Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ 2565

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ 2565

Description: หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์ 2565

Search

Read the Text Version

คำอธิบายรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีพน้ื ฐาน รายวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ รหสั วิชา ง๒๑๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี ฯ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรียน ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑ หน่วยกติ ศึกษาความเข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทกั ษะการทำงานร่วมกันและทักษะการแสวงหาความรู้ มคี ณุ ธรรมและมีลักษณะ นิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำรงชีวิตและครอบครัว วเิ คราะหข์ ้ันตอนการทำงานตามกระบวนการทำงาน ใช้กระบวนการกลมุ่ ในการทำงานดว้ ยความเสยี สละ ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานตามทักษะกระบวนการ ทำงานโดย ทำตามลำดับขั้นตอนที่วางแผนไว้ ใช้กระบวนการกลุ่มเป็นวิธีการทำงานตามขั้นตอน มีความ เสยี สละเปน็ ลกั ษณะนิสัยในการทำงาน แกป้ ัญหาในการทำงานเพื่อให้เกิดความคิดหาวธิ ีแก้ปัญหาต่างๆ เข้าใจทักษะที่จำเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรมและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ อธิบายแนวทางการเลือกอาชีพ มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ เห็น ความสำคัญต่อการสร้างอาชีพ กระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพ มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ การสร้าง รายได้จากการประกอบอาชีพสุจริต ความสำคัญของการสร้างอาชีพ มีรายได้จากอาชีพที่สร้างขึ้น การเตรียม ความพรอ้ ม ตัวชว้ี ัด ง 1.1 ม 1/1, ม 1/2, ม 1/3 ง 2.1 ม 1/1, ม 1/2, ม 1/3 รวมท้ังหมด 6 ตวั ชว้ี ดั

คำอธิบายรายวชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยพี ืน้ ฐาน รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒ รหสั วิชา ง๒๑๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพฯ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรียน ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต ศกึ ษาความเขา้ ใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มที ักษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจดั การ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและมลี ักษณะ นิสยั ในการทำงาน มีจติ สำนึกในการใชพ้ ลังงาน ทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อม เพ่อื การดำรงชีวิตและครอบครวั วิเคราะห์ข้ันตอนการทำงานตามกระบวนการทำงาน ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการทำงานด้วยความเสียสละ ตดั สนิ ใจแก้ปัญหาการทำงานอยา่ งมีเหตผุ ล เป็นส่วนหนึง่ ของการปฏบิ ตั ิงานตามทักษะกระบวนการ ทำงานโดย ทำตามลำดับขั้นตอนท่ีวางแผนไว้ ใช้กระบวนการกลุม่ เป็นวิธีการทำงานตามขั้นตอน มีความ เสียสละเป็น ลักษณะนิสยั ในการทำงาน แก้ปัญหาในการทำงานเพ่ือให้เกดิ ความคิดหาวธิ แี กป้ ัญหาตา่ งๆ เข้าใจทักษะท่จี ำเป็น มปี ระสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชพี ใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มี คณุ ธรรมและมีเจตคติท่ดี ีต่ออาชพี อธบิ ายแนวทางการเลอื กอาชีพ มเี จตคติที่ดตี ่อการประกอบอาชีพ เห็น ความสำคญั ต่อการสร้างอาชีพ กระบวนการตดั สินใจเลือกอาชีพ มเี จตคติทด่ี ตี ่อการประกอบอาชีพ การสรา้ ง รายไดจ้ ากการประกอบอาชีพสจุ รติ ความสำคญั ของการสร้างอาชีพ มรี ายไดจ้ ากอาชีพที่สร้างขนึ้ การเตรยี ม ความพร้อม ตัวชวี้ ดั ง 1.1 ม 1/1, ม 1/2, ม 1/3 ง 2.1 ม 1/1, ม 1/2, ม 1/3 รวมทง้ั หมด 6 ตวั ชีว้ ัด

คำอธบิ ายรายวชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยีพืน้ ฐาน รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓ รหสั วิชา ง๒๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี ฯ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรียน ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หน่วยกติ ศกึ ษา วิเคราะห์ สำรวจ และแสวงหาความรู้ เพือ่ พัฒนาการทำงาน โดยใชก้ ระบวนการแกป้ ัญหา มี ความคิดสรา้ งสรรค์ มที กั ษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจดั การ ทักษะกระบวนการแกป้ ญั หา ทักษะการ ทำงานร่วมกัน ทักษะการแสวงหาความรู้ ศึกษา สำรวจ วิเคราะห์ การจัดประสบการณ์อาชพี การเตรยี มตวั เข้าสู่อาชีพ และมที ักษะทจ่ี ำเป็น ต่อ งานอาชพี ฝึกปฏิบตั ิทักษะท่ีจำเปน็ ตอ่ การประกอบอาชพี ดว้ ยทกั ษะกระบวนการทำงาน การแกป้ ญั หา การทำงานร่วมกัน ตลอดจนการแสวงหาความร้จู ากแหล่งเรียนรูต้ า่ งๆ มีคุณธรรม มเี จตคติท่ีดตี ่ออาชีพ มี จติ สำนึกในการใชพ้ ลงั งานทัพยากร และส่งิ แวดล้อมอย่างประหยัด และคุ่มคา่ เพือ่ การดำรงชวี ิต และ ครอบครัว ในการประกอบอาชพี เพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการ ดำรงชีวติ ครอบครวั และการทำงาน สามารถอยู่ ร่วมกนั ในสังคมอย่างมีความสุข ตัวชีว้ ดั ง 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ง 4.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 รวมทง้ั หมด 6 ตวั ชวี้ ดั

คำอธิบายรายวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยีพน้ื ฐาน รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ รหัสวิชา ง๒๒๑๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพฯ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หนว่ ยกติ ศึกษาความเข้าใจการทำงาน มีความคิดสรา้ งสรรค์ มที กั ษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจดั การ ทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หา ทกั ษะการทำงานร่วมกนั และทักษะการแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรมและมีลักษณะ นิสัยในการทำงาน มจี ิตสำนึกในการใช้พลงั งาน ทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อม เพ่อื การดำรงชีวติ และครอบครัว ใช้ ทักษะในการแสวงหาความรู้ เพอื่ พัฒนาการทำงาน ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน มีจติ สำนกึ ใน การทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏบิ ัตงิ านอย่างประหยัดและคุ้มคา่ ทักษะการแสวงหารความรู้ ประกอบด้วย การศึกษา คน้ คว้า รวบรวม สังเกต สำรวจและบันทึกเพ่ือใชใ้ นการพัฒนาการทำงาน ทักษะ กระบวนการแก้ปญั หาในการทำงาน มขี นั้ ตอน คือ การสงั เกต วิเคราะห์ สร้างทางเลือกและประเมินทางเลือก การมจี ิตสำนึกและใชท้ รัพยากรอยา่ งประหยดั และคมุ้ ค่าเป็นคณุ ธรรมในการทำงาน ศกึ ษาความเขา้ ใจ มที กั ษะท่จี ำเปน็ มปี ระสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยเี พือ่ พฒั นา อาชีพ มคี ุณธรรมและมีเจตคติทด่ี ีต่ออาชพี อธบิ ายการเสรมิ สรา้ งประสบการณ์อาชีพ ระบุการเตรียมตัวเขา้ สู่ อาชีพ มีทักษะพ้ืนฐานทจี่ ำเปน็ สำหรับการประกอบอาชพี ท่สี นใจ การจัดประสบการณ์อาชพี สถานการณ์ แรงงาน ประการรับสมคั รงาน ความรคู้ วามสามารถของตนเอง ผลตอบแทน การเตรยี มตัวเขา้ สู่อาชีพ การหา งาน คณุ สมบตั ทิ จ่ี ำเป็น ทักษะ ที่จำเป็นตอ่ การประกอบอาชีพ ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะกระบวนการ แก้ปัญหา ทกั ษะการทำงาน รว่ มกนั ทักษะการแสวงหาความรู้ ทกั ษะการจัดการ ตวั ชีว้ ดั ง 1.1 ม 2/1, ม 2/2, ม 2/3 ง 2.1 ม 2/1, ม 2/2, ม 2/3 รวมทงั้ หมด 6 ตวั ช้ีวัด

คำอธิบายรายวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยพี ื้นฐาน รายวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ รหสั วชิ า ง๒๓๑๐๑ กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี ฯ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรยี น ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑ หนว่ ยกติ ศึกษาความเข้าใจการทำงาน มีความคดิ สร้างสรรค์ มที กั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะการ จัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทกั ษะการทำงานรว่ มกันและทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและมี ลักษณะ นิสยั ในการทำงาน มีจิตสำนกึ ในการใชพ้ ลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำรงชวี ิตและ ครอบครัว อธบิ ายขัน้ ตอนการทำงานท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ใชท้ ักษะในการทำงานรว่ มกันอย่างมีคณุ ธรรม อภปิ รายการทำงาน โดยใชท้ ักษะการจดั การเพื่อการประหยัดพลังงาน ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม ข้ันตอนการ ทำงานทม่ี ี ประสทิ ธิภาพเปน็ การปฏิบตั ิตามกระบวนการทำงานโดยการทำตามลำดบั ขน้ั ตอน มีความสามารถ ทำงาน สำเรจ็ ตามเปา้ หมายที่วางไว้ ทักษะการทำงานร่วมกัน เปน็ การสร้างใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถทำงานและอยู่ ร่วมกนั ได้ อย่างมีความสุขและมีคุณธรรม ทกั ษะการจดั การเปน็ การจัดระบบงานและระบบคน เพ่ือให้ทำงาน สำเรจ็ ตาม เปา้ หมายอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ศึกษาความเข้าใจ มที ักษะท่ีจำเปน็ มปี ระสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชพี ใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อ พัฒนา อาชพี มีคณุ ธรรมและมีเจตคติที่ดีต่ออาชพี อธบิ ายการหางานด้วยวธิ ีท่ีหลากหลาย วิเคราะหแ์ นวทาง เขา้ สู่ อาชพี ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชพี ทส่ี อดคล้องกับความรู้ ความถนดั และความสนใจของ ตนเอง การ หางานหรอื ตำแหนง่ ทว่ี า่ งจากสื่อส่ิงพิมพ์และสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ แนวทางการเข้าส่อู าชีพ คณุ สมบตั ิ ที่จำเปน็ ความมัน่ คง การประเมนิ ทางเลือก การประเมนิ ทางเลือกอาชพี แนวทางการประเมนิ รปู แบบการ ประเมิน เกณฑ์การประเมิน ตวั ช้ีวัด ง 1.1 ม 3/1, ม 3/2, ม 3/3 ง 2.1 ม 3/1, ม 3/2, ม 3/3 รวมทง้ั หมด 6 ตวั ชีว้ ัด

คำอธิบายรายวิชาการงานอาชพี และเทคโนโลยพี น้ื ฐาน รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ๖ รหัสวิชา ง๒๓๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพฯ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรยี น ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑ หน่วยกิต ศกึ ษาความเข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจดั การ ทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หา ทกั ษะการทำงานรว่ มกันและทกั ษะการแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรมและมลี ักษณะ นิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใชพ้ ลังงาน ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม เพ่อื การดำรงชีวิตและครอบครัว อธบิ ายข้ันตอนการทำงานที่มปี ระสทิ ธภิ าพ ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกนั อย่างมีคณุ ธรรม อภิปรายการทำงาน โดยใช้ทักษะการจัดการเพ่ือการประหยัดพลงั งาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ข้นั ตอนการ ทำงานที่มี ประสทิ ธภิ าพเปน็ การปฏิบตั ติ ามกระบวนการทำงานโดยการทำตามลำดบั ขั้นตอน มีความสามารถ ทำงาน สำเรจ็ ตามเป้าหมายท่ีวางไว้ ทกั ษะการทำงานร่วมกัน เป็นการสรา้ งให้ผ้เู รยี นสามารถทำงานและอยู่ ร่วมกันได้ อย่างมีความสุขและมีคุณธรรม ทักษะการจดั การเป็นการจัดระบบงานและระบบคน เพ่ือให้ทำงาน สำเร็จตาม เปา้ หมายอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ศึกษาความเข้าใจ มีทักษะท่จี ำเปน็ มปี ระสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชพี ใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ พัฒนา อาชีพ มคี ณุ ธรรมและมเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ อาชพี อธิบายการหางานดว้ ยวิธีที่หลากหลาย วเิ คราะหแ์ นวทาง เขา้ สู่ อาชพี ประเมนิ ทางเลอื กในการประกอบอาชีพท่สี อดคล้องกับความรู้ ความถนัดและความสนใจของ ตนเอง การ หางานหรอื ตำแหนง่ ที่ว่างจากสอื่ สิ่งพิมพแ์ ละสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ แนวทางการเข้าสู่อาชีพ คณุ สมบตั ิ ท่ีจำเปน็ ความม่นั คง การประเมินทางเลอื ก การประเมินทางเลอื กอาชพี แนวทางการประเมิน รปู แบบการ ประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ตัวชว้ี ัด ง 1.1 ม 2/1, ม 2/2, ม 2/3 ง 2.1 ม 2/1, ม 2/2, ม 2/3 รวมทงั้ หมด 6 ตวั ช้วี ัด

คำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี รายวิชาเพ่ิมเตมิ อาหารไทย 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศึกษาเกย่ี วกบั ความหมาย ความสำคญั ของอาหารไทย ประเภทของเครอ่ื งใช้ในครวั ชนดิ และประเภท ของอาหารไทย ความปลอดภัยในการใช้อปุ กรณ์และเคร่ืองใช้ในครวั การจัดการอาหารสำหรบั ครอบครวั รวมทงั้ คาศัพท์ภาษาต่างประเทศทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เรียนรู้การจดั เตรยี มและเลือกวัตถดุ ิบ เพ่ือการประกอบอาหารแต่ ละประเภท วเิ คราะหแ์ ละเลือกใช้ภาชนะ เครื่องใช้ วสั ดอุ ปุ กรณ์ในการประกอบอาหารไทย การเกบ็ รักษา ภาชนะ เครือ่ งใช้ และวัสดอุ ปุ กรณ์ได้อยา่ งเหมาะสมและปลอดภยั เพือ่ ใหเ้ กดิ สุขลักษณะในการประกอบ อาหาร รวมทั้งแนวทางการวางแผนจดั การอาหารท่มี ีประโยชนแ์ ละสรา้ งความพึงพอใจให้แก่สมาชิกใน ครอบครัว โดยใช้กระบวนการฝึกปฏิบตั ิการเลือกและใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์และเครื่องใชแ้ ต่ละประเภทในการประกอบ อาหารไทยได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม และปลอดภยั ตลอดจนการดูแลรักษาใหถ้ ูกสขุ ลักษณะ ปฏิบัติการเตรยี ม และประกอบอาหารไทยแต่ละชนดิ และแต่ละประเภทใหน้ ่ารบั ประทาน และมรี สชาติที่อรอ่ ย ใชท้ ักษะ กระบวนการกล่มุ เพ่ือแสวงหาความรู้ วางแผนการจัดการอาหารสำหรับสมาชิกในครอบครัวไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และแก้ไขปัญหาท่เี กิดขนึ้ ในกระบวนการประกอบอาหารไทยได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ เพอื่ ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั อาหารไทยและประเภทของเคร่ืองใชใ้ นการประกอบ อาหารไทยอยา่ งถูกต้องและปลอดภยั มคี วามรู้เกย่ี วกับคาศัพทภ์ าษาต่างประเทศทสี่ ำคัญในการเตรยี มและ การประกอบอาหารไทย สามารถคิดวิเคราะห์ วางแผนการจดั การอาหาร แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับการ เตรยี มและการประกอบอาหารแต่ละประเภท และการดแู ลเครอื่ งใช้ไดอ้ ย่างถูกสุขลักษณะ สามารถตัดสินใจ เลอื กวัตถุดิบในการประกอบอาหารไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง สามารถปฏบิ ัติจนเกดิ ทกั ษะในการเตรียมและประกอบ อาหารอย่างเหน็ คุณค่า และมีความภาคภมู ิใจในอาหารประจาชาตขิ องไทย มีความใฝร่ ู้ใฝ่เรียน มีความสามคั คี ผ่านกระบวนการเรียนรแู้ บบร่วมมือ มคี ุณธรรม ทำงานด้วยความรบั ผดิ ชอบ ขยัน ซื่อสตั ย์ มงุ่ มนั่ อดทน ใช้ พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งคุ้มคา่ และถกู วิธี

คำอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ รายวิชาเพมิ่ เติมอาหารไทย 2 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชวั่ โมง 1.5 หนว่ ยกิต ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศกึ ษาเกี่ยวกบั หลักการและเทคนคิ การประกอบอาหารไทยแต่ละประเภท และจากวตั ถดุ ิบที่แตกต่าง ได้แก่ เน้ือสตั ว์ สัตว์ปกี สัตวน์ ้า ไข่ ผกั เปน็ ต้น ศึกษาเทคนิคการสงวนคณุ ค่า และสีสนั ของอาหาร ศกึ ษา คาศัพท์ภาษาตา่ งประเทศที่เก่ียวขอ้ ง วเิ คราะห์ปฏกิ ริ ิยาทางเคมีท่ีมีผลต่อการประกอบอาหาร มวี ิจารณญาณ ในการวิเคราะห์ สรปุ สาเหตุ และแก้ไขสถานการณ์ตา่ งๆ ที่เกิดขนึ้ ในกระบวนการเตรียมและการประกอบ อาหารได้อย่างถกู ต้อง โดยใชก้ ระบวนการฝึกปฏบิ ตั กิ ารเลือกวัตถดุ ิบหลกั ในการประกอบอาหาร ได้แก่ ผกั ไขแ่ ละผลติ ภัณฑ์ ไข่ และเน้ือสัตว์ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ มที กั ษะในการเตรยี มและประกอบอาหารไทยจากวตั ถดุ ิบท่แี ตกตา่ ง กันได้อย่างมืออาชพี เพ่อื ใหอ้ าหารคงคุณค่าทางโภชนาการ มสี สี ันน่ารบั ประทาน และมรี สชาติท่อี ร่อย มี ทกั ษะในการใช้กระบวนการกลุม่ เพ่ือวิเคราะห์และแกไ้ ขสถานการณป์ ญั หาท่ีเกดิ ข้นึ ในกระบวนการทำงาน เพ่ือให้ผูเ้ รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั เทคนคิ ในการประกอบอาหารจากวตั ถุดบิ ท่ีแตกตา่ งกนั เทคนิคการสงวนคุณคา่ และสสี ันของอาหารให้สวยงามและนา่ รับประทาน มคี วามรู้เกีย่ วกบั คาศัพท์ ภาษาตา่ งประเทศทส่ี ำคัญเก่ยี วกบั วตั ถุดิบในการประกอบอาหารจากวัตถุดิบต่างประเภท สามารถวเิ คราะห์ สาเหตุของปัญหาทเี่ กิดข้นึ สามารถเปรยี บเทียบผลท่เี กิดขึน้ จากการใชว้ ตั ถดุ บิ ในการปรุงอาหารทีแ่ ตกตา่ งกนั สามารถประยกุ ต์ใชค้ วามรู้และฝกึ ปฏบิ ัติจนเกิดทกั ษะในการประกอบอาหาร มองเห็นคุณค่า และมเี จตคตทิ ่ดี ี ต่อการประกอบอาหารไทย ด้วยจิตสานึกรักและภาคภูมใิ จในประเพณี ศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ และวัฒนธรรม ไทย มคี วามใฝ่รู้ใฝ่เรยี น มคี ณุ ธรรม ทำงานดว้ ยความรับผิดชอบ ขยัน ซอื่ สตั ย์ ม่งุ มน่ั อดทน สามารถคดิ วเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หา และออกแบบแนวทางในการแกป้ ญั หาที่เกดิ ข้ึนในการเตรยี มและการประกอบ อาหาร ผลการเรยี นรู้ 1. ผเู้ รยี นอธิบายเกีย่ วกับเทคนิคการเลือกซ้ือวัตถดุ ิบประเภทตา่ งๆ ได้อย่างถูกต้อง 2. ผ้เู รยี นอธิบายเทคนคิ การเตรียมและการประกอบอาหารจากวตั ถุดิบทีแ่ ตกต่างกนั รวมท้ังวิเคราะห์ หาสาเหตุของปัญหาในกระบวนการประกอบอาหาร และนาเสนอแนวทางแก้ไขปญั หาท่เี กดิ ขึ้นได้อยา่ ง สรา้ งสรรค์ 3. ผู้เรยี นมีทกั ษะในการประยกุ ต์ใช้เทคนิคการเลือกซื้อวัตถดุ บิ ประเภทต่างๆไดอ้ ยา่ งมืออาชพี 4. ผูเ้ รยี นมที กั ษะในการประยุกต์ใชเ้ ทคนิคการเตรยี ม และการประกอบอาหารไทยที่มีวตั ถดุ ิบ แตกต่างกัน เพื่อให้ไดอ้ าหารที่สวยงาม นา่ รับประทาน และมีรสชาติท่ีอร่อย 5. ผ้เู รยี นมคี ุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ และมีเจตคติท่ีดตี ่อการประกอบอาหารไทย ด้วยจิตสานกึ รกั และ ภาคภูมใิ จในประเพณี ศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ และวฒั นธรรมไทย รวม 5 ผลการเรียนรู้

คำอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าการตดั เยบ็ เบื้องตน้ (วิชาเลือกเสรี) รหสั วิชา ง ๒๐๒๖๗ กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๘๐ ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ ๑ จำนวน ๒.๐ หน่วยกติ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาชนดิ และลกั ษณะเคร่ืองมอื อปุ กรณ์การตดั เย็บเส้ือผ้าสตรี เครอื่ งเกาะเก่ยี ว รจู้ กั เครื่องมือ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการตดั เยบ็ ผา้ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ปฏิบัติ ฝกึ ทักษะเบ้ืองต้นเกย่ี วกับการใชจ้ ักรเยบ็ ผ้า อปุ กรณ์ตดั เย็บ ออกแบบและตัดเย็บเครือ่ งใช้ ในบา้ น โดยใชท้ ักษะการแสวงหาความรเู้ พื่อพฒั นางาน แก้ปญั หาในการทำงาน และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ น ชวี ติ ประจำวนั มจี ติ สำนกึ ในการปฏบิ ตั งิ าน โดยใช้เคร่ืองมืออปุ กรณ์การตัดเย็บและมีการบำรุงรกั ษา ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับพื้นฐานการตดั เย็บ ๒. สามารถเลือกใชแ้ ละเกบ็ รักษาอุปกรณ์การตดั เยบ็ ได้ถูกตอ้ ง ๓. เลือกใชแ้ ละดูแลจกั รเย็บผา้ ได้ถูกวิธี ๔. ปฏบิ ัติตัดเยบ็ และตกแต่งเครอ่ื งใชใ้ นบ้านได้ ผ้าปูโตะ๊ ผ้าคลมุ ตู้เยน็ ๕. มีทักษะในการตัดเย็บผ้าปโู ต๊ะ ผา้ คลุมตู้เยน็ จนสำเรจ็ ได้ ๖. มีทักษะในการทำงานร่วมกบั ผ้อู น่ื สามารถตัดสินใจและแกป้ ญั หาในการทำงาน ๗. มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ มคี วามคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พฒั นางานให้มคี ุณภาพมากยิง่ ขนึ้ ๘. เปน็ คนชา่ งสังเกต มคี วามรบั ผดิ ชอบ ขยนั อดทน ประณีตรอบคอบ ปฏบิ ตั ิงานโดยคำนึงถึง ความปลอดภยั และมเี จตคติที่ดีต่องานอาชพี รวมท้ังหมด ๘ ผลการเรยี นรู้

คำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี รายวชิ าเพ่ิมเติมอาหารไทย 3 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศึกษาเกยี่ วกบั ความเป็นมาของขนมไทย ความรู้เบื้องต้นในการประกอบขนมไทย เช่น การชง่ั ตวง ประเภทของวตั ถดุ บิ การเลือกวัตถุดิบและอปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการเตรียมและประกอบขนมไทยแตล่ ะประเภท เป็น ต้น คาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศท่เี กย่ี วข้อง เรยี นร้เู ทคนิคในการประกอบขนมไทยจากวตั ถุดบิ ทแี่ ตกต่างกนั และ ศึกษาขนมไทยในงานพิธตี า่ งๆ โดยใช้กระบวนการฝึกปฏบิ ตั ิการเลือกและใช้วสั ดุ อุปกรณ์และเคร่ืองใช้ในการประกอบขนมไทยได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม เลือกใช้วัตถุดิบ เครื่องปรงุ รส สี และกล่ิน เพ่ือการประกอบขนมไทยแตล่ ะประเภท ได้อยา่ งมืออาชีพ เพ่ือให้ขนมไทยมีสีสันน่ารับประทาน และมีรสชาติอร่อย ประยุกตใ์ ช้เทคนิคในการประกอบ ขนมไทยเพื่อพิธีมงคลของไทยไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ เพื่อแสดงเอกลักษณ์ของขนมไทย มที ักษะกระบวนการ กลมุ่ ในการแสวงหาความรู้ วางแผน ออกแบบ และดาเนินการทำโครงงานขนมไทยได้อย่างสรา้ งสรรค์ ตลอดจนตัดสินใจแกป้ ญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ ในกระบวนการทำงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ขนมไทย คดิ วเิ คราะห์ และตัดสินใจเลือกใชว้ ัตถดุ ิบและ อุปกรณ์ในการประกอบขนมไทยแต่ละประเภทได้อยา่ งถูกต้อง มคี วามรเู้ กยี่ วกับคาศัพทภ์ าษาต่างประเทศท่ี สำคญั ที่เก่ียวข้องกบั การประกอบขนมไทยแต่ละประเภท สามารถวางแผน ออกแบบ และปฏบิ ัตกิ ารทำขนม ไทยจนเกดิ ทกั ษะและความเช่ยี วชาญ เหน็ คุณค่า และความสำคัญของประเพณี วฒั นธรรมของไทยทม่ี ีต่อขนม ไทย มเี จตคตทิ ดี่ ี มีความภาคภูมิใจในภมู ปิ ญั ญาไทยในการประกอบขนมไทย มีความสนใจใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน มีความ สามัคคจี ากการเรยี นรู้แบบร่วมมอื มีคุณธรรม ทำงานดว้ ยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสตั ย์ มุง่ มั่น อดทน นา ความร้ไู ปใช้ให้เกิดประโยชนต์ อ่ ตนเอง และต่อสงั คม ผลการเรียนรู้ 1. ผู้เรียนอธบิ ายความเป็นมา หลกั การและกระบวนการเลอื กและใช้วัตถุดบิ ขนมไทยแต่ละประเภท และอปุ กรณต์ า่ งๆ ในการทำขนมไทยได้อย่างถูกตอ้ ง 2. ผเู้ รยี นมที ักษะการเลอื กและใช้วตั ถดุ บิ สำคญั ในการประกอบขนมไทยแตล่ ะประเภท และการใช้ อปุ กรณ์ต่างๆ ในการทำขนมไทยได้อย่างชำนาญ 3. ผู้เรียนมีทักษะประยกุ ต์ใชค้ วามรู้เกย่ี วกับเทคนคิ การทำขนมไทยที่มีวตั ถดุ ิบท่ีแตกต่างกนั ดว้ ย กรรมวิธที ่ีหลากหลาย เพ่ือให้มคี วามโดดเด่นในรสชาตแิ ละลกั ษณะสำคญั ของขนมไทยแตล่ ะประเภท 4. ผเู้ รียนสามารถปฏบิ ัตกิ ารประกอบขนมไทยแต่ละประเภท และขนมไทยสำหรับพิธีมงคลต่างๆ ได้ อย่างชำนาญ พร้อมทงั้ นาเสนอผลงานจากการปฏบิ ัติ 5. ผู้เรียนอธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างประเพณีและวฒั นธรรมไทยกับขนมไทย ดว้ ยจิตสานกึ และ ความภาคภมู ิใจในประเพณี และศลิ ปวฒั นธรรมไทย 6. ผเู้ รียนมที ักษะประยุกต์ใช้ความรเู้ กยี่ วกับขนมไทยเพื่อวางแผนและออกแบบขนมไทยไดอ้ ย่าง สรา้ งสรรค์ ผ่านกระบวนการทำงานกลุ่ม 7. ผเู้ รียนมคี ณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ และมเี จตคติท่ดี ีต่อการประกอบขนมไทย ด้วยจิตสานกึ รกั และ ภาคภูมใิ จในประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ และวัฒนธรรมไทย รวม 7 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี รายวิชาเพ่มิ เติมอาหารไทย 4 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชัว่ โมง 1.5 หน่วยกิต ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศึกษาเกยี่ วกบั ประวัติ ความเป็นมา และปัจจยั ทางวฒั นธรรมทสี่ ง่ ผลต่อเอกลักษณ์ของอาหารไทยใน แตล่ ะภาค อาหารไทยในวรรณคดี และประวัติศาสตร์ครัวไทยตัง้ แต่สมยั สุโขทยั จนถึงสมัยรัตนโกสนิ ทร์ หลักการเตรยี มและการประกอบอาหารไทยท่ีมีความโดดเด่นในแตล่ ะภาค สว่ นประกอบของอาหาร และการ ปรุงรสชาติทแี่ ตกต่างกันในแต่ละภาค ความรู้เก่ียวกบั ความสมั พันธ์ระหว่างอาหารไทยแต่ละภาคกบั สงั คม ประเพณีและวฒั นธรรม ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งวฒั นธรรมไทยกับอาหารไทยตน้ ตารบั ในวรรณคดี คาศัพท์ ภาษาตา่ งประเทศท่เี ก่ียวข้อง เพอื่ พฒั นาความสามารถในการประกอบอาหารไทยอย่างมอื อาชีพ โดยใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อฝึกการวิเคราะห์ เปรียบเทียบความเหมอื นและความต่างระหวา่ งอาหาร ไทยแตล่ ะภาคและแต่ละสมัยของชาติไทย พร้อมทัง้ รว่ มอภิปรายความโดดเดน่ และเอกลักษณ์ของอาหารไทย แตล่ ะภาคและแต่ละยคุ สมยั ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ เพือ่ นาความรปู้ ระยุกต์ใช้ในการฝึกปฏบิ ตั ิการประกอบอาหาร ไทยแต่ละภาคและแต่ละยุคสมยั ได้อยา่ งมืออาชพี ใช้กระบวนการกลุ่มในการแสวงหาความรู้ วางแผน ออกแบบ และดำเนินการทำโครงงานอาหารไทยในวรรณคดไี ด้อย่างสรา้ งสรรค์ ตลอดจนตดั สนิ ใจแก้ปญั หาท่ี เกดิ ข้นึ ในกระบวนการทำงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั อาหารไทยแตล่ ะภาคและแต่ละสมยั ของชาตไิ ทย มคี วามรู้ คาศัพท์ภาษาตา่ งประเทศท่สี ำคญั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการประกอบอาหารไทยที่โดดเด่นในแต่ละภาคและในแต่ละ ยุคสมัย สามารถวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบและแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับอาหารไทยแต่ละภาคและแตล่ ะยคุ สมัย สามารถคดิ สรา้ งสรรค์ ออกแบบอาหารตามลักษณะความโดดเด่นของอาหารแต่ละภาคและแต่ละยุคสมยั ฝกึ ปฏบิ ัตจิ นเกิดทกั ษะในการประกอบอาหารไทยแต่ละภาคและแต่ละยุคสมยั เหน็ คณุ ค่า และมเี จตคติท่ดี ตี ่อ ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและของแต่ละภาค รู้ เข้าใจ และยอมรบั ในความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมในแต่ ละภาค มีความใฝร่ ้ใู ฝ่เรยี น มีความสามัคคจี ากการเรียนรู้แบบรว่ มมือ มีคุณธรรม ทำงานดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ ขยนั ซ่อื สัตย์ มงุ่ มั่น อดทน นาความร้ไู ปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ต่อตนเอง และต่อสงั คม ผลการเรียนรู้ 1. ผู้เรยี นอธบิ ายปัจจยั ทางภมู ศิ าสตร์ สงั คม วัฒนธรรมและประเพณีทม่ี ีต่ออาหารไทยแต่ละภาค ตลอดจนอภปิ ราย เปรียบเทียบความแตกต่างของอาหารไทยแต่ละภาค ผ่านกระบวนการกลุม่ ในการแสวงหา ความรูไ้ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพ 2. ผเู้ รียนมที ักษะปฏิบัติในการประกอบอาหารไทยใหม้ คี วามโดดเด่นในเอกลกั ษณ์ของรสชาติและ รูปลักษณข์ องอาหารไทยแต่ละภาคได้อยา่ งชานาญ เพ่ือการประกอบอาชีพด้านอาหารไทยอยา่ งมอื อาชพี 3. ผู้เรยี นอธิบายประวตั ิ ความเป็นมาของอาหารไทยตงั้ แต่สมยั สุโขทัย สมัยอยธุ ยา สมยั ธนบรุ ี จนถึง สมัยรตั นโกสนิ ทร์ ตลอดจนอภิปรายความโดดเดน่ ของอาหารไทยในแตล่ ะสมัยไดอ้ ย่างถูกต้อง 4. ผู้เรยี นอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างอาหารไทยกับภมู ิปัญญาและประเพณีด้งั เดิมของไทยไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ด้วยจติ สานึกและความภาคภมู ิใจในความเป็นไทย 5. ผู้เรยี นมที กั ษะปฏิบัตใิ นการประกอบอาหารไทยท่ถี ูกกล่าวถึงในวรรณคดีได้อย่างมืออาชพี มคี วาม โดดเด่นในเอกลักษณค์ วามเป็นไทย มีรสชาติท่ีอร่อยและน่ารบั ประทาน เพ่ือการประกอบอาชพี ด้านอาหาร

ไทยอย่างภาคภมู ิใจ 6. ผูเ้ รียนมีทักษะคดิ วเิ คราะห์ วางแผนออกแบบ และดาเนนิ การทำโครงงานอาหารไทยในวรรณคดีได้ อย่างสรา้ งสรรค์ ตลอดจนตัดสนิ ใจแก้ปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นในกระบวนการทำงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 7. ผู้เรียนมคี ุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ และมีเจตคติท่ีดตี ่อการประกอบอาหารไทย ดว้ ยจติ สานกึ รกั และ ภาคภูมใิ จในประเพณี ศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน และวัฒนธรรมไทย รวม 7 ผลการเรียนรู้

คำอธบิ ายรายวิชา รายวิชาการเยบ็ ตะเข็บพน้ื ฐาน (วิชาเลอื กเสรี) รหัสวิชา ง ๒๐๒๖๙ กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี ๑ จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาและปฏบิ ัติเกีย่ วกับชนดิ และคุณสมบัติพ้ืนฐานของการเยบ็ ตะเขบ็ ดว้ ยมอื และจักร การเลอื กใช้ วัสดุ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ในการตัดเยบ็ การเยบ็ ตะเข็บแบบตา่ งๆ ด้วยมอื และจกั ร ผลการเรยี นรู้ ๑. ศกึ ษาคุณสมบัติตะเข็บพนื้ ฐานแบบตา่ งๆ ๒. มคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับชนิดของตะเข็บแบบตา่ ง ๓. เขา้ ใจหลกั การ วิธีการ ขั้นตอนการเยบ็ ตะเขบ็ อยา่ งง่าย ๔. มที กั ษะในการเลือก วัสดุ เคร่ืองมือและอุปกรณใ์ นการตัดเย็บ ๕. มีทกั ษะในการเนา การสอยซ่อนดา้ ย การสอยพนั ริมดว้ ยมือได้ ๖. ปฏิบตั ิการสอยฟันปลา การดน้ ถอยหลัง การดน้ ตะลุย ๗. มีทักษะในการนำเทคโนโลยีมาประยุกตใ์ ชใ้ นงานตัดเยบ็ เส้ือผา้ ๘. ปฏบิ ัติงานตาม ขน้ั ตอนได้อย่างถกู ต้อง ๙. มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ มีกิจนิสยั ท่ีดีในการปฏิบัติงานและมีเจตคติทีด่ ีต่องานอาชพี รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวชิ า กล่มุ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ รายวชิ าเพิม่ เติมอาหารไทย 5 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศึกษาและวิเคราะหภ์ ูมปิ ัญญาไทยในการใชพ้ ืชผกั สมนุ ไพรและเครื่องเทศในการประกอบอาหาร หลักการนาพืชผักสมนุ ไพรและเครื่องเทศมาใชใ้ นการปรุงอาหารไทย ประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากพืชผกั สมนุ ไพรและ เครอ่ื งเทศ สรรพคุณทางยาของสมนุ ไพรไทย คาศพั ท์ภาษาต่างประเทศทเี่ กี่ยวขอ้ ง การเตรยี มและประกอบ อาหารไทยโดยการใชพ้ ืชผัก สมุนไพรไทยและเครื่องเทศเป็นส่วนประกอบ เรยี นร้หู ลกั โภชนาการของอาหาร วิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทยที่มีผลต่อการบาบัดและส่งเสรมิ สุขภาพของผู้บริโภค คดิ วิเคราะห์ และสร้างสรรค์เพ่ือออกแบบรายการอาหารเพื่อสุขภาพ โดยใชก้ ระบวนการฝกึ ปฏบิ ัติการเลอื กและใช้พชื ผัก สมนุ ไพรและเครอ่ื งเทศ และวตั ถดุ ิบอนื่ ๆ ในการ ประกอบอาหารไทยให้คงคุณค่าทางโภชนาการ และมีรสชาตทิ ี่อร่อย เพ่ือการบาบัดและส่งเสริมสุขภาพของ ผ้บู รโิ ภค ใช้กระบวนการกล่มุ ในการแสวงหาความรู้ วางแผน ออกแบบ และดาเนินการทำโครงงานอาหารไทย เพือ่ การบาบดั และส่งเสรมิ สขุ ภาพได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ ตลอดจนตัดสินใจแกป้ ญั หาที่เกิดข้ึนในกระบวนการ ทำงานได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั พืชผัก สมนุ ไพรและเคร่ืองเทศ และคณุ ประโยชน์ของ ภมู ิปัญญาไทยในการนาพชื ผกั สมนุ ไพรและเคร่ืองเทศมาใช้ในการประกอบอาหาร มีความรู้คาศัพท์ภาษา ตา่ งประเทศทส่ี ำคัญ มีทักษะในการปฏิบตั ิการประกอบอาหารไทยที่มีส่วนประกอบของพืชผกั สมุนไพรและ เครื่องเทศ และวัตถุดิบอื่นๆ ใหม้ คี ณุ ค่าทางโภชนาการเพอื่ การบาบดั และสง่ เสรมิ สุขภาพได้อยา่ งมืออาชีพ มี ทักษะการวิเคราะห์คณุ คา่ ของอาหารไทย มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรคใ์ นการออกแบบอาหารไทยท่ีมีคณุ ค่าทาง โภชนาการเพ่อื การบาบดั และส่งเสริมสุขภาพ เกิดความภาคภมู ใิ จและมีเจตคติที่ดตี ่อพืชผกั สมนุ ไพรและ เครื่องเทศในการประกอบอาหารไทยเพื่อสุขภาพ มคี วามสนใจใฝร่ ้ใู ฝเ่ รียน มคี ุณธรรม ทำงานด้วยความ รบั ผดิ ชอบ ขยนั ซื่อสตั ย์ มุง่ มั่น อดทน สามารถเรยี นรู้และปฏิบตั งิ านร่วมกับผู้อนื่ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ผลการเรียนรู้ 1. ผ้เู รียนอธบิ ายสรรพคุณและประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรไทยและเครื่องเทศทน่ี ามาประกอบ อาหารไทยได้อยา่ งถกู ต้อง 2. ผู้เรียนมที ักษะในการเลือกและใชพ้ ืชผักสมนุ ไพรและเคร่อื งเทศ ตลอดจนวตั ถุดิบอ่นื ๆ ในการ ประกอบอาหารได้อยา่ งเหมาะสม ใหค้ งคณุ คา่ ทางโภชนาการเพ่อื การบาบดั และสง่ เสริมสขุ ภาพ และมีรสชาติ ทอ่ี ร่อย 3. ผูเ้ รียนมีทักษะปฏิบตั ใิ นการเตรียมและประกอบอาหารไทยท่ีมปี ระโยชน์ในการบาบดั และส่งเสริม สุขภาพของผูบ้ ริโภคได้อยา่ งมืออาชีพ 4. ผเู้ รยี นมที ักษะการคดิ วเิ คราะห์ วางแผนออกแบบ และดาเนินการทำโครงงานอาหารไทยเพ่ือ สุขภาพได้อยา่ งสร้างสรรค์ ตลอดจนตัดสินใจแก้ปัญหาท่เี กดิ ข้ึนในกระบวนการทำงานกลมุ่ ไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 5. ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ และมีเจตคติทด่ี ีต่อการประกอบอาหารไทย ด้วยจิตสานึกรัก เห็นคณุ ค่าและภาคภูมิใจในภมู ิปัญญาไทย

คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ รายวชิ าเพิม่ เติมอาหารไทย 6 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชัว่ โมง 1.5 หน่วยกิต ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศึกษาเก่ยี วกบั หลกั การถนอมอาหาร คาศัพทภ์ าษาต่างประเทศท่ีเก่ียวขอ้ ง วเิ คราะห์สาเหตขุ องการ บดู เสียของอาหาร ศึกษาและออกแบบวธิ กี ารถนอมอาหารท่ีหลากหลาย เรียนร้แู ละออกแบบวิธีการดดั แปลง อาหารคาวและหวานอย่างสร้างสรรค์ เพื่อใชใ้ นการบรโิ ภคในครัวเรอื นและเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน โดยใช้กระบวนการกลุ่มเพ่ือฝึกวิเคราะห์ และประยุกต์ใชค้ วามรแู้ ละเทคนิคในการปฏบิ ัติการถนอม อาหารด้วยกรรมวิธีทีห่ ลากหลาย และดดั แปลงอาหารเหลือใชไ้ ด้อย่างมืออาชพี เพือ่ ให้เป็นอาหารท่ีน่า รับประทาน มีรสชาติอร่อย และคงคุณคา่ ทางโภชนาการ ใชก้ ระบวนการกลุ่มในการแสวงหาความรู้ วางแผน ออกแบบ และดาเนนิ การทำโครงงานอาหารเหลือใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ ตลอดจนตดั สินใจแก้ปัญหาท่เี กิดข้ึนใน กระบวนการทำงานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ เพื่อการประกอบอาชีพด้านอาหารไทยอย่างมืออาชีพ เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ เห็นคณุ ค่า และประโยชน์ของการถนอมอาหาร และการดดั แปลง อาหารเหลือใช้ มีความรู้คาศัพท์ภาษาต่างประเทศทสี่ ำคญั ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การถนอมอาหาร สามารถวเิ คราะห์ ปัจจยั ท่กี ่อให้เกดิ การบูดเสยี ของอาหารและแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับแนวทางป้องกนั และแก้ไข มีความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรคใ์ นการออกแบบอาหารเหลือใช้ ฝึกปฏบิ ัตจิ นเกดิ ทักษะ มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรยี น มคี ุณธรรม ทำงานดว้ ยความรบั ผิดชอบ ขยัน ซอ่ื สัตย์ มงุ่ มน่ั อดทน เรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั ิงานรว่ มกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ใชพ้ ลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวธิ ี ผลการเรียนรู้ 1. ผเู้ รียนอธบิ ายความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ และขั้นตอนของการถนอมอาหารด้วยกรรมวิธี ตา่ งๆ ตลอดจนปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ คุณภาพของอาหารได้อย่างถูกต้อง 2. ผู้เรยี นมีทักษะปฏบิ ัตใิ นการถนอมอาหารด้วยกรรมวิธที ่หี ลากหลายไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม 3. ผเู้ รียนอธิบายแนวทางการนาอาหารเหลอื ใช้มาดดั แปลงเป็นอาหารใหม่ที่สามารถรบั ประทานได้ มี รสชาติอรอ่ ย และคงคุณค่าทางโภชนาการ 4. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรเู้ กย่ี วกบั เทคนคิ การดดั แปลงอาหารเหลือใชม้ าประกอบอาหารได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม 5. ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ วางแผนออกแบบ และดาเนินการทำโครงงานได้อยา่ งสร้างสรรค์ ตลอดจนตดั สินใจแกป้ ญั หาท่เี กิดขนึ้ ในกระบวนการทำงานกลมุ่ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 6. ผู้เรียนมคี ณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ และมีเจตคติท่ีดีต่อการประกอบอาหารไทย ด้วยจิตสานกึ และ เห็นคณุ ค่าของทรพั ยากรส่ิงแวดล้อม

คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ ากระโปรงพนื้ ฐาน (วิชาเลือกเสรี) รหัสวิชา ง ๒๐๒๗๑ กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี ๑ จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษาและปฏบิ ตั ิเก่ียวกับการวิเคราะหแ์ บบกระโปรงพนื้ ฐาน สว่ นประกอบต่าง ๆในตวั ต้นแบบ การ สรา้ งแบบกระโปรงพื้นฐาน และแยกแบบตัดกระโปรงตน้ แบบ การวางแบบ ลองตัวและแกไ้ ขปรบั ปรงุ แบบตดั ต้นแบบ การเย็บประกอบชนิ้ สว่ นกระโปรงตน้ แบบ ผลการเรยี นรู้ ๑. เพ่อื ใหมคี วามรูเกย่ี วกับเครือ่ งมือ อปุ กรณและวัสดใุ นการตัดเย็บกระโปรงสตรสี ามารถเลือกใช และบาํ รงุ รักษาไดอยางถกตู อง ๒. สามารถเลอื กผาและคาํ นวณผาเพื่อใชในการตัดเย็บกระโปรงสตรแี บบตางๆไดอยางเหมาะสม และ ถกู ตอง ๓. สามารถสรางแบบตดั เยบ็ กระโปรงสตรเี บ้ืองตนและกระโปรงสตรแี บบตางๆ ได ๔. สามารถนาํ ความรูไปประยุกตใช ในการตัดเย็บกระโปรงแบบตา่ งๆได้ ๕. เพือ่ ใหมนี สิ ัยที่ดีในการปฏิบัตงิ านดวยความประณตี ประหยดั และตรงตอเวลา ๖. ตระหนกั และเหน็ คุณคา่ ในการทำงานสามารถนำความรู้และทกั ษะไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ ๗. มที กั ษะในการทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื สามารถตดั สนิ ใจและแกป้ ัญหาในการทำงาน ๘. มีทักษะในการแสวงหาความรู้ มคี วามคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ พฒั นางานให้มคี ุณภาพมากยง่ิ ข้ึน ๙. เป็นคนชา่ งสังเกต มีความรับผิดชอบ ขยนั อดทน ประณตี รอบคอบ ปฏิบัติงานโดยคำนงึ ถงึ ความ ปลอดภยั และมีเจตคติที่ดีต่องานอาชพี รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู้

คำอธิบายรายวิชา รายวชิ าการงานอาชีพ รหัสวิชา ง ๓๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คำอธบิ ายรายวชิ า อภิปรายแนวทางสู่อาชีพท่สี นใจ เขา้ ใจ มีทักษะที่จำเปน็ มปี ระสบการณ์ เห็นแนวทางในงาอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพือ่ พัฒนา เลอื ก และใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมกบั อาชพี สามารถประยุกต์ใชใ้ ห้เหมาะกับงาน เลอื กใช้เทคโนโลยอี ย่างมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ความรับผดิ ชอบและเจตคตทิ ่ีดีต่อสงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม ปฏิบตั ิงานการจัดทำโครงงานตามความถนัดและความสนใจ ฝึกประสบการณ์ในอาชีพที่ถนดั และสนใจ โดย สามารถจำลองอาชพี เข้าร่วมกิจกรรมอาชพี ไดโ้ ดยใชก้ ระบวนการการทำงาน กระบวนการสบื ค้น กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ มกี ารทำงานเป็นกลุ่มรว่ มคดิ ทำ แก้ปัญหาและ จัดการ สามารถทำงานได้บรรลเุ ป้าหมาย สามารถใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมกบั อาชีพ สามารถประยกุ ต์ใช้ ให้เหมาะกับงาน โดยมคี วามรู้เกยี่ วกับวธิ กี ารใช้อยา่ งถูกวิธี มีคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมในการประกอบ อาชีพ มีคณุ ลกั ษณะทด่ี ีต่ออาชพี และมลี ักษณะนิสัยในการทำงาน ใฝ่เรยี นรู้ อยู่อยา่ งพอเพียง รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ใชพ้ ลงั งาน ทรพั ยากรในการทำงานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม รหัสตัวชวี้ ัด ง 4.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.6-4/4 รวมท้ังหมด 4 ตัวชี้วดั

คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี รายวชิ าเพมิ่ เติมอาหารไทย 7 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกิต ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศึกษาเกีย่ วกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษท่สี ำคญั สำหรบั การครัวและรา้ นอาหาร เรยี นร้กู ารใช้คาศัพท์ หลัก ไวยากรณ์ภาษาองั กฤษเพ่ือให้เกิดทกั ษะการสอ่ื สารทง้ั ดา้ นการพูด การฟัง การอา่ น และการเขยี น คิด วเิ คราะหห์ ลกั การใชภ้ าษาอังกฤษสำหรบั การประกอบอาชีพทางการครวั และร้านอาหาร เพอ่ื เตรยี มพร้อมใน การเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซียนของประเทศไทย โดยใช้กระบวนการฝกึ ปฏิบัติการสอ่ื สารดว้ ยภาษาองั กฤษในการปฏบิ ัตงิ านในครัวและรา้ นอาหาร ตลอดจนการแก้ปญั หาที่เกิดขึ้นในรา้ นอาหารไดอ้ ย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ดว้ ยกิจกรรมการเรยี นรู้ สถานการณจ์ ำลองและการแสดงบทบาทสมมุติ เพื่อให้เกดิ ทกั ษะการส่ือสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับการ ประกอบอาชีพด้านอาหารไทยอย่างมืออาชพี เพอื่ ให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาองั กฤษในการครวั และธุรกิจอาหารไทย ฝกึ ปฏิบัติจนเกิดทักษะในการสอื่ สารดว้ ยภาษาองั กฤษ สามารถแนะนาและแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับการครวั และกจิ กรรมในรา้ นอาหารไทยได้ เห็นคุณค่า และมเี จตคติท่ดี ีต่อภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สารในการครัวและ ในรา้ นอาหาร มีความใฝ่รู้ใฝเ่ รียน มีความสามคั คี มคี ุณธรรม ทำงานดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ ขยัน ซ่ือสัตย์ ม่งุ มั่น อดทน สามารถเรียนรแู้ ละปฏิบตั งิ านรว่ มกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ผลการเรียนรู้ 1. ผ้เู รยี นอธิบายความหมายของคาศัพท์ภาษาอังกฤษทสี่ ำคัญสำหรับการครวั การเตรียมและ ประกอบอาหารโดยใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารได้อยา่ งถูกตอ้ ง 2. ผเู้ รียนมีทกั ษะปฏบิ ัตใิ นการเตรียมและการประกอบอาหารไทยโดยใชภ้ าษาองั กฤษในการสือ่ สาร ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3. ผู้เรียนอธิบายความหมายของคาศัพทภ์ าษาอังกฤษทส่ี ำคญั สำหรบั การใหบ้ ริการในรา้ นอาหารไทย ได้อย่างถูกต้อง 4. ผเู้ รียนมีทกั ษะการสื่อสารดว้ ยภาษาองั กฤษสำหรบั การบริการในร้านอาหารไทย 5. ผเู้ รยี นมที ักษะการคดิ แก้ปัญหาท่เี กดิ ขน้ึ ในร้านอาหารได้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อการประกอบอาชีพ ด้านอาหารไทยอยา่ งมืออาชีพ 6. ผ้เู รยี นมคี ุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคุณคา่ และมเี จตคตทิ ดี่ ีต่อภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสารในการครวั และในรา้ นอาหารไทย

คำอธบิ ายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี รายวชิ าเพิ่มเตมิ อาหารไทย 8 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศกึ ษาเกีย่ วกบั หลักการและทฤษฏกี ารจัดอาหาร คาศัพทภ์ าษาตา่ งประเทศท่ีสำคญั วิเคราะหห์ ลักการ ทางศลิ ปะในการจัดอาหารเพ่ือให้เกดิ ความสวยงาม และเพิ่มมลู คา่ ของอาหาร เรียนรูห้ ลักการแกะสลักผักและ ผลไม้เพ่ือนาไปประกอบและตกแตง่ จานอาหาร คิดออกแบบการตกแต่งจานอาหารสำหรบั อาหารแต่ละ ประเภทได้อยา่ งสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการฝึกปฏบิ ัติการเลอื กวตั ถุดิบเพ่อื การแกะสลักได้อยา่ งเหมาะสม ประยุกตใ์ ช้เทคนิค ในการแกะสลักผักและผลไม้ไดอ้ ย่างสวยงามและยังคงคุณค่าทางอาหารได้อยา่ งมืออาชีพ ปฏบิ ัติการจดั และ ตกแตง่ อาหารได้อยา่ งสวยงาม ถกู ต้องตามหลกั การทางศลิ ปะ และสะท้อนเอกลกั ษณค์ วามเป็นไทย และของ อาหารไทยแตล่ ะประเภท จนเกิดทักษะและความชานาญ เพอื่ การประกอบอาชีพด้านอาหารไทยอย่าง ภาคภูมใิ จในศลิ ปวัฒนธรรมไทย เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏที างศลิ ปะในการจัดตกแต่งจานอาหารเพื่อ เพม่ิ มลู คา่ ของอาหารไทย สามารถวเิ คราะห์ สร้างสรรค์ และแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับศิลปะการตกแต่งจาน อาหาร ฝึกปฏบิ ัตจิ นเกิดทกั ษะในการผลิตผลงานแกะสลักผักผลไม้ และการจดั ตกแต่งจานอาหาร เห็นคุณค่า และประโยชนข์ องงานแกะสลักผักและผลไม้ และการจดั ตกแต่งจานอาหาร มที ักษะในการออกแบบ สร้างสรรค์ผลงาน มีเจตคติที่ดตี ่อวฒั นธรรมการแกะสลกั ผักและผลไม้ มคี วามใฝร่ ู้ใฝเ่ รยี น มคี ุณธรรม ทำงาน ดว้ ยความรับผิดชอบ ขยัน ซอ่ื สตั ย์ มุ่งม่นั อดทน ใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มอย่างคุ้มค่า และถูกวิธี สามารถเรียนรู้และปฏิบตั งิ านรว่ มกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ผลการเรยี นรู้ 1. ผู้เรียนอธบิ ายวธิ ีการแกะสลกั ผักและผลไม้ได้อยา่ งถูกต้อง 2. ผู้เรยี นมที กั ษะปฏบิ ตั ใิ นการแกะสลกั ผักและผลไม้ได้อย่างสวยงามและคงคณุ คา่ ทางอาหาร จนเกิดทักษะและความชำนาญ เพือ่ การประกอบอาชีพด้านอาหารไทยได้ 3. ผู้เรียนอธิบายหลักการศลิ ปะเพ่ือการจัดตกแตง่ อาหารไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และยังคงเอกลักษณ์ของ อาหารแตล่ ะประเภทได้ 4. ผเู้ รียนมที ักษะปฏิบัตใิ นการจัดตกแต่งอาหารไทยแตล่ ะประเภทได้อย่างเหมาะสม และสะทอ้ น เอกลกั ษณ์ของอาหารไทยแต่ละประเภท เพ่อื การประกอบอาชีพดา้ นอาหารไทยอยา่ งมืออาชีพ 5. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ในการใชค้ วามรู้ดา้ นการแกะสลัก และดา้ นศลิ ปะการ ตกแต่งจานอาหาร เพื่อแสดงเอกลักษณ์ของอาหารแตล่ ะประเภทตลอดจนเอกลักษณค์ วามเปน็ ไทยได้ 6. ผเู้ รยี นมคี ุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ และมเี จตคติท่ดี ตี ่อการประกอบอาหารไทย ด้วยจิตสานกึ รักและ ภาคภมู ิใจในประเพณี ศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ และวัฒนธรรมไทย

คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ าการตัดเย็บเบื้องต้น 1 (วิชาเลือกเสรี) รหัสวิชา ง ๓๐๒๖๗ กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง ภาคเรยี นที่ ๑ จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาชนดิ และลกั ษณะเครอ่ื งอปุ กรณก์ ารตัดเย็บเสือ้ ผา้ สตรี เครื่องเกาะเกย่ี ว การวัดตวั การสรา้ งแบบเส้ือเบ้ืองต้น การสรา้ งแขนเส้ือแบบต่าง ๆ การปรบั แบบตดั การทำเครอื่ งหมายบนแบบตดั การ เลอื กผ้า การคำนวณผ้า การวางแบบตดั การทำเคร่อื งหมาย บนผา้ การเย็บประกอบตัวเส้ือ การลองตัวและการ คดิ คำนวณราคาปฏบิ ตั ิการใชเ้ ครือ่ งมือและอุปกรณ์การตัดเย็บเส้อื ผา้ สตรี ทำเครื่องเกาะเกี่ยว วดั ตัวสร้างแบบ เสื้อเบือ้ งตน้ สร้างและแยกแบบแขนเส้ือแบบต่าง ๆ ตดั เย็บเสือ้ เบื้องต้น และเสื้ออยา่ งง่าย ฝึกคดิ คำนวณราคา ผลการเรียนรู้ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของเสอื้ ผ้าสตรเี บื้องต้น 2. มคี วามเขา้ ใจหลกั การ วธิ กี ารและข้ันตอนการสร้างแบบ การปรบั แบบ และการตดั เยบ็ เสือ้ ผา้ สตรเี บอ้ื งต้น 3. มที ักษะ ประสบการณ์ กระบวนการตัดเยบ็ เสื้อผา้ สตรีเบ้อื งต้น สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในการตดั เย็บเสอ้ื ผ้าสตรแี บบต่าง ๆ 4. มีทักษะในการทำงานร่วมกบั ผอู้ ่ืน สามารถตดั สนิ ใจและแก้ปญั หาในการทำงาน 5. มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ มีความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ พัฒนางานให้มีคุณภาพมากย่งิ ข้ึน 6. เปน็ คนชา่ งสังเกต มคี วามรบั ผดิ ชอบ ขยัน อดทน ประณีตรอบคอบ ปฏิบตั งิ านโดยคำนงึ ถงึ ความ ปลอดภัยและมเี จตคตทิ ีด่ ีตอ่ งานอาชีพ รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรยี นรู้

คำอธิบายรายวชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยีพื้นฐาน รายวชิ าการทำขนม ๑ รหสั วิชา ง๓๐๒๐๑ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพฯ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ศึกษาวเิ คราะหป์ ระเภทของขนมไทย วตั ถุดบิ การเลอื กใช้ เกบ็ รกั ษาวัสดุ อุปกรณ์ การวางแผน การ จัด การฝกึ ทักษะ การชัง่ ตวง เตรียมวัสดอปุ กรณ์ ใหถ้ ูกต้องเหมาะสม การคิดต้นทนุ การผลิต วางแผนการ ทำงาน บนั ทึกการปฏบัตงิ านและประเมนิ ผล โดยใชทรพั ยากรอย่างประหยัดคุ้มค่า เพ่ือ ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจและมีทักษะในการทาขนมไทย และสามารถนาไปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ ได้ อยา่ งมีความสขุ ในความเป็นไทยและสงั คมโลก มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีคุณลักษณะอนั พึงประสงคใ์ นการรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซื่อสัตย์สจุ ริต มีวินยั ใฝร่ รู้ ักความเปน็ ไทยและมีจติ สาธารณะ เหน็ ความสำคัญของการทำงานท่มี ีประสิทธภิ าพ โดยใช้ทักษะการจัดการ เพ่อื การประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิง่ แวดล้อม การสร้างช้ินงานอย่างสร้างสรรคแ์ ละการสรา้ งประสบการณ์ในการเขา้ สู่อาชพี ท่ี เหมาะสมกับตนเอง ผลการเรยี นรู้ 1. บอกความหมายของโครงงานอาชีพ ความจำเป็นและประเภทอาชีพอสิ ระได้ 2. บอกจดุ ประสงค์ของการปฏบิ ตั ิงานอาชีพ วิธีการข้นั ตอน กระบวนการอาชีพได้ 3. มีความรเู้ ร่อื งขนมไทย 4. มีความเข้าใจเกยี่ วกบั การเลอื กซื้อ การจัดเกบ็ รักษา และการจัดเตรียมวัตถุดิบ

คำอธิบายรายวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยีพ้ืนฐาน รายวิชาการทำขนม 2 รหัสวิชา ง30201 กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพฯ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต ศกึ ษา สืบคน้ ข้อมูล วเิ คราะห์ ฝกึ ปฏิบัติ และอธิบายเกยี่ วกับการประกอบอาชพี ศึกษาและปฏบิ ตั ิ เก่ียวกบั หลกั และวิธีการทำผลิตภณั ฑเ์ บเกอรี่ การเลือกวตั ถุดิบการเลือกใช้อปุ กรณเ์ ครื่องใช้ในการทำเบ เกอรี่ การเตรียมและเก็บรักษาวัตถุดิบ หลักการและเทคนิคการผลิต การทำคุกก้ี เค้ก พาย ขนมปังและ โดนทั อย่าง ง่าย การเกบ็ รักษาผลิตภัณฑ์ การบรรจผุ ลติ ภัณฑ์การคดิ ต้นทนุ การคำนวณค่าใชจ้ า่ ย การ กำหนดราคาขาย ทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายอยา่ งงา่ ย เพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจและมที ักษะในการทำเบเกอร่ี มเี จตนคติทด่ี ีตอ่ อาชีพสุจรติ มีความขยนั ซื่อสัตย์ อดทนพง่ึ ตนเองเพือ่ นำไปประกอบอาชีพได้ ผลการเรียนรู้ 1. มีความเข้าใจเกย่ี วกับการจัดเตรยี มอุปกรณ์ 2. มีความคดิ ในการจดั จำหนา่ ยที่สร้างสรรค์ 3. มคี วามคิดสร้างสรรคเ์ กย่ี วกับการจัดตกแต่งให้สวยงาม 4. มีเจตคตทิ ่ดี แี ละไดร้ ับประโยชน์ต่อการเรียนวชิ าการทำขนม 5. สามารถนำเสนอแนวทางในการประกอบอาชพี

คำอธิบายรายวิชา กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ รายวชิ าอาหารไทย 9 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศกึ ษา วเิ คราะห์ และวางแผนจัดรายการอาหารท่ีมีความสมดลุ ของอาหาร เหมาะสมกบั ช่วงเวลาของ ม้ืออาหาร สอดคล้องกบั คุณลักษณะสว่ นตัวของผู้บริโภค เชน่ ความต้องการ พน้ื ฐานความเช่อื คา่ นยิ ม ศาสนา เปน็ ตน้ รวมทง้ั ศกึ ษาหลกั การควบคมุ ตน้ ทุนอาหาร วิเคราะหป์ ญั หาในการควบคมุ ตน้ ทุนอาหาร การควบคุม ขนาดและปริมาณอาหารไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ เรียนรู้หลกั การจดั ทาบันทึกรายรับรายจ่าย วิเคราะห์ปัจจัยทีเ่ ป็น สาเหตุของปัญหาในการควบคุมตน้ ทนุ อาหาร และสามารถหาแนวทางในการแก้ปัญหาได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยใชก้ ระบวนการกลุ่มเพ่ือฝึกคดิ วิเคราะห์ วางแผนและออกแบบรายการอาหารที่มีความ หลากหลายไดอ้ ย่างเหมาะสม และสร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้ความรเู้ กยี่ วกับการควบคมุ ต้นทุนอาหาร ประยุกต์ใช้ ความร้ดู ้านภาษาอังกฤษในการสือ่ สารเพ่อื ออกแบบรายการอาหาร ตลอดจนแก้ปัญหาที่เกิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งมือ อาชพี สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการประกอบอาชีพด้านอาหารไทย เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถวิเคราะห์ปัญหาในการควบคุมต้นทนุ พร้อมนาเสนอ แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาโดยประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฏแี ละหลักการควบคุมตน้ ทนุ อาหารเปน็ พนื้ ฐาน สามารถ คิดวางแผน และออกแบบรายการอาหารได้อย่างสรา้ งสรรค์ ฝกึ ปฏิบัตจิ นเกดิ ทักษะ เหน็ คณุ ค่า และประโยชน์ ของการวางแผนและออกแบบรายการอาหาร มคี วามใฝ่ร้ใู ฝเ่ รียน มคี ุณธรรม ทำงานดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ ขยนั ซื่อสตั ย์ มุ่งมั่น อดทน ประหยัด อดออม คิดสร้างสรรค์ ใช้พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมอย่าง คุม้ ค่าและถูกวธิ ี ผลการเรยี นรู้ 1. ผูเ้ รยี นอธิบายความหลากหลายของอาหารไทย ตลอดจนอภิปรายแนวทางในการวางแผนและ ออกแบบรายการอาหารได้อย่างเหมาะสม 2. ผู้เรยี นอธบิ ายทฤษฏีและหลกั การควบคุมต้นทนุ อาหาร หลักการทารายรับรายจ่าย ตลอดจน วเิ คราะห์ปญั หาและนาเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาในการควบคมุ ต้นทุนอาหารได้ 3. ผู้เรียนมีทักษะการคดิ วิเคราะห์ และการวางแผนโดยประยกุ ต์ใช้ความรเู้ ก่ยี วกับการวางแผน รายการอาหารและการการควบคุมตน้ ทุนอาหาร ตลอดจนแกป้ ญั หาทีเ่ กิดข้ึนได้อย่างมืออาชพี 4. ผู้เรียนคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณคา่ และประโยชนข์ องการวางแผนและออกแบบรายการ อาหาร

คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี รายวชิ าอาหารไทย 10 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศึกษา วเิ คราะหแ์ ละวางแผนรายการอาหารไทยสำหรบั งานเลี้ยง โดยพิจารณาถงึ การกำหนดราคา อาหาร ภมู ิหลังของกลมุ่ แขกในงานเล้ยี ง การจดั รายการอาหารท่เี หมาะสม ข้อจากดั ของเครื่องมอื เคร่ืองใช้ใน การประกอบอาหาร จานวนอาหาร ตลอดจนวิเคราะหห์ ลักการเสิรฟ์ ในงานเลย้ี ง มารยาทในการเสิร์ฟ โดยใช้กระบวนการกลุ่มเพ่ือฝึกการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ในการวเิ คราะห์ วางแผน และแก้ปัญหาในการ วางแผนรายการอาหาร และการให้บริการในการจดั เล้ยี งได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มีทกั ษะกระบวนการกล่มุ ใน การแสวงหาความรู้ วางแผน ออกแบบ และดาเนินการทำโครงงานจดั รายการเพื่อการจดั เลี้ยงได้อย่าง สรา้ งสรรค์ ตลอดจนตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาท่ีเกดิ ข้ึนในกระบวนการทำงานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือเกิดทักษะ สำคญั ในการประกอบธรุ กิจอาหารไทยอย่างมืออาชพี เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั องค์ประกอบต่างๆในการจัดเล้ียง สามารถวางแผน และ ออกแบบรายการอาหารเพ่ือการจัดเลีย้ งได้อย่างสรา้ งสรรค์ สามารถวเิ คราะหป์ ัญหาท่ีจะเกิดขึ้นในการจัด อาหารเพื่อการจดั เลี้ยง พร้อมเสนอแนวทางในการแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ สามารถสร้างองค์ความรเู้ กี่ยวกบั การจัดรายการอาหารเพือ่ การจัดเลี้ยงจากการทำโครงงาน เห็นคุณคา่ และประโยชน์ของการวางแผนและ จดั การอาหารเพื่องานเล้ยี ง ฝึกปฏิบตั ิจนเกิดทักษะ มีความสามัคคดี ้วยการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการกลมุ่ รว่ มมอื มีความใฝ่รใู้ ฝ่เรยี น มีคุณธรรม ทำงานดว้ ยความรับผดิ ชอบ ขยนั ซื่อสัตย์ ม่งุ ม่นั อดทน ใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอย่างคุ้มคา่ และถูกวธิ ี ผลการเรยี นรู้ 1. ผเู้ รียนอธบิ ายหลักการกำหนดราคาอาหาร วธิ ีการวเิ คราะหภ์ มู หิ ลงั ของกล่มุ แขกในงานเล้ยี ง จำนวนอาหาร ขอ้ จากัดในการเตรยี มและประกอบอาหาร และการวางแผนรายการอาหาร 2. ผู้เรยี นอธิบายหลกั การให้บรกิ ารจดั เล้ยี งที่ดี ตลอดจนมารยาทในการให้บริการจดั เลยี้ งด้วยอาหาร ไทยได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม 3. ผ้เู รียนมีทักษะการคิดวเิ คราะห์ วางแผน และแกป้ ญั หาโดยการประยุกตค์ วามรู้ในการวางแผน รายการอาหาร และการใหบ้ ริการในการจดั เล้ียงได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4. ผู้เรียนมที ักษะการคดิ วเิ คราะห์ วางแผนออกแบบ และดาเนนิ การทำโครงงานจัดรายการอาหาร ไทยเพอื่ การจดั เล้ยี งไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ 5. ผูเ้ รียนมีทักษะการคดิ ตัดสนิ ใจ และแก้ปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นในกระบวนการทำงานได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 6. ผู้เรยี นมีคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ เห็นคุณคา่ และประโยชนข์ องการวางแผนและจดั การอาหาร เพ่ืองานเลย้ี ง

คำอธิบายรายวชิ า รายวิชาการตดั เยบ็ เสื้อผ้าสตรี (วชิ าเลือกเสรี) รหัสวชิ า ง30269 กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เวลา 40 ชว่ั โมง ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.0 หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏบิ ัติเก่ียวกบั การวเิ คราะห์แบบเส้อื ส่วนประกอบต่าง ๆ ในตัวเสื้อผ้าต้นแบบ วัสดตุ กแต่ง การสร้างและแยกแบบตัดเสือ้ ต้นแบบ การวางแบบ ลองตัวและแก้ไขปรบั ปรุงแบบตัดเส้ือผา้ ตน้ แบบ การเย็บ ประกอบช้ินสว่ นเสื้อผา้ ตน้ แบบ ผลการเรียนรู้ 1. มคี วามร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวกับหลักการวิเคราะหแ์ บบเส้ือผ้า สว่ นประกอบต่าง ๆ ในตัวเสอื้ สรา้ งและ แยกแบบตัด การลองตวั แกไ้ ขแบบตัด การเย็บประกอบช้ินส่วนเส้อื ผา้ ตน้ แบบ 2. มีความรเู้ ก่ียวกบั หลกั การพน้ื ฐานโครงสร้างแบบตดั เสื้อผา้ สตรี 3. มที ักษะในการสร้างและแยกแบบตัด การวางแบบตัด ลองตวั และแก้ไขแบบตดั เสอ้ื ผ้าตน้ แบบ การ เยบ็ ประกอบชน้ิ สว่ นเสอื้ ผา้ ต้นแบบ 4. มที ักษะในการสร้างแบบและแยกแบบเสอ้ื กระโปรงชดุ ตดิ กนั 5. มที กั ษะในการทำงานรว่ มกบั ผ้อู ่ืน สามารถตดั สินใจและแก้ปญั หาในการทำงาน 6. มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ มคี วามคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ พฒั นางานให้มคี ุณภาพมากยิ่งขึน้ 7. เปน็ คนชา่ งสังเกต มคี วามรับผิดชอบ ขยนั อดทน ประณตี รอบคอบ ปฏิบัติงานโดยคำนงึ ถงึ ความ ปลอดภัยและมเี จตคติทด่ี ีตอ่ งานอาชีพ 8. ตระหนักและมีกจิ นิสยั ในการทำงาน 9. สามารถนำความรูแ้ ละทกั ษะในการทำงานไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั และประกอบอาชีพได้ รวมท้ังหมด 9 ผลการเรยี นรู้

คำอธบิ ายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ รายวิชาอาหารไทย 11 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชวั่ โมง 1.5 หนว่ ยกติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ศึกษาเกี่ยวกบั ความสำคญั และความเป็นมาของธุรกิจภัตตาคารและร้านอาหารในอดตี รวมทง้ั วเิ คราะหแ์ นวโน้มในอนาคตโดยเฉพาะผลกระทบที่เกดิ ขึ้นเมือ่ ประเทศไทยเข้าส่ปู ระชาคมอาเซยี น ศึกษา หลักการจัดการธุรกจิ ภตั ตาคารและรา้ นอาหารจากเอกสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ คิดวเิ คราะหป์ จั จยั ที่ ส่งผลตอ่ การจดั การธุรกิจภัตตาคารและร้านอาหาร วางแผนธุรกจิ อาหารไทย และออกแบบหาแนวทางในการ ปอ้ งกันปัญหา และการแก้ไขปญั หาของธรุ กิจภตั ตาคารและร้านอาหาร ศกึ ษาหลักสุขาภิบาลและการควบคุม ความปลอดภยั สำหรบั ร้านอาหาร รวมท้ังคุณธรรมและจรรยาบรรณของผปู้ ระกอบธุรกจิ ภัตตาคารและ รา้ นอาหาร โดยใชก้ ระบวนการกลุ่มในการวเิ คราะหแ์ นวโนม้ และทิศทางของธุรกจิ ภตั ตาคารและรา้ นอาหารไทย ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ประยุกตใ์ ช้ความรู้เพ่อื วางแผนและออกแบบการตลาดและการจัดการธุรกจิ ภัตตาคาร และร้านอาหารทีถ่ ูกหลักสขุ าภบิ าลไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ ตลอดจนการแก้ปัญหาทเ่ี กดิ ข้ึนในการทำงาน เพื่อการ ประกอบอาชีพดา้ นอาหารไทยอยา่ งมืออาชีพ เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ธุรกิจภัตตาคารและอาหารไทย สามารถวิเคราะหป์ จั จยั ทมี่ ี ผลต่อธรุ กจิ ภตั ตาคารและร้านอาหาร มองเหน็ แนวโนม้ ของธุรกจิ ภัตตาคารและร้านอาหาร สามารถคิด สรา้ งสรรค์ วางแผนและออกแบบการบริหารจดั การธุรกิจได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ฝกึ ปฏิบัติจนเกดิ ทักษะ เห็นคณุ คา่ และมเี จตคติที่ดตี ่อการจัดการธรุ กิจภัตตาคารและร้านอาหาร สามารถประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี ประกอบการศึกษาคน้ คว้า สรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง มคี วามสามคั คีด้วยการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการกลมุ่ ร่วมมือ มีความใฝร่ ู้ใฝเ่ รยี น ทำงานด้วยความรบั ผดิ ชอบ ขยัน ซ่อื สัตย์ มุง่ มัน่ อดทน มีจติ สานึก มคี ณุ ธรรม และยึดม่ันในจรรยาบรรณวิชาชพี ผู้ประกอบธุรกิจอาหารไทย ใชพ้ ลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อยา่ งคุ้มค่าและถูกวิธี ผลการเรยี นรู้ 1. ผู้เรียนอธิบายความสำคญั และความเปน็ มาของธรุ กิจภตั ตาคารและรา้ นอาหาร ตลอดจนวิเคราะห์ แนวโนม้ ของธรุ กิจภตั ตาคารและรา้ นอาหารได้ 2. ผู้เรียนอธิบายหลักการบรหิ ารจดั การธรุ กจิ ภัตตาคารและรา้ นอาหารไทยได้อย่างมเี หมาะสม 3. ผ้เู รียนอธิบายหลักสุขาภิบาลและความปลอดภัยของอาหารในการประกอบธรุ กิจภตั ตาคารและ ร้านอาหารไทยได้ 4. ผู้เรยี นมีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ และคิดวิจารณญาณในประเดน็ ปัญหาเก่ียวกบั การประกอบธุรกจิ อาหารไทย คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพผู้ประกอบธุรกิจอาหารไทย 5. ผู้เรยี นมีทักษะการคิดวเิ คราะห์ และวางแผนการตลาด และการจดั การธรุ กิจภตั ตาคารและ ร้านอาหารท่ีถกู หลักสขุ าภิบาลได้อย่างสร้างสรรค์ เพ่ือการประกอบอาชีพดา้ นอาหารไทยอยา่ งมืออาชีพ 6. ผู้เรียนมคี ณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณคา่ และมเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อการจัดการและบรหิ ารธรุ กิจ ภตั ตาคารและร้านอาหารไทย

คำอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี รายวชิ าอาหารไทย 12 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 นาที ศึกษาเกย่ี วกับการทำโครงงาน ดำเนนิ การทำโครงงานธุรกิจภัตตาคารและร้านอาหาร เร่ิมต้น จากการพจิ ารณาหัวข้อท่นี ่าสนใจ ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้องท้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ วาง แผนการดำเนนิ โครงการ เขยี นรูปแบบของนิทรรศการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการวเิ คราะห์ วางแผน และออกแบบการจดั การและการบริหารธุริ กิจภัตตาคารและร้านอาหารไทยทีถ่ ูกหลกั สุขาภบิ าลได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ใช้กระบวนการกล่มุ ในการแสวงหา ความรู้ วางแผน ออกแบบ และดำเนินการทำโครงงานการออกแบบธรุ กิจภัตตาคารและรา้ นอาหารไทย พรอ้ มท้ังวางแผนการนำเสนอโครงงานได้อยา่ งสร้างสรรค์ สามารถตดั สนิ ใจแกป้ ัญหาท่เี กิดข้นในกระบวนการ ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกดิ ทักษะสำคญั ในการปรกอบธรุ กิจอาหารไทยอย่างมอื อาชีพ เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนรู้และเข้ใจเกย่ี วกับการจัดการและบริหารธุรกิจภัตตาคารร้านอาหารไทย สามารถ บูรณาการความรู้เพื่อคิดวเิ คราะห์ วางแผน ออกแบบ และสรา้ งสรรคโ์ ครงงานธุรกิจภตั ตาคารและการจัด ร้านอาหารไทย มที กั ษะการสบื ค้นขอ้ มูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะในการสร้างองค์ความร้เู ก่ียวกบั ธรุ กจิ ภตั ตาคารและการจัดการรา้ นอาหารไทยดว้ ยตนเอง เหน็ คุณค่า และมเี จตคติที่ดตี ่อการประกอบอาชพี เกยี่ วกบั ภตั ตาคารและร้านอาหารไทย มคี วามสามคั คีด้วยการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการการร่วมมอื มีความใฝ่รใู้ ฝ่ เรียน มคี ณุ ธรรม ทำงานด้วยความรบั ผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ มุ่งมนั่ อดทน ใช้เพลังงานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สงิ่ แวดลอ้ มอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี ผลการเรยี นรู้ 1. ผ้เู รียนอภปิ รายหลักสขุ ภิบาลและความปลอดภยั ของอาหารในการประกอบธรุ กิจ ภัตตาคาร 2. ผู้เรียนอภิปราย แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการพัฒนาโครงงานเกยี่ วกับธรุ กจิ ภัตตาคาร และอาหารไทยอย่างสร้างสรรค์ 3. ผู้เรียนประยกุ ตใ์ ชค้ วามรูแ้ ละเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการสืบค้นข้อมูล เพื่อการ วางแผนและออกแบบการจดั การธุรกจิ ภตั ตาคารและรา้ นอาหารไทยที่ถกู หลักสุขาภบิ าลได้ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4. ผู้เรียนวิเคราะห์ วางแผน ออกแบบ และดำเนนิ การทำโครงงานการออกแบบธรุ กจิ ภตั ตาคารและรา้ นาหารไทยไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ ตลอดจนตัดสินใจแกป้ ัญหาที่เกดิ ข้นึ ใน กระบวนการทำงานไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ เพ่ือใหเ้ กิดความชำนาญในการประกอบอาชีพ ดา้ นอาหารไทย 5. ผ้เู รยี นเหน็ คุณค่า และมเี จตคตทิ ่ีดีต่อการประกอบอาชีพเกี่ยวกับธุรกจิ ภ้ตตาคารและ ร้านอาหารไทย

คำอธิบายรายวชิ า รายวิชางานประดิษฐ์ รหัสวิชา ง ๓๐๓๘๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การออกแบบ การเลือก การเตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์ ในการเย็บ ปัก ถกั ร้อย หลักการ วิธกี ารและข้นั ตอน การปฏบิ ตั ิงานเยบ็ ปกั ถักร้อย การออกแบบและทำบรรจภุ ัณฑป์ ระดิษฐ์ เครอื่ งใชต้ กแตง่ เครือ่ งประดับจากวสั ดุต่างๆ ตามสมัยนยิ ม ออกแบบ ทำบรรจุภัณฑ์ คำนวณตน้ ทุน และ กำหนดราคาจำหน่าย ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั การออกแบบ การเลือก การใชแ้ ละการเกบ็ รักอุปกรณ์ ในการเย็บ ปกั ถัก รอ้ ย ๒. มที ักษะในการออกแบบ ประดษิ ฐ์เคร่ืองใช้ตกแตง่ เคร่ืองประดบั จากวสั ดุต่างๆตามสมยั นยิ ม ๓. มีทกั ษะในการออกแบบ ทำบรรจุภณั ฑ์ คำนวณตน้ ทนุ และกำหนดราคาจดั จำหน่าย ๔. มีความเขา้ ใจหลกั การออกแบบ การเลอื กใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ การเกบ็ รักษาวัสดุอปุ กรณ์ การเตรียม วสั ดอุ ปุ กรณ์ และวิธกี ารเก็บรักษาช้ินงาน ๕. มีกจิ นิสัยในการทำงาน ปฏบิ ตั ิงานด้วยความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย ประณตี รอบคอบสะอาด ปลอดภัย

คำอธบิ ายรายวิชา รายวชิ าการตัดเยบ็ เสื้อมีปก (วิชาเลือกเสร)ี รหสั วชิ า ง ๓๐๒๗๑ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั พ้นื ฐานโครงสรา้ งแบบตัดเสอื้ ผ้าสตรี การวดั ตัวเพ่ือสรา้ งแบบตดั เสื้อผา้ สตรี การสร้างแบบและแยกแบบเสื้อ กระโปรงชดุ ตดิ กนั และกางเกงสตรีแบบตา่ ง ๆ การวางแบบตัดเย็บเพื่อทดลอง แบบตดั เสื้อผา้ สตรี ผลการเรยี นรู้ ๑. มีความรเู้ กย่ี วกบั หลักการพน้ื ฐานโครงสรา้ งแบบตดั เส้ือมีปก 2. เขา้ ใจหลกั การ วธิ ีการ ขนั้ ตอนการสรา้ งแบบและตัดเย็บเสอื้ มปี กอยา่ งง่าย 3. มีทักษะในการเลือกผ้า วัสดุ เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ในการตัดเย็บ 4. มที ักษะในการสรา้ งแบบและตดั เย็บ เส้ือมีปกอยา่ งงา่ ย 5. มีทักษะในการนำเทคโนโลยีมาประยุกตใ์ ช้ในงานตัดเยบ็ เสื้อผา้ 6. มที ักษะในการเยบ็ ส่วนประกอบต่างๆของเสอ้ื มีปกจนสำเร็จได้ ๗. มคี วามคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ มกี จิ นิสยั ทีด่ ีในการปฏิบตั ิงานและมีเจตคติทด่ี ตี ่องานอาชพี ๘. สามารถนำความรู้และทักษะในการทำงานไปใช้ในชีวิตประจำวันและประกอบอาชีพได้ รวมท้ังหมด ๘ ผลการเรยี นรู้

โครงสรา้ งหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนธาตทุ องอำนวยวิทย์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายวชิ าพน้ื ฐาน ระดับชั้น รหสั วิชา ภาคเรียนท่ี 1 หนว่ ยกติ รหัสวิชา ภาคเรยี นท่ี 2 หนว่ ยกิต รายวิชา 1.0 (40) รายวชิ า 1.0 (40) ม.1 1.0 (40) 1.0 (40) ม.2 1.0 (40) 1.0 (40) ม.3 รหสั วชิ า รายวชิ า รายวชิ าเพม่ิ เติม รายวชิ า หน่วยกติ ม.1 หน่วยกิต รหสั วิชา 0.5 (20) 0.5 (20) 0.5 (20) ม.2 0.5 (20) 0.5 (20) 0.5 (20) 1.0 (40) ม.3 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40)

โครงสรา้ งหลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย ปกี ารศกึ ษา 2565 โรงเรยี นธาตทุ องอำนวยวทิ ย์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 รายวชิ าพ้นื ฐาน ระดับช้ัน รหัสวชิ า ภาคเรยี นท่ี 1 หน่วยกิต รหัสวชิ า ภาคเรียนที่ 2 หนว่ ยกติ รายวชิ า 1.0 (40) รายวชิ า 1.0 (40) ม.4 1.0 (40) 1.0 (40) ม.5 1.0 (40) 1.0 (40) ม.6 รหัสวิชา รายวิชา รายวชิ าเพิ่มเติม รายวชิ า หน่วยกติ ม.4 หนว่ ยกิต รหัสวชิ า 0.5 (20) 0.5 (20) 0.5 (20) ม.5 0.5 (20) 0.5 (20) 0.5 (20) 1.0 (40) ม.6 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40)

รายวชิ า ทศั นศิลป์ คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ ภาคเรยี นที่ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวน 1.0 หน่วยกติ รหสั วิชา ศ 21101 ศึกษา วเิ คราะห์ ความหมายและความสำคญั ขององคป์ ระกอบศิลป์ ทศั นธาตุ สร้างและนำเสนอผลงาน ทางทัศนศลิ ป์จากจนิ ตนาการ โดยสามารถใชอ้ ุปกรณท์ เ่ี หมาะสม รวมทงั้ สามารถใช้เทคนิค วธิ ีการของศลิ ปนิ ใน การสรา้ งงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณค์ ุณคา่ งานทศั นศลิ ป์ เข้าใจความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งทัศนศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะท่ีเปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญา ทอ้ งถิ่น ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นขอ้ มูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการพจิ ารณาคุณค่า เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบตั ิและประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวันได้อย่างเหมาะสม ตัวชีว้ ัด ศ 1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ศ 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 รวม 9 ตัวช้วี ัด

รายวชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 1.0 หน่วยกติ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 รหสั วิชา ศ21102 ศึกษาและฝกึ ทกั ษะทางดนตรี-นาฏศิลปผ์ า่ นกระบวนการอธิบาย อา่ น เขียน โนต้ ไทยและโนต้ สากล เปรยี บเทียบเสียงรอ้ งและเสยี งของเคร่ืองดนตรที ่ีมาจากวัฒนธรรมทีต่ ่างกนั ร้องเพลงและใช้เคร่ืองดนตรี บรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงทห่ี ลากหลายรปู แบบ จดั ประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรที ่ีมา จากวฒั นธรรมต่างๆ แสดงความคดิ เหน็ ที่มตี อ่ อารมณข์ องบทเพลงท่ีมีความเรว็ ของจงั หวะและความดัง-เบา แตกตา่ งกัน เปรียบเทยี บอารมณ์ ความรสู้ กึ ในการฟงั ดนตรีแตล่ ะประเภท นำเสนอตัวอย่างเพลงทตี่ นเองชนื่ ชอบ และอภปิ รายลักษณะเด่นทีท่ ำให้งานนนั้ น่าชื่นชม ใชเ้ กณฑ์สำหรบั ประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงท่ี ฟงั ใช้และบำรงุ รักษาเคร่ืองดนตรีอยา่ งระมัดระวงั และรบั ผดิ ชอบ อธิบายบทบาทความสัมพันธแ์ ละอธพิ ลของ ดนตรที ี่มีต่อสงั คมไทย ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวฒั นธรรมต่างกัน อธิบายอทิ ธพิ ลของ นักแสดง ช่ือดงั ทมี่ ีผลต่อการโนม้ นา้ วอารมณห์ รอื ความคดิ ของผู้ชม ใช้นาฏยศพั ทท์ างการละครในการแสดง แสดง นาฏศลิ ปแ์ ละละครในรูปแบบง่ายๆ ใช้ทกั ษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลติ การแสดง ใช้เกณฑ์ง่ายๆ ท่กี ำหนดใหใ้ นการพจิ ารณาคุณภาพการแสดงท่ีชม โดยเน้นเร่อื งการใช้เสยี ง การแสดงท่าและการเคล่ือนไหว ระบปุ จั จยั ทม่ี ผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พน้ื บา้ น ละครไทย และละครพ้นื บ้าน บรรยาย ประเภทของละครไทยในแตล่ ะยคุ สมยั โดยใชท้ ักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่าง สรา้ งสรรค์ การวิเคราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณค์ ุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ เพ่ือให้เหน็ คณุ ค่างานดนตรีและนาฏศลิ ปท์ ีเ่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น และเขา้ ใจ ความสมั พันธร์ ะหว่างดนตรี-นาฏศลิ ป์ กับประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรม และการนำความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ ในชวี ติ ประจำวัน ตัวช้วี ดั ศ 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ศ 2.2 ม.1/1 ม.1/2 ศ 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ศ 3.2 ม.1/1 ม.1/2 รวม 18 ตัวชวี้ ัด

รายวิชา ทัศนศิลป์ คำอธบิ ายรายวิชา กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ภาคเรียนท่ี 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 จำนวน 1.0 หน่วยกิต รหัสวิชา ศ22101 ศึกษา อภิปราย เกี่ยวกับรูปแบบและแนวคิดของผลงานทัศนศิลป์ ฝึกปฏิบัติวาดภาพด้วยเทคนิคท่ี หลากหลาย เพื่อแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละครในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ บรรยายความแตกต่างของการใช้วัสดุ อุปกรณ์ของศิลปิน วิธีการใชง้ านทศั น์ศิลป์ในการโฆษณา การเปลี่ยนแปลงแนวคิดและเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ของไทยในแตล่ ะยคุ สมัย เหน็ คุณค่า เปรยี บเทียบแนวคิด ในการออกแบบงานทศั นศิลป์ทมี่ าจากวฒั นธรรมไทยและสากลเพื่อนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ พจิ ารณา เพ่ือใหเ้ กดิ ความร้คู วามเขา้ ใจ สามารถนำไปปฏิบตั ิและประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้อยา่ งเหมาะสม ตัวช้ีวัด ศ 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 รวม 10 ตัวชว้ี ัด

รายวชิ า ดนตรี-นาฏศิลป์ คำอธิบายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ิลปะ ภาคเรียนท่ี 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ รหัสวิชา ศ22102 ศึกษาเปรียบเทียบการใช้องคป์ ระกอบดนตรี บทบาท อิทธิพลของดนตรีในวฒั นธรรมของประเทศต่างๆ พร้อมบรรยายวัฒนธรรมและเหตกุ ารณใ์ นประวตั ิศาสตร์กับการเปลย่ี นแปลงทางดนตรีในประเทศไทย สามารถ อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง สามารถระบุปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการ สรา้ งสรรคง์ านดนตรี และรอ้ งเพลง เล่นดนตรีเดย่ี วและรวมวงได้ พรอ้ มบรรยายอารมณ์ สามารถระบุงานอาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง สร้างสรรค์การ แสดงโดยใช้องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์และการละคร พร้อมเสนอข้อคิดเห็นในการปรบั ปรงุ การแสดง โดยใช้วิธีการ วิเคราะห์ วิจารณ์การแสดง และเชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ สามารถเปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองจากวัฒนธรรมต่างๆ ระบุหรือแสดง นาฏศลิ ปพ์ ้นื บา้ น ละครไทย ละครพื้นบ้าน อธบิ ายอทิ ธิพลของวฒั นธรรมทีม่ ผี ลต่อเนอื้ หาของละครสมยั ต่างๆ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่าง สรา้ งสรรค์ การวิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณคา่ งานดนตรแี ละนาฏศิลป์ เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเข้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี-นาฏศิลป์ กับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั ตัวชวี้ ัด ศ 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ศ 2.2 ม.2/1 ม.2/2 ศ 3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ศ 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 รวม 17 ตัวช้วี ดั

รายวชิ า ทศั นศลิ ป์ คำอธบิ ายรายวิชา กลุม่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ ภาคเรยี นที่ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จำนวน 1.0 หน่วยกิต รหัสวชิ า ศ23101 ศึกษา วิเคราะห์ บรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่อง ทัศนธาตุและ หลักการออกแบบ เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิธีการใช้ทัศนธาตุ และหลักการ ออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย 3 ประเภท มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่างๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ สร้างง าน ทัศนศิลป์ ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อ ความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ รูปแบบเนื้อหา และคุณค่าในงาน ทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น หรือของศิลปิน สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่างๆ โดยใช้ เทคนคิ ทห่ี ลากหลาย ระบอุ าชีพท่ีเกย่ี วขอ้ งกับงานทัศนศลิ ป์และทักษะท่จี ำเปน็ ในการประกอบอาชีพนั้นๆเลือก งานทัศนศลิ ปโ์ ดยใชเ้ กณฑท์ ี่กำหนดขน้ึ อย่างเหมาะสมและนำไปจัดนิทรรศการ ศกึ ษาและเปรียบเทียบเก่ียวกับ งานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรม ไทยและสากล โดยใช้ทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป์ในการสร้างและนำเสนอผลงานทัศนศิลป์ การเลือกใช้วัสดุ อปุ กรณท์ ี่เหมาะสม การวิเคราะห์ การวิพากษว์ จิ ารณ์คณุ คา่ งานทัศนศลิ ป์ เพอ่ื ให้เหน็ คุณคา่ งานทศั นศิลป์ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม นำ ความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั มจี รยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทเี่ หมาะสม ตัวช้วี ัด ศ 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/11 ศ 1.2 ม.3/1 ม.3/2 รวม 13 ตัวชีว้ ดั

รายวชิ า ดนตรี-นาฏศลิ ป์ คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ภาคเรยี นที่ 2 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 จำนวน 1.0 หน่วยกติ รหัสวิชา ศ23102 ศึกษาและฝกึ ทกั ษะทางดนตรี-นาฏศลิ ป์ผา่ นกระบวนการอธิบาย การร้องเพลง การเลน่ ดนตรี การแตง่ เพลง การจัดแสดงดนตรี การวจิ ารณเ์ ปรียบเทยี บ การฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ อธิบายเกี่ยวกบั อิทธพิ ลของดนตรี ที่มีต่อบุคคลและสังคม อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง ร้องเพลงเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์งาน ดนตรีของตนเอง เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งงานดนตรขี องตนเองและผู้อื่น จัดการแสดงดนตรี บรรยายวิวัฒนาการของดนตรีแต่ละยคุ สมัย เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงาน ดนตรีและงานศิลปะอื่น แต่งเพลงสั้นๆ นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ใน ชีวติ ประจำวนั อธิบายความสำคัญนาฏศิลปแ์ ละการละครในชวี ติ ประจำวนั แสดงความคดิ เห็นในการอนุรักษ์ นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร มีทักษะในการใช้ความคิดในการพฒั นารูปแบบการแสดง วิจารณเ์ ปรียบเทียบงาน นาฏศิลป์ที่มีความแตกต่างกัน โดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์ ใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางละครที่ เหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผู้คนในชีวิตประจำวันและการแสดงโดยใช้นาฏยศัพท์ มีทักษะในการแปลความและสื่อสารผ่านการแสดง ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ศัพท์ทางการละคร ออกแบบและสร้างสรรคอ์ ปุ กรณ์และเคร่ืองแตง่ กายเพื่อแสดงนาฏศลิ ป์และละครท่ีมาจากวฒั นธรรมต่าง ๆ ตัวช้ีวัด ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ศ 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ศ 2.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ศ 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ศ 3.2 ตวั ช้ีวัด รวม 19

รายวิชา ทัศนศลิ ป์ คำอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 รหัสวิชา ศ31101 ศึกษา วิเคราะห์ อธิบายเกี่ยวกับการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบ ตา่ งๆ จดุ ประสงคแ์ ละเน้อื หาของงานทศั นศลิ ป์ โดยใชศ้ พั ท์ทางทศั นศิลป์ วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก โดยใช้กระบวนการ อภิปรายเพือ่ สรปุ ความรเู้ ก่ียวกบั อิทธิพลของวฒั นธรรมระหว่างประเทศท่ีมผี ลต่องานทัศนศิลปใ์ นสังคม วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศิลปินไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการ สร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบ และสามารถระบุงานทัศนศิลป์ของศิลปินทีม่ ีชื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับ ของสงั คม มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ สามารถ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะสมกบั โอกาสและสถานท่ี สามารถวาดภาพระบายสีเป็นภาพล้อเลียนหรือภาพ การต์ ูน โดยใช้กระบวนการเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการ เพอ่ื แสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกบั สภาพสังคมในปจั จบุ นั ประเมนิ และวจิ ารณ์งานทัศนศิลป์ โดยใชท้ ฤษฎีการวิจารณศ์ ิลปะ และจัดกล่มุ งานทัศนศิลป์ เพื่อสะท้อน พฒั นาการและความกา้ วหน้าของตนเอง เพื่อให้เห็นคุณค่าและสามารถสร้างงานทัศนศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างาน ทศั นศิลป์อย่างชน่ื ชม และนำมาประยุกตใ์ ช้ให้เกดิ ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวัน ตัวชี้วดั ศ 1.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ม.4-6/8 ม.4-6/10 ม.4-6/11 ศ 1.2 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 รวม 12 ตวั ช้วี ดั

คำอธบิ ายรายวชิ า รายวิชา ดนตรี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ ภาคเรียนที่ 2 รหัสวิชา ศ31102 จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ศึกษาและฝึกทักษะทางดนตรีผ่านกระบวนการอธิบาย อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตรา จังหวะต่างๆ ร้องเพลง หรือเล่นเครื่องดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของ การแสดง เปรียบเทียบรปู แบบบทเพลงและวงดนตรแี ตล่ ะประเภท จำแนกประเภทและรูปแบบของวงดนตรีท้ัง ไทยและสากล อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรมสร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน วิเคราะห์รูปแบบของดนตรี ไทยและดนตรีสากลในยุคสมัยต่างๆ วิเคราะห์สถานะทางสังคมของนักดนตรีในวัฒนธรรมต่างๆ เปรียบเทียบ ลักษณะเด่นของดนตรีในวัฒนธรรมต่างๆ อธิบายบทบาทของดนตรีในการสะท้อนแนวความคิดและค่านิยมท่ี เปลี่ยนไปของคนในสังคม นำเสนอแนวทางในการสง่ เสริมและอนุรักษ์ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรี ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ การ วิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คณุ คา่ งานดนตรีและนาฏศิลป์ เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างดนตรกี ับประวตั ิศาสตรแ์ ละวฒั นธรรม และการนำความรูไ้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั ตัวช้ีวัด ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ศ 2.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ศ 2.2 ม.4-6/1 รวม 10 ตัวชว้ี ัด

คำอธบิ ายรายวชิ า รายวิชา นาฏศิลป์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ภาคเรยี นท่ี 1 รหสั วิชา ศ จำนวน 1.0 หน่วยกิต มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ ใช้ความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่ วิจารณ์ การแสดงตามหลักนาฏศิลป์และการละคร วิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อ ความหมายในการแสดง วเิ คราะหท์ ่าทาง และการเคลอ่ื นไหวของผูค้ นในชวี ิตประจำวันและนำมาประยุกต์ใช้ใน การแสดง เปรียบเทียบการนำการแสดงไปใช้ในโอกาสต่างๆ และอภิปรายบทบาทของบุคคลสำคัญในวงการ นาฏศิลป์ และการละครของประเทศไทยในยุคสมัยต่างๆ และบรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละคร ไทยต้ังแตอ่ ดีตจนถึงปจั จุบัน มีการนำเสนอแนวคดิ ในการอนุรักษน์ าฏศิลป์ไทย เพื่อให้เหน็ คุณค่าและสามารถสร้างการแสดงนาฏศิลป์และการละครอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าการแสดงนาฏศิลป์และการละครอย่างชื่นชม และนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชวี ติ ประจำวัน ตวั ช้วี ัด ศ 3.1 ม.4-6/1 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/7 ม.4-6/8 ศ 3.2 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 รวม 10 ตวั ชวี้ ัด

รายวชิ า ทศั นศลิ ป์ คำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ภาคเรียนท่ี จำนวน 1.0 หน่วยกติ คำอธบิ ายรายวิชา ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 รหัสวชิ า ศ ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะการใช้วัสดุอุปกรณ์ กระบวนการและเทคนิคที่สูงขึ้นในการสร้างสรรค์ผลงาน ทัศนศิลป์ดว้ ยหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์ จากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินทีช่ ื่น ชอบได้อยา่ งเหมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพ วิเคราะห์ และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออก ตะวันตก และจุดมุ่งหมายการเลือกใช้ วัสดุอุปกรณแ์ ละเทคนิคของศิลปนิ ในการแสดงออกทางทัศนศิลป์ อภิปราย และเปรียบเทียบอิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่มีต่อผลงานทัศนศิลป์ในสังคม เหน็ คณุ คา่ และนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวันดว้ ยความชน่ื ชม โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติและกระบวนการพิจารณาคุณค่า เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจสามารถนำไปปฏบิ ตั แิ ละประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างเหมาะสม ตวั ชี้วัด ศ 1.1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ม.4-6/9 ม.4-6/10 ศ 1.2 ม.4-6/1 ม.4-6/3 รวม 10 ตวั ช้วี ดั

รายวชิ า ดนตรี คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 1.0 หน่วยกติ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 รหสั วชิ า ศ ศึกษาและฝึกทักษะทางดนตรีผ่านกระบวนการอธิบาย อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตรา จังหวะต่างๆ ร้องเพลง หรือเล่นเครื่องดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของ การแสดง จำแนกประเภทและรูปแบบของวงดนตรีทั้งไทยและสากล อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรม สร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน สร้างเกณฑส์ ำหรบั ประเมินคุณภาพการประพันธแ์ ละการเล่นดนตรีของตนเอง และผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม นำดนตรีไปประยุกต์ใช้ในงานอื่นๆ วิเคราะห์สถานะทางสังคมของนักดนตรีใน วัฒนธรรมตา่ งๆ เปรียบเทียบลกั ษณะเด่นของดนตรีในวฒั นธรรมต่างๆ อธิบายบทบาทของดนตรใี นการสะท้อน แนวความคดิ และค่านิยมท่เี ปล่ยี นไปของคนในสงั คม โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรี ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ การ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณค์ ุณคา่ งานดนตรแี ละนาฏศิลป์ เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และเข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างดนตรกี ับประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรม และการนำความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั ตวั ชวี้ ัด ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/8 ศ 2.1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ศ 2.2 ม.4-6/2 รวม 9 ตวั ชีว้ ดั

คำอธิบายรายวชิ า รายวิชา นาฏศิลป์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ภาคเรียนที่ รหัสวิชา ศ จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต ศึกษาและฝึกทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ วิเคราะห์ แก่นของการแสดงนาฏศิลปแ์ ละการละครท่ีตอ้ งการสื่อความหมายในการแสดง บรรยายและวเิ คราะห์อิทธิพล ของเคร่อื งแตง่ กาย แสง สี เสยี ง ฉาก อุปกรณ์ และสถานท่ีท่ีมีผลต่อการแสดง พัฒนาและใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ในการประเมนิ การแสดง ววิ ัฒนาการของนาฏศิลปแ์ ละการละครไทยตงั้ แต่อดีตจนถึงปจั จบุ ัน โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรี ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ การ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณค์ ุณคา่ งานดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเข้าใจความสัมพันธ์ ระหวา่ งดนตรกี ับประวตั ศิ าสตร์และวัฒนธรรม และการนำความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน ตัวชวี้ ัด ม.4-6/2 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ศ 3.1 ม.4-6/1 ศ 3.2 ม.4-6/3 รวม 6 ตัวชวี้ ัด

รายวชิ าทัศนศิลป์ คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 1.0 หน่วยกติ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 รหัสวชิ า ศ............. ศึกษา วิเคราะห์ บรรยายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ การ เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออก และรูปแบบตะวนั ตก และอทิ ธิพลของวัฒนธรรมระหวา่ งประเทศท่มี ผี ลต่องานทัศนศิลป์ในสังคม โดยใช้ทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป์ในการสร้างและนำเสนอผลงานทัศนศิลป์ การเลือกใช้วัสดุ อปุ กรณ์ทเ่ี หมาะสม การวิเคราะห์ การวิพากษ์วจิ ารณ์คุณคา่ งานทศั นศิลป์ เพอื่ ให้เหน็ คุณคา่ งานทัศนศิลป์ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม นำ ความรไู้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั มจี ริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม ตัวชีว้ ดั ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/7 ม.4-6/3 ศ 1.1 ม.4-6/2 ศ 1.2 ม.4-6/1 รวม 6 ตวั ช้วี ดั

คำอธบิ ายรายวชิ า รายวิชา ดนตรี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ ภาคเรยี นท่ี รหัสวชิ า ศ จำนวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษาและฝึกทักษะทางดนตรีผ่านกระบวนการเปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแต่ละ ประเภท อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรมสร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและ สากลในอัตราจงั หวะต่างๆ รอ้ งเพลง หรือเล่นดนตรเี ด่ยี วและรวมวง โดยเนน้ เทคนคิ การแสดงออกและคุณภาพ ของการแสดง อารมณ์และความรู้สกึ ทีไ่ ด้รับจากงานดนตรีท่ีมาจากวฒั นธรรมต่างกัน สถานะทางสังคมของนัก ดนตรีในวัฒนธรรมต่างๆ ลักษณะเด่นของดนตรีในวัฒนธรรมต่างๆ บทบาทของดนตรีในการสะท้อน แนวความคิดและค่านิยมที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม และนำเสนอแนวทางในการส่งเสริมและอนุรกั ษ์ดนตรีใน ฐานะมรดกของชาติ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรี ในการแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณค์ ณุ ค่างานดนตรี เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเข้าใจความสัมพันธ์ ระหวา่ งดนตรีกบั ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และการนำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน ตวั ชี้วดั ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/7 ศ 2.1 ม.4-6/1 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ศ 2.2 ม.4-6/2 รวม 9 ตวั ช้ีวดั

คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ า นาฏศลิ ป์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ภาคเรียนท่ี รหสั วชิ า ศ จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ศึกษาและฝึกทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ ใช้ความคิด ริเร่ิมในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่ วิจารณก์ ารแสดงตามหลักนาฏศิลป์และการละคร วิเคราะห์แก่นของการ แสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมายในการแสดง บรรยายและวิเคราะห์อิทธิพลของเครื่องแต่ง กาย แสง สี เสยี ง ฉาก อุปกรณ์ และสถานทีท่ มี่ ผี ลต่อการแสดง พฒั นาและใช้เกณฑ์การประเมนิ ในการประเมิน การแสดง วิเคราะห์ท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจำวันและนำมาประยุกต์ใช้ในการแสดง อภิปรายบทบาทของบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์และการละครของประเทศไทยในยุคสมัยต่างๆ บรรยาย วิวฒั นาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแตอ่ ดีตจนถงึ ปัจจุบนั โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรี ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ การ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณค์ ุณค่างานดนตรแี ละนาฏศิลป์ เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างดนตรกี ับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ตวั ชี้วดั ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ม.4-6/8 ศ 3.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ศ 3.2 ม.4-6/2 ม.4-6/3 รวม 10 ตวั ช้ีวดั

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการคือ การประเมิน เพือ่ พฒั นาผเู้ รยี นและเพื่อตัดสนิ ผลการเรียน ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนใหป้ ระสบผลสำเร็จน้ัน ผ้เู รยี นจะตอ้ งได้รบั การพฒั นาและประเมินตามตวั ชวี้ ดั เพือ่ ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะทอ้ นสมรรถนะ สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน ทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูล และสารสนเทศ ที่แสดงพัฒนาการความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ การสง่ เสริมให้ผ้เู รยี นเกดิ การพัฒนาและเรยี นรอู้ ย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา และระดบั ชาติ มรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน ดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสม งาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผ้สู อนเป็นผ้ปู ระเมินเองหรอื เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นประเมินตนเอง เพอ่ื ประเมิน เพอื่ น ผูป้ กครองรว่ มประเมิน ในกรณีที่ไม่ผา่ นตัวชว้ี ดั ใหม้ ีการสอนซ่อมเสรมิ การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการ เรยี นรู้ อนั เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพยี งใด มีสิ่งท่ีจะต้องได้รับการ พัฒนาปรับปรงุ และส่งเสริมในด้านใด นอกจากน้ยี งั เป็นขอ้ มูลใหผ้ ูส้ อนใช้ปรับปรงุ การเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังน้ีโดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้ีวัด 2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนนิ การ เพื่อตัดสินผลการเรียน ของผู้เรยี นเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของผู้เรียน ในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผล การจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ผ้ปู กครองและชมุ ชน 3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่ การศกึ ษาตามมาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เพอ่ื ใช้เป็นขอ้ มูลพ้นื ฐานในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมิน คุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษาหรื อด้วย ความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกดั ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมลู จากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพนื้ ท่ีการศึกษา

4. การประเมนิ ระดบั ชาติ เป็นการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี นในระดับชาตติ ามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพ การศึกษาในระดับต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูล สนับสนุนการตัดสินใจในระดบั นโยบายของประเทศ การจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งใชเวลาประมาณ 12 ป ผู้เรียน สามารถจบ การศึกษาได้ 2 ชวง คือ จบชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ถือวา จบการศึกษาภาคบังคับ และจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ถอื วา จบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ขอ้ มลู การประเมนิ ในระดับต่างๆ ข้างต้น เปน็ ประโยชน์ตอ่ สถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุน เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนก ตามสภาพปัญหาและความต้องการ ไดแ้ ก่ กลุ่มผเู้ รยี นทวั่ ไป กลุ่มผเู้ รียนทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษ กลุ่มผู้เรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่ม ผ้เู รยี นทีม่ ปี ญั หาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุม่ พิการทางรา่ งกายและสติปัญญา เปน็ ต้น ข้อมูลจากการประเมิน จึงเป็นหวั ใจของสถานศกึ ษาในการดำเนนิ การช่วยเหลือผเู้ รียนไดท้ ันท่วงที เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา และประสบความสำเรจ็ ในการเรยี น ให้สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจดั การศึกษา จัดทำระเบยี บว่าดว้ ยการวัดและประเมินผลการเรียน ของสถานศึกษาให้สอดคล้อง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรทีเ่ กีย่ วขอ้ งทุกฝ่ายถือปฏบิ ัตริ ่วมกัน เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรียน 1. การตัดสนิ การให้ระดับและการรายงานผลการเรยี น 1.1 การตดั สินผลการเรียน ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็น หลัก และตอ้ งเกบ็ ข้อมลู ของผูเ้ รียนทุกดา้ นอย่างสมำ่ เสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริม ผ้เู รียนให้พฒั นาจนเต็มตามศักยภาพ โดยยดึ หลักเกณฑด์ งั นี้ (1) ตดั สินผลการเรยี นเปน็ รายวิชา ผู้เรียนตอ้ งมเี วลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นทั้งหมดในรายวิชานน้ั ๆ (2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนธาตุทองอำนวย วทิ ยก์ ำหนด (3) ผู้เรยี นต้องไดร้ บั การตัดสินผลการเรยี นทุกรายวชิ า (4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนธาตุทอง อำนวยวทิ ยก์ ำหนด ในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น การพจิ ารณาเลื่อนช้ัน ถา้ ผเู้ รยี นมขี อ้ บกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า สามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสรมิ ได้ ใหอ้ ยูใ่ นดุลพนิ จิ ของสถานศกึ ษาทจี่ ะผ่อนผนั ใหเ้ ลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียน ไม่ผ่านรายวชิ าจำนวนมากและมีแนวโนม้ ว่าจะเปน็ ปัญหาต่อการเรียนในระดับช้ันทีส่ งู ขึน้ ให้ตั้งคณะกรรมการ พิจารณาให้เรียนซำ้ ช้ันได้ ทั้งนีใ้ หค้ ำนงึ ถึงวุฒิภาวะและความรคู้ วามสามารถของผเู้ รียนเป็นสำคัญ

1.2 การให้ระดบั ผลการเรยี น ระดับมธั ยมศึกษา ในการตดั สนิ เพ่อื ให้ระดบั ผลการเรยี นรายวชิ า ใหใ้ ช้ตัวเลขแสดงระดบั ผล การเรยี นเป็น 8 ระดับ ตามระเบยี บวา่ ดว้ ยการวดั และประเมินผลการเรยี นโรงเรียนธาตุทองอำนวยวทิ ย์ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้นให้ระดับผล การประเมนิ เป็น ดเี ยี่ยม ดี และผ่าน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กจิ กรรมและผลงานของผเู้ รียนตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่วมกจิ กรรมเป็นผ่าน และไม่ ผา่ น 1.3 การรายงานผลการเรยี น การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครอง และผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการ เรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครอง ทราบเป็น ระยะๆ หรืออยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 คร้ัง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อน มาตรฐานการเรียนรูก้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2. เกณฑ์การจบการศกึ ษา 2.1 เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 63 หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพม่ิ เติมตามทส่ี ถานศึกษากำหนด (2) ผ้เู รยี นต้องไดห้ นว่ ยกิตตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกว่า 77 หน่วยกติ โดยเปน็ รายวิชาพ้ืนฐาน 63 หน่วยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมไมน่ อ้ ยกวา่ 14 หน่วยกติ (3) ผเู้ รียนมีผลการประเมิน การอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน ในระดับผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ตามที่สถานศกึ ษากำหนด (4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด (5) ผเู้ รียนเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น และมผี ลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศกึ ษากำหนด 2.2 เกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 39 หน่วยกิต และรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด (2) ผเู้ รยี นตอ้ งได้หน่วยกิตตลอดหลกั สูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเปน็ รายวิชาพ้ืนฐาน 39 หน่วยกติ และรายวชิ าเพิม่ เติมไม่น้อยกวา่ 38 หน่วยกติ (3) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน ในระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ตามท่ีสถานศึกษากำหนด (4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด (5) ผเู้ รียนเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน และมผี ลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามที่ สถานศึกษากำหนด

เอกสารหลักฐานการศกึ ษา เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญท่ีบนั ทึกผลการเรียน ขอ้ มลู และสารสนเทศทเี่ กย่ี วข้อง กบั พฒั นาการของผเู้ รยี นในด้านตา่ งๆ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 1. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่ีกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด 1.1ระเบยี บแสดงผลการเรยี น เปน็ เอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผ้เู รยี น ตามรายวิชา ผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ อง สถานศึกษา และผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น สถานศกึ ษาจะต้องบันทึกขอ้ มลู และออกเอกสารนี้ให้ ผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล เมท่อผู้เรยี นจบการศกึ ษาภาคบังคับ (ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3) จบการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6) หรือเมอ่ื ลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี 1.2 ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒกิ ารศกึ ษาเพอื่ รับรองศักดิ์และสิทธิ์ของผู้จบ การศกึ ษา ท่ีสถานศึกษาใหไ้ ว้แกผ่ ูจ้ บการศึกษาภาคบังคบั และผู้จบการศึกษาขั้นพืน้ ฐานตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 1.3 แบบรายงานผสู้ ำเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัตกิ ารจบหลกั สตู รโดยบันทกึ รายชอ่ื และ ขอ้ มูลของผู้จบการศึกษาภาคบงั คับ (ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3) และผู้จบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6) 2. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่ีสถานศกึ ษากำหนด เปน็ เอกสารทส่ี ถานศึกษาจัดทำขนึ้ เพ่ือบนั ทึกพฒั นาการผลการเรียนรู้ และข้อมูลสำคัญเกีย่ วกับ ผูเ้ รยี น เช่น แบบรายงานประจำตัวนักเรยี น แบบบันทึกผลการเรยี นประจำรายวิชา ระเบยี นสะสม ใบรับรอง ผลการเรยี นและเอกสารอนื่ ๆ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนำเอกสารไปใช้ การเทยี บโอนผลการเรียน โรงเรียนธาตุทองอำนวยวิทย์สามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่างๆ ได้แก่ การ ย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคัน และขอกลับเข้ารับ การศกึ ษาต่อ การศกึ ษาจากตา่ งประเทศและขอเขา้ ศึกษาตอ่ ในประเทศ นอกจากน้ยี งั สามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรม อาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครวั การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรกที่ สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องใน สถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกำหนด รายวชิ า/จำนวนหนว่ ยกิตทจี่ ะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดำเนินการ ได้ ดงั น้ี 1. พิจารณาจากหลักฐานการศกึ ษา และเอกสารอนื่ ๆ ที่ให้ขอ้ มูลแสดงความรู้ ความสามารถของ ผู้เรยี น 2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผ้เู รยี น โดยการทดสอบดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ ทง้ั ภาค ความร้แู ละภาคปฏบิ ัติ 3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติในสภาพจรงิ การเทยี บโอนผลการเรียนให้เปน็ ไปตามประกาศหรือแนวปฏบิ ตั ิของกระทรวงศึกษาธิการ