ครั้ง การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ที่ 15 หัวข้อการจัดงาน \"วิจัยและพัฒนา บนฐานเศรษฐกิจ BCG สู่การ พัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน\" และการประชุม สาขาพยาบาลศาสตร์ เรื่อง “การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal” ร่วมดำเนินการ โดย คณะพยาบาลศาสตร์ เครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏ และ สถาบันร่วมจัด
คำนำ ปัจจุบันสถาบันการศึกษาได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนางานของอาจารย์และนักศึกษา ทางด้านวิชาการท้ังการวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ ท่ีช่วย ส่งเสริมให้เกิดบัณฑิตพยาบาลที่มีคุณภาพ ซ่ึงรวมถึงการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงในการจัดการเรียน การสอนร่วมด้วย นอกนี้ยังมีการพัฒนางานด้านอาจารย์ที่สอดคล้องกับนโยบายของสภาการพยาบาลในการ ส่งเสริมให้อาจารย์ได้ใช้ความเชี่ยวชาญของตนเองให้เกิดประโยชน์ต่อระบบบริการทางด้านสุขภาพได้แก่การ ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลของอาจารย์ (faculty practice) ด้วยเหตุนี้ คณะกรรมการจากสถาบันการศึกษาทางการพยาบาลในงานประชุมวิชาการ ระดับชาติ คร้ังท่ี 15 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมหัวข้อการจัดงาน \"วิจัยและพัฒนา บนฐานเศรษฐกิจ BCG สู่การพฒั นาประเทศอย่างย่ังยืน\" และการประชุม สาขาพยาบาลศาสตร์ เร่ือง “การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลย ภาพชวี ิตในยคุ Next Normal” จงึ ไดร้ ่วมกนั ดำเนนิ การจัดประชมุ วิชาการในสาขาพยาบาลศาสตรข์ นึ้ เพ่ือเป็น การส่งเสริมศักยภาพของอาจารย์และนักศึกษา อีกท้ังยังเป็นเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้งานวิจัย นวัตกรรม แนว ปฏิบัติท่ีดี รวมถึงการใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด รว่ มกนั คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ขอขอบพระคุณเครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏ และสถาบันร่วมจัดในคร้ังน้ีเป็นอย่างสูง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีราชบุรี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้าจังหวัด เพชรบุรี และมหาวิทยาลยั นวมินทราธริ าช ที่ให้ความร่วมมือและรว่ มดำเนินการในการจัดงานครง้ั นี้เปน็ อย่างดี สำหรับการการประชุมวชิ าการระดับชาติ ครั้งที่ 15 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมหัวข้อการจัดงาน \"วิจัยและ พัฒนา บนฐานเศรษฐกิจ BCG สู่การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน\" และการประชุม สาขาพยาบาลศาสตร์ เรื่อง “การวจิ ัยเชงิ สุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวติ ในยุค Next Normal” ระหวา่ งวนั ที่ 13-14 กรกฎาคม 2566 รองศาสตราจารย์ ดร.หทยั ชนก บวั เจริญ คณบดี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม 14 กรกฎาคม 2566
สารบัญ แนวปฏิบัตทิ ่ีดี หนา้ 1. แนวปฏิบัติทด่ี ีดา้ นบริหารจัดการทรัพยากรบคุ คลเพ่อื ลดความขาดแคลนอาจารย์พยาบาล 2 11 โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ รยิ า จนั ทร์ขำ และนางสาวโศรยา นุ่มสร้อย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม 17 2. แนวทางการบูรณาการงานสอน งานวิจัย งานบริการวชิ าการ ผลักดนั การพัฒนาอาจารย์จาก ชุดความคดิ การบรหิ ารเพ่ือสรา้ งความโดดเด่นด้านวิชาการและวิชาชีพ 23 โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทัศนยี ์ สนุ ทร 32 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี 45 3. แนวปฎบิ ัติทีด่ ีในการจัดการสถาบันทางการศกึ ษาและการจัดการศกึ ษาสำหรบั หลักสตู ร พยาบาลศาสตร์ แบบ 3C NPRU model 64 โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ รยิ า จนั ทร์ขำ และนางสาวฐาปนีย์ ซว่ั เซ่งอ่ี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม 71 4. การจดั การเรยี นการสอนด้วยสถานการณจ์ ำลองเสมอื นจรงิ โดย อาจารย์รัชนี ผิวผ่อง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรีรมั ย์ 5. แนวปฏบิ ตั ิการปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์พยาบาล (Faculty Practice) ลงสูง่ านวจิ ยั โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา สายสิทธ์ิ และนางสาวมณฑิรา วฒุ พิ งษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม 6. แนวปฏบิ ัติ เร่ือง PCK together : การเผยแพร่ผลงานวจิ ัยและผลงานวชิ าการในระดบั ชาติ และนานาชาติ โดย อาจารย์ ดร.จนิ ตนา ทองเพชร อาจารย์ ดร.อัจฉราวดี ศรียะศักด์ิ และคณะ วิทยาลยั พยาบาลพระจอมเกลา้ จงั หวัดเพชรบุรี 7. แนวปฏบิ ัติทด่ี :ี กิจกรรมเสริมหลักสูตรเพ่อื พัฒนานักศึกษาสู่นักจดั การภัยพบิ ัติ โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เรยี ม นมรักษ์ นางสาวอญั ธิกา เข็มเอก และนางสาวพิมพอ์ ร บุญวิธวาเจริญ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม 8. การจัดการความรูเ้ รือ่ งการสง่ เสรมิ ทักษะทางปญั ญาผา่ นการจัดการเรียนการสอนดว้ ย สถานการณจ์ ำลอง (Simulation Based Learning: SBL) โดย อาจารย์ ดร.รัศมี ศรีนนท์ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี
9. แนวปฏบิ ัติการพฒั นาสมรรถนะทมี แกนนำชมุ ชน/อาสาสมัครสาธารณสขุ ในการบริหาร หนา้ จดั การโครงการแบบบูรณาการเพื่อรองรับสังคมสูงอายรุ ะดับสดุ ยอด 84 โดย อาจารย์บุญทพิ ย์ ลขิ ิตพงษ์วทิ ย์ และคณะ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี 93 10. แนวปฏบิ ตั ิการสรา้ งเสริมความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการเพอ่ื เตรียมความพรอ้ มเป็นพยาบาล 106 วิชาชีพ:แนวทางการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน(BCNR 4P Model) โดย อาจารย์กรรณกิ าร์ กจิ นพเกยี รติ และคณะ 122 วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี 127 133 11. แนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลตามความเชย่ี วชาญของอาจารย์ (Faculty practice) (online) โดย รองศาสตราจารย์ดร.วรรณี เดียวอิศเรศ 139 คณะพยาบาลศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 147 159 นวัตกรรมทางการพยาบาล 12. ผลของบทเรยี นออนไลน์ MED CAN สำหรบั นักศึกษาพยาบาลต่อความรอบรู้ทางสุขภาพใน การใชก้ ัญชาทางการแพทย์ โดย นายกนั ตพ์ ิชญ์ และคณะ คณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาลยั พยาบาลพระจอมเกล้าจังหวดั เพชรบรุ ี 13. E-book (หนงั สือเสียง) แนวทาง ห่างไกลโรคความดนั โลหิตสงู ภาษาถิน่ 4 ภาค โดย นางสาวกนกพรรณ เกตุชมภู และคณะ / ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วนั เพ็ญ แวววีรคปุ ต์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม 14. E-book (หนังสือเสียง) ห่างไกลไขมนั ในเลอื ดสูง โดย นางสาวกญั ญารตั น์ สำราญวงศ์ และคณะ/ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วันเพ็ญ แวววีรคปุ ต์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม 15. แอปพลเิ คชนั ใหค้ วามรกู้ ลมุ่ โรคไม่ติดตอ่ เรอ้ื รัง โดย นายพชร นาคยา และคณะ / ผชู้ ่วยศาสตราจารย์วรยิ า จันทร์ขำ อาจารย์พนติ นันท์ แซ่ลิม้ และอาจารยก์ ิตกิ ร พรมา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม 16. Line official save แมด่ แู ล baby โดย กฤษณา หม่นื แผลง และคณะ / อาจารย์ ดร.รศั มี ศรนี นท์ และอาจารยว์ ิมลมาส ตงิ่ บญุ คณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนรี าชบรุ ี 17. Hospigator โดย อาจารย์ ดร.จริยา ชน่ื ศิรมิ งคล และอาจารยภ์ ทั ราภรณ์ ศรีพรมมา คณะพยาบาลศาสตร์เกอ้ื การณุ ย์ มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธิราช
18. HBD Heal by Defence หนา้ โดย สกุลทิพย์ สทิ ธิยศ และคณะ / ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยป์ ราลีณา ทองศรี 162 คณะพยาบาลศาสตรเ์ ก้อื การณุ ย์ มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช 167 19. ประสทิ ธผิ ลของการใชน้ วัตกรรมรถเข็นมหศั จรรย์แสนสนกุ เพื่อส่งเสรมิ การพัฒนาทักษะคดิ 177 เชิงบรหิ ารในเดก็ ปฐมวยั 190 ผ้สู ง่ ผลงาน นางสาวกรรณกิ าร์ ทบั ทิมทอง และคณะ 199 คณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาลยั พยาบาลพระจอมเกลา้ จงั หวดั เพชรบุรี 207 218 20. sim-meat 230 โดยนางสาวอารยิ า สาระแสน และคณะ/ อาจารย์ ดร.สุภาพร ปรารมภ์ 245 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร 260 267 21. pumpy doll 272 โดยนางสาวสชุ าวดี สีทอง และคณะ / อาจารย์ ดร.สุภาพร ปรารมภ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กำแพงเพชร 22. นวัตกรรมตะแกรงล้างแผล โดย นงนุช สงั ขละผาสุข และคณะ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรัช 23. นวตั กรรมถงุ ให้อาหาร น้ำ และยาทางสายแบบอัตโนมตั ิ โดย นางสาวนภัทร น้ยุ หงส์ และคณะ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั 24. เครอ่ื งควบคุมการใหอ้ าหารทางสายยาง โดย นางสาวปลายร้งุ ภมู่ าลัย และคณะ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั 25. ทนี่ อนซัพพอร์ตกนั เปือ้ น โดย นางสาวญาดา เจริญจารโุ รจน์ และคณะ /อาจารย์ดวงฤทัย เสมคมุ้ หอม วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั 26. Garbage can for disposing of ATK and infectious waste โดย สดุ าวดี บญุ มาก และคณะ / อาจารย์ ดร.จรี ะนันท์ จีระยิ่งมงคล วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช 27. เสื้อชว่ ยพยงุ โดย นางสาวคัทลียา พมุ่ ชยั และคณะ /อาจารย์ ดร.ดวงฤทัย เสมคมุ้ หอม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั 28. Piggy edema ใโดย นางสาวธญั ญารัตน์ ถือศีล และคณะ / ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธ์ิ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม 29. นวตั กรรมเครือ่ งหักหลอดแก้ว
โดย นางสาวจารวุ รรรณ จันทร์คณาโชค และคณะ /อาจารย์ดวงฤทัย เสมคมุ้ หอม หนา้ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั 285 30. นวตั กรรมปฏิทินเตือนใจ ตา้ นภัย ไขเ้ ลอื ดออก 290 โดย อาจารย์ ดร.ถาวรยี ์ แสงงาม และคณะ มหาวิทยาลันราชภฏั บรุ รี มั ย์ 31. ผลการใชส้ อื่ การเรยี นรผู้ ่านแอพพลเิ คชัน่ การฉดี ยาทางกล้ามเนอ้ื ตอ่ ความรูก้ ารฉดี ยาทาง 300 กลา้ มเนอื้ และความพงึ พอใจของนกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ชั้นปที ่ี 2 309 โดย นางสาวกมลชนก เทวัญรัตนโชติ และคณะ 314 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั 324 32. necklace สรอ้ ยคอขอเกี่ยว 331 โดย นางสาวกมลวรรณ คำดี และคณะ/ อาจารย์ดวงฤทยั เสมคุ้มหอม 339 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรัช 33. อปุ กรณ์พยุงลุกขึน้ นงั่ 345 โดย นางสาวกุลนิษฐ์ สายจำปา และคณะ 358 อาจารย์ ดร.พิมลดา อนนั ตส์ ริ เิ กษม วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช 34. เบาะลมชว่ ยพลิกตะแคงตัวผปู้ ว่ ย โดย นางสาวจุรีรตั น์ พมิ พา และคณะ/ อาจารยด์ วงฤทัย เสมคมุ้ หอม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั 35. Stepping foot โดย นางสาวณิชาภา เรอื งวงษ์ และคณะ/ อาจารย์พลอยประกาย ณหทยั โภคิน วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั 36. นวัตกรรม ตูย้ าเพอ่ื คุณ เพือ่ ผ้พู กิ ารทางสายตา โดยนางสาวอจั ฉรา สามรอ้ ยยอด และคณะ / อาจารย์ ดร.จนิ ตนา ทองเพชร คณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาพยาบาลพระจอมเกล้าจงั หวดั เพชรบรุ ี 37. นวตั กรรมแคนด้ีลดชา โดย นางสาวสรลั รัตน์ หงส์จนั ทร์ และคณะ / อาจารยพ์ นติ นันท์ แซล่ ิ้ม และผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เรียม นมรกั ษ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม 39. กลอ่ งความจำไม่รลู้ ืม นางสาวจิราพร ศรพี รแก้ว และคณะ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ราชบรุ ี 40. นวตั กรรม ”การพัฒนาระบบการให้บริการศนู ยเ์ ปลออนไลน์ โรงพยาบาลนครปฐม” โดยนางปุณปวีร์ กิตตกิ ลุ โรงพยาบาลนครปฐม
42. ตม้ ยำสมนุ ไพร: เบาใจ-เบาหวาน หนา้ โดย อาจารยร์ ณชติ สมรรถนะกลุ และคณะ 366 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 375 สถานการณ์จำลองเสมือนจรงิ 389 สาขาการพยาบาลผ้ใู หญ่และผสู้ งู อายุ 395 43. การประเมินและการปฏบิ ัติการพยาบาลผู้ป่วยทมี่ ีภาวะช๊อคจากการตดิ เชอื้ ในรา่ งกาย 404 หวั หน้าทีม อาจารยส์ ุรวี ลั ย์ วรอรุณ 413 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกำแพงเพชร 428 44. การพยาบาลผปู้ ว่ ยที่ใส่ทอ่ ชว่ ยหายใจทมี่ ีเสมหะอดุ กั้น หัวหนา้ ทมี อาจารยอ์ นัญญา โสภณนาค คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม 438 45. การพยาบาลผู้ท่ีมภี าวะพิษ เหตุตดิ เช้อื 446 หวั หนา้ ทีม อาจารยป์ องพล คงสนาม 456 คณะพยาบาลศาสตรเ์ ก้ือการุณย์ มหาวทิ ยาลยั นวมินทราธริ าช 46. การพยาบาลผู้ป่วยต่อมลกู หมากโตทีไ่ ด้รบั การรักษาด้วยการผา่ ตดั ตอ่ มลกู หมากโดยการสอ่ ง กล้องผ่านทางท่อปสั สาวะ หวั หนา้ ทมี อาจารย์กาญจนา กิรยิ างาม คณะพยาบาลศาสตร์เกอื้ การุณย์ มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช 47. การพยาบาลผปู้ ว่ ยชอ๊ คจากการแพ้ยา หัวหน้าทีม อาจารยส์ ภุ าพ เหมือนชู วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบรุ ี 48. การพยาบาลผทู้ ม่ี ภี าวะ sepsis to septic shock อาจารยด์ วงกมล สุขทองสา อ.สุพตั รา ใจรังกา คณะพยาบาลศาสตรเ์ กื้อการุณย์ มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช สาขาการพยาบาลสตู ศิ าสตร์ 49. การพยาบาลสตรีตง้ั ครรภท์ ม่ี ีภาวะเจ็บครรภค์ ลอดกอ่ นกำหนด (Preterm labor) หัวหน้าทีม ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยด์ วงพร ผาสวุ รรณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม 50. การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะตกเลือดหลงั คลอดระยะแรก หัวหนา้ ทมี อาจารย์ ดร.สุภาพร ปรารมย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กำแพงเพชร 51. การพยาบาลผคู้ ลอดทม่ี ภี าวะเสย่ี งต่อการเกิดทารกขาดออกซิเจนในขณะคลอด หัวหนา้ ทีม อาจารยน์ ิศากร เยาวรตั น์ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ราชบรุ ี
สาขาการพยาบาลเดก็ และวยั รุน่ หนา้ 52. การพยาบาลทารกแรกเกดิ ก่อนกำหนด 467 483 หวั หน้าทมี อาจารย์จินตนา เกษมศิริ / อาจารยว์ ราภรณ์ แก้วอนิ ทร์ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธิราช 491 53. การพยาบาลทารกที่มีภาวะหยดุ หายใจในทารกเกิดกอ่ นก าหนด (Apnea of Prematurity หวั หน้าทีม อาจารย์ณัฐยา เชงิ ฉลาด ชพู รม 504 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม ภาคผนวก 508 กำหนดการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 15 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม 520 หัวข้อการจัดงาน \"วิจัยและพฒั นา บนฐานเศรษฐกิจ BCG สกู่ ารพัฒนาประเทศอย่างยั่งยนื \" และการประชมุ สาขาพยาบาลศาสตร์ เรอ่ื ง “การวิจัยเชิงสขุ ภาพ สร้างดลุ ยภาพชีวติ ในยคุ Next Normal” คำส่ังมหาวิทยาลัย แต่งตั้งคณะกรรมการเครอื ข่ายดำเนินงานกำหนดการประชมุ วชิ าการ ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 15 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐมหัวขอ้ การจัดงาน \"วิจัยและพฒั นา บน ฐานเศรษฐกจิ BCG สู่การพัฒนาประเทศอย่างยง่ั ยืน\" และการประชุม สาขาพยาบาลศาสตร์ เรือ่ ง “การวิจยั เชงิ สขุ ภาพ สร้างดลุ ยภาพชีวิตในยคุ Next Normal” คำสงั่ คณะพยาบาลศาสตร์ แตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนนิ งานจดั การนำเสนอและการแขง่ ขัน ประกวดผลงานสาขาพยาบาลศาสตร์ เรื่อง “การวจิ ัยเชงิ สุขภาพ สรา้ งดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal” สรุปภาพรวมการเตรยี มงานประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 15 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม หวั ขอ้ การจดั งาน \"วจิ ยั และพัฒนา บนฐานเศรษฐกิจ BCG สูก่ ารพัฒนาประเทศ อย่างยัง่ ยนื \" และการประชุม สาขาพยาบาลศาสตร์ เร่ือง “การวจิ ยั เชงิ สุขภาพ สรา้ งดุลยภาพ ชวี ิตในยคุ Next Normal”
แ น ว ป ฏิ บั ติ ที่ ดี 1
แนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี ด้านแนวปฏิบตั ิ : แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ดี ้านบรหิ ารจดั การทรพั ยากรบคุ คล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราชภฎั นครปฐม ชอ่ื ผลงาน แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ีดา้ นบริหารจัดการทรพั ยากรบุคคล แนวปฏิบตั ิที่ดดี ้านบรหิ ารจดั การทรพั ยากรบุคคลเพ่ือลดความขาดแคลนอาจารย์พยาบาล “การบรหิ ารจัดการระเบยี บทุนการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์” หนว่ ยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครปฐม คณะทำงาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วริยา จนั ทรข์ ำ และนางสาวโศรยา นมุ่ สร้อย งานบริหารทวั่ ไป- บทสรปุ โครงการ จากการดำเนินงานในปี งบประมาณ พ.ศ. 2562-2563 คณะพยาบาลศาสตร์ ประสบปัญหาการขาด แคลนอาจารยพ์ ยาบาลจำนวนมาก และไม่สามารถดำเนนิ การรบั บุคคลาการทางการศกึ ษาไดค้ รบตามแผนการ รับสมัคร คณะฯ ใช้การปรบั แผนเปิดรบั สมัคร และหาแนวทางในการเปิดรับสมัครบคุ ลากรก็ยังคงประสบกับ ปญั หาการเพิม่ อัตรากับกำลังของอาจารยไ์ ม่เป็นไปตามแผน จึงแม้จะมกี ารปรบั แผนการดำเนนิ การระหว่างปี โดยการเปิดรับสมัครอาจารย์ใหม่ จำนวน 6 ครั้งต่อปี การใช้กลยุทธ์ในการเชิญชวน ประชาสัมพันธ์ทาง ชอ่ งทางต่างๆ เพม่ิ ข้นึ กย็ งั ไม่สามารถดำเนินรบั สมัครอาจารย์ตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดได้ คณะ ฯ จึงทำการวิเคราะห์แนวโน้มอัตรากำลังคณะพยาบาลศาสตร์และหาแนวทางแก้ไขปัญหา ดังกล่าวเสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะ และได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิฯ เรื่องแนวทางการให้ ทนุ การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาเปน็ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ โดย คณะฯ ศึกษาระเบยี บ กฎ ขอ้ บงั คับตา่ งๆ เพื่อ วางแผนในการยกร่างระเบียบทุนการศึกษาในการดำเนินการในลำดับถัดไป ปัจจุบัน คณะฯ ได้รับอนุมัติ งบประมาณเพ่อื ใหท้ ุนนักศกึ ษาคณะพยาบาลศาสตรเ์ พื่อพฒั นาเป็นอาจารย์พยาบาล จำนวน 80 คน คณะฯ สามารถดำเนนิ การรบั บคุ คลกรเพื่อพฒั นาเปน็ อาจารย์ในระดบั ปริญญาตรี จำนวน 27 คน ในระดบั ปรญิ ญาโท จำนวน 26 คน รวมท้ังสิ้น 53 คน ซึ่งดำเนนิ การภายในระเบียบทุนระเบียบมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐมวา่ ดว้ ยการให้ทุนนักศกึ ษาคณะพยาบาลศาสตรเ์ พื่อพฒั นาเป็นอาจารย์พยาบาล พ.ศ. 2563 Page | 1 2
ทม่ี าและความสำคัญของโครงการ คณะพยาบาลศาสตรเ์ ปน็ คณะที่กอ่ ตงั้ มาทงั้ หมด 13 ปี ปจั จุบนั คณะพยาบาลศาสตร์ มีจำนวนอาจารย์ ที่ 22 คน และมีอัตราการการลาออกสงู จากการดำเนนิ งานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะพยาบาลศาสตร์ ไมส่ ามารถดำเนินรบั บุคคลาการทางการศึกษาได้ครบตามแผนการรับสมัคร คอื จำนวน 18 คน เดมิ มีอาจารย์ คงเหลอื ตน้ ปี 25 คน มอี าจารยส์ นใจเข้าสมคั รเป็นอาจารยเ์ พยี ง 6 คน แต่ในขณะท่มี ีอาจารยล์ าออกจำนวน 4 คนทำให้จำนวนอาจารย์คงเหลือ 27 คน คณะพยาบาลศาสตร์ ยังคงประสบกับปญั หาการเพิ่มอัตรากับกำลงั ของอาจารยไ์ มเ่ ปน็ ไปตามแผน จงึ แมจ้ ะมกี ารปรับแผนการดำเนินการระหว่างปี โดยการเปดิ รบั สมัครอาจารย์ ใหม่ จำนวน 6 ครั้งต่อปี การใช้กลยุทธ์ในการเชิญชวน ประชาสัมพันธ์ทางช่องทางต่างๆ เพิ่มขึ้น ก็ยังไม่ สามารถดำเนินรับสมคั รอาจารยต์ ามเป้าหมายทกี่ ำหนดได้ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 คณะพยาบาลศาสตร์ สามารถดำเนินรับบคุ คลาการทางการศึกษาได้เพ่ิมขน้ึ จำนวน 3 คน มีอาจารยล์ าออกจำนวน 4 คน เกษยี ณอายุราชการ จำนวน 1 คน ทำให้จำนวนอาจารย์คงเหลือ 25 คน คณะพยาบาลศาสตร์ ยงั คงประสบกับปญั หาการเพิม่ อัตรากบั กำลงั ของอาจารย์ไม่เป็นไปตามแผน จากปัญหาดงั กล่าวคณะ นำเร่ืองเขา้ ปรึกษา ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ฯ หลังจากได้ข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการประจำคณะ คณะฯ จงึ จดั ทำร่างระเบียบทนุ การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาเปน็ อาจารย์คณะพยาบาล ศาสตร์ขึ้นหลังจากได้รับเสนอและความเห็นชอบจากกรรมการประจำคณะฯ จึงส่งร่างดังกล่าว ไปยัง มหาวิทยาลัยตามขั้นตอน เสนอต่อสภามหาวิทยาลยั ฯ โดยไดร้ บั สภามหาวิทยาลัยอนมุ ตั ิให้ทุนการศึกษาเพ่ือ พัฒนาเป็นอาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ จำนวน 80 ทุน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 คณะฯ เริ่มดำเนิน โครงการดังกล่าวปลายปีงบประมาณ 2563 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2564 ขณะนี้สามารถรับนักศึกษาทุนเข้า โครงการจำนวน 7 ทุน โดยเปน็ นักศกึ ษาทนุ ระดบั ปรญิ ญาตรจี ำนวน 5 คน มีอาจารย์ทส่ี นใจรบั ทุนในระดับจบ การศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน 2 คน ทำคณะฯ สามารถวางแผนเรื่องอัตรากำลังได้และสามารถรับ นักศึกษาพยาบาลเพ่ิมขึ้นได้ในอนาคต จากข้อมลู ดังกล่าวคณะฯ จึงวางแผนรับสมคั รอาจารย์ จำนวน 18 คน และทุนการศกึ ษาเพ่ือพัฒนา เป็นอาจารยค์ ณะพยาบาลศาสตร์ ระดับปริญญาตรี จำนวน 10 คน และ ระดับปริญญาโท จำนวน 1คณะ ฯ จึงทำการวิเคราะห์แนวโน้มอัตรากำลังคณะพยาบาลศาสตร์และหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวเสนอต่อ คณะกรรมการประจำคณะ และได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิฯ เรื่องแนวทางการให้ทุนการศึกษาเพ่อื Page | 2 3
พัฒนาเปน็ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ โดยคณะฯ ศกึ ษาระเบยี บ กฎ ขอ้ บังคับต่างๆ เพ่ือวางแผนในการยก รา่ งระเบียบทุนการศกึ ษา ในการดำเนนิ การในลำดบั ถัดไป จากการดำเนินงานในปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ผ่าน คณะพยาบาลศาสตร์ สามารถดำเนินรับ บคุ คลาการทางการศกึ ษาได้เพิม่ ขน้ึ จำนวน 3 คน มีอาจารยล์ าออกจำนวน 4 คน เกษยี ณอายุราชการ จำนวน 1 คน ทำให้จำนวนอาจารยค์ งเหลอื 25 คน สำหรบั ทนุ การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาเปน็ อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ จำนวน 80 ทุน ปีการศึกษา 2564 มีแผนการรับทนุ จำนวน 21 ทุน ระดับปรญิ ญาตรจี ำนวน 6 ทุน ระดับประสบการณว์ ิชาชีพการพยาบาลและ การผดงุ ครรภช์ นั้ 1 จำนวน 3 ทุน ระดับปรญิ ญาโทจำนวน 5 ทนุ ผลการดำเนนิ การ ผู้ได้รบั ทุนท้ังส้ินจำนวน 15 ทนุ ระดับปรญิ ญาตรีจำนวน 6 ทุน ระดบั ปริญญาโทจำนวน 8 ทุน ระดับปริญญาโทไมเ่ กิน 1 ปี จำนวน 1 ทนุ ทั้งนี้มผี ู้ขึน้ ทะเบียนระดับปรญิ ญาโทจำนวน 4 ทนุ จากข้อมลู ดงั กล่าว คณะฯ จงึ วางแผนรับอาจารยใ์ นปกี ารศึกษา 2565 ดงั น้ี 1. อาจารยท์ ว่ั ไปจำนวน 18 คน 2. อาจารยเ์ กษียณอายรุ าชการ จำนวน 1 คน 3. แผนการรับทุนจำนวน 20 ทุน - ระดับปรญิ ญาตรจี ำนวน 10 ทุน - ระดับประสบการณว์ ชิ าชีพการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ช้นั 1 จำนวน 1 ทนุ - ระดบั ปริญญาโทจำนวน 10 ทนุ จากนโยบายดังกล่าว คณะพยาบาลศาสตร์จึงวางแผนพัฒนาบุคลากรเป็นไปตามแนวทางของ มหาวทิ ยาลัยในฐานะทีเ่ ป็นสถาบันอดุ มศกึ ษาเพ่อื พฒั นาท้องถ่นิ และชุมชน ให้ประสทิ ธิภาพสงู สุดและสามารถ สนบั สนนุ สง่ เสรมิ การดำเนินงานของคณะพยาบาลศาสตร์ซึ่งประกอบด้วย 1. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั ทำแผนพฒั นาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน 2. ศึกษาวิเคราะหส์ ภาพความตอ้ งการปัญหาด้านการบริหารบุคคลากร 3. ศกึ ษานโยบายและทศิ ทางการพฒั นาบุคลากรเปา้ หมายและยทุ ธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลยั Page | 3 4
4. นำข้อมูลผลการวเิ คราะหก์ รอบอตั รากำลงั ความตอ้ งการบคุ ลากรสายวชิ าการและสายสนบั สนนุ วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื วางแผนการสรรหาและการพัฒนาอัตรากำลงั อาจารยค์ ณะพยาบาลศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครปฐม 2. เพ่อื วางระบบบริหารจดั การทรัพยากรบุคคลเพือ่ ลดความขาดแคลนอาจารยพ์ ยาบาล วงจรการพฒั นาคุณภาพ วงรอบท/่ี วงจรการพฒั นาคณุ ภาพ ระยะเวลา 1มิถุนายน- Plan Do Check Act กนั ยายน - ยกรา่ งระเบยี บ - แกไ้ ขระเบยี บ 2563 นักศกึ ษาทุนเพอื่ - ศึกษาข้อมลู ประเมนิ ผล พัฒนาเปน็ ทุนเพิม่ เตมิ ใน อาจารยค์ ณะ ระเบยี บทนุ จาก การใชร้ ะเบียบ ส่วนค่าใช่จ่าย พยาบาลศาสตร์ โดยประกาศ สถาบันตา่ งๆ ทุนพบว่า มี เป็น ระเบียบ มหาวิทยาลัย - เปรยี บเทยี บขอ้ ดี ปัญหาเร่ือง ราชภัฏ นครปฐมวา่ ขอ้ เสยี การเบกิ จา่ ย ดว้ ยการให้ทนุ นกั ศกึ ษาคณะ - ศกึ ษาเร่อื ง ทุนใน พยาบาล ศาสตร์เพื่อ ระเบียบการเงิน รายละเอียด พฒั นาเป็น อาจารย์ จากแหลง่ ขอ้ มูล คา่ ใช้จา่ ยอ่นื ๆ พยาบาล (ฉบบั ที่ 2) ต่างๆ ทำใหเ้ บกิ จา่ ย พ.ศ. 2564 - ดำเนนิ การ - รา่ งระเบียบทุน ไม่ได้ ประชาสมั พันธ์ ใน - สง่ รา่ งระเบยี บให้ พบปญั หาการ กลมุ่ เปา้ หมาย ผ้ทู รงพจิ ารณา เข้าถึงของ - ส่งรา่ งระเบยี บไป กลุม่ เป้าหมาย ยงั นติ ิกร - สง่ ร่างระเบยี บเข้า ส่กู ระบวนการ กล่ันกรอง - ได้รับการผ่าน ความเห็นชอบ “ระเบยี บ มหาวทิ ยาลยั ราช Page | 4 5
วงรอบที่/ วงจรการพฒั นาคณุ ภาพ ระยะเวลา Plan Do Check Act 2 ตลุ าคม ในกลมุ่ ผูท้ ีเ่ ข้า 2564 – - วางแผนการ ภฏั นครปฐมวา่ ศกึ ษาในระดับ กนั ยายน รับสมคั รผมู้ ี ปริญญาโท 2565 คณุ สมบตั ิ ดว้ ยการให้ทนุ แบ่งเป็นระยะ - ทำหนังสอื ออก ตา่ งๆ นักศกึ ษาคณะ จากคณะพยาบาล - วางแผนระบบ ศาสตรแ์ จง้ แหลง่ ทนุ ติดตาม พยาบาลศาสตร์ เพอ่ื ใหร้ ายงานผล ความกา้ วหนา้ การศกึ ษาโดยตรง เพอ่ื พัฒนาเปน็ ต่อคณะพยาบาล ศาสตร์ในกรณที ี่มี อาจารยพ์ ยาบาล ปัญหาทีเ่ กี่ยวขอ้ ง พ.ศ. 2563 - ขออนมุ ตั ทิ นุ เพ่อื ดำเนนิ การ - และได้รบั ความ เหน็ ชอบอนมุ ัติงบ เงนิ งบประมาณ จำนวน 80 ทนุ จากสภา มหาวิทยาลัย - ดำเนินการเปิดรับ ทุนปงี บปี การศกึ ษา 2563 วงรอบท่ี 1 - สรุปผลการ ดำเนนิ การทุน เพอื่ พฒั นาเปน็ อาจารย์ - ดำเนนิ การสรรหา - ประเมินผลการ และคดั สรรผู้มี ดำเนินการ คุณสมบตั เิ พื่อรับ พบวา่ นกั ศกึ ษา ทุน ทนุ มี - ดำเนนิ การแตง่ ตง้ั ความก้าวหนา้ อาจารยท์ ีป่ รึกษา ไม่ตรงตามแผน เพื่อเป็นกลไกใน ตดิ ตาม Page | 5 6
วงรอบท่ี/ วงจรการพัฒนาคุณภาพ ระยะเวลา Plan Do Check Act - วางแผน กระบวนการ ความกา้ วหน้า - ผลภาษาอังกฤษ สง่ ผลกระทบกับ ทำงานสำหรับ ผู้ท่สี ำเร็จ ของนกั ศึกษาทนุ ไมเ่ ป็นไปตาม การสำเร็จการศกึ ษา การศกึ ษา เพอื่ กลับเข้ารบั เพอื่ พัฒนาเปน็ เกณฑ์ - ปรบั แผนการรบั ราชการ - วางแผนการ อาจารย์ในระดบั - ผลการรปรบั ทนุ เพอื่ ให้สามารถ พัฒนา คุณสมบัติ ปรญิ ญาตรี ระดบั ไมเ่ ป็นไปตาม ดำเนนิ การไดบ้ รรลุ ความเปน็ อาจารย์ ประสบการณ์ แผน เป้าหมาย - วางแผนธำรง รกั ษา และระดับ - จัดกิจกรรมเรง่ รดั ปรญิ ญาโท ภาษาอังกฤษใหแ้ ก่ - ดำเนนิ การ อาจารยท์ นุ ติดตามทนุ ทกุ 3 - มอบหมายให้ เดือน อาจารยท์ ุน และว่า - ดำเนินการ ที่อาจารยท์ นุ มี กจิ กรรมพัฒนา ประสบการณ์สอน ความเปน็ อาจารย์ ในระดับหลักสูตร โครงการอบรมครู Non degree ท่ี พ่เี ลี้ยง คณะพยาบาล - คา่ ยคุณธรรม ศาสตรเ์ ปดิ สอน ความเปน็ ครู - กจิ กรรมส่งเสรมิ ความเป็นผ้นู ำ - กิจกรรมการ พัฒนาผลงาน วิชาการ - กิจกรรมพฒั นา ทกั ษะด้าน ภาษาองั กฤษ - สรุปผลการ ดำเนนิ งานดังน้ี แผนการรบั ทนุ จำนวน 21 ทนุ ระดับปรญิ ญาตรี Page | 6 7
วงรอบที/่ วงจรการพัฒนาคุณภาพ ระยะเวลา Plan Do Check Act จำนวน 6ทุน - ปรับแผนรับโดย การประชาสัมพันธ์ ระดบั เชงิ รุกไปยัง กลุ่มเปา้ หมาย ประสบการณ์ วิชาชีพการ พยาบาลและการ ผดุงครรภ์ชนั้ 1 จำนวน 3 ทุน ระดับปริญญาโท จำนวน 5 ทนุ ผล การดำเนนิ การ ผู้ ได้รบั ทุนทงั้ สิ้น จำนวน 15 ทนุ ระดับปริญญาตรี จำนวน 6ทุน ระดบั ปริญญาโท จำนวน 8 ทนุ ระดับปรญิ ญาโท ไมเ่ กนิ 1 ปี จำนวน 1 ทุน ทง้ั นี้มีผขู้ น้ึ ทะเบียนระดับ ปริญญาโทจำนวน 4 ทุน อาจารย์ท่ี กลับมายงั มี คุณสมบตั ไิ ม่ผ่าน ภาษาองั กฤษ 3 ตุลาคม - วางแผนการ - ดำเนินการสรรหา - ประเมินผล 2565 - รบั สมัครผ้มู ี เมษายน 66 คณุ สมบตั ิ และคัดสรรผู้มี การ คณุ สมบตั ิเพอ่ื รบั ดำเนนิ การ ทุนเพอ่ื ให้ครบ ตามแผน Page | 7 8
วงรอบท/ี่ Plan วงจรการพฒั นาคุณภาพ Act ระยะเวลา - วางแผนระบบ Do Check ติดตาม - ดำเนินการแต่งตง้ั ความกา้ วหน้า อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา - วางแผน เพอ่ื เปน็ กลไกใน กระบวนการ ตดิ ตาม ทำงานสำหรบั ความก้าวหน้า ผทู้ ่ีสำเร็จ ของนักศึกษาทนุ การศกึ ษา เพ่อื เพือ่ พฒั นาเปน็ กลับเขา้ รบั อาจารย์ในระดบั ราชการ ปรญิ ญาตรี ระดับ - วางแผนการ ประสบการณ์ พฒั นา และระดับ คณุ สมบัติ ปรญิ ญาโท ความเปน็ - ดำเนินการ อาจารย์ ตดิ ตามทนุ ทุก 3 - วางแผนธำรง เดือน รักษา - ดำเนินการ กิจกรรมพฒั นา ความเป็นอาจารย์ โครงการอบรมครู พ่ีเล้ยี ง - คา่ ยคุณธรรม ความเปน็ ครู - กิจกรรมสง่ เสรมิ ความเปน็ ผู้นำ - กจิ กรรมการ พฒั นาผลงาน วชิ าการ - สรปุ ผลการ ดำเนนิ งานดงั นี้ ปจั จุบันท่ีผู้รบั ทนุ แลว้ ทง้ั สนิ้ Page | 8 9
วงรอบท่/ี Plan วงจรการพัฒนาคณุ ภาพ Act ระยะเวลา Do Check จำนวน 27 คน ในระดบั ปริญญา โท จำนวน 26 คน รวมทงั้ ส้นิ 53 คน ซึง่ ดำเนนิ การภายใน ระเบียบทนุ ระเบียบ มหาวิทยาลัยราช ภัฏนครปฐมวา่ ด้วยการให้ทนุ นกั ศกึ ษาคณะ พยาบาลศาสตร์ เพือ่ พฒั นาเปน็ อาจารย์พยาบาล พ.ศ. 2563 ปัญหา อปุ สรรคและข้อเสนอแนะ แนวทางการพฒั นาต่อไป - การสำเรจ็ การศึกษาของนกั ศกึ ษา หลงั จากสำเร็จการศึกษาแล้วยงั มีกระบวนการดำเนินการทาง ธรุ การทำใหน้ กั ศกึ ษาทนุ ที่สำเร็จการศึกษายังไมส่ ามารถกลับปฏิบตั ิงานได้เนือ่ งจากยังไม่มใี บ อนุมตั ิปริญญา ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการพฒั นา - กระบวนการ PDCA ในการทำงานชว่ ยให้สามารถบรรลุการดำเนนิ การได้ ปจั จัยความสำเร็จ - ระบบและไก กระบวน การติดตามและการรายงานความกา้ ว มีความสำคญั ทำใหส้ ามารถกำกับ ติดตามให้นักศึกษาสำเร็จการศกึ ษาได้ตามแผน Page | 9 10
แนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี ดา นแนวปฏบิ ตั ิ : แนวทางการบรู ณาการงานสอน งานวิจยั งานบรกิ ารวิชาการ ผลักดัน การพัฒนาอาจารยจากชดุ ความคิดการบรหิ ารเพ่อื สรา งความโดดเดนดานวิชาการและวชิ าชพี คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธานี 1. ช่ือเรื่อง / แนวปฏิบตั ิ แนวทางการบูรณาการงานสอน งานวจิ ยั งานบริการวชิ าการ ผลักดันการพัฒนา อาจารยจ ากชดุ ความคดิ การบริหารเพ่ือสรางความโดดเดนดานวชิ าการและวชิ าชีพ 2. ช่ือหนว ยงาน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธานี 3. คณะทำงาน คณะกรรมการฝา ยแผนและทรพั ยากรบุคคล 4. บทสรปุ โครงการ การบริหารงานทรัพยากรบุคคลคณะพยาบาลศาสตรทั้งสายวิชาการและสาย สนับสนุน ไดม องหากลยุทธก ารดำเนนิ การเพื่อคณาจารยคณะพยาบาลศาสตร ภายใตช ุดความคดิ “ทำนอ ยได มาก” จึงไดจัดทำ “แนวทางการบูรณาการงานสอน งานวิจัย งานบริการวชิ าการ ผลักดันการพัฒนาอาจารย จากชุดความคิดการบริหารเพ่ือสรางความโดดเดนดานวิชาการและวิชาชพี ”ขน้ึ ในปง บประมาณ 2564 ผลการ ดำเนินงานตอเนื่องจนถึงปงบประมาณ 2566 เกิดผลลัพธตอการเลื่อนขั้นประเมินเงินเดือน การเพิ่มจำนวน ผลงานวิจัยของอาจารย และการขอตำแหนงทางวิชาการของอาจารยเพิ่มมากขึ้น ปจจัยสำเร็จ เกิดจากการ สรางระบบและกลไกที่มีความรวมมือกัน มีการตกลงรวมกันของบุคลากรทุกคนในคณะกอนดำเนินการ เห็น เปาหมายความสำเร็จทั้งระดับบุคคล และประโยชนตอหนวยงาน องคกร ฝายบริหารสามารถขับเคลื่อนกล ยุทธบรรลุเปาหมาย ผานกระบวนการมสี วนรวม เห็นคุณคารวมกัน ลดความกดดันใหกับบุคลากรและยงั เพิ่ม ความสขุ และความภาคภูมใิ จ 5. ท่ีมาและความสำคัญของโครงการ การบรหิ ารงานทรพั ยากรบุคคลคณะพยาบาลศาสตรท้งั สายวิชาการและสายสนับสนุน มุงผลลัพธตอ ยอดเพื่อรวมกันพัฒนาคณะพยาบาลศาสตรสูการเปนสถาบันการศึกษาผลิตพยาบาลที่เปนเลิศดานการจัด การศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร เปนหลักดานสุขภาพของพื้นที่ มีความเปนสากล การทำงานของ คณะกรรมการฝายงานแผนและพัฒนาบุคคลตกผลึกทางความคิดของการบริหารจัดการที่ดี นอกจากเนน ผลลัพธความสำเรจ็ ของเปา หมาย กระบวนการดำเนินงานท่ีลดขั้นตอน ลดการทำงานซำ้ ซอ น ชดุ ความคิด “ทำ Page | 1 11
นอยไดมาก” มองหารูปแบบการทำงานที่ตอบโจทยหลายพันธกิจ โดยเฉพาะกลุมบุคลากรสายวิชาการที่มี เงื่อนไขภาระงานสอน งานวิจัยและงานวิชาการอื่นๆ งานทำนุศิลปะวัฒนธรรมและงานพัฒนานักศึกษา นำสู การใชกลยุทธการบูรณาการภาระงานคูขนานกับการขับเคลื่อนวิสยั ทัศนองคกร จึงเกิดการพฒั นา “แนวทาง การบูรณาการงานสอน งานวจิ ัย งานบรกิ ารวิชาการ ผลักดันการพัฒนาอาจารยจากชุดความคิดการบริหารเพื่อ สรางความโดดเดนดานวิชาการและวิชาชีพ” เปนชุดความคดิ การบรหิ ารของคณะกรรมการฝายงานแผนและ ทรัพยากรบคุ คลดวยความพยายามสรางระบบและกลไกใหเกดิ ขึน้ เออ้ื อำนวยตอ คณาจารยทีเ่ ปนรปู ธรรม 6. วตั ถปุ ระสงค 1. เพือ่ สรางระบบและกลไกการบรู ณาการภาระงานอาจารยคขู นานกบั การขบั เคล่อื นวสิ ยั ทัศนอ งคกร 2. เพื่อเกดิ แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีนำสูการปฏิบัติอยางเปน รูปธรรม 7.แนวปฏิบัตทิ ่ดี ี คณะกรรมการฝา ยงานแผนและพัฒนาบคุ ลากรไดร บั โอกาสใหมกี ารนำเสนอภาระกจิ และเปาประสงค เมือ่ ไดร ับโอกาสเหน็ ชอบจากบคุ ลากรในคณะพยาบาลศาสตรทงั้ สายวิชาการและสายสนบั สนนุ และถกู แตงต้ัง โดยคณบดีคณะพยาบาลศาสตร เมือ่ วนั ที่ 25 เดือนมถิ นุ ายน พศ.2563 การทำงานในแตละปงบประมาณผาน การวิเคราะห สังเคราะห ดวยหลักการ SWOT analysis and TOWS จากภาพสะทอนของทีมคณะทำงาน และบุคลากรทุกทานในแตละป หลากหลายชองทางการสื่อสาร นำสูปรับปรุงพัฒนสูแนวปฏิบัติอยางเปน รูปธรรมและเกิดระบบและกลไกการบูรณาการภาระงานอาจารยคูขนานกับการขับเคลื่อนวิสยั ทัศนอ งคก รใน ที่สุดในปงบประมาณ พศ.2566 สามารถอธิบายพอสังเขปตามกรอบ PDCA ของเดมมิ่ง (Deming Cycle: Plan-Do-Check-Act) ดงั น้ี 7.1 ขั้นวางแผน (P) เมื่อคณะกรรมการฝายงานแผนและทรัพยากรบุคคลไดรับการแตงตั้งโดย คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร เม่อื วันท่ี 25 เดือนมถิ ุนายน พศ.2563 รองคณบดฝี า ยแผนและทรัพยากรบุคคล เปน ประธานกรรมการ นดั ประชุมและรวมพจิ ารณาประเดน็ ตา งๆ เพ่อื วางแผนการดำเนนิ งานตามภาระกิจให บรรลเุ ปา หมายของคณะตามเลมแผนปฏิบัตริ าชการประจำปง บประมาณ 2564 ทีเ่ กิดจากความรว มมือ รวม จัดทำและตกลงรวมกันของบุคลากรคณะ หนึ่งในหลายๆมติท่ีตกผลึกรว มกนั คอื การผลกั ดันใหเกิดระบบและ กลไกการบูรณาการภาระงานอาจารยคูขนานกับการขับเคลื่อนวิสัยทัศนองคกร ในการทำงานของ คณะกรรมการฝา ยงานแผนและทรัพยากรบคุ คลและสรางแนวปฏิบัตทิ ่ีนำสกู ารปฏิบตั ิอยา งเปน รูปธรรม Page | 2 12
ขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห สังเคราะห ดวยหลักการ SWOT analysis and TOWS จากภาพ สะทอนของทีมคณะทำงานและบคุ ลากรท้ังคณะ ในปงบประมาณ พศ.2563 ไตรมาส 3 พบวา อาจารยสวน ใหญส ะทอนจดุ ออนที่กระทบตออาจารยใ นการปฏบิ ัตงิ านในแตละภาระกิจในสัดสวนทไี่ มสมดุลและสงผลตอ การเลื่อนขั้นเงินเดือน การไมตอสัญญาจางของอาจารยตำแหนงพนักงานมหาวิทยาลัย สาเหตุหลักคือขาด ผลงานดานวิชาการและงานวิจัย เมื่อวิเคราะหเชิงลึกพบประเด็นการบริหารจัดการเวลาของแตละบุคคล เปน ไปดว ยความยากลำบากในการจัดสรรเพื่อปฏบิ ัติใหครบทุกภาระกจิ การบริหารเวลาเพ่ือการพัฒนาตนเอง ในการเขา รวมอบรม ประชุมวิชาการ และพัฒนาสมรรถนะดานวิชาชีพ ตดิ กบั ดักตารางการสอนของแตละป การศึกษามกี ารล็อคชว งเวลาของรายวิชาของแตละสาขาวิชาท่ีไมสามารถปรับ เล่ือนภาคการศกึ ษาได โอกาส การพัฒนาตนเองเพือ่ เขา รบั การอบรมในหลักสูตรที่เฉพาะเพิ่มความเชี่ยวชาญในศาสตรสาขาของอาจารยแต ละสาขาวิชานั้นไมสามารถทำไดในบางสาขา แตอาจารยไดสะทอนจุดแข็งของคณะที่ไดจัดสรรงบประมาณ และมีระบบและกลไกในการดำเนินการผานหัวหนาสาขาวิชารวมกบั คณะกรรมการฝายงานแผนและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล วางแผน จัดทำโครงการ กำกบั ติดตาม ใหอ าจารยไ ดมกี ารพัฒนาศกั ยภาพดา นวิชาการและ วิชาชีพผาน “โครงการเสริมสรางความเชี่ยวชาญและสมรรถนะของบุคลากรสายวิชาการและสาย สนับสนุน กิจกรรมพัฒนาทกั ษะทางคลินกิ ของอาจารย (Faculty Practice)” มุงเปาอาจารยรอยละ 100 7.2 ขน้ั ดำเนินการ (D) ขั้นตอนการดำเนินงานสามารถลำดับกิจกรรมและผูรับผดิ ชอบตามผังการดำเนินการดังน้ี 1. จัดทำและประกาศใหอ าจารยท ราบแนวทางการกำกบั ติดตามภาระงานอาจารยทกุ พนั ธกจิ สอดคลองตามประกาศมหาวิทยาลยั (จัดทำฉบับทป่ี รับปรงุ คร้งั ที่1/2563) ดงั น้ี 2. หัวหนา สาขาวิชามกี ารนำเสนอแผนการพฒั นาอาจารยรายบุคคลทกุ สาขาในการประชมุ วาระเพ่ือ พิจารณาแตละปงบประมาณเสนอมายังคณะกรรมการฝายงานแผนและทรัพยากรบุคคล ประกอบดวย Page | 3 13
รายละเอยี ดดงั นี้ แผนกจิ กรรมรายบคุ คลของอาจารย ไดแก 1) พัฒนาทักษะทางคลนิ ิกของอาจารย (Faculty Practice) 2) อบรมเฉพาะทาง (หลกั สูตรระยะสน้ั ) 3) กจิ กรรมพัฒนาบคุ ลากรสายวชิ าการและสายสนับสนุน วิชาการเพื่อเขาสูตำแหนงที่สูงขึ้น และ 4) กิจกรรมอบรมการพยาบาลเฉพาะทางสาขาศาสตรแ ละศิลปก าร สอนทางการพยาบาล เพือ่ รวมจดั สรรงบประมาณและการบริหารจัดการเวลาเชิงระบบ แกป ญ หาการจัดการ ระดบั บคุ คลทีพ่ บวา ไมส ามารถทำไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. คณะกรรมการฝายงานแผนและทรัพยากรบุคคลไดรวมหารือทีมบริหารคณะ และประชุมหารือ อาจารยท ้ังคณะเพื่อขอความรวมมือและถายทอดแนวทางการดำเนนิ งานตามขอ 1 มีดำเนินการปฏิบัติใชใน ปงบประมาณ 2564 โดยพรอ มเพรยี งกนั 4. รองคณบดีฝายวิชาการซึ่งเปนผูกำกับติดตามผลลัพธความสำเร็จ กิจกรรมการพัฒนาทักษะทาง คลินิกของอาจารย (Faculty Practice) ของอาจารยทั้งคณะไดเขารวมประชุมและแลกเปลี่ยนกับสถาบัน อน่ื ๆ และโรงพยาบาลซึ่งเปน แหลง ฝก ในการตกผลกึ ผลลัพธที่สามารถทำใหเกิดประโยชนตอทง้ั อาจารยผูเขา พัฒนาทักษะ ผูใชบริการ พยาบาลวิชาชีพ สหวิชาชีพ สถานพยาบาล หนวยงานองคกรตางๆที่มีหนาท่ี ขับเคลื่อนงานสุขภาพ ไดมีการสรุปผลลัพธความสำเร็จโครงการที่มุงใหอาจารยดำเนินการที่สอดคลองกับ ภาระกจิ ดงั นี้ 1. ดา นการสอน คอื การเพม่ิ ทักษะปฏิบตั ิ Direct Care หรอื Consultation เชน เมอ่ื มีผปู วย Advanced heart failure หรือโรคอน่ื ๆ ที่มปี ญหาสขุ ภาพซบั ซอนตองเขารบั การรักษาใน โรงพยาบาล อาจารยอ าจใหก ารพยาบาลโดยตรง/ช้แี นะ/เปน ทป่ี รึกษาแกพ ยาบาลประจาํ หนวย บรกิ ารน้นั ๆ รวมถงึ การจัดตงั้ คลินกิ ใหค ําปรกึ ษาปญ หาสุขภาพทั้งดา นปญ หาโรคทางกายและปญหา สุขภาพจติ 2. ดา นการวิจยั คือ การสรางความรวมมอื ผลิตชิ้นผลงานทางวชิ าการ การทําวิจัยรว มกบั เครือขา ย พยาบาล สหวชิ าชีพ ผลติ ชนิ้ ผลงานวิชาการ นวตั กรรม เพ่อื พัฒนาระบบบริการและคณุ ภาพการ พยาบาล 3. งานบริการวิชาการ คอื ใหคําแนะนาํ ขอ เสนอแนะ เปนผูเ ช่ยี วชาญ รวมเปน วิทยากรแลกเปลี่ยน และใหก ารวิพากษช้ินผลงาน เพือ่ พฒั นาระบบบริการและคณุ ภาพการพยาบาล 5. คณะกรรมการบริหารคณะไดเหน็ ชอบกลยุทธการดำเนนิ การขบั เคลื่อนกจิ กรรมดังกลา ว และมีมติ ใหนำผลลพั ธภาระกิจของอาจารยทีเ่ กิดประโยชนเปน ไปตามคาเปาหมายของคณะนำไปคดิ คำนวณเพื่อเล่ือน ขัน้ เงนิ เดือนโดยเพ่มิ ตัวคูณชั่วโมงภาระงานโครงการวจิ ยั ท่ไี ดร ว มกับหนว ยงานภายนอกและไดทุนสนับสนุน Page | 4 14
7.3 ขัน้ ตรวจสอบ (C) การดำเนินการในปงบประมาณ 2564 ไดมีการประชุมติดตามตามแผนที่กำหนด รายงานผลลัพธ ความสำเรจ็ เปนไปตามคาเปาหมายหรอื ไม ในแผนปฏิบัตงิ านราชการประจำ โครงการตดิ ตามการดำเนินงาน พัฒนาบคุ ลากร ซึ่งเปนการประชุมคณะกรรมการฝายงานแผนและทรพั ยากรบุคคลรว มกับหัวหนาสาขาวิชา และนำขอ มลู ทีไ่ ดสกู ารหารอื และใหอ าจารย บุคลากรสายสนบั สนุน สะทอ นขอ มลู ปจ จัยความสำเร็จของการ ปฏิบัติภาระกิจบรรลุเปาหมาย ในขณะเดียวกันเปดโอกาส รับฟงขอจำกัดของอาจารยบางรายที่ไมสามารถ ดำเนนิ การตามแผนของสาขาวิชาที่ไดมมี ติตกลงกัน ประเดน็ ปญ หาทเ่ี กิดจากสาเหตหุ ลักหรอื ปจจัยแทรกซอน ใดบาง เพ่ือเขาสูการปรับปรงุ แผนพฒั นาในไตรมาสถัดไปกอ นสน้ิ ปง บประมาณ 7.4 ขัน้ ปรับปรุง (A) จากการดำเนินการ 2 ปงบประมาณอยางตอเนื่อง คือ ปงบประมาณ 2564 และ ปงบประมาณ 2565 พบวา ผลการประเมินเล่อื นขัน้ อาจารยต ามประกาศมหาวิทยาลยั ราชภัฎสรุ าษฎรธานี เรื่อง หลักเกณฑ และวิธการคำนวณภาระงานฯ เปนที่นาชื่นชมดวยอาจารยรอยละ 100 มีการดำเนินการครบทุกพันธกจิ ได อยางกาวกระโดด ผลการประเมินเพื่อเลื่อนขั้นเงินเดินรอบการประเมินครั้งที่ 2 1 เมษายน – 30 กันยายน 2564 จนถงึ ณ ปจ จุบัน หนวยชวั่ โมงคา ภาระงานพันธกิจเรียงลำดบั จากสงู สดุ ไปตำ่ สุด คือ ดา นการสอน ดาน การวิจัย ดานบริการวิชาการ พัฒนานักศึกษา และทำนุบำรุงศิลปะวัฒนาธรรม ตามลำดับ และพันธกิจดา น การสอนและการวิจยั มคี า หนวยช่วั โมงทใ่ี กลเ คียงกันมากในแตละรอบการประเมิน 8. ผลกระทบทีเ่ ปนประโยชนหรือสรางคณุ คา การดำเนินงานภายใตเงื่อนไขภาระงานอาจารยตามพันธกิจและตองมีคาภาระงานขั้นต่ำตามที่ มหาวิทยาลัยกำหนดนน้ั สงผลใหอ าจารยที่มีวุฒกิ ารศึกษาระดับปรญิ ญาโท และไมอ ยใู นแผนการลาศึกษาตอ ปริญญาเอกตองลูการขอตำแหนงทางวิชาการภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนดเพื่อรักษาสภาพสัญญา การจาง เปนกลุมที่ตองติดตามและกำกับภาระงานโดยเฉพาะภาระงานดานวิจัย ช้ินผลงานบทความวิจัย หัวหนางานสำนักงานคณบดีเปนผูใหขอมูล ประสานกับกองการเจาหนาที่มหาวิทยาลัย แจงใหอาจารย รบั ทราบเงื่อนไขการตอ สัญญาจา ง และติดตามเปน รายบคุ คล ใหสทิ ธอิ าจารยแตล ะบุคคลในการดำเนินการตอ ตามระดับการรับรูและการประเมินความเสี่ยงตอโอกาสการสิ้นสุดสัญญาจาง ภายหลังการนำเอาแนวปฏิบตั ิ “การบูรณาการงานสอน งานวิจัย งานบริการวชิ าการ ผลักดันการพฒั นาอาจารยจ ากชุดความคิดการบริหาร เพื่อสรางความโดดเดนดานวิชาการและวิชาชีพ” มาใชในหนวยงาน พบวา ระบบการติดตาม ชวยเหลือ Page | 5 15
สนบั สนุนใหอ าจารยปฏิบัติหนา ที่ครบทุกพนั ธกิจแลว นน้ั ยังสามารถทำใหอ าจารยม ีชน้ิ ผลงานวิชาการเพ่ิมมาก ข้ึน หัวหนา สาขา คณะกรรมการฝา ยงานแผนและทรพั ยากรบคุ คล เขามามีบทบาทในการแกไ ข และสนบั สนุน จากการสะทอ นในหอ งประชุม และการไดแลกเปล่ยี นเรยี นรูของการดำเนนิ การของสาขาวิชาท่ีบรรลุเปาหมาย มคี วามโดดเดน สสู าขาวิชาอืน่ 9. ปจจยั แหง ความสำเร็จ การสรางระบบและกลไกที่มีความรวมมือกัน มีการตกลงรวมกันของบุคลากรทุกคนในคณะกอน ดำเนนิ การ เหน็ เปา หมายความสำเร็จทง้ั ระดบั บุคคล และประโยชนต อหนว ยงาน องคกร ฝา ยบริหารสามารถ ขบั เคลื่อนกลยุทธบรรลเุ ปา หมาย ผา นกระบวนการมีสว นรวม เหน็ คุณคารว มกัน ลดความกดดันใหกบั บุคลากร และยงั เพ่มิ ความสขุ และความภาคภมู ใิ จ 10. ปญ หาอปุ สรรคและแนวทางการแกไ ข ในชวงแรกของการดำเนนิ การ คณะกรรมการฝา ยงานพฒั นาบุคลากรและหัวหนาสาขาตอ งดำเนินการ รวมกันในการขับเคลื่อนกลยุทธ การประสานและติดตามจำเปนตองใชชุดความคิดแบบ growth mindset รูปแบบการสื่อสารเชิงบวก และเชื่อวาบุคลากรมีความมุงมั่นตั้งใจทุกทาน ผลลัพธที่แตกตางกันในแตละ สาขาวิชา การแลกเปลยี่ นดว ยความจริงใจ มุงใหเกดิ การเปล่ยี นแปลงไปในทิศทางท่ดี ีข้นึ ทกุ คนตองเปดใจและ กลาขอความชว ยเหลอื ขอความรว มมอื เพ่ือใหการดำเนนิ การแบบมุงเปา เหน็ ผลลัพธในระยะส้ัน 6-8 เดอื น ไม เกนิ 1 ป การประชุมในแตล ะคร้งั จะนำสูมติท่เี ปนไปในทิศทางที่สามารถดำเนินการไดท ันที 11. แนวทางในการจัดการความรู แนวทางการบูรณาการงานสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการ ผลักดันการพัฒนาอาจารยจากชุด ความคิดการบริหารเพื่อสรางความโดดเดนดานวชิ าการและวิชาชีพ มีการนำเสนอในทีป่ ระชุมคณาจารยและ รวมแลกเปลี่ยนเพื่อปรับปรุงอยางตอเนื่อง นำเสนอตอทีมสภาการพยาบาลในการรับรองสถาบันที่ผานมา (กมุ ภาพนั ธ 2565) ไดร บั คำแนะนำ ขอ มลู ทีเ่ ปนประโยชนใ นการตอยอดและปรับปรงุ ใหสอดคลอ งกับนโยบาย ของสภาการพยาบาล เขยี นโดย ผศ.ดร.ทศั นีย สุนทร รองคณบดีฝายแผนและทรัพยากรบคุ คล คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธานี Page | 6 16
แนวปฏิบัติทีด่ ี ดา้ นแนวปฏบิ ตั ิ : แนวปฏิบัตทิ ด่ี ี Faculty of Nursing NPRU: 3C Models คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราชภัฎนครปฐม ช่ือผลงาน แนวปฏิบตั ทิ ีด่ ี Faculty of Nursing NPRU: 3C Models คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราชภัฎนครปฐม หน่วยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎนครปฐม ผู้พัฒนา รองศาสตราจารย์ดร. หทยั ชนก บัวเจริญ ทมี ดำเนินงาน ผชู้ ว่ ยศาตราจารย์วริยา จันทรข์ ำ ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ รางคณา สายสทิ ธิ์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. กมลภ.ู ถนอมสตั ย์ และฐาปนยี ์ ซัว่ เซงอี่ บทสรปุ โครงการ จากการดำเนินงานในปี งบประมาณ พ.ศ. 2560-2564 คณะพยาบาลศาสตร์ นำบทเรยี นการบริการ จดั การคณะฯ มาถอดบทเรยี นพบวา่ การขบั เคล่ือนคณะพยาบาลศาสตรใ์ หป้ ระสบผลสำเร็จ ต้องประกอบไป ดว้ ย การขับเคลอ่ื นยทุ ธศ์ าสตร์ ด้านการเรยี นการสอน ซึ่งเปน็ พันธะกิจหลักของคณะพยาบาลศาสตร์ท่ี จะเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้มุ่งสูค่ วามเป็นเลิศในระดับสากล ดังวิสัยทัศน์ “คณะพยาบาลศาสตร์จะเป็นสถาบัน การศึกษาพยาบาลที่มีมาตรฐานวิชาชีพเป็นเลิศด้วยคุณภาพในระดับสากล” ส่งเสริมการพัฒนากำลังคน พัฒนาสมรรถนะ ความเป็นมืออาชพี ของบุคคลกร สายวิชาชีพและสายสนบั สนนุ ให้สามารถพัฒนานักศกึ ษาได้ ตามแผนทำกำหนด และการรบั รู้ ผา่ นการกระบวนการ การเข้าถงึ และความผกู พันในชุมชน ทำให้บัณฑติ คณะ พยาบาลศาสตรม์ สี มรรถนะพัฒนาความเป็นมืออาชีพ เป็นทยี่ อมรับในสงั คม คณะฯ เปน็ ส่วนหนึ่งของชุมชน ในฐานผนู้ ำด้านสุขภาพ และได้รับการยอมรบั ความมีมาตรฐานโดยผ่านการรับรองสถาบันทางการพยาบาลจาก สภาการพยาบาล จำนวน 5 ปี ในปี พ.ศ. 2566-2570 Page | 1 17
ทีม่ าและความสำคญั ของโครงการ คณะพยาบาลศาสตรเ์ ป็นคณะทกี่ ่อต้งั มาท้ังหมด 13 ปี ปจั จบุ ันคณะพยาบาลศาสตร์ ไดร้ ับการรับรอง สถาบันทางการพยาบาลจากสภาการพยาบาลเป็นระยะเวลา 5 ปี จากการดำเนินการที่ผ่าน คณบดีคณะ พยาบาลรองศาสตราจารย์ ดร.หทัยชนก บวั เจริญ ไดว้ างนโยบายการบริหารงานทั้งด้านการเรยี นการสอน โดย วางกรอบในเรอื่ งของการเรยี น โดยมี วิสยั ทัศน์ วา่ “คณะพยาบาลศาสตรจ์ ะเป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลที่ มีมาตรฐานวิชาชีพเป็นเลศิ ด้วยคุณภาพในระดับสากล” คณะฯ มุ่งพัฒนาคุณภาพหลักสูตร จึงมีการจัดทำ หลักสูตรตามกรอบ AUN-QA เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายด้านการจดั การเรียนการสอน หรือ C1 Curriculum: AUN-QA มุ่งผลิตบัณฑิตพยาบาลนักปฏิบัติที่มีคุณภาพ ได้รับการยอมรับมาตรฐานวิชาชีพและยึดมั่นใน จรยิ ธรรมแหง่ วิชาชีพ มีอัตลกั ษณ์ ที่ประกอบดว้ ย มีความสามารถในการคิดเชงิ ระบบ (systemic thinking) มี ความสามารถในการส่อื สาร และการประสานงาน การทำงานในชมุ ชน (communicator: collaborator) มี ความเป็นผู้นำท่ีสร้างสรรค์ (leadership creator) และสามารถสร้างสรรค์ และนำใช้นวัตกรรมในชุมชนได้ อย่างเหมาะสม ดงั อตั ลักษณ์ “พร้อมเรยี นรู้ มจี ิตใหบ้ ริการ” การพัฒนาองค์การให้มีคุณภาพจำเป้นตอ้ งมีการเตรียมความพร้อมบุคลากรด้านวชิ าการ ให้สามารถ ทำงานดา้ นวชิ าการได้เต็มศักยภาพ และมสี ายสนบั สนนุ เพื่อหนนุ เสรมิ การทำงานใหม้ ีศกั ยภาพ และสมมรถนะ ความเป็นมืออาชีพ ภายใต้ ค่านิยม NPRU competency ซึ่งประกอบด้วยความเป็นมืออาชีพ ความ รับผิดชอบ และความเป็นน้ำหนึ่งใจเดี่ยวกันของคณะพยาบาลศาสตร์ราชภัฏนครปฐม ซึ่ง คือ C2 competency NPRU Nurse การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืนจำเป็นตอ้ งสร้างเข้าถงึ ผูกพนั ไวว้ างใจจากชมุ ชน หรอื C3 - Community Engagement: ผา่ นกระบวนการ HEALTH CARE SERVICE ผา่ นการทำงานของสถาบันเสริมสุขภาพสำหรบั ผสู้ งู อายุ แสวงหาคู่ความร่วมมอื ผลติ พยาบาลจากชมุ ชนและคณะ ฯ สรา้ งความยง่ั ยนื ในอนาคตเพ่ือเป็นเครื่อง ประกันความม่ันคงในการพัฒนาองคก์ รโดยใหท้ ุนแก่นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตร์เพื่อพัฒนาเป็นอาจารย์คณะ พยาบาล(FUNDING for nursing student) จำนวน 80 ทุน ดำเนนิ การภายในระเบยี บทุนระเบียบ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐมวา่ ดว้ ยการให้ทนุ นักศกึ ษาคณะพยาบาลศาสตร์เพอื่ พฒั นาเป็นอาจารย์พยาบาล พ.ศ. 2563 จากการดำเนิน คณะฯ ทำการถอดบทเรียนจากการนำและการบริหารองค์ และวางทิศทางเพื่อให้ คณะพยาบาลศาสตร์สามารถบรรลุ วิสยั ทศั นท์ ีก่ ำหนด และได้รับรองจากสภาการพยาบาลเป็นระยะเวลา 5 ปี Page | 2 18
วัตถปุ ระสงค์ เพื่อวางแผนการพัฒนาองคก์ รคณะพยาบาลศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐมในเชิงบรูณาการ ประกอบด้วย 1) ด้านการเรียนการสอน 2) การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ ผ่านกระบวนการเขา้ ถงึ ผกู พัน ไว้วางใจจากชมุ ชน 3) ระบบบริหารจัดการทรพั ยากรบคุ คล และการพัฒนาคณะอย่างยั่งยนื Page | 3 19
วงจรการพัฒนาคุณภาพ วงรอบที่/ วงจรการพัฒนาคุณภาพ ระยะเวลา 1มิถุนายน- Plan Do Check Act กนั ยายน - ยกร่างแผน 2563 ยทุ ธศาสตร์ ระยะ 4 - ศกึ ษาข้อมูล ประเมนิ ผลการ - จดั ทำระเบยี น ปี เพ่ือบรหิ ารจดั การ คณะพยาบาล ย้อนหลังคณะ ดำเนนิ การพบว่า มี ทุน ระเบียบ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั พยาบาลศาสตร์ ปัญหาเร่อื งจำนวน ราชภฏั นครปฐม วา่ ด้วยการให้ทุน - ทำ SWAT analysis อาจารย์ คณะ นักศกึ ษาคณะ - เปรียบเทยี บจุดอ่อน พยาบาลศาสตร์ และ พยาบาลศาสตร์ จำนวนงานวิจยั ที่ เพือ่ พฒั นาเปน็ จดุ แข็งคณะ อาจารย์ เปน็ ไปในจำนวนที่ พยาบาล (ฉบับ - ศกึ ษาเปรียบเทียบ นอ้ ย ไม่บรรลุ ที่ 1) พ.ศ. 2563 เปา้ หมาย แนวการบริหารทีด่ ี - ดำเนนิ การ จากแหล่งขอ้ มูล วางแผนให้ ต่างๆ อาจารย์ ดำเนนิ การวจิ ัย - ส่งรา่ งแผน และตพี มิ พ์ 1คน 1 เร่ือง/ปี โดย ยทุ ธศาสตร์เข้าสู่ ใหท้ ำบนั ทกึ ขอ้ ตกลงระหวา่ ง กระบวนการ คณะฯ และ อาจารย์ กล่นั กรอง วางแผนพัฒนา - ไดร้ ับการผา่ นความ หลักสูตรเป็นแบบ AUN-QA เพอื่ มุ่ง เห็นชอบ จาก พัฒนาผเู้ รยี นตามผล การเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั กรรมการประจำ เพ่อื ยกระดับ คุณภาพ บัณฑติ คณะ - ดำเนินการตามแผน ยุทธศาสตร์ และ แผนปฏิบัตกิ าร วงรอบที่ 1 - สรุปผลการ ดำเนินการ 2 ตุลาคม - ปรบั แผนยทุ ธ์ - นำผลการดำเนินการ - ประเมนิ ผลการ 2563 – กันยายน2564 ศาสตร์เพือ่ ให้ ตามแผนยทุ ธศาสตร์ ดำเนนิ การพบว่า สอดคลอ้ งกบั สถานการณแ์ ละ มาวเิ คราะห์ ปรบั - ผลการสอบยงั ไม่ สามารถบรรลุ ตวั ช้วี ัด แผนรว่ มกัน เป็นไปตาม - สรปุ ผลการ เป้าหมาย ดำเนนิ การคณะมี อาจารยท์ ุนเปน็ ไป ตามเปา้ หมาย Page | 4 20
วงรอบที่/ วงจรการพัฒนาคุณภาพ ระยะเวลา Plan Do Check Act - มงี านวิจัยเปน็ ไป ตามเปา้ หมาย ตลุ าคม 2564 - ปรบั แผนยุทธ์ - ดำเนนิ การตาม - ประเมินผลการ - เผยแพร่ 3C - กันยายน 65 ศาสตร์และวาง กระบวนการพฒั นา ดำเนนิ การโดย models ไปยงั แผนการจดั ทำ หลักสตู ร แบบ หลักสตู รตามกรอบ ใช้ 3C models หนว่ ยงานในเครอื ข่าย AUN-QA AUN-QA ในการบรหิ าร - พฒั นาบุคคลากร จดั การองคก์ ร ตามกรอบ AUN-QA ได้ประสทิ ธผิ ล - ดำเนนิ ถอดบทเรยี น บรรลตุ วั ชี้วดั 100 ความสำเรจ็ การ ทำงานวจิ ัย และการ ทำ Faculty practice - ถอดบทเรยี นการทำ กับชมุ ชน - สรปุ บทเรยี น ใน รปู การบรหิ ารงาน เป็น 3C models ตลุ าคม 65 - - ใช้การ - ดำเนินการงานใน - ประเมนิ ผล เผยแพร่ 3C เมษายน 66 บริหารงาน 3C คณะแบบ 3C ดำเนนิ การโดย models ไปยงั models models ใช้ 3C models หนว่ ยงานในเครอื ขา่ ย - คณะได้รบั การ ในการบริหาร รบั รองสถาบนั จัดการองคก์ ร ทางการพยาบาล ไดป้ ระสทิ ธผิ ล จากสภาการ พยาบาลเปน็ ระยะเวลา 5 ปี Page | 5 21
หทยั ชนก บัวเจรญิ (2565). ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ แนวทางการพฒั นาตอ่ ไป - การดำเนนิ การใช้ระยะเวลานาน จึงเห็นผลในเชงิ รปู ธรรม ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการพัฒนา - กระบวนการ PDCA ในการทำงานช่วยใหส้ ามารถบรรลกุ ารดำเนินการได้ ปัจจัยความสำเร็จ - ระบบและไก กระบวน การติดตามและการรายงานความกา้ ว มคี วามสำคญั ทำให้สามารถกำกับ ติดตามให้องค์กรดำเนินการสำเร็จการศกึ ษาได้ตามแผน Page | 6 22
แนวปฏบิ ัติท่ีดี ดา้ นแนวปฏิบัติ : การจัดการเรียนการสอน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ รี ัมย์ 1. ชือ่ เร่ือง / แนวปฏิบตั ิ การจัดการเรียนการสอนดว้ ยสถานการณจ์ าลองเสมือนจรงิ 2. ช่ือหนว่ ยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 3. คณะทางาน - อาจารย์รัชนี ผิวผอ่ ง - อาจารย์ ดร.ณรงคก์ ร ชยั วงศ์ - อาจารยน์ งนุช หอมเนียม - อาจารย์เพมิ่ พูล บญุ มี - อาจารยส์ กุ ญั ญา บรุ วงศ์ - อาจารย์ญาสิณี ทองมี 4. บทสรุปโครงการ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรรี ัมย์ได้จัดทาแนวปฏิบตั ิท่ีดีการจัดการเรียนการสอน ด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจริง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนด้วย สถานการณจ์ าลองเสมือนจริง โดยมีการจดั การแลกเปล่ียนเรียนรู้ และมีการดาเนินการในปีการศึกษา 2564 - 2565 ตามกระบวนการ PDCA สรุปเป็น 4 ด้าน แบ่งเป็น 20 ข้อ ดังนี้ ด้านที่ 1 การพัฒนาอาจารย์และ บุคลากรห้องปฏิบัติการ ด้านที่ 2 การพัฒนาสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอน ด้านท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบ SBL และดา้ นที่ 4 เครือขา่ ยความร่วมมือการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL การประเมินผลลัพธ์ พบว่า อาจารย์และบุคลากรห้องปฏิบัติการ ผ่านการอบรมการจัดการเรียน การสอนด้วย SBL คิดเป็นร้อยละ 100 และมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL หลังเรียนดีกว่าก่อนเรียน มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่มีการนารูปแบบ SBL ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนมากที่สุด จานวน 5 รายวิชา อาจารย์ได้รับการคัดเลือกในการแข่งขัน ความเป็นเลิศด้านการจัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจริง ผลลัพธ์การเรียนรู้ในหัวข้อที่ จัดการเรียนการสอนด้วย SBL อยู่ในระดับดี เกิดการทางานร่วมกับเครือข่ายเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน ดว้ ย SBL นักศึกษามีความพึงพอใจตอ่ รูปแบบจดั การเรียนการสอนดว้ ย SBLในระดบั มากทส่ี ุด Page | 1 23
5. ทมี่ าและความสาคญั ของโครงการ การจัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจริง (Simulation based learning : SBL) เป็นรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนโดยผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) โดยกระบวนการเรียนรู้ ทถี่ ูกสร้างข้ึน ตามเป้าหมายที่ต้องการเพื่อให้ผู้เรียนไดป้ ระสบการณ์ท่ีจาเป็น (O’Donnell et al., 2014) เป็น รูปแบบที่นามาใช้ในการสอนนักศึกษาพยาบาลมากข้ึนในปัจจบุ ัน การจัดการเรยี นการสอนแบบ SBL ส่งผลให้ ผู้เรียนเกิดความรู้ ทักษะปฏิบัติ ความสนใจในการเรียนรู้ มีการคิดวิเคราะห์ เกิดทักษะในการแก้ปัญหาทาง คลินิก เกิดความม่ันใจ รวมท้ังความเอ้ืออาทร และการทางานร่วมกับผู้อื่น (La Cerra et al., 2019; Li, Au,Tong, Ng & Wang, 2022; Tonapa, Mulyadi, Ho, & Efendi, 2023) และสง่ เสริมให้เกิดการเรียนร้แู บบ ผู้ใหญ่ (adult learning) และเป็นการเรียนการสอนแบบ active learning เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วมและมี ปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรม ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ โดยครูจะเป็นผู้ช่วยให้เกิดกระบวนการ เปล่ียนแปลง ทั้งด้านความรู้ทักษะ พฤติกรรม ค่านิยม และทัศนคติ ซ่ึงครูจะไม่เป็นผู้สอนอย่างเดียว แต่จะมี บทบาทเป็นผู้อานวยความสะดวกในการเรียน (Learning Facilitator) หรือเป็นผู้ร่วมกิจกรรม ซึ่งสัมพันธ์กับ ความพึงพอใจในกิจกรรมการเรียน การแจ้งวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน และการเกิดความม่ันใจในการจัดการผู้ป่วย ในสถานการณจ์ าลองเสมือนจรงิ (La Cerra et al., 2019) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ได้เปิดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิตเม่ือปีการศึกษาถึงปัจจุบันเป็นเวลา 6 ปี และได้เร่ิมการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL เมื่อปีการศึกษา 2564 ทั้งในรายวิชาทฤษฎีและการประเมินทักษะการปฏิบัติการพยาบาล การจัดการเรียน การสอนด้วยสถานการณ์เสมือนจริง การเตรียมความพร้อมก่อนฝึกทักษะทางการพยาบาลในหอผู้ป่วย ซึ่งอยู่ ในช่วงเร่ิมต้นในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL คณะผู้จัดกิจกรรมการจัดการองค์ความรู้จึงได้ จัดการถอดบทเรียนและองค์ความรู้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ SBL และเพ่ือเป็นแนวทางสาหรับการ พฒั นาในการเรยี นสถาบันการศกึ ษาที่เริ่มใชร้ ปู แบบการเรยี นการสอนด้วย SBL ต่อไป 6. วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจริง คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ ีรมั ย์ 7.แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี ปีการศกึ ษา 2564 คณะพยาบาลศาสตร์เรม่ิ นารปู แบบการจัดการเรยี นการสอนด้วย SBL มาใช้ครง้ั แรก มกี ารวางแผนโดย คณะกรรมการบรหิ ารคณะมีนโยบายให้นารูปแบบการจดั การเรียนการสอนดว้ ย SBL Page | 2 24
มาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน การเตรยี มนักศึกษาก่อนข้ึนฝึกปฏบิ ัตปิ ระสบการณ์วชิ าชพี แตย่ ังไม่ใหน้ ามา ประเมนิ ผลนักศึกษา และมีแนวทางในการพัฒนาทงั้ หมด 10 ข้อ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การพฒั นาอาจารย์และบุคลากรหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 1.1 การเรียนรู้และฝึกทกั ษะพ้นื ฐานเกย่ี วกับเครือ่ งมอื อุปกรณ์ การใช้งานหุ่นจาลองเสมอื นจรงิ ระดบั สูง 1.2 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการใชส้ ถานการณจ์ าลองเสมือนจริงระดบั สูง (high fidelity simulation) 1.3 อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการออกแบบสถานการณ์จาลองเสมอื นจรงิ (Scenario) โดยความ ร่วมมอื จากเครือข่ายโรงพยาบาลบุรีรมั ย์ 1.4 ส่งตัวแทนอาจารยเ์ ข้ารบั การอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการจัดการเรียนการสอนดว้ ยสถานการณ์ จาลอง 1.5 สง่ บุคลากรหอ้ งปฏิบตั กิ ารอบรมหลักสตู รนักปฏิบตั ิการเพื่อการจัดการเรยี นการสอนด้วย สถานการณ์จาลองเสมือนจริง 2. การพัฒนาหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โดยจัดห้องปฏิบตั กิ ารเสมือนจรงิ คล้ายกบั หอผู้ปว่ ยจรงิ รวมทงั้ จดั หาวัสดุ อปุ กรณ์ตา่ งๆให้เสมือนกบั อยู่ในโรงพยาบาล 3. นโยบายของผู้บริหาร โดยใหม้ ีการนารปู แบบการจัดการเรยี นการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมอื น จรงิ ไปใชใ้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาทางการพยาบาล อยา่ งน้อย 1 หัวขอ้ ทุก รายวิชา โดยยังไมใ่ ชเ้ ป็นเกณฑว์ ดั และประเมนิ ผล 4. การศึกษาดูงานห้องปฏิบตั ิการเสมือนจรงิ ของโรงพยาบาลบรุ รี ัมย์ 5. การวางแผนความร่วมมือการจดั การเรียนการสอนด้วยสถานการณ์เสมืนจริงแบบสหสาขาวชิ าชีพกับ โรงพยาบาลบรุ ีรมั ย์ การประเมินผล 1. อาจารยแ์ ละบุคลากรห้องปฏบิ ัตกิ าร มคี วามรู้ความเข้าใจในกระบวนการจดั การเรยี นการสอนด้วย SBL ไมเ่ พียงพอ 2. การนารูปแบบ SBL ไปใช้ไมค่ รบทุกกลุ่มวิชา 2. รูปแบบการจดั การเรียนการสอนดว้ ย SBL ยงั ไมช่ ดั เจน 3. แนวทางในการประเมินผลลพั ธข์ องนักศึกษา ยังไมม่ ี 5. มโี จทย์สถานการณ์ยังไม่หลากหลาย 4. ความรว่ มมอื กับเครือข่ายยังไมเ่ กิดการจัดการเรยี นการสอนแบบสหสาขาวิชาชีพ ข้อเสนอแนะ ควรมีการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรห้องปฏิบัติการเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการจัดการ เรียนการสอนด้วย SBL การพัฒนาโจทย์สถานการณ์ให้มีความหลากหลายเพ่ือนาไปใช้ในการจัดการเรียนการ Page | 3 25
สอนเพ่ิมข้ึน ควรมีการจัดทาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL และการประเมินผลลัพธ์ท่ีชัดเจน ควรมีการจัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL และควรพัฒนาการจัดการเรียนการสอน SBL แบบสหสาขาวชิ าชีพ ปีการศึกษา 2565 คณะพยาบาลศาสตร์ได้ปรับปรุงแนวทางในการนารูปแบบการจัดการเรียน การสอนด้วย SBL จากขอ้ เสนอแนะในปกี ารศึกษา 2564 ตามกระบวนการ PDCA ดงั ต่อไปน้ี 7.1 การวางแผน (Plan) 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมเพ่ือวางแผนการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL ในกลุม่ วชิ าตา่ งๆ และการสรา้ งบรรยากาศท่ีเอ้ือตอ่ การจัดการเรียนการสอนด้วย SBL 2. คณะกรรมการบริหารประชุมเพื่อวางแผนงบประมาณในการพัฒนาอาจารย์ บุคลากร ห้องปฏิบัติการให้มีความรู้และทักษะ ส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL และการ วางแผนความร่วมมือกบั เครอื ขา่ ยในการจัดการเรยี นการสอนดว้ ย SBL 3. กลุม่ วิชาจดั ประชุมเพอ่ื วางแผนการนารปู แบบการจดั การเรียนการสอนแบบ SBL ไปใช้ ในรายวิชาที่กลมุ่ รบั ผิดชอบ 7.2 ขนั้ ดาเนินการ (Do) โดยมแี นวทางพฒั นา 4 ดา้ น แบง่ เปน็ 20 ข้อ ดงั นี้ ดา้ นที่ 1 การพฒั นาอาจารย์และบุคลากรหอ้ งปฏบิ ัติการ 1.1 จดั อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารภายใน จานวน 2 เร่อื งคือ 1) การจัดการเรียนการสอนโดย ใช้สถานการณ์จาลองเสมือนจริง และ2) การพัฒนารูปแบบโจทย์สถานการณ์เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการ สอนด้วยสถานการณจ์ าลองเสมอื นจรงิ 1.2 ส่งอาจารย์เข้าแข่งขันด้านความเป็นเลิศด้านการจัดการเรียนการสอนด้วย สถานการณจ์ าลองเสมือนจรงิ 1.3 ส่งอาจารย์เป็นกรรมการตัดสินการจัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลอง เสมอื นจริง 1.4 บุคลากรห้องปฏิบัติการเรียนรู้เกี่ยวกับการเตรียมอุปกรณ์ การเตรียมสถานการณ์ จาลอง และเรียนรู้การเปน็ ผู้ปว่ ยจาลอง (Standard patient) และการเปน็ ผูช้ ว่ ยสถานการณ์ (confederate) 1.5 การพัฒนาอาจารยใ์ นทีมผูส้ อนให้เรียนรู้บทบาทผ้สู อนในการทาหนา้ ทต่ี ่างๆในการ จดั การเรียนการสอน SBL โดยการมอบหมายดังนี้ 1) Facilitator จานวน 1 คน 2) ผู้ทาหนา้ ที่ควบคุมระบบ 1 คน อาจารย์ผู้สังเกตการณ์และทาหนา้ ที่ debrief 2-3 คน Page | 4 26
ดา้ นท่ี 2 การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการจดั การเรยี นการสอน 2.1 การจัดโครงการแข่งขันทักษะการตัดสินใจในคลินิกโดยใช้สถานการณ์จาลอง เสมอื นจริง 2.2 จดั ทาแบบฟอร์มการออกแบบโจทย์สถานการณ์ 2.3 ส่งนักศึกษาและอาจารย์เข้าร่วมการแข่งขันทักษะโดยการใช้สถานการณ์จาลอง เสมือนจริง 2.4 การแสดงความช่นื ชมยนิ ดกี ับอาจารย์และนักศึกษาทเี่ ข้าร่วมการแขง่ ขันกบั เกย่ี ว สถานการณ์จาลองเสมือนจรงิ ทางไลน์กลุ่ม เวบไซด์ และเฟคบคุ๊ คณะพยาบาลศาสตร์ ด้านท่ี 3 ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบ SBL 3.1 การเลือกหัวข้อในการสอนแบบ SBL โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและ อาจารย์ผู้รว่ มสอน แนวทางในการเลือกโดยเป็นสถานการณ์ท่ีไม่ได้พบบ่อยในทางคลินิก และเป็นปญั หาท่ีมี ความทา้ ทาย 3.2 การออกแบบสถานการณ์จาลอง โดยต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ของรายวิชา ประสบการณ์ของผู้เรียน และระยะเวลาในการเรียน กาหนดให้มีปัญหาเพ่ือให้เกิดทักษะการแก้ไขปัญหา ทางคลนิ ิกภายใต้ขอบเขตของวิชาชพี พยาบาล และไม่ควรซับซ้อนมากเกนิ ไป 3.3 การออกแบบการวัดและประเมินผลด้วย SBL โดยใช้แบบ check list มีข้อให้ เลือกคือปฏิบัติ และไม่ปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวังของรายวิชา และแจ้งนักศึกษาให้ทราบใน การปฐมนิเทศและอัพโหลดในระบบ E-learning 3.4 การทดสอบการดาเนินสถานการณ์และการปรับปรุงแก้ไขโดยการทดสอบ แบบอลั ฟ่าโดยอาจารย์ผู้รว่ มสอน และทดสอบเบต้าโดยใช้นักศึกษาท่มี คี ุณสมบัตใิ กลเ้ คียงกนั 3.5 การจดั กล่มุ นักศึกษา จานวน 3-4 คนตอ่ กลมุ่ 3.6 การเตรยี มนักศกึ ษา โดยการปฐมนเิ ทศ ในประเดน็ ดงั น้ี การจดั การเรยี นการสอน ดว้ ย SBL การวัดและประเมนิ ผล บทบาทของผเู้ รยี น การทางานเป็นทมี ทกั ษะทีจ่ าเปน็ ในการการจดั การ เรยี นการสอนดว้ ยสถานการณ์จาลอง ทักษะการสื่อสารโดยใช้ SBAR ทักษะการใช้เทคโนโลยี ทกั ษะการ บรหิ ารเวลา 3.7 จัดทาแนวทางการจดั การเรียนการสอนดว้ ย SBL 3 ขนั้ ตอน คือ 1) Pre-brief 2) Scenario, และ 3) Debrief 3.8 ขัน้ ตอนการสอนดว้ ยรูปแบบ SBL แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ 1) ระยะเกร่ินนาหรอื การนาเขา้ สูส่ ถานการณ์ (Pre-brief /Introduction) ใช้เวลา 15- 20 นาที ข้ึนอยู่กับประสบการณ์ของนักศึกษา โดยผู้สอนช้ีแจงวัตถุประสงค์ มอบหมายบทบาทผู้เรียน แนะนา Page | 5 27
อุปกรณ์และสถานท่ี และให้ผู้เรียนสามารถทดลองใช้หยิบจับเพื่อสร้างความคุ้นเคย แจ้งนักศึกษาให้ปฏิบัติกับ หนุ่ เหมือนผู้ป่วยจริง และแจ้งข้อจากัดของอปุ กรณ์ตา่ งๆ แนะนาผู้ชว่ ยในสถานการณ์วา่ มบี ทบาทใครบ้าง ชแ้ี จง กติกาการเข้ารว่ ม ชี้แจงโจทย์สถานการณ์ และเวลาในการทาสถานการณ์ และใช้เทคนิค psychology safety เม่ือผู้เรยี นแบง่ บทบาทหนา้ ท่เี รียบรอ้ ย ให้อาจารย์แจ้งเรม่ิ สถานการณ์ 2) ระยะลงมือปฏบิ ตั ิ (Simulation/Scenario running/Observation) ใช้เวลา 15-20 นาที นักศึกษาปฏิบัติหน้าท่ีให้การช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัว โดยการทางานร่วมกันเป็นทีม อาจารย์ทา หน้าท่ีดาเนินสถานการณ์ ควบคุมสถานการณ์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และเอื้ออานวยการฝึกปฏิบัติของ นักศึกษาอย่างใกล้ชิด และคอยสังเกตนักศึกษาในตาแหน่งท่ีไม่ใกล้เกินไป ผู้ช่วยเหลือทาหน้าท่ีตามบทบาทท่ี ได้รับและเข้าช่วยเหลือเม่ือนักศึกษาเกิดปัญหา เมื่อนักศึกษาปฏิบัติครบตามสถานการณ์หรือส้ินสุดเวลา อาจารย์ประกาศส้ินสดุ สถานการณ์ 3) ระยะซักถามและสรุปประเด็นการเรียนรู้(Debrief) ใช้เวลา 20 นาที โดยใช้วิธีของ GAS คือ การฟังว่าผู้เรียนรู้สึกอย่างไร (Gather:G) การสะท้อนการปฏิบัติในสถานการณ์จาลอง (Analysis:A) ผู้เรียนบอกแนวทางในการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น (Summarize) อาจารย์ใช้คาถามปลายเปิด เริ่มสนทนาด้วย มมุ มองด้านบวกสร้างความชัดเจนในพฤติกรรมหรือการเรียนรู้ อาจารย์ควรสร้างสิ่งแวดลอ้ มและบรรยากาศใน การสะท้อนคดิ ได้แก่ นง่ั เป็นวงกลม มกี ารสะทอ้ นคดิ ทางบวกไม่คกุ คามผู้เรียน 3.9 การประเมินผลการจัดการเรยี นการสอน ใช้เปน็ แบบประเมินทางออนไลน์ และ การใหป้ ระเมินโดยการสะทอ้ นคิดการจดั การเรยี นการสอนแบบ SBL ด้านที่ 4 เครอื ข่ายความรว่ มมือการจดั การเรยี นการสอนด้วย SBL 4.1 การออกแบบโจทยส์ ถานการณจ์ าลองเสมือนจริงรว่ มกันและการวพิ ากษ์โจทย์ สถานการณ์ 4.2 การรว่ มเป็นกรรมการแข่งขันทักษะการตดั สินใจในคลินกิ โดยใช้สถานการณ์จาลอง เสมือนจรงิ 7.3 ขน้ั ตรวจสอบ (Check) 1. อาจารยแ์ ละบคุ ลากรหอ้ งปฏิบตั ิการ เขา้ รับการอบรมครบทุกคน คดิ เป็นร้อยละ 100 2. อาจารย์และบุคลากรห้องปฏิบัติการมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดการเรียน การสอนดว้ ย SBL หลังเรยี นดกี วา่ ก่อนเรยี น 3. อาจารย์และบุคลากรห้องปฏิบัติการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมการอบรม SBL อยู่ ในระดบั มากที่สดุ 4. มีการนารูปแบบ SBL ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสาขาการพยาบาลผู้ใหญ่มาก ที่สุด จานวน 5 รายวิชา โดยใช้จัดการเรียนการสอนในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1, 2 Page | 6 28
สอนทฤษฎีรายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ 1 หัวข้อ การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาไตวายเรื้อรัง การ พยาบาลผู้ใหญ่ 2 หัวข้อการช่วยชวี ิตข้ันสูง ซ่ึงใช้ในรูปแบบ formative และ summative evaluation โดย นามาเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนฝึกปฏิบัติจริงในโรงพยาบาล และการสอบ OSCE เมื่อส้ินสุดการฝึก ปฏบิ ตั ิ 5. อาจารย์ได้รับการคัดเลือกเข้ารอบ 5 ทีมสุดท้ายในการแข่งขันความเป็นเลิศด้านการ จัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจริงท่ีมหาวิทยาลัยบูรพา และได้รับการคัดเลือกนาเสนอ ในการประกวด SBL รอบตัดสนิ ในการแขง่ ขนั ทีค่ ณะพยาบาลศาสตรเ์ กื้อการุณ 6. ผลลัพธ์การเรียนรใู้ นหวั ข้อท่จี ัดการเรยี นการสอนด้วย SBL อยใู่ นระดบั ดี 7. มีการทางานร่วมกับเครือข่ายเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL จานวน 2 กจิ กรรม 8. ยงั ไมเ่ กิดการจัดการเรียนการสอนดว้ ย SBL แบบทมี สหสาขาวิชาชพี 9. นกั ศึกษามคี วามพึงพอใจต่อรูปแบบจดั การเรยี นการสอนด้วย SBLในระดับมากทสี่ ุดและ มขี ้อเสนอแนะการจดั การเรยี นการสอนด้วย SBL ดังน้ี - ชอบการเรียนในหอ้ งปฏิบัติสถานการณจ์ าลองการเสมอื นจริงหอ้ งทาใหไ้ ด้ประสบการณ์ มากมาย อยากให้มีการลองเข้าใชห้ อ้ งน้ีบ่อยๆ เพราะจะไดเ้ รียนรูด้ ว้ ยตวั เองทกุ คน - เพม่ิ ตารางการจดั ซ้อมนอกเวลาใหก้ บั นักศึกษา - ควรมกี ารใหล้ องปฏิบัติสถานการณ์จาลองการเสมือนจรงิ ก่อนเข้าสอบหลายๆครั้ง 7.4 ข้นั ปรบั ปรุง (Act) ปกี ารศกึ ษา 2566 ควรมกี ารปรับปรงุ ดังนี้ 1) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรควรกาหนดนโยบายเก่ียวกับการจัดการเรียนการ สอนด้วย SBL และวางแผนการใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นการสอนดว้ ย SBL ในทกุ กลุ่มวชิ า 2) คณะกรรมการบริการวิชาการควรมีการวางแผนการนารูปแบบ SBL ไปใช้ในการ บริการวชิ าการรว่ มกับเครอื ขา่ ย 3) อาจารย์ผสู้ อนพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนด้วย SBL โดยการทาวิจยั ในชัน้ เรยี น 4) อาจารย์ผู้สอนกาหนดช่ัวโมงเพื่อให้นักศึกษามีการฝึกซ้อมใช้สถานการณ์จาลอง เสมอื นจริงใหช้ ดั เจน 5) คณะกรรมการบริหารคณะและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรจัดทาแผนปฏิบัติการ การจัดการเรียนการสอนด้วย SBL ร่วมกับเครือข่ายโรงพยาบาลบุรีรัมย์ หรือเครือข่ายอ่ืนในมหาวิทยาลัย เช่น คณะสาธารณสุขศาสตร์ เพ่อื ออกแบบการเรยี นการสอนแบบสหสาขาวชิ าชีพดว้ ย SBL Page | 7 29
7) คณะกรรมการบริหารพัฒนาศักยภาพอาจารย์โดยการสนับสนุนให้เข้าอบรมและเป็น ผู้สอนในการจัดการเรยี นการสอนดว้ ย SBL 8) คณะกรรมการบริหารพัฒนาศักยภาพบุคลากรห้องปฏบิ ัติการโดยการสนับสนุนให้เข้า อบรมหลักสูตร Simulation operation 9) คณะกรรมการบริหารหลักสตู รจัดทาคู่มอื การจัดการเรียนการสอนด้วย SBL ออกแบบ การประเมนิ ท่ีใชร้ ว่ มกนั ในทกุ กลมุ่ วิชา จัดทาคลงั สถานการณจ์ าลอง 10) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจัดทาแผนการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL ของ นกั ศึกษาชน้ั ปที ่ี 1-4 และกาหนดการวัดสมรรถนะชั้นปดี ว้ ย SBL 8. ผลกระทบท่เี ปน็ ประโยชน์หรือสรา้ งคุณคา่ 1. อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบรายวชิ าและอาจารย์ผู้สอนมีแนวทางและการปรบั เปลี่ยนรปู แบบการสอนแบบ active learning มากขึ้น 2. นกั ศกึ ษาสอบขึ้นทะเบียนผูป้ ระกอบวชิ าชพี สงู ข้นึ จาก 33% เป็น 60% 3. เกดิ ความร่วมมือทด่ี ีกับเครือขา่ ยดา้ นการผลติ บณั ฑิตในการทากิจกรรมกับทางคณะ 9. ปจั จยั แห่งความสาเรจ็ ภายใน ภายนอก 1) ผบู้ รหิ ารคณะพยาบาลศาสตร์ใหค้ วามสาคญั และสนบั สนนุ การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนดว้ ย สถานการณ์จาลองเสมือนจริง ท้งั ในด้านนโยบายและการสนับสนนุ งบประมาณตา่ งๆ 2) ทมี อาจารย์ในกลุม่ การสอนฯ มกี ารรว่ มแรงรว่ มใจและมสี ่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ สถานการณ์จาลอง 3) มีความพร้อมของอุปกรณ์ และสงิ่ สนบั สนุนการจัดการเรยี นการสอนด้วยสถานการณ์จาลองเสมือนจรงิ 4) มีผเู้ ชีย่ วชาญ เครอื ขา่ ยพยาบาลพ่ีเลยี้ ง และแพทย์จากโรงพยาบาลให้ความช่วยเหลือช้ีแนะ 5) นกั ศึกษามีความรับผิดชอบ กระตือรือรน้ ในการเรยี นการสอนโดยใช้สถานการณจ์ าลอง 6) ผู้บรหิ ารมหาวิทยาลัยใหค้ วามสาคญั ในการจดั การเรียนการสอนแบบ active learning 7) มหาวทิ ยาลยั สนบั สนนุ งบประมาณสนับสนุนสิ่งสนับสนนุ การเรยี นรู้ และงบประมาณในการพัฒนา อาจารยแ์ ละส่งนักศึกษาเขา้ แข่งขัน 10. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแกไ้ ข - อาจารยผ์ สู้ อนใชเ้ วลาในการจดั การเรียนการสอนดว้ ย SBL มากกวา่ เวลาท่ีกาหนดในตาราง ซงึ่ มีการ ชี้แจงในวนั ปฐมนิเทศนกั ศึกษาและกาหนดไว้ในตารางเรยี นอย่างชัดเจน Page | 8 30
- ทมี อาจารย์ผ้สู อนมีความกังวลในการใช้เทคโนโลยี และการจัดการเรียนการสอนด้วย SBL ได้มีการ แกไ้ ขโดยหวั หน้ากลุ่มวิชาเปน็ พีเ่ ลี้ยงและมีการผลัดเปลีย่ นบทบาทหนา้ ท่ีของอาจารย์ในการจดั การเรียนการ สอนด้วย SBL เพ่ือให้อาจารยไ์ ดเ้ รียนรู้การทางานในตาแหน่งอ่นื ๆ - นักศึกษาช้ันปีท่ี 2 ซ่งึ มีการใชก้ ารเรียนการสอนแบบ SBL เปน็ ครัง้ แรกไมเ่ ข้าใจเกี่ยวกบั กระบวนการ และมีความตนื่ เตน้ แก้ไขโดยการใช้เวลาในการปฐมนเิ ทศการใชอ้ ุปกรณ์ เครอ่ื งมือ และบทบาทหน้าที่ของ ผเู้ รียนรวมท้งั ทักษะทจี่ าเปน็ มากขน้ึ 11. แนวทางในการจดั การความรู้ 1. ประชุมอาจารยเ์ กี่ยวกบั การจัดการเรยี นการสอนโดยใชส้ ถานการณ์จาลอง 2. ถอดบทเรียนจากอาจารย์ โดยเฉพาะอาจารย์ทม่ี ีความสนใจและเปน็ แกนนาในการจดั การเรยี นการ สอนดว้ ย SBL และเข้าร่วมการแขง่ ขันSBL 3. วิธีการเสาะหาความรู้ มหี ลายชอ่ งทาง เชน่ จากพสี่ อนน้อง การศกึ ษาค้นควา้ เพ่มิ เติม การเขา้ ร่วม ประชมุ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้กับวิทยากรท่ีมีความเชีย่ วชาญในการจดั การเรยี นการสอนด้วย SBL การจัดอบรมเชิง ปฏบิ ัติการ การเข้ารว่ มแขง่ ขันทักษะ 4. รวบรวมองค์ความรูจ้ ากเอกสารผลงานวชิ าการท่ีเผยแพร่ 5. การจดั ระบบขององค์ความรู้จัดการเรยี นการสอนด้วย SBL 6. เผยแพร่องคค์ วามรู้การจดั การเรยี นการสอนด้วย SBL ทางเวบไซด์ D-space ของมหาวิทยาลยั Page | 9 31
แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี ด้านแนวปฏบิ ัติ :การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลของอาจารย์ (Faculty Practice) สู่ผลลพั ธ์งานดา้ นวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม 1. ชอ่ื เร่อื ง / แนวปฏิบัติ การปฏบิ ตั ิการพยาบาลของอาจารย์ (Faculty Practice) สู่ผลลัพธง์ านด้านวจิ ัย 2. ช่อื หนว่ ยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม 3. คณะทำงาน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา สายสิทธิ์ และนางสาวมณฑริ า วุฒพิ งศ์ 4. บทสรปุ โครงการ การปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์ (Faculty Practice) เป็นการนำความเชี่ยวชาญของอาจารย์ พยาบาลไปพัฒนาให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้รับบริการทั้งในสถานที่โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล รวมถึงการเยี่ยมบ้าน โดยคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้ดำเนินการส่งเสริมให้ อาจารย์ทำ Faculty Practice เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้รับบริการและต่อยอดงานสู่งานวิจัยได้ ภายใต้ แนวคิดของเดมมิ่ง (Deming’s cycle) ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพตาม PDCA ประกอบด้วยขั้นตอน การวางแผน (Plan: P) การลงมือทำ (Do: D) การตรวจสอบ (Check: C) และการปรบั ปรงุ (Act: A) โดยคณะ พยาบาลศาสตร์ได้ดำเนินการและปรับปรุงมาอย่างต่อเนื่องจนเข้าสู่วงรอบที่ 3 ซึ่งได้มีทิศทางของการ Faculty Practice ที่ชัดเจนขึ้นในปีการศึกษา 2566 น้ี คือ การพัฒนาสมรรถนะด้านนักจัดการสุขภาพในทุก กลุ่มวิจัย ซึ่งผลลัพธ์ท่ีคาดหวงั คือผู้รับบริการมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอาจารย์รวมถงึ พยาบาลวิชาชีพสามารถตอ่ ยอดไปสงู่ านวิจัยและงานวิชาการอื่นๆ ได้ตอ่ ไป 5. ทม่ี าและความสำคญั ของโครงการ การปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์ (faculty practice) เป็นการนำทักษะการปฏิบัติและความรู้ท่ี เชี่ยวชาญของอาจารย์ไปพัฒนาผลลัพธ์สุขภาพของผู้รับบริการให้ดีขึ้นและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่แหล่งท่ี ต้องการใช้ประโยชน์นั้นๆ ทั้งในส่วนของการส่งเสริม ป้องกัน ดูแล และฟื้นฟูในกลุ่มบุคคลทุกช่วงวัยให้มีสุข ภาวะที่ดีและยั่งยืน โดยคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เป็นสถาบันการศึกษาที่มีอาจารย์ พยาบาล 5 กลุ่มวิชา ได้แก่ การพยาบาลสูติศาสตร์ การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น การพยาบาลผู้ใหญ่และ ผู้สูงอายุ การพยาบาลชุมชน และการพยาบาลจิตเวช ซึ่งจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติท่ี Page | 1 32
อาจารย์จะต้องมีความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติทางคลินิก (clinical competent) อาจารย์พยาบาลจึงมีความจำเป็นที่ต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องโดยการเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติการ พยาบาลของอาจารย์ตามความเชี่ยวชาญในศาสตร์ของตน โดยบูรณาการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย และหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นพื้นฐานของการให้บริการ มีเป้าหมายเพื่อให้ผูร้ ับบริการมีสุขภาวะที่ ดแี ละยั่งยืนทกุ ช่วงวยั (Sustainable Development Goal 3; SDG3) การปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์ หมายถึง กิจกรรมทุกกิจกรรมที่เป็นการบริการของอาจารย์ เป็น การพัฒนาอาจารย์ในทางวิชาการ เป็นการเพิ่มความเชี่ยวชาญอาจารย์ เพื่อนำไปสู่การเป็นนักวิชาการทาง คลินิก (clinical scholarship) โดยมีการบูรณาการบทบาทของการเป็นนักปฏิบัติ ผู้สอน นักวิจัย ผู้ให้ คำปรึกษา และนักบริหาร เข้าไว้ด้วยกัน (สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ, 2562; ธนิษฐา สมัย, 2558; ฉวีวรรณ ธงชัย, กรรณิการ์ กันทะรักษา, มนัสนิตย์ บุญยธรรพ และพรทิวา ทักษิณ, 2553) โดยคุณลักษณะของการปฏิบัติการ พยาบาลของอาจารยต์ ้องมคี ุณลักษณะดังตอ่ ไปน้ี (ธนิษฐา สมัย, 2558) 1. มกี ารวางแผน ติดตอ่ ประสานงาน มขี อ้ ตกลง และจดั การอย่างเปน็ ทางการและเป็นระบบ ระหว่างอาจารย์กับแหล่งฝึกปฏิบัติหรือสถานบริการพยาบาล โดยระบุเป้าหมายและขอบเขตของการ ปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์อยา่ งชัดเจน 2. ให้บริการแก่ผใู้ ชบ้ ริการ ท้ังในดา้ นการสอน การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล รวมถึงการวิจยั 3. แสดงออกถึงบทบาทของการบูรณาการในหลายบทบาท เช่น นักปฏบิ ัติ ผสู้ อน นกั วจิ ยั หรอื นัก บรหิ าร 4. ปฏบิ ตั ใิ นสาขาและกลุม่ ผใู้ ช้บริการทอ่ี าจารยม์ คี วามเช่ียวชาญ 5. อยใู่ นสถานการณจ์ รงิ ของปญั หาสขุ ภาพของผู้ใช้บรกิ าร 6. ม่งุ ใหเ้ กดิ ผลลัพธ์ของการดูแลสุขภาวะของกลุ่มผู้ใช้บริการทเี่ ปน็ เปา้ หมาย 7. พัฒนาทักษะการปฏิบตั ิของอาจารย์ รวมถึงยกระดับความกา้ วหน้าของการพยาบาลและวิชาชพี 8. สรา้ งผลงานทแี่ สดงออกถงึ ความเป็นนกั วชิ าการทางคลนิ ิก ซึ่งผลลัพธ์จากการปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์พยาบาลนอกจากเป็นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้รับบริการ แล้ว ยังสามารถต่อยอดเป็นผลงานด้านวิชาการของอาจารย์และพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติการพยาบาลร่วมกัน ได้หลากหลายรปู แบบ เช่น โครงการวิจัย หนังสอื แนวทาง แนวปฏบิ ตั ิ เป็นตน้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานวิจัยเป็น อีกภาระกิจที่สำคัญอีกภาระกิจหนึ่งของอาจารย์ที่ช่วยพัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอนรวมถึงคุณภาพ การพยาบาลได้ และสง่ ผลต่อการมีคุณสมบตั ขิ องการเป็นอาจารยป์ ระจำหลกั สูตรต่อไป Page | 2 33
6. วัตถุประสงค์ 6.1 เพื่อสง่ เสรมิ ให้เกิดผลลพั ธ์ท่ีดตี อ่ ผู้รบั บริการ 6.2 เพ่ือสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ คณุ ภาพการพยาบาลและการเรยี นการสอนให้มปี ระสิทธิภาพ อาจารย์พยาบาลเกดิ ความเชี่ยวชาญในศาสตรข์ องตนอย่างตอ่ เน่ือง 6.3 เพื่อสง่ เสรมิ ให้อาจารยม์ กี ารพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองและมีคณุ สมบัติของอาจารยป์ ระจำ หลกั สูตร 7.แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี คณะพยาบาลศาสตร์ได้ดำเนินงาน การปฏิบัติการพยาบาลของอาจารย์สู่ผลลัพธ์งานด้านวิจัยตาม แนวคิดของเดมมิ่ง (Deming’s cycle) ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพตาม PDCA (ภาพที่ 1) มาตั้งแต่ ปีการศกึ ษา 2564-2566 จำนวน 3 วงรอบ รายละเอียดดงั น้ี ภาพที่ 1 วงจรเดมมิง่ Page | 3 34
วงรอบที่ 1 เรม่ิ ดำเนินการต้ังแตป่ กี ารศกึ ษา 2564 (ภาพที่ 2) หมายเหตุ ภาพท่ี 2 วงรอบท่ี 1 ของ การทำ Faculty Practice to Research FP : Faculty Practice ในปีการศึกษา 2564 คณะพยาบาลศาสตร์ได้เริ่มดำเนินการวางแผน (P) Faculty Practice ภายใต้ ผู้รับผิดชอบคือรองคณบดีฝ่ายดูแลงานวิจัยและบริการวิชา ร่วมกับคณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ ตั้งแต่การสำรวจความต้องการทำ Faculty Practice โดยให้สอดคล้องกันกับความตอ้ งการของแหล่งฝึกปฏบิ ัติ โดยศึกษาเงื่อนไขการทำ Faculty Practice ที่กำหนดโดยสภาการพยาบาลร่วมด้วย หลังจากนั้นจัดประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์การทำ Faculty Practice กับแหล่งฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน (ภาพ 3) และ ดำเนินการทำข้อตกลงรว่ มกันทางวิชาการดา้ น Faculty Practice ทุกโรงพยาบาลท่ีอาจารย์ไปปฏิบัติ (ภาพ 4) ในขณะเดียวกันอาจารย์ได้ทำแผนพัฒนาตนเองส่วนบุคคลด้าน Faculty Practice และได้จัดทำนโยบาย Faculty Practice และออกแบบแบบบันทกึ รวมถงึ แผนการกำกับติดตามอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง หลังจากนั้นอาจารย์ได้ทำ (D) Faculty Practice ตามแผนของตนเองโดยดำเนินการตามระเบียบ ราชการและเวลาไม่ซ้อนทับกับการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาล (ภาพ 5) และเมื่อได้มีการกำกับติดตาม ตรวจสอบ (C) การทำ Faculty Practice พบว่าได้มีสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา่ 2019 Page | 4 35
(COVID19) เกิดขึ้น ร่วมกับความเข้าใจไม่ตรงกันของอาจารย์ จึงได้นำปัญหาดังกล่าวมาวางแผนปรับแก้ไข (A) เพื่อนำไปสู่การพัฒนาต่อไป คือ ให้มีการปรับวิธีการการไปเข้าพื้นที่ในโรงพยาบาลเปลี่ยนเป็นการให้ คำปรึกษาด้านวิชาการ (ภาพ 6) เนื่องจากโรงพยาบาลปิดรับการเข้าปฏิบัติการพยาบาลทุกอย่างของทุก สถาบันการศึกษา และมีการจัดอบรมบรรยายพิเศษเรื่องการทำ Faculty Practice โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ (ภาพ 7) และนำเขา้ การประชมุ วาระพจิ ารณาของคณะกรรมการบรหิ ารคณะตามลำดบั ภาพที่ 3 ประชมุ ช้ีแจงวตั ถปุ ระสงคก์ ารทำ Faculty Practice กับแหล่งฝึกปฏบิ ตั ิ Page | 5 36
ภาพท่ี 4 ตัวอย่างการทำ MOU ภาพท่ี 5 ตวั อยา่ งการทำ Faculty Practice กอ่ นสถานการณ์ COVID19 Page | 6 37
ภาพที่ 6 ตวั อยา่ งการทำ Faculty Practice หลงั สถานการณ์ COVID19 ภาพท่ี 7 การจดั อบรมบรรยายพิเศษเรือ่ งการทำ Faculty Practice โดยวทิ ยากรผูเ้ ชย่ี วชาญ Page | 7 38
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นด้านงานวิจัยของอาจารย์ที่นอกเหนือจากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้รับบริการ ปีการศึกษา 2564 มีจำนวนผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน 2 เรื่อง โครงร่างวิจัยจำนวน 1 เรื่อง บทความวิชาการท่ี ตีพิมพ์เผยแพร่จำนวน 1 เรื่อง (ร่าง) บทความวิชาการ จำนวน 1 เรื่อง สื่อการสื่อสารต่างวัฒนธรรม จำนวน 1 เรื่องและจากการติดตามประเมินผลการทำ Faculty Practice พบว่ายังมีอุปสรรคเรื่องสถานการณ์ COVID19 อยู่ แต่ขณะเดียวกันคณะพยาบาลศาสตร์ได้ตระหนักถึงเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาการพยาบาลและ การผดุงครรภ์จากสภาการพยาบาลในตวั บ่งชี้ท่ี 9 ร้อยละของอาจารยท์ ่ีสอนวิชาการพยาบาลและวิชารักษาโรค เบื้องต้น ปฏิบัติการพยาบาลในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ (ตัวบ่งชี้สำคัญ) ต้องมีแผนเพิ่มเติมในการจัดทำแผน ระดับบุคคล ระดับกลุ่มวิชา และระดับคณะ เพื่อให้สามารถปรับแผนการทำได้ยืดหยุ่น เน้นการปฏิบัติที่ เกิดผลลพั ธโ์ ดยตรงกบั ผู้รับบริการ (direct care) ที่มคี วามเชอื่ มโยงและเปน็ ทศิ ทางเดยี วกนั จึงไดเ้ ป็นแนว ทางการปรบั ปรุงพฒั นาต่อในปีการศกึ ษา 2565 ต่อไป (ภาพที่ 8) วงรอบท่ี 2 เรม่ิ ดำเนนิ การต้ังแต่ปีการศกึ ษา 2565 (ภาพท่ี 8) ภาพที่ 8 วงรอบท่ี 2 ของ การทำ Faculty Practice to Research Page | 8 39
ในปีการศึกษา 2565 คณะพยาบาลศาสตร์ได้เริ่มดำเนินการวางแผน (P) Faculty Practice ภายใต้ ผู้รับผิดชอบคือรองคณบดีฝ่ายดูแลงานวิจัยและบริการวิชา ร่วมกับคณะกรรมการวิจัยและบรกิ ารวิชาการ และ ได้นำผลจากการทำ Faculty Practice ของอาจารย์ในปีการศึกษา 2564 มาปรบั ปรุง ดังนี้ 1) มีการจัดทำ แผนระดับบุคคลท่ีชัดเจน ระบุช่วงเวลา และกิจกรรมการ Faculty Practice ที่เน้น direct care และการ ต่อยอดงาน 2) มีการจัดทำแผน Faculty Practice ระดับกลุ่มวิชาโดยผู้ประสานกลุ่มวิชา หรือหัวหน้า กลุ่มวิชา โดยผ่านการหารือร่วมกันกับอาจารย์ในกลุ่มเรียบร้อยแล้ว และเชื่อมโยงกับ 3) แผน Faculty Practice ระดับคณะที่จัดทำโดยรองคณบดีดูแลงานด้านวิจัยและบริการวิชาการ โดยมีเป้าหมายในการ พัฒนาผลลัพธ์ด้านสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย (ภาพที่ 9) ที่ผ่านการประชุมหารือกับอาจารย์ภายใน คณะ และผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและคณะกรรมการประจำคณะ ภาพที่ 9 เปา้ หมายการทำ Faculty Practice ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม ปีการศกึ ษา 2565 หลังจากนั้นอาจารย์ได้ทำ (D) Faculty Practice ตามแผนของตนเองโดยดำเนินการตามระเบียบ ราชการและเวลาไม่ซ้อนทับกับการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาล และเมื่อได้มีการกำกับติดตามตรวจสอบ (C) การทำ Faculty Practice พบว่ามีอาจารย์บางส่วนที่มีแนวโน้มไม่สามารถทำ Faculty Practice ได้ Page | 9 40
ตามแผน ส่งผลให้ผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามแผนเช่นเดียวกัน โดยมีสาเหตุจากการจัดการบริหารเวลาและ กิจกรรมบางส่วนของคณะพยาบาลศาสตร์และมหาวิทยาลัย จึงได้นำปัญหาดังกล่าวมาวางแผนปรับแก้ไข (A) เพื่อนำไปสู่การพัฒนาต่อไป คือ ช่วยหาแนวทางในการบริหารจัดการเวลาและให้แนวทางเพิ่มเติมในการทำ Faculty Practice พร้อมทง้ั กำกบั ติดตามอยา่ งใกลช้ ดิ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นด้านงานวิจัยของอาจารย์ที่นอกเหนือจากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้รับบริการ ปีการศึกษา 2565 มีจำนวนผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน 7 เรื่อง ทั้งนี้จากผลที่เกิดขึ้นคณะพยาบาลศาสตร์ได้นำผล การทำ Faculty Practice มาวิเคราะห์เพิ่มเติมร่วมกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งนำมาวางแผนต่อในปี การศกึ ษา 2566 ต่อไป วงรอบท่ี 3 เรม่ิ ดำเนินการต้ังแต่ปกี ารศกึ ษา 2566 (อยู่ระหว่างการดำเนินการ) (ภาพท่ี 10) ภาพท่ี 10 วงรอบท่ี 3 ของ การทำ Faculty Practice to Research Page | 10 41
ในปีการศึกษา 2566 คณะพยาบาลศาสตร์ได้เริ่มดำเนินการวางแผน (P) Faculty Practice ภายใต้ ผู้รับผิดชอบคือรองคณบดีฝ่ายดูแลงานวิจัยและบริการวิชา ร่วมกับคณะกรรมการวิจัยและบรกิ ารวิชาการ และ ได้นำผลจากการทำ Faculty Practice ของอาจารย์ในปีการศึกษา 2565 มาปรับปรุง เพิ่มเติมคือให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย โดยกำหนดทิศทางในการทำ Faculty Practice คือ การมี สมรรถนะด้านการจัดการสุขภาพด้านการส่งเสริม ป้องกัน ดูแล และฟื้นฟูสุขภาพในทุกกลุ่มวัย โดย 1) กลุ่มวิชาการพยาบาลสูติศาสตร์และกลุ่มวิชาเด็กและวัยรุ่น เน้นสมรรถนะการจัดการสุขภาพด้านการผู้นำ การสอื่ สาร 2) กลุ่มวิชาการพยาบาลผูใ้ หญ่และผู้สูงอาย เนน้ สมรรถนะการตัดการสุขภาพด้านการเป็นผู้นำ และ 3) กลุ่มวิชาการพยาบาลชุมชนและการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช เน้นสมรรถนะการจัดการ สุขภาพด้านการคิดอย่างเป็นระบบ (ภาพที่ 11) ทั้งนี้มีการดำเนินการจัดทำแผนระดับบุคคลท่ีแผน Faculty Practice ระดับกลุ่มวิชาโดยผู้ประสานกลุ่มวิชา หรือหัวหน้ากลุ่มวิชา โดยผ่านการหารือร่วมกันกับอาจารย์ใน กลมุ่ เรียบรอ้ ยแล้ว และเช่ือมโยงกบั 3) แผน Faculty Practice ระดับคณะทจี่ ัดทำโดยรองคณบดีดแู ลงานดา้ น วิจัยและบริการวิชาการที่ผ่านการประชุมหารือกับอาจารย์ภายในคณะ และผ่านการพิจารณาจากคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรและคณะกรรมการประจำคณะ โดยขณะนอ้ี ยูร่ ะหวา่ งการดำเนินการ ภาพที่ 11 ทศิ ทางการ Faculty Practice ประจำปกี ารศกึ ษา 2566 Page | 11 42
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 585
Pages: