Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสาขาพยาบาลศาสตร์ (แนวปฏิบัติ นวัตกรรม simulation) 2566

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสาขาพยาบาลศาสตร์ (แนวปฏิบัติ นวัตกรรม simulation) 2566

Published by Warangkana Saisit, 2023-07-31 06:55:56

Description: เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสาขาพยาบาลศาสตร์ (แนวปฏิบัติ นวัตกรรม simulation) 2566

Search

Read the Text Version

แนวปฏิบตั ิทด่ี ีด้านแนวปฏิบตั ิ : การสร้างเสริมความเป็นเลศิ ทางวชิ าการเพื่อเตรียมความพรอ้ ม เปน็ พยาบาลวชิ าชพี : แนวทางการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ BCNR-4P Model 1. ช่อื เรือ่ ง / แนวปฏิบตั ิ การสร้างเสริมความเป็นเลศิ ทางวิชาการเพือ่ เตรยี มความพร้อมเป็นพยาบาลวชิ าชีพ : แนวทางการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ BCNR-4P Model 2. ชือ่ หน่วยงาน วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก 3. คณะทาํ งาน คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร งานกิจการนกั ศกึ ษา งานทะเบียนวัดและประมวลผล 4. บทสรุปโครงการ BCNR-4P Model เปน็ แนวทางการจัดการเรยี นการสอนรว่ มกบั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร มวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลัก เพอ่ื พฒั นาผลการสอบขนึ้ ทะเบยี นรับใบอนุญาตประกอบวิชาชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ชน้ั 1 โดยออกแบบให้ มีจดุ เนน้ เฉพาะตามรายช้ันปี ประกอบดว้ ยขนั้ การพัฒนาดังน้ี ชั้นปีท่ี 1 B:Building Passion (รรู้ กั คุณคา่ ศรัทธา พยาบาล) สรา้ งแรงบนั ดาลใจ ให้นักศกึ ษาเหน็ คณุ ค่าของวชิ าชพี การพยาบาล ช้ันปที ่ี 2 C:Content Preparation (สงั่ สมวิชาการเปน็ พื้นฐาน) เน้นการพัฒนาความร้ใู นรายวิชา และทักษะการคดิ วิเคราะห์ เพ่อื เตรยี มนําส่กู าร ประยกุ ตใ์ ช้ในการปฏิบัติ ชนั้ ปที ี่ 3 N:Nurturing Performance (ปฏบิ ตั ิพยาบาลอยา่ งมงุ่ มั่น) วางแผนการพัฒนา ความรู้และทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ เช่อื มโยง TBP กับการฝกึ ปฏบิ ตั ิ ช้นั ปีที่ 4 R:Reunite for Purpose (จบั มือกนั สู่ เปา้ หมาย) เนน้ การวเิ คราะห์เช่ือมโยงความรู้นําสู่การประยกุ ตใ์ ช้ในการวเิ คราะห์สถานการณ์ปัญหา ภายใต้ กระบวนการ peer support จะเห็นได้วา่ แนวปฏิบตั เิ นน้ กลยทุ ธก์ ารสอน เสริมการคิดวเิ คราะห์ พรอ้ มไปกับการ เสริมสร้างความรักและศรทั ธาในวิชาชพี เพื่อเป็นแรงบนั ดาลใจให้นกั ศึกษามุ่งม่นั เตรียมความพร้อมการเรยี นจน สําเร็จเป็นบัณฑติ และสามารถสอบขน้ึ ทะเบียนรับใบประกอบวชิ าชีพการพยาบาลและการผดุงครรภผ์ ่านในครั้งแรก ทง้ั น้ีวิทยาลยั ได้เร่มิ นํามาใชต้ งั้ แต่ปกี ารศกึ ษา 2564 โดยมีการปรับปรงุ พัฒนาการดําเนนิ งานตามกระบวนการ PDCA อย่างตอ่ เนอ่ื ง มีบัณฑิตสาํ เร็จการศกึ ษาไป 2 รุ่น ผลการดําเนนิ การพบวา่ รอ้ ยละของบัณฑิตทสี่ อบผา่ นทุกรายวชิ า ปี การศึกษา 2563-2565 เพ่มิ ขน้ึ จาก ร้อยละ 33.33 เป็นรอ้ ยละ 61.49 และร้อยละ 77.57 ตามลาํ ดบั 5. ทีม่ าและความสําคัญของโครงการ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี เป็นสถาบันอุดมศึกษาท่ีทําหน้าท่ีในการผลิตบัณฑิตพยาบาลเพื่อ ให้บริการด้านสุขภาพแก่ประชาชน ตามพันธกิจที่ 1 คือ การผลิตพยาบาลที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและ สอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐ ซ่ึงในปีงบประมาณ 2565 วิทยาลัยได้กําหนดแผนพัฒนามาตรฐานการศึกษาและ คุณภาพบัณฑิตให้มีสมรรถนะเชิงวิชาชีพและมีอัตลักษณ์ของวิทยาลัย โดยกําหนดตัวช้ีวัดแผนงานคือ ร้อยละ 100 ของผ้สู าํ เรจ็ การศึกษาสอบขึน้ ทะเบยี นรับใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ผ่านในปีแรก ซ่ึง ผลการดาํ เนนิ งานท่ีผ่านมาพบว่า ไม่สามารถดาํ เนินการได้บรรลุตามตัวบง่ ชที้ ่กี ําหนด โดยเฉพาะในปีการศกึ ษา 2563 พบว่า ผลการสอบลดลงจากปีท่ีผา่ นๆมา เหลือเพียงรอ้ ยละ 33.33 ผลการศกึ ษาและวเิ คราะหป์ ญั หาพบว่าสาเหตมุ า จากทัง้ การจดั การเรยี นการสอน อาจารย์ และตวั นกั ศึกษา ได้แกท่ ัศนคติของผู้เรยี นต่อการเรียนพยาบาล ส่วนใหญ่ ไมไ่ ดช้ อบ หรือตอ้ งการจะเรียน ทําให้ขาด passionในการเรยี น ขาดแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองสู่ความสําเร็จ ขาด ทกั ษะการคิดวิเคราะหเ์ ช่ือมโยงอย่างเปน็ เหตเุ ป็นผล ขาดการทบทวนความรูเ้ พอื่ เตรียมความพร้อมดา้ นวิชาการท่ีต้อง ใช้เพอ่ื การสอบขนึ้ ทะเบียนรับใบอนญุ าตอย่างตอ่ เน่ืองตง้ั แตช่ ัน้ ปที ่ี 1 ส่งผลให้ฐานความรู้ในเชงิ วิชาการและวิชาชีพ ไมเ่ พียงพอสาํ หรับนําไปใช้ในการสอบ รวมถงึ แนวทางท่ีจะส่งเสริมใหน้ ักศกึ ษาสอบผ่านการสอบข้นึ ทะเบียนฯ ตาม เปา้ หมายน้ัน ยังไมม่ กี ารวางระบบชดั เจนอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ตงั้ แต่ชนั้ ปที ่ี 1 ถงึ ช้นั ปที ่ี 4 กอปรกบั ใน 2-3 ปีทีผ่ ่านมา สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด (Covid-19) ส่งผลกระทบต่อกระบวนการเรยี นการสอน โดยเฉพาะใน ภาคปฏิบัติ รวมถงึ การดําเนินโครงการเตรียมความพรอ้ มท่วี ทิ ยาลัยจดั ใหน้ ักศกึ ษา ทําให้ไม่สามารถดําเนินการได้ อยา่ งต่อเนือ่ ง 93

ดังนั้น เพื่อให้บัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี มีความพร้อมในการก้าวสู่ วิชาชีพ มีความรู้ที่จะนําไปใช้เพื่อการสอบ ท้ังการสอบรวบยอดของสถาบันพระบรมราชชนก และการสอบข้ึน ทะเบียนรับใบอนุญาตจากสภาการพยาบาล บรรลุตามเกณฑ์ที่กําหนด และมีแนวโน้มการพัฒนาผลลัพธ์เชิงประจักษ์ ท่ีสูงขึ้น คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจึงได้จัดทําโครงการเสริมสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อเตรียมความพร้อม เป็นพยาบาลวิชาชีพ ตามแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน BCNR-4P model ครอบคลุมทั้ง 4 ชั้นปี โดยมี วัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อพัฒนาผลการสอบข้ึนทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ช้ัน 1 ทั้งน้ีเพื่อให้บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพอย่างสมบูรณ์ สามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติต่อผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดคุณค่าต่อตนเอง สถาบันวิชาชีพ และสังคม โดยดําเนินการ ร่วมกับกลุ่มงานกิจการนักศึกษา ภายใต้โครงการพัฒนานักศึกษาด้วยกิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมท่ี 2 ครอบครัว คนดี BCNR และโครงการสืบสานวัฒนธรรมตามเอกลักษณ์เชิงวิชาชพี การพยาบาล :พยาบาลดศี รีเขม็ เหลอื ง 6. วตั ถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลการสอบขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ช้ัน 1 ของ นักศกึ ษาให้ผา่ นในครั้งแรก โดยจาํ แนกวตั ถุประสงคก์ ารดําเนินงาน เป็นรายช้ันปี ดงั นี้ ชนั้ ปีที่ 1 B:Building Passion (รู้รกั คุณคา่ ศรทั ธาพยาบาล) มีวตั ถุประสงคด์ งั นี้ เพื่อให้นกั ศกึ ษาตระหนกั ถึงคุณค่าวิชาชพี เกดิ ความตระหนักและเห็นความสําคัญของการสอบข้ึน ทะเบียนรบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ช้นั 1 ชน้ั ปีที่ 2 C:Content Preparation (สงั่ สมวชิ าการเป็นพืน้ ฐาน) มวี ตั ถปุ ระสงคด์ ังนี้ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาตระหนกั ถงึ ความสําคญั ของการเรียนการสอน ในรายวิชาพน้ื ฐานวชิ าชพี และ รายวิชาชีพการพยาบาล ทเ่ี กี่ยวข้องกับการสอบขน้ึ ทะเบียนฯ ช้ันปที ี่ 3 N:Nurturing Performance (ปฏิบัตพิ ยาบาลอย่างมุ่งมน่ั ) มีวตั ถปุ ระสงค์ดังนี้ เพ่ือให้นักศึกษากําหนดเป้าหมายและดําเนินการพัฒนาตนเองด้านวิชาการ เพ่ือการสอบขึ้นทะเบียนฯ อย่าง ตอ่ เนือ่ งเป็นรปู ธรรม ชั้นปที ่ี 4 R:Reunite for Purpose (จบั มอื กันสูเ่ ปา้ หมาย) มีวตั ถปุ ระสงคด์ งั นี้ เพ่อื ใหน้ ักศึกษาไดร้ บั การเตรยี มความพร้อมในการสอบขน้ึ ทะเบยี นฯ โดยวางแนวทางการ เตรียมพร้อมทง้ั รายบคุ คล และรายกลุ่ม โดยเน้นการวิเคราะหเ์ ชอ่ื มโยงความรูน้ าํ สูก่ ารประยกุ ต์ใชใ้ นการวิเคราะห์ สถานการณ์ปัญหา และวเิ คราะห์โจทย์ในข้อสอบ 7.แนวปฏบิ ัติท่ดี ี ขัน้ ตอนการทํางาน ผู้รับผดิ ชอบ ข้ันตอน/ กจิ กรรม รายละเอียดข้ันตอน คณะกรรมการ ข้นั วางแผน (P) 1. คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรวิเคราะห์ root cause ของผลการ บริหารหลกั สตู ร สอบข้ึนทะเบยี นฯ ที่ลดลง และออกแบบแนวทางการปรบั ปรุงแก้ไขให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหาท่แี ท้จรงิ 2. จดั ประชุมเพ่อื เปิดโอกาสให้คณาจารยแ์ ละนกั ศึกษามีส่วนรว่ มในการ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข เพอื่ นาํ สู่การ 94

ผรู้ บั ผิดชอบ ขนั้ ตอน/ กจิ กรรม รายละเอียดข้นั ตอน คณะกรรมการ ขัน้ ดําเนนิ การ (D) ดาํ เนินการต่อไป บรหิ ารหลักสูตร /ครูประจําชั้น/ 1. คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร และครปู ระจาํ ชน้ั เข้าพบนักศึกษาในวนั งานกิจการ เปดิ ภาคการศึกษา เพือ่ ชี้แจง สรา้ งความเข้าใจวตั ถุประสงคแ์ ละผลลัพธท์ ี่ นักศกึ ษา/ ตอ้ งการใหเ้ กิดกบั นกั ศกึ ษาตามรายชั้นปี อาจารยท์ ี่ ปรึกษา/ 2. อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาดูแลใหค้ ําปรึกษาทงั้ ดา้ นวิชาการ รว่ มกับสง่ เสริมความ ผรู้ ับผิดชอบ รกั และศรัทธาในวชิ าชีพ และการเตรยี มความพรอ้ มการเปน็ พยาบาล โครงการ วิชาชีพ ตามลําดบั ข้ันของแต่ละชน้ั ปี เสรมิ สร้างความ เปน็ เลิศทาง 3. งานกจิ การนกั ศึกษาดแู ลการจดั กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู รท่สี ่งเสริมเจตคติ วชิ าการฯ ท่ดี ี และศรทั ธาตอ่ วชิ าชพี ท่ีออกแบบให้นกั ศึกษาเข้าร่วมตามวัตถุประสงค์ ทก่ี าํ หนดรายชน้ั ปี งานทะเบยี น วัด ขั้นตรวจสอบ (C) และประมวลผล 4. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการเสริมสรา้ งความเป็นเลศิ ทางวชิ าการฯ จัดกจิ กรรม /ผรู้ ับผดิ ชอบ/ เตรยี มความพร้อมแก่นักศกึ ษาชันปี 4 ท่จี ะสง่ เสริมให้เกิดความม่งุ มัน่ ตาม อาจารย์ แนวทางเตรียมความพร้อมทั้งรายบคุ คล และรายกลมุ่ เพอื่ ใหบ้ รรลุ ผรู้ บั ผิดชอบ เปา้ หมาย หลักสูตร 5. คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รกาํ หนดกลยุทธก์ ารจัดการเรยี นการสอน คณะกรรมการ ขนั้ ปรับปรุง (A) มอบหมายแก่หัวหนา้ สาชาวชิ า ผู้รับผดิ ชอบรายวชิ า และผู้สอนเพ่อื บรหิ ารหลักสตู ร ดาํ เนินการในระดับรายวิชาตามแตล่ ะชั้นปี 1.จดั สอบขอ้ สอบ Progress Test ให้ครบทั้ง 8 รายวชิ า ก่อนและเมอ่ื สน้ิ สุดดาํ เนินการจัดการเรยี นการสอนของแตละชนั้ ปี เพอ่ื เปน็ ข้อมูล พน้ื ฐานในการพฒั นาในปตี อ่ ไป 2.ประกาศคะแนนใหน้ ักศกึ ษาทราบภายใน 1 สปั ดาห์หลงั สอบ และให้ นกั ศกึ ษาบันทกึ สะทอ้ นคดิ เพื่อให้เกิดความตระหนัก และทบทวนตนเอง เพื่อปรับปรุงพัฒนา 3 จดั ทําฐานข้อมูลของนกั ศึกษารายบคุ คล และแจง้ ประธานสาขาวชิ า นาํ ไปใช้เป็นขอ้ มลู นาํ เขา้ เพอื่ การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวชิ า ที่เก่ยี วขอ้ ง ในปกี ารศึกษาต่อไป 4.ผรู้ ับผดิ ชอบ/อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตรดําเนินการกํากับติดตามการ ดาํ เนนิ การและนําเขา้ สวู่ าระการประชุมคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รเมอื่ สิ้นสุดแต่ละภาคการศกึ ษา (ตามระบบและกลไกการบริหารหลักสตู รท่ี เก่ยี วข้อง) รวบรวมขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ ผลการสอบรายวชิ า ผลการสอบรวบยอด ผลการสอบขึ้นทะเบยี นใบประกอบวชิ าชพี ฯ ผลการประเมนิ ความพงึ ใจ ของโครงการ การวเิ คราะหผ์ ลการดาํ เนินการ เพ่ือนําไปวางแผนการ ปรับปรงุ พฒั นาแนวปฏบิ ัติ เพือ่ ดําเนินการในปกี ารศึกษาตอ่ ไป 95

รายละเอยี ดการปฏิบัตงิ าน แนวทางการพฒั นาการจัดการเรียนการสอน (BCNR-4P Model) รายช้ันปี ชัน้ ปีท่ี 1 B:Building Passion (รู้รักคุณค่าศรัทธาพยาบาล) 1.1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และครูประจําช้ัน เข้าพบนักศึกษาในวันเปิดภาคการศึกษา เพื่อสร้างแรง บันดาลใจ ให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของวิชาชีพการพยาบาล และตระหนักถึงความสําคัญของการสอบขึ้น ทะเบียนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ซึ่งเป็นด่านแรกของการก้าวเข้าสู่วิชาชีพ รวมถึงให้ข้อมูลเร่ือง TBP การ สอบรวบยอด ทีม่ ีความเกี่ยวขอ้ งกบั วิชาพ้นื ฐานทีเ่ รยี น (ผูก้ ํากับติดตาม: อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร) 1.2. งานกิจการนักศึกษาจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ท่ีส่งเสริมให้เกิดความภูมิใจและศรัทธาในวิชาชีพพยาบาล การปลูกฝังความกตัญญูกตเวทีต่ออาจารย์และสถาบันการศึกษา การสร้างความสัมพันธ์และเอ้ืออาทรระหว่าง อาจารย์และนักศึกษารวมทั้งรุ่นพี่และรุ่นน้อง (ภายใต้โครงการเกี่ยวกับการพัฒนานักศึกษาเพื่อสืบสาน วฒั นธรรมของวชิ าชพี การพยาบาล) 1.3. อาจารย์ท่ีปรึกษาดูแลให้คําปรึกษา ส่งเสริมความรักและศรัทธาในวิชาชีพ โดยพบนักศึกษาอย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 ครงั้ (ผู้กาํ กับติดตาม: งานกจิ การนกั ศึกษา) 1.4 คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร วางกลยุทธ์การจดั การเรียนการสอน มอบหมายแกห่ วั หนา้ สาขาวชิ า ผู้รบั ผิดชอบรายวิชา และผูส้ อนเพือ่ ดาํ เนินการในรายวชิ า (เน้น Case Based Learning หรือ active learning อื่นๆ โดยกระบวนการสะทอ้ นคดิ และ power question) ภาคการศึกษาท่ี 1 รายวิชา จดุ เน้น ผลทีค่ าดหวังต่อนกั ศึกษา แนวทางการ ประเมินผล ภาษาไทยเชงิ วิชาการ *เน้นการอา่ นเพอ่ื จับ -ส่งเสรมิ ทักษะการอา่ น -ผลลัพธ์การเรยี นรู้ ประเด็นสาํ คัญ การสรุป จับประเดน็ สาํ คญั ใน ของนักศึกษา ความเพอ่ื ทาํ ความเขา้ ใจ เนือ้ หา และในโจทย์ ขอ้ สอบ กายวภิ าคศาสตรแ์ ละ โครงสรา้ ง หนา้ ท่ีและ -เปน็ พน้ื ฐานสาํ คญั ในการ -ผลลัพธ์การเรียนรู้ สรีรวิทยา 1 กระบวนการการทํางาน เรียนรายวชิ าชพี ทางการ รายวชิ าจากการสอบ ของเซลล์ เนื้อเยือ่ และ พยาบาล กลางภาค และปลาย อวัยวะ ตลอดจน (สมั พนั ธ์กบั TBP 8 ภาค ความสัมพันธ์ของระบบ รายวิชา) ต่าง ๆ ในร่างกายมนษุ ย์ ภาคการศกึ ษาท่ี 2 เน้นการเขา้ ใจตนเอง เขา้ ใจ -เข้าใจตนเอง เข้าใจผูอ้ ืน่ -ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ เราคอื สบช. ผูอ้ น่ื นาํ ไปสกู่ ารดแู ล ของนักศกึ ษาจากใบ ผรู้ บั บริการด้วยหวั ใจความ งาน และบันทกึ เปน็ มนษุ ย์นาํ สคู่ วาม สะท้อนคิด ศรทั ธาในคุณคา่ วิชาชีพ 96

แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (BCNR-4P Model) รายชน้ั ปี จุลชวี วทิ ยาฯ จลุ นิ ทรียแ์ ละปรสิตทม่ี ีผลต่อ -เป็นพน้ื ฐานสําคัญในการ -ผลลพั ธ์การเรียนรู้ สุขภาพ การติดเชอื้ การเกิด เรยี นรายวชิ าชีพทางการ ของนกั ศกึ ษาจากการ โรค กลไกการปอ้ งกนั และการ พยาบาล สอบกลางภาค และ ตอบสนองของภูมิคุ้กนั การ (สัมพันธ์กบั TBP 8 รายวิ ปลายภาค ป้องกันและการควบคุมการตดิ า) เช้ือ ชีวเคมีและโภชน การทํางานของเอนไซม์ เมตา -เป็นพืน้ ฐานสาํ คญั ในการ -ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ ศาสตร์ โบลิซมึ ของสารอาหาร การ เรียนรายวิชาชีพทางการ ของนักศกึ ษาจากจาก ควบคุมการเมตาโบลซิ ึม พยาบาล ได้แกก่ าร การสอบกลางภาค แนวคิดโภชนาการ พยาบาลผใู้ หญ่ ผู้สูงอายุ และปลายภาค -ความสาํ คญั ของโภชนาการ เดก็ ตอ่ ภาวะสขุ ภาพ โภชนะ -สมั พนั ธก์ ับ TBP วชิ าการ บําบดั พยาบาลเด็ก (หวั เรอ่ื ง 1) การพยาบาลมารดาฯ (หวั เรื่อง 3,5) จติ วิทยาพัฒนาการ ทฤษฎที างจติ วทิ ยา สรรี จิต -เป็นพนื้ ฐานสกู่ ารเรียน -ผลลัพธ์การเรยี นรู้ และกระบวนการคิด วทิ ยาพ้นื ฐานของพฤตกิ รรม วิชาการพยาบาล รายวิชาจากการสอบ การรบั รู้ การเรียนรู้ การคิด สุขภาพจติ (สมั พนั ธก์ ับ กลางภาค และปลาย และการจํา เชาวน์ปญั ญา TBP สขุ ภาพจิต หวั เร่อื งท่ี ภาค แรงจงู ใจ อารมณ์ บคุ ลิกภาพ 2 4 5) การประยุกตใ์ ช้การคิดขัน้ สูง -เปน็ พน้ื ฐานการคิด การคดิ อยา่ งเป็นระบบ การ วเิ คราะห์ การตัดสินใจ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ การ แก้ปญั หา คดิ วเิ คราะห์ การคิดเช่ือมโยง การคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ และ การคิดเชงิ ออกแบบ (Design thinking) 1.5. งานทะเบียน วัดและประมวลผลดาํ เนินการ 1.5.1 จดั สอบข้อสอบ Progress Test โดยเชอื่ มโยงการนาํ ความรู้ทไี่ ด้จากวชิ าการศกึ ษาท่วั ไป และ พนื้ ฐานวชิ าชพี ประยุกต์ใชใ้ นการพยาบาลเมื่อส้นิ สดุ การจัดการเรียนการสอนชนั้ ปีที่ 1 เพอ่ื เปน็ ขอ้ มูลพน้ื ฐาน ในการพฒั นาในปีการศึกษาต่อไป 1.5.2 ประกาศคะแนนภายใน 1 สปั ดาหห์ ลังสอบ และใหน้ กั ศึกษาบันทกึ สะท้อนคดิ เพ่อื ให้เกิดความ ตระหนกั และทบทวนตนเองเพ่ือปรับปรุงพัฒนา 1.5.3 จัดทําฐานข้อมลู ของนักศึกษารายบคุ คล และแจง้ หัวหน้าสาขาวชิ า นําไปใช้เป็นข้อมลู นําเข้าเพือ่ การ พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนในรายวิชาทเ่ี กยี่ วข้อง ในปีการศึกษาตอ่ ไป 1.5.4 พจิ ารณาผลลพั ธก์ ารเรียนรขู้ องนักศึกษารายบุคคลเมอ่ื ส้นิ สดุ ภาคการศกึ ษา ผู้ที่ได้คะแนนต่ํา (ปรบั จาก E เปน็ C) ในแตล่ ะรายวชิ าให้แจง้ หัวหน้าสาขาวชิ าในรายวิชาทเี่ กยี่ วข้อง ในภาคการศกึ ษาถัดไป เพอ่ื ให้ 97

แนวทางการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน (BCNR-4P Model) รายชัน้ ปี นักศกึ ษามีโอกาสไดร้ บั การดแู ล และพัฒนาโดยคํานึงถงึ ปจั เจกอย่างตอ่ เนอ่ื ง (ผู้กํากบั ตดิ ตาม: หัวหนา้ สาขาวิชา และอาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลักสตู รรายสาขา) การประเมินผล: ผู้กาํ กบั ติดตาม/อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตรนาํ เข้าสวู่ าระการประชมุ คณะกรรมการบรหิ าร หลักสูตรเม่อื ส้ินสุดแตล่ ะภาคการศกึ ษา (ตามระบบและกลไกการบรหิ ารหลกั สูตรทีเ่ กย่ี วขอ้ ง) ชัน้ ปที ี่ 2 C:Content Preparation (สง่ั สมวิชาการเปน็ พื้นฐาน) 2.1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และครูประจําชั้น เข้าพบนักศึกษาในวันเปิดภาคการศึกษา เพื่อให้ นักศึกษาตระหนักถึงความสําคัญของการเรียนการสอนในรายวิชาพื้นฐานวิชาชีพ และรายวิชาชีพการพยาบาล ที่เก่ียวข้องกับการสอบขึ้นทะเบียนฯ และแจก TBP ให้แก่นักศึกษาทุกคน ในสัปดาห์แรกของการเปิดภาค การศกึ ษา เพือ่ เปน็ แนวทางในการเรียนรู้ (ผูก้ ํากบั ตดิ ตาม: อาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู ร) 2.2. งานกิจการนักศึกษาจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ท่ีก่อให้เกิดทัศนคติท่ีดีต่อวิชาชีพ และปลูกฝังความ ภาคภูมิใจในสถาบันการศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี เช่น ไหว้ครู พิธีมอบสัญลักษณ์วิชาชีพ พิธีมอบตะเกียงไนติงเกล วันพยาบาลแห่งชาติ เป็นต้น (ภายใต้โครงการเก่ียวกับการพัฒนานักศึกษาเพ่ือสืบ สานวัฒนธรรมของวิชาชีพการพยาบาล) 2.3. อาจารย์ท่ีปรึกษาดูแล ส่งเสริมเพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสําคัญของการเรียนการสอน ในรายวิชา พื้นฐานวิชาชีพ และรายวิชาชีพการพยาบาลท่ีเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับการสอบขึ้นทะเบียนฯ โดยพบนักศึกษา อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 1 ครง้ั (ผู้กํากบั ติดตาม: งานกิจการนักศึกษา) 2.4. หวั หนา้ สาขาวชิ ากาํ กบั ตดิ ตามอาจารย์ในสาขาวชิ าใหจ้ ัดการเรยี นการสอนทั้งภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบัติ ท่เี ชือ่ มโยงเนอ้ื หาในหัวข้อที่สอน ในรายวชิ าทีเ่ ก่ยี วข้องกับการสอบขน้ึ ทะเบยี นฯ โดยจะต้องเชอ่ื มโยงใหผ้ ู้เรียน มองเห็นและเข้าใจว่า การจดั การเรยี นการสอนในหัวขอ้ นน้ั ๆเกีย่ วข้องกบั Test Blue Print สภาการพยาบาล อยา่ งไร ภาคการศึกษาท่ี 1 รายวิชา จดุ เน้น ผลท่คี าดหวงั ต่อนกั ศกึ ษา การตดิ ตาม ประเมินผล เภสัชวิทยา ความรพู้ ้นื ฐานทางเภสัช -เป็นพนื้ ฐานในการเรียนราย -ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ จลนศาสตร์ บทบาทและ วชิ าชีพ ของนกั ศึกษาจาก สมั พันธ์กบั TBP วชิ าการ การสอบกลางภาค ความรบั ผิดชอบของ พยาบาลในการบริหารยา พยาบาลเดก็ (หวั เรอ่ื ง 8) การ และปลายภาค ผดุงครรภ์ (หวั เรือ่ ง 7) การ อยา่ งสมเหตผุ ล พยาบาลมารดาฯ (หัวเร่อื ง 3) การพยาบาลผู้ใหญ่ (หวั เรอ่ื ง 4) การพยาบาลจิตเวช (หัว เรื่อง 6) การพยาบาลผู้สงู อายุ (หัวเร่ือง 8) การพยาบาลอนามัยชุมชนและ รักษาพยาบาลข้ันตน้ (หวั เรอื่ ง 8) 98

แนวทางการพัฒนาการจดั การเรียนการสอน (BCNR-4P Model) รายช้นั ปี พยาธิสรรี วทิ ยา แนวคดิ และหลักการของ -เปน็ พื้นฐานการเรยี นในราย -ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ การเปลยี่ นแปลงของ วิชาชีพการพยาบาลตอ่ ยอด ของนกั ศึกษาจาก รา่ งกาย สาเหตุและปจั จัย มาจากวชิ ากายวิภาคฯ 1 และ การสอบกลางภาค การเกิดโรค พยาธสิ ภาพ 2 และปลายภาค ของโรค (สัมพนั ธ์กบั TBP 8 รายวิชา) ชีวสถติ ิฯ ความรู้เบื้องต้นเก่ยี วกบั ชีว -เปน็ พืน้ ฐานการเรยี นในราย -ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ สถติ ิ สถติ ิชพี และดัชนี วชิ าชพี การพยาบาลอนามยั ของนักศึกษาจากใบ อนามยั แนวคดิ พื้นฐาน ชุมชนฯ (TBP หัวเร่อื ง 3) การ งานท่ี 1 ชีวสถิตแิ ละ ของระบาดวทิ ยา พยาบาลมารดา (TBP หัว วทิ ยาการระบาด เรือ่ ง 1 สถติ ิชพี ) และการสอบกลาง ภาค การส่อื สารฯ แนวคิดและหลกั การของ (สมั พนั ธ์กบั TBP รายวชิ าการ -ผลลัพธ์การเรยี นรู้ การสอื่ สาร พยาบาล และวิชาสขุ ภาพจิต ของนกั ศึกษาจากใบ การสอนและการให้ หัวเร่ือง 3 6) งานการให้ คาํ ปรึกษาทางสุขภาพ คาํ ปรกึ ษา และการ สมั พันธภาพเชงิ สงั คมและ สอบปลายภาค เชิงวชิ าชพี ภาคการศึกษาท่ี 2 รายวชิ า ขอ้ พงึ ตระหนกั บทบาท บทบาทนกั ศกึ ษา การตดิ ตามประเมินผล ผู้รบั ผิดชอบ รายวชิ า/ผ้สู อน การ -การสอนเนน้ ให้มีพนื้ ฐาน -ผรู้ บั ผดิ ชอบ -นักศกึ ษาทําความ -ผลลพั ธ์การเรียนรขู้ อง พยาบาล ดีในเร่ือง health รายวิชา เข้าใจ TBP ที่ นักศึกษาจากใบงานการ ขน้ั assessment:ซงึ่ สมั พนั ธ์ ปฐมนิเทศการ เกยี่ วข้อง ประเมินสภาพ และการ พนื้ ฐาน กบั TBP รายวิชาการ เรยี นการสอน -นักศึกษาเรมิ่ อา่ น บนั ทึก (head to toe) พยาบาล รายวิชา และเน้น หนังสอื สง่ั สมเน้อื หา และการสอบกลางภาค ยํา้ วา่ เน้ือหาการ ทําความเขา้ ใจ core และปลายภาค หัวเรอื่ ง เรยี นนนั้ เกย่ี วขอ้ ง concept ตาม TBP health assessment การ สัมพนั ธ์กับ TBP รายวิชา กบั TBP สอบ และฝึกทาํ โจทย์ -ผลลัพธก์ ารเรียนรขู้ อง พยาบาล การพยาบาลผใู้ หญ่ (ตามท่ี รวบยอดวชิ าใด ขอ้ สอบ นกั ศกึ ษาจากการสอบ ผู้ใหญ่ 1 matrix ไว)้ หัวเรอ่ื งใด -ในกรณมี กี าร กลางภาคและปลายภาค -ผ้สู อนออก แบง่ กลุม่ การทํางาน การ -สมั พนั ธก์ ับ TBP รายวิชา ขอ้ สอบเน้น นกั ศกึ ษาตอ้ งมกี าร -ผลลัพธก์ ารเรยี นรูข้ อง พยาบาล การพยาบาลผูส้ งู อายุ เขา้ ใจ-และ บริหารจดั การเพือ่ นกั ศกึ ษาจากใบงาน ผสู้ งู อายุ -เนน้ วิเคราะห์ case ตาม นําไปใชใ้ ห้ เรยี นรูร้ ่วมกนั อยา่ ง และการสอบ ทฤษฎี การดูแลโรคการ สอดคล้องตาม เทา่ เทยี ม พยาบาลทสี่ าํ คัญในโรคท่ี TBP สบช. ซึ่งวดั 99

แนวทางการพฒั นาการจดั การเรียนการสอน (BCNR-4P Model) รายชัน้ ปี ผ้สู งู อายเุ ปน็ โรค รู้จํานอ้ ยมาก การ สัมพันธ์กบั TBP รายวิชา เพียง 0-3 ขอ้ -ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ของ พยาบาล การพยาบาลอนามยั ชมุ ชน สว่ นเข้าใจ: นักศกึ ษาจากใบงาน อนามยั และการรักษาพยาบาล นาํ ไปใชเ้ ป็น และการสอบ ชุมชน 1 ข้นั ตน้ (ตามท่ี matrix ไว้) สัดสว่ น 1: 2 -ในกรณีมกี าร แบ่งกล่มุ การ ทาํ งานนักศึกษา ผ้สู อนควรมีการ กํากบั ตดิ ตามให้ นกั ศึกษามกี าร เรยี นรรู้ ่วมกนั อยา่ งเท่าเทียม ภาคฤดรู ้อน รายวิชา บทบาทผู้รบั ผดิ ชอบรายวชิ า/ผสู้ อน บทบาทนักศกึ ษา การตดิ ตาม ประเมินผล ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล -จดั กิจกรรม pre-clinic (BAR) -นกั ศกึ ษาทาํ -ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ -เน้นการมอบหมาย case ให้สอดคล้อง ความเขา้ ใจ TBP ของนกั ศกึ ษาจาก พืน้ ฐาน การสอบ post-test *เนน้ การเก็บทกั ษะ กับ Test Blue Print ให้นกั ศกึ ษาไดเ้ ห็น ที่เกี่ยวข้อง -นักศกึ ษาอา่ น ประกอบการ ปัญหา และการพยาบาล หนังสอื ทบทวน วเิ คราะหเ์ หตุผล -เน้นการ pre-post conference เชื่อมโยงกบั พยาธิ -ระหวา่ งการฝกึ ปฏิบัติกําหนดวันท่ีจะ ตาํ ราสมาํ่ เสมอ conference (ลักษณะเปน็ DAR) ได้ คร่ึง -นักศึกษาต้งั ใจหา สภาพโรค ประสบการณ์การ -ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ ปฏิบัติการพยาบาล ถึง 1 วนั /สปั ดาห์ อนามยั ชมุ ชน 1 -จดั ใหม้ ีการอภิปรายแลกเปลยี่ นเรียนรู้ เรียนรู้ในสภาพ ของนักศึกษาจากใบ กรณีศกึ ษาทม่ี คี วามหลากหลายและ จรงิ ไม่หลบเลีย่ ง งาน การสอบ post- มปี ญั หาอปุ สรรค test ปฏิบัตกิ ารพยาบาล สอดคลอ้ งรว่ มกันระหวา่ งหอผู้ปว่ ย ในแต่ อะไรให้ปรึกษากบั ผู้ใหญแ่ ละผสู้ ูงอายุ ละรายวิชาเพ่ือให้ผเู้ รียนได้ประสบการณ์ ผู้สอน เพ่ือนาํ สู่ -ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ 1 การเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย ในสัปดาห์ การแก้ไข ของนักศึกษาจากใบ สุดทา้ ยของการฝึกปฏิบัติ 1-2 วนั (AAR) งาน การสอบ post- test 2.5.หัวหน้าสาขาวิชากํากับให้อาจารย์ในสาขาวิชา วิเคราะห์ข้อสอบรวบยอด สบช.ในรายวิชาท่ีรับผิดชอบ และนํามาใช้เป็นแนวทางในการสร้างข้อสอบเพ่ือวัดให้สอดคล้องกับ TBP และปรับเน้ือหารายวิชาให้ทันสมัย สอดคล้องกบั TBP 2.6.อาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบรายวิชาชีพทางการพยาบาลจดั ให้มกี ารอธิบาย concept ของข้อสอบหลังสอบทกุ คร้ัง 2.7.งานทะเบียนและประมวลผลดําเนินการ 2.7.1 จัดสอบข้อสอบ Progress Test ให้ครบท้ัง 8 รายวชิ า เพ่อื ใหผ้ ้เู รียนได้เหน็ พัฒนาการของตนเอง เปรียบเทียบกบั ฐาน ความรเู้ ดิมจากชั้นปที ี่ 1 100

แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (BCNR-4P Model) รายชน้ั ปี 101 2.7.2 ประกาศคะแนนใหน้ ักศกึ ษาทราบภายใน 1 สัปดาห์หลังสอบ และใหน้ ักศึกษาบนั ทกึ สะท้อนคิด เพอ่ื ให้เกดิ ความตระหนัก และทบทวนตนเองเพอ่ื ปรับปรงุ พฒั นา 2.7.3 จดั ทําฐานขอ้ มลู ของนกั ศึกษารายบคุ คล ท่ตี ่อเนื่องจากชน้ั ปที ่ี 1 และแจ้งประธานสาขาวิชา นําไปใช้ เปน็ ขอ้ มูลนาํ เขา้ เพอ่ื การพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าทีเ่ กย่ี วข้อง ในปกี ารศึกษาตอ่ ไป 2.7.4 พิจารณาผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ของนักศกึ ษารายบคุ คลเมอ่ื สิน้ สุดภาคการศกึ ษา ผทู้ ไ่ี ด้คะแนนต่ํา (ทปี่ รบั จาก E เป็น C ในทฤษฎี หรือ C ปฏบิ ัติ) ในแต่ละรายวชิ าให้แจ้งประธานสาขาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในภาค การศกึ ษาถัดไป เพ่อื ใหน้ ักศึกษามโี อกาสได้รบั การดแู ล และพฒั นาโดยคํานึงถึงปจั เจกอยา่ งตอ่ เน่ือง (ผู้กาํ กับตดิ ตามข้อ 2.5-2.7: หัวหนา้ สาขาวิชา และอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรรายสาขา) การประเมนิ ผล: ผูก้ ํากบั ตดิ ตาม/อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตรนาํ เขา้ สูว่ าระการประชมุ คณะกรรมการบริหาร หลกั สูตรเมอื่ สน้ิ สดุ แตล่ ะภาคการศกึ ษา (ตามระบบและกลไกการบรหิ ารหลกั สตู รทเ่ี กี่ยวขอ้ ง) ช้นั ปที ี่ 3 N:Nurturing Performance (ปฏบิ ัติพยาบาลอยา่ งมงุ่ มน่ั ) 3.1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และครูประจําชั้น เข้าพบนักศึกษาในวันเปิดภาคการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียน ตระหนักถึงความสําคัญของการเรียนการสอนภาคปฏิบัติรายวิชาชีพการพยาบาล ท่ีเก่ียวข้องกับการสอบขึ้น ทะเบียนฯ (ผกู้ าํ กบั ตดิ ตาม: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู ร) 3.2. งานกิจการนักศึกษาร่วมกับสโมสรนักศึกษา จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อส่งเสริมศักยภาพด้านวิชาการ โดยมชี มรมวชิ าการเป็นแกนนํา 3.3. อาจารย์ท่ีปรึกษาดูแล ส่งเสริมเพื่อให้ผู้เรียนมุ่งมั่นในการเรียน การฝึกภาคปฏิบัติเพื่อเก็บเก่ียวความรู้ เตรียมพรอ้ มสอบรวบยอด ช่วยกระตนุ้ ใหก้ าํ ลังใจ แกไ้ ขอปุ สรรคโดยพบนักศึกษาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (ผู้กาํ กบั ติดตาม: งานกจิ การนักศึกษา) 3.4. หัวหน้าสาขาวชิ ากํากบั อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบรายวิชาและผู้สอนในสาขาใหจ้ ัดประสบการณภ์ าคปฏบิ ตั ิให้ ครอบคลุม TBP ในรายวชิ าดงั น้ี ภาคการศกึ ษาท่ี 1 (จํานวน 5 รายวิชา) 1. จรยิ ศาสตรแ์ ละกฎหมายวชิ าชีพการพยาบาล 2. การพยาบาลผู้ใหญ่ 2 3. การพยาบาลเดก็ 4. การพยาบาลมารดาทารกและผดุงครรภ์ 1 5. สขุ ภาพจิตและการพยาบาลจติ เวช ภาคการศกึ ษาที่ 2 –ฤดรู ้อน (จํานวน 6 รายวิชา) 1. ปฏิบัตกิ ารพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผสู้ งู อายุ 2 2. ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผ้สู งู อายุ 3 3. ปฏบิ ัติการพยาบาลเด็ก 1 4. ปฏิบตั กิ ารพยาบาลเดก็ 2 5. ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลมารดาทารก 1 6. ปฏิบตั ิสขุ ภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช 3.4.1 จดั กจิ กรรมเตรียมความพรอ้ ม pre-clinic ก่อนข้ึนฝึกปฏบิ ัติ 1-2 วนั (BAR) โดยเน้น SBL 3.4.2 สําเนาเอกสาร TBP สบช มอบแก่อาจารยพ์ เ่ี ลี้ยงแหลง่ ฝกึ และอธบิ ายว่ามีส่วนเก่ยี วข้องอย่างไรกบั

แนวทางการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน (BCNR-4P Model) รายช้นั ปี 102 การฝกึ ของนกั ศกึ ษา โดยเฉพาะ นกั ศึกษากล่มุ ทส่ี อนโดยอาจารยพ์ ี่เลี้ยงท้ังหมด 3.4.3 เนน้ การมอบหมาย case ใหส้ อดคล้องกับ Test Blue Print ให้นักศึกษาไดเ้ ห็นปัญหา รวมถงึ การ ตดั สนิ ใจในการระบกุ ารพยาบาลท่ีสาํ คัญเปน็ อนั ดบั แรก 3.4.4 เนน้ การ pre-post conference ในแตล่ ะวันของการฝกึ ปฏบิ ัติ เกย่ี วกบั การดูแล case ต่างๆ ที่ มอบหมายไป 3.4.5 จัดให้มีการทดสอบความรรู้ ะหวา่ งทาง เชน่ การทําข้อสอบยอ่ ย การสอบปากเปลา่ พรอ้ มเฉลย อธบิ าย concept ท้งั น้เี พื่อให้นักศกึ ษากระตอื รือรน้ ในการอา่ นทบทวนอย่างต่อเนือ่ ง 3.4.6 ระหวา่ งการฝึกปฏบิ ตั ิกําหนดวนั ท่จี ะ conference (ลักษณะเปน็ DAR) ไดค้ รงึ่ ถงึ 1 วนั /สปั ดาห์ 3.4.7 จดั ให้มีการอภปิ รายแลกเปลย่ี นเรยี นรู้กรณศี ึกษาที่มีความหลากหลายและสอดคล้องรว่ มกนั ระหว่างหอผูป้ ว่ ย ในแตล่ ะรายวิชา เพอื่ ให้ผูเ้ รยี นไดป้ ระสบการณก์ ารเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ในสปั ดาหส์ ุดท้าย ของการฝกึ ปฏิบัติ 1-2 วัน (AAR) 3.5. อาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบรายวชิ าชพี ทางการพยาบาลจัดใหม้ ีการอธบิ าย concept ของขอ้ สอบ post-test หลงั สอบทุกครง้ั รวมถงึ กระตนุ้ ใหค้ ิดวเิ คราะห์หาคาํ สําคัญในโจทย์ แตล่ ะตวั เลือกเชือ่ มโยง concept อะไร และเชอ่ื มโยงอยา่ งไร (ผู้กาํ กับตดิ ตามขอ้ 3.4-3.5: หวั หน้าสาขาวชิ า และอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สูตรรายสาขา) 3.6. ผู้รบั ผิดชอบโครงการส่งเสริมความเปน็ เลิศทางวชิ าการ ฯ จดั ใหม้ กี ารสอนเสริมเพื่อเตรยี มความพร้อมใน การสอบสภาฯ ในชว่ งปิดภาคการศกึ ษา ในทุกภาคการศึกษา โดยจดั การสอน online เพ่ือให้นักศึกษาได้ ทบทวนในชว่ งปิดภาคการศึกษา (ผู้กํากบั ตดิ ตาม: ผรู้ บั ผิดชอบโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการฯ) 3.7. งานทะเบียนและประมวลผลดําเนินการ 3.7.1 จดั สอบข้อสอบ Progress Test ให้ครบทั้ง 8 รายวิชา ทเี่ สมือนจริง 3.7.2 ประกาศคะแนนภายใน 1 สปั ดาห์หลงั สอบ เพอ่ื ใหน้ ักศึกษาไดท้ ราบความก้าวหนา้ ของตนเอง และ วางแนวทางการปรับปรุงรายบคุ คล 3.7.3 จดั ทําฐานข้อมลู ของนกั ศึกษารายบุคคล ที่ต่อเนือ่ งจากช้ันปีที่ 1 และ 2 แจ้งประธานสาขาวชิ า นาํ ไปใชเ้ ป็นขอ้ มลู นําเข้าเพื่อการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าทเ่ี ก่ียวข้องในปีการศึกษาต่อไป 3.7.4 พจิ ารณาผลลัพธ์การเรยี นรูข้ องนักศกึ ษารายบุคคลเมือ่ สิน้ สุดภาคการศึกษา ผูท้ ี่มผี ลการเรยี นต่ํา (เชน่ ระดบั C ปฏบิ ัติ) ในแตล่ ะรายวชิ าใหแ้ จง้ ประธานสาขาในรายวิชาที่เกยี่ วขอ้ ง ในภาคการศึกษาถดั ไป เพื่อให้ นกั ศึกษามโี อกาสไดร้ ับการดูแล และพฒั นาโดยคาํ นงึ ถึงปจั เจกอย่างต่อเนื่อง (ผกู้ าํ กบั ติดตาม: หัวหนา้ สาขาวชิ า และอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสตู รตามสาขา) การประเมินผล: ผกู้ ํากบั ตดิ ตาม/อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร นําเข้าสู่วาระการประชมุ คณะกรรมการบรหิ าร หลักสูตรเมอื่ สน้ิ สุดแตล่ ะภาคการศึกษา (ตามระบบและกลไกการบรหิ ารหลักสตู รทเ่ี ก่ียวข้อง) ชนั้ ปที ี่ 4 R:Reunite for Purpose (จบั มือกันสเู่ ป้าหมาย) ผู้รับผดิ ชอบโครงการเสรมิ สร้างความเป็นเลศิ ทางวชิ าการฯ ดาํ เนินการดังนี้ 4.1. ร่วมกับครูประจําช้ัน พบนักศึกษาในวันเปิดภาคการศึกษาเพ่ืออธิบายวัตถุประสงค์ของการดําเนินการ เตรียมสอบข้ึนทะเบียนฯ และเสนอผลการสอบ และผลการวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคของปีท่ีผ่านมาให้รับทราบ เพ่อื นําไปวางแนวทางการเตรยี มพร้อมทงั้ รายบคุ คล และรายกลมุ่ 4.2. ดําเนนิ กิจกรรมส่งเสรมิ และพัฒนาความร้ทู างวชิ าการในรปู แบบตา่ งๆ ได้แก่

แนวทางการพฒั นาการจัดการเรียนการสอน (BCNR-4P Model) รายชั้นปี 4.2.1 เพ่ือนชว่ ยเพอ่ื น (peer support) นาํ ตนเอง และทีมในการทบทวนความรู้ ในรายวิชาทีก่ ําลังฝกึ ปฏบิ ตั ิ 4.2.2 จัดใหน้ กั ศึกษาทําสรุปความรู้ตาม Test Blue Print ในรายวิชาสง่ อาจารย์ (ตามรายวิชาทีเ่ ข้าร่วม) 4.2.3 สอนเสรมิ โดยวิทยากรภายในและภายนอกในแตล่ ะรายวชิ าในชว่ งเตรยี มความพร้อม 4.2.4 จดั ทําวดี ีโอสอนเสริมผา่ น Google Classroom 8 รายวิชา เพื่อใหน้ ักศกึ ษาได้ทบทวนด้วยตนเอง ระหวา่ งฝกึ ภาคปฏิบตั ิ (ผกู้ ํากับติดตาม:ผ้รู บั ผิดชอบโครงการเสรมิ สร้างความเป็นเลิศทางวชิ าการฯ) 4.3. อาจารย์ที่ปรึกษาดแู ลนกั ศกึ ษาทีอ่ ยูใ่ นตระกลู ของตน โดยสง่ เสรมิ สนบั สนุน กระตุ้น เปน็ กาํ ลังใจ และ ตดิ ตามความก้าวหนา้ ในการเตรยี มสอบข้ึนทะเบียนฯ ของนกั ศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ือง (ผ้กู ํากบั ตดิ ตาม: งานกิจการนกั ศกึ ษา) 4.4. งานทะเบยี นและประมวลผลดาํ เนินการการจัดสอบด้วยข้อสอบเสมอื นทุกรายวชิ า อย่างนอ้ ยวิชาละ 3 ครั้ง ทงั้ สอบในชนั้ เรยี น และสอบ Online พรอ้ มประกาศคะแนนภายใน 1 สัปดาห์หลงั สอบ เพื่อให้นกั ศกึ ษา ได้ทราบความก้าวหน้าของตนเอง และวางแนวทางการปรบั ปรงุ รายบุคคลและกลุ่ม (ผ้กู าํ กบั ตดิ ตาม: ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลิศทางวชิ าการฯ) ในสว่ นการจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าภาคปฏบิ ตั ิ ใหด้ ําเนนิ การเชน่ เดยี วกับขั้น N (ข้อ 3.4-3.5) ตอ่ เนอื่ ง จากชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 (จํานวน 3 รายวิชา) 1. การพยาบาลอนามยั ชุมชน 2 2. การรักษาพยาบาลขนั้ ตน้ 3. การพยาบาลมารดาทารกและผดุงครรภ์ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 (จาํ นวน 4 รายวิชา) 1. ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลอนามยั ชมุ ชน 2 2. ปฏิบตั ิการรกั ษาพยาบาลขั้นตน้ 3. ปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารก 2 4. ปฏบิ ตั ิบรหิ ารการพยาบาล (ผู้กํากบั ตดิ ตาม: หวั หน้าสาขาวิชา และอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสตู รตามสาขา) การประเมินผล: ผ้กู ํากบั ติดตาม/อาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลกั สูตร นาํ เขา้ สู่วาระการประชุมคณะกรรมการบริหาร หลกั สูตรเมอ่ื ส้นิ สุดแตล่ ะภาคการศกึ ษา (ตามระบบและกลไกการบริหารหลกั สตู รทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง) และเม่ือสน้ิ สุด โครงการ 8. ผลกระทบทีเ่ ป็นประโยชนห์ รือสรา้ งคุณคา่ 8.1 วทิ ยาลัยผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานดา้ นคุณภาพบัณฑิตและมชี ื่อเสียงไดร้ บั การยอมรับจาก หน่วยงานภายนอกเปน็ อย่างดีในด้านวิชาการพยาบาล เหน็ ไดจ้ ากแนวโน้มรอ้ ยละของบณั ฑติ ที่สอบขน้ึ ทะเบยี นผา่ น ในคร้ังแรกสงู ขึ้น ปี พ.ศ.2563 ผา่ นทกุ วชิ า ร้อยละ 33.33 ปกี ารศกึ ษา 2564 ผา่ นทุกวชิ า ร้อยละ 61.49 และปี การศกึ ษา 2565 ผา่ นรอ้ ยละ 77.57 8.2 นักศกึ ษามีความรู้ท่ีจะนําไปใช้ในการประกอบวชิ าชีพ ซ่งึ จะเปน็ ผลดีต่อผู้รับบรกิ าร ก่อให้เกดิ คณุ ค่าต่อตนเอง สถาบนั วิชาชีพ และสังคม 103

8.3 สถานบรกิ ารสขุ ภาพได้บณั ฑติ พยาบาลที่มคี วามรแู้ ละสมรรถนะผา่ นเกณฑ์คุณภาพทีก่ ําหนด เห็นไดจ้ ากผล ของคณุ ภาพบัณฑิตตามความคิดเหน็ ของผใู้ ช้บณั ฑิต พบว่าคณุ ภาพบัณฑติ พยาบาลของวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนี ราชบรุ ี มแี นวโนม้ สูงขึ้น บัณฑิตท่ีจบการศกึ ษาปีการศกึ ษา 2564 ค่าเฉล่ียโดยภาพรวมอยใู่ นระดับดี ( x = 3.96, S.D.=0.57) บณั ฑิตที่จบการศึกษาปีการศกึ ษา 2565 คา่ เฉล่ยี โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับดี ( x = 4.01, S.D.=0.63) 9. ปจั จัยแห่งความสาํ เร็จ จากการสนทนากล่มุ คณาจารยแ์ ละนักศึกษาของวิทยาลยั ท่เี ข้าร่วมกจิ กรรม ผ่านกระบวนการเรียนรู้ เกดิ ผลผลติ ผลลัพธ์ทดี่ ีได้ เนอื่ งจากปจั จยั ความสาํ เร็จ 4 ระดบั ดงั น้ี ระดับที่ 1 ทมี คณาจารย์เขา้ ใจสถานการณป์ ญั หา -มีการสํารวจข้อมูล และวเิ คราะห์สาเหตทุ ่ีแทจ้ รงิ ของปญั หา -คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รมีแนวทางการพฒั นาการจัดการเรียนการสอน BCNR-4P Model นาํ สกู่ าร กาํ หนดกลยทุ ธ์การจดั การเรยี นการสอนรายวชิ าในแต่ละชั้นปี โดยคณาจารย์ในทกุ สาขาวิชามีสว่ นร่วม -อาจารยท์ ป่ี รึกษาเขา้ ใจปญั หาของนักศกึ ษา และดแู ลนกั ศกึ ษาต้งั แต่ชน้ั ปีที่ 1 - 4 ทําให้เหน็ ศกั ยภาพด้าน วิชาการของนกั ศึกษา รว่ มแก้ไขปญั หาและพฒั นาได้อย่างต่อเนอ่ื ง ระดบั ที่ 2 คณาจารยม์ สี ่วนร่วมแกป้ ัญหาและสร้างเสริมวิชาการ -อาจารย์แต่ละสาขาวิชาสอนเนอ้ื หาวชิ าการทที่ นั สมยั และสอนในภาคปฏิบตั โิ ดยจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกบั Test Blue Printของสภาการพยาบาล -อาจารยร์ ว่ มแรงรว่ มใจพัฒนานักศกึ ษา และประเมนิ นกั ศึกษาเป็นรายกลุม่ เพ่อื นาํ มาพัฒนาโดยค้นหาต้นเหตุ ของปัญหาทจ่ี ะร่วมกันแก้ แล้วสะท้อนคิดเพ่ือให้ตระหนักและตัง้ เปา้ หมายการแกป้ ัญหารว่ มกันจนเกิดการ พัฒนาตนเองอย่างเป็นรปู ธรรม ระดบั ที่ 3 พัฒนาแนวทางแก้ปญั หาด้านวชิ าการของนักศกึ ษา -จดั กจิ กรรมทีห่ ลากหลายเพอื่ สรา้ งเสริมความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ โดยการมสี ว่ นรวมของนักศกึ ษา -เนน้ ใหน้ ักศึกษาดูแลจัดการภายในรนุ่ ของตนเองเพ่ือสรา้ งเสริมความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ เช่น กล่มุ peer support ระดบั ที่ 4 มีกลไก/คน/การทาํ งานท่ตี อ่ เนอ่ื ง -ผู้บริหารที่มคี วามมุง่ มน่ั พร้อมรบั การเปลยี่ นแปลง และให้การสนบั สนนุ -ทมี งานมกี ารแบง่ บทบาทในการทาํ งาน งานวิชาการเอ้ือตอ่ การรกั ษาความตอ่ เน่อื งในการดําเนินการจดั การ เรยี นการสอน การสอนเสริม และงานกิจการจดั กิจกรรมเสรมิ หลักสตู รเสรมิ สรา้ งความรกั และศรทั ธาวิชาชพี -มีการปรบั ปรุงพฒั นาการดาํ เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอื่ งตามกระบวนการ PDCA 10. ปัญหาอปุ สรรคและแนวทางการแก้ไข 10.1 ในชว่ งแรกของการดําเนนิ การเปน็ เรือ่ งทค่ี ่อนขา้ งยาก เนือ่ งจากเปน็ การเปลยี่ นแปลง ท่ีวิทยาลัยไมเ่ คย ดําเนนิ การมาก่อน ตัวอยา่ งเชน่ การใหข้ ้อมลู ป้อนกลบั หลังการสอบ โดยมีการเฉลยข้อสอบที่รูปแบบเปล่ยี นแปลงไป จากเดิม คือจะต้องเปน็ การเฉลยท่ีกระต้นุ ใหน้ กั ศึกษาเรยี นรู้หลักการจับประเด็นทาํ ความเข้าใจโจทย์ วิเคราะหค์ ํา สําคัญ รวมถงึ การวเิ คราะห์ตัวเลอื กรายขอ้ พรอ้ มให้เหตุผล และเชอ่ื มโยงประเด็นความรู้ทีเ่ กย่ี วข้อง รวมถึงตอ้ งมกี าร สรา้ งขอ้ สอบคู่ขนาน ตอ้ งออกข้อสอบใหมห่ ลายชดุ เพอื่ นาํ ไปใช้กบั นักศกึ ษา เป็นกจิ กรรมท่ีต้องใชเ้ วลา และการเตรี ยมตวั ของอาจารยค์ อ่ นข้างมาก ในขณะทอ่ี าจารยม์ ภี าระงานหลายด้าน 104

10.2 แนวทางแกไ้ ข คณะทาํ งานใชก้ ลยทุ ธก์ ารประชาสมั พนั ธอ์ ยา่ งเข้าถึง เพือ่ ถ่ายทอด ให้ข้อมูลชแี้ จงแกท่ ง้ั นักศกึ ษา และคณาจารยท์ ่ีตอ้ งปรบั กระบวนทัศน์ในกระบวนการเรียนรจู้ ากท่ีเคยทําแบบเดมิ ท่เี คยชนิ มาสกู่ าร เปลีย่ นแปลงเพอ่ื พัฒนา และอาศยั การกํากบั ติดตามอย่างใกล้ชิด เพ่อื ใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั ติ ามแนวทางอย่างเป็นรปู ธรรม 11. แนวทางในการจัดการความรู้ วิทยาลัยมีการนําแนวปฏิบตั ิการสรา้ งเสรมิ ความเป็นเลิศทางวชิ าการเพอ่ื เตรยี มความพร้อมในการเปน็ พยาบาลวชิ าชพี ไปปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอนในปตี อ่ ไปอยา่ งต่อเนอ่ื งผา่ นกระบวนการ PDCA ท้ังนแ้ี นวปฏบิ ตั ิ สามารถนําไปขยายผลสู่การพฒั นานกั ศกึ ษาพยาบาล โดยแนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสรมิ สรา้ งความรู้ การ คิดวิเคราะห์ และกิจกรรมเสรมิ หลักสูตรที่เสรมิ สร้างความรกั และศรัทธาวชิ าชีพ โดยเผยแพร่แนวปฏบิ ตั ิการเสริมสรา้ ง ความเป็นเลิศทางวชิ าการ ผ่านช่องทางตา่ งๆ เช่น www.bcnr.ac.th เวทีประชุมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ด้านการศึกษา พยาบาล เป็นต้น 105

แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดี การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลตามความเชยี่ วชาญของอาจารย์ (Faculty practice) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั รำไพพรรณี ผู้รับผดิ ชอบหลัก รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณี เดียวอศิ เรศ สอดคลอ้ งกับแนวปฏบิ ัติพันธกิจด้าน การเรียนการสอน ทมี่ าและความสำคัญ การจัดประสบการณ์การเรียนรภู้ าคปฏิบตั ิ เปน็ หัวใจสำคญั ของการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ ซ่ึงต้องใชก้ ารขบั เคล่ือนด้วยอาจารยพ์ ยาบาลท่ีมสี มรรถนะท่ีไดม้ าตรฐานทั้งด้านวิชาการและดา้ นวชิ าชพี โดยอาจารยม์ ีการฝกึ ปฏิบตั การพยาบาลตามความเช่ยี วชาญของตนเอง (Faculty practice) สอดคล้องตามเกณฑม์ าตรฐานสำคัญในการรบั รอง สถาบนั การศกึ ษาวชิ าการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ของสภาพยาบาล ทก่ี ำหนดใหอ้ าจารย์ทสี่ อนวชิ าการพยาบาล และ วิชาการรักษาโรคเบื้องต้น ปฏิบัตกิ ารพยาบาลในสาขาทร่ี บั ผิดชอบ อย่างน้อย 80 ชั่วโมง/ปกี ารศึกษา ร้อยละ 100 โดยสภาพ ยาบาลมีการประกาศใชแ้ นวทางการปฏบิ ตั ิการพยาบาลตามความเชย่ี วชาญของอาจารย์ (Faculty practice) ไว้อย่างชดั เจน แมว้ า่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จะเป็นสถาบนั ใหม่ เริ่มจัดการเรยี นการสอนในหลกั สตู ร พยาบาลศาสตรบณั ฑติ หลักสตู รปรับปรุง 2562 โดยมนี ักศกึ ษาร่นุ ท่ี 1 ตั้งแต่ปีการศกึ ษา 2562 สามารถผลิตบัณฑติ พยาบาล ออกสู่สงั คม รนุ่ ที่ 1 จำนวน 52 คน ในปีการศกึ ษา 2565 ปจั จบุ นั มีนักศึกษาปี 1 จำนวนเพ่มิ ขึ้นเปน็ 85 คน โดยมีอาจารย์ พยาบาลทง้ั หมด 32 คน โดยอาจารยส์ ่วนใหญป่ ระสบการณ์ดา้ นการปฏิบัติงานในคลินิกเป็นอยา่ งดี ท้งั รายวิชาการพยาบาล เดก็ และวัยร่นุ การพยาบาลผใู้ หญ่และผสู้ งุ อายุ การพยาบาลชมุ ชน และการพยาบาลสขุ ภาพจิตและจติ เวช จงึ เปน็ จดุ แข็งท่ี สำคัญ และนับวา่ เปน็ ความทา้ ทาย ในการพัฒนาการปฏิบัตงิ านตามความเชีย่ วชาญของอาจารย์ (Faculty practice) เพือ่ ร่วมกันขบั เคล่ือนพันธกิจของคณะพยาบาลศาสตร์ ผลิตบัณฑติ พยาบาลทมี่ คี ุณภาพ จากการดำเนินงานการปฏิบตั ิการพยาบาลตามความเช่ียวชาญของอาจารย์ (Faculty practice) ท่ีผ่านมาอาจารย์มี แนวคดิ การดำเนินงาน Faculty practiceทหี่ ลากหลาย ขนั้ ตอนการดำเนินงานและ ระบบสนบั สนุนไม่ชดั เจน อาจารยท์ ่ีสอน วิชาการพยาบาล และวิชาการรกั ษาโรคเบือ้ งตน้ ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในสาขาที่รับผดิ ชอบ อยา่ งน้อย 80 ชัว่ โมง/ปีการศึกษา ยงั ไม่ครบร้อยละ100 Page | 1 106

คณบดคี ณะพยาบาลศาสตรจ์ ึงเปน็ แกนนำในการพฒั นากระบวนการดำเนินงานFaculty practice เพื่อส่งเสริมให้ อาจารยข์ องคณะฯ ดำเนินงานได้สอดคล้องตามแนวทางการทำFaculty practice ของสภาการพยาบาล สะดวก รวดเรว็ มี การวางแผนดำเนินงานอยา่ งเป็นระบบ มีการประสานเครือขา่ ยความรว่ มมอื และมีระบบสนับสนุนจากสำนักงานคณบดีท่ี เปน็ รูปธรรม ท้ังนเี้ พอื่ ใหอ้ าจารย์คณพพยาบาลศาสตร์มสี มรรถนะในการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลที่เชยี่ วชาญ และนำมาใช้ในการ สอนภาคปฏิบตั อิ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สามารถขบั เคล่อื นการปฏบิ ัตงิ านตามพันธกจิ ให้บรรลวุ ิสยั ทศั น์การ “เป็นสถาบันการ ศกึ ษาพยาบาลทไี่ ดม้ าตรฐานของประเทศ”ของคณะพยาบาลศาสตรต์ ่อไป วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื พัฒนากระบวนการดำเนินงาน การปฏิบัตกิ ารพยาบาลตามความเชยี่ วชาญของอาจารย์ (Faculty practice) Page | 2 107

กระบวนการพฒั นา 1. คณะกรรมการFaculty practice รว่ มกนั ทบทวนมาตรฐานและเกณฑ์การประเมนิ การรบั รองสถาบันการศึกษา วชิ าการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ของสภาพยาบาลร่วมกัน หลงั จากนั้นจัดประชมุ ช้แี จงกบั อาจารย์ของคณะ พยาบาลศาสตร์ เพอื่ วเิ คราะหส์ ถานการณก์ ารจัดการเรยี นการสอน และการดำเนินงานปฏิบัตกิ ารพยาบาลของ อาจารยใ์ นสาขาทรี่ ับผดิ ชอบ (Faculty practice) ทผ่ี า่ นมาตามกรอบ Strength, Weakness, Opportunity, และ Threathen (SWOT) จุดแขง็ จุดออ่ น 1. คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์มวี สิ ัยทศั น์ และมุง่ มั่น 1.อาจารย์พยาบาลมภี าระงานสอนและภารงานดา้ นอ่ืนๆ ให้การสนับสนุนอาจารยพ์ ยาบาลในการทำFaculty ทำใหม้ เี วลาทำFaculty practice นอ้ ย practice เป็นอย่างดี 2.อาจารย์ยงั ไมส่ ามารถเขา้ ใจทิศทางการปฏบิ ตั ิจริงตาม ความเชีย่ วชาญของตนเอง 2. อาจารย์พยาบาลสว่ นใหญม่ ากกว่ารอ้ ยละ 90 มี 3.อาจารย์บางสว่ น ยงั ตอ้ งพฒั นาทักษะความเป็นครู ประสบการณ์ปฏบิ ตั ิงานทง้ั ในคลนิ กิ (ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ทางการพยาบาล) ซงึ่ ตอ้ งใช้เวลา 3. อาจารยพ์ ยาบาล มคี วามมุ่งมนั่ ในการพฒั นาสรรถนะ ตนเอง โอกาส สิ่งคุกคาม 1. ผบู้ รหิ ารมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ความ 1.โรคอุบตั ใิ หม่/อุบตั ซิ ้ำ ทเี่ ป็นอุปสรรคในการฝกึ ปฏบิ ัติ สำคญั และสนบั สนุนการดำเนนิ งานตามพนั ธกิจของ Faculty practice คณะพยาบาลศาสตรเ์ ป็นอยา่ งดี 2. คณะพยาบาลศาสตรม์ เี ครือข่ายความร่วมมือแหล่งฝกึ ฯท้ังในสถานพยาบาลและชุมชนที่เขม้ แขง็ พรอ้ มให้ ความรว่ มมือเปน็ อยา่ งดี 2. จดั ทำแนวทางปฏิบตั กิ ารปฏบิ ัติการพยาบาลตามความเชยี่ วชาญของอาจารย์ (Faculty practice) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี มขี น้ั ตอนการดำเนนิ งานชดั เจนโดยอาจารยท์ กุ กลมุ่ วิชา มีการจัดทำโครงการและแผนการ ทำ Faculty practice ตามแนวทางที่กำหนดให้ ตามความเช่ยี วชาญของตนเอง ระบวุ นั ทด่ี ำเนินการและจำนวนชัว่ โมงการ ปฏิบตั ิ Faculty ทช่ี ัดเจน โดยประธานกลมุ่ วิชามกี ารกำกับติดตามการดำเนนิ งาน และมีการสนบั สนุนโดยบุคลากรในสำนัก งานคณบดี ที่กำหนดบทบาทการทำงานชดั เจนตามนโยบายคณบดีฯ สรปุ เป็นกระบวนการตามผงั (Flow) ดังภาพที่ 1 ตงั้ แต่ Page | 3 108

● ขน้ั วางแผนเตรยี มการโดยเขียนโครงการFaculty practice ตามแบบฟอร์ม ดงั ภาพท2่ี ● ขน้ั ดำเนินการ ● ขัน้ การรายงานผลการดำเนนิ การ ตามแบบฟอรม์ ดังภาพที่ 3 Page | 4 109

ภาพท่ี 1 Flow ขั้นตอนการดำเนนิ งานFaculty practice Page | 5 110

ภาพท่ี 2 แบบฟอรม์ การทำโครงการFaculty practice Page | 6 111

Page | 7 112

ภาพท่ี 3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนนิ งานFaculty practice Page | 8 113

3.คณบดีฯช้แี จงอาจารย์พยาบาลในการทำ faculty practice ตามแนวปฏิบตั ขิ องคณะ สอดคล้องตามแนวทางปฏิบตั จิ ากสภาการพยาบาล Page | 9 114

Page | 10 115

Page | 11 116

4.มรี ะบบกำกับตดิ ตามการดำเนินงาน faculty practice โดยประธานกลมุ่ วิชาแต่ละกล่มุ วชิ า กลุ่มวิชา สถานทไ่ี ปทำFaculty practice ผลการดำเนงิ าน อาจารย์ทสี่ อนวิชาการพยาบาลเด็ก ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กพลับพลา อยูร่ ะหวา่ งดำเนินการ และวัยร่นุ โรงพยาบาลพระปกเกลา้ (ครบ 80 ชม./ปกศ.2565) อาจารย์ทสี่ อนวิชาการพยาบาลผ้ใู หญ่ สถานสงเคราะหค์ นชราบ้านจนั ทบุรี อยูร่ ะหว่างดำเนนิ การ และผสู้ ูงอายุ ชุมชนเขต รพ สต จันทนิมิต (ครบ 80 ชม./ปกศ.2565) อาจารยท์ สี่ อนวชิ าการพยาบาล คลินิกผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรงั (ผปู้ ่วยโรค อยู่ระหว่างดำเนินการ สุขภาพจิตและจิตเวช เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ) (ครบ 80 ชม./ปกศ.2565) อาจารยท์ ส่ี อนวิชาการพยาบาลชมุ ชน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบล อยู่ระหวา่ งดำเนินการ พลับพลา และ โรงเรยี นวดั (ครบ 80 ชม./ปกศ.2565) พลบั พลา ตำบลพลับพลา อำเภอเมืองจันทบรุ ี จงั หวดั จันทบุรี ตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ ร้อยละของอาจารยท์ ส่ี อนวิชาการพยาบาล และวชิ าการรกั ษาโรคเบือ้ งตน้ ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลในสาขาท่ีรบั ผิดชอบ อยา่ ง นอ้ ย 80 ชวั่ โมง/ปีการศึกษา ร้อยละ 100 ผลลพั ธ์ อาจารยท์ ่ีสอนวิชาการพยาบาล และวิชาการรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลในสาขาท่ีรบั ผดิ ชอบ อยา่ งนอ้ ย 80 ชวั่ โมง /ปีการศึกษา ไดร้ ้อยละ 100 Page | 12 117

กลมุ่ วชิ า/อาจารย์ รอ้ ยละของอาจารยท์ ม่ี จี ำนวนชัว่ โมงการปฏบิ ัตกิ าร พยาบาลอย่างนอ้ ย 80 ช่วั โมง/ปีการศกึ ษา การพยาบาลเดก็ และวัยรุ่น การพยาบาลผใู้ หญ่และผู้สงู อายุ ปกศ.2564 ปกศ.2565 การพยาบาลสขุ ภาพจิตและจติ เวช การพยาบาลชมุ ชน 0 100 อาจารยท์ ่ีสอนวชิ าการรกั ษาโรคเบอื้ งตน้ 0 100 0 100 0 100 0 100 Page | 13 118

ปัจจยั แหง่ ความสำเรจ็ -ในองค์กร ● ผู้บรหิ ารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรำไพพรรณี ให้ความสำคญั และสนับสนนุ การดำเนินงานตามพนั ธกิจของคณะ พยาบาลศาสตร์เป็นอยา่ งดี ● คณบดคี ณะพยาบาลศาสตรม์ คี วามมุ่งม่ันในการพัฒนาอาจารย์ทั้งดา้ นวิชาการ และด้านวชิ าชีพพยาบาล เพือ่ ขบั เคล่อื นพันธกิจของคณะพยาบาลศาสตร์ใหบ้ รรลุวสิ ยั ทัศน์ การ “เป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลที่ได้ มาตรฐานของประเทศ” ● คณบดมี ีนโยบายส่งเสรมิ และสนับสนนุ การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลตามความเช่ียวชาญของอาจารย์ (Faculty practice) ที่เข้มแขง็ มกี ารพฒั นากระบวนการดำเนนิ งานสอดคลอ้ งกบั บรบิ ท และมีข้ันตอนชดั เจน ● อาจารยค์ ณะพยาบาลศาสตร์ มคี วามม่งุ มน่ั ตัง้ ใจในการพฒั นาสมรรถนะทั้งทางด้านวิชาการและวชิ าชีพตาม ความเชี่ยวชาญตนเอง เพอื่ ร่วมเป็นส่วนหน่งึ ของการ “เป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลที่ไดม้ าตรฐานของ ประเทศ” -นอกองคก์ ร ● การสนบั สนุนทีดีจากเครือขา่ ย ○ การมเี ครอื ขา่ ยความรว่ มมือจากสถานบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพในชมุ ชน ได้แก่ สสจ. จันทบุรี สสจ. ระยอง ○ องคก์ รวชิ าชีพ โดยสภาพยาบาลมแี นวทางการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลตามความเชี่ยวชาญของอาจารย์ (Faculty practice) ทชี่ ดั เจน และกำหนดเป็นเกณฑม์ าตรฐานสำคัญในการรับรองสถาบนั การ ศึกษาวชิ าการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์   Page | 14 119

แนวทางการพฒั นากระบวนต่อไป ปญั หา/ความท้าทาย แนวทางแก้ไข/การพฒั นา การใช้ขอ้ มลู การปฏบิ ัติการพยาบาลตามความ พฒั นาระบบสารสนเทศ (DASH board) ในการ เชย่ี วชาญของอาจารย์ (Faculty practice) เพ่อื การ บริหารจดั การขอ้ มูลการปฏิบัตกิ ารพยาบาลของ พฒั นา มคี วามยุง่ ยากเน่ืองจากยังใช้ระบบกระดาษ อาจารย์ มหาวิทยาลัยฯมีเรือนพยาบาล และมพี ยาบาลทใี่ ห้ 1.บรู ณาการการทำFaculty practice กบั โครงการ บริการดา้ นสขุ ภาพแก่นักศกึ ษาและบคุ ลากรใน บริการวชิ าการแก่สังคม และการวิจัย มหาวิทยาลยั ฯ 2.อาจารย์ทำโครงการให้คำปรึกษาแก่นกั ศกึ ษาทัง้ มหาวทิ ยาลยั ในประเด็นอ่อนไหว เปน็ Faculty practice 3.จดั คลนิ ิกให้บริการด้านสุขภาพตามความเชย่ี วชาญ ของอาจารย์ แก่นกั ศึกษาและบคุ ลากรใน มหาวิทยาลยั *********************** Page | 15 120

น วั ต ก ร ร ม 121

บทเรยี นออนไลน์ “MED CAN” กับความรอบรู้ทางสุขภาพ ในการใช้กัญชาทางการแพทย์ “MED CAN” Online Lesson for Medical Cannabis Health Literacy กัญตพิชญ์ พรมดอนกลอย1*, นพัสพร แคล้วทนง1, ภานุวฒั น์ สีสขุ 1, ศริ ดา เติมพร้อม1, ศิรวิ รรณ ฉัตรพกุ 1, สิรพี ร ธรี ะกลุ 1, สดุ ารตั น์ มที รพั ย์1, จไุ รรัตน์ ดวงจันทร์2 1นกั ศกึ ษาหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ ชนั้ ปที ี่ 3 วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก 2อาจารย์ทป่ี รึกษา วิทยาลยั พยาบาลพระจอมเกลา้ จังหวัดเพชรบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก *ผรู้ บั ผดิ ชอบบทความ: [email protected] บทคัดยอ่ การดูแลผู้ป่วยท่ีได้รับการรักษาโดยใช้กัญชาทางการแพทย์เป็นอีกบทบาทหน่ึงของพยาบาลในการร่วมมือกับสหสาขา วิชาชีพในการดูแลรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสมสอดคล้องกับปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย พยาบาลจึงควรได้รับการพัฒนาให้มีความ รอบรู้ทางสุขภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ตั้งแต่อยู่ในสถาบันการศึกษา บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” สร้างข้ึนตาม องค์ประกอบของแนวคิดความรอบรู้ทางสุขภาพ ได้แก่ การเข้าถึงข้อมูล ความรู้ความเข้าใจ ทักษะการส่ือสาร ทักษะ การ ตัดสินใจ ทักษะการจัดการตนเอง และการรเู้ ท่าทันส่ือ (Nutbeam, 2000) มีเนื้อหา 4 โมดูล ได้แก่ รู้ลึกกัญชาทางการแพทย์ วิเคราะห์ทัน เข้าใจ รู้เร่ืองกัญชา ก้าวทันข่าวสารสื่อกัญชาไทย และ ส่ือสารอย่างสร้างสรรค์ รู้ทันเรื่องกัญชา ออกแบบการ เรียนการสอนผา่ นระบบบรหิ ารจดั การการเรียนรู้ Google classroom ผลการทดลองใช้บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” กับนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีท่ี 2 วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี กลุ่มทดลองจานวน 32 คน เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมซ่ึงได้รับเพียงการสอนบรรยายให้ความรู้ท่ัวไปพบว่า นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรอบรทู้ างสุภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ การเข้าถึง ข้อมูล ทักษะการสื่อสารข้อมูล การตัดสินใจ การจัดการตนเอง และการรู้เท่าทันสื่อ ภายหลังจากการใช้ บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” สูงกว่าการทดลองและสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคะแนนเฉล่ียความพึง พอใจต่อการใช้บทเรยี นออนไลน์อยูใ่ นระดับมากท่สี ดุ ผลการศึกษาสะท้อนให้เห็นวา่ บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” สามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพ่ือพัฒนา ความรอบรู้ทางสุขภาพในการใช้กญั ชาทางการแพทย์สาหรบั นักศกึ ษาพยาบาลได้ คาสาคญั : บทเรยี นออนไลน์ ความรอบรทู้ างสุขภาพ กญั ชาทางการแพทย์ นกั ศกึ ษาพยาบาล 1. ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา จากพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) ทาให้สามารถใช้กัญชาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้อย่างถูกกฎหมาย (พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562, 2562) ได้แก่ ภาวะคล่ืนไสอ้ าเจียนจากเคมีบาบดั โรคลมชกั ท่ีรักษายาก และ โรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา ภาวะกล้ามเน้ือหดเกร็งในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง ภาวะปวดประสาทส่วนกลาง ภาวะเบ่ือ อาหารในผู้ปว่ ยเอดส์ท่ีมีนา้ หนักตัวน้อย และการเพ่มิ คณุ ภาพชวี ิตในผปู้ ่วยท่ีได้รบั การดูแลแบบประคับประคอง เนอื่ งจากมีหลักฐาน เชิงประจักษ์ทางวิชาการที่มีคุณภาพและชัดเจน (ปัทมา พลอยสว่าง และคณะ, 2559; นริศา คาแก่น และเจริญ ตรีศักดิ์, 2562; กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2565) แต่บุคคลากรสาธารณสุขยังมคี วามรเู้ ก่ียวกบั การใชก้ ัญชาทางการแพทยน์ ้อย (Zolotov 122

et al., 2021; Mekrungrongwong, 2022; โกวิท สีหาคม และ วิภาวรรณ สีหาคม, 2565) การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยใช้ กัญชาเป็นอีกบทบาทหน่ึงของพยาบาลในการร่วมมือกับสหสาขาวิชาชีพในการดูแลรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสมสอดคล้องกับ ปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย (กรพินทุ์ ปานวิเชยี ร, 2563) โดยเฉพาะการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ป่วยและครบครัว เพื่อการ จัดการทางพยาบาลทีเ่ หมาะสม (มณฑกา ธีรชัยสกุล และคณะ, 2559) มีข้อเสนอแนะให้สถาบนั การศึกษานาองค์ความรู้ เกี่ยวกับกัญชาทางการแพทย์และการดูแลผู้ป่วยที่มีการใช้กัญชาเข้าไปบรรจุไว้ในหลักสูตรการศึกษาพยาบาลเพื่อรองรับ ความต้องการใช้กัญชาทางการแพทย์ที่มีเพิ่มมากขึ้น ( Pereira et al., 2020; Parmelee et al., 2022) ทั้งนี้ หาก สถานศึกษาพยาบาลไม่ได้ดาเนินการในประเด็นน้ี นักศึกษาพยาบาลอาจไดร้ ับข้อมลู จากแหล่งความรู้ท่ีไม่น่าเช่ือทางวิชาการ ซึ่งนับวันจะมีเพิม่ มากขึ้นและเพิ่มความเสี่ยงในการรับเอาข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเหล่านี้ไปใช้และแลกเปลี่ยนกับผู้รับบริการ (Parmelee et al., 2022) ความรอบรู้ทางสุขภาพ เป็นกระบวนการทางปัญญาที่ประกอบไปด้วย ความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพ การเข้าถึง ข้อมูลด้านสุขภาพ ทักษะการส่ือสารข้อมูลด้านสุขภาพ การตัดสินใจ การจัดการตนเอง และการรู้เท่าทันสื่อ (Nutbeam, (2000) เป็นส่ิงจาเป็นจะตอ้ งไดร้ ับการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา เพราะเม่ือบคุ คลมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ จะมีศักยภาพในการดูแล ตนเองได้ รวมท้ังช่วยแนะนาส่ิงที่ถูกต้องให้กับบุคคลใกล้ชิด ครอบครัว ชุมชน และสังคม และส่งผลต่อผลลัพธ์ด้านสุขภาพที่ดี (วชั ราพร เชยสุวรรณ, 2560) รวมทง้ั การพฒั นาความรอบร้ทู างสุขภาพเก่ยี วกบั กัญชาทางการแพทย์สาหรบั นักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาลจงึ ควรพัฒนาความสามารถน้ีให้แกน่ ักศึกษาเพอ่ื เตรียมความพร้อมในการฝกึ ภาคปฏบิ ัติเพื่อให้การดแู ล ผู้ป่วยทต่ี ้องไดร้ ับการรักษาโดยใช้กัญชาทางการแพทย์ท้ังในคลินิกและชุมชน และเพอ่ื ให้สอดคล้องกบั การจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษ ท่ี 21 ซึ่งเป็นยุคท่ีผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและชอบการเรียนรู้จากส่ืออื่นๆ มากกว่าเรียนจากผูส้ อนเพียงอย่างเดียว การเรียนการสอนจึงไม่ไดจ้ ากดั อยแู่ ต่เฉพาะในหอ้ งเรยี นอีกตอ่ ไป ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนออนไลน์หรอื อีเลิร์นนิง (e-learning) ถูกนามาทดแทนการเรยี นในห้องเรยี นแบบปกติเพ่อื สนับสนุนและเพ่ิมช่องทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ไม่จากัดสถานท่ีและเวลา (anywhere anytime learning) การถ่ายทอดและการเรียนรู้เน้ือหาต่างๆ ในลักษณะออนไลน์ โดยที่เนื้อหาและข้อมูลทั้งหมดจะถูกนาเสนอโดยอาศัย เทคโนโลยสี ่ือประสมและเชิงโตต้ อบ (multimedia and interactive technology) ที่ครอบคลุมไปถึงกระบวนการจัดการเรียนการ สอน เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นทางการเรียนรู้ (flexible learning) และสนับสนุนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นสาคัญหรือเป็น ศนู ยก์ ลาง (Learner-centered) การศึกษาน้ี จงึ ไดม้ ีการพฒั นาบทเรียนออนไลน์ “MED CAN”ท่ีมีการออกแบบเน้อื หา เพอื่ พัฒนา ใหน้ ักศกึ ษาพยาบาลมคี วามรอบรใู้ นการใช้กญั ชาทางการแพทยต์ อ่ ไป 2. วตั ถุประสงค์ เพ่อื พฒั นาและศกึ ษาประสทิ ธผิ ลของบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” ต่อความรอบรทู้ างสภุ าพในการใช้กญั ชาทาง การแพทย์สาหรับนักศึกษาพยาบาล 3. กลมุ่ เปา้ หมาย นักศกึ ษาหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต วิทยาลยั พยาบาลพระจอมเกล้าจังหวดั เพชรบุรี ชน้ั ปีท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 จานวน 64 คน 4. กระบวนการพัฒนา 4.1 ข้ันการออกแบบบทเรียน “MED CAN” ตามองค์ประกอบของการเรียนการสอนออนไลน์ (ฐาปนีย์ ธรรมเมธา, 2557) รายละเอยี ด ดงั นี้ 4.1.1 เน้อื หาของบทเรยี น ส่อื การเรยี นการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ จาแนกออกเป็น 4 โมดูล ได้แก่ 1) “รู้ลึกกัญชาทางการแพทย์” ประกอบไปด้วย 2 กิจกรรม คือ การศึกษาจากคลิปวีดิโอ เรื่อง ความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกับกัญชาทางการแพทย์ ความยาว 5 นาที และมอบหมายใหส้ บื คน้ งานวิจยั เก่ยี วกบั การนากัญชามาใช้ในการ รักษาทางการแพทย์ 2) “วิเคราะห์ทัน เข้าใจ รู้เรื่องกัญชา” เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์กัญชาทางการแพทย์จาก สถานการณ์ที่มอบหมาย และร่วมกันแสดงความคิดเห็นในช้ันเรียนออนไลน์ ดังประเด็นต่อไปนี้ รู้สึกอย่างไรกับสถานการณ์ ดงั กล่าว นกั ศกึ ษาเหน็ ด้วยหรือไม่กับวิธีการใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ 123

3) “ก้าวทันข่าวสารสื่อกัญชาไทย” เป็นการวิเคราะห์ข่าว และจับประเด็นสาคัญ ประกอบไป ด้วย ข่าวดังกล่าวเป็น ประโยชน์ หรือ โทษ ของการนากัญชาไปใช้ ถ้าข่าวดังกล่าวเป็นโทษจะแนะนาวิธีการใช้กัญชาทาง การแพทย์ทถ่ี ูกตอ้ งอยา่ งไร 4) “ส่ือสารอย่างสร้างสรรค์ รู้ทันเร่ืองกัญชา” เป็นการศึกษาจากคลิปวีดิโอสาธิตวิธีการส่ือสาร เพอื่ บอกตอ่ การใช้กัญชาทางการแพทย์ใหก้ ับครอบครวั และมอบหมายใหส้ าธติ ย้อนกลบั โดยการจับคู่ และอัดคลิปวิดโี อแสดง บทบาทสมมุติ 4.1.2 ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (LMS: Learning Management System) ใช้ Google classroom ทาหน้าท่เี ป็นศูนย์กลางในการกาหนดลาดบั ของเนอ้ื หาในบทเรียน นาส่งบทเรียนผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ไปยัง ผู้เรียน ประเมินผลความสาเร็จของบทเรียน ควบคุมและสนับสนุนการให้บริการท้ังหมดแก่ผู้เรียน เนื่องจากเป็นเป็นส่วนหนึ่ง ของ Google App for Education ที่มีนโยบายสนับสนุนการศึกษา สถาบันการศึกษาสามารถเปิดใช้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย อีกทั้ง นกั ศกึ ษามีประสบการณแ์ ละคุ้นเคยกบั การเรยี นมาแลว้ ดว้ ย Google classroom 4.1.3 การติดต่อส่ือสาร โดยใช้รูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทาง (Two-way communication) เพ่ือให้ ผู้เรียน ไดส้ ่งงาน ตดิ ต่อ สอบถาม ปรกึ ษาหารอื สะท้อนคิดและแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างผู้เรียนกับผสู้ อน และระหว่างผู้เรียน กับเพื่อนร่วมชั้นเรียนคนอื่นๆ โดยใน Google Classroom จะมีช่องทางสาหรับติดต่อสื่อสารดังกล่าว นอกจากน้ียังใช้จดหมาย อเิ ลคทรอนิกส์ และไลน์กล่มุ เป็นตน้ 4.1.4 การวัดและประเมนิ ผลการเรียน เปน็ การประเมนิ ประเมนิ ผลก่อนและหลังการใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ ซึ่งเป็นแบบสอบถามความรอบรู้ทางสุขภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ และการทาแบบทดสอบ Quiz โดยใช้โปรแกรม Quizizz เม่อื สนิ้ สุดโมดลู 4.2 การตรวจสอบคุณภาพของบทเรียนออนไลน์ เป็นการนาร่างบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” บน Google classroom ส่ือการเรียนการสอนใบงาน คลิปวีดีโอ แบบสอบถามความรอบรู้ทางสุขภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ และ การทาแบบทดสอบ Quiz ผ่านการตรวจสอบเน้ือหาและความเหมาะสมโดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน ปรับปรุงและแก้ไข ตามความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ จากน้ันนาไปทดลองใช้กับนักศึกษาพยาบาลช้ันปีท่ี 2 ท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 2 – 3 คน จากนัน้ นาไปปรับปรงุ แกไ้ ขและจดั ทาเปน็ บทเรียนออนไลนฉ์ บบั สมบรู ณ์ 5. รายละเอยี ดและวิธีการใช้งานนวตั กรรม ศึกษาประสิทธิผลของบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” เป็นการวิจัยก่ึงทดลอง (Quasi-experimental research) แบบ สองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังทดลอง (two – groups pretest – posttest design) ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2566 โดย ศึกษาในนักศึกษาพยาบาล ศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จานวน 64 คน วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้าจังหวัดเพชรบุรี แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 32 คน ที่ได้รับการเรียนรู้ตามบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” และกลุ่มควบคมุ จานวน 32 ที่ได้รับเพียงการ สอนใหค้ วามร้ทู ่วั ไปเกี่ยวกบั กัญชาทางการแพทย์ 1 ครัง้ สาหรับกลุ่มทดลองแบ่งการเรยี นรตู้ ามบทเรียนเปน็ 3 ระยะ ดังน้ี 5.1 ระยะก่อนสอน เป็นการเตรยี มความพรอ้ มของผูเ้ รียนโดยการชี้แจงรายระเอยี ดเกีย่ วกับบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” ผ่าน Google classroom และอธิบายเกี่ยวกับการทากิจกรรมในแต่ละโมดูล รวมท้ังการบันทึกการเข้าเรียนผ่าน QR code และการทาแบบสอบถามความรอบร้ทู างด้านสขุ ภาพเกีย่ วกับกญั ชา (pretest) ผ่าน Google Form 5.2 ระยะสอน ให้กลุ่มทดลองเข้าเรียนตามโปรแกรมของบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” ตามใบงานของแต่ละโมดลู โดยใช้ เวลาโมดลู ละ 1 สปั ดาห์ ซงึ่ ผเู้ รียนสามารถเขา้ มาเรยี นตามกิจกรรมในช่วงเวลาใดกไ็ ด้และสามารถเข้าเรยี นซา้ ไดม้ ากกว่า 1 ครั้ง 124

5.3 ระยะหลังการสอน ภายหลังจากเสร็จสิ้นการเรียนการสอนทั้ง 4 โมดูล ได้ให้นักศึกษาท้ังกลุ่มทดลองและกลมุ่ ควบคมุ ทาแบบสอบถามความรอบรู้ทางดา้ นสุขภาพเกยี่ วกบั กญั ชาทางการแพทย์ (posttest) และแบบประเมินความพงึ พอใจ ในการใช้บทเรยี นออนไลน์ “MED CAN” ซึง่ แบบสอบถามออนไลน์ 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภิปรายผล ผลการทดลองใช้บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” พบว่า นักศึกษาพยาบาลกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉล่ียความรอบรู้ทาง สุภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ ได้แก่ ความรู้ความเขา้ ใจ การเข้าถึงข้อมูล ทักษะการส่ือสารข้อมูล การตัดสนิ ใจ การจัดการตนเอง และการรู้เท่าทันส่อื ภายหลงั จากการใช้บทเรยี นออนไลน์ “MED CAN” สงู กว่าการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคมุ อยา่ งมนี ยั สาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 และคะแนนเฉล่ียความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับผลของโปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่ไฟฟ้าผ่านระบบ ออนไลนไ์ ดน้ าเนือ้ หา ภาพ และข่าวที่เก่ียวกับผลกระทบทางลบของบหุ รไี่ ฟฟ้าตอ่ สขุ ภาพ รวมทงั้ การดูวดิ โี อทกุ วันเปน็ เวลา 1 เดือน ชว่ ย ให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีความรู้เก่ียวกับสารเคมีในบุหร่ีไฟฟ้าและอันตรายของบุหรี่ไฟฟ้าต่อสุขภาพ และกฎหมายเก่ียวกับบุหรี่ไฟฟา้ เพมิ่ ขึน้ (ศริ พิ ร พลู รักษ,์ 2565) เนื่องจากการเรียนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ ช่วยจูงใจใหผ้ ู้เรียนสนใจศึกษาเนอ้ื หาจากบทเรยี น ทงั้ น้ี อาจเป็น เพราะนักศึกษาพยาบาลส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการเรียนออนไลน์ที่ดี (ณิชกานต์ ทรงไทย และคณะ, 2564) บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” นี้ มีเนื้อหา 4 โมดูลซ่ึงได้ออกแบบให้สอดคล้องกับความรอบรู้ทางสุขภาพ (Nutbeam, 2000) ซ่ึงช่วยให้นักศึกษามี ความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับกัญชาทางการแพทย์ ช่วยพัฒนาการเข้าถึงและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกัญชาทาง การแพทย์ ฝกึ ทกั ษะการส่ือสาร การรเู้ ทา่ ทันสื่อ การตดั สนิ ใจใช้ขอ้ มูลด้านสุขภาพ และการสง่ เสริมการจดั การตนเองเกย่ี วกบั ความ รอบรู้ด้านสุขภาพของกญั ชาทางการแพทย์ จึงสง่ ผลใหก้ ลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลย่ี ความรอบรทู้ างดา้ นสขุ ภาพเก่ียวกบั กัญชาทาง การแพทย์สูงกว่าก่อนการทดลองและสงู กว่ากลุ่มควบคมุ บทเรยี นออนไลน์นจี้ ึงเป็นทางเลือกท่ีเหมาะสมในการนาไปใช้ในการ พัฒนาความรอบรู้ทางดา้ นสขุ ภาพเกยี่ วกับกัญชาทางการแพทย์สาหรับนกั ศกึ ษาพยาบาล 7. ข้อเสนอแนะ นาบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” ใชใ้ นการเตรียมความพรอ้ มสาหรับการฝึกภาคปฏิบตั ิท้ังในคลนิ ิกและชมุ ชน เพ่ือ ส่งเสรมิ ความรอบรทู้ างสขุ ภาพในการใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ 8. เอกสารอา้ งอิง กรพินทุ์ ปานวิเชียร. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับพฤติกรรมการใช้กัญชาเพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์. วารสาร วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สพุ รรณบรุ ี, 3(1), 31-42. กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2565). คาแนะนาการใช้กัญชาทางการแพทย์ (ฉบับปรับปรุงคร้ังที่ 5). นนทบุรี: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. โกวิท สีหาคม, และวิภาวรรณ สีหาคม. (2565). ความรู้และเจตคติตอ่ การใช้กัญชาทางการแพทยข์ องเภสัชกรในโรงพยาบาล ชมุ ชนจังหวดั สกลนคร. วารสารวิจยั และพฒั นาระบบสุขภาพ, 15(1), 59-72. ฐาปนีย์ ธรรมเมธา.(2557). อีเลิรน์ นงิ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สหมิตรพร้ิงติงแอนด์พับลิสช่ิง. ณิชกานต์ ทรงไทย, วราภรณ์ ยศทวี, และปฐพร แสงเขียว. (2564). ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเรียนออนไลน์ของ นกั ศึกษาพยาบาล: ภาคเหนือตอนลา่ ง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดติ ถ์, 13(1), 198-209. นรศิ า คาแก่น, และเจริญ ตรศี ักดิ์. (2562). กญั ชาทางการแพทยส์ าหรับมะเร็ง. วารสารราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ์, 1(1), 16-29. ปัทมา พลอยสว่าง, วีรวุฒิ อ่ิมสาราญ, และศุลีพร แสงกระจ่าง. (2559). กัญชา: ประโยชน์ทางการแพทย์และความเป็นพิษ. วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 14(2), 115-123. พระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ.2562. (2562, 18 กุมภาพันธ)์ . ราชกจิ จานุเบกษา, เลม่ 134 ตอนที่ 19 ก หนา้ 1-16. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/019/T_0001.PDF 125

มณฑกา ธีรชัยสกุล, วรรณศิริ นิลเนตร, และอานนท์ วรย่ิงยง. (2559). การสารวจการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลอื กในโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ ปี พ.ศ.2557. วารสารวจิ ยั ระบบสาธารณสขุ , 10(2), 117-127. วัชราพร เชยสุวรรณ. (2560). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ: แนวคิดและการประยุกต์สู่การปฏิบัติการพยาบาล. วารสารแพทย์นาวี, 44(3), 183-197. ศิริพร พูลรักษ์. (2565). ผลของโปรแกรมการเลิกสบู บุหรี่ไฟฟ้าผ่านระบบออนไลน์ท่ีมีต่อความรู้ ทัศนคติ และความต้ังใจเลิก สบู บหุ รขี่ องนกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยเอกชนแหง่ หน่งึ . วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตยี น, 9(1), 20-38. Mekrungrongwong, S., Kitreerawutiwong, N., Keeratisiroj, O., & Jariya, W. (2022). Self-perceived knowledge, attitudes, and training needs regarding medical cannabis among health care providers and health volunteers in district health systems, Phitsanulok Province. BMC Primary Care, 23(1), Article 266. Nutbeam D. (2000). Health Literacy as a public health goal: A challenge for contemporary health education and communication strategies into the 21st century. Health Promotion International, 15(3), 259-267. Parmelee, R. A., & Clark, C. S. (2022). Nursing students’ knowledge, skills, and attitudes regarding medicinal cannabis care. Journal of Nursing Regulation, 13(3), 13-23. https://doi.org/10.1016/S2155- 8256(22)00082-5 Pereira, L., Núñez-Iglesias, M. J., Domínguez-Martís, E. M., López-Ares, D., González-Peteiro, M., & Novío, S. (2020). Nursing students’ knowledge and attitudes regarding medical marijuana: a descriptive cross- sectional study. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(7), Article 2492. https://doi.org/10.3390/ijerph17072492 Zolotov, Y., Metri, S., Calabria, E., & Kogan, M. (2021). Medical cannabis education among healthcare trainees: A scoping review. Complementary Therapies in Medicine, 58, Article 102675. https://doi.org/10.1016/j.ctim.2021.102675 126

นวัตกรรม E-book (หนงั สอื เสยี ง) แนวทางห่างไกลความดันโลหติ สงู ภาษาถ่นิ 4 ภาค กนกพรรณ เกตชุ มภู1*, ณฐั นนั ท์ คณุ พาที1, พชั ราภรณ์ เขม็ เพชร1, วนัสนันท์ สุระสินธุ์1, อารรี ัตน์ เหลา่ จนิ ดา1, วภิ าวนี โคตรสีทา1 และ วันเพญ็ แวววรี คุปต์2 1นักศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม, นครปฐม 2อาจารยค์ ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฎั นครปฐม, นครปฐม *ผูร้ บั ผิดชอบบทความ: [email protected] บทคัดยอ่ นวตั กรรม “E-Book (หนังสือเสียง) แนวทางห่างไกลความดันโลหิตสูง ภาษาถิ่น 4 ภาค” เป็นนวตั กรรมเทคโนโลยี ผสมผสานระหวา่ งสอื่ นำเสนอทีเ่ ป็นรปู ภาพและเสยี ง ในรปู แบบหนังสืออเิ ล็กโทรนกิ ส์ (E-Book) เนื้อหาประกอบด้วยความรู้และ แนวทางปฏิบัติตนเมือ่ เกดิ โรคความดันโลหติ สูง สามารถเลอื กอ่านหรอื ฟังเสยี งภาษาไทยกลาง ไทยอีสาน ไทยใต้ และ ไทยเหนอื ได้ ตามความเหมาะสมหรอื ความชอบของแต่ละบคุ คล วัตถุประสงค์ คอื 1) เพอ่ื พฒั นานวัตกรรม “E-Book (หนงั สอื เสยี ง) แนวทาง ห่างไกลความดนั โลหิตสงู ภาษาถน่ิ 4 ภาค ” และ 2) เพ่ือศกึ ษาความพึงพอใจต่อการใชน้ วตั กรรม กระบวนการพฒั นานวตั กรรม ประกอบดว้ ย 1) การวางแผน 2) การพัฒนา (รา่ ง) E-Book (หนังสอื เสียง) 3) การตรวจสอบความสมบรู ณ์และความถูกต้องของ เนอื้ หาและภาษา และ 4) การพฒั นาปรบั ปรุงจนได้ ต้นแบบ E-Book (หนงั สือเสียง) จากนัน้ นำไปทดลองใชก้ บั กลุ่มตวั อยา่ งทเี่ ปน็ โรคความดันโลหติ สงู ในพน้ื ที่ 4 ภูมิภาค ภมู ิภาคละ 10 คน รวม 40 คน และ ประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ นวตั กรรมดว้ ย แบบสอบถาม พบว่า ผปู้ ว่ ยโรคความดนั โลหติ สูง มีความพึงพอใจตอ่ นวตั กรรมโดยรวมอยใู่ นระดับมากท่ีสุด รอ้ ยละ 77.50 สรุปได้ ว่านวัตกรรมมคี วามเหมาะสมสำหรบั ผู้ใช้งาน จงึ สมควรเผยแพร่ต่อผปู้ ่วยโรคความดันโลหติ สูงตอ่ ไป คำสำคญั : ความดันโลหติ สงู , E-Book (หนงั สอื เสียง), ภาษาถ่นิ 4 ภาค 1.ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา ความดันโลหติ สงู เปน็ โรคไมต่ ดิ ต่อท่ีเป็นปญั หาสาธารณสขุ ทสี่ ำคัญของประเทศ อุบตั กิ ารณ์และความชกุ ของโรคเพ่มิ ขน้ึ ท่วั โลก ประเทศไทยสถานการณโ์ รคความดันโลหติ สงู มีแนวโน้มเพมิ่ ข้นึ อย่างต่อเน่อื งและเปน็ สาเหตทุ ำให้ประชาชนสญู เสยี ชวี ติ จำนวนมาก ปี พ.ศ. 2559–2563 จำนวนผ้ปู ว่ ยเสยี ชีวติ ด้วยโรคความดันโลหิตสงู เพ่มิ ขึน้ จาก 7,930 คน เปน็ 9,303 คน ขณะที่ อัตราผปู้ ว่ ยในโรคความดนั โลหติ สงู ตอ่ ประชากร 100,000 คน จากปี พ.ศ. 2559–2563 เพิ่มจาก 143.02 คน เป็น 154.05 คน ประชากรกลุม่ อายุ 30-79 ปี ปว่ ยโรคความดนั โลหิตสูงเกือบ 1.3 พันล้านคน (กองโรคไมต่ ดิ ต่อ กระทรวงสาธารณสุข, 2563) สถติ ิ เหลา่ นีแ้ สดงใหเ้ ห็นถึงปรมิ าณของผ้ปู ่วยโรคความดันโลหติ ที่มีจำนวนมาก โรคความดนั โลหิตสูงเป็นโรคเรอื้ รงั ท่ีสามารถป้องกันได้ถา้ มีการดูแลตนเองทางดา้ นสขุ ภาพอนามัยได้อยา่ งถูกต้อง กระทรวงสาธารณสุขได้รณรงคใ์ หผ้ ปู้ ่วยปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมเพ่ือควบคุมโรคและปอ้ งกนั การเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคโดยการ รับประทานยาตามแผนการรักษา ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมสุขภาพ และควบคุมปจั จยั เสยี่ งของการเกิดโรค (สมาคมความดันโลหติ สงู แหง่ ประเทศไทย, 2562) แต่ผปู้ ่วยโรคความดนั โลหติ สูงจำนวนมากยงั ไมส่ ามารถควบคมุ โรคได้ ขอ้ มลู จากรายงานการสำรวจ สุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย คร้ังท่ี 6 พ.ศ. 2562-2563 พบว่า ผู้ปว่ ยโรคความดนั โลหติ สูงท่ีควบคมุ ความดันโลหติ ได้มเี พียงรอ้ ยละ 22.6 (วชิ ัย เอกพลากร, หทยั ชนก พรรคเจรญิ และ วราภรณ์ เสถียรนพเกา้ , 2564) ปัญญาสำคญั ประการหน่งึ ใน การควบคมุ โรคไมไ่ ด้ คอื ผูป้ ่วยไมเ่ ขา้ ใจโรคและวิธีปฏิบตั ิตนทถ่ี กู ตอ้ งอยา่ งแทจ้ ริง การใหส้ ุขศกึ ษาและการรณรงคใ์ หค้ วามรู้แก่ ผปู้ ว่ ยมกั เปน็ ภาษาวชิ าการและเปน็ ภาษาทที่ ีมสขุ ภาพใชป้ ระจำ ขณะท่ผี ปู้ ่วยใช้ภาษาถิ่น ภาษาภูมภิ าคทีบ่ างครงั้ มคี วามหมาย แตกต่างกนั และผู้ปว่ ยกเ็ ขา้ ใจตามบรบิ ทของตนเอง เชน่ มอ้ื อาหาร กับ ม่อื ท่ีแปลว่า วนั ในภาษาอสี าน เปน็ ตน้ 127

การพัฒนานวัตกรรม “E-Book (หนงั สอื เสยี ง) แนวทางหา่ งไกลความดันโลหติ สูง ภาษาถิ่น 4 ภาค” เพอื่ เป็นสื่อใหค้ วามรู้ แก่ผู้ป่วย อำนวยความสะดวกใหผ้ ปู้ ่วยได้เรียนรู้ตามบรบิ ทภาษาถนิ่ ของตนเอง จะชว่ ยใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ บั ความรทู้ ี่ถูกตอ้ ง เหมาะสม สำหรบั นำไปปรบั เปล่ียนแบบแผนการดำเนนิ ชวี ิตทสี่ อดคลอ้ งกบั วิธกี ารปฏิบัตติ นท่ีจะทำใหส้ ามารถควบคมุ ระดบั ความดันโลหิตได้ การที่ผู้ปว่ ยสามารถควบคมุ ระดบั ความดนั โลหติ ไดด้ อี ย่างน่อเนื่องจะชว่ ยป้องกนั ภาวะแทรกซ้อนของโรคได้และลดภาระในการดูแล ผู้ปว่ ยหนกั ของโรงพยาบาลตอ่ ไป 2.วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือพฒั นา นวัตกรรม “E-Book (หนังสือเสยี ง) แนวทางหา่ งไกลความดันโลหติ สงู ภาษาถน่ิ 4 ภาค ” 2. เพื่อทดสอบประสิทธิผลของนวตั กรรม “E-Book (หนังสอื เสียง) แนวทางหา่ งไกลความดันโลหิตสูง ภาษาถนิ่ 4 ภาค ” ตอ่ ความพึงพอใจของผู้ปว่ ยโรคความดนั โลหติ สูง 3. กลุม่ เป้าหมาย ผูป้ ่วยโรคความดันโลหติ สูง จำนวน 40 คน (ภาคละ 10 คน) 4. กระบวนการพฒั นามี 4 ขนั้ ตอนประกอบด้วย 4.1 Plan (การวางแผน) 4.1.1 ประชมุ ปรกึ ษาหารอื กับอาจารยป์ ระจำกลมุ่ 4.1.2 ทบทวนวรรณกรรม/เอกสารท่เี กย่ี วข้อง 4.2 Do (การพัฒนา (รา่ ง) E-Book (หนังสือเสยี ง)) 4.2.1 กำหนดหัวขอ้ และเนือ้ หาการใหค้ วามรู้ ออกแบบรปู แบบของนวตั กรรม 4.2.2 ดำเนินการทำนวัตกรรม ตามข้นั ตอนดังน้ี 4.2.2.1 จดั ทำ Infographic ตามที่ได้ออกแบบใน https://www.canva.com 4.2.2.2 เม่ือออกแบบ Infographic เรยี บร้อย นำรูปแบบ Infographic ท่ีจดั ทำ นำมาใส่ในรปู เลม่ E-BOOK 4.2.2.3 ใส่เสยี งหนังสือ E-BOOK ของทั้ง 4 ภาษา (ภาษาเหนอื ภาษากลาง ภาษาอีสาน และภาษาใต)้ 4.2.2.4 บนั ทึกข้อมลู ออกมาเป็นไฟล์ PDF และนำขอ้ มลู บนั ทกึ ในเว็บไชต์ทส่ี ำหรบั สร้าง E-BOOK 4.2.2.5 นำลิงค์ E-BOOK มาทำเป็น QR code โดยใช้เว็บไซต์ https://qrcode.in.th/ ในการแปลง 4.2.2.6 บนั ทึกรปู ภาพ QR code เพ่อื เป็นชอ่ งทางในเขา้ ถึงขอ้ มลู โดยวิธีการแสกน QR code 4.2.2.7 นำ QR code มาทดลองการใช้งานจากน้นั ประมวลผล เพอื่ นำไปใช้ต่อไป 4.3 Check (การตรวจสอบความสมบรู ณแ์ ละความถกู ต้องของเนอื้ หาและภาษา) 4.3.1 ให้อาจารย์ท่ีปรึกษาและพยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ ตรวจสอบความถูกต้องของเน้ือหาและความสมบรู ณ์ของ Infographic คุณภาพของเสียง 4.3.2 ให้เจา้ ของภาษาถ่นิ ซง่ึ เป็นอาสาสมคั รสาธารณสุขตรวจสอบภาษาไทยกลาง ภาษาอสี าน ภาษาใต้ และภาษาเหนือ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของการใช้ภาษา และปรับแกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะ 4.4 Act (การพฒั นาปรับปรุงจนได้ ต้นแบบ E-Book (หนังสือเสยี ง)) 4.3.1 ลกั ษณะของนวตั กรรม เปน็ นวตั กรรมเทคโนโลยีผสมผสานระหวา่ งสื่อนำเสนอทเี่ ปน็ รปู ภาพและเสยี ง ในรปู แบบ หนงั สืออเิ ลก็ โทรนกิ ส์ (E-Book) นวัตกรรมโดยมีรายละเอียดดงั นี้ ลักษณะของนวัตกรรม เป็นหนงั สือทม่ี ีทัง้ อกั ษร ภาพ และ เสยี ง โดยมเี นือ้ หาครอบคลุมเรอ่ื งโรคตวามดันโลหิตสงู และแนวทางการควบคมุ โรค 128

ภาพท่ี 1 E-Book หน้าปก ภาพที่ 2 เน้ือหาใน E-book ภาพที่ 3 เนอ้ื หาใน E-Book ภาพที่ 4 เน้ือหาใน E-Book หมายเหตุ: ลกู ศรสี แดง เสยี งภาคใต้ สเี หลอื ง ภาคเหนอื สเี ขยี ว ภาคอีสาน 129

ภาพที่ 5 QR code 4.3.2 วธิ กี ารใช้ ใหผ้ ู้ปว่ ยสแกน QR code ผา่ นสมารท์ โฟน (Smartphone) หรืออปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์เม่ือเจอหนา้ เวบ็ ไซตส์ ามารถเปดิ และเลอื กฟงั เสียงภาษาถิน่ 4 ภาค โดย สีเขยี ว หมายถึงภาษากลาง สีเหลือง หมายถงึ ภาษาใต้ สีนำ้ เงิน หมายถงึ ภาษาเหนือ และสแี ดง หมายถงึ ภาษาอีสาน 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภปิ รายผล วิธกี ารศกึ ษา การศกึ ษาความพงึ พอใจตอ่ การใชน้ วัตกรรม “E-Book (หนงั สอื เสียง) แนวทางหา่ งไกลความดนั โลหติ สงู ภาษาถนิ่ 4 ภาค” เป็นการวิจยั กึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) แบบกลมุ่ ดยี ววดั ผลหลังทดลอง (one – groups – posttest design) ระหว่างเดอื น เมษายน - พฤษภาคม 2566 โดยศึกษาในกล่มุ ผปู้ ่วยโรคความดันโลหติ สงู ในพื้นที่ 4 ภูมภิ าค คือ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคใต้ และ ภาคเหนอื ภมู ิภาคละ 10 คน รวม 40 คน กลุ่มตวั อย่างคดั เลือกจากความสมคั รใจ โดยมเี กณฑ์ คือ เปน็ ผู้ที่ สามารถใช้โทรศพั ทส์ มาร์ทโฟนเปน็ เปน็ โรคความดันโลหติ สูงซง่ึ เคยได้รบั คำบอกกล่าวจากทมี สุขภาพวา่ เปน็ ผูท้ ค่ี วบคุมโรคไมไ่ ด้ และ เตม็ ใจเขา้ รว่ มโครงการ กลม่ ตัวอย่างไดร้ บั การประสานงานจากผู้วิจยั ทเ่ี ป็นตวั แทนนักศึกษาแตล่ ะภาคและผปู้ กครองของนกั ศึกษา ผู้ปกครองซง่ึ เปน็ ผปู้ ระสานงานไดร้ บั คำแนะนำถงึ วธิ ีการใช้นวัตกรรมจากผวู้ จิ ัยและผปู้ กครองได้ทดลองใช้นวัตกรรมกอ่ นไปสอนวธิ กี ารใช้ให้กับ กลมุ่ ตัวอยา่ ง จากน้ันผปู้ กครองของนักศึกษาท้ังส่ภี าคจะเชญิ ชวนและเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งตามเกณฑ์ และส่ง “E-Book (หนังสอื เสียง) แนวทางห่างไกลความดันโลหิตสงู ภาษาถน่ิ 4 ภาค” ให้กลมุ่ ตัวอยา่ งโดยการสง่ Link E-book ทางไลน์ และสง่ Link Google From ใหต้ อบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจต่อนวัตกรรม ภายหลงั กลมุ่ ตวั อยา่ งไดใ้ ช้นวตั กรรม แบบประเมนิ ความพพึ อใจตอ่ นวัตกรรมเปน็ แบบประเมินทผี่ ้วู ิจยั สร้างขึน้ ผ่านการตรววจสอบจากอาจารย์ทีป่ รกึ ษา จำนวน 1 คน และพยาบาลวชิ าชีพชำนาญ การ จำนวน 2 คน ผลการทดสอบความพงึ พอใจที่ทดลองใชก้ ับผ้ปู ว่ ย เปน็ ดงั ตารางที่ 1 130

ตารางท่ี 1 จำนวนและร้อยละของผปู้ ว่ ยโรคความดันโลหติ สูงที่ทดลองใช้นวตั กรรม (n=40) ลำดับ หวั ข้อการประเมิน มากที่สุด ระดบั การวดั น้อย นอ้ ยทสี่ ดุ (คน) จำนวน(รอ้ ยละ) (คน) (คน) 30 (75.00) มาก ปานกลาง 0 (0.00) 0 (0.00) (คน) (คน) 28 (70.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 1 ช้ินงานมีความนา่ สนใจสามารถดึงดดู ความ 27 (67.50) 10 (25.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 0 (0.00) สนใจได้ 27 (67.50) 0 (0.00) 0 (0.00) 25 (62.50) 0 (0.00) 0 (0.00) 2 ชนิ้ งานพกพาได้สะดวก 30 (75.00) 12 (75.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 29 (72.50) 9 (22.50) 4 (10.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 3 ชิ้นงานเข้าถึงได้ง่าย ไมซ่ บั ซ้อน 11 (27.50) 2 (5.00) 31 (77.50) 14 (35.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 4 ชิ้นงานมคี วามสวยงาม สบายตา 9 (22.50) 1 (2.50) 31 (77.50) 10 (25.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 5 ชิ้นงานสามารถใช้งานได้จรงิ 31 (77.50) 1 (2.50) 0 (0.00) 0 (0.00) 1 (2.50) 6 ชิ้นงานมีเนอ้ื หาเขา้ ใจง่าย 7 ชน้ิ งานมีเสยี งชัดเจน เข้าใจได้งา่ ย 8 หลังใช้งานท่านเข้าใจเรือ่ งโรคและวิธกี าร 7 (17.50) 2 (5.00) ปฏบิ ัติตัวเมอื่ เปน็ โรค 9 ช้ินงานใหแ้ นวทางทีท่ ่านนำไปปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ 9 (22.50) 0 (0.00) 9 (22.50) 0 (0.00) 10 ความพึงพอใจโดยรวม จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผู้ป่วยโรคความดันโลหติ สูงทท่ี ดลองใช้นวัตกรรม มีความพงึ พอใจนวตั กรรมในภาพรวม อยใู่ น ระดบั มากท่สี ดุ ร้อยละ 77.50 และ ความพึงพอใจสูงสดุ 3 อันดบั แรกไดแ้ ก่ 1) ความเขา้ ใจเรื่องโรคและวธิ กี ารปฏบิ ตั ติ วั เมือ่ เป็น โรคหลังใช้งาน และ ช้นิ งานใหแ้ นวทางทที่ า่ นนำไปปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ ทั้งสองขอ้ มีระดับความความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั มากทส่ี ุด รอ้ ย ละ 77.50 เทา่ กนั 2) นวตั กรรมมคี วามดึงดดู และนา่ สนใจและเนอื้ หาเขา้ ใจง่าย มีระดับความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ ร้อยละ 75.00 และ 3) ช้นิ งานมีเสยี งชดั เจน เขา้ ใจไดง้ ่าย มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากทส่ี ุด ร้อยละ 72.50 การอภปิ รายผล ผลการทดลองใช้นวตั กรรมกับกลุม่ ผปู้ ่วยโรคความดันโลหิตสูง พบวา่ ผ้ปู ่วยทง้ั 4 ภาคพงึ พอใจต่อนวตั กรรมอยูใ่ นระดบั สงู เน่อื งจาก มีเนื้อหาท่ีเข้าใจง่าย มเี สยี งชดั เจน Infographic สวยงามสบายตา ดึงดูดความสนใจ เข้าใจเรือ่ งโรคความดนั โลหติ สงู มาก ขึน้ มีประโยชน์ทนี่ ำไปปฏิบตั ิไดจ้ รงิ สามารถนำไปใชใ้ นการปฏิบัตติ ัวได้ถูกตอ้ ง สามารถเช่ือมตอ่ กนั อินเทอร์เนต็ ได้ สะดวกต่อการ ใช้งาน สามารถศึกษาไดท้ กุ ที่ทกุ เวลา จงึ สรปุ ได้ว่า นวตั กรรม E-Book (หนังสอื เสยี ง) แนวทางห่างไกลความดันโลหิตสูง ภาษาถนิ่ 4 ภาค มีประสทิ ธิภาพ จงึ สมควรนำไปใช้กับกลุ่มผู้ปว่ ยโรคความดนั โลหติ สงู ท่มี บี รบิ ทคล้ายคลงึ กับกลมุ่ ตวั อย่างในครั้งน้เี พื่อเปน็ การเพ่ิมพนู ความรู้อันนำไปสู่การเผยแพร่ นวตั กรรมมีจดุ เดน่ คือ ใชภ้ าษาถิ่นทง้ั สี่ภาค สะดวกในการพกพา ผสู้ ูงอายทุ ีส่ ายตาไมด่ ีหรือมองเหน็ ไม่ชดั สามารถฟงั เสยี งได้ ข้อจำกดั คอื สามารถใช้ได้กบั ผทู้ มี่ สี ามร์ทโฟนและมสี ัญญาณอินเทอรเ์ นต ซ่ึงหากมขี ้อจำกดั เหลา่ น้ีสามารถใชห้ นงั สือทเี่ ปน็ ไฟล์ อักษรแทนได้ 7. ข้อเสนอแนะ 1. นำนวตั กรรม E-Book (หนังสือเสยี ง) แนวทางหา่ งไกลความดันโลหติ สูง ภาษาถิน่ 4 ภาค ไปทดสอบประสิทธภิ าพโดย ทดลองใช้ในกลมุ่ ผปู้ ว่ ยท่มี จี ำนวนมากขึน้ 2.ศึกษาเปรยี บเทยี บประสทิ ธิผลของนวตั กรรม E-Book (หนงั สือเสียง) แนวทางหา่ งไกลความดนั โลหติ สงู ภาษาถิ่น 4 ภาค โดยใช้รูปแบบการวิจยั เชิงทดลองที่มีกลุ่มเปรยี บเทยี บ 131

3. เพม่ิ ภาษาของชาตพิ นั ธ์ุท่ีอาจพบในท้องถน่ิ เช่น ภาษามอญ พม่า เกรีย่ ง เพอื่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยชาติพนั ธุ์สามารถเข้าใจเน้อื หาโรค ความดันโลหิตสงู ได้ 8. เอกสารอ้างองิ กองโรคไมต่ ิดต่อ กระทรวงสาธารณสขุ . (2563). ข้อมลู โรคไม่ติดต่อ. ค้นเมือ่ ธันวาคม 1, 2563, จาก http://www.thaincd.com/2016/mission/documents-detail.php?id=13893&tid =32&gid=1-020 วิชัย เอกพลากร, หทัยชนก พรรคเจรญิ และ วราภรณ์ เสถยี รนพเกา้ . (2564). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการ ตรวจร่างกายครงั้ ที่ 6 พ.ศ. 2562-2563. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พิมพอ์ ักษรกราฟฟกิ แอนด์ดไี ซน.์ สมาคมความดนั โลหติ สงู แห่งประเทศไทย. (2562). แนวทางการรกั ษาโรคความดนั โลหิตสงู ในเวชปฏิบัตทิ ั่วไป พ.ศ. 2562. (พิมพค์ รงั้ ท่ี 1). เชียงใหม:่ สาํ นกั พมิ พ์ทริค ธิงค.์ 132

นวัตกรรม E-book (หนงั สือเสียง) หา่ งไกลไขมนั ในเลอื ดสูง กญั ญารตั น์ สาราญวงศ์ 1*, กนกพรรณ เกตชุ มพ1ู , กุลณัฐ โพธปิ ักษ์1, จีรนันท์ อินทร์วิเชียร1, ณฐั นนั ท์ คุณพาท1ี , ธญั ชนก วลั ลา1, จริ าพร บารงุ พืช1, เบญจสริ ิ ปราณตี 1 และ วันเพ็ญ แวววีรคปุ ต์2 1นักศึกษาพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม, นครปฐม 2ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. คณะพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม, นครปฐม *ผรู้ บั ผดิ ชอบบทความ: [email protected] บทคดั ยอ่ นวัตกรรมเร่อื ง E-book (หนงั สือเสยี ง) ห่างไกลไขมันในเลือดสูง มีวัตถุประสงค์ 1) เพือ่ ให้พัฒนานวัตกรรม E-book (หนังสือเสียง) หา่ งไกลไขมันในเลอื ดสูง และ 2) เพ่อื ประเมนิ ประสทิ ธิผลของนวตั กรรม E-book (หนังสอื เสียง) หา่ งไกลไขมนั ในเลอื ดสูง ต่อความรู้เรือ่ งโรคไขมนั ในเลอื ดสงู อาหารเกย่ี วกบั ไขมนั ในเลือดสูง และการออกกาลังกายทา่ มณเี วช กลมุ่ ตัวอยา่ ง เป็นอสม. จานวน 80 คน กระบวนการพัฒนานวตั กรรมประกอบด้วย 4 ขนั้ ตอน คือ plan do check act ผลการทดสอบพบว่า เป็นอสม. จานวน 80 คน สามารถตอบคาถามเกี่ยวกับเร่ืองไขมันในเลอื ดสูงได้ถูกตอ้ งจานวน 10 ข้อ ร้อยละ 100 เร่ืองอาหาร ท่ีเหมาะสมเกี่ยวกบั โรคไขมันในเลอื ดสงู ได้ถูกตอ้ งจานวน 10 ข้อ ร้อยละ 100 และการออกกาลังกายทา่ มณีเวชไดไ้ ด้ถกู ตอ้ ง คาสาคญั : โรคไขมันในเลือดสงู หนงั สอื E-book อสม. 133

1.ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา ภาวะไขมันในเลือดสงู (dyslipidemia) นบั ว่าเปน็ ปญั หาสุขภาพท่ีสาคัญ เน่ืองจากเปน็ ปจั จัยเสย่ี งหลกั ที่นาไปสู่ การเกดิ โรคหัวใจและหลอดเลือด โดยเม่ือรา่ งกายมไี ขมันในเลอื ดสูงมากเกินไป ไขมนั จะไปเกาะทีผ่ นังดา้ นในของหลอดเลอื ด ทาให้เกิดการอักเสบและภาวะหลอดเลอื ดแดงแข็ง เมื่อสะสมเพิ่มมากขนึ้ หลอดเลอื ดแดงจะมีการตีบหรอื อุดตนั สง่ ผลให้ เลอื ดไปเลยี้ งหัวใจไมพ่ อ เกิดโรคหวั ใจขาดเลือด กล้ามเนอื้ หวั ใจตาย เสียชีวติ หรอื อาจทาให้เลอื ดไปเลี้ยงสมองไมเ่ พียงพอ เกดิ เป็นอมั พฤกษ์ อัมพาต ส่งผลให้มีค่าใชจ้ ่ายในการดแู ลรกั ษาสงู จากขอ้ มลู การสารวจชมุ ชนหมู่ที่ 5 หมู่บ้านรางแขม ตาบลทุ่งขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวดั นครปฐม 40 หลังคา เรือน จานวนประชากร 175 คน พบผทู้ ปี่ ่วยเปน็ โรคไขมันในเลือดสูง จานวน 14 คน ร้อยละ35 ซงึ่ เกดิ จากการมีพฤติกรรมการ รบั ประทานอาหารทไี่ ม่เหมาะสม และ ไมม่ คี วามรูใ้ นโรคทตี่ นเองกาลังเป็นอยู่ คณะผจู้ ัดทาจึงไดค้ ดิ คน้ นวัตกรรม “E-book (หนังสอื เสียง) หา่ งไกลไขมนั ในเลอื ดสูง” เพอ่ื บง่ บอกปัจจยั เส่ียงเปน็ โรคไขมนั ในเลือดการปฏิบัติตัวของผู้ทม่ี ีไขมนั ในเลอื ดสงู ปัจจัยเสี่ยง สาเหตุการเกดิ โรค ค่าระดับไขมันในเลอื ด อาหารท่ีเหมาะสม ยาลดระดับไขมันในเลือด และการออกกาลังกายลด ไขมนั ในเลอื ดสูง 2. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้พฒั นานวตั กรรม E-book (หนงั สอื เสียง) หา่ งไกลไขมันในเลือดสูง 2. เพ่อื ประเมนิ ประสิทธิผลของนวัตกรรม E-book (หนังสือเสียง) หา่ งไกลไขมันในเลือดสงู ตอ่ ความร้เู รอ่ื งโรคไขมัน ในเลือดสูง อาหารเกย่ี วกับไขมนั ในเลือดสูง และการออกกาลงั กายทา่ มณีเวช 3. กลมุ่ เป้าหมาย อสม. ตาบลทุง่ ขวาง อาเภอกาแพงแสน จงั หวัดนครปฐม จานวน 80 คน 4. กระบวนการพฒั นา (ตามขน้ั ตอน plan do check act) 4.1.Plan 1. ประชมุ ปรึกษาหารอื กับอาจารยป์ ระจากลมุ่ และสารวจจานวนโรคทเี่ จอใน หมู่ที่ 5 หมู่บา้ นรางแขม ตาบลทุง่ ขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวดั นครปฐม 2. ทบทวนวรรณกรรม/เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง พบวา่ มีผ้ปู ว่ ยท่เี ป็นโรคไขมันในเลือดสูงเป็นจานวนมากในหมู่ท่ี 5 หม่บู ้านรางแขม ตาบลทงุ่ ขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม จานวนหลายราย ซึง่ ส่วนใหญ่อย่ใู นชว่ งอายุตง้ั แต่ 60 ปี ข้ึนไป และมีการดูแลตัวเองอยา่ งไมถ่ กู วธิ ี 4.2.Do 1. เรม่ิ ออกเเบบรูปเเบบของนวัตกรรม กาหนดหัวขอ้ และเนื้อหาการใหค้ วามรู้ 2. ดาเนินการทานวัตกรรม ตามขั้นตอนดงั นี้ 2.1 จดั ทา Infographic ตามทไ่ี ด้ออกแบบใน https://www.canva.com 2.2 เมือ่ ออกแบบ Infographic เรียบร้อย บันทึกขอ้ มลู ออกมาเป็นไฟล์ PDF และนาขอ้ มลู บนั ทึกในเวบ็ ไซดท์ ส่ี าหรับ สรา้ ง E-BOOK 134

2.3 นาล้ิงค์ E-BOOK มาทาเป็น GR code โดยใชเ้ วบ็ ไซตh์ ttps://qrcode.in.th/ ในการแปลง 2.4 บนั ทกึ รูปภาพ QR code จากนนั้ นามาปริ้นเป็นแผน่ กระดาษ เพือ่ เป็นชอ่ งทางในเขา้ ถึงขอ้ มูล โดยวธิ ีการแสกน QR code 2.5 นา QR code มาทดลองการใชง้ านจากนั้นประมวลผล เพอื่ นาไปใช้ต่อไป 4.3.Check 1. นานวัตกรรมมาให้อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาตรวจสอบความถกู ต้องและความสมบรู ณ์ของ infographic และคณุ ภาพของ เสยี ง 2. นานวัตกรรมไปให้พยาบาลวชิ าชีพประจารพ.สต.ตรวจสอบเนอื้ หาและปรับแกไ้ ขตามข้อเสนอแนะ 3. จนได้รายละเอยี ดของนวตั กรรมดังน้ี การปฏบิ ตั ิตวั ของผู้ทีม่ ไี ขมันในเลือดสูง ปจั จัยเส่ียง สาเหตุการเกิดโรค ค่า ระดบั ไขมันในเลือดสงู อาหารท่ีเหมาะสม ยาลดระดับไขมนั ในเลอื ดสูง และการออกกาลงั กายลดไขมนั ในเลอื ดสูง 4. วธิ กี ารใชน้ วตั กรรมใหอ้ สม. สแกน QR code ผา่ นสมารท์ โฟน (Smartphone) หรืออุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ สเ์ มื่อ เจอหนา้ เว็บไซตส์ ามารถเปิดและเลอื กฟงั เสยี ง ผลการทดสอบความพงึ พอใจ ได้ดังน้ี (ผลการทดสอบ) 4.4.Act 1. นาหนงั สือไปทดลองใช้กับกลมุ่ เปา้ หมาย โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 2. เลอื กกลุ่มอสม. ตาบลท่งุ ขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ตามความสมคั รใจ 2.1 แบบประเมินความพงึ พอใจต่อนวตั กรรม ใช้แบบประเมนิ ความพึงพอใจทท่ี ีมพฒั นานวตั กรรมสรา้ งขนึ้ ตาม รายวชิ าปฏบิ ตั กิ ารชุมชน1 ผลการทดสอบความพึงพอใจ ภาพที่ 1 E-BOOK ภาพที่ 2 เนื้อหาใน E-book 135

ภาพที่ 3 เนอื้ หาใน E-book ภาพที่ 4 เน้อื หาใน E-book ภาพที่ 5 เน้อื หาใน E-book ภาพท่ี 6 QR code 136

ผลการประเมนิ ความรเู้ กี่ยวกบั โรคไขมนั ในเลอื ดสงู 1. ผ้เู ข้าร่วมโครงการเปน็ อสม. จานวน 80 คน สามารถตอบคาถามเกี่ยวกับเรอื่ งไขมนั ในเลือดสูงได้ถกู ต้องจานวน 10 ข้อ รอ้ ยละ 100 2. ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นอสม. จานวน 80 คน สามารถบอกความรู้เรอื่ งอาหารท่ีเหมาะสมเก่ยี วกับโรคไขมนั ในเลอื ด สูงได้ถูกต้องจานวน 10 ขอ้ รอ้ ยละ 100 3. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการเป็นอสม. จานวน 80 คน สามารถสาธติ ยอ้ นกลบั การออกกาลังกายท่ามณเี วชได้ได้ถูกตอ้ ง 1. ดเู น้ือหาใน E-book 2. E-book มี infographic และเสียงทน่ี ่าสนใจ เข้าใจง่ายขน้ึ ร้อยละ 100 6. ผลการทดลองใช้นวัตกรรมและการอภิปรายผล ผลการทดสอบนวตั กรรมพบว่า อสม.มคี วามรู้เรือ่ งโรค อาหาร และสาธิตทา่ ออกกาลงั กายมณีเวช ได้ถูกต้อง สอดคลอ้ งกับการศึกษาของ สุพจนา แซ่แต้ และณัฐกฤตา ศิริโสภณ (2564) ทพี่ บว่า การสอนโปรแกรมสขุ ศึกษาเพอื่ สร้าง แรงจูงใจในการควบคุมโรคไขมันในเลือดสูงทาให้ผู้เขา้ ร่วมโครงการมพี ฤติกรรมการปฏบิ ตั ติ ัวของผูท้ ี่มไี ขมนั ในเลือดสูง อธิบาย ได้ว่า E-book มีเนื้อหาที่ครอบคลมุ และครบถว้ นตามความรทู้ ี่แนะนาโดยกรมการเเพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ซงึ่ เปน็ ภาษา วิชาการ แต่ E-book เลม่ น้ีเปลี่ยนเปน็ ภาษาเข้าใจไดง้ ่ายและใช้เสียงแนะนาเปน็ ภาษาลาวเวียงซ่ึงเป็นภาษาพนื้ ถนิ่ ของ อสม. ทาให้ อสม. มีความเขา้ ใจเก่ียวกับโรคและการปฏิบัติตัวตามท่ี E-book มากขน้ึ ประกอบกับ อสม. ทีเ่ ป็นผ้สู ูงอายุ สามารถฟงั เสยี งจาก E-book ไดท้ ุกท่ี ทสี่ ามารถเชอื่ มตอ่ กับอินเตอร์เน็ตได้ โดยที่ อสม. ผ่านการอบรมการใชง้ านโปรแกรม สมาร์ทอสม. มาแล้ว จงึ ง่ายและสะดวกในการใชน้ วตั กรรม E-book น้ี และ E-book เลม่ นี้ มีรูปภาพและ infographic ที่ดึงดดู ความสนใจ จงึ สรปุ ได้วา่ นวัตกรรม E-book (หนงั สือเสียง) ห่างไกลไขมันในเลือดสูง มีประสิทธิภาพ จึงสมควรนาไปใชก้ บั อสม. กลมุ่ อนื่ ท่ี มบี ริบทคลา้ ยคลึงกับกลุม่ ตัวอย่างในคร้ังนี้ เพื่อเป็นการเพิม่ พนู ความรู้ อันนาไปส่กู ารเผยแพร่แก่ประชาชนที่ อสม. รบั ผดิ ชอบ ดแู ลต่อไป 7. ข้อเสนอแนะ 1. ศกึ ษาวิจัยกึง่ ทดลอง เก่ียวกบั ประสทิ ธิผลของนวัตกรรม โดยมีกลมุ่ ทดลองและกลุม่ เปรยี บเทียบ 2. มกี ารเพ่ิมตัวอยา่ งและรูปภาพของอาหารไขมันสูงทีพ่ บบอ่ ยในชีวติ ประจาวนั 3. เพมิ่ ภาษาตา่ งชาตทิ พ่ี บบอ่ ยในชมุ ชน เชน่ ภาษาพมา่ ภาษามอญ เพ่ือให้อสม. สามารถนาไปสอ่ื สารกับผูป้ ่วยชาติ พนั ธ์ในชมุ ชนได้ 8. เอกสารอา้ งองิ [1] โรงพยาบาลศิริราช ปยิ มหาราชการุณย์ . (2566). คุมอาหารแบบไหน ลดไขมันในเลือดสูง. สืบคน้ จาก https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/food-for-dyslipidemia . [2] อาจารย์ ดร.ภก. ศุภทตั ชมุ นุมวัฒน์ ภาควชิ าเภสชั กรรม คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล (2559) . ไขมนั ในเลือดสูงกับโรคหลอดเลือด.สบื ค้นจาก https://pharmacy.mahidol.ac.th . [3] กรมการเเพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.(2564). รู้จักไขมันหา่ งไกลโรคหัวใจแลหลอดเลือด. สบื ค้นจาก https://www.thaihealth.or.th. 137

[4] สุพจนา แซแ่ ต้ และ พ.ต.หญิง ณัฐกฤตา ศริ โิ สภณ (2564).ประสิทธผิ ลของโปรแกรมส่งเสริมสขุ ภาพโดยประยกุ ตท์ ฤษฎี แรงจงู ใจเพื่อป้องกันโรคในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของพนกั งานทมี่ ีไขมันในเลือดสงู โรงพยาบาลวภิ าวดี กรุงเทพมหานคร. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/trcnj/article/view/250321/177674 138

แอปพลิเคชันใหความรกู ลมุ โรคไมต ิดตอเรือ้ รัง นายพชร นาคยา1, นายปฐม ฤทธเิ ดช1, นายยรรยง บุงทอง1, นายสุรวุฒิ กลางประพันธ1, นางสาวรนิ รดา จรสัมฤทธ1ิ์ , นางสาววนสั นันท สุระสนิ ธ1ุ , นางสาววราลักษณ โยชนด ว ง1, วรยิ า จนั ทรขำ2 พนติ นันท แซลิ้ม3 , กติ ิกร พรมา2* 1นกั ศึกษาพยาบาลช้ันปท ี่ 2 คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม 2ภาควชิ าการพยาบาลสขุ ภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม 3ภาควิชาการพยาบาลชมุ ชน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม *[email protected] บทคดั ยอ “แอปพลิเคชันใหความรูกลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง” เปนการพัฒนานวัตกรรมในรายวิชาฝกปฏิบัติการพยาบาลชุมชน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม เพื่อใหความรูประชาชนในชุมชนและแกปญหาเรื่องของมีพฤตกิ รรมเส่ียง ตางๆที่เปนปจจัยสงผลตอการเกิดโรคไมติดตอเรื่อรังซึ่งมีอัตราผูปวยและเสียชีวิตเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องในชุมชน หลังจาก อาจารยผูสอนและอาจารยนเิ ทศในรายวิชาไดนำนโยบายของคณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม ในเร่ืองของ การสนับสนุนใหนักศึกษาไดเปน ผนู ำริเริ่มความคดิ สรา งสรรคและนวัตกรรมทางสขุ ภาพ เพื่อสงเสริมสขุ ภาพคนในชุมชนใหมี คุณภาพชีวติ ที่ดีขึ้น มีความรอบรูทางสขุ ภาพ โดยอาศัยหลักการคิดขัน้ ตอนการทำงานออกเปน 4 ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอนที่ 1 (Plan ) การวางแผน ข้นั ตอนที่ 2 (Do ) การปฏิบัตติ ามแผน ข้นั ตอนที3่ (Check ) การตรวจสอบผลการปฏบิ ัติงาน ข้ันตอนที่ 4 (Action ) การแกปญ หา ซึง่ เปน การทดสอบแอปพลเิ คชนั กบั กลมุ เปาหมาย คือผูสงู อายใุ นชุมชน ตำบลสระกะเทียม อำเภอ เมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม จำนวน 40 คน ผลการใชน วัตกรรม “แอปพลิเคชนั ใหความรูกลมุ โรคไมต ดิ ตอ เรอ้ื รงั ” พบวา มีความพงึ พอใจโดยรวมในระดบั มากทสี่ ดุ รอ ยละ 80 ระดบั มาก รอ ยละ 15 และระดับปานกลาง รอยละ 5 ตามลำดับ ขอเสนอแนะ: พัฒนาแอปพลิเคชันที่ใหความรูเรื่องอาหารที่เหมาะสมกับโรค วิเคราะหผลความผิดปกตขิ องผูปวยได และการนำผลการวเิ คราะหเชอ่ื มตอกับการโทรแจง สายดวนฉุกเฉิน รวมไปถงึ การตอยอดนวตั กรรมไปสงู านวิจัยตอไป คำสำคญั : นวตั กรรม แอปพลิเคชนั ความรู กลุม โรคไมต ดิ ตอเร้อื รัง 139

Application HDS Phachara Nakya1, Patom Rittidet1, Yanyong Bungthong1, Surawut Klangprapan1, Rinrada Chonsamrit1, Wanutsanan Surasin1, Waralak Yotduang1, Wariya Chankham2, Panittanan Sealim3, and Kitikorn Pornma2* 12th year nursing student, Faculty of Nursing Nakhon Pathom Rajabhat University 2Department of Mental Health and Psychiatric Nursing, Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University 3Department of Mental Health and Psychiatric Nursing, Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University *[email protected] Abstract “Application HDS” is an innovation development in the community nursing practice course, Faculty of Nursing. Nakhon Pathom Rajabhat University To educate the people in the community and solve the problem of risky behaviors that are factors that affect the occurrence of chronic non-communicable diseases, which have continually increased morbidity and mortality rates in the community. After instructors and supervisors in the course have adopted the policy of the Faculty of Nursing. Nakhon Pathom Rajabhat University In terms of supporting students to be leaders in creativity and innovation in health. To promote the health of people in the community for a better quality of life. knowledgeable about health. By using the principle of thinking the work process is divided into 4 steps, namely, step 1 (Plan), planning, step 2 (Do), implementation of the plan, step 3 (Check), performance check, step 4th (Action) Problem solving, which is testing the application with the target group. is the elderly in the community Sakathiam Subdistrict Mueang Nakhon Pathom District Nakhon Pathom Province, 40 people The innovation results \" Application HDS\" found that the overall satisfaction was at the highest level of 80 %, high level 15 % and moderate level 5 %, respectively. Suggestion: Develop an application that provides knowledge about appropriate food for the disease. Able to analyze abnormal results of patients and connecting the results of the analysis to a call to the emergency hotline Including the extension of innovation to further research. Keywords: Innovation, Application, Knowledge, Non-communicable disease group 140

1. บทนำ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ไดมีการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติในรายวิชาปฏิบัติการ พยาบาลชุมชน1 ใหแกนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562) ชั้นปที่ 2 แหลงฝกที่นักศึกษา พยาบาลฝกปฏิบัติอยูเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลสระกระเทียม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เปน หนวยงานที่ใหบริการดานสารณสุข ซึ่งเปนสถานพยาบาลประจำตำบล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือบางพื้นที่เปนความ รับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่มีขีดความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary care) เปนการยกฐานะจากสถานี อนามัยหรือศูนยสุขภาพชุมชน ตามนโยบายของรัฐบาล เพ่ือใหเปนหนวยบริการดานหนา (gate keeper) ของระบบบริการ สขุ ภาพโดยเฉพาะในการควบคมุ ปองกนั โรคเรอื้ รัง ตอ มากระทรวงสาธารณสขุ ไดมกี ารปรับเพ่ิมภาระงานเพ่ือใหทำหนาที่เปน หนวยบริการดูแลตอเนื่องและการดูแลระยะยาวในชุมชน เนื่องจากเปนหนวยบริการฐานรากทีใกลชิดประชาชนในสวน ภูมิภาคมากทีสุด โดยโรงพยาบาลสงเสริมตำบลถูกคาดหวังใหดำเนินบทบาทของหนวยบริการปฐมภูมิ 3 ประการ คือ 1. ดำเนินการเชิงรกุ เพ่อื มุงเขาหาประชาชนและชมุ ชนเปนการสรางสขุ ภาพเปน หลักและจัดการกบั ปจจยั เสย่ี งท่เี ปน ตนเหตุปญหา สุขภาพ 2.ใหบริการอยางตอเนื่องโดยตองสามารถใหคำปรึกษาและสงตอผูปวยไดตลอดเวลาโดยมีการปรึกษาทีมแพทยใน โรงพยาบาลพี่เลี้ยงหากมีกรณีฉุกเฉินใหมีระบบแพทยฉุกเฉินออกไปรับผูปวยและใหการปฐมพยาบาลกอนสงตอ 3.ติดตอ เชื่อมโยงกับระบบบริการสุขภาพระดับอื่นในการดูแลผูปวยอยางมีประสิทธิภาพและเนนการมีสวนรวมของประชาชนเพราะ เปา ประสงคข องการดำเนินงานโรงพยาบาลสงเสริมตำบลคือการเนน สรา งสุขภาพมากกวา การซอ ม [1] ตอ งเนนการมสี ว นรว ม ของสมาชิกในชุมชนโดยเฉพาะการปรับพฤติกรรม การเปนหนวยบริการสาธารณสุขในระดับตำบลหรือโรงพยาบาลสงเสริม ตำบลจงึ ถกู กำหนดใหม ีภาระหนา ท่ี ที่สำคญั 5 ดา น คอื 1.การสง เสริมสุขภาพ จะตอ งมีการสำรวจความตอ งการของประชาชน และจัดโครงการใหตรงตามความตองการ รวมถึงการจัดกิจกรรมรณรงคการสงเสริมสุขภาพดานตางๆ 2.การรักษาพยาบาล จะตองมกี ารเสนออัตรากำลังบคุ คลากรทโ่ี รงพยาบาลสงเสริมตำบลยงั ขาดแคลน รวมถึงการของบประมาณเพ่อื จัดสรางอาคาร และจัดซอ้ื วสั ดุครภุ ณั ฑท่ีจำเปนใหเพยี งพอตอ การใหบริการ 3.การควบคมุ ปองกนั โรค โรงพยาบาลสงเสริมตำบลจะตองมีการ ประสานงานระหวางภาคสว นตา งๆอยางมีประสิทธภิ าพ โดยการนำเทคโนโลยีมาใชใ นการแจงขาวประสานงานใหไ ดรับขอมูล ไดอยางรวดเรว็ ขน้ึ 4.การฟนฟูสภาพ มีการจดั อบรมเพม่ิ ศกั ยภาพภาคเี ครอื ขายใหมีขีดความสามารถเพ่ือการฟนฟู ดูแลผูปวย ไดครอบคลุมและมีคุณภาพมากขึ้น 5.การคุมครองผูบริโภคดานสาธารณสุข มีการจัดอบรมเครือขายคุมครองผูบริโภค เชน กลุมอสม. กลุมอย.นอย ผูนำชุมชน กลุมแมบาน เจาหนาที่มีความรูความเขาใจ ใหสามารถตรวจสอบผลิตภัณฑได ใหทั่วถึง และครอบคลุมมากเพื่อใหไดขอ มลู ที่เปนจริงสามารถไดนำมาจัดการไดถูกทาง รวมไปถึงมีการสำรวจรานคา ชมุ ชนเพื่อตรวจดู ผลติ ภัณฑใ หม คี ุณภาพไดม าตรฐาน [2] 2. ขอมลู ทว่ั ไป จากการเก็บรวบรวมขอมูลชุมชน ทั้งจากการสัมภาษณรวมกับแบบสอบถาม การสังเกตคนชุมชน และการทบทวน รายงานการศึกษา ชุมชนตำบลสระกระเทียม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีลักษณะพื้นที่โดยรวเปนที่ราบลุม มี แหลง น้ำธรรมชาติ คลองสาธารณะ คลองชลประทานและคลองสงน้ำเลก็ ๆทัง้ ทีเ่ กิดขึ้นเองตามธรรมชาติและท้งั ท่ีขุดขน้ึ เองโดย หนวยงานของภาครัฐ เพื่อน้ำไปใชในการอุปโภคและการเกษตร อาชีพของคนในชุมชนสวนใหญรอยละ 95 ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ไดแก การทำไร ทำนา และสวนผลไม มีเพียงสวนนอย รอยละ 5 ที่ประกอบอาชีพสวนตัวและรับจาง ใช ภาษากลางในการสื่อสาร สวนขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรมไมไดแตกตางจากชุมชนอื่นๆที่อยูอำเมืองนครปฐม [3] สอดคลอ งจากขอ มูลการสัมภาษณข องคนในพ้ืนท่ีวา ในอดีตพืน้ ทบ่ี ริเวณนีเ้ ปนสระน้ำหรอื บอ น้ำ ทำใหค นที่เล้ียงวัวจากชุมชน อื่น แวะเวยี นกันพาวัวมาด่มื น้ำอยูเ สมอ และเน่ืองจากบริเวณแหลงน้ำละแวกน้ี มีตน แหวทรงกะเทยี มขึ้นเปนจำนวนมาก เม่ือ สอบถามกันปากตอ ปากวา พาวัวไปไหน คนละแวกนกี้ ม็ ักจะบอกวาใหเ ดินไปตรงบรเิ วณสระทม่ี ีตนกะเทียม จนเรียกเพ้ียนรวบ คำมาเปน “สระกะเทยี ม” ตอ มาเรม่ิ มคี นลงหลกั ปก ฐานอาศัยอยูเพม่ิ ข้ึน พน้ื ที่บริเวณนี้จงึ กลายมาเปน ชมุ ชนสระกะเทียม ใน 141

ปจจุบัน ในดานสาธารณสุขมีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลสระกระเทียม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ที่ รับผิดชอบในการดูแลสงเสริมสุขภาพประชาชนในตำบลสระกระเทียม ซึ่งในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลชุมชน1 มีการนำ นักศึกษาพยาบาลช้ันปที่ 2 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562) เพื่อฝกภาคปฏิบัติในรายวิชา ซึ่งหนึง่ ในกระบวนการฝกปฏิบัติของนักศึกษาในรายวิชานี้ คือกระบวนการสำรวจและสงเสริมสุขภาพคนในชุมชนซึ่งสอดคลองกับ บริบทของโรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตำบลสระกระเทยี ม ในการใหบริการสาธารณสขุ โดยเปน การบริการดานการแพทยและ สาธารณสุขซึ่งใหโดยตรงกับคนในชุมชนเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และการฟน ฟูสมรรถภาพท่ีจำเปนตอสุขภาพและการดำรงชีวิต [4] ในการสงเสริมสุขภาพ จะตองมีการสำรวจความตองการ ของประชาชนและจัดโครงการใหต รงตามความตองการ รวมถึงการจดั กจิ กรรมรณรงคการสงเสริมสขุ ภาพ [2] จากการสำรวจ ขอมูลภาวะสุขภาพที่เกี่ยวกับโรคประจำตัว พบวาสวนใหญเจ็บปวยดวยโรคไมติดตอเรื้อรัง ซึ่งมากที่สุด 3 ลำดับแรกคือ โรค ความดันโลหิตสงู รอ ยละ 20.13 โรคเบาหวาน รอ ยละ 12.08 และโรคไขมนั ในเลอื ดสงู รอยละ 2.68 ตามลำดับ จากขอมลู ผล การสำรวจน้ีรวมกับการใชหลักคิดขั้นตอนการทำงาน PDCA จึงไดออกแบบนวัตกรรม “แอปพลิเคชันใหความรูกลุมโรคไม ติดตอเร้ือรงั ” ซงึ่ เปน การพฒั นานวัตกรรม เพ่อื ใหความรูคนในชุมชนและแกปญหาเร่ืองของมพี ฤติกรรมเสยี่ งตางๆที่เปนปจจัย สงผลตอ การเกดิ โรคไมต ดิ ตอเรอื่ รงั ซงึ่ มอี ตั ราผปู วยและเสยี ชวี ิตเพมิ่ สูงขน้ึ อยางตอ เน่ืองในชมุ ชน 3. วตั ถุประสงคก ารศกึ ษานี้ มีวัตถปุ ระสงค ดงั นี้ 2.1 เพ่ือพฒั นานวตั กรรม แอปพลเิ คชนั ใหค วามรกู ลมุ โรคไมต ดิ ตอเรื้อรังใสนชมุ ชน 2.2 เพอื่ ศึกษาผลการทดลองใชน วัตกรรม แอปพลิเคชันใหค วามรกู ลมุ โรคไมตดิ ตอ เรอ้ื รงั ในชมุ ชน 4. กลมุ เปาหมาย 4.1 ผสู งู อายใุ นชมุ ชน ตำบลสระกะเทยี ม อำเภอเมืองนครปฐม จงั หวดั นครปฐม จำนวน 40 คน 5. กระบวนการพัฒนา แอปพลเิ คชันใหความรกู ลมุ โรคไมตดิ ตอ เรื้อรงั ในชมุ ชน (Application HDS) เปนการพัฒนานวตั กรรมเพ่ือใหความรู และแกปญหาพฤตกิ รรมเสี่ยงที่เปนปจจัยสงผลตอการเกิดโรคไมติดตอเรื่อรัง โดยอาศัยหลักคิดขั้นตอนการทำงาน PDCA ซึ่ง เปนกระบวนการคิด สรางสรรคงานนวัตกรรมอยางเปนระบบเพื่อแกปญหาผานนวัตกรรมหรอื บรกิ ารใหมๆที่ไดค ิดคน ข้ึนจาก การทำความเขาใจปญหา โดยใหผูใชงานหรือผรู ับบริการเปนศูนยกลางและนำเอาขอมูลที่ไดรับมาระดมความคิดจากมุมมอง และแหลงขอมูลตางๆ เพื่อนำมาสรางแนวคิดและดำเนินการพัฒนาเพื่อใหไดนวัตกรรมที่ตอบโจทยกับผูใชงานรวมไปถึง สอดคลองกบั สถานการณ 4 ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอนที่ 1 (Plan ) การวางแผน ข้ันตอนท่ี 2 (Do ) การปฏิบัติตามแผน ข้ันตอน ท่ี3 (Check ) การตรวจสอบผลการปฏบิ ัติงาน ขนั้ ตอนท่ี 4 (Action ) การแกป ญหา [6] 5.1 Plan ขั้นตอนการวางแผน (Planning) เปนการกำหนดเปาหมายในการดำเนินงานวิธีการและขั้นตอนที่จำเปนเพื่อใหก าร ดำเนินงานบรรลุเปาหมาย ซึ่งการวางแผนจะตองทำความเขาใจกับเปาหมายใหชัดเจน โดยตองเปนไปตามนโยบาย เพื่อ กอใหเกิดการพัฒนาที่เปนไปในแนวทางเดียวกันทั่วทั้งองคกร การวางแผนในบางครั้งอาจจำเปนตองกำหนดมาตรฐานของ วิธีการทำงานหรือเกณฑมาตรฐานตางๆ ไปพรอมกันดวยขอกกำหนดที่เปนมาตรฐานนี้จะชวยใหการวางแผนมีความสมบูรณ ยิ่งขึ้น เพราะใชเปนเกณฑในการตรวจสอบการปฏิบัติงานใหเปนไปตามมาตรฐานที่ไดระบุไวในแผน การวางแผนจึงเปน กิจกรรมทตี่ องใหค วามสำคัญ ซ่งึ จะตองรวมถงึ การพิจารณาเก่ียวกบั สง่ิ อำนวยความสะดวกตา งๆ ทม่ี อี ยู อาทิ ทรัพยากรมนุษย บุคลากร และงบประมาณ โดยจะตองมั่นใจวาองคประกอบตางๆ เหลานี้มีการอยูรวมกันอยางลงตัว ดังนั้น การออกแบบ นวัตกรรมแอปพลิเคชันใหความรูกลุมโรคไมติดตอเรื้อรังในชุมชน (Application HDS) เพื่อแกปญหาเรื่องของความรูและ 142