตการดำเนินการระหว่างเซต และการแก้ปัญหาโดยใช้เซต ตรรกศาสตร์ ประพจน์การเชื่อมประพจน์ การหาค่าความจริงของประพจน์ การสรางตารางคาความจริง รูปแบบของประพจนท่ีสมมลู กัน สัจนิรนั ดร กา รอางเหตุผล ประโยคเปด ตัวบงปริมาณ คาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว สมมูลและนิเสธ ของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ จำนวนจริง จำนวนจริง ระบบจำนวนจริง พหุนามตัวแปรเดียว การแยกตัว ประกอบของพหนุ าม สมการพหุนามตัวแปรเดยี ว เศษสว่ นของพหุนาม สมการเศาส่วนของพหนุ าม การไม่เท่ากัน ของจำนวนจริง อสมการพหุนามตวั แปรเดียว ค่าสัมบูรณ์ สมการและอสมการค่าสัมบรู ณ์ของพหุนามตวั แปรเดียว โดยใช้กระบวนการ ในการจัดประสบการณ์ หรือสร้างสถานการณ์ใน ชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัว ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือ ความหมายทางคณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการ เรยี นร้สู ง่ิ ตา่ ง ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจรงิ สอดคล้องกบั เนอื้ หาสาระ ทกั ษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การอ่าน คดิ วเิ คราะหเ์ ขียน ส่อื ความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ผลการเรยี นรู้ 1. เข้าใจเเละใช้ความรู้เก่ียวกับเซตในการสอื่ สารและส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. เขา้ ใจและใช้ความรูเ้ ก่ียวกับตรรกศาสตร์เบ้ืองตน้ ในการสือ่ สาร สอ่ื ความหมายและอา้ งเหตผุ ล 3. เขา้ ใจจำนวนจริง และใช้สมบตั ิของจำนวนจรงิ ในการแก้ปญั หา 4. แกส้ มการและอสมการพหนุ ามตวั แปรเดยี วดีกรีไม่เกินส่ี และนำไปใช้ในการแก้ปญั หา 5. แก้สมการและอสมการเศษส่วนของพหุนามตัวแปรเดยี ว และนำไปใช้ในการแกป้ ญั หา 6. แก้สมการและอสมการค่าสมั บูรณข์ องพหนุ ามตวั แปรเดยี ว และนำไปใช้ในการแกป้ ญั หา รวมทงั้ หมด 6 ผลการเรียนรู้
คําอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ค 30202 รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเข้มข้น 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรยี น 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ……………………………………………………………………………..............…………………………………………………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การ ให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน การใช้ฟังก์ชันในชีวิตจริง กราฟของฟังก์ชัน การดำเนินการ ของฟังก์ชัน และฟังก์ชันผกผัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม เลขยกกำลัง ฟังก์ชันเอกซ์ โพเนนเชียล ฟังก์ชันลอการิทึม การหาค่าลอการิทึม การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม สมการและอสมการ ลอการิทึม และการประยุกต์ของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอการิทึม เรขาคณิตวิเคราะห์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์ ประกอบด้วย ระยะทางระหว่างจุดสองจุด จุดกึ่งกลางของส่วนของ เส้นตรง ความชันของเส้นตรง เส้นขนาน เส้นตั้งฉาก ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็นเส้นตรง ระยะห่างระหว่าง เสน้ ตรงกับจดุ ภาคตดั กรวย ประกอบดว้ ย วงกลม วงรี พาราโบลา ไฮเพอร์โบลา และการเลือ่ นกราฟ โดยใช้กระบวนการ ในการจัดประสบการณ์ หรือสรา้ งสถานการณใ์ น ชวี ิตประจำวนั ท่ีใกล้ตัว ใหผ้ ้เู รียน ได้ศกึ ษาคน้ คว้าโดยการปฏิบตั จิ รงิ และในการคดิ คำนวณ การแก้ปญั หา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจรงิ สอดคลอ้ งกับเนอื้ หาสาระ ทกั ษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ การอ่าน คดิ วิเคราะห์เขียน สื่อความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน ผลการเรียนรู้ 1. หาผลลัพธข์ องการบวก การลบ การคณู การหารฟังกช์ นั หาฟงั กช์ ันประกอบลฟงั ก์ชันผกผนั 2. ใช้สมบัติของฟังกช์ นั ในการแกป้ ญั หา 3. เขา้ ใจลักษณะกราฟของฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและฟงั กช์ ันลอการิทึม และนำไปใช้ในการแกป้ ญั หา 4. แกส้ มการเอกซโ์ พเนนเชยี ลและสมการลอการทิ มึ และนำไปใชใ้ นการแก้ปญั หา 5. เขา้ ใจและใช้ความรเู้ ก่ยี วกับเรขาคณิตวิเคราะหใ์ นการแกป้ ัญหา รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
คําอธิบายรายวชิ า รหสั วิชา ค 30203 รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเขม้ ขน้ 3 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ………………………………………………………………..............………………………………………………………………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ ลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชัน ตรีโกณมิติ ฟังก์ชนั ตรีโกณมิติผกผัน เอกลักษณแ์ ละสมการตรีโกณมิติ กฎของโคไซนแ์ ละกฎของไซน์ เมทริกซ์ เมทริกซ์และเมทริกซ์สับเปลี่ยน การบวกการลบเมทริกซ์ การคูณเมทริกซ์กับจำนวนจริง การคูณระหว่างเมท รกิ ซ์ ดีเทอร์มแี นนท์ เมทรกิ ซผ์ กผนั การแก้ระบบสมการเชิงเสน้ โดยใช้เมทริกซ์ เวกเตอร์ในสามมิติ เวกเตอร์ นิเสธของเวกเตอร์ การบวกการลบเวกเตอร์ การคูณเวคเตอร์ด้วยสกลาร์ ผลคูณเชิงสเกลาร์ ผลคูณเชิง เวกเตอร์ โดยใชก้ ระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรือสรา้ งสถานการณใ์ น ชวี ิตประจำวันทีใ่ กลต้ วั ให้ผูเ้ รียนได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ อย่างสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะห์เขียน สอื่ ความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวัง สาระที่ 1 ข้อ 2 ม.5/1 ม.5/2 ข้อท่ี 3 ม.5/3, 5/4, 5/5 สาระที่ 2 ขอ้ 2 ม.5/1 ม.5/2 รวมท้ังหมด 7 ผลการเรียนรู้
คําอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ค 30204 รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเข้มข้น 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ……………………………………………………………………………..............…………………………………………………………… ศกึ ษาฝกึ ทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ อนั ไดแ้ กก่ ารแกป้ ัญหา การให้ เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปน้ี ลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต จำนวนเชิงซ้อน จำนวนเชิงซ้อน และสมบัติของจำนวนเชิงซ้อน จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขัว้ รากที่ n ของจำนวนเชิงซอ้ น เมื่อ n เป็นจำนวน นับที่มากกว่าหนึ่ง หลักการนับเบื้องต้น หลักการบวกและการคูณ การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู่กรณีที่ สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด ทฤษฎีบททวินาม ความน่าจะเป็น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะเปน็ ของเหตกุ ารณ์ โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรือสร้างสถานการณ์ใน ชีวิตประจำวันท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรยี น ไดศ้ กึ ษาคน้ คว้าโดยการปฏบิ ัติจรงิ และในการคิดคำนวณ การแกป้ ญั หา การให้เหตุผล การสือ่ ความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคล้องกบั เน้ือหาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ การอ่าน คดิ วเิ คราะหเ์ ขียน ส่อื ความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวัง สาระท่ี 1 ขอ้ 3 ม.5/1 ม.5/2 ข้อที่ 3 ม.5/3, 5/4, 5/5 สาระท่ี 3 ข้อ 1 ม.5/1 ม.5/2 รวมทั้งหมด 7 ผลการเรยี นรู้
คําอธิบายรายวชิ า รหสั วิชา ค 30205 รายวิชาคณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ เขม้ ข้น 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 60 ชัว่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ………………………………………………………………..............………………………………………………………………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ ลำดับและอนุกรม ลำดับ ลิมิตของลำดับอนันต์ อนุกรม สัญลักษณ์แสดงการบวก การประยุกต์ของลำดับและ อนุกรม แคลคูลัสเบื้องต้น ลิมิตของฟังก์ชัน ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชัน การหาอนุพันธ์ของ ฟังก์ชันโดยใช้สูตร อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ เส้นสัมผัสเส้นโค้ง อนุพันธ์อันดับสูง การประยุกต์ของอนุพันธ์ ปฏยิ านพุ ันธแ์ ละปริพันธ์ไม่จำกดั เขต ปริพนั ธจ์ ำกัดเขต พนื้ ที่ปดิ ล้อมดว้ ยเสน้ โค้ง โดยใช้กระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรือสร้างสถานการณ์ใน ชีวิตประจำวันที่ใกลต้ ัว ให้ผู้เรียน ได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อยา่ งสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคล้องกบั เนอื้ หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ การอา่ น คิดวเิ คราะหเ์ ขียน ส่อื ความหมาย และสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน ผลการเรียนรู้ 1. ระบไุ ด้วา่ ลำดบั ทกี่ ำหนดให้เป็นลำดบั ล่เู ข้าหรอื ลอู่ อก 2. หาผลบวก n พจนแ์ รกของอนกุ รมเลขคณิตและอนกุ รมเรขาคณิต 3. หาผลบวกอนกุ รมอนันต์ 4. เข้าใจและนำความร้เู ก่ียวกับลำดับและอนุกรมไปใช้ 5. ตรวจสอบความต่อเนือ่ งของฟงั ก์ชนั ที่กำหนดให้ 6. หาอนพุ นั ธ์ของฟังกช์ ันพีชคณิตทก่ี ำหนดใหแ้ ละนำไปใชแ้ กป้ ญั หา 7. หาปริพนั ธไ์ มจ่ ำกดั เขตและจำกัดเขตของฟังกช์ นั พีชคณิตท่ีกำหนดให้ และนำไปใชแ้ ก้ปัญหา รวมทั้งหมด 7 ผลการเรยี นรู้
คําอธบิ ายรายวชิ า รหัสวิชา ค 30206 รายวชิ าคณิตศาสตร์เพม่ิ เติมเขม้ ข้น 6 กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ ……………………………………………………………………………..............…………………………………………………………… ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสาระต่อไปนี้ การ วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น สถิติและข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวัดค่ากลางของข้อมูล การวัดตำแหน่งที่ของ ข้อมูล การวัดการกระจายของข้อมูล ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น ความหมายและชนิดของตัว แปรสุ่ม การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม ต่อเนอื่ ง โดยใชก้ ระบวนการในการจัดประสบการณ์ หรอื สรา้ งสถานการณใ์ น ชีวิตประจำวนั ทีใ่ กลต้ วั ให้ผเู้ รียนได้ ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง และในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์ นำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และการวัดผล ประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคลอ้ งกับเน้อื หาสาระ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ การอา่ น คดิ วเิ คราะหเ์ ขียน สื่อความหมาย และสมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น รหสั ตัวช้วี ดั 1. ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ทางสถติ ิในการนำเสนอข้อมลู การแปลความหมายของค่าสถิติ เพอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจ 2. หาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ทเี่ กิดจากตวั แปรสุ่มท่ีมกี ารแจกแจงเอกรปู การแจกแจงทวินามและการแจก แจงปกติ และนำไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา รวมท้ังหมด 2 ผลการเรียนรู้
โครงสร้างหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (STEM) ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ปกี ารศกึ ษา 2565 โรงเรียนธาตทุ องอำนวยวิทย์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง 2560) ระดับ ภาคเรียนท่ี ๑ นก./ชม. ภาคเรียนท่ี ๒ นก./ชม. ชน้ั รายวิชา ๑.0 (4๐) รายวิชา ๑.0 (4๐) ม.๑ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์1 0.๕ (2๐) 0.๕ (2๐) ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี1 1.0 (40) ว๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร2์ 1.0 (40) ว21281 หุน่ ยนต์ 1 ว21104 วทิ ยาการคำนวณ1 ว21282 หนุ่ ยนต์ 2 ม.๒ ว๒2๑๐๑ วิทยาศาสตร์3 ๑.0 (4๐) ว๒2๑๐๒ วิทยาศาสตร์4 ๑.0 (4๐) ว22103 การออกแบบและเทคโนโลยี2 ว22283 เร่ิมตน้ โครงงานวิทยาศาสตร์ 0.๕ (2๐) ว22104 วทิ ยาการคำนวณ2 0.๕ (2๐) ๑.0 (4๐) ว22284 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๑.0 (4๐) ม.๓ ว๒3๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์5 ๑.0 (4๐) ว๒3๑๐๒ วิทยาศาสตร์6 ๑.0 (4๐) ว23103 การออกแบบและเทคโนโลยี3 0.๕ (2๐) ว23104 วทิ ยาการคำนวณ3 0.๕ (2๐) ว23285 การปลกู ผักไรด้ นิ 1 ๑.0 (4๐) ว23286 การปลูกผกั ไรด้ นิ 2 ๑.0 (4๐) โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ปกต)ิ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ ปกี ารศึกษา 2565 โรงเรยี นธาตทุ องอำนวยวิทย์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ 2560) ระดบั ภาคเรียนท่ี ๑ นก./ชม. ภาคเรยี นท่ี ๒ นก./ชม. ชน้ั รายวชิ า ๑.0 (4๐) รายวิชา ๑.0 (4๐) ม.๑ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์1 0.๕ (2๐) ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์2 0.๕ (2๐) ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี1 ว21104 วทิ ยาการคำนวณ1 ม.๒ ว๒2๑๐๑ วิทยาศาสตร์3 ๑.0 (4๐) ว๒2๑๐๒ วิทยาศาสตร์4 ๑.0 (4๐) ว22103 การออกแบบและเทคโนโลยี2 0.๕ (2๐) ว22104 วิทยาการคำนวณ2 0.๕ (2๐) ม.๓ ว๒3๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์5 ๑.0 (4๐) ว๒3๑๐๒ วิทยาศาสตร์6 ๑.0 (4๐) ว23103 การออกแบบและเทคโนโลยี3 0.๕ (2๐) ว23104 วิทยาการคำนวณ3 0.๕ (2๐)
โครงสรา้ งหลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ศิลป)์ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปกี ารศึกษา 2565 โรงเรียนธาตทุ องอำนวยวิทย์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง 2560) ระดบั ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ชนั้ รายวิชา นก./ชม. รายวชิ า นก./ชม. ม.4 ว3๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ๑.0 (4๐) ว31103 วิทยาการคำนวณ 0.๕ (2๐) ๑.0 (4๐) ว31102 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.๕ (2๐) ว31288 เทคโนโลยีการผลิตเช้อื เหด็ ๑.0 (4๐) ว31287 เทคโนโลยีการเพาะเลย้ี งเนือ้ เยื่อเห็ด ๑.0 (4๐) ว30296 การผลติ สอ่ื สงิ่ พมิ พ์ ว30295 ภาพกราฟฟกิ ๑.0 (4๐) ม.5 ว32๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ(เคม)ี ๑.0 (4๐) ว32๑๐๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟสิ กิ ส)์ ๑.0 (4๐) ว32103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.๕ (2๐) ว32104 วทิ ยาการคำนวณ 0.๕ (2๐) ว32289 เทคโนโลยกี ารผลิตกอ้ นเช้อื เห็ด ๑.0 (4๐) ว322890 เทคโนโลยีการการเปดิ ดอกเหด็ ๑.0 (4๐) ว30297 การผลิตส่ือวิดโิ อ ๑.0 (4๐) ว30298 การผลิตรายการ ๑.0 (4๐) ม.6 ว33101วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๑.0 (4๐) ว33102 วทิ ยาการคำนวณ 0.๕ (2๐) ๑.0 (4๐) ว33291 เทคโนโลยีการแปรรปู และออกแบบ ๑.0 (4๐) ว33292 เทคโนโลยีการตลาด 0.๕ (2๐) ผลติ ภณั ฑ์ ว33282 การตดั ตอ่ วดี ีโอ ว33281 การตลาดออนไลน์ ๑.0 (4๐) ว30294 การค้นคว้าอิสระ2 (IS) ว30293 การค้นควา้ อิสระ1 (IS) 0.๕ (2๐)
โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทย์-คณติ ) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ปีการศกึ ษา 2565 โรงเรียนธาตุทองอำนวยวทิ ย์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง 2560) ระดับ ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ชั้น รายวิชา นก./ชม. รายวิชา นก./ชม. ม.4 ว3๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ ว31102 การออกแบบและเทคโนโลยี ๑.0 (4๐) ว31103 วทิ ยาการคำนวณ 0.๕ (2๐) ว31201 ฟิสิกส1์ 1.5 (80) ว31221 เคม1ี 0.๕ (2๐) ว31202 ฟิสกิ ส์2 1.5 (60) ว31241 ชีววทิ ยา1 1.5 (60) ว31261 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ1 1.5 (80) ว31222 เคมี2 0.5 (20) ว30281 การออกแบบโปรแกรมสามมติ ิ 1.0 (40) 1.5 (60) ว31242 ชีววิทยา2 1.5 (60) ว32262 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ2 0.5 (20) ว30282 การเขยี นโปรแกรมภาซี 1.0 (40) ม.5 ว32๑๐๑ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ(เคม)ี ๑.0 (40) ว32๑๐๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ(ฟิสกิ ส)์ ๑.0 (4๐) ว32103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.๕ (20) ว32104 วิทยาการคำนวณ 0.๕ (2๐) ว32203 ฟิสิกส3์ 1.5 (80) ว32204 ฟิสกิ ส์4 1.5 (80) ว32223 เคมี3 1.5 (60) ว32224 เคมี4 1.5 (60) ว32243 ชีววิทยา3 1.5 (60) ว32244 ชีววิทยา4 1.5 (60) ว32263 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ3 0.5 (20) ว32264 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 4 0.5 (20) ว30283 ห่นุ ยนตอ์ ตั โนมัต1ิ 1.0 (40) ว30284 หนุ่ ยนตอ์ ัตโนมัติ1 1.0 (40) ม.6 ว33101วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๑.0 (40) ว33102 วิทยาการคำนวณ 0.๕ (20) ว33205 ฟิสกิ ส์5 1.5 (80) ว33206 ฟิสกิ ส์6 1.5 (80) ว33225 เคม5ี 1.5 (60) ว33226 เคม6ี 1.5 (60) ว33245 ชีววิทยา5 1.5 (60) ว33246 ชวี วทิ ยา6 1.5 (60) ว33265 โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ5 0.5 (20) ว33266 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ6 0.5 (20) ว30285 ระบบ lot 1.0 (40) ว30286 ระบบอตั โนมตั ิ 1.0 (40) ว30293 การคน้ ควา้ อิสระ1 (IS) 0.๕ (20) ว30294 การค้นควา้ อิสระ2 (IS) 0.๕ (20)
คำอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร์1 รหสั วิชา ว21101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศกึ ษา วเิ คราะห์ สมบัติทางกายภาพ ของธาตทุ ีเ่ ปน็ โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรงั สี จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น และใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวลและปริมาตรของสารบริสุทธิ์และสารผสม อะตอม ธาตุ และสารประกอบ โครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน การ จัดเรียงอนภุ าคแรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนุภาคและการเคล่ือนท่ีของอนุภาค พลังงานความรอ้ นกับการเปลี่ยน สถานะของสสาร เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ การใช้กล้อง จลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สง ความสัมพันธ์ระหว่างรปู ร่างกับหนา้ ท่ีของเซลล์ การจดั ระบบส่ิงมชี วี ติ กระบวนการแพร่ และการออสโมซิส ปัจจัยที่จำเป็น และความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง คุณค่าของพืชที่มีต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การลำเลียงสารของไซเล็มและโฟลเอ็ม การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ ลักษณะโครงสร้างดอก การถ่ายเรณู การปฏิสนธิ การเกิดผลและเมล็ด การกระจาย การงอกของเมล็ด การ เลือกใช้ธาตุอาหารที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช การขยายพันธุ์พืช ความสำคัญเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยง เน้ือเยือ่ พืช โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล อธิบาย อภิปรายและสร้างแบบจำลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ นำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกต การ ทดลองแบบจำลอง และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ คุณธรรมจรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี ระบปุ ญั หาหรอื ความต้องการในชีวิตประจำวนั รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มูลและแนวคิด ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา วิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมอื กลไก ไฟฟา้ หรอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เพ่ือแกป้ ญั หาอย่างถกู ต้อง เหมาะสมและปลอดภยั ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น กำหนดแนวทางการปรับปรุงแก้ไขและนำเสนอผลการแก้ปัญหาหรือ พฒั นางาน มาตรฐานตวั ช้ีวัด ว 1.2 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4 , ม.1/5 , ม.1/6 , ม.1/7 , ม.1/8 , ม.1/9 , ม.1/10 ม.1/11, ม.1/12 , ม.1/13 , ม.1/14 , ม.1/15 , ม.1/16 , ม.1/17 , ม.1/18 ว 2.1 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4 , ม.1/5 , ม.1/6 , ม.1/7 , ม.1/8 , ม.1/9 , ม.1/10 ว 4.1 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4, ม.1/5 รวมทั้งหมด 33 ตัวช้วี ัด
คำอธบิ ายรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร์2 รหสั วิชา ว21102 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษา วิเคราะห์ คำนวณปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะ การใช้ เทอรโ์ มมเิ ตอร์ การขยายตัวหรอื หดตวั การถ่ายโอนความร้อน ปรมิ าณความร้อนท่ถี า่ ยโอนระหว่างสสารจนเกิด สมดุลความร้อน การนำความร้อน การพาความร้อน การแผ่รังสีความร้อน ความสัมพันธ์ความดันอากาศกับ ความสูงจากพื้นโลก การแบ่งชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ กระบวนการเกิดพายุ ฝนฟ้าคะนอง และพายหุ มนุ เขตรอ้ น การพยากรณ์อากาศ และผลกระทบและการปฏิบตั ิตนของการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศโลก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล อธิบาย อภิปรายและสร้างแบบจำลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ นำเสนอสือ่ สารส่งิ ทเ่ี รียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ทไ่ี ด้จากการสังเกต การทดลองแบบจำลอง และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เหน็ คณุ ค่าของ การนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ คณุ ธรรมจริยธรรม และคา่ นิยมทเี่ หมาะสม ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือแกป้ ัญหา อธิบายการทำงานที่พบในชวี ติ จรงิ ออกแบบอลั กอรทิ มึ การออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย เพ่ือแกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตรห์ รือวทิ ยาศาสตร์ รวบรวมข้อมลู ปฐมภมู ิ ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูล และสารสนเทศ ใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ หลากหลาย ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ใชส้ อื่ และแหล่งข้อมลู ตามขอ้ กำหนดและข้อตกลง มาตรฐานตวั ช้วี ดั ว 2.1 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4 , ม.1/5 , ม.1/6 , ม.1/7, ม.1/8 , ม.1/9 , ม.1/10 ว 2.2 ม.1/1 ว 3.2 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4 , ม.1/5 , ม.1/6 , ม.1/7 ว 4.2 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4 รวมท้ังหมด 22 ตัวช้วี ดั
คำอธิบายรายวิชาวทิ ยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร์3 รหัสวชิ า ว22101 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ระบุ อธิบาย ตระหนัก บรรยาย ออกแบบการทดลอง ทดลอง แยก ตระหนักถึงความสำคัญ อวัยวะ หน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องในระบบหายใจ กลไกการหายใจเข้าและออกโดยใช้แบบจำลอง ความสำคัญของระบบหายใจโดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจให้ทำงานเป็นปกติ อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะในระบบขับถ่ายในการกำจัดของเสียทางไต ความสำคัญของระบบขับถ่ายในการ กำจัดของเสียทางไต โดยการบอกแนวทางในการปฏิบัติตนที่ช่วยให้ระบบขับถ่ายทำหน้ าที่ได้อย่างปกติ โครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจ หลอดเลือด และเลือด การทำงานของระบบหมุนเวียนของเลือดโดยใช้ แบบจำลอง การเปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจ ขณะปกติและหลังทำกิจกรรม ความสำคัญของระบบ หมนุ เวียนเลือดโดยการบอกแนวทางในการดแู ลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวยี นเลือดให้ทำงานเป็นปกติ อวัยวะ และหน้าที่ของอวัยวะในระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุมการทำงานต่าง ๆ ของร่างกาย ความสำคัญของ ระบบประสาท โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษา รวมถึงการป้องกันการกระทบกระเทือนและอันตรายต่อ สมองและไขสันหลัง อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศชายและเพศหญิงโดยใช้แบบจำลอง ผล ของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว การ เปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาวโดยการดูแลรักษาร่างกายและจิตใจของตนเองในช่วงที่มีการ เปล่ยี นแปลง การตกไข่ การมีประจำเดอื น การปฏสิ นธิ และการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเปน็ ทารก วธิ ีการ คุมกำเนิดที่เหมาะสมกับสถานการณ์ทีก่ ำหนด ผลกระทบของการตั้งครรภก์ ่อนวัยอันควร โดยการประพฤตติ น ให้เหมาะสม การแยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครทาโทกราฟี แบบกระดาษ การ สกดั ด้วยตัวทำละลาย โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ นำวิธกี ารแยกสารไปใช้แกป้ ัญหาในชีวิตประจำวันโดยบูรณา การวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์ การอธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนิดของตวั ทำละลาย อุณหภูมทิ ีม่ ตี อ่ สภาพละลายได้ของสาร รวมทั้ง ผลของความดันท่ีมตี ่อสภาพละลายไดข้ องสาร ปริมาณตวั ละลายในสารละลาย ในหนว่ ยความเข้มขน้ เป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร มวลต่อมวล และมวลต่อปริมาตร ความสำคัญของการนำความรู้เรื่องความเขม้ ข้นของสาร ไปใช้ โยการยกตวั อยา่ งการใช้สารละลายในชวี ิตประจำวันอย่างถูกตอ้ งและปลอดภัย โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance)
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม มาตรฐานตวั ชี้วดั ว ๑.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ม.๒/๙ ม.๒/๑๐ ม.๒/๑๑ ม.๒/๑๒ ม.๒/๑๓ ม.๒/๑๔ ม.๒/๑๕, ม.๒/๑๖ ม.๒/๑๗ ว ๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ว ๒.2 ม.2/๑ ม.2/๒ ม.2/๓ ม.2/๔ ม.2/๕ ม.2/๖ รวมทั้งหมด ๒๓ ตัวชวี้ ัด
คำอธิบายรายวิชาวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รายวชิ า วิทยาศาสตร์4 รหัสวชิ า ว22102 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1 หน่วยกิต ************************************************************************************************ พยากรณ์ เขียนแผนภาพ ออกแบบการทดลอง ทดลอง วเิ คราะห์ อธิบาย ตระหนกั ถึง เปรียบเทยี บ คำนวณ แปลความหมายข้อมูล สร้างแบบจำลอง ตรวจวัดสมบัติบางประการ การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นผล ของแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงกระทำต่อวัตถุในแนวเดียวกัน แผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธ์เกิดจากแรง หลายแรงกระทำต่อวัตถุในแนวเดียวกัน ปัจจัยท่ีมผี ลตอ่ ความดันของของเหลว แรงพยุงและการจม การลอย ของวัตถุในของเหลว แผนภาพแสดงแรงท่ีกระทำต่อวัตถุในของเหลว แรงเสยี ดทานสถติ และแรงเสียดทานจลน์ ปจั จัยทีม่ ีผลตอ่ ขนาดของแรงเสียดทาน แผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอน่ื ๆ ที่กระทำตอ่ วัตถุ ประโยชน์ ของความรู้เรื่องแรงเสียดทาน วิธีการลดหรือเพิ่มแรงเสียดทานที่เป็นประโยชน์ต่อการทำกิจกรรมใน ชีวิตประจำวัน โมเมนต์ของแรง แหล่งของสนามแม่เหล็ก สนามไฟฟา้ และสนามโน้มถว่ ง และทิศทางของแรง ที่กระทำต่อวัตถุที่อยู่ในแต่ละสนาม แผนภาพแสดงแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อวัตถุ ความสมั พนั ธ์ระหว่างขนาดของแรงแมเ่ หล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโนม้ ถว่ งที่กระทำต่อวัตถุท่ีอยู่ในสนามนั้น ๆ กับ ระยะห่างจากแหล่งของสนามถึงวัตถุ อัตราเร็ว ความเร็วของการเคลือ่ นที่ของวัตถุ แผนภาพแสดงการกระจดั และความเรว็ งานและกำลังที่เกิดจากแรงที่กระทำต่อวัตถุ หลักการทำงานของเครื่องกลอย่างง่าย ประโยชน์ของ ความรู้ของเครื่องกลอย่างง่าย ปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานจลน์และพลังงานศักย์โน้มถ่วง การเปลี่ยนพลังงาน ระหว่างพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานจลน์ของวัตถุโดยพลังงานกลของวัตถุมีค่าคงตัว การเปลี่ยนและการ ถา่ ยโอนพลังงานโดยใชก้ ฎการอนรุ ักษ์ กระบวนการเกิด สมบตั ิ และการใชป้ ระโยชน์ รวมท้งั ผลกระทบจาการใชเ้ ช้ือเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ผล จากการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์/แนวทางการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ข้อดีและข้อจำกัดของพลังงาน ทดแทน แนวทางการใชพ้ ลังงานทดแทนที่เหมาะสมในทอ้ งถน่ิ โครงสร้างภายในโลกตามองค์ประกอบทางเคมี กระบวนการผุพังอยู่กับที่ การกร่อนและการสะสมตัว ของตะกอนจากแบบจำลอง ผลของกระบวนการดังกล่าวทท่ี ำใหผ้ ิวโลกเกิดการเปลยี่ นแปลง ลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน กระบวนการเกิดดิน ปัจจัยที่ทำให้ดินมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน สมบัติบาง ปัจจัยและกรบวนการเกิดแหล่งน้ำผิวดิน และแหล่งน้ำใต้ดินจากแบบจำลอง การใช้น้ำและแนว ทางการใช้น้ำอย่างยั่งยืนในท้องถิ่นของตนเอง กระบวนการเกิดและผลกระทบของน้ำท่วม การกัดเซาะชายฝ่ัง ดนิ ถลม่ หลุมยุบ แผน่ ดนิ ทรุด โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ
(Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และน ำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม มาตรฐานตัวช้ีวดั ว ๒.๒ ม. ๒/๑, ม. ๒/๒, ม. ๒/๓, ม. ๒/๔, ม. ๒/๕, ม. ๒/๖, ม. ๒/๗, ม. ๒/๘, ม. ๒/๙ ม. ๒/๑๐, ม. ๒/๑๑, ม. ๒/๑๒ ม. ๒/๑๓, ม. ๒/๑๔, ม. ๒/๑๕ ว ๒.๓ ม. ๒/๑, ม. ๒/๒, ม. ๒/๓, ม. ๒/๔, ม. ๒/๕, ม. ๒/๖ ว ๓.๒ ม. ๒/๑, ม. ๒/๒, ม. ๒/๓, ม. ๒/๔, ม. ๒/๕, ม. ๒/๖ ,ม. ๒/๗, ม. ๒/๘, ม. ๒/๙ ม. ๒/๑๐ รวมทงั้ หมด ๓๑ ตวั ช้ีวัด
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร์5 รหสั วชิ า ว23101 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกติ ************************************************************************************************ อธิบาย สร้างแบบจำลอง ตระหนักถึง บอก เปรียบเทียบ ระบุ วิเคราะห์ ออกแบบ ปฏิสัมพันธ์ ขององค์ประกอบของระบบนิเวศที่ได้จากการสำรวจ รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบ ต่าง ๆ ในแหล่งที่อยเู่ ดียวกันที่ได้จากากรสำรวจ ในการอธบิ ายการถ่ายทอดพลังงานในสายอาหาร ความสัมพันธ์ ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ การสะสมสารพิษนสิ่งมีชีวิตในโซ่อหาร ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชวี ิต และสิ่งแวดล้อมในระบบนเิ วศ โดยไม่ทำลายสมดุลของระบบนเิ วศ โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดยใช้แบบจำลอง การถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวที่แอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์ การเกิดจีโนไทป์ และฟีโนไทป์ของลูกและคำนวณอัตราส่วนจากจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก ความแตกต่างของการแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิสและไมโอซิส การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมอาจทำให้เกิดโรคทางพันธุกรรม พร้อมท้ัง ยกตัวอย่างโรคทางพันธุกรรม ประโยชน์ของความรู้เรื่องโรคทางพันธุกรรม โดยรู้ว่าก่อนแต่งงานควรปรึกษา แพทย์เพื่อตรวจและวินิจฉัยภาวะเสี่ยงของลูกที่อาจเกิดโรคทางพันธุกรรม การใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดดั แปร พันธุกรรม และผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ ประโยชน์และผลกระทบ ของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่อาจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมโดยการเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการโต้แย้งทาง วิทยาศาสตร์ ซึ่งมีข้อสนับสนุน ความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศต่าง ๆ ความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศและต่อมนุษย์ คุณค่าและ ความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ สมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสมโดยใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์ และสารสนเทศ คุณค่าของการใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม โดยเสนอแนะแนว ทางการใชว้ สั ดุอย่างประหยัดและค้มุ คา่ เพื่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถึงการจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมเมื่อเกิดปฏิกริ ิยาเคมีโยใช้แบบจำลองและ สมการข้อความ กฎทรงมวล โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ปฏิกิริยาดดู ความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน จาก การเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของปฏิกิริยา ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏกิ ริ ิยาของกรดและเบส และปฏกิ ริ ยิ าของเบสกับโลหะ โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ และอธิบายปฏิกิริยาการเผา ไหม้ การเกดิ ฝนกรด การสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใชส้ ารสนเทศ รวมท้ังเขียนสมการข้อความแสดงปฏิกริ ยิ าดังกล่าว ประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมีท่ีมีต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และยกตัวอย่างวิธกี ารป้องกันและแก้ปัญหาที่ เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน จากการสืบค้นข้อมูล วิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน โดยใช้ความรู้ เกี่ยวกับปฏิกริ ิยาเคมี โดยบูรณาการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์การอธิบายผล ของชนิดตัวละลาย ชนิดของตัวทำละลาย อุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร รวมทั้งผลของความดันที่มีต่อ สภาพละลายได้ของสาร ปริมาณตัวละลายในสารละลาย ในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร
มวลต่อมวล และมวลต่อปริมาตร ความสำคัญของการนำความรู้เรื่องความเข้มข้นของสารไปใช้ โดยการ ยกตัวอย่างการใชส้ ารละลายในชวี ติ ประจำวันอย่างถูกต้องและปลอดภยั โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะด้านการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม มาตรฐานตัวช้ีวดั ว ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒ ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖ ว ๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม. ๓/๑๐, ม.๓/๑๑, ม.๓/๑๒, ม.๓/๑๓ ว ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม๓/๗, ม.๓/๘ รวมท้ังหมด ๒๗ ตัวช้ีวัด
คำอธิบายรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร6์ รหสั วชิ า ว23102 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกติ ************************************************************************************************ วเิ คราะห์ เขียนกราฟ ใช้ เขียนแผนภาพ อธบิ าย คำนวณ สรา้ งแบบจำลอง ออกแบบการทดลอง ทดลอง วัดความสว่าง ยกตัวอย่าง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้าและความต้านทาน คำนวณ ปริมาณที่เกี่ยวข้องโดยใช้สมการ V=IR จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความ ต่างศักย์ไฟฟ้า การใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณทางไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้าเมื่อต่อตัวต้านทานหลายตัวแบบอนุกรมและแบบขนาน วงจรไฟฟ้าแสดงการต่อตัวต้านทานแบบ อนกุ รมและแบบขนานจากหลักฐานเชิงประจักษ์ วงจรไฟฟา้ แสดงการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและแบบขนาน การทำงานของชน้ิ สว่ นอิเล็กทรอนิกส์อย่างงา่ ยในวงจร การตอ่ ชนิ้ สว่ นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อยา่ งงา่ ยในวงจรไฟฟ้า การ หาค่าพลังงานไฟฟ้าโดยใช้สมการ W=Pt การคำนวณค่าไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน คุณค่าของการเลือกใช้ เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ โดยนำเสนอวธิ กี ารใช้เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งประหยดั และปลอดภยั การเกิดคลืน่ และส่วนประกอบของคลน่ื คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ และสเปกตรมั คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ประโยชน์ และอันตรายจากคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้าอนั ตรายจากคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ ในชีวิตประจำวัน กฎการสะท้อนของแสง การเคลื่อนที่ของแสง การเกิดภาพจากกระจกเงา การหักเหของแสงเมื่อผ่าน ตวั กลางโปรง่ ใส่ทแี่ ตกต่างกัน การกระจายแสงของแสงขาวเม่อื ผ่านปริซมึ การเคล่อื นที่ของแสงแสดงการเกิดภาพ จากเลนส์บาง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสงและการทำงานของทัศนอุปกรณ์ การเคลื่อนที่ของแสง การเกิดภาพ ของทัศนอุปกรณ์และเลนส์ตา ความสว่างที่มีต่อดวงตา การวัดความสว่างของแสง คุณค่าของความรู้เรื่อง ความ สว่างของแสงที่มีต่อดวงตา โดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเสนอแนะการจัดความสว่างให้เหมาะสมในการ ทำกิจกรรมต่าง ๆ การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตยด์ ว้ ยแรงโน้มถ่วง การเกดิ ฤดู และการเคล่อื นทปี่ รากฏของดวง อาทิตย์ การเกิดข้างขึ้น ข้างแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาการขึ้นและตกของดวงจันทร์ และการเกิดน้ำขึ้นน้ำลง การใช้ประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ ความกา้ วหน้าของโครงการสำรวจอวกาศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะดา้ นการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต
วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม มาตรฐานตวั ชี้วัด ว ๒.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒ , ม. ๓/๓ , ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙ ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑, ม. ๓/๑๒, ม. ๓/๑๓ , ม.๓/๑๔, ม.๓/๑๕, ม. ๓/๑๖, ม.๓/๑๗ ม.๓/๑๘, ม.๓/๑๙, ม๓/๒๐, ม.๓/๒๑ ว ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม. ๓/๓ รวมทั้งหมด ๒๔ ตัวช้ีวัด
คำอธิบายรายวิชาวทิ ยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน รายวชิ า วิทยาศาสตร์ชีวภาพ รหัสวชิ า ว31101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พนั ธ์ระหว่างส่ิงไม่มชี ีวิตกับส่ิงมชี วี ิต และความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบทีม่ ีตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อม สมบตั ขิ องส่ิงมีชวี ิต หน่วยพ้นื ฐานของ สิง่ มชี วี ติ การลำเลียง สารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์ และมนุษย์ที่ทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน กระบวนการ และความสำคัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม สารพนั ธกุ รรม การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธุกรรมท่ีมีผลต่อ ส่ิงมีชวี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของสิง่ มชี วี ิต โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม มาตรฐานตวั ชวี้ ัด ว 1.1 ม 4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4 ว 1.2 ม4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4, ม.4/5, ม.4/6, ม.4/7, ม.4/8, ม.4/9 ม. 4/10 ม.4/11, ม.4/12 ว 1.3 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4, ม.4/5, ม.4/6 รวมทั้งหมด ๒2 ตวั ช้ีวัด
คำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน รายวชิ า วิทยาศาสตรก์ ายภาพ (เคม)ี รหสั วิชา ว32102 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์และกลุ่ม หมอก อนุภาคมูลฐานของอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์โมเลกุล ไอออน และไอโซโทปของธาตุ วิวัฒนาการของ การสร้างตารางธาตุและตารางธาตใุ นปัจจุบัน แนวโน้มสมบัติบางประการของธาตุในตารางธาตตุ ามหมู่และคาบ ศึกษาการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุลของสาร การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ การอ่านช่ือ สารประกอบโคเวเลนต์ สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ สมบัติของ สารประกอบโคเวเลนต์ การเกิดพันธะไอออนิก การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก และสมบัติบาง ประการของสารประกอบไอออนิก สมบตั ิของกรด เบส และเกลอื สารละลายอิเล็กโทรไลตแ์ ละนอนอเิ ล็กโทรไลต์ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ศกึ ษาโครงสร้าง สมบัติ ประเภทของพอลิเมอร์ ตัวอยา่ งพอลิเมอรธ์ รรมชาติและพอ ลิเมอร์สังเคราะห์ ปฏิกิริยาการสังเคราะหพ์ อลิเมอร์ รวมทั้งการใช้ประโยชน์และผลกระทบจากการใชผ้ ลิตภณั ฑ์ ของพอลิเมอร์ ศึกษาและทดลองการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาและทดลองปัจจัยที่มีผล ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันและการใช้ประโยชน์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ ศึกษาสมบัติ ของสารกัมมันตรังสีและคำนวณครึ่งชีวิตและปริมาณของสารกัมมันตรังสีประโยชน์และอันตรายของสาร กัมมันตรงั สี โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสืบคน้ ข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม มาตรฐานตัวชว้ี ัด ว 2.1 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.5/6, ม.5/7, ม.5/8, ม.5/9 ม.5/10, ม.5/11, ม.5/12, ม.5/13, ม.5/14, ม.5/15, ม.5/16, ม.5/17, ม.5/18, ม.5/19, ม.5/20, ม.5/21, ม. 5/22, ม.5/23, ม.5/24, ม.5/25 รวมทั้งหมด ๒5 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวิชาวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รายวชิ า วิทยาศาสตรก์ ายภาพ (ฟิสกิ ส์) รหัสวิชา ว32101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาหลักการพื้นฐานของพลังงานในเรื่ององคประกอบของคลื่น สมบัติของคลื่น เสียงและการได้ยิน ความเขมเสียง การเกิดเสยี งสะท้อนกลับ บีต ดอปเพลอร์ และการสน่ั พ้องของเสียง มลพษิ ทางเสียงการมองเห็น สีของวตั ถุ การผสมสารสีและการนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวัน สเปกตรมั คล่ืนแม่เหล็กไฟฟาการสื่อสารโดย อาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ หลักการทำงานของอุปกรณ์บางชนิด ที่อาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี รังสี ในชีวติ ประจำวนั ปฏกิ ริ ิยานวิ เคลียร พลังงานนวิ เคลียร และการใช้ประโยชน์ในทางสร้างสรรคผลกระทบตอส่ิงมี ชีวิตและสิ่งแวดลอมโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การ สงั เกตกาiวิเคราะห์ การอธบิ าย การอภปิ รายและสรุป เพือ่ ใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจมคี วามสามารถใน การตัดสินใจ สื่อสารสิง่ ที่เรียนรูและนำความรูไปใชในชีวิตของตนเองและดูแลรกั ษาสิง่ มีชีวิตอืน่ ๆ เฝ้าระวังและ พฒั นาสิง่ แวดลอมอย่างย่ังยืน มีจติ วทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรมและคานิยมทีเ่ หมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะดา้ นการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาส่ิ งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม มาตรฐานตัวชว้ี ดั ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.5/6, ม.5/7, ม.5/8, ม.5/9, ม.5/10 ว 2.3 ม.5/11, ม.5/12 รวมท้ังหมด 12 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน รายวชิ า วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ รหัสวชิ า ว33101 กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรฯ์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศกึ ษา วิเคราะห์ การแบง่ โครงสรา้ งโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงทางธรณภี าคของโลกกระบวนการเกิด ภเู ขา รอยเลื่อน รอยคดโค้ง แผ่นดนิ ไหว ภูเขาไฟระเบิด สําคัญของปรากฏการณท์ างธรณวี ิทยาแผ่นดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบิดทสี่ ง่ ผลตอ่ สิง่ มชี ีวิตและสงิ่ แวดล้อม การลําดบั ชัน้ หิน จากการวางตัว ของช้ันหิน ซากดึกดําบรรพ์ และโครงสร้างทางธรณวี ิทยา เพื่ออธิบายประวัติความเป็นมาของพ้ืนที่ประโยชน์ของข้อมูลทางธรณีวิทยา การเกดิ และววิ ัฒนาการของระบบสุรยิ ะ กาแลก็ ซี และเอกภพ ธรรมชาตแิ ละวฒั นาการของดาวฤกษ์ การสง่ และ คำนวณความเร็วในการโคจรของดาวเทียมรอบโลก ประโยชน์ของดาวเทยี มในดา้ นต่าง ๆ การส่งและสาํ รวจอวกาศ โดยใช้ยานอวกาศและสถานีอวกาศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทกั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม มาตรฐานตวั ช้ีวัด ว 3.1 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6 /5, ม.6/6, ม.6/7 , ม.6/8, ม.6/9 , ม.6/10 ว 3.2 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6 /5, ม.6/6, ม.6/7, ม.6/8, ม.6/9, ม.6/10 ม.6/11, ม.6/12 รวมท้ังหมด 22 ตัวช้ีวดั
คำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลย1ี รหสั วิชาว21103 กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การทํางานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและ เลือกข้อมูลที่จําเป็นเพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในชีวิตประจําวันในด้านการเกษตรและอาหาร และสร้าง ชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ในการแก้ปญั หาไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภัย โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม มาตรฐานตัวชีว้ ัด ว 4.1 ม.1/1, ม.1/2 ,ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5 รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลย2ี รหสั วิชา ว22103 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาสาเหตุหรือปจจัยที่ทาํ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีตลอดจนคาดการณแนวโนมเทคโนโลยีใน อนาคต เลือกใชเทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม ประยุกตใชความรู ทกั ษะ และทรพั ยากร โดยวเิ คราะห เปรียบเทยี บและเลอื กขอมลู ท่ีจําเปนเพือ่ ออกแบบวิธีการแกปญหาใน ชุมชน หรือทองถิ่นในดานพลังงาน สิ่งแวดลอม การเกษตรและอาหาร และสรางชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดย ใช กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใชวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือในการแกปญหาไดอยางถูกตอง เหมาะสม และปลอดภัย โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม มาตรฐานตวั ช้ีวัด ว 4.1 ม. 2/1, ม. 2/2 ,ม. 2/3, ม. 2/4, ม. 2/5 รวมท้ังหมด 5 ตัวช้ีวัด
คำอธบิ ายรายวิชาวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 3 รหสั วชิ า ว23103 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************* ศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของ เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อสรุปกรอบของ ปัญหา เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลที่จําเป็นโดยคํานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหาใน งานอาชีพด้านการเกษตร อาหาร พลังงานและขนส่ง โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้ วัสดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื กลไก ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ในการแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างถูกต้อง เหมาะสม และ ปลอดภยั โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทกั ษะด้านการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาส่ิ งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม มาตรฐานตัวชี้วัด ว 4.1 ม. 3/1, ม. 3/2 ,ม. 3/3, ม. 3/4, ม. 3/5 รวมท้ังหมด 5 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี รหัสวิชา ว31102 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น และ ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ออกแบบสร้าง หรือพัฒนาผลงานสําหรับแก้ปัญห าที่คํานึงถึง ผลกระทบตอ่ สังคมในประเด็นทเ่ี กย่ี วข้องกับสขุ ภาพและการบรกิ ารโดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม ซึ่ง ใช้ความรู้ ทักษะ และเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่าง ถกู ตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภยั คาํ นึงถงึ ทรัพยส์ ินทางปัญญา ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนาํ เสนอผลงาน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะด้านการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่ งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม มาตรฐานตวั ชวี้ ัด ว 4.1 ม. 4/1, ม. 4/2 ,ม. 4/3, ม. 4/4, ม. 4/5 รวมทั้งหมด 5 ตัวช้ีวัด
คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี รหัสวิชา ว32102 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชวั่ โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาและวิเคราะหสถานการณหรือความตองการที่คํานึงถึงผูใชดวยการคิดเชิงออกแบบ และความรู ทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอื่น ๆ เพื่อทําความเขาใจปญหาอยางลึกซึ้ง และรอบดาน เพื่อ พัฒนาวิธีการแกปญหาที่ตรงความตองการ พัฒนาโครงงานเพื่อแกปญหาจากสถานการณที่ตนเองสนใจโดยใช กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ศึกษาการพัฒนาผลงาน การสรางประโยชนจากผลงาน และการ คุมครอง ทรัพยสินทางปญญาเพอ่ื นาํ ความรูไปประยกุ ตใชในการพัฒนาหรือสรางประโยชนจากผลงานของตนเอง และ เผย แพรประชาสัมพนั ธผลงานของตนเองใหเปนทร่ี ูจกั และกอใหเกดิ ประโยชน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม มาตรฐานตวั ช้วี ดั ว 4.1 ม.5 /1 รวมท้ังหมด 1 ตัวช้ีวัด
คำอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน รายวิชา วิทยาการคำนวณ1 รหสั วิชา ว21104 กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาแนวคิดเชิงนามธรรม การคัดเลือกคุณลักษณะที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหา ขั้นตอนการแก้ปัญหา การเขียนรหัสลำลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายที่มีการใช้งานตัวแปร เงื่อนไข และการวนซ้ำเพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิการประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผลเพื่อตัดสินใจ ซอฟต์แวร์และบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล แนวทางการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของ เนื้อหา ข้อตกลงและข้อกำหนดการใช้สื่อและแหล่งข้อมูล นำแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแก้ปัญหาไป ประยกุ ต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม หรือการแกป้ ญั หา ในชีวิตจริง รวบรวมขอ้ มลู และสร้างทางเลือกในการตดั สินใจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตระหนักถึงการใช้งาน เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เกิดประโยชน์ต่อการ เรยี นร้แู ละไมส่ ร้างความเสยี หายใหแ้ ก่ผอู้ นื่ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทีเ่ หมาะสม มาตรฐานตวั ชวี้ ัด ว 4.2 ม. 1/1, ม.1/2 ,ม. 1/3, ม. 1/4, ม.1/5 รวมทั้งหมด 4 ตัวช้ีวัด
คำอธิบายรายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน รายวชิ า วิทยาการคำนวณ2 รหัสวชิ า ว22104 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 20 ชวั่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาแนวคิดเชิงคำนวณ การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ การเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะ และฟงั กช์ นั องคป์ ระกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยสี อ่ื สาร แนวทางการปฏบิ ตั ิ เมื่อ พบเน้ือหาทไี่ ม่เหมาะสม การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผดิ ชอบ วิธกี ารสร้างและกำหนดสิทธิ ความ เปน็ เจ้าของผลงาน นำแนวคิดเชงิ คำนวณไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือการแก้ปัญหาในชวี ิตจริง สร้าง และ กำหนดสทิ ธิก์ ารใช้ข้อมูล ตระหนักถึงผลกระทบในการเผยแพร่ขอ้ มูล โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม มาตรฐานตัวช้วี ัด ว 4.2 ม. 2/1, ม. 2/2 ,ม.2 /3, ม. 2/4, ม.2/5 รวมท้ังหมด 4 ตัวชี้วดั
คำอธบิ ายรายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน รายวชิ า วิทยาการคำนวณ3 รหสั วชิ า ว23104 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน Internet of Things (IoT) การเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนา แอป พลิเคชัน ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิการประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผลซอฟต์แวร์หรือ บรกิ ารบนอินเทอร์เน็ตท่ีใช้ในการจัดการข้อมลู การประเมินการความน่าเช่ือถือของข้อมลู การสืบค้นหาแหล่งต้น ตอของข้อมูล เหตุผลวิวัติ ผลกระทบจากข่าวสารที่ผิดพลาด การรู้เท่าทันสื่อ กฎหมายท่ี เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การใช้ลิขสิทธิ์ของ ผู้อื่นโดยชอบธรรม รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก และ นำเสนอการตัดสนิ ใจได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพออกแบบและเขียนโปรแกรม เพือ่ พฒั นาแอปพลิเคชนั ท่ีมีการบูรณา การกบั วิชาอ่ืน อย่างสร้างสรรคใ์ ช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างรู้เท่าทนั และมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม มาตรฐานตัวชวี้ ดั ว 4.2 ม. 3/1, ม.3 /2 ,ม. 3/3, ม. 3/4, ม.3/5 รวมท้ังหมด 4 ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชาวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน รายวชิ า วิทยาการคำนวณ รหสั วิชา ว31103 กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ************************************************************************************************ ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคำนวณ การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา การหารูปแบบการคดิ เชิงนามธรรม ตัวอย่างและประโยชน์ของแนวคิดเชิงคำนวณเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ประยุกต์ใช้แนวคิด เชิงคำนวณในการออกแบบขัน้ ตอนวิธีสำหรับแก้ปัญหา การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูล ออก และเงื่อนไขของปัญหา การออกแบบขั้นตอนวิธี การทำซ้ำ การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล ตัวอย่างการ ออกแบบขั้นตอนวิธีเพื่อแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การศึกษาตัวอย่างโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การ กำหนดปัญหา ศึกษา วางแผน ดำเนินงาน สรุปผลและเผยแพร่ในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการร่วมกับ วชิ าอื่นและเช่ือมโยงกบั ชีวติ จรงิ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที กั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม มาตรฐานตัวชว้ี ดั ว 4.2 ม. 4/1 รวมท้ังหมด 1 ตัวช้ีวดั
คำอธิบายรายวิชาวทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน รายวิชา วิทยาการคำนวณ รหสั วิชา ว31104 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาหลักการของวิทยาการข้อมูลและหลักการคิดเชิงออกแบบเพื่อเพิ่มมูลค่าให้บริการหรือผลิตภัณฑ์ วิธีการเก็บข้อมูลและเตรียมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล เครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การแปลงข้อมูลให้เป็นภาพ การ เลือกใช้ขอ้ มูลจากฐานขอ้ มลู ขนาดใหญ่ การใช้ประโยชน์จากข้อมูลและตวั อยา่ งกรณศี ึกษา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะดา้ นการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม มาตรฐานตัวชี้วดั ว 4.2 ม. 5/1 รวมทั้งหมด 1 ตัวชี้วดั
คำอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน รายวชิ า วิทยาการคำนวณ รหสั วชิ า ว31102 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ************************************************************************************************ ศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอและแบง่ ปันข้อมูลอยา่ งปลอดภัยและมีจรยิ ธรรม การสร้างช้ินงาน และ เผยแพร่ผ่านสื่อต่าง ๆ ที่คำนึงถึงจริยธรรม ลิขสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญา และกฎหมาย หลักการของ ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีในอนาคต กรณีศึกษาเกี่ยวกับนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ชีวิตประจำวัน อาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างผลกระทบของเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มที ักษะดา้ นการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป้ ัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สาร (Computing & Media Literacy) ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance) เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม มาตรฐานตัวชวี้ ดั ว 4.2 ม. 6/1 รวมท้ังหมด 1 ตัวชี้วดั
คำอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเตมิ
คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ รายวชิ า ชีววิทยา 1 รหัสวชิ า ว31241 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ************************************************************************************************ สืบค้นขอ้ มูลและอธิบายสมบัติท่สี ำคัญของส่ิงมชี วี ติ และความสมั พนั ธข์ องการจดั ระบบในส่งิ มขี วี ิตท่ที ำ ให้สิ่งมีชวี ิตดำรงชวี ิตอยู่ได้ความสำคัญของการระบปุ ัญหา ความสมั พันธร์ ะหว่างปญั หา สมมตฐิ าน และวิธกี าร ตรวจสอบสมมตฐิ านรวมทง้ั การออกแบบการทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐานสมบตั ขิ องนำ้ และบอกความสำคญั ของนำ้ ทมี่ ตี ่อสิ่งมีชีวติ และยกตวั อยา่ งธาตุชนดิ ตา่ ง ๆที่มีความสำคญั ต่อร่างกายสงิ่ มีชีวติ โครงสร้างของคาร์โบ ไฮโดรต ระบุกล่มุ ของคารโ์ บไฮเดรตรวมท้งั ความสำคญั ของคาร์โบไฮเดรตทีม่ ีต่อส่งิ มชี วี ิตโครงสร้างของโปรตนี และความสำคญั ของโปรตนี ท่ีมีตอ่ สิ่งมีชีวติ โครงสร้างของลิพิดและความสำคัญของลพิ ิดท่มี ตี ่อสิ่งมีชีวติ โครงสร้าง ของกรดนวิ คลิอิกและระบชุ นิดของกรดนวิ คลิอิกและความสำคัญของกรดนวิ คลิอกิ ทม่ี ตี ่อสิง่ มีชวี ิตปฏิกริ ิยาเคมที ่ี เกิดขึ้นในสิง่ มีชวี ิตการทำงานของเอนไซมใ์ นการเร่งปฏกิ ิริยาเคมีในสงิ่ มชี ีวติ และระบุปัจจัยท่ีมผี ลต่อการทำงาน ของเอนไซมบ์ อกวิธกี ารและเตรยี มตวั อยา่ งส่ิงมชี วี ิตเพ่อื ศกึ ษาภายใตก้ ล่องจุลทรรศน์ใช้แสงวดั ขนาดโดยประมาณ และวาดภาพที่ปรากฏภายใต้กล้อง บอกวธิ กี ารใชแ้ ละการดูแลรกั ษากล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสงท่ถี กู ต้องโครงสร้าง และหน้าทีข่ องสว่ นท่หี ่อหุ้มเซลลข์ องเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ระบุชนิดและหนา้ ที่ของออร์แกเนลล์โครงสร้างและ หนา้ ท่ขี องนวิ เคลียส การแพร่ ออสโมซสิ การแพร่แบบฟาซิลเิ ทต และแอกทฟี ทรานสปอร์ตการลำเลียงสาร โมเลกุลใหญอ่ อกจากเซลลด์ ้วยกระบวนการเอกโซไซโทซสิ และการลำเลียงสารโมเลกลุ ใหญ่เขา้ สเู่ ซลลด์ ว้ ย กระบวนการเอนโดไซโทซิสการแบง่ นวิ เคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิสจากตัวอย่างภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ พรอ้ มทัง้ อธิบายและเปรยี บเทียบการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซสิ ขนั้ ตอนการหายใจระดับเซลล์ ในภาวะท่มี ีออกซเิ จนเพียงพอและภาวะทมี่ ีออกซเิ จนไมเ่ พียงพอโครงสรา้ งและกระบวนการย่อยอาหารของสตั วท์ ี่ ไม่มีทางเดินอาหาร สัตว์ท่มี ที างเดินอาหารแบบไม่สมบรู ณ์และสตั ว์ท่ีมีทางเดนิ อาหารแบบสมบูรณ์ การกนิ อาหาร ของไฮดราและพลานาเรีย โครงสรา้ ง หนา้ ทแี่ ละกระบวนการย่อยอาหาร และการดดู ซมึ สารอาหารภายในระบบ ย่อยอาหารของมนุษยโ์ ดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 การสืบคน้ ขอ้ มูลและการอภปิ รายเพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถสือ่ สารสิ่งทเี่ รยี นรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ การแก้ปญั หาการนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน มี จิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสมผลการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์การอธิบาย การอภิปรายและสรุป ทักษะด้านการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดคำนวณ (Arithmetic) มีทักษะด้านการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา(Critical Thinking & Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์(Creativity) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork & Leadership) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร (Computing & Media Literacy) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Self-reliance)
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทีเ่ หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายและสรปุ สมบัติทีส่ ำคัญของสงิ่ มีชีวติ และความสัมพันธ์ของการจดั ระบบในสิง่ มีขวี ิตทที่ ำ ใหส้ ่ิงมีชีวติ ดำรงชวี ิตอยูไ่ ด้ 2. อภปิ รายและบอกความสำคัญของการระบุปญั หา ความสมั พันธ์ระหวา่ งปัญหา สมมติฐาน และวธิ กี ารตรวจสอบสมมติฐาน รวมทง้ั การออกแบบการทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมติฐาน 3. สบื คน้ ข้อมลู อธิบายเกย่ี วกับสมบตั ิของนำ้ และบอกความสำคัญของนำ้ ท่ีมีตอ่ สิง่ มีชีวติ และยกตวั อยา่ ง ธาตชุ นิดตา่ ง ๆทีม่ ีความสำคัญต่อรา่ งกายส่งิ มีชีวิต 4. สบื คน้ ขอ้ มูล อธบิ ายโครงสร้างของคารโ์ บไฮโดรตระบกุ ลุ่มของคาร์โบไฮเดรตรวมทั้งความสำคัญของ คารโ์ บไฮเดรตที่มีต่อส่งิ มชี วี ติ 5. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ ายโครงสรา้ งของโปรตนี และความสำคัญของโปรตีนทีม่ ีต่อสิ่งมีชวี ิต 6. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายโครงสรา้ งของลิพิดและความสำคัญของลิพดิ ที่มีต่อสงิ่ มชี ีวติ อธบิ ายโครงสร้าง ของกรดนิวคลิอิกและระบชุ นิดของกรดนิวคลอิ ิกและความสำคัญของกรดนวิ คลิอกิ ทม่ี ตี ่อส่ิงมีชวี ิต 8. สืบคน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายปฏกิ ิริยาเคมที ่ีเกดิ ข้ึนในสง่ิ มชี ีวติ 9. อธบิ ายการทำงานของเอนไซม์ในการเร่งปฏิกริ ยิ าเคมใี นสิ่งมีชวี ิตและระบปุ ัจจัยท่ีมผี ลตอ่ การทำงาน ของเอนไซม์ 10. บอกวธิ ีการและเตรยี มตัวอยา่ งสิ่งมชี วี ติ เพื่อศึกษาภายใตก้ ลอ่ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงวัดขนาด โดยประมาณและวาดภาพท่ีปรากฏภายใต้กลอ้ ง บอกวธิ กี ารใช้และการดแู ลรักษากล้องจุลทรรศน์ใช้แสงที่ถูกต้อง 11. อธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องส่วนทห่ี อ่ หุม้ เซลลข์ องเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ 12. สบื คน้ ข้อมูล อธิบาย และระบุชนดิ และหนา้ ท่ีของออร์แกเนลล์ 13. อธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของนวิ เคลยี ส 14. อธิบายและเปรยี บเทยี บการแพร่ ออสโมซสิ การแพร่แบบฟาซลิ ิเทต และแอกทีฟทรานสปอรต์ 15. สบื ค้นข้อมลู อธบิ าย และเขียนภาพการลำเลยี งสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลลด์ ว้ ยกระบวนการเอก โซไซโทซสิ และการลำเลียงสารโมเลกลุ ใหญเ่ ขา้ สู่เซลล์ดว้ ยกระบวนการเอนโดไซโทซสิ 16. สงั เกตการแบง่ นิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิสจากตวั อย่างภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พร้อมท้งั อธิบายและเปรียบเทียบการแบง่ นิวเคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซสิ 17. อธบิ าย เปรยี บเทียบและสรปุ ข้ันตอนการหายใจระดับเซลลใ์ นภาวะทมี่ ีออกซเิ จนเพียงพอและภาวะ ท่ีมอี อกซิเจนไม่เพียงพอ 18. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย และเปรยี บเทียบโครงสร้างและกระบวนการยอ่ ยอาหารของสตั ว์ทไ่ี มม่ ี ทางเดนิ อาหารสตั ว์ทีม่ ที างเดินอาหารแบบไม่สมบรู ณ์ และสัตว์ทมี่ ีทางเดนิ อาหารแบบสมบรู ณ์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306