4. กระบวนการพฒั นา (ตามข้นั ตอน plan do check act) Plan วัตถุประสงคก์ ารทำ แผนกจิ กรรม Do Check Act นวตั กรรม 1.เพ่อื สรา้ งสอ่ื การ 1.ข้นั เตรยี มการ การทำเครื่องมือท่ใี ชใ้ น 1. ประเมนิ ผลความ - การพัฒนา เรียนรผู้ า่ น 1.1. ประชมุ กับ การวิจยั ครงั้ น้ี พงึ พอใจจากการใช้ แอพพลเิ คช่นั สอื่ ให้ แอพพลเิ คชั่นเรอ่ื งการ สมาชกิ ในกลุ่ม ประกอบด้วย 2 สว่ น คือ งานแอพพลเิ คช่นั ของ ความรู้ออนไลน์ การ ฉีดยาทางกลา้ มเนอื้ กำหนดหวั ข้อ 1.เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการ นักศกึ ษาพยาบาลศา ฉดี ยาเข้ากล้ามเนอ้ื ของนักศกึ ษา เป้าหมาย ทดลองแอพพลเิ คช่นั สตรบณั ฑติ ชน้ั ปีท่ี 2 ท่ี สำหรับนกั ศึกษา พยาบาลศาสตร วัตถุประสงค์และวาง เรอื่ งการฉีดยาทาง ได้ จากการใช้งาน นักศึกษาพยาบาลศา บัณฑติ ชน้ั ปีท่ี 2 แผนการดำเนนิ งาน กล้ามเนอื้ เปน็ แอพพลิเคชนั่ มีผลสรปุ สตรบณั ฑติ ชน้ั ปีท่ี 2 มี 2.เพ่อื ศกึ ษาผลการ และแบ่งงานภายใน แอพพลิเคชนั่ ท่ีเขยี นข้ึน ได้ว่า กลมุ่ ตัวอยา่ งมี ดงั นี้ จัดการเรยี นรู้ผ่าน กลุม่ จากโปรแกรมสำเรจ็ รูป ความพึงพอใจโดย 1. ควรมกี ารจดั การ แอพพลิเคชน่ั เรือ่ งการ 1.2. สำรวจคน้ หา Gilde App เป็น รวมอยู่ในระดบั ดีมาก จำนวนการเขา้ ใช้งาน ฉดี ยาทางกล้ามเน้อื ปญั หาทพ่ี บและศึกษา โปรแกรมในการสร้างสอื่ มผี ลสรปุ ได้ ว่า โดย แอพพลเิ คชนั่ ต่อความรู้ และ ความ ขนั้ ตอนการทำงาน แบง่ เป็น 2. ควรมกี ารจดั การ การสอนตอ่ จาก พึงพอใจของนกั ศกึ ษา โดยละเอียด -ด้านเนื้อหา จำลองสถานการณ์ โปรแกรมเว็บ พยาบาลศาสตร 1.3. สบื คน้ และ แบบทดสอบ กรณศี กึ ษาท่ี บณั ฑติ ชนั้ ปที ี่ 2 ทบทวนงานวจิ ัยที่ผา่ น แอพพลเิ คชน่ั ในระบบ สถานการณจ์ ำลอง หลากหลาย และเพิม่ 3.เพอื่ เปรยี บเทยี บ มารวบรวมและเตรยี ม จะประกรอบไปดว้ ยสื่อ การฉดี ยาเขา้ เรื่องของการคำนวณ ความรกู้ อ่ น และหลัง ข้อมลู นำเขา้ การสอนด้านเน้ือหา กล้ามเน้อื กลมุ่ ยา การใชส้ ่ือการเรียนรู้ 1.4. วางแผนจดั ทำ แบบขอ้ มลู ไฟล์วดิ โี อ ตัวอย่างมีความพงึ 3. ควรมีการจดั การส่อื ผ่านแอพพลิเคชัน่ เรื่อง นวัตกรรม เพื่อแกไ้ ข ไฟล์ อนิเมชั่นใน พอใจโดย รวมอยใู่ น ท่หี ลากหลาย เชน่ การฉีดยาทาง ปญั หาและมอบหมาย สถานการณ์ตัวอย่าง ระดับ ดมี าก (คะแนน ภาพพ้ืนหลงั ใหด้ ู กลา้ มเน้ือของ งานและหนา้ ท่ี ท่ีตอ้ ง ความสะดวกสบายใน เฉลย่ี = 4.45) นา่ สนใจ ขนาด นักศกึ ษาพยาบาลศา รับผิดชอบ การใช้งาน ระบบเข้าใจ -ด้านความชัดเจนของ ตวั อกั ษร ความช้า-เร็ว สตรบณั ฑติ ชน้ั ปีท่ี 2 1.5. ออกแบบ ง่าย ระบบท่สี ามารถเข้า สื่อการเรียนรตู้ ามการ ของส่อื วดี โี อ ความ นวตั กรรม ใชไ้ ด้ทกุ อุปกรณ์ ทำงาน แบบออนไลน์ คมชดั ของรูปภาพและ 1.6. นำเสนอ ซ่ึงโดยออกแบบส่อื เปน็ ความถกู ตอ้ งของ เสียง รวมไปถงึ สรปุ นวตั กรรมกบั อาจารย์ ภาพ และวดิ โี อ ผา่ น คำตอบจากการ เนอื้ หาให้มีความ ทป่ี รกึ ษา แอพพลิเคชัน Canva แสดงผลแบบออนไลน์ กระชับและเข้าใจง่าย 1.7. นำนวัตกรรมมา รว่ มกบั Cap cut กลมุ่ ตวั อย่างมคี วาม มากย่งิ ขึ้น ปรับปรงุ แกไ้ ขตาม สำหรับสร้างสือ่ กราฟกิ พึงพอใจโดยรวมอยูใ่ น - ข้อเสนอแนะในการ ทำวจิ ัยครัง้ ตอ่ ไป จาก 293
Plan Do Check Act วตั ถุประสงคก์ ารทำ แผนกจิ กรรม ดีไซน์ แก้ไขภาพถ่าย ระดับ ดมี าก (คะแนน ผลการวจิ ัยที่ได้สรุป นวัตกรรม และตดั ต่อวดิ โี อ และ เฉลี่ย = 4.23) และอภปิ รายผล ข้อเสนอแนะของ Ibis paint ในการ -ดา้ นการใชง้ าน ผวู้ จิ ยั มแี นวคดิ เปน็ อาจารยป์ ระจำกล่มุ ออกแบบภาพวาด ใน แอพพลิเคชนั่ สามารถ ข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1.8. ดำเนินการ การจัดทำเวบ็ ไซตเ์ ร่ือง นำไปประยุกตใ์ ชใ้ น 1. แอพพลเิ คชั่นไม่ ตามที่ได้วางแผนไว้ การฉดี ยาทางกลา้ มเนื้อ การฉดี ยาได้จรงิ อยู่ใน สามารถเข้าใช้งานได้ มรี ายการการใช้งาน ระดับ ดมี าก (คะแนน เป็นจำนวนมากใน และใช้งาน ดงั นี้ เฉล่ยี = 4.52) เวลาเดยี วกนั และ 1.กรอกข้อมลู ผเู้ ขา้ การ บางครั้งอินเตอรเ์ นต็ มี เรยี นรู้ ปญั หากจ็ ะทำให้ชา้ 2.เลือกเขา้ สรู่ ายการ (Menu) 3.ทบทวนความร้กู าย วิภาคและสรรี วทิ ยาของ กลา้ มเนอ้ื (Anatomy and physiology) 4.สื่อวดิ โี อการฉดี ยา (Medicinal Injection Demonstration Video) 4.1 การเตรยี มยาฉดี -การตรวจสอบยา ตาม หลกั 10R -การเตรยี มอุปกรณ์ (Syringe, เข็มฉดี ยา) -การเตรยี มยา 4.2 การจัดทา่ การวดั และเลอื กบริเวณทฉ่ี ดี ยา 4.3 การฉดี ยา 294
Plan Do Check Act วตั ถุประสงคก์ ารทำ แผนกิจกรรม 5.แบบทดสอบ นวตั กรรม สถานการณจ์ ำลองการ ฉดี ยาทางกล้ามเน้ือ (มี 3 สถานการณ์) 5.1 อา่ น Doctor’s order ตรวจสอบยา 5.2 เลอื กชนดิ ของขนาด Syringe และเบอรข์ อง เขม็ ฉดี ยา 5.3 เลอื กกล้ามเนือ้ ฉดี ยา 5.4 เลอื กการวดั ตำแหนง่ ฉีดยา 5.5 กดฉดี ยา (ถ้าเลอื ก ขอ้ 5.2-5.5 ผดิ โปรแกรมจะแจง้ เตอื นให้ เลือกใหมโ่ ดยมี คำแนะนำขน้ึ ตามหวั ขอ้ ที่เลือกผิดแลว้ ใหก้ ลบั ไป เลอื กใหม่) 5.6 ถา้ เลอื กถูกครบทกุ ข้อ โปรแกรมจะทำการ ฉีดยา และจะมแี ถบโชว์ รายละเอยี ดทถ่ี ูกต้องขึ้น แสดง 5.7 เลือกคำแนะนำท่ี เหมาะสมกบั สถานการณ์ 2.เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ประกอบดว้ ย 295
Plan Do Check Act วตั ถปุ ระสงคก์ ารทำ แผนกจิ กรรม 2.1 แบบประเมินความรู้ นวัตกรรม การฉีดยาเข้ากลา้ มเนื้อ โดยใชป้ ระเมนิ หลงั การ ใช้สื่อการเรียนรผู้ า่ น แอพพลิเคชน่ั เรือ่ งการ ฉดี ยาทางกลา้ มเนอ้ื 2.2 แบบประเมินความ พึงพอใจของผู้ใช้ แอพพลเิ คช่ันเร่ืองการ ฉดี ยาทางกลา้ มเนอื้ 5. รายละเอียดและวธิ ีการใช้งานนวัตกรรม ข้นั ตอนที่ 1 กรอกขอ้ มลู ผู้เขา้ การเรยี นรู้ ขน้ั ตอนท่ี 2 เลือกเข้าสรู่ ายการ (Menu) ขั้นตอนที่ 3 ทบทวนความรกู้ ายวภิ าคและสรรี วิทยาของกล้ามเนอ้ื (Anatomy and physiology) ขน้ั ตอนท่ี 4 ส่อื วดิ ีโอการฉดี ยา (Medicinal Injection Demonstration Video) 4.1 การเตรยี มยาฉดี - การตรวจสอบยา ตามหลกั 10R - การเตรียมอปุ กรณ์ (Syringe, เขม็ ฉีดยา) - การเตรยี มยา 4.2 การจัดทา่ การวัดและเลอื กบรเิ วณท่ฉี ีดยา 4.3 การฉีดยา ขัน้ ตอนที่ 5 แบบทดสอบ สถานการณ์จำลองการฉดี ยาทางกลา้ มเนอื้ (มี 3 สถานการณ์) 5.1 อา่ น Doctor’s order ตรวจสอบยา 5.2 เลือกชนดิ ของขนาด Syringe และเบอรข์ องเขม็ ฉีดยา 5.3 เลอื กกลา้ มเน้ือฉดี ยา 5.4 เลือกการวัดตำแหน่งฉดี ยา 5.5 กดฉดี ยา (ถ้าเลอื กข้อ 5.2-5.5 ผดิ โปรแกรมจะแจง้ เตือนใหเ้ ลือกใหม่โดยมคี ำแนะนำข้นึ ตามหวั ข้อทเ่ี ลือกผิดแลว้ ให้กลบั ไปเลือกใหม่) 5.6 ถา้ เลอื กถูกครบทุกข้อ โปรแกรมจะทำการฉดี ยา และจะมแี ถบโชวร์ ายละเอยี ดท่ีถกู ต้อง ข้ึนแสดง 5.7 เลือกคำแนะนำท่เี หมาะสมกับสถานการณ์ 296
6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภปิ รายผล การวิจยั ครัง้ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา สื่อการใหค้ วามรู้ทางออนไลน์ จากเป็นเว็บแอพพลิเคชัน่ เป็น แอพพลิเคชั่น สื่อ การใหค้ วามรู้ทางออนไลน์การฉีดยาเข้ากล้ามเน้ือ ที่มีคณุ ภาพ สำหรบั นกั ศกึ ษาพยาบาลศา สตรบณั ฑติ ช้ันปีที่2 และศึกษาความพงึ พอใจที่มีต่อแอพพลเิ คชั่น การฉีดยาเขา้ กลา้ มเนื้อ ได้แบง่ ออกเป็น 3 ประเดน็ 1) คุณภาพของ แอพพลเิ คช่นั การฉดี ยาเข้ากล้ามเนอื้ 2) ผลการจดั การความรูด้ ้านเน้ือหา 3)ความพึง พอใจจากการใช้งานแอพพลเิ คชั่น 5.7.1.คณุ ภาพของ แอพพลเิ คชั่นการฉดี ยาเข้ากล้ามเน้ือ สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตช้นั ปีที่ 2 มี ผลสรปุ ไดว้ า่ จากการประเมนิ ผา่ นผทู้ รงคุณวุฒิ ตรวจสอบแบบสอบถามการวิจัย พบคา่ ความเทย่ี งตรงของ แบบสอบถาม (คา่ IOC = 0.68) 5.7.2.ผลการจดั การความรูด้ ้านเนอื้ หา ของนกั ศกึ ษาได้ความรู้ ด้านค่าเฉลีย่ คะแนนความรภู้ ายหลงั การทดลองใช้สื่อการ เรียนการสอนของนักศึกษาพยาบาลศาสตร บัณฑิตชั้นปีท่ี 2 จำนวน 88 คน ผลการศกึ ษาพบว่า การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนน ความรู้กอ่ น หลัง การใช้ สือ่ การเรียนการสอน เพิ่มขน้ึ อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิที่ระดับ 0.00 เน่อื งจากมกี ารให้ความรู้ผ่านส่ือวีดีโอ และ รูปภาพประกอบที่สามารถทำให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ธีระยุทธ์ หมันหลี ศึกษา การพัฒนา บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การประเมนิ พัฒนาการเด็กตามค่มู อื เฝ้าระวงั และสง่ เสริม พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั สำหรบั นิสิตแพทย์ พบว่า บทเรียนออนไลน์ มคี ะแนนหลังเรียนสูงกวา่ คะแนนทดสอบก่อนเรยี น อยา่ ง มีนัยสำคญั ทางสถติ ิ ที่ระดบั 0.00 จากการศึกษาดังกล่าวจะเห็นว่า การจัดการเรียนการสอนในยุคปัจจุบันที่มีความเจริญก้าวหน้าด้าน เทคโนโลยี ผู้เรียน สามารถประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีมาช่วยใหเ้ กดิ ประโยชน์ อกี ท้งั สื่อการเรยี นการสอนออนไลน์ ผา่ นแอพพลเิ คชน่ั สามารถเรียนได้ง่าย สะดวก ส่งผลให้ ผู้เรียนมีความพงึ พอใจตอ่ การใช้อยใู่ นระดี 5.7.3.ความพึงพอใจจากการใช้งานแอพพลิเคชั่น ของ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 2 ที่ได้ จากการใช้งาน แอพพลิเคชั่นมีผลสรปุ ได้วา่ กลมุ่ ตวั อย่างมีความพึงพอใจโดยรวมอยูใ่ นระดับ ดมี าก มผี ลสรปุ ได้ ว่า โดยแบ่งเปน็ -ด้านเนอ้ื หา แบบทดสอบสถานการณ์จำลองการฉดี ยาเขา้ กลา้ มเนื้อ กลุ่มตัวอย่างมคี วามพึงพอใจโดย รวมอยใู่ นระดับ ดี มาก (คะแนนเฉล่ยี = 4.45) -ดา้ นความชดั เจนของสื่อการเรยี นรู้ตามการทำงาน แบบออนไลน์ความถกู ตอ้ งของคำตอบจากการ แสดงผลแบบออนไลน์ กลุม่ ตวั อยา่ งมคี วามพึงพอใจโดยรวมอยูใ่ นระดับ ดมี าก (คะแนนเฉลี่ย = 4.23) -ด้านการใช้งาน แอพพลเิ คช่นั สามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการฉีดยาได้จริง อย่ใู นระดบั ดีมาก (คะแนนเฉลี่ย = 4.52) 7. ขอ้ เสนอแนะ การพัฒนาแอพพลิเคชั่นส่ือใหค้ วามรูอ้ อนไลน์ การฉีดยาเข้ากล้ามเนือ้ สำหรบั นักศึกษานกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ช้นั ปีที่ 2 ควรมีข้อคำนงึ ดงั นี้ 297
5.8.1 แอพพลิเคชั่นสอื่ ใหค้ วามรู้ออนไลน์ การฉดี ยาเขา้ กล้ามเนือ้ สำหรับนักศกึ ษานกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปี ท่ี 2 ควรมกี ารจัดการจำนวนการเข้าใช้งานแอพพลเิ คชน่ั 5.8.2.แอพพลิเคช่ันสื่อใหค้ วามรู้ออนไลน์ การฉดี ยาเขา้ กลา้ มเนอ้ื สำหรับนกั ศึกษานักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปที ี่ 2 ควรมกี ารจดั การจำลองสถานการณ์กรณศี กึ ษาทห่ี ลากหลาย และเพม่ิ เร่อื งของการคำนวณยา 5.8.3.แอพพลิเคช่ันสื่อให้ความรู้ออนไลน์ การฉีดยาเข้ากลา้ มเนื้อ สำหรับนักศึกษานักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชน้ั ปที ่ี 2 ควรมีการจัดการสื่อที่หลากหลาย เช่น ภาพพื้นหลังให้ดูน่าสนใจ ขนาดตัวอักษร ความช้า-เร็วของสื่อวีดีโอ ความคมชัดของ รูปภาพและเสียง รวมไปถึงสรปุ เนอ้ื หาใหม้ คี วามกระชบั และเข้าใจง่ายมากยิ่งขนึ้ 5.9.ข้อเสนอแนะในการทำวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป จากผลการวิจัยทไ่ี ด้สรุปและอภปิ รายผล ผ้วู จิ ยั มแี นวคดิ เปน็ ข้อเสนอแนะ ดงั น้ี 5.9.1. แอพพลเิ คชัน่ ไมส่ ามารถเข้าใช้งานไดเ้ ป็นจำนวนมากในเวลาเดยี วกัน และบางครงั้ อินเตอร์เนต็ มปี ญั หาก็ จะทำให้ช้า 8. เอกสารอา้ งอิง กาญจนา จันทร์ไทย. หนงั สือบทบาทหน้าทขี่ องพยาบาลวิชาชพี (พมิ พค์ ร้ังที่ 1). (2561). บรษิ ทั สำนักพิมพ์สอ่ื ตะวัน จำกดั . ณัฎจริ า วนิ ิจฉัย. ผลของการจัดการเรยี นรูด้ ว้ ยโปรแกรม Simulation ฉีดยาต่อความพึงพอใจของ นักศึกษาพยาบาลศาสตรช์ ้ันปีที่ 2. (2564). วารสารการพยาบาลและสขุ ภาพ ปี 15 ฉบับที่1. ณฐั ธยาน์ ชาบวั คำ. ผลการใช้สถานการณ์จำลองตอ่ ระดบั การรับรู้สมรรถนะตนเองดา้ นทกั ษะการฉดี ยา และ ทักษะการฉดี ยาของ นักศึกษาพยาบาล. (2565). วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสขุ . บังอร ฉางทรพั ย.์ กายวภิ าคศาสตร์1 . พมิ พค์ ร้งั ท8่ี . กรงุ เทพ; สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย;2563. ปฐมามาศ โชติบัณ ,กติ ติพร เนาวส์ วุ รรณ ,ธารนิ ี นนทพุทธ ,จรญุ รตั น์ รอดเนียม. นวตั กรรมชดุ หุน่ ฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิการ พยาบาล Innovation of Assisted Models for Practicing Basic Nursing Skills . (2559). วารสาร วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนสี งขลา ปีที่5 ฉบับท่ี 3. ปรางทิพย์ ฉายพุทธ. การประชุมพยาบาลแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 16. จดหมายข่าวสภาการพยาบาล (2562). ปที 2่ี 1 ฉบับท่ี 6. พรทพิ ย์ วงศส์ นิ อดุ ม. การพัฒนาแอปพลิเคชันบทเรียนบนคอมพิวเตอร์พกพา รว่ มกับการเรยี นแบบเพ่ือนชว่ ย เพื่อนทส่ี ่งผลตอ่ การ เรยี นรรู้ ่วมกนั ของนกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดเพชรบุรี. (2558). วิทยานพิ นธ์ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร. มณี อาภานันทกิ ลุ . จริยธรรมในการปฏบิ ัติการพยาบาลของพยาบาลไทยตามการรบั รขู้ องผบู้ รหิ ารทางการพยาบาล. วารสารสภา การพยาบาล, (2557). 29(2) 5-20. มนสภรณ์ วิทูรเมธา. การพฒั นาแนวทางการส่งเสรมิ ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของ นักศกึ ษาพยาบาล. (2559). 298
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก ปีท่ี 27 ฉบบั ท่ี 2. ศริ พิ ล แสนบุญสง่ , ชืน่ กมล เพช็ รมณี และธนารีย์ ปท่ี อง. การพฒั นาเวบ็ ไซต์สําเรจ็ รปู เพื่อการเรยี นร้เู ร่ือง หลกั การทาํ งานของระบบ คอมพวิ เตอร์สําหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลทา่ เรือ ประชานกุ ูล. (2563). วารสารแม่โจ้เทคโนโลยี สารสนเทศและนวัตกรรม ปที ี่ 6 ฉบบั ที่ 1. ศยามล รมพิพฒั น์. การพัฒนาแบบจำลองเพอื่ ฝกึ ฉีดวคั ซนี เข้าในหนังและประสทิ ธิผล ของการใชแ้ บบจำลอง ต่อทกั ษะการปฏิบัติ และความพงึ พอใจ ของนกั ศึกษาพยาบาลชนั้ ปีที่ 3. (2564). วารสารวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ปีที่ 29 ฉบับท่ี 4. Chang Chu-Ling. Effectiveness of learning intramuscular injection techniques with aid of an Interactive APP. (2565). Journal of Nursing Education and Practice. Yeter Kurt , Havva Ozturk Professor. The effect of mobile augmented reality application developed for injections on the knowledge and skill levels of nursing students: An experimental controlled study ผลกระทบของ แอปพลิเคชัน่ ความเปน็ จริงเสริมมอื ถือท่ีพฒั นาขึน้ สำหรับ การฉดี ตอ่ ระดับความรู้และทักษะของนักศกึ ษาพยาบาล: การศึกษาควบคมุ เชงิ ทดลอง. (2021).https://www.sciencedirect.com/journal/nurse- educationtoday/vol/103/suppl/C 299
Necklace สร้อยคอขอเกยี่ ว กมลวรรณ คำด1ี , กัญญาณัฐ อารยี ์2 , จฑุ ารัตน์ ดษิ ฐปาน3 , ทพิ ยว์ รรณ เกดิ บูชา4 , นันทติ า เวียนทอง5, นิภาวรรณ บญุ ทำนุก6 , พจิ กิ าญน์ พวงเงนิ สกลุ 7 , นางสาวสาลนี า สาเเละ8 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชะนี จกั รรี ัช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก บทคดั ย่อ การผ่าตัดเจาะคอและใส่ท่อหลอดลมคอสำหรับผู้ป่วยภาวะวิกฤต เป็นการรักษาที่พบบ่อยและเกิด ภาวะแทรกซอ้ นไดง้ ่าย พยาบาลในหอผู้ปว่ ยมีบทบาทสำคญั ในการดูแลเพ่ือปอ้ งกนั ภาวะแทรกซ้อนในผู้ปว่ ยท่ีได้รับ การเจาะคอและ ใส่ท่อหลอดลมคอ การวจิ ัยน้ีเป็นการวิจยั แบบกงึ่ ทดลอง (Quasi experimental research) โดย มวี ัตถปุ ระสงค์ เพื่อ 1) ลดการเลื่อนหลุดของแผ่นท่อเจาะคอขณะทำแผล 2) ลดภาระงานและระยะเวลาในการทำ แผลของพยาบาลและนักศึกษาพยาบาลศาสตร์และ3) ศึกษาความพึงพอใจต่อชิ้นงานนวัตกรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ บคุ ลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาลและผ้ดู ูแลผู้ปว่ ยที่มีการเจาะคอใส่ท่อหลอดลมคอ จำนวน 30 คน เคร่ืองมือ ทีใ่ ช้ในการวิจยั ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื เคร่ืองมอื ท่ีใช้สำหรับการทดลอง ได้แก่ Necklace สร้อยคอขอเก่ียว และ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความพึงพอใจในนวัตกรรม“Necklace สร้อยคอขอ เกี่ยว” และแบบประเมินคุณภาพผลงานนวัตกรรม “Necklace สร้อยคอขอเกี่ยว” วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้ สถิติใช้แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและสถิติค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งการดูแลท่อหลอดลมคอ จำเป็นต้อง ได้รับการทำความสะอาดอย่างระมัดระวัง ถ้าพยาบาลและผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถประเมินปัญหาดังกล่าวได้ จะช่วย ป้องกนั ภาวะแทรกซ้อนในผู้ปว่ ยท่ไี ด้รับการเจาะคอจากการเลื่อนหลดุ ของท่อหลอดลมคอ คำสำคัญ: บทบาทพยาบาลการดแู ลผปู้ ่วยภาวะวกิ ฤต,การเจาะคอ,ท่อหลอดลมคอ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา การเจาะคอและใส่ท่อหลอดลมคอ เป็นการรักษาที่พบบ่อยในผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตที่มีปัญหาเกี่ยวกับ ทางเดนิ หายใจสว่ นบน เชน่ มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน หรือผ้ปู ว่ ยทีใ่ สท่ ่อช่วยหายใจทางช่องปากเวลานาน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการเจาะคอ2 ทั้งนี้เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถหายใจได้เอง จำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ ผู้ป่วย ที่ไม่สามารถไอขับเสมหะได้เอง เมื่อถึงระยะเวลาต้องเอา ท่อช่วยหายใจออกเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนท่ี เกิดจาก การใส่ท่อช่วยหายใจระยะเวลานาน ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยไอซียูจะเป็นทีมผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับ การเจาะคอ และใส่ท่อหลอดลมคอ และพยาบาลในหอผู้ป่วย ไอซียูเป็นหนึ่งในทีมสุขภาพที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยที่มี ภาวะ 300
วิกฤตที่ได้รับการเจาะคอ และการใส่ท่อหลอดลมคอ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่จะเกิดขึ้นได้1 เช่น ภาวะ hypoxia / ท่อเจาะคอเลอื่ นหลดุ งานศลั ยกรรมกึ่งวกิ ฤตใหบ้ รกิ ารผ้ปู ่วยหนกั ทางดา้ นศัลยกรรม ระบบประสาท และกระดกู และขอ้ คดิ เป็น ร้อยละ80 เป็นผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจและท่อเจาะคอ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบประสาทและ สมอง ซ่งึ ใสท่ อ่ ระยะเวลา เกนิ 14 วัน และปรบั เป็นเจาะคอใส่ท่อเจาะคอแทน มีการวางแผนการจำหน่ายผปู้ ว่ ย โดยมีท่อ เจาะคอกลบั บ้าน เกิดอุบัตกิ ารณ์การเลื่อนหลุดของท่อเจาะคอ 1 ครง้ั ในปงี บประมาณ2560 ความ รุนแรงระดับ H มีการช่วยฟ้นื คืนชพี เปน็ สาเหตุให้ผู้ปว่ ยตอ้ งนอนโรงพยาบาลนานข้นึ 9 จากที่กล่าวไว้ข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาการเกิดเลื่อนหลุดของท่อเจาะคอและใส่ท่อ หลอดลมคอระหว่างเปลี่ยนเชือกผูกแผ่นท่อชั้นนอก ซึ่งแนวทางการดูแลและป้องกันคือการทำความสะอาดที่ต้อง ใช้ความระมัดระวังรวมไปถึงการเปลี่ยนสายเชือกที่ผูกยึด เพราะในระหว่างเปลี่ยนจะเกิดอุบัติการณ์เลื่อนหลุดได้ งา่ ย จากประสบการณ์การขึ้นฝึกปฏบิ ัติงานบนหอผู้ปว่ ยและฝึกปฏิบัตงิ านในชุมชน พบประเด็นสำคัญที่เป็นปัญหา คือ กลุ่มผูป้ ่วยที่เกดิ การหลดุ ของท่อเจาะคอและใส่ท่อหลอดลม เมื่อต้องใส่กลับเข้าไปจะตอ้ งให้แพทย์เปน็ ผู้ทำคือ ต้องผ่าตัดใหม่เท่านั้น ผู้จัดทำจึงเกิดความสนใจประดิษฐ์นวัตกรรม necklaceสร้อยคอขอเกี่ยว ซึ่งมีลักษณะเป็น ท่อขนาดเล็กคล้ายสร้อยคอ 1 ชน้ิ มตี ะขอสปริง 2 ชนิ้ สามารถยดึ เกีย่ วแผ่นท่อหลอดลมคอด้านนอก ส่งผลต่อการ ปอ้ งกนั หรอื ลดอุบตั ิการณก์ ารเลื่อนหลุด 2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ลดการเล่ือนหลดุ ของแผ่นทอ่ เจาะคอขณะทำหตั ถการ 2. เพือ่ ลดภาระงานและระยะเวลาในการทำแผลของพยาบาลและนกั ศึกษาพยาบาลศาสตร์ 3. เพือ่ ศึกษาความพงึ พอใจต่อช้นิ งานนวตั กรรม 3. กลุ่มเปา้ หมาย บคุ ลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาลและผดู้ แู ลทางการพยาบาลผู้ป่วยที่มกี ารเจาะคอใส่ท่อหลอดลมคอ 4. กระบวนการพัฒนา (ตามข้ันตอน plan do check act) วิธีการดำเนินงานตามหลัก PDCA 301
ขน้ั ตอนที่ 1 การเตรียมการ (PLAN) 1. การศกึ ษาเอกสารแนวคดิ และหลกั การ 1.1.ศึกษาค้นคว้าและสำรวจแนวทางการพัฒนา ปัญหาในการพัฒนานวัตกรรมที่คล้ายคลึงกัน รวมท้ัง แนวทางในการแกไ้ ขปัญหา เพื่อใช้เป็นแนวคดิ และแนวทางทสี่ ามารถนำมาพฒั นา 1.2. แลกเปลีย่ นเรียนร้แู ละการแสวงหาแนวคิดและหลักการเพอ่ื นำมาสร้างนวัตกรรมท่ีมีประสทิ ธิภาพ 1.3. ศึกษาเอกสารงานวจิ ยั และจากประสบการณ์ของผู้ที่เกี่ยวข้อง นำมารวบรวมเปน็ ฐานข้อมูล 2. เลอื กนวตั กรรมและวางแผนในการสร้างนวัตกรรม เลือกนวัตกรรมและวางแผนในการสร้างนวัตกรรม โดยประชุมปรึกษากับสมาชิกภายในกลุ่มของ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช เพื่อพิจารณาเลือกนวัตกรรม โดยเลือก จาก ลักษณะของนวัตกรรมที่มีการเรียนรู้ที่ดีและสร้างประโยชน์ สามารถแก้ไขปัญหาได้ โดยมีแนวทางการ พิจารณาการเลือกนวตั กรรม ดงั น้ี 2.1 เปน็ นวัตกรรมการเรียนรู้ทต่ี รงกับความต้องการและมคี วามจำเป็นในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั หรือ ในการทำงาน 2.2 มีความนา่ เช่อื ถอื และมีความเปน็ ไปได้สงู ทจี่ ะสามารถแก้ไขปญั หาและสง่ เสริมให้ผู้เรียนได้มีการ พัฒนาการเรียนร้มู ากขนึ้ 2.3 เป็นนวัตกรรมทม่ี ีแนวคิดหรือหลักการทางวชิ าการรองรับส่งเสริมให้เกดิ ความ นา่ เชือ่ ถอื มากยิง่ ขน้ึ 2.4 สามารถนำไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ ใชง้ านไดง้ า่ ย มคี วามสะดวกต่อการใช้และมกี ารพัฒนางาน นวตั กรรมอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 2.5 มีผลการพสิ ูจน์เชิงประจักษ์ว่า มีการใช้งานนวัตกรรมน้ีในสถานการณจ์ ริงแล้ว สามารถแก้ไขปัญหา ได้ และมีการพฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งพงึ พอใจ 3. กำหนดงบประมาณสำหรบั การทำนวัตกรรม 4. สำรวจและจัดเตรยี มอปุ กรณว์ สั ดอุ ุปกรณท์ ีจ่ ะนำมาใชส้ ร้างนวตั กรรม 5. นำนวตั กรรมไปทดลองใช้ 6. ติดตามและประเมนิ ผลหลังการนำนวตั กรรมไปทดลองใชใ้ นกล่มุ เป้าหมาย ขัน้ ตอนท่ี 2 การดำเนนิ การ (DO) 1.ออกแบบนวตั กรรม 302
2.ลงมอื ตามแผนท่ีวางไว้ 3.การประดิษฐ์นวตั กรรม -วัสดอุ ปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการประดิษฐ์นวตั กรรม 1.ทอ่ ซลิ โิ คนน่ิมขนาด 10x7 mm ยาว 30 เซนติเมตร 2.สปริงดงึ สแตนเลสขนาด 1x3 cm จำนวน 2 อัน 303
3.เชอื กผกู ท่อ Tracheostomy tube -การประดิษฐ์ 1.นำทอ่ ซลิ ิโคนกรีดกลางเพ่อื ใส่เชือกข้างใน 2.เจาะรปู ลายทอ่ ท้งั 2 ดา้ นของท่อซิลโิ คนเพือ่ นำสปรงิ มาเก่ียว 3.นำเชอื กใส่เขา้ ท่อซิลโิ คน 4.วิธกี ารสร้างนวัตกรรม 1.ออกแบบนวตั กรรม “Necklace สร้อยคอขอเกย่ี ว” 2.ลงมือทำนวตั กรรมตามท่ไี ด้ออกแบบไว้ 3.นำนวัตกรรมท่ีเสรจ็ สมบรู ณไ์ ปทดลองใช้กบั กลุ่มเปา้ หมาย 5.การนำนวัตกรรมไปใช้ นำนวัตกรรมไปใช้กับกลุม่ ผู้ป่วยทม่ี ีการเจาะคอและใส่ท่อหลอดลมคอในโรงพยาบาลบา้ นโปง่ และ โรงพยาบาลพทุ ธมณฑล 304
ขั้นตอนท่ี3 การกำกับติดตาม (Check) 1.สรุปผลการตรวจสอบประสทิ ธิภาพของผลงานนวตั กรรมท่ปี ระดษิ ฐ์คิดคน้ 2.สรปุ ผลการนำนวัตกรรมไปทดลองใชก้ ับกลมุ่ เป้าหมาย โดยสรุปจาก - ทำแบบประเมนิ หลังทดสอบใชน้ วตั กรรม “Necklace สร้อยคอขอเก่ยี ว” - นำเสนอผลการทำแบบประเมิน หลังการใช้นวัตกรรม ขนั้ ตอนท่ี 4 การปรับปรงุ นวัตกรรม (ACT) 1.ปรบั ปรุงช้ินงานนวัตกรรมใหม้ ีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลตามคำแนะนำของผเู้ ชี่ยวชาญ 2.ปรับปรุงชิ้นงานนวัตกรรมใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผลภายหลงั การทดลอง 3.ปรบั ปรงุ ชิน้ งานนวัตกรรมจากแบบประเมนิ คุณภาพและความพงึ พอใจ 5. รายละเอียดและวิธกี ารใช้งานนวัตกรรม 1.เตรียมชิ้นงานนวตั กรรม และนำมาเกี่ยวกับ Protect tube tracheostomy ด้านนอกก่อนทำแผล 2.จากนน้ั ทำความสะอาดแผลทัง้ หมด และผกู เชอื กเสร็จจึงนำนวัตกรรมออก 6. ผลการทดลองใช้นวัตกรรมและการอภปิ รายผล จากผลการวเิ คราะห์ พบว่า ประชากรและกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉล่ยี 31 ปฏบิ ตั งิ านส่วนใหญ่ โรงพยาบาลบา้ นโป่งมีระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิงานเฉลยี่ 7 ปี และระยะเวลาท่ีผ้ปู ่วยใสเ่ จาะคอมากกว่า 2 เดือน ดา้ นการออกแบบโครงสรา้ งนวัตกรรม 1.การออกแบบนวตั กรรมมีความคดิ สร้างสรรค์ อยใู่ นระดบั พึงพอใจมากทีส่ ุด 2.วสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีใช้ในนวตั กรรมมคี วามเหมาะสม อย่ใู นระดับพงึ พอใจมาก 3.ขนาดของนวัตกรรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดบั พงึ พอใจมากท่ีสดุ 4.นวตั กรรมมีราคาประหยัด อยู่ในระดับพึงพอใจมากท่สี ุด ด้านการใชง้ าน 1.นวัตกรรมมีความเหมาะสมสะดวกในการใชง้ าน อย่ใู นระดับพงึ พอใจมากที่สุด 2.นวัตกรรมสามารถช่วยลดระยะเวลาในการทำหัตถการ อยูใ่ นระดบั พึงพอใจมากทีส่ ดุ 3.นวัตกรรมมมีความปลอดภัย อย่ใู นระดับพงึ พอใจมาก 4.นวัตกรรมชว่ ยใหท้ ำหตั ถการไดง้ ่าย อยู่ในระดับพงึ พอใจมากทสี่ ุด 305
ด้านการนำไปใช้ประโยชน์ 1.นวตั กรรมนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ สะดวกและรวดเรว็ อยใู่ นระดบั พงึ พอใจมากทีส่ ุด 2.นวัตกรรมสามารถทำความสะอาดไดง้ า่ ย และสามารถนำกลบั มาใชใ้ หม่ได้ อยู่ในระดบั พงึ พอใจมาก ดา้ นความปลอดภยั ทำหัตถการปกติเสย่ี งต่อการเลือ่ นหลดุ ของท่อเจาะคอระหวา่ งทำหตั ถการ และทำหัตถการโดยใช้ นวัตกรรมเลี่ยงตอ่ การเลือ่ นหลุดของท่อเจาะคอระหว่างทำหัตถการ ด้านระยะเวลาในการทำหัตถการ ระยะเวลาทำหตั ถการปกติ และระยะเวลาทำหัตถการโดยใช้นวัตกรรม อภปิ รายผล จากการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจในการใช้นวตั กรรมในภาพรวม อยูใ่ นระดบั พึงพอใจมากทีส่ ดุ และ ดา้ นความปลอดภัยของการใช้นวัตกรรมกบั ผปู้ ว่ ยช่วยลดภาวะแทรกซ้อนจากการเล่ือนหลุดของท่อเจาะคอ มากกว่าการทำหตั ถการปกติ ดา้ นระยะเวลาในการทำหัตถการโดยใช้นวัตกรรมใช้เวลาน้อยกวา่ การทำหตั ถการท่ี ไม่ใชน้ วัตกรรม ซง่ึ สอดคล้องกับบงั อร นาคฤทธ์ิ และคณะ(2558) ศึกษาเรอ่ื ง “การเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ และระยะเวลาการใสเ่ คร่ือง ช่วยหายใจในผู้ปว่ ยวิกฤตทไ่ี ดร้ ับการดูแลโดยใช้แนวปฏบิ ัติการ พยาบาลท่ีสร้างจาก หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ วิทยานิพนธพ์ ยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ ” ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยที่ไดร้ บั การดแู ลตามแนว ปฏิบัตกิ ารพยาบาล ร่วมกับการดูแลตามแนวปฏบิ ตั เิ ดิมมีผลทำให้ จำนวนครงั้ ของการเลื่อนหลดุ ของท่อชว่ ยหายใจ ลดลง แพทย์และพยาบาลให้การดูแล และปฏิบัติตามมาตรฐานของแต่ละวิชาชพี และ ประสบการณ์ของตนเอง หลังจากท่ีไดน้ ำแนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลทีส่ ร้างจากหลกั ฐาน เชงิ ประจกั ษ์ ผ้ปู ่วยได้รับการประเมินระดบั ความ ร้สู ึกตัว การรับรู้และให้ข้อมูลเก่ยี วกบั ความจำเปน็ ในการใส่ท่อชว่ ยหายใจ อปุ กรณท์ างการ แพทย์ท่ีอย่ใู นตัวผูป้ ่วย แผนการรกั ษา วิธกี าร ติดต่อสอื่ สาร ทำให้ผู้ปว่ ยรบั ร้ถู งึ สถานการณข์ องตนเอง มีความเขา้ ใจและรว่ มมอื ในการ รักษา การประเมินภาวะกระสบั กระส่าย/กระวนกระวาย ทำให้พยาบาลมแี นวทางในการประเมนิ ภาวะ กระสับกระสา่ ย/กระวนกระวายของผ้ปู ่วย 7. ขอ้ เสนอแนะ 1.ควรทำใหม้ ีความแนน่ กันหลดุ ไดม้ ากกวา่ นี้ 2.อาจเกิดสนิมทีส่ ปริงได้ และบรเิ วณทเ่ี ก่ียวมีควาแหลมคมอยู่ อาจเกิดอนั ตรายกับผู้ป่วยได้ 306
3.ปลายลวดทเ่ี กย่ี วสามารถหาวสั ดุปิดหรอื คลมุ ไวเ้ พ่ือป้องกันการเสียดสี 8. เอกสารอา้ งอิง 1.บงั อร นาคฤทธ์ิ . อำภาพร นามวงศพ์ รหม เเละน้ำออ้ ย ภักดีวงศ์. การเลอ่ื นหลุดของท่อช่วยหายใจและ ระยะเวลาการใส่เคร่ือง ช่วยหายใจในผูป้ ่วยวกิ ฤตท่ีได้รับการดแู ลโดยใช้แนวปฏบิ ตั ิการ พยาบาลทส่ี รา้ ง จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์.วทิ ยานพิ นธพ์ ยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ 2558 [เข้าถึงเม่ือ 10 กรกฎาคม 2565]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kcn/article/download/46863/38840/107929. 2.นงเยาว์ บรรณโศภิษฐ์ และอรุ าภรณ์ เชยกาญจน.์ ผลของการใช้นวัตกรรม neosafe ยดึ ตรึงท่อหลอดลมคอ ต่ออุบตั ิการณ์เล่ือนหลุดของทอ่ หลอดลมคอในทารกแรกเกดิ โรงพยาบาลมหาราชนครศรธี รรมราช Benefit of neosafe innovation for endotracheal tubes stabilization on incidence of unplanned extubations in the neonates at Maharaj Nakhon Si Thammarat Hospital.โรงพยาบลมหาราชนครศรีธรรมราช.วารสารพยาบาลศาสตร์ และสุขภาพ 2562. [เข้าถึงเม่ือ 10 กรกฎาคม 2565]. เข้าถงึ ได้จาก: file:///C:/Users/Acer/Downloads/nukkujo,+%23%23default.groups.name.manager%23%23,+12+% E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%8C%20(2) .pdf. 3.ปารยะ อาศนะเสน . การดูเเลทอ่ หลอดลมคอหลังการเจาะคอ [หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์]. [เข้าถงึ เม่ือ 10 กรกฎาคม 2565]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.si.mahidol.ac.th/siriraj_online/thai_version/Health_detail.asp?id=1111 , 4.นอ๊ ต เตชะวฒั นวรรณา, ฉนั ชาย สิทธิพนั ธ์, สมเกยี รติ วงษ์ทมิ และวศิ ษิ ฏ์ อุดมพาณิชย์. (2548). การถอดท่อ ช่วยหายใจโดยไมต่ ั้งใจในหอผ้ปู ่วยวกิ ฤตอายรุ กรรม.วารสารวัณโรค,26, 89-100. 307
5.ณรงคก์ ร ชยั วงศ.์ แนวคิดและหลกั การพยาบาลผูปวยผูใหญ แบบองครวมในระยะวิกฤตและฉุกเฉนิ .[เข้าถึง เมอ่ื 25 กรกฎาคม 2565].เข้าถึงไดจ้ าก: https://dspace.bru.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/7830/%E0%B9%81%E0%B8%99% E0%B8%A7%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0 %B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0% B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8 %B4%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%95.pdf?sequence=1&isAllowed=y 6. เบญจพร โชคทวอี นันต์, .ภทั ราภรณ์ แก้วใหม่, ปริยพงศ์ กิจนิตยช์ ีว์.การให้ความรู ด้ ้านสุขภาพ :การดูแลทอ่ หลอดลมคอ (Tracheostomy care).2564.[เข้าถึงเมอื่ 25 กรกฎาคม 2565].เขา้ ถงึ ได้จาก: http://www.med.nu.ac.th/dpMed/fileKnowledge/291_2021-07-19.pdf. 7.Kiekkas P, Aretha D, Panteli E, Baltopoulos G, Filos, S. Unplanned extubation in critically ill adults: clinical review. Nurs Critl Care 2012; 18(3): 123-134. 8.Silva PS, Fonseca MC. Unplanned endotracheal extubations in the intensive care unit: systematic review, critical appraisal and evidence-based recommendations. Anesth Analg 2012; 114: 1003-14. 9.Chang, L. Y., Liu, P. F., Katherine Wang, K.W., Chao, Y. F. (2008). Influence of physical restraint on unplanned extubation of adult intensive care patients: A case-control study. American journal of critical care, 17, 408-416. 10. Curry, K., Cobb, S., Kutash, M.,,Didds, C. (2008). Characteristics associated with unplanned extubations in a surgical intensive care unit. American journal of critical care, 17, 45-52. 308
นวตั กรรมอุปกรณพ์ ยงุ ลุกขนึ้ นั่ง กลุ นษิ ฐ์ สายจำปา1 , ธฌาค์พัสร ใจหลกั 2 , ธนั ยช์ นก หนขู าว3 , นวภัทร เอ๊าเจริญ4 นนั ทนา เจรญิ หงษษ์ า5 , ภชั ชญา โชชัญยะ6 , มติการ์ รักอู่7 , มนชั นก เอย่ี มจำปา8 ผศ.ดร.พมิ พล์ ดา อนนั ต์สิรเิ กษม9 1วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก *[email protected] บทคัดยอ่ การบาดเจบ็ ไขสนั หลังทกี่ ่อให้เกิดภาวะอัมพาตท่อนลา่ ง ส่งผลกระทบต่อชวี ติ ของผ้ปู ่วยทั้งทางร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ ตลอดจนทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถดำเนินชีวิตรว่ มกับคนอื่นๆในสังคมได้อย่างเต็มที่ชีวิตของผู้ปว่ ยจะเปลี่ยนไปโดยสิน้ เชิงจาก ภาวะอสิ ระสามารถพง่ึ พาตนเองได้ไปสู่ภาวะท่ีต้องพึ่งพาผอู้ ื่นมากขึ้นเเละต้องเรียนรู้วิธีการจัดการชวี ิตของตนเองใหม่ การทำ นวัตกรรมครัง้ นี้มวี ัตถุประสงคเ์ พอื่ ส่งเสริมผู้ป่วยสามารถพยุงลุกข้ึนน่ังได้เองโดยไม่ตอ้ งพ่ึงพาอาศัยผอู้ นื่ โดยศึกษาผู้ท่ีมีปัญหา ดา้ นการลุกนั่งและครอบครัวกรณศี ึกษาทม่ี ีปัญหาด้านการลุกนั่งท้งั กอ่ นและหลงั ใช้นวัตกรรม เครื่องมือวจิ ยั ได้แก่ นวัตกรรม อุปกรณ์พยงุ ลกุ ข้ึนนง่ั ซ่ึงผู้วจิ ัยประดิษฐเ์ ป็นอปุ กรณ์เสริมทใี่ ช้กับเตียงปกติท่บี ้านของคนไข้ เคร่ืองมือท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบประเมินความสามารถการลุกขึ้นนั่งบนเตียงของผู้ป่วย และ 2) แบบประเมินความพึงพอใจการใช้นวัตกรรม เคร่อื งช่วยพยุง ลุกขน้ึ นัง่ โดยเปรียบเทียบการประเมนิ ก่อนและหลงั ใชน้ วตั กรรม ผลการศึกษา พบว่า กอ่ นใช้นวัตกรรม ผ้ปู ว่ ยไม่สามารถใช้เวลาในการลกุ ขน้ึ น่งั ด้วยตนเองได้ หลังใช้นวัตกรรมผู้ป่วย สามารถลุกนั่งด้วยตนเองได้ ใช้เวลา 12 วินาที จากการศึกษาจะเห็นได้ว่าหลังจากใช้นวัตกรรมเคร่ืองพยุง ลุกขึ้นนั่ง ผู้ป่วย สามารถลกุ ขึน้ นัง่ ไดด้ ว้ ยตนเองโดยไม่ต้องพึ่งพาผอู้ ่นื ซงึ่ เปน็ การสร้างคุณค่าในตนเองและแบ่งเบาภาระหน้าทข่ี องผู้ดูแลได้มาก ขึ้นอีกดว้ ย จงึ มีผลทำให้มที ัศนคติที่ดใี นการมีอายยุ ืนยาว มีจติ ใจท่เี ข้มแข็ง มกี ำลงั ใจทม่ี ุง่ มนั่ เปน็ ผูใ้ ห้ท่ดี ี คำสำคัญ : บาดเจ็บไขสนั หลัง อมั พาตทอ่ นลา่ ง การสร้างคุณค่าในตวั เอง 1. ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา สมองและไขสันหลังถือว่าเป็นระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system) ไขสันหลังเป็นส่วนของระบบ ประสาทส่วนกลางที่ต่อเนื่องลงมาจากก้านสมอง ประกอบด้วยเซลล์ประสาท(neuron) เซลล์เกลีย(glia) ซึ่งทำหน้าที่ค้ำจุน เซลล์ประสาท โพรงน้ำไขสันหลัง (central canal) และเยื่อหุ้มไขสันหลัง (spinal meninges) โครงสร้างทั้งหมดบรรจุอยู่ ภายในชอ่ งกระดูกสันหลงั (spinal canal) ไขสันหลงั ทำหน้าทถ่ี ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างสมองกับส่วนต่างๆของร่างกาย ควบคุมการตอบสนองของรา่ งกายหรอื รีเฟล็กซ์(reflex) และควบคุมศนู ย์สร้างรปู แบบการเคล่ือนไหวกลาง (central (central pattern generator) ของร่างกายท้งั หมดไขสนั หลงั เป็นเสน้ ประสาททีอ่ ยู่ภายในกระดูกสันหลังท่ีเช่ือมไปถึงกระดกู คอ มหี น้าท่ี ควบคุมระบบประสาทสว่ นกลางซง่ึ เปน็ ตัวกลางเช่อื มสญั ญาณระหว่างสมองกบั รา่ งกายในการรับรู้ความร้สู กึ ต่าง ๆ ทำให้สมอง สามารถสั่งการควบคุมการแสดงออก ปฏิกิริยา และการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของร่างกายได้ ดังนั้น เมื่อไขสันหลังเกิดความ เสียหาย เช่น กระดูกบริเวณคอ หรือกระดูกสันหลงั บาดเจ็บจากแรงกระแทก อาจทำให้ไขสันหลังได้รบั ความเสียหายจนไม่ สามารถส่งสัญญาณจากสมองไปยังกล้ามเน้อื เพ่อื ควบคมุ การเคล่อื นไหวได้ 309
การบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injury SCI) คือ การบาดเจ็บไขสันหลังรวมถึงรากประสาทท่ีอยู่ ในโพรงของ กระดูกสันหลัง รวมถึงภาวะอาการกดทับรากประสาทส่วน Cauda equina ที่อยู่ในช่องไขสันหลังบริเวณหลังส่วนล่าง การ บาดเจ็บไขสันหลังจะทำใหเ้ กดิ ความผิดปกติที่เกิดข้ึนตามหลงั การบาดเจ็บ คอื Paraplegia หมายถงึ การออ่ นแรงหรืออัมพาต ท่อนขา หรือท้งั ท่อนขาและลำตัว อาจเปน็ ทั้งหมดหรือบางส่วน เนอื่ งจากมีพยาธิสภาพตัง้ แต่ระดับกระดกู หลงั T2 ลงมา ส่งผล ให้ร่างกายส่วนล่างของผู้ป่วยไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ โดยอาจมีอาการขาอ่อนแรง สูญเสียความรู้สึกบริเวณขา ระบบ ขับถา่ ยผดิ ปกติ หรือปวดหลงั ช่วงล่างอยา่ งรุนแรง นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีท่ี 2 กลมุ่ ฝึกงานท่ี รพ.สต. หนองกลางดา่ น จงึ มกี ารคดิ ค้นนวัตกรรมอุปกรณ์ พยุง ลุกขึ้นนั่ง ซึ่งเป็นอุปกรณท์ ี่สามารถช่วยให้ผูป้ ่วยลุกขึ้นนัง่ ได้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองไดโ้ ดยที่ไม่ตอ้ งพ่ึงพาผู้อื่น และสง่ เสริมใหผ้ ้ปู ว่ ยรู้สกึ มีคุณคา่ ในตนเองมากขนึ้ 2. วตั ถุประสงค์ 1.เพอ่ื สง่ เสรมิ ผปู้ ว่ ยสามารถพยงุ ลุกขึ้นนง่ั ได้เองโดยไม่ตอ้ งพง่ึ พาอาศัยผอู้ ่ืน 3. กลุ่มเป้าหมาย ผปู้ ว่ ยท่ีมปี ัญหาด้านการลกุ น่ัง จำนวน 1 คน 4. กระบวนการพัฒนา (ตามขนั้ ตอน plan do check act) การเตรียมการ (PLAN) 1.ศึกษาปญั หากำหนดหวั ขอ้ นวตั กรรมท่สี นใจทำโดยนำปัญหาจากประสบการณก์ ารเยย่ี มบ้าน กรณีศึกษา ไดท้ ราบถงึ ปัญหาของคณุ กล่อมเกีย่ วกบั โรคกลา้ มเน้ืออ่อนแรง จากน้นั จึงค้นคว้าหาขอ้ มูลวิจยั เพ่มิ เติม มาสรา้ งเป็นงานนวตั กรรม “เครื่องพยงุ ลกุ ข้ึนนั่ง (The crutches bar)” 2.เสนอหวั ขอ้ /แนวคิดเกย่ี วกับนวตั กรรมกับอาจารยท์ ป่ี รึกษา 3.กำหนดโครงออกแบบร่างนวตั กรรม 4.กำหนดวัตถุประสงค์ และขอบเขตการดำเนินงาน 5.กำหนดตัวชว้ี ัดและตั้งเปา้ หมาย 6.กำหนดประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ งแบบเจาะจง การดำเนนิ การ (DO) การออกแบบเกบ็ ข้อมลู จากเคสกรณีศกึ ษาว่ามีปญั หาในเร่ืองใด จากนั้นนำวิเคราะหป์ ญั หาและหาขอ้ มลู เก่ียวกบั อุปกรณท์ ีช่ ว่ ยในการลุกน่งั เม่ือหาข้อมูลเรียบร้อยจึงวางแผนและออกแบบอุปกรณ์ทจ่ี ะชว่ ยให้ลกุ ข้นึ นั่งด้วยตนเองโดย ท่ีไม่ต้องมีคนอ่นื ช่วย 310
การประดษิ ฐ์ 1.ออกแบบนวัตกรรม 2.นำแบบนวัตกรรมท่อี อกแบบไปให้ชา่ งเพอื่ ทำการประดิษฐ์ การเกบ็ รายละเอยี ด ตรวจสอบข้อมูลชิ้นงานนวตั กรรม ก่อนนำไปทดลองใช้จรงิ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน(CHECK) 1.อาจารยป์ ระจำกลุ่ม ตรวจสอบความถูกต้องของเนือ้ หากอ่ นนำไปทดลองใช้กบั เคสกรณีศกึ ษา 2.ให้ความรู้และประโยชน์ของเคร่ืองพยุง ชว่ ยลุกขึน้ นัง่ (The crutches bar) 3.ให้เคสกรณีศึกษาทดลองใช้นวตั กรรมเครอ่ื งพยุง ชว่ ยลงุ ขึน้ น่งั (The crutches bar)และตดิ ตามอาการ หลงั ใชน้ วัตกรรม 4.แบบประเมินความพงึ พอใจหลังการใช้นวตั กรรม 5.จากการประเมินผลครอบครวั เคสกรณีศึกษา ครอบครวั มคี วามเขา้ ใจเรื่องการใช้เครอ่ื งพยุง ช่วยลกุ ขึน้ นัง่ (The crutches bar)และสามารถนำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับสิ่งที่เปน็ อยู่ การนำผลการประเมิน ไปปรบั ปรงุ พัฒนา(ACT) นำผลการประเมนิ ท่ไี ดไ้ ปใช้ปรบั ปรงุ และพฒั นานวัตกรรม 1.มกี ารปรบั ทส่ี อดใต้เตียงเพือ่ เพิ่มความมัน่ คงของนวัตกรรม 2.มกี ารเพิ่มทหี่ ุ้มเพอ่ื ลดการเกดิ การกระแทก 3.มีการปรับแทน่ จบั เพ่อื ให้สามารถปรบั ให้เหมาะกบั สภาพรา่ งกายของผปู้ ่วย 311
5. รายละเอยี ดและวิธีการใชง้ านนวัตกรรม ขน้ั ตอนท่ี 1 นำเอานวัตกรรมไปใช้กับผู้ป่วยที่มีปัญหาลกุ น่งั โดยมขี ัน้ ตอนในการใช้ ดงั นี้ -อธิบายและสาธิตการใช้งานนวตั กรรมเคร่ืองพยุง ลุกข้นึ น่งั ให้กับผ้รู ับบริการและผู้ดูแลเพ่ือความรู้ ความเขา้ ใจกบั ตวั นวตั กรรมเครอื่ งพยงุ ลกุ ขึ้นนง่ั ทต่ี รงกันมากทีส่ ดุ ว่าใช้งานอย่างไรและมีความเหมาะสมกับผ้ปู ว่ ยมากเพยี งใด -นำเอานวตั กรรมเครอื่ งพยุงลกุ ขึ้นนง่ั ไปสอดเข้าท่ีใต้เตยี งนอนของผู้ทีร่ บั บริการเพ่อื เพมิ่ ความมนั่ คงของนวตั กรรม มี ทหี่ ุ้มเพ่อื ลดการเกดิ การกระแทกเข้ากบั ตัวผ้ทู รี่ ับบรกิ าร -ปรับแทน่ จบั ของนวตั กรรมเพอื่ ให้สามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมกับสภาพรา่ งกายของผู้ทม่ี ารบั บริการ -ในระหว่างทีผ่ รู้ บั บริการกำลงั ใช้นวตั กรรมเพือ่ ลุกขึน้ น่ังด้วยตนเองจะมีการติดตามอาการอาการหลังใช้นวัตกรรม ข้ันตอนท่ี 2 สำรวจความพงึ พอใจกบั ตัวนวัตกรรมโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภปิ รายผล การจัดทำนวัตกรรมเครื่องพยุง ลุกขึ้นนัง่ (The crutches bar) จัดทำขึ้นเพื่อให้ผูเ้ รียนมีความรูค้ วามเข้าใจในเรือ่ ง ของการทำนวัตกรรมเครื่องพยุง ลุกขึ้นนั่ง การคิดค้นออกแบบนวตั กรรมให้เหมาะสมและสนองตามความต้องการของผู้ปว่ ย สถานที่ทำนวัตกรรม ร้านคุณหมีเชื่อมเหล็ก ตำบลกรับใหญ่ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ตั้งแต่วันที่ 13 กุมภาพันธ์ -1 มีนาคม พ.ศ.2566 ผลการประเมนิ นวัตกรรมในการบรรยายตามลำดับ ดงั น้ี ตอนที่ 1 ความสามารถการลุกข้นึ นัง่ บนเตยี งของผปู้ ่วย พบว่าก่อนใช้นวัตกรรมอุปกรณ์พยุง ลุกขึ้นนั่ง ผู้ป่วยไมส่ ามารถลุกนั่งได้ด้วยตนเอง แต่สามารถลุกได้เมือ่ มคี นชว่ ย หลังจากใช้นวตั กรรมอปุ กรณพ์ ยงุ ผปู้ ่วยสามารถลุกขึน้ นั่งได้เองโดยใชเ้ วลา 12 วินาที ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจการใช้นวัตกรรมเครื่องช่วยพยงุ ลุกขึ้นนัง่ พบว่าผู้ป่วยมีความต้องการของผู้รับบริการต่อนวัตกรรมในระดับมากที่สุด มีความสนใจของผู้รับบริการที่มีต่อ นวัตกรรมในระดับมากท่ีสุด นวัตกรรมเหมาะกบั ผู้รบั บริการในระดับมากที่สดุ นวัตกรรมมีประโยชน์ต่อผู้รับบริการในระดับ มากทส่ี ุดและนวัตกรรมช้นิ น้ีสามารถดัดแปลงและพัฒนาไปใช้ในระดบั มาก อภิปรายผล จากการศึกษาจะเหน็ ไดว้ ่าหลงั จากใชน้ วัตกรรมเคร่อื งพยุง ลุกขึ้นน่งั ผูป้ ่วยสามารถลุกข้ึนนัง่ ไดด้ ้วยตนเองโดยไม่ต้อง พงึ่ พาผอู้ ื่น และยังใช้เวลาในการลุกขึ้นน่ังลดลง ซงึ่ เปน็ การสรา้ งคุณค่าในตนเองและแบง่ เบาภาระหน้าที่ของผู้ดูแลได้มากข้ึน อีกด้วย ซึ่งสอดคล้องกบั ผลการประเมินของตอนที่ 1 ประเมินความสามารถการลุกขึ้นนั่งบนเตียงของผู้ป่วย พบว่าผู้ป่วยใช้ เวลาไดเ้ ร็วและดีกว่าท่ีต้ังไว้ในการประเมิน จงึ มีผลทำให้มีทัศนคติท่ีดีในการมีอายุยืนยาว มจี ิตใจท่ีเข้มแข็ง มีกำลังใจท่ีมุ่งม่ัน เป็นผ้ใู ห้ทีด่ ี สว่ นตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจการใชน้ วัตกรรมเครือ่ งช่วยพยงุ ลกุ ข้ึนนงั่ พบว่าความตอ้ งการต่อนวตั กรรมที่ผู้ป่วยได้ ใหค้ วามสนใจในระดับมากท่ีสุด นวัตกรรมมคี วามเหมาะสมกับผู้รับบริการในระดับมากทส่ี ุดและสามารถนำนวัตกรรมช้ินนี้ไป ปรบั ใชแ้ ละพฒั นาตอ่ ยอดในการไปใชใ้ นระดับมาก 7. ข้อเสนอแนะ 7.1 ขนาดของช้นิ งานตอ้ งปรบั ใหเ้ หมาะสมตามขนาดเตียงของผู้ป่วย 7.2 ใชใ้ นผ้ปู ่วยที่พอมแี รงดงึ แตไ่ ม่สามารถลกุ ขึ้นนั่งเองได้ 312
8. เอกสารอา้ งองิ สถาบันสริ นิ ธรเพ่อื การฟืน้ ฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2560). คมู่ อื การดูแลคนพกิ ารบาดเจบ็ ไขสันหลัง สาํ หรับผ้ปู ว่ ยบาดเจ็บไขสนั หลัง อัมพาตครง่ึ ล่าง(พาราพลีเจยี ). (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 1). นนทบุรี: บรษิ ทั สหมิตรพริน้ ติง้ แอนดพ์ ับลสิ ช่ิง จาํ กดั อภิชนา โฆวินทะ. บทที1่ 2การฟ้นื ฟสู ภาพผูป้ ่วยบาดเจบ็ ท่ีไขสันหลัง. ค้นจาก https://w1.med.cmu.ac.th/rehab/images/Study_guide/19_Rehab_in_SCI_AK.pdf อภิชนา โฆวินทะ. บาดเจ็บท่ีไขสันหลัง : แนวทางการประเมนิ ระบบประสาท. เชยี งใหม่ : สุทินการพิมพ์, 2548. Thaiseniormarket. (2566). การสร้างคุณค่าในตัวเองสำหรับผู้สูงวัย. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2566. ค้นจาก http://www.thaiseniormarket.com/article-detail/422 313
เบาะลมชว่ ยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย จิราทพิ ย์ อุ่นธง1 , จรี นนั ท์ มโนธรรมม่ันคง2 , จรุ รี ตั น์ พิมพา3 , ชญานันท์ จารุพงษ์4 , ชฎาภร จนั ทรเ์ ทวี5 , ชนาภา มลู ทองคา6 , ญาณิศา ยารมั ย์7 และเนาวรัตน์ นอ้ ยพันธ์ุ8 1วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั โทรศัพท์ 0810106797 [email protected] บทคัดย่อ การศกึ ษาจดั ทานวัตกรรมเบาะลมชว่ ยพลิกตะแคงตัวผูป้ ่วยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อพฒั นานวตั กรรมท่ีชว่ ยลดการเกดิ แผล กดทับ เพ่ือสร้างนวัตกรรมช่วยผ่อนแรงในการพลกิ ตะแคงผปู้ ่วยกลุม่ ติดเตียง และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจต่อนวัตกรรมเบาะ ลมชว่ ยพลกิ ตะแคงตัวผูป้ ่วยกลุ่มตดิ เตียง กลมุ่ ตวั อยา่ งคือผดู้ ูแลผู้ปว่ ยติดเตยี ง 2 คน จาก หมู่ 2 ตาบลลาดบวั ขาว อาเภอบา้ น โปง จังหวัดราชบุรี และนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตช้ันปีที่ 3 จานวน 13 คน รวม 15 คน มีเครื่องมือในการประเมินคือ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ทดสอบนวัตกรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย ผลการศึกษาพบว่าคะแนนเฉลี่ยแบบ ประเมินด้านปัญหาและการพัฒนาเท่ากับ 4.47 แปลผลเป็น มีความพึงพอใจมาก ด้านโครงสร้างนวัตกรรมเท่ากับ 4.52 แปล ผลเป็น มีความพึงพอใจมากท่ีสุด ด้านการใช้งานนวัตกรรมเท่ากับ 4.52 แปลผลเป็น มีความพึงพอใจมากท่ีสุด ด้านผู้ผลิต นวตั กรรมเทา่ กับ 5.33 แปลผลเปน็ มคี วามพึงพอใจมากทสี่ ุด ด้านประโยชนข์ องนวัตกรรมต่อบคุ ลากรและผู้ปว่ ยเทา่ กบั 4.36 แปลผลเป็น มีความพึงพอใจมาก ด้านจุดเด่นของนวัตกรรมเท่ากับ 4.55 แปลผลเป็น มีความพึงพอใจมากที่สุด และค่าเฉลยี่ ทุกดา้ นเทา่ กบั 4.48 ดังนน้ั จากการใชน้ วตั กรรมกับกลุ่มตัวอย่างพบว่า มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก คาสาคัญ: ผปู้ ่วยติดเตียง , พลิกตะแคงตวั 314
1.ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา แผลกดทับเกดิ จากแรงกดทับซ่งึ แรงกดท่ีมากกว่า 32 มลิ ลเิ มตรปรอท กระทาต่อรา่ งกายอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเป็นเวลานาน จะทาใหเ้ ลือดไปเล้ยี งบรเิ วณทีถ่ ูกกดไมเ่ พยี งพอ ผวิ หนงั และเนอ้ื เยื่อขาดออกซิเจน ทาใหเ้ กดิ การตายของผวิ หนังและเนือ้ เย่อื ตา่ ง ๆ ซึง่ เปน็ ภาวะแทรกซ้อนท่พี บไดบ้ ่อยในผปู้ ่วยทีม่ ภี าวะบกพร่องทางการเคลอ่ื นไหวหรอื ถูกจากดั การเคล่ือนไหวไมว่ ่าจะ เกิดจากพยาธสิ ภาพของโรคเองเชน่ ผ้ปู ว่ ยบาดเจบ็ บรเิ วณไขสนั หลงั (spinal cord injury) หรอื ผูป้ ่วยโรคหลอดเลือดในสมอง (stroke)1 จากรายงานสถานการณ์การเกดิ แผลกดทบั ในตา่ งประเทศพบว่ามีแนวโน้มเพมิ่ สงู ข้นึ ทั่วโลก โดยพบการเกดิ แผลกด ทับในผู้ป่วยเรือ้ รงั จานวนร้อยละ 0.4-3.8 แตกตา่ งกันตามบรบิ ทของโรงพยาบาล สาหรบั ประเทศไทยพบอุบตั กิ ารณก์ ารเกดิ แผลกดทบั จานวนร้อยละ 10.8-11.18 หรือคดิ เป็นอตั ราการเกดิ แผลกดทับ 0.58-3.64 ต่อ 1,000 วันทผี่ ู้ปว่ ยนอนใน โรงพยาบาล โดยกลุ่มผู้ป่วยมักเปน็ ผูส้ ูงอายแุ ละมักจะมจี านวนวนั ทนี่ อนภายในโรงพยาบาลเปน็ ระยะเวลานาน2 ระดับของ แผลกดทับทีเ่ กดิ ข้ึนบ่อยทีส่ ดุ คือระดับท่ี 1 (43.5%) และระดบั ท่ี 2 (28.0%)3 ตาแหน่งของรา่ งกายท่พี บบ่อยทส่ี ดุ ท่ีไดร้ ับ ผลกระทบจากความเสยี หายจากแรงกด คอื กระเบนเหนบ็ (28%-36%) ส้นเท้า (23%-30%) และก้นกบ (17%-20%)1,4 การดูแลผู้ป่วยติดเตียง การจัดท่านอนและพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยจึงเป็นกิจกรรมท่ีมีความสาคัญและมีความจาเป็น อย่างย่ิงในการป้องกนั การเกิดแผลกดทบั โดยเฉพาะในผ้ปู ่วยทช่ี ่วยเหลือตนเองไม่ไดแ้ ละตอ้ งนอนบนเตียงนาน ๆ5 โดยการพลิก ตะแคงตัวมีแนวปฏิบัติดังนี้ ท่านอนหงาย ใช้หมอนรองบริเวณศีรษะ ไหล่ และใช้หมอน ผ้าหรือเบาะสอดใต้หัวเข่าและน่อง เพ่ือยกส้นเท้าลอยจากพ้ืนผิวเตียงป้องกันการกดทับบริเวณส้นเท้า กรณีเตียงปรับระดับได้ ให้จัดท่านอนหงายศีรษะสูง 30 องศา และปรบั ระดับใต้เข่าสูงขึน้ เพื่อปอ้ งกนั การเลอ่ื นไถล จัดทา่ นอนตะแคงกง่ึ หงายเอียง 30 องศา โดยนอนตะแคงกึง่ หงาย ให้สะโพกเอียงทามุม 30 องศากับที่นอน เพ่ือหลีกเล่ียงแรงกดโดยตรงกับปุ่มกระดูกบริเวณไหล่และสะโพก ใช้หมอน ผ้าหรือ เบาะสอดค่ัน ระหว่างเขา่ และขาทง้ั สองข้าง เพอื่ ปอ้ งกนั การเสยี ดสีและลดแรงกดทับระหว่างปมุ่ กระดูก6 แผลกดทับส่งผลให้มีการอักเสบของเนื้อเยื่อ เกิดการติดเช้ือในกระแสเลือดท่ีรุนแรงจนอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ทาให้ คา่ ใชจ้ า่ ยในการดแู ลแผล ค่ายา และอปุ กรณ์ส้ินเปลอื งสงู ขน้ึ ผู้ป่วย ครอบครัว และผู้ดูแล มีความทุกข์ มคี วามเครียดและวิตก กังวล สูญเสียภาพลักษณ์ ทาให้ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพผู้ป่วยมาใช้ สาหรบั ลดหรอื รักษาแผลกดทับ เพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยทีม่ ีแผลกดทับ จงึ เป็นสิ่งสาคญั 7 จากทีก่ ลา่ วไวข้ ้างตน้ แสดงให้เห็นถงึ ความสาคัญของปัญหาการเกดิ แผลกดทบั ในผู้ป่วยติดเตียง ซ่ึงแนวทางการดูแล และป้องกนั คอื การพลกิ ตะแคงตวั ผูป้ ่วยทุก 2 ชั่วโมง จากประสบการณ์การขึ้นฝกึ ปฏิบัติงานบนหอผปู้ ว่ ย พบประเด็นสาคญั ท่ี เป็นปัญหาคือ กลุ่มผู้ป่วยที่ถูกจากัดการเคล่ือนไหว หรือมีความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง มีจานวนมาก เมื่อต้องพลิก ตะแคงตัวให้ผู้ป่วย บุคลากรจะต้องออกแรงและเป็นกระบวนการที่ใช้เวลาอย่างมาก บางคร้ังบุคลากรประจาหอผู้ป่วยติด กิจกรรมทางการพยาบาลกบั ผ้ปู ่วยฉกุ เฉินหรือวิกฤติ ทาให้ผูป้ ว่ ยบางรายต้องได้รับการพลิกตะแคงตัวโดยญาตหิ รอื ผู้ดแู ล สง่ ผล ให้ญาติหรือผู้ดูแลเกิดความอ่อนล้า ส่งผลต่อเน่ืองทาให้อุบัติการณ์การเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยเพิ่มมากข้ึน ซึ่งผลกระทบท่ี รุนแรงเม่ือเกิดแผลกดทับคือ อาจเกิดการติดเช้ือในกระแสเลือดทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ ผู้จัดทาจึงเกิดความสนใจประดิ ษฐ์ นวัตกรรมเบาะลมพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย ซึ่งมีลักษณะเป็นเบาะทรงสามเหล่ียม 2 ช้ิน สามารถเปิดปล่อยลมเพื่อช่วยผ่อนแรง และเพิ่มประสทิ ธิภาพของผ้ดู ูแลในการจดั ท่าพลิกตะแคงตวั ผปู้ ่วย ส่งผลต่อการป้องกันหรือลดอบุ ัตกิ ารณก์ ารเกดิ แผลกดทบั ได้ 2.วตั ถุประสงค์ 1.เพ่ือพัฒนานวัตกรรมท่ชี ว่ ยลดการเกดิ แผลกดทบั 2.เพื่อสรา้ งนวตั กรรมชว่ ยผ่อนแรงในการพลกิ ตะแคงผ้ปู ่วยกลุ่มตดิ เตยี ง 3.ศึกษาความพึงพอใจต่อนวัตกรรมเบาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตวั ผ้ปู ่วยกลมุ่ ตดิ เตียง 315
3.กลมุ่ เป้าหมาย ผู้ป่วย ณ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชายโรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี จานวน 1 คน โดยการคัดเลือกกลุ่มตัวอยา่ ง เป็นการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) และกาหนด คุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่าง ดังน้ี ผู้ป่วยติดเตียงท่ีไม่ สามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ มคี ะแนนตามแบบประเมิน Braden score ชว่ ง 10-12 คะแนน ซึง่ อยใู่ นกล่มุ ผ้ปู ว่ ยมคี วามเสยี่ งสงู (High risk) และมีแผลกดทับตั้งแต่ระดับ 1-2 และบุคลากรที่ดูแลผู้ป่วย ประกอบด้วย พยาบาล 3 คน ผู้ช่วยพยาบาล 3 คน ญาต/ิ ผดู้ แู ลผ้ปู ่วย 3 คน 4. กระบวนการพฒั นา (ตามขั้นตอน plan do check act) 4.1 ขั้นตอนการเตรียม (PLAN) 1. ศึกษาปญั หา งบประมาณ ตวั ชว้ี ดั ตา่ ง ๆ กาหนดหัวข้อนวัตกรรม แล้วเขยี นโครงการนาเสนอ 2. เสนอหัวขอ้ และการทางานของนวัตกรรมทร่ี า่ งไว้กับอาจารย์ท่ีปรกึ ษากลุ่ม 3. ปรับแก้แนวคดิ การทางานของนวัตกรรมและเสนออาจารย์ท่ีปรกึ ษา 4. สารวจวสั ดุอุปกรณ์และจัดสรรงบประมาณทตี่ ้องการใชใ้ นการสรา้ งนวัตกรรม 5. แจกแจงงานใหก้ บั สมาชิกแตล่ ะคน 4.2 ขั้นตอนดาเนินงาน (DO) 1. ศกึ ษาเอกสารท่ีเก่ยี วข้องและวสั ดุท่ใี ชใ้ นการสรา้ ง 2. กาหนดโครงรา่ งนวัตกรรม ร่างแบบนวัตกรรมและส่งให้อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาตรวจสอบ 3. จดั ทานวตั กรรมบทที่ 1 2 3 4. พฒั นานวัตกรรม การออกแบบคร้ังที่ 1 การออกแบบครั้งท่ี 2 316
การออกแบบครงั้ ท่ี 3 สรุป จากการออกแบบครั้งที่ 2 เน่ืองจากแรงที่ต้องยกผู้ป่วยมีทิศทางไม่เป็นแนวตรง ทาให้ต้องมีการแตกแรง เพ่ือ คานวณแรงที่ใช้ แล้วนามาเปรียบเทียบระหว่างมุม 30๐ 45๐ และ 60๐ เพ่ือหาแรงกระทากับพื้นราบน้อยท่ีสุด เม่ือนามา เปรยี บเทียบกับการใช้เบาะลมชว่ ยพลิกตะแคงตวั ผ้ปู ่วย หมายความวา่ จะมีการออกแรงในการพลกิ ตะแคงตัวผปู้ ่วยนอ้ ย จงึ ได้ อา้ งองิ จากการแตกแรงของหลักฟสิ กิ ส์ พบว่า มุม 60๐ เป็นมุมทมี่ ีแรงกระทากบั พื้นราบนอ้ ยท่สี ดุ ซ่งึ หากนามาเปรยี บเทยี บกับ การใช้เบาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตวั ผู้ปว่ ย พบว่า จะใช้แรงในการพลกิ ตะแคงผ้ปู ่วยน้อยท่ีสดุ จึงเลือกมุม 60๐ มาทาในส่วนของ ตัวเบาะลมชว่ ยพลกิ ตะแคงผูป้ ว่ ย 5. นาไปทดลองใช้ โดยนาไปใช้กับนักศึกษาปี 3 จานวน 15 คน จากนั้นให้ทาแบบสอบถาม แล้วนามาสรุปค่าความ พึงพอใจ และปรบั แกน้ วตั กรรมตามข้อเสนอแนะ 6. ประสานวทิ ยาลยั ในการทาหนงั สอื ประสานขออนุญาตกบั ทางโรงพยาบาล เพอื่ ทดลองใช้นวัตกรรม 7. คัดเลอื กผปู้ ว่ ย โดยประสานงานกบั หัวหน้ารพสต. และอสม.หมู่ 2 ตาบลลาดบวั ขาว อาเภอบ้านโปง่ จังหวดั ราชบรุ ี เพ่อื ทดลองใชน้ วตั กรรม ตามเกณฑ์ Braden score ชว่ ง 15-18 คะแนน ซึ่งอยู่ในกลุ่มผปู้ ว่ ยมคี วามเสย่ี ง (At rick) และมแี ผลกดทับต้งั แต่ระดับ 1-2 ซ่งึ ไดผ้ ู้ป่วยจานวน 1 คน 8. คดั เลือกพยาบาล ผูช้ ว่ ย ญาต/ิ ผดู้ แู ล โดยวิธีการเลือกกลุม่ ตัวอยา่ งแบบเจาะจง (Purposive sampling) กาหนด คณุ สมบัตคิ อื เป็นพยาบาลหรอื ผดู้ แู ลที่ใช้นวตั กรรมในการชว่ ยพลกิ ตะแคงตวั ผปู้ ่วยซึง่ ไดญ้ าติทเี่ ปน็ ผ้ดู แู ลผปู้ ่วยจานวน 2 คน 9. ทดลองใช้นวตั กรรม งบประมาณและวสั ดอุ ุปกรณใ์ นการทา 382 บาท 1. ผา้ ยางเคลือบ PVC 117 บาท 2. กาวตดิ ผา้ ใบ 158 บาท 3. ปมั๊ ลม 125 บาท 4. จุกยาง 150 บาท 5. ผา้ ปทู ่นี อน 87 บาท 6. แปรงทากาว 71 บาท 7. เขม็ และดา้ ย 210 บาท 8. อุปกรณ์ทาโมเดลและเอกสารประกอบนวัตกรรม 1,300 บาท รวม 317
4.3 ขัน้ ตอนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมิน (CHECK) 1. ให้พยาบาล ญาต/ิ ผดู้ ูแลในโรงพยาบาลท่ไี ด้ใชง้ านนวตั กรรม ประเมนิ ผลความพงึ พอใจการใช้งานนวัตกรรมเบาะ ลมพลกิ ตะแคงตัวผปู้ ว่ ย 2. ประเมินผู้ป่วยหลังใชง้ านนวัตกรรมโดยใช้แบบประเมนิ Braden score รวมรวมแบบประเมนิ และขอ้ เสนอแนะ 3. แปลผลการประเมินแบบประเมนิ ความพงึ พอใจต่อการใช้นวตั กรรมเบาะลมพลิกตะแคงตัวผู้ปว่ ย และสรุปรวม ขอ้ เสนอแนะ เคร่ืองมอื และการตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมือ เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการวิจยั ครั้งนีป้ ระกอบดว้ ย 2 สว่ น คือ 1. เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการทดลอง นวัตกรรมเบาะลมพลิกตะแคงตวั ผู้ป่วย ซ่ึงมีลักษณะเป็นเบาะทรงสามเหลยี่ ม 2 ช้ิน สามารถเปิดปล่อยลมเพ่ือช่วย ผอ่ นแรงและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของผ้ดู ูแลในการจดั ทา่ พลกิ ตะแคงตัวผู้ปว่ ย 2. เครือ่ งมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 2.1 แบบประเมนิ ของบราเดน (The Braden Scale for Predicting Pressure Sore Risk) มกี าร ประเมินท้ังหมด 6 ด้าน ได้แก่ การรับความรู้สึก (sensory perception) ความเปียกชื้นของผิวหนัง (skin moisture) ความสามารถในการเคล่อื นไหวของรา่ งกาย (mobility) การปฏิบตั ิกิจกรรม (activity) ภาวะ โภชนาการ (nutrition) และแรง เสียดสแี ละแรงไถล (friction and shear) ชว่ งคะแนนอยู่ระหว่าง 6 - 23 คะแนน คา่ คะแนนยิ่งน้อยยงิ่ เส่ียงมาก หรือแปลผลตามชว่ งคะแนน ดังนี้ 19 - 23 คะแนน ไม่มภี าวะเส่ียง 15 - 18 คะแนน เรม่ิ มภี าวะเสีย่ ง 13 - 14 คะแนน มีภาวะเสยี่ งปานกลาง 10 - 12 คะแนน มภี าวะเสี่ยงสงู 6 - 9 คะแนน มีภาวะเสย่ี งสูงมาก ซึ่งโดยทัว่ ไปค่าคะแนนเทา่ กับ 16 คือ เริม่ มภี าวะเส่ยี ง แตใ่ นกรณที ใ่ี ช้เครอ่ื งมือน้ีกับผู้สงู อายุ คา่ คะแนนที่เร่ิมมภี าวะ เสย่ี งจะเทา่ กับ 18 แบบประเมนิ ของบราเดนเปน็ เคร่ืองมอื ประเมินความเส่ียงทมี่ คี วามน่าเชื่อถือและความแมน่ ยาอยใู่ นระดบั ที่ ยอมรบั ได้ แตผ่ ู้ประเมนิ ต้องมีความรู้และเขา้ ใจเก่ียวกับปัจจัยเสย่ี งทั้ง 6 ดา้ น ทีร่ ะบุไวใ้ นเครือ่ งมอื เปน็ อย่างดี โดยคณะผจู้ ดั ทา จะทาการประเมินผู้ป่วยทั้งก่อนและหลงั ใชน้ วัตกรรมเบาะลมชว่ ยพลกิ ตะแคงตัวผปู้ ว่ ย 2.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจหลังใช้นวตั กรรมเบาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตวั ผู้ปว่ ย สรา้ งแบบประเมนิ ความพึงพอใจ ของผู้เรียนที่สร้างขึ้นโดยผ่านผ้เู ชี่ยวชาญ 3 ท่าน พิจารณาความสอดคล้องของความพึงพอใจทาการวิเคราะหข์ ้อมูลโดยหาค่า IOC เพ่ือนามาปรับปรุงแก้ไขคุณภาพของเคร่ืองมือ ความตรงเชิงเนื้อหา ทดสอบโดยการพิจารณาความสอดคล้องจากการ ประเมินโดยให้ผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน ประเมินให้คะแนนแต่ละข้อคาถาม โดยพิจารณาความสอดคล้องของข้อคาถามกับเนื้อหา ดังนี้ ใหค้ ะแนน +1 สาหรับขอ้ ทแ่ี นใ่ จว่าสอดคล้อง ใหค้ ะแนน 0 สาหรับขอ้ ทไ่ี มแ่ นใ่ จ ให้คะแนน -1 สาหรับข้อที่แน่ใจว่าไม่สอดคล้อง 318
หาคา่ สัมประสทิ ธิค์ วามสอดคลอ้ ง (Index of Item-Objective Congruence, IOC) ซง่ึ มสี ตู รคานวณ ดังน้ี การวิเคราะห์รายหัวข้อจะเป็นการประเมินเพ่ือดูความสัมพันธ์ของแบบสอบถามในรายหัวข้อด้วยการใช้ตัวสถิติ จานวนหนึ่ง โดยค่าสถิติท่ีสาคัญคือ ความตรงเชิงเน้ือหา ทดสอบโดยการพิจารณาความสอดคล้องจากการประเมินโดยให้ ผูเ้ ช่ียวชาญ 3 ท่าน ประเมินใหค้ ะแนนแต่ละข้อคาถาม โดยพิจารณาความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกับเน้ือหา ดังน้ี ให้คะแนน +1 สาหรับขอ้ ทีแ่ น่ใจว่าสอดคลอ้ ง ใหค้ ะแนน 0 สาหรับขอ้ ที่ไม่แน่ใจ ใหค้ ะแนน -1 สาหรบั ข้อท่ีแน่ใจวา่ ไม่สอดคล้อง หาคา่ สมั ประสิทธิค์ วามสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence, IOC) ซง่ึ มสี ูตรคานวณ คอื เกณฑ์การพิจารณา คือ ข้อคาถามที่มคี า่ IOC ตงั้ แต่ 0.5 ข้นึ ไป เป็นข้อคาถามที่ใช้ได้ ส่วนข้อคาถามท่ี มคี า่ IOC นอ้ ยกว่า 0.49 ลงมา เปน็ ข้อคาถามทีต่ ้องปรับปรุงและตัดออก การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ผู้วิจัยร่างหนังสอื ขออนุญาตในการนานวัตกรรมเบาะลมพลกิ ตะแคงตัวผู้ป่วย จากคณะอาจารย์และผูท้ รงคณุ วุฒิ และนาไปยน่ื ใหก้ ับโรงพยาบาลบา้ นโปง่ จงั หวดั ราชบุรี 2. ผู้ช่วยวิจัยทาการชี้แจงวัตถุประสงคข์ องการวิจัย โดยแจกเอกสารช้แี จงผเู้ ข้าร่วมการวิจัยและหนังสือแสดงเจตนา ยินยอมเข้าร่วมงานวิจัยให้กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ป่วยติดเตียงท่ีไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ จานวน 1 คน ได้อ่าน ถ้ากลุ่ม ตัวอย่างยินดีเข้าร่วมงานวิจัยให้กลุ่มตัวอย่างลงชื่อในแบบฟอร์มที่กาหนด ประเมินโดยใช้แบบประเมินของบราเดน (The Braden Scale for Predicting Pressure Sore Risk) เพื่อให้ได้ผู้ป่วยติดเตียงตามลักษณะท่ีกาหนด คือ มีคะแนนตามแบบ ประเมนิ Braden score ช่วง 10-12 คะแนน ซง่ึ อยู่ในกลุม่ ผ้ปู ่วยมคี วามเสย่ี งสงู (High risk) และมีแผลกดทับตั้งแตร่ ะดบั 1-2 นานวัตกรรมไปใช้โดยอธิบายข้ันตอนการใช้นวัตกรรมเบาะลมพลิกตะแคงผู้ป่วยให้กับพยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล ญาติ/ผู้ดูแล ผู้ป่วย จานวนกลุ่มละ 3 คน หลังจากน้ันประเมินความพึงพอใจและประเมินบราเดน (The Braden Scale for Predicting Pressure Sore Risk) หลังใชน้ วัตกรรม การพิทักษ์สทิ ธิ์กลมุ่ ตัวอยา่ ง ผู้วิจัยได้ทาการพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่าง โดยผู้วิจัยขอความยินยอมจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ด้วยการช้ีแจง วัตถุประสงค์ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ระยะเวลาท่ีใช้ในการตอบแบบสอบถามและสิทธิเข้าร่วม หรือถอนตัว จากการวิจัย หลังจากผู้เข้าร่วมให้การยินยอม ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล และผู้วิจัยเก็บข้อมูลของผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นความลับ สาหรบั การนาเสนอผลการวิจยั 319
สถิติทใ่ี ชก้ ารวเิ คราะห์ข้อมลู ผวู้ ิจยั นาข้อมลู ทไ่ี ดม้ าวเิ คราะหโ์ ดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (SPSS Windows Version 17.0) 1. ข้อมูลทั่วไปของกลมุ่ ตวั อยา่ ง นามาแจกแจงความถ่ี และคานวณคา่ รอ้ ยละ 2. คะแนนความพึงพอใจตอ่ การทดลองหลังใช้งานนวัตกรรมเบาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตัวผู้ปว่ ย โดยหา ค่าเฉลี่ย ค่ามากที่สดุ ค่าน้อยท่สี ดุ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 5 = มากทีส่ ดุ คา่ เฉล่ีย 4.51-5 4 = มาก ค่าเฉล่ยี 3.51-4.5 3 = ปานกลาง คา่ เฉลีย่ 2.51-3.5 2 = นอ้ ย คา่ เฉล่ีย 1.51-2.5 1 = นอ้ ยท่ีสุด ค่าเฉลย่ี 1-1.5 4.4 ข้นั ตอนการนาผลการประเมนิ ไปปรับปรุงพัฒนา (ACT) 1. วเิ คราะหแ์ ละอภิปรายผลการประเมนิ แบบประเมนิ Braden score และแบบประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ การใช้ นวัตกรรมเบาะลมชว่ ยพลิกตะแคงตัว นาข้อเสนอแนะมาสรปุ แนวทางการพฒั นานวตั กรรม 2. ทาการเขียนสรปุ จุดเดน่ จุดด้อย และแนวทางการพฒั นานวตั กรรมหลังการวเิ คราะห์ 5. รายละเอียดและวิธีการใชง้ านนวัตกรรม 1.นาเอาเบาะลมใสผ่ า้ ปูที่นอน 2.วางผา้ ปูและเบาะลมบนเตียงผู้ปว่ ย 3.จัดทา่ ให้ผู้ปว่ ยอยตู่ รงกลาง โดยเบาะลมวางอยใู่ นชว่ งบรเิ วณไหล่ถงึ สะโพกผูป้ ว่ ย ในสว่ นของจกุ ปมั๊ ลมอยู่บรเิ วณ ขา้ งลาตวั 4.เสียบปัม๊ ลมกบั จุกยาง ด้านทต่ี ้องการให้เบาะลมช่วยดนั ตวั ผูป้ ว่ ยขน้ึ 5.ผู้ดแู ลจัดทา่ และพลกิ ตวั ผ้ปู ่วยขณะเบาะลมดนั ตวั ผปู้ ว่ ยสูงขึ้น 6.ดูแลจัดทา่ นอนผปู้ ว่ ย โดยการใช้หมอนหรอื ผ้าหม่ รองบรเิ วณดา้ นหลังและระหว่างขา เพอ่ื ให้ผปู้ ่วยอยูใ่ นทา่ นอน ตะแคง 7.สูบลมทเ่ี บาะลมออก หลงั จากจดั ท่าผปู้ ว่ ยเสรจ็ แล้ว อกี 2 ชั่วโมงทาซา้ แต่เปลย่ี นข้างของเบาะลม 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภปิ รายผล ผลการทดลองใช้นวตั กรรม สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูลไดแ้ ก่ ค่าเฉลี่ย(���̅���) และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) จากการวิเคราะหข์ ้อมูลทาง สถติ ิพบว่า 1.. คุณภาพของเครือ่ งมอื แบบประเมนิ ความพึงพอใจในการใชน้ วัตกรรมเบาะลมชว่ ยพลกิ ตะแคงตวั ผปู้ ่วย โดยผู้ช่วยพลกิ ตะแคงตวั ผปู้ ว่ ย อยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด 2. ความพึงพอใจของนกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ จากการทดลองใช้ อยู่ในระดับมากทส่ี ุด ตาราง แปลผลคะแนนคา่ เฉล่ยี แต่ละดา้ นจากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจของการทดลองใช้นวตั กรรม เบาะลมช่วยพลกิ ตะแคง ตัวผู้ปว่ ย (Air cushion assisting patient positioning) หลังการทดลอง โดยใช้ค่าเฉลย่ี และค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 320
เมื่อแปลผลคะแนนค่าเฉล่ียแต่ละด้านจากแบบประเมิน ความแตกต่างค่าเฉลี่ยคะแนนจากแบบประเมินความพึง พอใจของการทดลองใช้นวตั กรรม เบาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตัวผู้ป่วย (Air cushion assisting patient positioning) หลังการ ทดลอง โดยใช้คา่ เฉลี่ยและคา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานหลังเรยี น จานวน 21 ขอ้ โดยมีขอ้ ตกลงตามตารางข้างต้น การอภปิ รายผล การทานวัตกรรมครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1.) เพ่ือพัฒนานวัตกรรมท่ีช่วยลดการเกิดแผลกดทับ 2.)เพื่อสร้าง นวตั กรรมชว่ ยผอ่ นแรงในการพลิกตะแคงผ้ปู ่วยกลุ่มติดเตยี ง 3.) ศกึ ษาความพงึ พอใจต่อนวัตกรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัว ผปู้ ่วยกลมุ่ ติดเตียง 1. ผลการประเมินด้านเพศโดยภาพรวมมีคา่ ความถีอ่ ยู่ที่ 15 รอ้ ยละ 100 ระบแุ ปลคือเปน็ เพศหญงิ ทง้ั หมด 2. ผลการประเมินด้านอายุโดยภาพรวม อายุ 20-40 ปี มีค่าความถี่อยู่ท่ี 14 ร้อยละ 93.3 อายุ 40 ปีข้ึนไป มี ค่าความถีอ่ ยทู่ ่ี 1 รอ้ ยละ 6.7 เฉล่ียอายทุ ั้งหมดเฉลี่ยอยู่ 15 ร้อยละ 100 ระบแุ ปลผลคือเป็นช่วงอายุ 20-40 ปีโดยสว่ นรวม 3.ผลการประเมินด้านอาชพี โดยภาพรวม รับจา้ งทวั่ ไปมีคา่ ความถ่ีอยทู่ ่ี 2 รอ้ ยละ 13.3 นักศกึ ษามคี ่าความถ่อี ยทู่ ่ี 13 ร้อยละ 86.7 เฉลยี่ อายทุ ง้ั หมดเฉล่ยี อยู่ 15 ร้อยละ 100 ระบุแปลผลคอื เป็นอาชพี นกั ศึกษาพยาบาลโดยส่วนรวม สรุปผล คุณภาพของคุณภาพของนวัตกรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยสามารถผ่อนแรงได้จริง ผลสรุปได้ว่า ผลการ ประเมิน สาหรับกลุ่มตัวอย่างอูย่ในระดับมาก หัวข้อการประเมินที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการช่วย พลิกตะแคงตัวผู้ปว่ ยสามารถผอ่ นแรงได้จรงิ (คะแนนเฉลีย่ =4.48) มีผลสรุปได้ว่า นวัตกรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยสามารถผ่อนแรงได้จริง ผลสรุปได้ว่า ผลการประเมิน สาหรับกลมุ่ ตัวอย่างอูยใ่ นระดบั มาก หัวข้อการประเมินท่ีมคี ่าเฉล่ยี สูงสุด คือ สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการช่วยพลกิ ตะแคง ตัวผู้ปว่ ยสามารถผ่อนแรงไดจ้ ริง (คะแนนเฉลี่ย =4.48) 7. ข้อเสนอแนะ การพฒั นานวตั กรรมเบาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตวั ผปู้ ่วย เพ่ือให้มปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น ควรมีข้อคานึงดังนี้ 1. ควรลดเสียงของป๊ัมลมใหเ้ สยี งดังลดลง เพ่ือลดเสยี งรบกวนผปู้ ว่ ยขณะพักผ่อน 2. การเสยี บจุกป๊มั ลม มีวธิ กี ารเสยี บยาก และต้องใช้แรงเยอะ 3. ควรมสี ายเชอ่ื มตอ่ เบาะลมกับปมั๊ เพือ่ ให้เสยี บปม๊ั ลมได้ง่ายข้ึน 4. ปั๊มลมควรมีระยะในการสบู น้อยลง 321
8.อ้างอิง 1.จฬุ าพร ประสงั สติ , กาญจนา รุ่งแสงจนั ทร์ และยวุ รตั น์ มว่ งเงนิ . (2559). การดแู ลแผล หลักฐานเชิงประจกั ษ์ และ ประสบการณ์จากผเู้ ชยี่ วชาญ. กรงุ เทพฯ: บริษัท พ.ี เอ.ลีฟวิ่ง จากัด. 2.ผกามาศ พีธรากร. การพยาบาลผปู้ ่วยท่มี แี ผลกดทบั โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ:์ บทบาพยาบาล.หัวหินเวชสาร 2564;1:1-3 3.นายธนรชั คงสมบรู ณ์. ระบบอัตโิ นมตั เิ พือ่ ปอ้ งกนั แผลกดทับ [อินเทอร์เนต็ ]. Social innovation; 2565 [เข้าถงึ เมอื่ 13 กรกฎาคม 2565]. เข้าถึงไดจ้ าก https://social.nia.or.th/2022/open0043/ 4.Zhaoyu Li a, Frances Lin, Lukman Thalib and Wendy Chaboyer. Global prevalence and incidence of pressure injuries in hospitalized adult patients: A systematic review and meta-analysis. International Journal of Nursing Studies. 2020;103546:1-13. 5.Ricci JA, Bayer LR and Orgill DP. Evidencebased medicine:the evaluation and treatment of pressure injuries. Plast Reconstr Surg. 2017;1:275–286. 6.ศิริกัญญา อสุ าหพริ ิยกลุ , ศากลุ ช่างไม้ และวนี สั ลฬี หกลุ . ผลของโปรแกรมการดแู ลผู้ปว่ ยสงู อายกุ ลมุ่ เสย่ี งท่ีมภี าวะพึง่ พา ตอ่ ความสามารถในการลงมือปฏิบัติการดแู ลเพ่อื ป้องกนั แผลกดทับ. วารสารคณะพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลัยบรู พา 2562;4:21-23 7.เทพนารี กว้างเงิน, จารวุ รรณ์ เวชพนั ธ์ และวรรณภิ า อานาจวชิ ญกุล. การป้องกันการเกดิ แผลกดทบั [หนังสืออิเล็กโทร นิกส์]. 2561 [เข้าถึงเมือ่ 10 กรกฎาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก https://www.si.mahidol.ac.th/th/division/hph/admin/news_files/660_49_1.pdf 8.นายธนรชั คงสมบรู ณ.์ ระบบอัตโิ นมตั เิ พือ่ ปอ้ งกันแผลกดทบั [อนิ เทอรเ์ น็ต]. Social innovation; 2565 [เขา้ ถึงเมอื่ 13 กรกฎาคม 2565]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://social.nia.or.th/2022/open0043/ 9.บญุ เกดิ ยศรุ่งเรอื ง.เรือ่ ง แรงและกฎการเคล่ือนท่ี [เอกสารประกอบการสอน]. 2563 [เข้าถงึ เม่อื 29 สงิ หาคม 2565]. เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.krukird.com/L03_1_63.pdf 10.กาญจนา ศรีสวุ รรณจติ ต์ และปวีณา มีประดษิ ฐ์. การศกึ ษานารอ่ งการปรบั ปรงุ อปุ กรณ์ยกเคล่อื นย้ายผปู้ ว่ ยด้านข้างเพอื่ ลด ความเสย่ี งตอ่ การปวดหลังของบุคลากรในโรงพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก 2564;1: 380-389 322
ภาพที่ 1 เบาะลมช่วยพลิกตะแคงตวั ผู้ปว่ ย 323
สเต็ปกา้ วลดเท้าชา ณิชาภา เรืองวงษ์1*, ณัฐิดา ภักด2ี , ณรี นชุ บญุ รอด3, ดรุณี ซังยืนยง4 , เมรสิ า ไชยกติ ติโสภณ5 , วนัสนนั ท์ สรอ้ ยซิม้ 6, โสภิตา โดยคำดี7 และอลิสา สขุ สม8 1วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก *[email protected] บทคดั ยอ่ โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่ง ทำให้ตับอ่อนไม่สามารถ ผลิตหรือหลั่งฮอร์โมนอินซูลินออกมาให้มากเพียงพอ ที่จะใช้เปลี่ยนน้ำตาลที่ร่างกายได้รับจากอาหารพวกแป้งให้เกิดเป็น พลังงานทีใ่ ช้สำหรบั เคลือ่ นไหว และการทำงานของอวัยวะต่างๆ หรือเกบ็ สะสมนำ้ ตาลไว้ในร่างกายทำใหร้ ะดับน้ำตาลในเลือด สูงมากกว่าปกติ จนกลายเป็นโรคดังกล่าว ซึ่งผู้ท่ีเป็นโรคเบาหวานยงั มีอาการแทรกซ้อนจากโรคอีกหลายอย่าง เช่น อาการชา ตามบริเวณปลายประสาท ซึ่งส่งผลให้สูญเสียการรับความรู้สึกอาจเริ่มจากชาตามปลายนิ้วและลุกลามต่อไปยังส่วนอ่ืนๆของ ร่างกาย ไม่ว่าร่างกายส่วนที่สูญเสียการรับรู้ความรู้สึกจะไปสัมผัสกับสิ่งที่ร้อนหรือเย็นหรือแม้แต่ได้รับบาดแผลผู้ป่วยก็จะไม่ รู้สึกตัวเลย เท้าเป็นอวัยวะของผู้ป่วยเบาหวานที่มีโอกาสเกิดการบาดเจ็บได้ง่ายที่สุดเนื่องจากผู้ป่วยต้องใช้เท้าเดินไปไหนมา ไหนหากประสาทการรับรูท้ ีเ่ ท้าสญู เสยี ไปเมือ่ ผู้ป่วยเบาหวานเดนิ ไปเหยียบตะปหู รอื ของมีคมก็จะไม่รู้สึกตัว ยิ่งไปกว่าน้นั แผล ของผปู้ ่วยเบาหวานกจ็ ะหายช้ากว่าคนปกตอิ ีกดว้ ย หากดูแลแผลไมด่ ีอาจทำให้เกดิ การลกุ ลามจนอักเสบและติดเชอ้ื ได้ ทางผจู้ ัดทำจึงไดค้ ดิ นวตั กรรมสเตป็ กา้ วลดเทา้ ชา โดยมสี เตป็ การก้าวเดินของแตล่ ะชอ่ งและแตล่ ะช่องจะมที ี่กดจุด เพ่ือป้องกัน อาการชาบรเิ วณเท้าในผ้ปู ่วยโรคเบาหวาน และหลกี เลยี่ งการเกดิ ภาวะแทรกซ้อนทีอ่ าจเกิดขน้ึ ในภายหลัง เช่น แผลที่เท้า คำสำคัญ: เบาหวาน เทา้ ชา กดจดุ 324
Stepping Foot Nichapha Rueangwong1*, Natthida Phakdee2, Neeranuch Boonrod3, Darunee Sangyuenyong4 , Merisa Chaikittisophon5, Wanatsanun Sroisim6, Sophita Doikhamdi7 and Alisa Suksom8 1Boromarajonani College of Nursing, Chakriraj: Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute *[email protected] Abstract Diabetes Mellitus is a type of endocrine disorder.The pancreas cannot produce or secrete enough of the hormone insulin. to convert the sugars that the body receives from starchy foods into energy for movement and functioning of various organs or store sugar in the body, causing blood sugar levels to be higher than normal until it becomes such a disease. People with diabetes also have complications from many other diseases, such as paresthesia in the nerve endings. As a result, loss of sensation may begin with numbness in the fingertips and spread to other parts of the body. No matter if the part of the body that has lost its sensation comes in contact with something hot or cold, or even injures, the patient is completely conscious. Feet are the organs of diabetics that are most prone to injury because patients have to use their feet to walk around if nerves in the feet are lost when diabetics step on nails or objects. sharp, it will not feel In addition, the wounds of diabetic patients will heal more slowly than normal people as well. If the wound is not properly taken care of, it can lead to inflammation and infection.The organizer therefore came up with an innovative step to reduce numb feet. There is a step to walk in each channel and each channel has a pressure point. to prevent foot paresthesia in diabetic patients And avoid complications that may occur later, such as foot ulcers Keywords: Diabetes Mellitus , paresthesia, pressure point 325
1. บทนำ โรคเบาหวาน คือ โรคที่เซลล์ร่างกายมีความผิดปกติในกระบวนการเปลี่ยนน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงาน โดย กระบวนการนี้เกย่ี วขอ้ งกับอินซลู ินซึ่งเป็นฮอร์โมนท่ีสร้างจากตับอ่อนเพือ่ ใชค้ วบคมุ ระดบั นำ้ ตาลในเลอื ด เมื่อนำ้ ตาลไม่ไดถ้ ูกใช้ จึงทำใหร้ ะดับนำ้ ตาลในเลอื ดสูงขน้ึ กวา่ ระดบั ปกติ ภาวะแทรกซอ้ นทางระบบประสาทส่วนปลายจากโรคเบาหวาน หรอื บางคน อาจเรียก “เบาหวานลงเท้า” ภาษาทางการแพทย์เรียก diabetic polyneuropathy อย่างไรก็ตามอาการเท้าชา ซึ่งเป็น ภาวะแทรกซ้อนเร้ือรังท่ีเกิดในผู้เป็นเบาหวานได้บ่อยโดยเฉพาะเม่ือเป็นเบาหวานมานาน ๆ และควบคุมระดบั น้ำตาลในเลือด ได้ไม่ดีนัก เกิดขึ้นจากระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม ทำให้สูญเสียประสาทรับความรู้สึก ลักษณะอาการเท้าชาท่ี เกิดจาก โรคเบาหวาน มักจะมีอาการชาหรือคล้ายเป็นเหน็บและความรู้สึกสัมผัสลดลง ทำให้เมื่อเท้าสัมผัสของมีคม จะไม่รู้สึกเจ็บ อาการเท้าชาทีเ่ กิดขึ้นมักจะมีอาการทั้งสองขา้ งพร้อม ๆ กัน และเริ่มชาจากปลายนิว้ เท้าก่อน แล้วเริ่มชาไล่ขึ้นไปบริเวณหลัง เท้าและขาทั้งสองข้าง ในกรณีรุนแรงจะมีระบบประสาทอัตโนมัติเสื่อมร่วมด้วย ทำให้ผิวหนังบริเวณเท้าทั้งสองข้างแห้ง ปริ แตกไดง้ ่าย เสีย่ งต่อการเกดิ แผลเรอื้ รงั ถา้ มรี ะบบประสาทสว่ นปลายเส่ือมอยู่นาน ๆ ทำให้กลา้ มเน้ือเล็ก ๆ บางมัดบริเวณเท้า ฝ่อลง เกิดเท้าบิดผิดรูป ซึ่งจะส่งผลต่อน้ำหนักท่ีกดทับบริเวณฝ่าเท้าเวลาเดนิ ซึ่งเป็นสาเหตสุ ำคัญท่ีทำให้เกิดแผลเร้ือรงั ท่เี ท้า และเพิ่มความเสี่ยงต่อการถูกตัดนิ้วเท้าหรือขา โดยเฉพาะถ้ามีความผิดปกติของหลอดเลือดส่วนปลายร่วมด้วย ปัจจัยเสี่ยง สำคัญท่ที ำใหเ้ กิดอาการชา หรอื ระบบประสาทส่วนปลายเส่อื ม ไดแ้ ก่ ระยะเวลาที่เป็นเบาหวาน การควบคุมระดับนำ้ ตาลที่ไม่ ดี การสูบบุหรี่ ระดับไขมันในเลอื ดสงู และ โรคความดนั โลหติ สงู [2] เป็นต้นดงั นั้นการรกั ษาท่ีสำคัญคอื การควบคุมระดับนำ้ ตาล ใหอ้ ย่ใู นเกณฑ์ปกติ ลดปัจจยั เสย่ี งตา่ ง ๆ ได้แก่ ควบคุมความดันโลหิตและระดบั ไขมันให้อยู่ในเกณฑ์ท่ีต้องการ งดการสูบบุหรี่ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ในรายที่มีอาการชามากๆ แล้วการรักษามักไม่ได้ผลดี ยารักษาปลายประสาทอักเสบบาง ชนิดอาจช่วยให้อาการดีขึ้นได้บ้างแต่ไม่สามารถทำให้อาการชาหายไปได้ โดยการรักษาส่วนใหญ่จะรักษาด้วยการแช่น้ำอุ่น นวดผ่าเท้าซึ่งวธิ ีเหล่านรี้ ักษาอาการเทา้ ชาไดใ้ นระยะสั้น และมักใชร้ ะยะเวลาในการรกั ษา[1] ทั้งน้ีทางผู้จัดทำจึงเล็งเห็นความสำคญั และได้คิดนวัตกรรมนีข้ ึ้นมา เพื่อบรรเทาอาการเท้าชาในผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากแนะนำการออกกำลงั กายก็อาจจะทำให้ผู้ปว่ ยเบ่อื ไมอ่ ยากทำ นวัตกรรมนเ้ี พอ่ื ใหผ้ ูป้ ่วยไดอ้ อกกำลังกายโดยมจี ังหวะในการ เคลื่อนไหวและเกิดความเพลดิ เพลินในการออกกำลังกาย เนื่องจากเพิ่มในเร่ืองของจังหวะและเสยี งเพลงเพ่ือกระตุ้นให้ผู้ปว่ ย ออกกำลังกายโดยไมน่ ่าเบอ่ื นอกจากนีย้ ังสามารถเสริมสรา้ งสมรรถภาพร่างกายใหแ้ กผ่ ้ทู ่ีใชน้ วตั กรรมอกี ด้วย 2. วธิ ีวจิ ยั 2.1 เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในงานวจิ ยั 2.1.1 ตอนที่1 แบบสอบถามความพึงพอใจผู้ใช้บริการนวัตกรรม “การพัฒนานวัตนกรรมสเต็ปก้าวลดเท้าชาใน ผู้ป่วยเบาหวาน” โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลลาดบวั ขาว อำเภอบา้ นโป่ง จังหวดั ราชบรุ ี โดยแบ่งออกเปน็ 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยเบาหวาน ประกอบด้วย เพศ การศึกษา การประกอบอาชีพ ประเภท เบาหวาน ระยะเวลาทเี่ ป็นโรคเบาหวาน การสูญเสียความรู้สึก ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการให้บริการ จำนวน 6 ข้อ กำหนดข้อคำถามเป็น Rating Scale 5 ระดบั ได้แก่ ความพึงพอใจมากทส่ี ดุ = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 น้อย = 2 นอ้ ยทส่ี ดุ = 1 2.1.2 ตอนที่2 แบบตรวจประเมินเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน (Initial Foot Assessment Form for Diabetes ) ประกอบด้วย ประวัติ ประเมินสภาพเท้า แผลที่เท้า การประเมินประสาทความรู้สึก ประเมินชีพจรเส้นเลอื ดแดง การจำแนก ความเสี่ยง และการติดตาม แนวทางการดูแลรกั ษาเท้า 2.2 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมอื 2.2.1 การตรวจสอบความตรงทางเนอื้ หา (Content Validity) ผู้วจิ ยั ทำการตรวจสอบคุณภาพของเครอื่ งมอื ก่อนนำเคร่อื งมอื ไปใช้หาความตรง (Validity) จากผทู้ รงคณุ วุฒิ 3 ท่าน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบลบ้านเลือก 1 ท่าน อาจารย์วิทยาลัย 2 ท่าน เพื่อตรวจสอบ ความตรงทางเนื้อหาโดยใช้ดัชนีความสอดคล้องทางข้อคำถาม (Index of Item Objective Congruence : IOC) และนำมา ปรับปรุงข้อคำถามใหค้ รอบคลุมเนื้อหากอ่ นนำเครื่องมือไปใช้การวัดความเที่ยง (Reliable)+1 หมายถึง คำถามนั้นสอดคล้อง 326
กับวัตถุประสงค์, 0 หมายถึง คำถามนั้นไม่แน่ใจว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่, -1 หมายถึง คำถามนั้นไม่สอดคล้องกับ วัตถปุ ระสงค์ 2.3 สถิติทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล 2.3.1 วิเคราะหข์ อ้ มูลท่ัวไปโดยใชส้ ถิติใชแ้ จกแจงความถร่ี ้อยละ 2.3.2 การวเิ คราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกำลังกายในผู้ปว่ ยโรคเบาหวานทมี่ ีอาการเทา้ ชาร่วมด้วยทั้งก่อน และหลังใชน้ วัตกรรมสเต็ปกา้ วลดเท้าชา 2.3.3 การวิเคราะห์ความพงึ พอใจตอ่ นวัตกรรมสเตป็ กา้ วลดเท้าชา โดยใช้คา่ เฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และ แจกแจงความถ่ีร้อยละ 3. ผลการวจิ ยั 3.1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยเบาหวาน ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา การประกอบอาชีพ ประเภท เบาหวาน ระยะเวลาที่เปน็ โรคเบาหวาน การสญู เสยี ความร้สู กึ โดยผลการวเิ คราะห์ จากการเก็บข้อมูลกลมุ่ ตวั อยา่ ง 3 คน ผล การดำเนินงานนวัตกรรมพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็น เพศชายร้อยละ 33.3 เพศหญิงร้อยละ 66.7 การศึกษาอยู่ในระดับชั้น ประถมศกึ ษาทุกรายคดิ เป็นร้อยละ 100 ประกอบอาชีพค้าขายทกุ รายคดิ เป็นรอ้ ยละ 100 และเป็นเบาหวานประเภทท่ี 2 ทุก รายคิดเป็นร้อยละ 100 โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นโรคเบาหวานมาแล้วเฉลี่ย 11 ปี มีภาวะแทรกซ้อนน้ำตาลในเลือดสงู ทุกรายคิด เปน็ รอ้ ยละ 100 และมีอาการชาทกุ รายคดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ภาพท่ี 1 การเปรียบเทียบจำนวนจุดทส่ี ญู เสยี ความรสู้ ึกกอ่ น-หลงั ใช้ สูญเสยี ความรู้สกึ เท้าขวา กอ่ นใชน้ วตั กรรม พบว่ากลมุ่ ตัวอย่างสูญเสียความร้สู กึ เทา้ ขวา 2 จดุ คิดเปน็ ร้อยละ 66.7 (2คน) และ 1 จดุ คิดเป็น รอ้ ยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม พบว่ากลุ่มตัวอย่างสูญเสียความรู้สึกเท้าขวา 1 จุด คิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และเท้าปกติคิด เป็นรอ้ ยละ 33.3 (1คน) สญู เสียความรสู้ กึ เทา้ ซ้าย กอ่ นใช้นวตั กรรม พบว่ากลุ่มตวั อย่างสูญเสยี ความรสู้ ึกเท้าซ้าย 2 จุด คิดเป็นรอ้ ยละ 33.3 (1คน) และ 1 จุด คดิ เป็น รอ้ ยละ 33.3 (1คน) และเทา้ ปกตคิ ดิ เป็นรอ้ ยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม พบว่ากลุ่มตัวอย่างสูญเสียความรู้สึกเท้าซ้าย 1 จุด คิดเป็นร้อยละ 33.3 (1คน) และเท้าปกติคิด เปน็ ร้อยละ 66.7 (2คน) 3.2 ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการให้บรกิ าร จำนวน 6 ข้อ กำหนดข้อคำถามเป็น Rating Scale 5 ระดับ ได้แก่ ความพึงพอใจมากที่สุด=5 มาก=4 ปานกลาง=3 น้อย=2 น้อยที่สุด=1 โดยผลการวิเคราะห์ข้อมลู ความพึงพอใจของนวัตกรรม “การพัฒนานวัตกรรมสเต็ปก้าวลดเท้าชาในผู้ป่วยเบาหวาน” กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจ นวตั กรรม คือ 327
ค่าเฉลี่ยระดบั ความพงึ พอใจหลังใชน้ วตั กรรมสเตป็ ก้าวลดเท้าชา x̄ S.D หวั ขอ้ ประเมิน 4.3 0.57 4.3 0.57 ความเหมาะสมของขนาด รปู ร่าง นำ้ หนัก ท่ีนำมาใชข้ องนวตั กรรม 4.3 0.57 ความแขง็ แรง และปลอดภยั ของโครงสร้าง 40 วัสดุท่นี ำมาใชม้ ีความแขง็ แรง ทนทาน 4.3 0.57 ความเหมาะสมของชว่ งในการเดนิ 40 ลดอาการปวดเมอื่ ยของกลา้ มเนื้อบรเิ วณฝา่ เทา้ 4.7 0.57 อาการชาทฝ่ี ่าเท้าลดลง 4.28 0.41 สามารถประยุกต์ใชท้ รพั ยากรอย่างประหยดั และคมุ้ ค่า รวมเฉล่ยี ทง้ั หมด ดา้ นการผลิต 1.ความเหมาะสมของขนาด รูปรา่ ง นำ้ หนกั ท่ีนำมาใชข้ องนวัตกรรม ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) 2.ความแขง็ แรง และปลอดภัยของโครงสรา้ ง ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) 3.วสั ดุท่นี ำมาใช้มีความแขง็ แรงทนทาน ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) ด้านความพึงพอใจ 1.ความเหมาะสมของชว่ งในการเดนิ ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากคิดเป็นร้อยละ 33.3 (1คน) หลงั ใชน้ วัตกรรม อยใู่ นระดบั มากคิดเปน็ รอ้ ยละ 100 (3คน) 2.ลดอาการปวดเมื่อยของกลา้ มเนอ้ื บรเิ วณฝ่าเท้า ก่อนใช้นวัตกรรม อยใู่ นระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 33.3 (1คน) อยใู่ นระดับมากคิดเปน็ รอ้ ยละ 33.3 (1คน) และ อยใู่ นระดบั พึงพอใจมากที่สดุ คดิ เป็นร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) 3.อาการชาทฝ่ี า่ เท้าลดลง กอ่ นใช้นวตั กรรม อยูใ่ นระดับปานกลางคิดเป็นรอ้ ยละ 33.3 (1คน) และอยูใ่ นระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) 328
หลงั ใช้นวัตกรรม อย่ใู นระดบั มากคิดเปน็ ร้อยละ 100 (3คน) ดา้ นความคมุ้ คา่ คมุ้ ทุน 1.สามารถประยกุ ต์ใชท้ รพั ยากรอย่างประหยดั และคุม้ คา่ กอ่ นใชน้ วตั กรรม อยใู่ นระดับมากคดิ เป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอย่ใู นระดับพงึ พอใจมากที่สุดคดิ เปน็ ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวตั กรรม อย่ใู นระดบั มากคดิ เป็นร้อยละ 33.3 (1คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.7 (2คน) 4. สรุปผล อภปิ รายผล จากผลการวิเคราะห์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา ประกอบอาชพี ค้าขาย มโี รคประจำตัวคือโรคเบาหวาน ประเภทที่ 2 และมอี าการแทรกซอ้ นจากภาวะนำ้ ตาลในเลอื ดสูงคือ มีภาวะอาการเทา้ ชาซ่ึงใช้ Monofilament ในการตรวจสอบการสูญเสียความรู้สกึ ท่ีเท้า 4.1 อาการสูญเสียความรูส้ ึก เท้าขวา พบว่าหลังใชน้ วัตกรรมจำนวนจุดชาที่เทา้ ลดลง เทา้ ซ้าย พบว่าหลังใชน้ วัตกรรมจำนวนจดุ ชาทีเ่ ท้าลดลง 4.2 ความพงึ พอใจตอ่ การใช้ “นวัตกรรมสเตป็ ก้าวลดเท้าชา” สามารถสรุปผลได้ดังนี้ ดา้ นการผลิต 1.ความเหมาะสมของขนาด รูปร่าง น้ำหนกั ที่นำมาใช้ของนวัตกรรม อยู่ระดบั พึงพอใจมาก 2.ความแข็งแรง และปลอดภยั ของโครงสร้าง อยู่ระดบั พงึ พอใจมาก 3.วัสดทุ ี่นำมาใชม้ ีความแข็งแรง ทนทาน อยรู่ ะดบั พึงพอใจมาก ดา้ นความพึงพอใจ 1.ความเหมาะสมของชว่ งในการเดิน อยรู่ ะดบั พงึ พอใจมาก 2.ลดอาการปวดเมือ่ ยของกล้ามเนื้อบริเวณฝา่ เท้า อย่รู ะดับพึงพอใจมาก 3.อาการชาท่ีฝา่ เท้าลดลง อยรู่ ะดับพงึ พอใจมาก ดา้ นความคมุ้ ค่าคมุ้ ทุน 1.สามารถประยกุ ตใ์ ช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และค้มุ คา่ อยรู่ ะดบั พงึ พอใจมากท่สี ดุ 5. อภิปรายผล จากการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม ในภาพรวม อยู่ในระดับพึงพอใจมาก และอาการสูญเสีย ความรู้สกึ ลดลง เนือ่ งจากอาการชาของกลมุ่ ตัวอย่างมีอาการดขี ้ึนคือ อาการชาท่เี ทา้ ลดลงจากเดมิ ซงึ่ สอดคล้องกับงานศึกษา ของ Napat Tiewwilai et al. [6] ศกึ ษาเรื่อง “ประสทิ ธิผลการใช้แผงไข่ลูกกอลฟ์ นวดเท้าลดอาการชาในผปู้ ่วยเบาหวาน ตำบล กุดชุมแสง อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ” ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิผลของแผงไข่ลูกกอล์ฟนวดเท้าลด อาการชาใน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ทำการประเมินอาการชาที่เท้าด้วย Monofilament 4 จุด ระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ ผลคือมี อาการชาที่เท้าหลังทดลองลดลงกว่าก่อนการ ทดลอง อย่างไรก็ตามการวิจัยในครั้งนี้การวางจุดตำแหน่งของลูกกอล์ฟไม่ สามารถนวดกด จุดได้ตรงตำแหน่งครบทั้ง 1 2 3 7 9 และ 11 จุด ทำให้ผลการศกึ ษาอาจเกดิ การนวดจริง แค่ 2 จุด ส่วนจุด อื่น ๆ ไม่ได้เน้นถูกนวดและกดจุดแต่เป็นการนวดในภาพรวมหลายจุด ส่วนในเรื่องความพึงพอใจผู้ใช้แผงไข่ลูกกอล์ฟมี ความรสู้ ึกพอใจและประเมินมาอย่ใู นระดบั มากทส่ี ดุ 329
เอกสารอา้ งอิง [1] Wanwisa Samrannet , Pattarin Thamduangsri and , Petlada Chansri. (2020). The Nurse’s Role in Preventing Diabetic Foot Ulcers, Journal of Nursing, Siam University, 21(40), 71-82. (In Thai) [2] Yawitthaa Sukwassana, Orapin Sikaow and Taweesak Kasiphol. (2021). The Association of Personal Factor, Health Literacy, Self-care Behaviors and Glycemic Control in People with Type 2 Diabetes. Journal of Boromarajonani College of Nursing, Surin, 11(1),52-65. (In Thai) [3] Raksita Phanuphan, Uraiwan Saisud, Supitcha Chanawong and Prasert Prasomruk. (2021). Health literacyand self-care behaviors of diabetic mellitus patients with controllable and uncontrollable glucose level in NajikSub-district, Muang District, Amnat Charoen Province, Thai Health Science Journal and community public health, 4(1),35-47. (In Thai) [4] Dopartment of Thai Traditional and Alternative Medicine Ministry of public health. (2021). Foot Reflexology. (In Thai) [5] Saitida Lapanantasin, Sirikan Jedtanaprakrit, Ruangrak Assarach, Watinee Inklum and Siraprapha Jamnongphon. (2014). Effect of massage with peripheral vascular circulation exercise on neuropathic symptoms of lower legs in type 2 diabetic patients: a pilot study, Thai Journal of Physical Therapy, 36(3), 97-105. (In Thai) [6] Napat Tiewwilai , Netdao Sanguansin, Nathamon Seubsui, Rattana Netphol and Prapaporn Ardwichai. (2021). Effectiveness of Golf Ball in Egg Panel to Reduce Foot Numbness in Diabetic Patients at Kut Chum Saeng, Nong Bua Daeng, Chaiyaphum Province, Advanced Science Journal, 21(2), 52-65. (In Thai) 330
ไมต่ อ้ งใสเ่ ลขหนา้ นวัตกรรม “ตยู้ าเพอ่ื คุณ” เพอื่ ผู้พกิ ารทางสายตา Talking Medicine Cupboard For Visually Impaired อัจฉรา สามร้อยยอด1, สุดารัตน์ ไชยชาติ1, วศินี เช้อื ใหญ่1 , ชนิดาภา บญุ ชว่ ย1, พรภมิ ล ขลบิ สวุ รรณ์1, เมธินี สิงห์ทอง1, ศุทธินี เครือ่ งทิพย์1 , กรกช ยวงผ้งึ 1 และ จินตนา ทองเพชร1* 1 วทิ ยาลัยพยาบาลพระจอมเกลา้ จงั หวดั เพชรบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก, เพชรบุรี *ผ้รู ับผดิ ชอบบทความ: email [email protected] บทคดั ยอ่ นวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณ พัฒนาตามแนวคิดหลักการของการคิดเชิงออกแบบ 5 ข้ันตอน คือ 1) เข้าใจปัญหา 2) กาหนด ปัญหา 3) สร้างสรรรวบรวมไอเดีย 4) สร้างต้นแบบ 5) ทดสอบ ร่วมกับแนวคิดของการเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อเพ่ิมสมรรถนะแหง่ ตน นาไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นผู้พิการทางสายตา ประเมินความถูกต้องของการใช้ยาสามัญประจาบ้าน ก่อนและหลังใช้ นวัตกรรมตู้ยาเพือ่ คุณ และประเมินถามความพงึ พอใจตอ่ การใช้นวัตกรรม โดยใช้การวจิ ยั ก่ึงทดลองแบบกลุม่ เดียววัดกอ่ นและหลงั การทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้พิการทางสายตา จานวน 31 คน เคร่ืองมือวิจัยผ่านการตรวจสอบความตรงและความเท่ียงจาก ผ้เู ชย่ี วชาญจานวน 3 ท่าน ค่า CVI เทา่ กบั 1.00 และความเช่ือมั่นเทา่ กับ 0.7 ขึ้นไป วิเคราะหข์ อ้ มูลด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ยี และ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และสถติ ทิ ี ( dependent t-test ) ผลการทดลอง พบว่า 1.ผูพ้ ิการทางสายตามคี ะแนนเฉลย่ี ความถูกต้องของการใชย้ าสามญั ประจาบา้ นหลังใช้นวัตกรรมตู้ยาเพื่อคณุ (M=63.03, S.D = .1.02) สูงกวา่ กอ่ นใชน้ วัตกรรมตู้ยาเพอื่ คุณ (M=54.19, S.D = 2.27) อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ .01 2.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณของผู้พิการทางสายตา ด้านการคิดการออกแบบ เท่ากับ 4.90 (S.D=.30) ด้านรูปแบบเท่ากับ 4.85, (S.D=.42) ด้านการใช้งาน เท่ากับ 4.67 (S.D=.22) ด้านการใช้ประโยชน์เท่ากับ 4.84 (S.D=.27) และด้านความมคี ุณค่าเทา่ กับ 4.86 (S.D=.30) และผดู้ ูแลเทา่ กับ 4.72 (SD = .32 นวตั กรรมตยู้ าเพ่ือคุณ สามารถเอ้อื อานวยความสะดวก สง่ เสริมสมรรถนะแห่งตน เพิ่มความเช่อื มนั่ ในการดูแลตนเองเมื่อ เกดิ การเจ็บป่วยของผพู้ กิ ารทางสายตา และชว่ ยลดภาระของผดู้ แู ล คาสาคัญ : นวตั กรรมตู้ยา , การใชย้ าสามัญประจาบา้ น, การรับรสู้ มรรถนะแหง่ ตน , ผู้พิการทางสายตา 331
1. ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา คนพิการ เป็นบุคคลท่ีมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมเน่ืองจากมีความ บกพร่องทางการมองเหน็ การไดย้ นิ การเคล่ือนไหว การสื่อสารหรือความบกพร่องอื่นใดประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมี ความจาเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือในด้านใดด้านหน่ึง (พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคน พิการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2550) ผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น หรือเรียกว่า “ผู้พิการทางสายตา” ได้แก่ บุคคลท่ีสูญเสียการ มองเห็นตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนถึงบอดสนิท ส่วนอื่นของร่างกายมีความปกติเช่นเดียวกับคนทั่วไปแต่มีความบกพร่องทางการ มองเหน็ เพยี งอยา่ งเดยี วนั้น สามารถประกอบกิจกรรมอยา่ งอนื่ ไดต้ ามปกติ เชน่ การศกึ ษาหาความรู้ การพูดคุย สอื่ สาร การทางาน การเดินทางด้วยตนเอง ทาให้ผู้พิการทางสายตาเพียงอย่างเดียวสามารถใช้ชีวิตได้ตามสมควรแก่สภาพร่างกาย แต่อย่างไรก็ตามผู้ พิการทางสายตาก็ยังมีความยากลาบากในการใช้ชีวิต จากการศึกษางานวิจัยท่ีผ่านมาพบว่าผู้พิการทางสายตาส่วนใหญ่มีฐานะ ยากจน จบการศกึ ษาเพยี งระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้นประกอบอาชีพเกษตรกรรมรับจา้ ง และพบวา่ ผูพ้ ิการทางสายตาจะมีปัญหา ด้านการรับข้อมลู ข่าวสาร ในปัจจุบันประเทศไทยมจี านวนคนพิการที่ไดร้ ับการออกบัตรประจาตวั คนพิการจานวน 1,995,767คน แยกตามประเภทของผู้ท่ีมีความบกพร่องทางการมองเห็นออกมาได้จานวน 196,081 คนในอายุ 6-14 ปี มีจานวน 2,109 คน (ทับทิม ศรวี ิไล, ภมร ขนั ธะหัตถ์ และ ธนิศร ยืนยง, 2565) ผู้ที่ตาบอดสนิทน้ันมีข้อจากัด คือ ไม่สามารถเรียนรู้โดยการเห็น หรือการดู แต่สามารถเรียนรู้ด้วยประสาทการรับรู้ อน่ื ๆ ทกุ ประเภท คนตาบอดจึงใชอ้ ักษรเบลล์ในการอา่ น และเขยี น ส่วนขอ้ จากดั ของผู้ทม่ี องเหน็ ในสภาพเลือนลาง คือ ไม่สามารถ เหน็ หรอื เรียนรู้ด้วยการเห็นเหมอื นเดก็ ทว่ั ไป สามารถเห็นเฉพาะสงิ่ ที่มีขนาดใหญ่ตามศกั ยภาพของแตล่ ะคน คนสายตาเลือนลางจงึ อ่านและเขียนดว้ ยอักษรขนาดใหญ่ หรืออ่านโดยใช้แว่นขยายอักษร และอาจใช้หรือไม่ใช้อักษรเบลล์ ผู้ที่มีความบกพรอ่ งทางดา้ น การมองเห็น (ตาบอด) ส่วนใหญ่ประสบปัญหาในการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น การเคลื่อนไหวการรับประทานอาหารการเดิน ทางการรับรขู้ ้อมลู บนฉลากยาการรักษา อาการเบ้อื งต้น การใช้ยาสามญั ประจาบา้ น เปน็ ตน้ (ธัญชนก ผวิคา และสุรชยั สขุ สกุลชัย, 2560) การใช้ยา พบว่า ผูท้ ี่มคี วามบกพร่องทางดา้ นการมองเห็น (ตาบอด) ไมส่ ามารถรับรูข้ ้อมลู บนฉลากยาได้ ไมท่ ราบแหน่งของ ตยู้ าสามญั ประจาบ้าน ทาให้ใช้ยาผดิ ชนดิ ทาใหเ้ กิดอันตรายจากการรับประทานยา เนื่องจากลกั ษณะของยา มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั ผู้ ท่ีมีความบกพร่องทางด้านการมองเห็น(ตาบอด) จึงไม่สามารถแยกแยะชนิดของยาได้ และส่งผลถึงประสิทธิภาพทางการรักษ า ผู้ป่วยบางคนอาจแพ้ยาและอาจเกิดภาวะแทรกซอ้ นข้ึนได้ โดยพบว่า มีอุบัติการณ์การหยิบยาผิดชนิด ร้อยละ 43 (สุทธาทิพย์ ออ ประยรู และอัลจนา เฟ่อื งจันทร์, 2560) จะเห็นได้วา่ คนตาบอดจึงเปน็ บุคคลอีกกล่มุ หนึ่งท่ีต้องการได้รบั โอกาสทางการสาธารณสุข การดูแลตนเองในแตล่ ะด้านไมน่ ้อยไปกว่าคนปกติทั่วไป โดยเฉพาะการพัฒนาความสามารถในการรบั ประทานยา เพ่อื ใหค้ นตาบอด เหล่านั้นสามารถใชช้ ีวติ และประกอบอาชีพทดี่ ไี ด้ แต่ด้วยความบกพร่องทางรา่ ยกายทาให้ไม่สามารถดแู ลรักษาสุขภาพได้อย่างเต็ม ศักยภาพตามที่ต้องการ จึงจาเป็นต้องอาศัยสิ่งประดิษฐ์หรือนวัตกรรมตา่ ง ๆ ท่ีจะช่วยอานวยความสะดวก และในที่น้ีนวัตกรรมท่ี เกย่ี วข้องกับสขุ ภาพ จงึ ถอื ไดว้ ่ามีความสาคัญและมีบทบาทอยา่ งยิ่งต่อการตอบสนองความต้องการขา้ งตน้ ในปัจจุบันในประเทศไทยได้มีการนาเอาเทคโนโลยี เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน มากข้ึน และได้มีการพัฒนา เทคโนโลยีอย่างต่อเน่ืองเพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลแหล่งต่าง ๆ ได้ง่าย ใช้อย่างแพร่หลาย ในด้านศิลปะ ด้านการแพทย์ การศึกษา และการพานิช ท่ีช่วยให้เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ง่ายขึ้น วิธีการเข้าถึงแหล่งข้อมูลประกอบด้วย การอ่าน การฟัง การได้ สัมผัส เป็นกระบวนการท่ีทาให้ได้รับร้ขู ้อมูลเหล่าน้ัน แต่สาหรับผู้พิการทางสายตา การเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆ น้ันมีได้ 2 วิธี คือ 332
การได้ยิน ได้สัมผัสเท่าน้ัน ซึ่งไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลด้วยวิธีจากการมองเห็น เพราะฉะน้ันเรื่องการอ่านโดยใช้ดวงตาจึงเป็นเรื่อง ยากมาก ในการถึงขอ้ มูล ดงั นน้ั การพัฒนานวตั กรรมเพือ่ รองรบั สาหรับผู้พิการทางสายตาสาหรับการอ่านฉลากยา จะเนน้ ในการใช้ เสียง และใช้การสัมผัสเป็นส่วนใหญ่ โดยเอาเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวกับเสียง และเซ็นเซอร์ ( Censor) เข้ามาเป็นตัวช่วยสาหรับผพู้ ิการ ทางสายตา (สเุ ทพ เตรยี มวิทยา และ สมชาย เล็กเจริญ, 2560) จากการทบทวนวรรณกรรมผู้วิจัยในฐานะผดู้ ูแลด้านสุขภาพ ไม่เพียงดูแลผู้ป่วยท่ีมีอวัยวะรา่ งกายครบสมบูรณ์เท่านน้ั การดูแล ส่งเสริมให้ผู้พิการทางสายตามีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงขึ้น เพิ่มความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง จึงได้นา แนวคิดการสง่ เสรมิ สมรรถนะแหง่ ตน รว่ มกบั แนวคิดการคิดเชิงออกแบบ มาพฒั นานวัตกรรมตู้ยาเพื่อคุณ เพ่ือให้ผู้พกิ ารทางสายตา สามารถหยิบยาจากตยู้ าสามญั ประจาบา้ น โดยไม่จาเปน็ ตอ้ งพง่ึ พาอาศัยผอู้ น่ื อยตู่ ลอด และผู้พกิ ารทางสายตาสามารถใชย้ าได้อยา่ ง ถูกตอ้ ง ถกู วธิ ี และไม่เปน็ อนั ตรายตอ่ ตนเอง ตลอดจนสามารถช่วยเหลอื ผูพ้ ิการทางสายตา และผูพ้ กิ ารคนอืน่ ๆ ไดด้ ว้ ย 2. วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ศกึ ษาประสิทธผิ ลของนวตั กรรมตยู้ าเพ่อื คุณต่อความถกู ต้องในการใช้ยาสามญั ประจาบา้ นของผพู้ กิ ารทางสายตา และ ความพึงพอใจตอ่ การใชน้ วัตกรรมของผพู้ ิการทางสายตาและผ้ดู แู ล 3. กลมุ่ เป้าหมาย นักเรยี นผู้พิการทางสายตา ชว่ งอายุ 14-20 ปี จานวน 31 คน โรงเรยี นสอนคนตาบอดแหง่ หน่งึ โดยกาหนดเกณฑก์ าร คัดเลือกกลมุ่ ตัวอยา่ ง ดงั นี้ 1) นกั เรยี นผู้พกิ ารทางสายตา โรงเรยี นสาหรบั ผู้พิการทางสายตา ช่วงอายุ 14-20 ปี 2) เพศชาย เพศ หญิง และเพศทางเลือก 3) ผูพ้ ิการทางสายตาทส่ี ามารถเดินได้ การไดย้ นิ ปกติ 4) สามารถในการใชอ้ ักษรเบรลลไ์ ด้ 5) ไมม่ อี าการ ทางสมองหรอื เรยี นรชู้ า้ 6) ยนิ ดเี ขา้ รว่ มการวิจยั 4. กระบวนการพัฒนา การพฒั นาและประเมินประสิทธผิ ลนวตั กรรม “ตูย้ าเพอื่ คุณ” เพื่อผูพ้ ิการทางสายตาไดน้ าหลักการของการคดิ เชงิ ออกแบบ (Design Thinking Process) มาใชใ้ นการดาเนนิ งานดังนี้ 1.การเข้าใจปญั หา (Empathize) โดยการสังเกตปญั หาท่เี กดิ ข้ึน จากการสงั เกต และสมั ภาษณ์ปญั หาการใชย้ าสามัญ ประจาบ้านของผพู้ กิ ารทางสายตา รวมท้งั ผดู้ ูแล 2.ระบุปัญหาและกรอบของปัญหา (Define) หลังจากท่ีทาความเข้าใจปัญหา ระบุถึงปัญหาท่ีต้องการแก้ไขและ แนวทาง การแกไ้ ขปญั หาผู้พิการทางสายตาไม่สามารถหยบิ ยาสามญั ประจาบา้ นได้เอง ตอ้ งมผี ดู้ แู ล เช่น ครู ผู้ปกครอง ฯลฯ 3.ระดมสมอง (Brainstorm) ค้นหาความคิดใหม่ๆที่จะสามารถตอบโจทย์ ปัญหาความตอ้ งการของผู้ใช้ (User) มาก ท่ีสุด โดย การระดมสมองนี้ประกอบด้วย เภสัชกร พยาบาล ครู/ผู้ดูแลประจาโรงเรียนสอนคนตาบอด ผู้พิการทางสายตา และทมี พัฒนานวัตกรรม “ตู้ยาเพ่อื คณุ ” รวบรวมความคิดเห็นข้อเสนอแนะกอ่ นไปสูข่ ้นั ตอนการสร้าง 4.สรา้ งตน้ แบบ (Prototype) เพอ่ื ใชส้ อ่ื สารอธบิ ายกับผ้ใู ช้งาน (Users) ว่าไอเดยี ที่คิดคน้ ขึ้นสามารถตอบโจทย์ปญั หา และความต้องการของผ้ใู ชง้ านไดห้ รือไม่ 5.ข้ันทดสอบ (Test) เพื่อเก็บข้อมูลประสิทธิภาพ ตอบคาถาม “อะไรท่ีผู้ใช้ชอบ” “อะไรท่ีเราต้องปรับปรุง โดยใช้ รูปแบบการวจิ ยั ก่ึงทดลอง เพ่อื ประเมินประสิทธิผลของนวัตกรรมตู้ยาเพอ่ื คุณ 333
5. รายละเอยี ดและวิธีการใชง้ านนวตั กรรม ตู้ยาเพอ่ื คุณ (Talking Medicine Cupboard for Visually Impaired) หมายถงึ ตยู้ าทาด้วย พลาสวูดขนาด 12.5 X 40 X 37 เซนติเมตร มีลิ้นชัก 8 ลนิ้ ชกั สาหรับใส่ยาสามญั ประจาบา้ น 8 ชนดิ ( ยาลดไข้ แก้ปวด ยาลดกรดแบบเมด็ ยาระบายมะขาม แขก ยาแก้แพ้ ผงเกลือแร่ เจลว่านหางจระเข้ และคารามายโลช่ัน) มีอักษรเบรลล์ชื่อยาตดิ อยู่หนา้ หน้าล้นิ ชักแตช่ ่อง เมื่อดึงลน้ิ ชัก จะมีเสยี งบอกช่ือยา อธิบายสรรพคุณ วิธีใช้และอาการข้างเคียง ด้านบนกลอ่ งยาจะมลี าโพง และมี sensor ระยะ 1 เมตร สาหรบั บอกตาแหนง่ ของตูย้ า โดยมีเสียงว่า “หากท่านกาลงั มคี วามเจ็บป่วยอยู่ ตูย้ าสามญั อยู่ทางนค้ี ะ่ คอ่ ยๆ เดนิ อยา่ งระมดั ระวัง ตยู้ าอยู่ ทางน้นี ะคะ” จะดงั ทกุ ๆ 30 วนิ าที โดยรายละเอยี ดมดี ังน้ี 1.เซนเซอร์ตรวจจับความเคล่ือนไหว ในระยะ 5 เมตร เม่ือมีความเคล่ือนไหวด้านหน้าของ เซนเซอร์ ตัวเซนเซอร์จะส่ง สญั ญาณไปยัง บอรด์ Arduino เพ่อื ให้ บอรด์ สง่ คาสงั่ ให้ Serial MP3 Player ส่งเสยี ง \" สวัสดคี ะ่ ตู้ยาสามัญอยู่ทางนค้ี ะ 2.Magnetic Switch สวิตช์แม่เหล็ก จะอยู่ด้านหลงั ของลิ้นชักท่ีใช้สาหรบั ใสย่ า เม่ือมีการดึงลิ้นชักออกมาจะสง่ สัญญาณ ไปยัง บอร์ด บอร์ด Arduino เพื่อให้ บอร์ดส่งคาส่ังให้ Serial MP3 Player ส่งเสียที่บันทึก เป็น ชนิดยาของแต่ละช่องออกทาง ลาโพง 3.บอร์ด Arduino UNO R3 ใช้สาหรับควบคุมและส่งคาสั่งต่างๆไปยังอุปกรณ์อ่ืน โดยเม่ือมีความเคลื่อนไหวทางด้าน หน้าของตู้ยา ในระยา 5 เมตร Motion Sensor จะส่งคาสงั่ มายงั บอร์ดใหส้ ่งคาส่งั ไปยงั Serial MP3 Player ให้ส่งเสียงออกทาง ลาโพง “หากทา่ นกาลงั มีความเจ็บป่วยอยู่ ตูย้ าสามัญอยทู่ างนค้ี ะ ค่อยๆเดินอยา่ งระมัดระวังตูย้ าอยทู่ างนี้นะคะ” หรอื เมื่อมีคลา อักษรเบลลท์ ่ตี ิดอยู่หน้าล้ินชักในแต่ ชอ่ งเม่ือมีการดึงลน้ิ ชักออกมา Magnetic Switch สวติ ชแ์ มเ่ หล็ก จะทางานโดยการตรวจจับวา่ ลน้ิ ชกั ถูกดงึ ออกมาแลว้ จะส่งเสยี ง บอก “ชนดิ ของยาแตล่ ะช่องท่ีบันทึกไว้” 4.Serial MP3 Player ทาหนา้ ท่ีรบั คาสง่ั เสยี งจาก บอร์ด Arduino UNO R3 และส่งเสยี งไปยงั ลาโพง 5.ลาโพง ทาหน้าทร่ี บั คาสง่ั เสียงจาก Serial MP3 Player และเล่นเสียงตามทีก่ าหนด การนาโปรแกรมเข้าสู่ บอร์ด Arduino UNO R3 จะใช้โปรแกรม Arduino โดยนาโค้ดทจ่ี ัดทาไว้ใส่ลงไปและอพั โหลดโปรแกรมลง ผ่านทางสาย USB ไปยงั บอร์ด Arduion 334
วิธกี ารใชง้ าน เมื่อเปิดลิ้นชักจะมีเสียงอธิบายของช่ือยา สรรพคุณ วิธีใช้และอาการข้างเคียง ด้านบนกล่องยาจะมีลาโพงไว้บอก ตาแหน่งโดยมี sensor ในระยะ 5 เมตร โดยมีเสียงว่า “หากท่านกาลังมีความเจ็บป่วยอยู่ ตู้ยาสามัญอยู่ทางน้ีค่ะ ค่อยๆเดินอย่าง ระมัดระวัง ตู้ยาอยู่ทางน้นี ะคะ” จะดังทกุ ๆ 30 วนิ าที โดยรายละเอียดมดี งั น้ี 1.ตู้ยาจะส่งเสียงร้อง “หากท่านกาลังมีความเจ็บป่วยอยู่ ตู้ยาสามัญอยู่ทางน้ีค่ะ ค่อยๆเดินอย่างระมัดระวัง ตู้ยาอยู่ ทางนี้นะคะ “ โดยจะดังเมื่อมีคนเดินผ่านในระยะ 5 เมตร ทาให้ผู้พิการทางสายตาได้ยินเสียง ท่ีต้องการจะหยิบยาใช้เองทราบ ตาแหนง่ ของตู้ยา และสามารถเดนิ มายงั ตาแหน่งของตู้ยาได้ 2.เมอื่ เดนิ มาถึงตยู้ าก็จะคลาอักษรเบรลลท์ ตี่ ิดอยู่บรเิ วณช่องใส่ยาแต่ละชอ่ ง วา่ เป็นยาอะไร รวมถึงคลาอกั ษรเบรลลท์ ี่ ตดิ อยทู่ ี่ซองยาด้านในด้วย เพ่ือเป็นการตรวจสอบความถูกต้องของชื่อยาอีกครงั้ กอ่ นหยบิ ออกจากซองยา 3.เมื่อพบยาท่ีต้องการก็สามารถดึงล้ินชักออกเพ่ือนายาออกมา จากน้ันก็จะมีเสียงที่บอกช่ือยา สรรพคุณ วิธี รับประทาน รวมถงึ ผลข้างเคียงของยานนั้ ๆ เพือ่ ให้ผู้พิการทางสายตารับประทานยาได้อย่างถกู ตอ้ ง 6. ผลการทดลองใช้นวัตกรรมและการอภิปรายผล ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 83.87 รองลงมาเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 16.13 ตามลาดับ อายุ ปัจจุบันอายุในช่วง 12-14 ปี จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.45 อายุในช่วง15-17 ปีจานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 67.74 อายุ ในช่วง 18-20 ปี จานวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 22.58 อายุในช่วง 21-23 ปี จานวน 1คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.23 ระดบั การศึกษาสว่ น ใหญ่อยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 96.77 รองลงมาระดับชั้นประถมศึกษาหรือต่ากว่า คิดเป็นร้อยละ 3.23 เมื่อเจ็บป่วย สามารถเดินไปหยิบยาเองคิดเป็นรอ้ ยละ 9.68 และเมอ่ื เจ็บปว่ ยมีผดู้ แู ลนายามาให้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.32 ตามลาดบั รูปแบบการทา ความเข้าใจวิธีการใช้ยา ทราบจากแพทยห์ รอื เภสชั กร คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.23 และใหผ้ ู้อ่ืนอ่านให้ฟงั คดิ เป็นรอ้ ยละ 96.77 ตามลาดบั สว่ นที่ 2 ความถูกตอ้ งของการใช้ยาสามัญประจาบ้านของผพู้ ิการทางสายตา กอ่ นและหลงั การใชน้ วัตกรรม “ต้ยู าเพ่ือคณุ ตารางที่ 1 การวเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บความถกู ตอ้ งของการใชย้ าสามัญประจาบ้านของผพู้ ิการทางสายตา ความถูกตอ้ งของการใช้ยา N Mean S.D t P- value ก่อนใช้ 31 54.19 2.27 21.43 .000* หลงั ใช้ 31 63.03 1.02 จากตารางท่ี 1 พบวา่ หลงั การใชน้ วตั กรรมตยู้ าเพือ่ คุณ ผู้พกิ ารทางสายตามีคะแนนเฉลีย่ ความถูกต้องของการใชย้ า สามญั ประจาบ้านสูงกวา่ ก่อนใช้นวตั กรรมตู้ยาเพอื่ คุณ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดับ .01 335
ตารางที่ 2 ความพงึ พอใจหลงั การใชน้ วตั กรรมของผู้พิการทางสายตา (n=31) ความพงึ พอใจต่อการใชน้ วตั กรรม Mean S.D ดา้ นการคดิ และออกแบบ 4.90 .30 ดา้ นรปู แบบ 4.85 .42 ด้านการใชง้ าน 4.67 .22 ดา้ นการใช้ประโยชน์ 4.84 .27 ดา้ นความมคี ณุ ค่า 4.86 .30 จากตารางที่ 2 พบว่าระดบั ความพึงพอใจในการใชน้ วัตกรรมตยู้ าเพ่ือคุณของกลมุ่ ตัวอย่าง โดยภาพรวมอยใู่ น ระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อพบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยพิจารณาแต่ละด้าน ดังน้ี ด้านการคิดและออกแบบ ( M= 4.90, S.D=.30) ด้านรูปแบบ( M = 4.85, S.D=.42) ด้านการใช้งาน ( M = 4.67, S.D=.22) ด้านการใช้ประโยชน์ ( M= 4.84, S.D=.27) ด้านความมีคุณค่า ( M= 4.86, S.D=.30) โดยข้อที่มีระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด คือ ตู้ยาเพื่อคุณมี ประโยชน์ต่อผู้พิการทางสายตา และผู้ดูแล ( M = 5.00, S.D=.22) และรองลงมาในระดับความพึงพอใจมาก คือ ความ แข็งแรง ทนทานของวัสดุท่ีนามาทาตู้ยาเพ่ือคุณ, มีความเหมาะสมของรูปร่าง ขนาด ต่อการนาไปใช้งาน, เนื้อหาคาแนะนา และวิธีการใช้ยามีความกระชับ เข้าใจง่าย ไม่ยืดเยื้อจนเกินไป, ความสะดวกในการหยิบยารับประทานได้ด้วยตนเอง,ระดับ เสยี งทีไ่ ด้ยนิ อยู่ในระดบั ท่เี หมาะสม ชัดเจน ( M = 4.95, S.D=.22) อภปิ รายผลการวจิ ัย ผู้พิการทางสายตามีคะแนนเฉลี่ยความถูกต้องของการใช้ยาสามัญประจาบ้านหลังการใช้นวัตกรรมตูยาเพ่ือคุณ (M=63.03, S.D = 1.02) สูงกวา่ ก่อนใชน้ วัตกรรมตู้ยาเพือ่ คุณ (M=54.19, S.D = 2.27) อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (t=21.43, p < .01) ซ่ึงอภิปรายผลได้ว่า การพัฒนานวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณต่อความถูกต้องในการใช้ยาสามัญประจาบ้าน พัฒนาโดยใชห้ ลกั การของการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking Process) ซงึ่ เปน็ การคดิ แกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์โดยแยก ออกเปน็ มติ ทิ างการคิด ได้แก่ การคิดอยา่ งมีวจิ ารญาณและความคิดสรา้ งสรรค์ เพือ่ สร้างผลงานการออกแบบและมติ ทิ างการ ปฏิบัติด้วยการเรียนแบบโครงการ โดยกระบวนการของการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking Process) มี 5 ข้ันตอน (Schmarzo, 2017) คือ 1) Empathize การเข้าใจปัญหา กาหนดกลุ่มเป้าหมาย ใช้ประสบการณ์ตรงจากกลุ่มเป้าหมาย ร่วมกันทาความเข้าใจกับปญั หาให้ถ่องแท้ในทุกมมุ มอง หรือเข้าใจในส่ิงทต่ี อ้ งการแก้ไข เพื่อหาหนทางที่เหมาะสมและดที ส่ี ุด ให้ได้ การเข้าใจปัญหาเริ่มตั้งด้วยการต้ังคาถาม สร้างสมมติฐาน ทบทวนวรรณกรรม เพ่ือกระตุ้นให้เกิดการใช้ความคิดที่ นาไปสู่ความคิดสร้างสรรค์ที่ดีได้ ตลอดจนวิเคราะห์ปัญหาให้ถ้วนถี่ เพ่ือหาแนวทางที่ชัดเจนให้ได้ การเข้าใจในปัญหาอย่าง ลึกซ้ึงถูกต้องน้ันจะนาไปสู่การแก้ปัญหาที่การใช้ยาสามัญประจาบ้านของผู้พิการทางสายตาได้ตรงประเด็น 2) Define เป็น การกาหนดปัญหาให้ชัดเจน เมื่อรู้ถึงข้อมูลปัญหาท่ีชัดเจน ตลอดจนวิเคราะห์อย่างรอบด้านแล้ว ให้นาเอาข้อมูลท้ังหมดมา วิเคราะห์เพ่ือท่ีจะคัดกรองให้เป็นปัญหาที่แท้จริง กาหนดหรือบ่งช้ีปัญหาเพื่อท่ีจะเป็นแนวทางในการปฏิบัติการต่อไป 3) Ideate – ระดมความคิด กลุ่มผู้วิจัยระดมความคิด การนาเสนอแนวความคิดตลอดจนแนวทางการแก้ไขปัญหาในรูปแบบ ต่างๆ อย่างไม่มีกรอบจากัด ระดมความคิดในหลากหลายมุมมอง หลากหลายวิธีการ ออกมาให้มากท่ีสุด เพื่อท่ีจะเป็น ฐานข้อมูลในการที่เราจะนาไปประเมินผลเพื่อสรุปเป็นความคิดท่ีดีท่ีสุดสาหรับการแก้ไขปัญหา พัฒนานวัตกรรมการใช้ยา สามัญประจาบ้านของผพู้ ิการทางสายตา 4) Prototype กล่มุ ผู้วิจยั สรา้ งตน้ แบบนวัตกรรมกอ่ นนาไปทดสอบ และ 5.Test คือ 336
ขั้นทดสอบ ทดลองนาต้นแบบนวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณทดสอบประสิทธิภาพกับผู้พิการทางสายตา ประเมินผล นาเอาปัญหา หรอื ข้อดขี ้อเสยี ที่เกิดขนึ้ เพือ่ นามาปรับปรุงแกไ้ ข ผลจากการทดลองใช้นวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณท้ังก่อนและหลังทดลองต่อความถูกต้องในการใช้ยาสามัญประจาบ้าน และ ความพึงพอใจต่อนวัตกรรมตู้ยาเพื่อคุณของผู้พิการทางสายตา สอดคล้องกับแนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเอง (Perceived Self-Efficacy) โดยการท่ีบุคคลตัดสินความสามารถของตนเอง ในการประกอบกิจกรรมที่กาหนดภายใต้ สถานการณ์ที่จาเพาะได้ สามารถผสมผสานการเรียนรู้ทางสังคมเข้ากับพฤติกรรมที่เกิดจากความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Behavior) ซ่ึงพฤติกรรมของบุคคลเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันระหว่าง 3 องค์ประกอบนั้นคือ 1) ปัจจัยในตัวบุคคล (Behavior Personal Factor) ได้แก่ ความเชื่อ การรับรู้ความคาดหวัง ความรู้สึก 2) เง่ือนไขพฤติกรรม (Behavior Condition) ได้แก่ การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน และ 3) เง่ือนไขเชิงสภาพแวดล้อม ( Environment Condition) ได้แก่ บทบาทและอิทธิพลทางสังคม ซ่ึงท้ัง 3 องค์ประกอบมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน โดยการ พัฒนาการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเกิดจากการที่บุคคลเรียนรู้ข้อมูลมาจาก 4 แหล่งน้ีคือ 1) การกระทาที่ประสบความสาเร็จ ด้วยตนเอง (Enactive Mastery Experience) จะช่วยให้บุคคลมีการรับรู้ว่าตนเองมีสมรรถนะสูง บุคคลท่ีกระทากิจกรรมท่ี สาเรจ็ หลาย ๆ ครง้ั จะทาให้รสู้ ึกวา่ มคี วามเชื่อม่ันในความสามารถของตนเอง 2) การสังเกตตวั แบบ (Model) หรอื การสงั เกต ประสบการณ์ของผู้อื่น (Vicarious Experience) จะมีผลต่อการรับรู้ความสามารถของผู้ที่สังเกตเร่ืองนั้นด้วย ถ้าตัวแบบมี สถานการณ์ใกลเ้ คยี งกับผู้สงั เกตมากเท่าใดก็จะย่ิงมีผลต่อการรบั รู้ของผูส้ งั เกตมากข้ึนเทา่ น้ัน 3) การได้รับคาแนะนาหรือชกั จงู ดว้ ยคาพูด (Verbal Persuasion) บุคคลที่เช่อื ถอื ของบคุ คลอน่ื ทีต่ นเองนั้นเช่อื มั่น โดยท่ีบคุ คลน้นั ได้แสดงออกคาพูดวา่ เขา มีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองว่าจะสามารถกระทากิจกรรมต่างๆได้ ทาให้บุคคลนั้นมั่นใจ มีกาลังใจและมีความ พยายามท่ีจะทาสงิ่ ตา่ งๆใหส้ าเรจ็ มากขึน้ และ 4) สภาวะทางสรรี ะและอารมณ์ (Physiological and Affective States มีผล ต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเอง โดยบุคคลท่ีเผชิญกับภาวะเครียดหรือสถานการณ์ท่ีคกุ คามความรสู้ กึ เช่น ความกลัว ความ วิตกกังวล ทาให้การรับรู้สมรรถนะลดลงเกิดความรู้สึกท้อถอยท่ีจะกระทากิจกรรมใดๆ ให้สาเร็จ (รุจิกาญจน์ สานนท์ และ ฐานริณทร์ หาญเกียรตวิ งศ์, 2563) ผลการวิจัยคร้งั นีส้ อดคล้องกับการศกึ ษาของ ศิริพร ชุดเจือจีน, ประไพพิศ สิงหเสม และ สุดารัตน์ วุฒิศักด์ิไพศาล (2560) ที่ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการสร้างเสริมทักษะชีวิตต่อ พฤติกรรมสขุ ภาพทางเพศในวัยรนุ่ ตอนตน้ ซ่ึงผลการวิจัยพบว่าการรบั รู้สมรรถนะแหง่ ตน ทักษะชีวิต และพฤติกรรมสุขภาพ ทางเพศ ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคล้องกับการศึกษาของกฤตยา แสวงทรัพย์และเอื้อญาติ ชูช่ืน, 2562 การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตชุมชนของ อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหม่บู ้าน พบว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านสว่ นใหญ่ มีการรับรสู้ มรรถนะแห่งตนใน การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตชุมชนอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 63.2 และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแล สุขภาพกายและสุขภาพจิตชุมชนโดยรวมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับ พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ชุมชนอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติ (r = .79, p < .05) สรุปไดว้ า่ นวัตกรรมตูย้ า มีส่วนชว่ ยใหผ้ ้พู กิ ารทางสายตามกี ารรบั รสู้ มรรถนะแห่งตนไดด้ ีขึ้น และมคี วามพึงพอใจต่อ นวัตกรรมตู้ยา ซ่ึงนวัตกรรมนี้สามารถนาไปใช้ในโรงเรียนและสถานทีท่ ี่มีผูพ้ ิการทางสายตาม่มี ีการได้ยินปกติและสามารถใช้ อกั ษรเบรลล์ เพอื่ สง่ เสริมใหผ้ ู้พิการทางสายตาได้หยบิ ยาใช้เองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและสามารถช่วยเหลอื ตนเองและผู้อื่นได้ 337
7. ขอ้ เสนอแนะ นวัตกรรมตู้ยาเพื่อคุณสามารถช่วยให้ผู้พิการทางสายตามีสมรรถนะแห่งตนในการหยิบยาใช้ด้วยตนเอง แต่มีข้อ คานึงถึงความปลอดภัย จึงมีความสาคัญที่ต้องมีผู้ดูแลตู้ยา เช่น ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในการตรวจสอบชนิด ของยา วนั หมดอายุ และการเติมยาในตยู้ าให้ถกู ต้อง เพื่อใหเ้ กดิ ความปลอดภัยต่อผพู้ ิการทางสายตาเมอื่ มาหยบิ ยาดว้ ยตนเอง และควรใหผ้ ู้พกิ ารทางสายตามกี ารแจ้งการใช้ยาให้กับผดู้ ูแลทราบดว้ ยเม่อื มีการใช้ยา เพื่อตดิ ตามความเสยี่ งท่อี าจเกดิ ข้นึ เช่น การแพย้ า หรอื ผลข้างเคยี งจากการใช้ยา 8. เอกสารอ้างอิง 1. ราชกจิ จานเุ บกษา.(2556).พระราชบญั ญัติ ส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพกิ าร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556. เล่ม 130 ตอนที่ 30 ก. 2. ทับทิม ศรวี ิไล, ภมร ขนั ธะหัตถ์ และ ธนศิ ร ยนื ยง. (2565). การบรหิ ารการพัฒนาทส่ี ่งผลตอ่ คณุ ภาพชีวิตคนพิการ โดยกรมสง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร ในเขตภาคกลาง, วารสารรัชตภ์ าคย,์ 16(49),371-385. 3. สทุ ธาทพิ ย์ ออประยรู , อัลจนา เฟ่ืองจนั ทร์. (2560). การพัฒนาฉลากยาสาหรบั ผพู้ ิการทางสายตา. วารสารเภสชั กรรมไทย, 9(1), 237-250. 4. ธญั ชนก ผวิ คา, สุรชยั สขุ สกลุ ชยั . (2560). การศกึ ษาปญั หาและความตอ้ งการของผพู้ ิการทางสายตา ศูนยฝ์ ึกอาชพี หญงิ ตาบอดสามพราน จังหวดั นครปฐม, วารสารสหศาสตร์ศรปี ทุม ชลบรุ ,ี 3(2), 30-38. 5. สเุ ทพ เตรียมวทิ ยา เเละ สมชาย เลก็ เจรญิ . (2560). แอพพลเิ คชน่ั สาหรบั ผพู้ กิ ารทางสายตากบั การอา่ นฉลากยา. มหาวิทยาลยั เพชรบูรณ์, 964-965. 6. ศริ พิ ร ชดุ เจอื จนี เเละคณะ. (2560). ผลของโปรแกรมสง่ เสริมการรบั ร้สู มรรถนะแห่งตนในการสรา้ งเสรมิ ทกั ษะชวี ติ ต่อพฤตกิ รรมสุขภาพทางเพศของนักเรียน.วารสารเครือขา่ ยวทิ ยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้,4(2), 269-272. 7. รึจิกานต์ สานน, ฐานริณทร์ หาญเกยี รตวิ งศ.์ (2563). การประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎีปญั ญาสงั คมในการอธบิ ายพฤตกิ รรม สุขภาพ. วารสารมนษุ ย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย, 3(1), 13-20. 8. กฤตยา แสวงทรัพย์ และเอ้ือญาติ ชูช่ืน. (2562). การรบั รสู้ มรรถนะแหง่ ตนต่อพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพกายและ สุขภาพจิตชมุ ชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น. วารสารศรนี ครนิ ทรว์ โิ รฒวจิ ยั และพฒั นา (สาขา มนษุ ยศ์ าสตร์และสงั คมศาสตร)์ , 11(22), 1-10. 9. Schmarzo, B. (2017). Can Design Thinking Unleash Organizational Innovation? Retrieved fromhttps://www.datasciencecentral.com/profiles/blogs/can-design-thinking- unleashorganizational-innovation 338
นวัตกรรมแคนดลี้ ดชา นภสั สิริ บุตรฉำ่ 1, นันทนา แนนผักแวน่ 1, พทั ธมน ไข่บัว1, บุษยมาศ แกว้ ศรีนวม1, เบญญทพิ ย์ แซจ่ ัง1, ปราณี วัฒน วงศ1์ , วมิ ลสิริ สนพลาย1, ปวรรตั น์ กล่นิ เมอื ง1,พนิตนันท์ แซ่ลม้ิ 2,ศุภรัสม์ิ วิเชียรตนนท์2 และเรยี ม นมรักษ์2 1นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม, นครปฐม 2อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, นครปฐม *ผูร้ บั ผดิ ชอบบทความ: [email protected] บทคดั ย่อ นวตั กรรมแคนดลี้ ดชา ครงั้ น้มี วี ตั ถุประสงค์เพอ่ื ชว่ ยการกระตนุ้ การไหลเวยี นของโลหติ ปอ้ งกันปญั หาสขุ ภาพด้านรา่ งกาย ลดภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทส่วนปลาย อาการชา รวมไปถึงการสูญเสียความรู้สึกของเท้าจากผู้ทีเ่ ป็นเบาหวานและเสีย่ ง ต่อการเกดิ ภาวะแทรกซ้อน ในชุมชนหมู่บ้านหนองหมา หมู่ 11 ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม จากการ สำรวจประชาชนในชุมชนที่ปว่ ยเปน็ โรคเบาหวานและเส่ยี งต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเทา้ ชา 21 ราย ซึ่งเลือกกลมุ่ ตัวอยา่ งท้ังสิ้น 5 ราย โดยก่อนทำการทดลองใช้นวัตกรรมได้มีการทดสอบปลายเท้าด้วย Monofilament 4 ตำแหน่ง พบว่าผู้ป่วยไม่สามารถบอก ความรู้สึกในแต่ละจุดได้ถูกต้อง จึงนำนวัตกรรมมาทดลองใช้ 20 นาที แล้วทำการทดสอบซ้ำด้วย Monofilament Test 4 จุด พบว่าผู้ป่วยสามารถบอกตำแหน่งในแต่ละจุดได้ถูกต้อง และแบบประเมินความพึงพอใจต่อนวัตกรรม พบว่าคะแนนอยู่ในระดับดี มากทส่ี ดุ ร้อยละ 94 คำสำคญั : ผู้ปว่ ยเบาหวาน, อาการชา, นวัตกรรมแคนดล้ี ดชา 339
1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่มีอุบัติการณ์เพิ่มมากขึ้นและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก เป็น 1 ใน 5 ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) มีสาเหตุหลักมาจากกรรมพันธุ์และจากพฤติกรรม จากรายงานสถิติสาธารณสุข กระทรวง สาธารณสุข ประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น 3 แสนคนต่อปี และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานอยู่ในระบบทะเบียน 3.3 ล้านคน ในปี 2563 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานทั้งหมด 16 ,388 คน (อัตราตาย 25.1 ต่อประชากรแสนคน) ค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสขุ ในการรักษาโรคเบาหวานเฉลี่ยสงู ถงึ 47,596 ล้านบาทต่อปี นอกจากนี้โรคเบาหวานยังคงเป็นสาเหตุหลักที่ก่อใหเ้ กิดโรคอื่นๆ ในกลุ่มโรค NCDs เช่น โรคหวั ใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรค ความดันโลหิตสูง และโรคไตวายเรื้อรัง ฯลฯ ปัญหาหลักของการรักษาโรคเบาหวานในประเทศไทย คือ ผู้ป่วยจำนวนมากไม่ สามารถควบคมุ เบาหวานใหล้ ดลงตามเกณฑป์ ฏิบตั ิ และทำใหเ้ กดิ ภาวะแทรกซ้อนตา่ งๆ ตามมา ทง้ั แบบเฉยี บพลันและเร้ือรัง (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2565) โรคเบาหวานทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตา่ ง ๆ มากมาย ที่ พบบ่อย เกิดจากปลายประสาทส่วนปลายเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา และเท้า ภาวะแทรกซ้อนสำคัญจะมีผลให้เกิด อาการเท้าชา สูญเสียการรับสัมผัสที่เท้าและเป็นสาเหตุหลักของการเกิดแผล ที่เท้าหากมีการติดเชื้อรุนแรงจะนำไปสู่การ สญู เสยี อวยั วะหรอื อาการชาทีป่ ลายเทา้ ในผปู้ ่วยโรคเบาหวานจะ มโี อกาสเกิดมากกว่าคนทัว่ ไป มอี าการชาเกดิ ข้ึนท่เี ทา้ ผู้ป่วย ไม่ร้สู กึ ตวั เมือ่ เหยยี บตะปหู รือของมคี ม เนอ่ื งจากเส้นประสาทสว่ นปลายเสอื่ มทำใหส้ ูญเสียความรู้สกึ ส่งผลใหเ้ กิดแผลเร้ือรังท่ี เท้า นำมาซึ่งการสูญเสียเท้าในที่สุด แต่อาการชาที่เท้านี้สามารถป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสียความรู้สึกของเท้าได้ พื้นที่ ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เป็นพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาสุขภาพของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในระหว่างวันที่ 20 กุมภาพันธ์ – 15 มีนาคม 2566 คณะผู้จัดทำซึ่งฝึกปฏิบัติการพยาบาล ชุมชน 1 ได้ลงสำรวจพื้นที่ชุมชนหมู่ 11 ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ได้พบว่ามีผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน จากการเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 21 คน หรือ ร้อยละ 31.2 ของประชาชนหมู่ท่ี 11 โดยผู้ปว่ ยเหล่าน้เี ส่ียงต่อภาวะเเทรกซอ้ น เทา้ ชา สง่ ผลใหเ้ ป็นอุปสรรคต่อการดำเนนิ ชีวติ ประจำวัน และอาจเกดิ แผลทเ่ี ท้าตามมาได้ ดังน้ันคณะผู้จัดทำตระหนักและให้ ความสำคัญในการดูแลภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานจาก อาการชาทเ่ี ท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน จึงไดค้ ิดค้นพัฒนาผลงาน นวัตกรรมดา้ นการพยาบาล \"เเคนดี้ลดชา\" ขึ้นเพื่อช่วยกระตุน้ การไหลเวียนของโลหิต และลดอาการชาของเท้า ผู้จัดทำหวัง เป็นอย่างยงิ่ วา่ นวัตกรรมช้ินนีส้ ามารถผลติ ไดเ้ องทีบ่ า้ นและสามารถนำไปเผยแพรใ่ หเ้ กดิ ประโยชน์แกผ่ ู้รบั บริการได้ 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1.เพื่อช่วยการกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ป้องกันปัญหาสุขภาพด้านร่างกาย 2.เพ่ือลดภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทสว่ นปลาย อาการชา รวมไปถึงการสูญเสยี ความรสู้ ึกของเทา้ 3. กลมุ่ เปา้ หมาย กลมุ่ ผู้ป่วยทีเ่ ปน็ โรคเบาหวานและเสี่ยงตอ่ ภาวะแทรกซอ้ นเทา้ ชา โดยใช้กลมุ่ ตัวอยา่ ง 5 ราย จากผู้ปว่ ยโรคเบาหวานและเสยี่ ง ตอ่ ภาวะแทรกซอ้ นทง้ั สิน้ 21 ราย 4. กระบวนการพัฒนา (ตามขัน้ ตอน plan do check act) 4.1. Plan 1) ประชุมปรกึ ษาหารือกบั อาจารย์ประจำกลมุ่ และศกึ ษาขอ้ มลู ทเี่ กดิ ขน้ึ ในชมุ ชน 2) ทบทวนวรรณกรรม/เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง พบว่า มกี ารใช้ “นวัตกรรมลูกปดั ไมน้ วดกดจดุ ลดอาการชาทเี่ ทา้ ในกลุ่มผู้ปว่ ย โรคเบาหวาน” เปน็ การศกึ ษาเพ่อื ศกึ ษาผลของการนวดกดจดุ ลดอาการชาฝ่าเท้าด้วยตนเองในผ้ปู ว่ ยท่มี ีภาวะเส้นประสาทส่วน ปลายเสอ่ื มเน่ืองจากโรคเบาหวาน โดยผลการวิจยั พบวา่ กลมุ่ ตัวอยา่ งเปน็ เพศหญงิ ส่วนใหญ่อยู่ในชว่ งอายตุ ง้ั แต่ 60 ปีข้ึนไป มี 340
สถานภาพสมรส/คู่ กลุม่ ตวั อยา่ งมอี าการชาที่เทา้ ซา้ ยและเท้าขวาสูงสดุ ท่ี 4 จุด โดยอาการชาที่เทา้ ซ้ายก่อนการทดลองมากทสี่ ดุ คอื อาการท่ีเท้าจำนวน 1 จุด และภายหลังจากการใช้นวัตกรรมไม่พบอาการชาทเ่ี ทา้ จากการทบทวนวรรณกรรม จงึ สรปุ ไดว้ ่า การ นวดหรือกดจดุ ท่ฝี ่าเทา้ สามารถลดอาการชาในผ้ปู ่วยเบาหวานได้จรงิ งานวิจัยน้ีจงึ พัฒนาต่อยอดจากงานวิจัยทไี่ ดศ้ ึกษา โดยปรับ ให้มีการใชเ้ มด็ ลูกปัดมาร้อยเข้ากบั ตวั PVC และไมไ้ ผท่ ่ีหาไดใ้ นชมุ ชนเปน็ สง่ิ ท่ีจะใชน้ วด เพ่ือกระตุ้นฝ่าเทา้ มผี ลต่อการไหลเวียน ของโลหติ ที่มาเล้ยี งบรเิ วณฝา่ เท้า 3) เสนอแบบนวตั กรรมให้กบั อาจารย์ประจำกลมุ่ เพอื่ พจิ ารณา 4) สรปุ แบบนวัตกรรมและวางแผนในการประดิษฐน์ วตั กรรม 4.2. Do 1. เรม่ิ ออกเเบบรูปเเบบโครงสร้างของนวตั กรรม 2. ประดิษฐน์ วัตกรรม จดั หาอุปกรณ์ ประกอบชนิ้ งาน ตามข้ันตอน ดังน้ี 2.1 มีการนำไมไ้ ผ่ทข่ี นาดเส้นผ่าศนู ย์กลางประมาณ 15 มลิ ลเิ มตร มาตดั ให้มีความยาวประมาณ 60 เซนติเมตร จำนวน 20 ทอ่ น หลงั จากนน้ั นำทอ่ PVC ที่มขี นาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 1 นวิ้ มาตดั จำนวน 20 ท่อน นำท่อ PVC ทต่ี ัดไวม้ าเจาะรูให้ มลี กั ษณะเปน็ เกลยี วรอบ PVC ภาพท่ี 1 เจาะรรู อบท่อ PVC 2.2. จากนนั้ นำเส้นเอ็นร้อยลกู ปดั มาร้อยใส่ในรทู อ่ PVC ท่ีทำการเจาะรไู ว้ โดยทำการรอ้ ยลกู ปัดให้ครบ 20 ทอ่ นของ PVC ภาพท่ี 2 ร้อยลูกปัดกบั ทอ่ PVC 341
2.3 นำทอ่ PVC เส้นผ่าศูนยก์ ลางขนาด 1.5 นวิ้ จำนวน 14 ท่อน มาตอ่ กับข้อต่อ เพ่อื ทำเปน็ โครงในการยึดตวั แกนหมนุ นำ PVC ทรี่ ้อยลูกปัดแลว้ มาใสต่ รงตัวโครง ภาพที่ 3 ต่อท่อ PVC กับขอ้ ต่อ ภาพที่ 4 แคนดลี้ ดชา 4.3. Check 1) นำเสนอนวตั กรรมกบั อาจารย์ที่ปรึกษาเพอื่ เเกไ้ ข ปรับปรุงนวัตกรรมตามขอ้ เสนอแนะ 2) นำไปทดลองใชก้ บั กลมุ่ ตัวอยา่ งผปู้ ว่ ยเบาหวานทม่ี ภี าวะเเทรกซอ้ นเท้าชา 5 ราย ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจจากกลมุ่ ตัวอยา่ งผูใ้ ชน้ วัตกรรมแคนดลี้ ดชา ลำดบั หัวข้อการประเมิน มากทสี่ ุด มาก ระดับการวดั นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ดุ (คน) (คน) ปานกลาง (คน) (คน) 1 วัสดุท่ีใชม้ คี วามแข็งแรงทนทาน 4 2 สามารถเคลอ่ื นย้ายสะดวก 5 1 (คน) 3 ข้นั ตอนใชง้ านสะดวก ไม่ซับซ้อน 5 4 มีความสวยงามน่าใช้งาน 4 1 5 สามารถใชง้ านไดจ้ ริง 5 6 สามารถบรรเทาอาการชาบรเิ วณฝา่ เท้านอ้ ยลง 5 7 ขณะที่ใช้งานรสู้ ึกสบายเทา้ 5 342