2.5 ขนั้ พัฒนานวัตกรรม “หนุ่ ฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด pumpy doll” โดยนาตกุ๊ ตาขนาดเท่าของ จรงิ มาใสอ่ ปุ กรณว์ ดั ความลึกในการกดหนา้ อก และนบั จานวนการกดนวดหนา้ อกได้ 3. การประเมนิ (check) ทดสอบคุณภาพของนวตั กรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด โดย ผ้เู ชีย่ วชาญ ประเมินคณุ ภาพของนวัตกรรมหนุ่ ฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกดิ และประเมินประสทิ ธิผล และความพงึ พอใจของผ้ใู ช้นวตั กรรมหุน่ ฝกึ กดนวดหัวใจทารกแรกเกดิ 4. การปรับปรุงแกไ้ ขและดาเนินการต่อ (Act) โดยการรวบรวมโดยการใช้แบบฟอร์มขอ้ มลู สว่ นบคุ คลและ ประเมนิ ผลลพั ธ์ทีไ่ ดร้ ับการใชน้ วัตกรรม และประเมนิ ผลจากการบนั ทกึ จากแบบฟอร์มของเราและแปล ผลระดบั คะแนนของการใชน้ วัตกรรม นาไปวิเคราะหผ์ ล และกาหนดแนวทางเพ่ือการปรบั แก้ไข เพ่อื นาไปสกู่ ารวางแผนใหม่ต่อไป 5. รายละเอียดและวิธีการใช้งานนวตั กรรม วธิ ีการใชง้ านนวัตกรรม 1.กดปุม reset 2. วางมือในตาแหน่งหัวใจของทารก ตาแหน่งของมือเม่ือทาการกดหน้าอก วางนิ้วหัวแม่มือลงบนกระดูก หนา้ อก (sternum) เหนือต่อกระดูก xiphoid และใต้ราวนม หา้ มวางน้ิวมือลงบนกระดูกซี่โครงหรือกระดูก xiphoid ตาแหน่งที่ ใชน้ วดอยู่ท่ี 1 ใน 3 ของกระดกู หนา้ อกส่วนล่าง ต่ากว่าราวนม เลก็ นอ้ ย เหนือส้นิ ปี วธิ กี ารนวดมี 2 วธิ คี ือ 1). 2 thumb - encircling hands technique ใช้มือ 2 ข้างโอบรอบหน้าอกของทารกไว้เพื่อ ประคองส่วนหลงั ไว้ ใช้นิ้วหวั แมม่ ือทัง้ 2 ขา้ งกดลงบนกระดูกกลางหนา้ อก เป็นวธิ ีทไ่ี ด้ผลดี 2). 2 fingers technique ใชป้ ลายน้ิวชีก้ ับน้ิวกลางของมอื ขา้ งท่ีถนดั กดตั้งฉากลงบน กระดูกกลาง หน้าอกตา่ กว่าราวนมและเหนือลิ้นปี่ มอื อีกขา้ งหนง่ึ รองดา้ นหลังของ ทารกไว้ หรืออาจใหท้ ารกนอนหงายบนพืน้ ค่อนขา้ งแขง็ กไ็ ด้ 3. การกดหน้าอกโอบรอบลาตวั ด้วยมอื สองขา้ ง นิ้วหัวแมม่ อื กดลงบนกระดูกหนา้ อกนิ้วมือทีเ่ หลอื หนุนทางด้านหลัง ความลึกในการกดหน้าอก กดลงบนกระดูกหนา้ อกลึกหน่ึงในสามส่วนของทรวงอกในแนวหน้าหลังน้ิวหัวแม่มือวางอยู่บนทรวงอก ตลอดเวลา 4. การใช้แรงกดให้กดกระดกู กลางหน้าอกยบุ ลงโดยกดลกึ 1 ใน 3 ของ Antero - posterior diameter ของทรวง อก แลว้ ปล่อยให้กระดกู คนื ตัวกลับเอง โดยที่นวิ้ มอื วางอยูท่ ีเ่ ดมิ โดยไม่ตอ้ งยกน้วิ ออก นวดหัวใจ 3 คร้ังสลับกับการช่วย หายใจด้วย PPV 1 คร้ัง ใน 1 นาที ควรนวดหัวใจได้ 90 คร้ัง และช่วยหายใจได้ 30 ครั้ง และจะหยุดนวดหัวใจเม่ืออัตราการเต้นของหัวใจ มากกว่า 80 คร้ัง/นาที 5.เมอ่ื ใชแ้ รงกดเหมาะสม หนุ่ pumpy doll จะแสดงตวั เลขอัตราการกดนวดหวั ใจทารก 6. เม่อื ใช้แรงกดมากเกินไป หรอื กดผดิ ท่ี จะมีเสยี งรอ้ งของหุ่นกดนวดหัวใจทารก pumpy doll 6. ผลการทดลองใช้นวัตกรรมและการอภปิ รายผล ผลการทดลองใช้นวตั กรรม 1.ขอ้ มูลทั่วไปของกลุ่มเปา้ หมาย กลมุ่ ตวั อยา่ งเป็นนกั ศกึ ษาพยาบาลชัน้ ปีท่ี 1 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร อาเภอนครชุม จังหวัดกาแพงเพชร จานวน 30 คน 193
2.ประเมินคณุ ภาพของนวัตกรรมห่นุ ฝกึ กดนวดหัวใจทารกแรกเกดิ ผลการประเมนิ มีรายละเอยี ดดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 คา่ เฉลีย่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน คุณภาพนวตั กรรมหุน่ ฝกึ กดนวดหวั ใจทารกแรกเกิด ของผู้เชยี่ วชาญ ประเมินคณุ ภาพนวัตกรรม Mean SD ระดบั คณุ ภาพ 1.คุณลกั ษณะนวตั กรรมสามารถกดนวดหนา้ อกไดล้ ึก 1.5 น้ิว เสมือนจรงิ 4.80 0.45 มากที่สุด 2.หุ่นสามารถแสดงผลการกดนวดหัวใจได้ 4.60 0.55 มากทสี่ ุด 3.หุ่นสามารถแสดงผลจานวนการกดนวดหัวใจได้ 4.80 0.45 มากที่สดุ 4.นวัตกรรมสอดคล้องกบั สภาพปัญหาหรือความตอ้ งการ 4.00 0.00 มาก 5.นวตั กรรมสามารถใช้งานได้จรงิ 4.80 0.45 มากทสี่ ุด 6.นวตั กรรมมีประสทิ ธิภาพ สามารถกดนวดหัวใจทารกได้จริง 4.80 0.45 มากท่สี ดุ 7.นวัตกรรมมีความแข็งแรงทนทาน 4.00 0.00 มาก 8.นวตั กรรมมคี วามสะดวกในการใชง้ าน 4.20 0.45 มาก 9.นวัตกรรมมคี วามเหมาะสมในการใชง้ าน 4.20 0.45 มาก 10.นวตั กรรมมีความคุ้มค่า เป็นประโยชน์ 4.60 0.55 มากทส่ี ุด โดยรวม 4.48 0.38 มาก จากตารางที่ 1 ผลการประเมนิ คุณภาพของนวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรก สาหรับผู้เช่ียวชาญตรวจสอบ พบวา่ คุณภาพของนวตั กรรมห่นุ ฝกึ กดนวดหัวใจทารกแรกเกดิ โดยรวม อยู่ในระดับมาก (Mean 4.48,SD 0.38) ซ่งึ เมื่อพิจารณาใน แต่ละข้อพบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับ อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ครอบคลุมถึงเร่ือง คุณลักษณะนวัตกรรมสามารถกดนวด หน้าอกได้ลึก 1.5 นิ้ว เสมือนจริง (Mean 4.80,SD 0.45) หุ่นสามารถแสดงผลการกดนวดหัวใจได้ (Mean 4.60,SD 0.55) หุ่น สามารถแสดงผลจานวนการกดนวดหัวใจได้(Mean 4.80,SD 0.45) นวัตกรรมสามารถใช้งานได้จริง (Mean 4.80,SD 0.45) นวัตกรรมมีประสิทธิภาพ สามารถกดนวดหัวใจทารกได้จริง (Mean 4.80,SD 0.45) และนวัตกรรมมีความคุ้มค่า เป็นประโยชน์ (Mean 4.60,SD 0.55) ผลการประเมินอยู่ในระดับมาก คือ นวัตกรรมสอดคล้องกับสภาพปัญหาหรือความต้องการ (Mean 4.00,SD 0.00) นวตั กรรมมคี วามแขง็ แรงทนทาน (Mean 4.00,SD 0.00) นวัตกรรมมีความสะดวกในการใช้งาน (Mean 4.20,SD 0.45) นวัตกรรมมีความเหมาะสมในการใชง้ าน (Mean 4.20,SD 0.45) 3.ผลการประเมินประสทิ ธผิ ลและความพึงพอใจของผู้ใช้นวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด หลังการ ทดลองใชน้ วตั กรรมหนุ่ ฝกึ กดนวดหัวใจทารกแรกเกิด ได้ทาการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้นวตั กรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารก แรกเกดิ ของกลุม่ ตัวอย่าง ผลการประเมนิ มีรายละเอยี ดดงั ตาราง 2 ตารางที่ 2 คา่ เฉล่ีย สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ประสิทธผิ ลและความพงึ พอใจตอ่ การใชน้ วัตกรรมของกลุม่ ตัวอยา่ ง การประเมิน Mean SD ระดับความคิดเหน็ 1.นวัตกรรมสามารถใช้กดนวดหน้าอกทารกไดต้ ามท่เี สมอื นจรงิ 4.40 0.72 มาก 2.นวตั กรรมมคี วามแขง็ แรงทนทาน 3.93 0.69 ปานกลาง 3.นวัตกรรมมีความปลอดภัยตอ่ การใช้งาน 4.43 0.63 มาก 4.นวตั กรรมมีขนาดที่เหมาะสมกับการใช้งาน 4.53 0.63 มากทีส่ ดุ 194
การประเมนิ Mean SD ระดบั ความคดิ เห็น 5.นวตั กรรมมีความสะดวก สบาย ง่าย ต่อการใช้งาน 4.70 0.47 มากที่สุด 6.นวัตกรรมมีประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน มีความม่ันใจในการกดนวดหน้าอก 4.80 0.41 มากที่สดุ มากขนึ้ 7.ความพงึ พอใจโดยรวมต่อนวัตกรรม 4.60 0.56 มากทีส่ ดุ 4.48 0.59 มาก โดยรวม จากตารางที่ 2 ผลการประเมินประสทิ ธผิ ลและความพงึ พอใจของผู้ใช้นวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมโดยรวมของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 อยู่ในระดับมาก (Mean 4.48,SD 0.59) ซ่ึงเมือ่ พิจารณาในแตล่ ะขอ้ พบว่า ผลการประเมินอยใู่ นระดับ อยูใ่ นระดับมากท่ีสุด คือ นวัตกรรมมีขนาดที่ เหมาะสมกับการใช้งาน (Mean 4.53,SD 0.63) นวัตกรรมมีความสะดวก สบาย ง่าย ต่อการใช้งาน (Mean 4.70,SD 0.47) นวัตกรรมมีประโยชน์ต่อผู้ใช้งานมีความม่ันใจในการกดนวดหน้าอกมากขึ้น (Mean 4.80,SD 0.41) ความพึงพอใจโดยรวมต่อ นวัตกรรม (Mean 4.60,SD 0.56) ผลการประเมินอยู่ในระดับมาก คือ นวัตกรรมมีความปลอดภัยต่อการใช้งาน (Mean 4.43,SD 0.63) ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั ปานกลาง คอื นวัตกรรมมีความแขง็ แรงทนทาน (Mean 3.93,SD 0.69) การอภปิ รายผล การศกึ ษานวตั กรรมหุ่นฝกึ กดนวดหัวใจทารกแรกเกิด ในคร้ังน้ี ขอนาเสนอการอภิปรายผลตามวัตถุประสงค์และ สมมตุ ิฐาน ดังนี้ 1. ผลการประเมินคณุ ภาพของนวตั กรรมหุน่ ฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด สาหรับผู้เช่ียวชาญตรวจสอบ เป็นไป ตามสมมุติฐาน พบวา่ คุณภาพของนวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด โดยรวม อยู่ในระดับมาก (Mean 4.48,SD 0.38) ซ่งึ เมอ่ื พจิ ารณาในแต่ละข้อพบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับ อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ครอบคลุมถึงเรื่อง คุณลักษณะนวัตกรรม สามารถกดนวดหน้าอกได้ลึก 1.5 น้ิว เสมือนจริง (Mean 4.80,SD 0.45) หุ่นสามารถแสดงผลการกดนวดหัวใจได้ (Mean 4.60,SD 0.55) หุ่นสามารถแสดงผลจานวนการกดนวดหัวใจได้(Mean 4.80,SD 0.45) นวัตกรรมสามารถใช้งานได้จริง (Mean 4.80,SD 0.45) นวตั กรรมมีประสิทธิภาพ สามารถกดนวดหัวใจทารกได้จริง (Mean 4.80,SD 0.45) และนวัตกรรมมีความคุ้มค่า เปน็ ประโยชน์ (Mean 4.60,SD 0.55) ผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก คือ นวตั กรรมสอดคล้องกับสภาพปัญหาหรือความต้องการ (Mean 4.00,SD 0.00) นวัตกรรมมีความแข็งแรงทนทาน (Mean 4.00,SD 0.00) นวัตกรรมมีความสะดวกในการใช้งาน (Mean 4.20,SD 0.45) นวัตกรรมมีความเหมาะสมในการใช้งาน (Mean 4.20,SD 0.45) จะเห็นได้ว่าเป็นไปตามสมมุติฐาน หุ่นช่วยฝึก กดนวดหวั ใจทารกแรกเกิด มีคุณภาพ สามารถใช้ฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิดได้ สามารถกดนวดหัวใจได้หรือ1.5 นิ้ว สามารถ แสดงผลจานวนการกดนวดหัวใจ สามารถใช้ได้จริง มีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่าประหยัด แสดงผล การกดนวดหัวใจได้ สอดคลอ้ งกบั ปัญหา มีความแขง็ แรงทนทาน สะดวกและเหมาะสมในการใช้งาน 2. ผลการประเมินประสิทธิผลของนวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด เป็นไปตามสมมติฐาน ผู้ที่ใช้ นวัตกรรม หุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด มีความคิดเห็นต่อประสิทธิผลที่ดีใช้ฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด พบว่า จากการ ประเมนิ ผลการประเมินประสทิ ธิผลและความพงึ พอใจของผใู้ ชน้ วตั กรรมหนุ่ ฝึกกดนวดหวั ใจทารกแรกเกิด ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ความพึงพอใจตอ่ การใชน้ วตั กรรมโดยรวมของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาพยาบาลช้ันปีท่ี 1 อยู่ในระดับมาก(Mean 4.48,SD 0.59) ซึ่ง เม่ือพจิ ารณาในแต่ละข้อพบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับ อยู่ในระดับมากที่สุด คือ นวัตกรรมมีขนาดท่ีเหมาะสมกับการใช้งาน 195
(Mean 4.53,SD 0.63) นวัตกรรมมีความสะดวก สบาย ง่าย ต่อการใช้งาน (Mean 4.70,SD 0.47) นวัตกรรมมีประโยชน์ต่อ ผู้ใช้งาน มีความมั่นใจในการกดนวดหน้าอกมากข้ึน(Mean 4.80,SD 0.41) ความพึงพอใจโดยรวมต่อวัตกรรม (Mean 4.60,SD 0.56) ผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั มาก คือ นวัตกรรมมีความปลอดภัยต่อการใช้งาน (Mean 4.43,SD 0.63) ผลการประเมินอยู่ใน ระดบั ปานกลาง คือ นวตั กรรมมคี วามแขง็ แรงทนทาน (Mean 3.93,SD 0.69) 7. ข้อเสนอแนะ 1.ในการใช้นวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหวั ใจทารก เป็นบันไดขนั้ แรกของการช่วยฟน้ื คนื ชีพเท่านน้ั นวัตกรรมมีจุดมุ่งหมายท่ีจะ ฝกึ กดนวดหวั ใจเท่านั้น 2. พฒั นาให้นวัตกรรมมนี ้าหนักเทา่ ของจริง 3. พัฒนาตอ่ ยอดนวัตกรรมด้านอน่ื เชน่ ควรต่อสายใหม้ ีความยาวมากกวา่ นี้ เพ่ือความสะดวกต่อการใช้งานนวัตกรรม ทา ให้มีเวลาปรากฎในการกดนวดหัวใจ 4. สามารถพฒั นาต่อยอดในเชิงพาณิชยไ์ ด้ 8. เอกสารอา้ งอิง กนกวรรณ ฉนั ธนะมงคล.(2554).การพยาบาลทารกแรกเกิด.สมทุ รปราการ:มหาวทิ ยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ กรุงเทพมหานคร:บริษทั นโี อดิจติ อล จากัด ขจร อาชวานันทกุล,เกษมศรี ศรสี ุพรรณดฐิ ,(2554), Neonatal Resuscitation:2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care. ธติ ิดา ชัยศภุ มงคงลาภ,อรณุ วรรณ พฤทธิพนั ธุ์,ปิยะพร ช่นื อ่ิม,(2548),คู่มอื การ ชว่ ยกู้ชีพในเด็ก(CPR). นกิ ร แสงงาม,(2565),เคร่ืองชว่ ยหายใจแบบกึ่งอัตโนมัตสิ าหรบั การชว่ ยเหลอื ผ้ปู ุวยฉกุ เฉนิ .เว็บไซต์ (https://urms.rmutt.ac.th/research?pf=u2y223v2&rs=v2y20313) รัชฎา กจิ สมมารถ,(2553), การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกดิ Neonatal Resuscitation.เว็บไซต์ (https://www.si.mahidol.ac.th/th/division/cpr/content/Neonatal%20resuscitation_2010.pdf) วลั ภา อุดชาชน.(2562). Neonatal Resuscitation,เวบ็ ไซต์ http://em.kkh.go.th วิภาพร วรหาญ.(2552).การปฐมพยาบาลและการพยาบาลฉกุ เฉิน.ขอนแกน่ :ขอนแก่นการพมิ พ์ เวบ็ ไซต(์ file:///C:/Users/ACER/Downloads/CPR_Newversion%20(1).pdf) สุพัตรา นตุ รักษ์.(2565).การพยาบาลเด็กเพอื่ การสง่ เสรมิ สุขภาพและพฒั นาเดก็ ทุกชว่ งวยั . เว็บไซต์ (https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/lecturestopics/topic-review/1666/) 196
ภาพการประดษิ ฐ์นวตั กรรม วิธีการประดษิ ฐ์นวัตกรรมหุ่นฝกึ กดนวดหวั ใจทารกแรกเกดิ เป็นนวัตกรรมท่ีใชฝ้ ึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิด โดยแสดงตาแหน่งการกดนวดหัวใจท่ีถูกต้อง และ ความลึกที่มีประสิทธ์ิภาพการกดนวดหัวใจ ซ่ึงในการประดิษฐ์นวัตกรรมหุ่นฝึกกดนวดหัวใจทารกแรกเกิดมีการ ประดษิ ฐน์ วัตกรรม ดงั นี้ 1.นาบอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino r3 มาเขยี นโค้ดออกคาส่ังเมื่อมีแรงกระแทกแต่ละคร้ังจะ แสดงผลจานวนครั้งข้ึนที่หน้าจอแสดงผล จากการกดนวดหัวใจแต่ละครั้ง ทาให้ตัวเซ็นเซอร์แสดงจานวนการกด ผา่ นหนา้ จอแสดงผล 2.นาตวั เครอ่ื งอปุ กรณท์ ี่ผา่ นการตดิ ตง้ั โปรแกรมมาประกอบกับกล่องพลาสติกโดยการเจาะรู บริเวณ ทจี่ ะเช่ือมต่อสายไฟ 3.นาตุ๊กตามาเจาะตรงบริเวณหน้าอก เพื่อท่ีจะทาการยัดลูกบอลกับสายไฟเข้าในตุ๊กตา วางจุด ตาแหนง่ กดใหต้ รงกบั บริเวณหวั ใจเดก็ แล้วทาการเยบ็ ปดิ ตุ๊กตาพร้อมกับจัดตกแต่ง 197
4.ทาการทดสอบกดนวดหวั ใจ วา่ อตั ราการกดขึ้นตรงตามจานวนการกด 198
ตะแกรงล้างแผลสขุ สบาย นงนุช สงั ขละผาสุข1*, เมธายตุ ม์ ย่งั ยืน2 , รพพี รรณ โชติชยั กร3 , รจุ กิ า คณุ โอนด4 , ลลิตา เกษหนอ5 , ศศิวิมล มีจ่นั 6 , ศภุ กร กนั ตเกรยี งวงศ7์ และอทติ ยา สมานมาก8 1วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก *[email protected] บทคัดยอ่ บาดแผล (Wound) คอื การท่ผี ิวหนงั และเนอ้ื เยอ่ื ตา่ งๆได้รบั บาดเจ็บ (Trauma) ซึง่ การเกิดบาดแผลจะทำให้เกิดการ ปริแยกหรือฉีกขาดของผิวหนัง และเนื้อเยื่อปกติ แต่ร่างกาย ก็มีกระบวนการท่ีจะทำให้บาดแผลหายให้มกี ารประสานผิวหนงั ให้กลับมาติดกันได้ซึ่งเนื้อเยื่อของคนสามารถซ่อมแซมตัวเองได้ ภายใน 24–48 ชม. เนื้อเยื่อแผลชั้นนอกจะปิดคลุมแผล หลังจากน้ันจะจัดเรียงตวั ใหม่เพ่ือให้เกิดความแข็งแรง ดังนั้นการทำความสะอาดบาดแผล จึงเน้นการล้างให้สะอาดทัง้ บริเวณ แผล และบริเวณรอบๆ ของแผลเป็นการป้องกันการติดเชื้อของแผลเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้แผลหายเร็ว โดยเฉพาะในผู้ป่วยท่ี เกิดอบุ ัตเิ หตุหรือผปู้ ่วยเบาหวานมีแผลท่เี ท้ามารับบริการทำแผล สว่ นใหญ่ตอ้ งใชต้ ะแกรงล้างแผลในการทำแผล เพื่อกำจัดสิ่ง แปลกปลอม ลดการติดเชื้อ และส่งเสรมิ การหายของแผล แต่การวางอวัยวะทม่ี ีบาดแผลบนตะแกรงทำแผล และยกคา้ งไว้เป็น เวลานานจนกว่าจะทำแผลเสรจ็ ทำให้ร้สู กึ เจบ็ จากแรงกดทับของตะแกรงท่ีมีความแขง็ ทำใหร้ ู้สึกทรมานในการทำแผลเปน็ การ เพิ่มความเจ็บปวดของแผล อาจจะทำใหเ้ กิดการอักเสบของแผลได้ ดงั น้นั ผู้จัดทำจงึ ไดค้ ดิ นวตั กรรม ตะแกรงล้างแผลสขุ สบาย เพื่อเพม่ิ ความสุขสบาย และลดความเจ็บปวดจากแรงกด ทบั ของตะแกรงล้างแผลใหผ้ ทู้ มี่ าล้างแผลเกิดความสขุ ภาพเพิ่มมากขน้ึ คำสำคัญ: บาดแผล ตะแกรงล้างแผล 199
Comfort Dressing Stool Nongnuch Sangklaphasuk1*, Maytayuth Yangyuen2, Rapeepan Chotchaiyakon3, Rujika Khunanod4, Lalita Ketnhor5, Sasiwimon Meejan6, Supakorn Kantakriangwong7 and Arthittaya Samanmak8 1 Boromarajonani College of Nursing, Chakriraj: Faculty of Nursing, Praboromrajchanok Institute * [email protected] Abstract Wound is an injury to the skin and various tissues Trauma, which causes the wound to split or tear the skin. And normal tissues, but the body has a process to make the wound heal to bring the skin back together, so that the human tissue can repair itself within 24–48 hours. The outer wound tissue will cover the wound. After that, it will be rearranged to create strength. Therefore, cleaning the wound therefore focusing on washing thoroughly the entire wound area and the surrounding area Of the scar, prevention of scar infection is one of the factors that make the wound heal faster. Especially in patients who have had an accident or patients with diabetes who have wounds on their feet come for wound dressing services. Most of the wounds need to use a sieve to clean the wound. To eliminate foreign matter reduce infection and promote wound healing But placing wounded organs on the wound grate and hold it for a long time until the wound is finished causing pain from the pressure of the hard sieve It makes it painful to make a scar, increasing the pain of the wound. May cause inflammation of the wound. Therefore, the organizers have come up with innovative ideas. Wound cleaning sieve to increase comfort And reduce the pain from the pressure of the wound washing grate to make the person who comes to wash the wound gain more health. Keywords : wounds, wound washing grate 1. บทนำ บาดแผล (Wound) คือการที่ผิวหนังและเนื้อเยื่อต่าง ๆ ได้รับบาดเจ็บ (Trauma) ซึ่งการเกิดบาดแผลจะทำให้เกิด การปริแยกหรือฉีกขาดของผิวหนัง และเนื้อเยื่อปกติ แต่ร่างกาย ก็มีกระบวนการที่จะทำให้บาดแผลหายให้มีการประสาน ผิวหนงั ให้กลบั มาติดกันได้ (อรณุ ี เจตศรสี ุภาพ, 2555) ซง่ึ การจำแนกบาดแผล มีหลายวิธีเช่น จำแนกตามสาเหตลุ ักษณะ การ ฉกี ขาด ความลึกของแผล การหายของแผล การปดิ ของแผล การติดเชอื้ ประโยชนข์ องการจำแนกบาดแผลท่ีสำคัญคอื เพื่อใช้ เป็นแนวทางส่งเสริมการหายของบาดแผล การจำแนกแผลทางศัลยกรรมมักแบ่งเป็นแผลเปิดกับแผลปิด ซึ่งเนื้อเยื่อของคน สามารถซอ่ มแซมตัวเองได้ ภายใน 24–48 ชม. เนื้อเยื่อแผลชั้นนอกจะปิดคลมุ แผล หลังจากนั้นจะจัดเรียงตัวใหม่เพื่อให้ เกิด ความแข็งแรง (เกรียงศักดิ์ศิรริ ักษ์, 2555) ดังนั้นการทำความสะอาดบาดแผล จึงเน้นการล้างให้สะอาดทัง้ ที่บริเวณแผล และ 200
บริเวณรอบ ๆ ของแผลเป็นการป้องกันการติดเชื้อของแผลเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้แผลหายเรว็ โรงพยาบาล และโรงพยาบาล สง่ เสริมสุขภาพตำบลหลายแห่งมีผปู้ ่วยทเ่ี กดิ อบุ ัตเิ หตหุ รอื ผูป้ ่วยเบาหวานมีแผลท่ีเท้ามารบั บรกิ ารทำแผลจำนวนมาก และส่วน ใหญ่ต้องใช้ตะแกรงล้างแผลในการทำแผลให้กับผู้ป่วยที่มารับบริการ โดยผู้ป่วยต้องได้รับการล้างทำความสะอาดแผลทุกวนั เพื่อกำจดั สิ่งแปลกปลอม ลดการตดิ เชื้อ และส่งเสรมิ การหายของแผล แต่การวางอวัยวะท่ีมีบาดแผลบนตะแกรงทำแผล และ ยกคา้ งไวเ้ ปน็ เวลานานจนกวา่ จะทำแผลเสรจ็ ทำให้ผปู้ ่วยรสู้ กึ เจ็บจากแรงกดทบั ของตะแกรงท่ีมคี วามแข็ง ทำใหร้ ้สู กึ ทรมานใน การทำแผลเปน็ การเพิ่มความเจ็บปวดของแผล อาจจะทำใหเ้ กิดการอกั เสบ เจ้าหน้าที่จึงดดั แปลงอุปกรณ์มาลองอวัยวะของผู้ เข้ารับบรกิ าร เช่น ขวดน้ำเกลอื เหลอื ใช้ หมอนลองขา ซงึ่ อปุ กรณ์ท่ีนำมาใชก้ ็ทำความสะอาดได้อยาก เป็นแหละสะสมเชื้อโรค ได้ หรือในโรงพยาบาลการทำแผลบนตะแกรงบางครั้ง ต้องใช้พยาบาลมากกว่า 1 คน หรือการขอความช่วยเหลอื จากญาติใน การชว่ ยยกขาผปู้ ่วยเพื่อทำแผล ทำให้เป็นการใชบ้ คุ ลากรสิ้นเปลอื ง เนื่องจากในการทำแผล เช่น ในตกึ ผู้ป่วยศัลยกรรมมผี ปู้ ่วย ท่ตี ้องทำแผลจำนวนมาก การที่ต้องใช้พยาบาลหลายคนในการทำแผลอาจจะทำให้เกิดความลา่ ชา้ หรือส้นิ เปลอื งบุคลากรได้ จากการที่ได้ฝึกภาคปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน 1 และการทบทวนวรรณกรรม จากแผนกงานอุบัติเหตุฉุกเฉนิ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลหลายแหง่ พบปัญหาวา่ ผู้เข้ารับบรกิ ารลา้ งแผลเกดิ ความไมส่ ขุ สบายในการวางอวัยวะทีม่ แี ผล ไว้บนตะแกรงล้างแผลโดยตรง เนื่องจากมีความเจ็บปวดจากแรงกดทับ นอกจากนี้คณะผู้จัดทำได้เลือกแผนกงานอุบัติเหตุ ฉุกเฉินโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาดบัวขาว เนื่องจากเป็นพื้นที่ใกล้เคียงสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้สะดวกและที่ สำคัญยังพบปัญหาท่เี กิดขน้ึ เชน่ เดียวกนั ทำให้คณะผู้จัดทำไดเ้ ห็นถึงปัญหาของการทำแผลที่ต้องได้รับการแก้ไข ในการทำหัตถการที่ต้องใช้ตะแกรงลา้ งแผล ในการการทำความสะอาดแผล เพ่อื นำเอาสง่ิ แปลกปลอมตา่ ง ๆ ออกจากแผล ซึง่ เปน็ การช่วยสง่ เสรมิ การหายของแผล ในการ ทำแผลทีถ่ ูกวิธีจะช่วยใหแ้ ผลหายเร็วย่ิงขึ้น และจะช่วยลดการตดิ เชื้อของบาดแผลไดอ้ ีกดว้ ย (สำนักส่งเสรมิ สขุ ภาพกระทรวง สาธารณสุข, 2553) หลักการทำแผล คือต้องสะอาดและปลอดภัย ประหยัดสิ่งของเครื่องใช้และเวลาโดยใช้หลักสะอาด ปราศจากเชื้อ (Aseptic technique) และจะต้องทำแผลสะอาดก่อน ทำแผลสกปรกหรือติดเชื้อเสมอ (สุภัทรา จินดาทรัพย์, 2549) ซึ่งการใช้อปุ กรณ์ตะแกรงล้างแผลในการทำหัตถการให้กับผู้ป่วยที่มีบาดแผลการทำแผลให้กับผู้ป่วยในบางรายใชเ้ วลา ในการทำแผลมากกวา่ 15 นาทีผู้ป่วยจึงต้องยกไว้เป็นเวลานานจนกว่าจะทำแผลเสร็จ ผู้ป่วยเกิดความไม่สุขสบายจากแรงกด ทบั ของตะแกรงท่ีมีความแขง็ และต้องใช้เจา้ หนา้ ท่ีหลายคนในการทำแผลอาจจะทำใหเ้ กดิ ความลา่ ช้าหรือสิ้นเปลืองบคุ ลากรได้ คณะผูจ้ ัดทำจึงมคี วามสนใจท่จี ะจดั ทำนวตั กรรม “ตะแกรงล้างแผลสขุ สบาย (Comfort Dressing Stool)” โดยมี การกระจายแรงกดบรเิ วณพน้ื ผิวสมั ผัสระหวา่ งผวิ หนังของผู้ป่วยกบั พืน้ ผวิ ทรี่ องรบั นำ้ หนักเพื่อใหผ้ ู้ป่วยเกดิ ความสขุ สบาย ลด ความทรมานใหก้ บั ผู้ปว่ ยทต่ี อ้ งล้างแผล ทัง้ นท้ี ี่สำคัญยังเปน็ การลดการสมั ผสั เช้อื โรคที่จะส่งเสรมิ ให้แผลหายเรว็ และ ประหยดั เวลาในการรกั ษาพยาบาลผูป้ ่วยอีกดว้ ย 2. วิธวี จิ ยั 2.1 เครอ่ื งมอื และการตรวจสอบเคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยมีผู้วิจัยได้ร่วมกันทำการคิดค้นแบบประเมินความพึงพอใจและแบบประเมิน ความสุขสบาย ทั้งยังรวบรวมข้อคำถามในแต่ละด้านให้มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของนวัตกรรม ซึ่งสามารถนำไป ประยกุ ต์ใช้ในการปรบั ปรงุ พฒั นานวัตกรรม 2.1.1 ตอนท1่ี แบบสอบถามขอ้ มลู ทั่วไป ประกอบดว้ ย เพศ อายุ การศกึ ษา อาชพี สญั ชาติ โรคประจำตัว และประวตั ิการ ได้รับบาดแผลบริเวณอวยั วะสว่ นปลาย 201
2.1.2 ตอนที่2 แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมตะแกรงล้างแผลสุขสบาย (Comfort Dressing Stool) จำนวน 10แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการออกแบบจำนวน 4 ข้อ, ด้านการใชง้ านจำนวน 3 ข้อ, ด้านประโยชน์จำนวน 3 ข้อ และด้านทรัพยากรและบคุ ลากรจำนวน 1 ข้อ กำหนดข้อคำถามเป็น Rating Scale 5 ระดับ ไดแ้ ก่ ความพงึ พอใจมากท่ีสุด = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 นอ้ ย = 2 น้อยที่สุด = 1 การแปลผลระดับความพึงพอใจแบ่งเป็น 5 ระดบั ได้แก่ 4.51 – 5.00 หมายถงึ มากท่ีสดุ 3.51 – 4.50 หมายถึง มาก 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง น้อย ตำ่ กว่า 1.50 หมายถึง นอ้ ยทสี่ ุด 2.1.3 ตอนที่3 แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมตะแกรงล้างแผลสุขสบาย (Comfort Dressing Stool) จำนวน 10แบ่งเป็น 2 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกายจำนวน 7 ข้อ, ด้านจิตใจ-จิตวิญญาณจำนวน 3 ข้อ กำหนดข้อคำถามเป็น Rating Scale 5 ระดับ ไดแ้ ก่ ความพงึ พอใจมากทส่ี ดุ = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 นอ้ ย = 2 น้อยท่สี ุด = 1 การแปลผลระดบั ความพงึ พอใจแบ่งเป็น 5 ระดับ ได้แก่ 4.51 – 5.00 หมายถึง มากท่สี ดุ 3.51 – 4.50 หมายถงึ มาก 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถงึ น้อย ตำ่ กว่า 1.50 หมายถงึ นอ้ ยที่สุด 2.2 การตรวจสอบคุณภาพของเครอ่ื งมือวิจยั 2.2.1 การหาความเทย่ี งตรงของเน้อื หา ( Content Validity ) ความพงึ พอใจผลของการใชน้ วัตกรรมตะแกรงลา้ งแผลสุขสบาย ของบคุ ลากรและผู้รับบรกิ าร ท่ผี วู้ ิจยั จะสรา้ งข้นึ ได้ นำไป ตรวจสอบหาความตรงของเนื้อหา (Content validity) โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ซึ่งประกอบด้วย พยาบาลใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบลปากแรต 1 ท่าน และอาจารย์พยาบาล 2 ท่าน ตรวจสอบเนื้อหาโครงสร้างและความ เหมาะสมของภาษา พร้อมทั้งข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยมีการปรับปรุงแก้ไข และนำมาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ ผู้ทรงคณุ วุฒิ คำนวณหาค่าดชั นตี รงตามเน้ือหา IOC (Index of Item - Objective Congruence) โดยใชเ้ กณฑ์ +1 หมายถงึ คำถามนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 0 หมายถงึ ไมแ่ น่ใจวา่ คำถามนั้นสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ -1 หมายถึง คำถามนั้นไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ แปลผล ถ้า IOC 2 0.5 แสดงว่าข้อคำถามนั้นวัดได้ ตรง (ใชไ้ ด้) IOC < 0.5 แสดงว่าข้อคำถามน้นั วัดไดไ้ ม่ตรง (ตัดทง้ิ ) 2.2.2 การหาความเช่อื มัน่ ของเครอ่ื งมือ ( Reliability ) การใช้แบบสอบถามในกลุ่มผู้ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 30 คน ได้ค่า Reliability โดยใช้ สัมประสิทธ์ขิ องแอฟฟา (alpha - coefficient) ของครอนบาค (Cronbach, 1970) ซึง่ มสี ตู ร ดังแสดงตัวอยา่ งสมการท่ี (1) 202
( (1) 2.3 การวิเคราะหข์ ้อมลู ผวู้ จิ ยั นำขอ้ มลู ท่ีเก็บรวบรวมไดต้ ามความต้องการแล้ว นำขอ้ มูลท้งั หมดมาตรวจสอบความถกู ตอ้ งและ สมบรู ณ์ แล้ว ทำการวเิ คราะหเ์ พ่ือพสิ จู น์สมมติฐาน และนำมาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้สถิติที่ใช้ใน การวเิ คราะห์ข้อมลู ดังน้ี 1. ข้อมูลส่วนบคุ คลของกลุม่ ตัวอยา่ งข้อมูลท่ีเป็นระดบั นามบัญญตั ิ นำมาวิเคราะหด์ ว้ ยการใชส้ ถิติ พรรณนาโดยการ แจกแจงความถ่ี ร้อยละ คา่ เฉล่ีย และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 2. เปรียบเทียบคะแนนแบบประเมินความพึงพอใจหลังการใช้นวัตกรรมของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ส่วนตำบลลาดบัวขาว ตำบลลาดบวั ขาว อำเภอบา้ นโปง่ จังหวัดราชบรุ ี โดยใช้สถิติค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ 3. เปรียบเทียบคะแนนแบบประเมินความสุขสบายก่อน-หลังการใช้นวัตกรรมของผู้เข้ารับบริการล้าง แผลของ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพสว่ นตำบลลาดบัวขาว ตำบลลาดบัวขาว อำเภอบา้ นโป่ง จังหวัดราชบรุ ี โดยใช้ Paired Sample T- test 3. ผลการวจิ ยั การศึกษาครั้งนีเ้ ป็นการศกึ ษา “เก่ยี วกับความสุขสบายขณะลา้ งแผลสว่ นปลาย” มีวตั ถุประสงค์ เพ่ือให้เกิดความสุข สบายต่อผู้ป่วยที่เข้ารับบริการล้างแผล ผลของการดำเนินงานนำเสนอในรูปแบบ แบบ ประเมิน แบ่งเปน็ 3 สว่ น ดังนี้ 3.1 สว่ นท่ี 1 ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพและขอ้ มลู พื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม สถานภาพ ผตู้ อบแบบสอบถาม (n=6) จำนวน รอ้ ยละ 1. เพศ ชาย 2 33.33 หญงิ 4 66.7 2. อายุ (ปี) 36-45 3 50 46-55 1 16.67 56-66 2 33.33 3. การศกึ ษา ประถมศกึ ษา 2 33.33 มัธยมศึกษา 2 33.33 อนุปริญญาตรหี รือเทียบเทา่ 1 16.67 ปรญิ ญาตรีหรอื เทียบเท่า 1 16.67 203
4. อาชีพ 2 33.33 แมบ่ ้าน 1 16.67 ครู 1 16.67 ค้าขาย 1 16.67 ขับรถ 1 16.67 รบั จา้ ง 2 33.33 5. โรคประจำตวั 1 16.67 เบาหวาน 1 16.67 เกา๊ ท์ 2 33.33 ไขมัน ไม่มี จากตาราง พบว่ากลุ่มตัวอย่าง 6 คน ผลการดำเนินงานนวัตกรรมพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็น เพศชาย ร้อยละ 33.3 เพศหญิงร้อยละ 66.7 อายุ 36-45 ปี ร้อยละ 50 46-55 ปี ร้อยละ 16.67 อายุ 56-66 ปี ร้อยละ 33.33 การศึกษาอยู่ใน ระดับช้นั ประถมศกึ ษาคดิ เป็นรอ้ ยละ 33.33 ระดับช้ันมธั ยมศึกษาคิดเปน็ ร้อยละ 33.33 ระดับอนุปริญญาตรีหรือเทียบเท่าคิด เป็นร้อยละ 16.67 ระดับปริญญาตรีหรอื เทยี บเท่าคิดเป็นร้อยละ 16.67 ประกอบอาชีพแม่บา้ นคิดเปน็ ร้อยละ 33.33 อาชีพ ครูคิดเปน็ ร้อยละ 16.67 อาชีพค้าขายคิดเป็น ร้อยละ 16.67 อาชีพขับรถคิดเป็นร้อยละ 16.67 อาชีพรับจ้างคิดเป็น ร้อยละ 16.67 และโรคประจำตัวเป็น โรคเบาหวานร้อยละ 33.33 โรคเก๊าท์ร้อยละ 16.67 โรคไขมันร้อยละ 16.67 ไม่มโี รคประจำตวั ร้อยละ 33.33 มีบาดแผลทกุ รายคิดเปน็ ร้อยละ 100 3.2 สว่ นที่ 2 การประเมินความสุขสบายตอ่ นวตั กรรมก่อน-หลังใหบ้ รกิ าร ผลจากการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ความสุขสบายจากการใชแ้ บบประเมิน โดยกำหนด เกณฑค์ ะแนน ค่าเฉล่ีย ดงั นี้ 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจ อยู่ในระดับ น้อยทส่ี ดุ 1.50 – 2.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ อยใู่ นระดับ น้อย 2.50 – 3.49 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจ อย่ใู นระดับ ปานกลาง 3.50 – 4.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจ อยใู่ นระดบั มาก 4.50 – 5.00 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจ อยู่ในระดับ มากทีส่ ดุ การประเมินความสขุ สบายตอ่ นวัตกรรมกอ่ นใหบ้ รกิ าร ระดบั ความสขุ สบาย รายการที่ประเมนิ คา่ เฉลี่ย S.D. ระดบั ความสขุ สบาย ดา้ นรา่ งกาย 2 0.63 น้อย 1.ส่งเสรมิ ให้เกดิ ความสุขสบาย 2.16 0.75 นอ้ ย 2.สง่ เสรมิ ทา่ ทางที่เหมาะสม 2.16 0.51 น้อย 3.อำนวยความสะดวก 2.16 0.4 นอ้ ย 4.ความสะอาดของบาดแผล 2.33 0.51 น้อย 5.ลดความทรมานของการกดทบั อวยั วะ 2 0.89 นอ้ ย 6.เพ่ิมความปลอดภยั ในการทำแผล 204
รายการทป่ี ระเมนิ คา่ เฉล่ีย ระดบั ความสุขสบาย 2.33 S.D. ระดบั ความสขุ สบาย 7.ลดระยะเวลา/ลดความล้าชา้ ในการทำแผล 0.4 นอ้ ย ด้านจิตใจ-จติ วิญญาณ 8.ลดความกลวั และวิตกกังวล 1.83 0.75 นอ้ ย 9.มคี ณุ ค่าและศักด์ศิ รีในตนเอง 2 0.63 น้อย 10.มคี วามเชอ่ื ม่นั ในนวตั กรรม 2.16 0.75 น้อย การประเมนิ ความสขุ สบายต่อนวตั กรรมหลังใหบ้ ริการ ระดบั ความสขุ สบาย รายการทปี่ ระเมนิ คา่ เฉลีย่ S.D. ระดับความสุขสบาย ด้านร่างกาย 3.6 0.82 มาก 1.สง่ เสรมิ ให้เกดิ ความสขุ สบาย 3.6 0.82 มาก 2.ส่งเสรมิ ท่าทางทเ่ี หมาะสม 3.6 0.82 มาก 3.อำนวยความสะดวก 4 0.63 มาก 4.ความสะอาดของบาดแผล 3.84 0.75 มาก 5.ลดความทรมานของการกดทับอวยั วะ 4 0.63 มาก 6.เพ่มิ ความปลอดภยั ในการทำแผล 3.6 0.82 มาก 7.ลดระยะเวลา/ลดความลา้ ช้าในการทำแผล ด้านจติ ใจ-จติ วญิ ญาณ 4.16 0.98 มาก 8.ลดความกลัวและวติ กกงั วล 3.83 0.75 มาก 9.มีคณุ คา่ และศักดศ์ิ รีในตนเอง 3.83 0.75 มาก 10.มคี วามเชอ่ื มัน่ ในนวัตกรรม จากตาราง ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง 6 คน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบมีความสะดวกสะบายใน การใช้ ตะแกรงลา้ งแผลสขุ สบาย (Comfort Dressing Stool) ก่อนรบั บริการโดยรวมอยูใ่ นระดับนอ้ ย และหลงั รับบริการโดยรวมอยู่ ในระดบั มาก คือ สง่ เสริมให้เกดิ ความสุขสบาย สง่ เสรมิ ท่าทางท่ีเหมาะสม อำนวยความ สะดวก ความสะอาดของบาดแผล ลด ความทรมานของการกดทับอวัยวะ เพิ่มความปลอดภัยในการทำแผล ลด ระยะเวลา/ลดความล้าช้าในการทำแผล ลดความ กลวั และวิตกกังวล มคี ณุ คา่ และศกั ดศ์ิ รีในตนเอง และมีความ เช่อื มัน่ ในนวัตกรรม 3.3 ส่วนท่ี 3 การประเมนิ ความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการให้บรกิ าร ผลจากการวเิ คราะหข์ อ้ มูลความสขุ สบายจากการใช้แบบประเมนิ โดยกำหนด เกณฑ์คะแนน คา่ เฉล่ยี ดงั นี้ 1.00 – 1.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจ อยใู่ นระดับ น้อยที่สุด 1.50 – 2.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ อยใู่ นระดบั น้อย 2.50 – 3.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ อยู่ในระดบั ปานกลาง 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจ อยูใ่ นระดบั มาก 4.50 – 5.00 หมายถงึ มีความพึงพอใจ อยู่ในระดับ มากท่ีสุด 205
รายการท่ีประเมิน ระดบั ความสุขสบาย ค่าเฉลี่ย S.D. ระดบั ความสุขสบาย ดา้ นการออกแบบโครงสรา้ งนวัตกรรม 1.โครงสรา้ งนวัตกรรมมีความแขง็ แรง 4.33 0.57 มาก 2.การออกแบบมคี วามคดิ สร้างสรรค์ 4.33 0.57 มาก 3.องค์ประกอบแตล่ ะชิน้ ไมส่ ง่ ผลให้เกิดความอันตรายตอ่ 4.66 0.57 มากทสี่ ดุ ผ้รู บั บรกิ าร ด้านการใชง้ านนวตั กรรม 4.33 0.57 มาก 4.นวัตกรรมมคี วามสะดวกต่อการเกบ็ ลา้ งทำความ สะอาด 3.66 0.57 มาก 5.นวัตกรรมมคี วามสะดวกต่อการใช้งานและเคลื่อนยา้ ย 3.66 0.57 มาก 6.นวตั กรรมมคี วามเหมาะสมในการปรบั บริบทของ ผรู้ ับบริการ ดา้ นประโยชน์ของนวัตกรรม 4.33 0.57 มาก 7.ชว่ ยลดความทรมานขณะลา้ งแผล 4.66 0.57 มากทีส่ ดุ 8.ช่วยสง่ เสรมิ ความผอ่ นคลายต่อกลา้ มเนอื้ ขณะล้างแผล 3.66 0.57 9.ใช้งานได้ราบรืน่ ตอ่ เนอ่ื ง ไมต่ ดิ ขดั มาก ด้านทรพั ยากรของนวัตกรรม 4.33 0.57 10.ลดจำนวนเจ้าหนา้ ที่ บคุ ลากรในการทำแผล มาก จากตาราง ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู กลุ่มตัวอยา่ ง 3 คน พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบมคี วามพงึ พอใจในการ ใช้ ตะแกรงล้าง แผลสุขสบาย (Comfort Dressing Stool) โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คือ องค์ประกอบแต่ ละชิ้นไม่ส่งผลให้เกิดความ อนั ตรายต่อผู้รบั บริการ และชว่ ยสง่ เสรมิ ความผ่อนคลายต่อกลา้ มเนอ้ื ขณะล้างแผล อยูใ่ นระดับมาก คือโครงสร้างนวัตกรรมมี ความแข็งแรง การออกแบบมีความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมมีความ สะดวกต่อการเก็บล้างทำความสะอาด นวัตกรรมมีความ สะดวกต่อการใช้งานและเคล่ือนย้าย นวัตกรรมมีความ เหมาะสมในการปรับบริบทของผูร้ ับบริการ ช่วยลดความทรมานขณะ ล้างแผล ใชง้ านไดร้ าบร่ืน ตอ่ เน่อื งไม่ตดิ ขดั และลดจำนวนเจา้ หน้าทีบ่ ุคลากรในการทำแผล 4. สรปุ ผล อภิปรายผล จากการศึกษาผลของการใช้นวัตรกรรมตะแกรงล้างแผลสุขสบาย (Comfort Dressing Stool) สามารถอภิปราย ผลไดด้ ังน้ี จากผลการวจิ ยั นวตั กรรมตะแกรงล้างแผลสขุ สบาย (Comfort Dressing Stool) มกี ารบรรลวุ ตั ถุประสงคค์ อื เพอื่ ให้ เกดิ ความสขุ สบายตอ่ ผู้ป่วยท่ีตอ้ งลา้ งแผลเปน็ เครอื่ งมือทชี่ ว่ ยเพมิ่ ความพงึ พอใจต่อเจ้าหนา้ ท่ี หรอื พยาบาลในการล้างแผล จาก ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยหลังใช้นวัตรกรรมมีความสุขสบายอยู่ระดับดีมาก และเจ้าหน้าที่ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สดุ คอื ดา้ นองค์ประกอบแตล่ ะชนิ้ ไม่ส่งผลให้เกิดความอนั ตรายต่อผ้รู บั บรกิ ารสามารถลดจำนวนเจา้ หน้าที่ บุคลากรในการทำแผล และช่วยส่งเสริมความผ่อนคลายต่อกล้ามเนือ้ ขณะล้างแผล เนื่องมาจากงานวิจัยเรือ่ ง การเปรียบเทียบระหว่างการนอนหงาย ยกขาสูงและการนอนหงายต่อการฟ้ืนตวั ของกลา้ มเนอ้ื ข้อเข่าภายหนังการออกกำลังกายแบบพลยั โอเมตรกิ ในชายสุขภาพดีท่ีมี กิจกรรมทางกายระดับต่ำ จะส่งผลการฟื้นตัวโดยการนอนหงายยกขาสูงมีแนวโน้มบรรเทาอาการกล้ามเนื้อเหยียดเข่าระบบ หลังการการออกกำลังกายแบบพลัยโอเมตรกิ ได้ดกี ารนอนหงาย การนอนหงายยกขาสูง 30-60 องศา ช่วยลดอาการบวมและ การนอนหงายยกขาสูง30 องศา ผู้ป่วยจะรู้สึกสบายมากที่สุด สอดคล้องการศึกษาของ (ธนวัฒน์ กิจสุขสันต์, 2562) 206
Chatzinikolaou, Fatouros และคณะพบว่าแรงโน้มถ่วงกระทบต่อการกระจายปริมาณของเลือดภายในร่างกายท่านอนราบ จะทำให้เลือดไหลเวียนกลับเข้าสู่หัวใจไดด้ ีขึ้นเนื่องจากร่างกายตอบสนองโดยการลดแรงต้านของหลอดเลือดส่วนปลายทำให้ การไหลเวียนกลับของเลือดดำเพิ่มขึ้นหัวใจจึงทำงานน้อยลงการยกรยางค์จึงทำให้เลือดดำที่รยางค์ส่วนล่างไหลกลับเข้าสู่ บริเวณช่องอกได้มากขึ้นสอดคล้องกับการศึกษาของ Van den Bekerom และคณะด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูและกายภาพบำบัด พบว่าการยกรยางคส์ ว่ นล่างเมอื่ เกิดปัญหาของหลอดเลือด หรือภายหลงั การผ่าตดั จะทำให้ผปู้ ว่ ยรู้สกึ สบายจากความดนั ภายใน หลอดเลอื ดท่ีลดลงโดยองศาที่เหมาะสมคอื 30 องศาแตพ่ บว่า 90 องศาจะชว่ ยลดอาการบวมมากทส่ี ุดเม่อื เปรียบเทียบกับท่า นอนราบแต่มุมดังกล่าวทำให้เกิดอาการปวดตึงต้นขาด้านหลังและบริเวณสะโพกไดใ้ นอาสาสมคั ร จึงนำองค์ความรู้นี้มาใช้ใน งานวจิ ัยจึงเปน็ ท่มี าของนวัตกรรมตะแกรงล้างแผลสุขสบาย (Comfort Dressing Stool) โดยผปู้ ว่ ยมีความสขุ สบายหลังการใช้ นวัตกรรมการทดลอง อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .05 สรุปจากผลการวิจัยครั้งนี้จะเห็นได้ว่านวัตกรรมตะแกรงล้างแผลสุขสบาย (Comfort Dressing Stool) จะทำให้ ผู้ป่วยเกิดความสุขสบายในการล้างแผลมากขึ้น ชิ้นงานมีความปลอดภยั เพิ่มความสะดวกต่อเจ้าหน้าที่และสามารถลดจำนวน บุคคลากในการทำแผลได้ 207
เอกสารอา้ งองิ [1] กิรณา สีนลิ , กสั มยี ์ สะนลิ เลาะ, จันทรเ์ พญ็ มชี นะ, สุซาดา อุษาวโิ รจน, สุนันทา มากมูล, วชั ราภรณ์ ดวงโปธา, และคณะ. (2563). การดูแลบาดแผลข้ันสูง. วชริ สารการพยาบาล, 22(1), 104-107. (In Thai) [2] จักรพงศ์ ปิตโิ ชคโภคนิ ท,์ นันท์นภัส ปติ โิ ชคโภคินท์, ใบศรี จึงม่นั คง. (2558). ขาหย่ังทำแผล: Khemmarat Wound Chair. วารสารวชิ าการสาธารณสุข. 24(1), 140-145. (In Thai) [3] ธนวัฒน์ กจิ สขุ สนั ต์ และคณะ. (2562). การเปรียบเทยี บผลระหวา่ งการนอนหงายยกขาสงู และการนอนหงายตอ่ การฟืน้ ตัวของกลา้ มเนอื้ ข้อเขา่ ภายหลังการออกกำลังกายแบบพลยั โอเมตริก ในชายสุขภาพดีท่ีมีกจิ กรรมทางกายระดบั ต่ำ. วารสารวทิ ยาศาสตร์การกีฬาและสขุ ภาพ. 20, 14-23. (In Thai) [4] สุรตั นา เหลา่ ไขย. (ม.ป.ป.). การศกึ ษาความรู้และทกั ษะด้านการทำแผลอยา่ งถูกวิธกี อ่ นออกฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ของ นกั ศึกษาสาขาสาธารณสขุ ชุมชน มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม. www.Laochai9620Surattana.pdf. (In Thai) [5] มณกร ศรแี ปะ๊ บัว. (2557). ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนนุ และให้ความรู้ต่อการรบั รู้ความสามารถในการ ดูแลเทา้ และพฤติกรรมการดูแลเทา้ ในผู้ปว่ ยเบาหวานกลมุ่ เส่ยี งต่อการเกดิ แผลทเี่ ท้า [วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาพยาบาล- ศาตรบณั ฑิต]. มหาวทิ ยาลัยบูรพา. (In Thai) [6] มหาวิทยาลัยบรู พา. (2561). ปจั จัยท่ีมคี วามสัมพนั ธ์กบั ความสามารถในการดแู ลบาดแผล. collect lib.buu.ac.th/dcms/ files/48921611/chapter2.pdf. (In Thai) 208
Auto Feeding Bags นภทั ร นยุ้ หงษ์, มารสิ า ผินแสง, วรนิ ญา ไพรเถ่ือน, วิลาวัณย์ ไทยอุบล, ศจีมาศ ชยั ภริ มยก์ ุล, สริ ิวรรณ นะเขิน , อรณุ ฤดี จนั ทรเศรษฐี และกมลวรรณ โชคสุกจิ นันท์ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก *ผใู้ ห้การติดตอ่ (นภทั ร นุ้ยหงษ์ e-mail [email protected]) บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) แบบกลุ่มเดียววัดหลัง ทดลองนวตั กรรม (One Group Posttest Design) โดยวัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ศึกษาประสิทธิผลของนวัตกรรมถงุ ให้ อาหาร น้ำ และยาทางสายแบบอัตโนมัติ (Auto Feeding Bags) ต่อความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาพยาบาล ศาสตรบัณฑติ ชัน้ ปีที่ 1 และของนกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปที ่ี 2 ท่ีเตรยี มความพร้อมในการออกฝึก ภาคปฏิบัติการพยาบาลหอผู้ป่วย ในการทดลองคร้ังน้ีเป็นการสุม่ แบบเจาะจงเนื่องจากเป็นตัวแทนของกล่มุ ตวั อยา่ งประชากรในการทดลองกบั หุน่ ที่ห้องปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั ก่อน จะนำไปใชก้ ับผูใ้ นหอผู้ปว่ ยแผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลบ้านโปง่ จังหวดั ราชบรุ ี ผวู้ จิ ยั ได้ทำการคัดเลอื กกลุ่ม ตวั อยา่ งตามคุณสมบัติท่กี ำหนด จำนวน 30 ราย ทเี่ ขา้ รว่ มการทดลองท่ีห้องปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล คำสำคัญ: นวัตกรรมทางการพยาบาล, นักศกึ ษาพยาบาล 209
Auto Feeding Bags Napat Nuyhong, Marisa Phinsaeng, Warinya Praithuan, Wilawan Thaiubon, Sachimat Chaiphiromkun, Siriwan Nakhern, Arunruedee jantarasetthee and Kamonwan Choksukitnan Faculty of Nursing, Boromarajonani college of nursing Jakkriraj, Praboromarajchanok Institute [email protected] Abstract This research It is a quasi-experimental research, one group posttest design, with the objective of studying the effectiveness of the innovative Auto Feeding Bags on student satisfaction. The 1st year of Bachelor of Nursing Science students and of the 2nd year of Bachelor of Nursing students who prepare for ward nursing practice. In this trial, it was randomized because it represented a population sample in an experiment with mannequins at the nursing laboratory. Boromarajonani college of nursing Jakkriraj before applying to patients in the internal medicine ward Ban Pong Hospital Ratchaburi Province The researcher selected 30 subjects according to the specified qualifications who participated in the experiment at the nursing laboratory. Keywords: Innovation in Nursing, Nursing Students 210
บทนำ ภาวะการเจ็บปว่ ยเรอ้ื รงั เป็นปญั หาสุขภาพท่ีสำคญั ของโลกและมีอบุ ัติการณ์เจบ็ ป่วยเพิ่มสูงขึน้ ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ จากรายงานขององค์การอนามัยโลกพบว่า มีประชากรถึง 40 ล้านคนจาก 56 ล้าน คนที่เสียชีวิตมีสาเหตุจากโรคไม่ตดิ ตอ่ เรื้อรังโดยเฉพาะในกลุ่มประเทศรายได้นอ้ ยถึงปานกลางที่มีการเสียชีวิตกอ่ นอายุ 70 ปี พบถึงร้อยละ 48 ซึ่งร้อยละ 80 มี สาเหตุมาจากโรคที่สามารถปอ้ งกนั ได้ เช่น โรคหวั ใจ โรคหลอดเลอื ดสมองตบี และเบาหวาน เปน็ ต้น สำหรับประเทศไทยนั้น จากรายงานของสำนกั นโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ ปี พ.ศ.2557 ไดร้ ะบถุ ึงสาเหตุการปว่ ยของผปู้ ่วยใน ได้แก่ โรคความดันโลหติ สูง เบาหวาน โลหิตจางจากไขกระดูกฝ่อ และโลหิตจางชนิดอื่น ๆ ไตวาย ซึ่งโรคทัง้ หมดจัดอยู่ในกลุ่มโรค เรือ้ รัง พบว่ามีแนวโนม้ เพ่ิมขนึ้ ในทกุ ๆ กลมุ่ ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2546 เปน็ ต้นมา นอกจากนี้แล้วการเปลยี่ นแปลงโครงสร้างประชากร ไทยทกี่ ำลังเคลือ่ นเข้าสภู่ าวะประชากรสูงวัย(Population ageing) ซง่ึ เป็นกลุ่มท่มี ีความเสอื่ มของร่างกายท่เี ปน็ ไปตามอายุ จะ ทำให้พบการเจ็บปว่ ยเรอ้ื รังเพิ่มมากข้ึน และเป็นประชากรที่มแี นวโนม้ ในการเป็นผูป้ ่วยตดิ เตียงมากกว่ากลุ่มวัยอื่น จากข้อมูลสารประชากรมหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2561 รายงานข้อมูล ณ วันท่ี27 มกราคม 2561 ประเทศไทยมี จำนวนประชากรทั้งหมด 66,234,000 คน มีประชากรผู้สูงอายุจำนวนทัง้ หมด 11, 770,000คน คิดเป็นรอ้ ยละ 17.77 8 ผล การสำรวจลา่ สดุ มีผูส้ งู อายุกว่า 1 ล้านคนทมี่ ีสุขภาพไมด่ นี อนติดเตยี ง ต้องพ่ึงคนอนื่ ดแู ล คิดเป็นร้อยละ 15 โดยมีประมาณ 960,000 คน ที่ช่วยเหลือตัวเองได้บางส่วน อีกประมาณ 63,000 คนไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้เลย 11 ในการที่มีกลมุ่ ผู้ปว่ ยตดิ บา้ นตดิ เตียงอยูภ่ ายในบา้ น จะทำใหเ้ กดิ ปัญหาทง้ั ตวั ผปู้ ว่ ย เช่น ภาวะการเกิดโรคแทรกซ้อน การเกิดแผลกดทบั เป็น ต้น ปัญหาสำหรับใหก้ ารดแู ลชว่ ยเหลือผูป้ ว่ ยท่ีไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ และยังส่งผลกระทบระยะยาวต่อตัวผ้ปู ว่ ย ผดู้ แู ล และครอบครัว ไมว่ ่าจะเปน็ การประกอบอาชีพ การดูแลสุขภาพ และค่าใชจ้ า่ ยในครัวเรอื น ในปัจจุบันมีจำนวนผู้ป่วย นอนติดเตียงเป็นจำนวนมาก ซ่งึ ผู้ป่วยเหล่านีม้ ที ัง้ ท่ีนอนพักรกั ษาตวั ในโรงพยาบาล และมานอนพักรกั ษาตัวที่บ้าน ซึ่งถ้าหาก นอนในโรงพยาบาลก็จะมที มี แพทยแ์ ละพยาบาลคอยดแู ลอย่างใกลช้ ดิ และมวี ิธกี ารดแู ลผ้ปู ่วยอยา่ งถูกตอ้ งตามขั้นตอนทางการ แพทย์ แตส่ ำหรบั กรณีท่ีผู้ป่วยต้องพักรกั ษาตัวอยู่ทบ่ี า้ น บุคคลภายในบ้านจะต้องมหี นา้ ทค่ี อยดูแลผู้ป่วยนอนติดเตียงเองซึ่ง ผู้ดูแลจำเป็นทีจ่ ะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยอย่างถูกวิธี เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคแทรก ซอ้ นต่าง ๆ ทีอ่ าจจะตามมาได้ ( ประหยัด ธรุ ะแพง, 2561 ) ผูส้ งู อายตุ ิดเตียงเปน็ ผู้ที่มภี าวะทพุ พลภาพ ไม่สามารถเคลื่อนไหวและช่วยเหลือตนเองได้มีความต้องการช่วยเหลือ ทางด้านกจิ วัตรประจำวนั ทงั้ หมด ไม่สามารถเข้าถึงอาหารได้ดว้ ยตนเองและรับประทานอาหารทางปากไม่ได้ผู้สูงอายุกลุ่มนี้มี ความจำเป็นต้องได้รับอาหารทางสายยางอย่างไรก็ตามในบางครั้งกระบวนการเตรียมอาหารเหลวที่ให้ทางสายยางไม่ได้ คุณภาพ มีสารอาหารไม่ครบถ้วนตามความต้องการของผู้สงู อายุติดเตียง ประกอบกับผูส้ ูงอายุกลุ่มนี้มักมีโรคเรื้อรังร่วมด้วย และการนอนติดเตียงทำให้กล้ามเน้ือไม่ได้ใช้งานเป็นเวลานานส่งผลให้การสังเคราะห์โปรตนี ล้มเหลวส่งผลให้เกิดภาวะทุพ โภชนาการ ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของระบบประสาทสัมผัสต่าง ๆ เนื้อเยื่อขาดความตึงตัว กระดูกบางลงมีการสลาย 211
กลา้ มเน้อื เพิ่มข้นึ ปริมาณกลา้ มเนื้อและมวลกลา้ มเนื้อท่ีปราศจากไขมันลดลง ซ่ึงหากมวลกล้ามเนื้อลดลงร้อยละ 10 จะทำให้ ภูมคิ ุ้มกนั ของผู้ป่วยสูงอายุตดิ เตียงลดลง มีโอกาสตดิ เชื้อเจบ็ ปว่ ยและเสียชีวิตได้ง่ายและทำให้การเจบ็ ป่วยมีความรุนแรงข้ึน จากขอ้ มูลดังกล่าวแสดงให้เหน็ ถงึ ความสำคญั ของการส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุตดิ เตียงเพ่ือปอ้ งกนั โอกาสท่ีจะเกิด การเจ็บป่วยที่รนุ แรง การเสยี ชีวติ และการคงไว้ซึง่ คณุ ภาพชีวติ ของผูป้ ว่ ยสูงอายุตดิ เตยี ง ( ณฐั ตินา วิชยั ดษิ ฐ์ ,2561 ) การตดิ เชอื้ ที่เป็นภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยตดิ เตียงน้ันมหี ลายอย่าง เช่น การติดเช้อื ในระบบทางเดนิ ปัสสาวะ การ ติดเชอ้ื ทแี่ ผลจากการเกิดแผลกดทับ หรอื ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น โดยส่วนใหญแ่ ล้วผปู้ ่วยตดิ เตียงจะไม่สามารถ รบั ประทานอาหารเองได้จึงมกี ารใส่สายยางใหอ้ าหารทางจมูกจนถึงกระเพาะอาหาร จึงเป็นอีกหน่ึงสาเหตทุ ่ีอาจส่งผลให้เกิด การตดิ เช้อื ในระบบทางเดนิ หายใจ เชน่ ไซนสั อกั เสบ การระคายเคืองเยอ่ื บทุ างเดินหายใจ สายยางทะลหุ ลอดอาหาร ภาวะลม ในช่องเยื่อห้มุ ปอด ทางเดินหายใจอุดกนั้ ปอดอักเสบจากการสำลัก หรือการตดิ เชื้อทีป่ อด เป็นตน้ จากข้อความข้างตน้ ผ้วู ิจยั จงึ มีแนวคดิ ในการทำวจิ ยั ครง้ั นี้เพอ่ื ช่วยลดความเสยี่ งในการเกดิ การติดเชือ้ จากการใสส่ าย ยางให้อาหารทางจมกู จนถึงกระเพาะอาหาร ทั้งนี้ยังสามารถส่งเสริมภาวะโภชนาการแก่ผู้สูงอายุติดเตียง ป้องกันภาวะทพุ โภชนาการใหก้ ับผูส้ งู อายตุ ิดเตียงทอี่ าจเกิดขึน้ ในชีวติ ได้ และสามารถชว่ ยเพิ่มความสามารถผู้ดูแลผสู้ ูงอายุตดิ เตียงในการช่วย ให้ระดบั โภชนาการดีขึ้นได้ มปี ระสิทธภิ าพปอ้ งกนั ความเส่ยี งในการเกดิ การติดเช้อื ส่งเสรมิ ใหผ้ ดู้ ูแลผู้สูงอายุติดเตยี งมีความผาสุก ทำหน้าท่ีให้ การดแู ลผูส้ ูงอายตุ ดิ เตยี งได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ซง่ึ จะสง่ ผลใหผ้ ู้สูงอายุตดิ เตยี งมคี ุณภาพชวี ิตท่ีดตี อ่ ไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสรา้ งนวัตกรรมถงุ ให้อาหาร น้ำ และยาทางสายแบบอตั โนมตั ิ (Auto Feeding Bags) 2. เพ่ือศกึ ษาประสิทธิผลของนวัตกรรมถงุ ให้อาหาร น้ำ และยาทางสายแบบอัตโนมตั ิ (Auto Feeding Bags) ตอ่ ความพึง พอใจของนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีท1ี่ และนกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชัน้ ปที ี่2ทีเ่ ตรียมความพร้อมในการออก ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลหอผ้ปู ่วย วิธดี ำเนินการวิจัย การวิจยั ครง้ั น้ี เป็นการวิจยั กงึ่ ทดลอง (Quasi Experimental Research) แบบกลมุ่ เดียว วดั หลังทดลองนวัตกรรม (One Group Posttest Design) โดยวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของนวัตกรรมถุงให้อาหาร น้ำ และยาทางสายแบบ อัตโนมัติ (Auto Feeding Bags) ตอ่ ความพึงพอใจของนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชนั้ ปีท่ี1และนักศึกษาพยาบาลศาสตร บณั ฑิตชัน้ ปที ่ี 2 ทีเ่ ตรยี มความพร้อมในการออกปฏบิ ัติการพยาบาลหอผู้ปว่ ย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรทศี่ กึ ษา คอื คอื นักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ชนั้ ปที ่ี 1 และนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ช้นั ปีท2ี่ กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตช้ันปีที่ 1 และนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ชั้นปีที่2 ท่ี เตรียมความพร้อมในการออกปฏิบัติการพยาบาลหอผู้ป่วย เป็นการสุ่มแบบเจาะจงเนื่องจากเป็นตัวแทนของกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรในการทดลองกับหุ่นที่ห้องปฏบิ ัติการพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั ก่อนจะนำไปใช้กบั ผ้ใู นหอ ผู้ป่วยแผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ผู้วิจัยได้ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 30 ราย ที่เขา้ ร่วมการทดลองที่หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล การกำหนดเกณฑค์ ัดเลอื กเข้ากลุ่ม 212
1. เป็นนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่1และนกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ช้ันปที ่ี2 ที่เตรียมความพร้อมใน การออกปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลหอผู้ป่วย 2. ผู้ที่กำลงั ศึกษาการดูแลผปู้ ว่ ยในผ้ปู ่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ 3. ผู้ทดลองยินดเี ขา้ รว่ มในการวิจัยโดยเซ็นใบยนิ ยอมเขา้ ร่วมในการวจิ ัย 2. เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย (Research instruments) 2.1 แบบสอบถามความพึงพอใจของการใช้นวัตกรรมถุงอาหารผา่ นทางสายยางแบบอัตโนมัตขิ องผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับ อาหารทางสายยางแบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนท1ี่ ข้อมลู ท่วั ไปของผูด้ ูแล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายไดส้ ว่ นบคุ คลต่อเดอื น ระยะเวลาท่ีให้การดูแล ผู้ป่วย ตอนท2่ี แบบสอบถามความพงึ พอใจของการใช้นวตั กรรมถุงอาหารผา่ นทางสายยางแบบอตั โนมัตขิ องผ้ดู ูแลผู้ป่วยท่ี ได้รบั อาหารทางสายยางได้จำนวน 10 ขอ้ แบง่ เปน็ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการใชง้ านจำนวน 5 ขอ้ , ดา้ นความปลอดภยั จำนวน 1 ขอ้ , ด้านความสวยงาม 2 ขอ้ และด้านคุม้ ค่าค้มุ ทนุ จำนวน 2 ขอ้ กำหนดขอ้ คำถามเป็น Rating Scale 5 ระดบั ไดแ้ ก่ ความ พึงพอใจมากทีส่ ุด = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 น้อย = 2 น้อยทีส่ ุด = 1 การแปลผลระดับความพึงพอใจแบ่งเปน็ 5 ระดบั ได้แก่ 4.51 – 5.00 หมายถงึ มากท่สี ุด 3.51 – 4.50 หมายถงึ มาก 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถงึ นอ้ ย ตำ่ กวา่ 1.50 หมายถึง นอ้ ยทสี่ ุด ตอนที่ 3 แบบประเมินความเหมาะสมนวัตกรรมถุงอาหารผ่านทางสายยางแบบอัตโนมัติของผู้ดูแลผู้ป่วยทีไ่ ด้รับ อาหารทางสายยางไดจ้ ำนวน 13 ข้อ แบ่งเปน็ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นโครงสรา้ ง 7 ข้อ , ดา้ นการใชง้ าน 4 ข้อ และดา้ นคณุ ค่า 2 ขอ้ กำหนดข้อคำถามเปน็ Rating Scale 5 ระดับ ไดแ้ ก่ เหมาะสมมากท่สี ดุ = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 นอ้ ย = 2 น้อยทสี่ ุด = 1 การแปลผลระดบั ความพึงพอใจแบ่งเป็น 5 ระดับ ได้แก่ 4.51 – 5.00 หมายถึง มากที่สดุ 3.51 – 4.50 หมายถึง มาก 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง นอ้ ย ต่ำกวา่ 1.50 หมายถงึ น้อยที่สดุ 3. วธิ กี ารพัฒนาถุง Auto Feeding Bags 1. สร้างนวตั กรรม 213
1.1 นำถุงพลาสติก polyethylene (PE) เคลือบด้วย Nylon ซีลขอบพลาสติก ตามขนาดสามช่อง และรปู แบบท่ีตอ้ งการ 1.2 ตอ่ ขอ้ ต่อบรเิ วณที่สามารถบรรจอุ าหารไดส้ ะดวก 1.3 ตอ่ ขอ้ ต่อทำจากพลาสติก LDPE สำหรับต่อสายยางให้อาหาร 1.4 ตอ่ สายให้อาหารใสต่ ัวสายยางเขา้ ไปในตัวเซ็นเซอรว์ ัดระดับนำ้ ควบคมุ การเปดิ -ปดิ อตั โนมตั ิ 1.5 นำขอ้ ตอ่ พลาสตกิ ใสขอ้ แปลงวาล์วปรับลม 4 ทางเชื่อมกับสายข้อตอ่ ถุงอาหาร NURI LINE C มี กระเปาะ และตวั ปรบั 4. การตรวจสอบคณุ ภาพเคร่อื งมอื การหาความตรงตามเน้ือหาของเครื่องมือ (Content validity) ความพงึ พอใจผลของการใช้นวัตกรรมถุงอาหารผ่าน ทางสายยางแบบอัตโนมัตขิ องผู้ดูแลผู้ป่วยทีไ่ ด้รับอาหารทางสายยาง ทีผ่ ูว้ ิจยั จะสรา้ งขึน้ ได้นำไปตรวจสอบหาความตรงของ เนื้อหา (Content validity) โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ซึ่งประกอบด้วย พยาบาลในหอผู้ป่วยอายุรกรรม 1 ท่าน และ อาจารย์พยาบาล 2 ท่าน ตรวจสอบเนื้อหา โครงสร้างและความเหมาะสมของภาษา พร้อมทั้งข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยมีการ ปรบั ปรงุ แก้ไข และนำมาปรับปรงุ แก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ คำนวณหาค่าดัชนตี รงตามเนอื้ หา IOC (Index of Item – Objective Congruence) โดยใช้เกณฑ์ +1 หมายถึง คำถามนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 0 หมายถึง ไม่แน่ใจวา่ คำถามน้นั สอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ -1 หมายถึง คำถามน้ันไมส่ อดคล้องกบั วัตถุประสงค์ แปลผล ถ้า IOC ≥ 0.5 แสดงว่าขอ้ คำถามนัน้ วัดไดต้ รง (ใชไ้ ด)้ IOC< 0.5 แสดงวา่ ขอ้ คำถามนัน้ วดั ได้ไม่ตรง การหาความเชื่อมนั่ ของเครอื่ งมือ (Reliability) การใช้แบบสอบถามในกลุ่มผูท้ ี่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างทัง้ หมด 30 คน ได้ค่า Reliabilityโดยใช้ สัมประสิทธิข์ องแอฟฟา (alpha - coefficient) ของครอนบาค (Cronbach, 1970) ซงึ่ มสี ูตรดังนี้ 214
5. การพิทักษส์ ทิ ธขิ องกลุ่มตัวอย่าง ผ้วู จิ ัยนำโครงรา่ งวจิ ัยเสนอตอ่ คณะกรรมการ จรยิ ธรรมของวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช กอ่ นทำการศกึ ษา วิจยั และผู้วิจยั พทิ กั ษ์สิทธิของกล่มุ ตวั อย่างแกผ่ ้ดู แู ลต้งั แตเ่ ร่ิมตน้ ของการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล โดยแจ้งให้ทราบวัตถุประสงค์ของ การวิจัย ขั้นตอนการรวบรวมขอ้ มลู และขอความร่วมมอื ในการเข้าร่วมวจิ ยั โดยไม่มีการบังคับใด ๆ และแจ้งใหท้ ราบวา่ กลุ่ม ตัวอย่างสามารถออกจากการวจิ ัยได้ทกุ เวลา โดยไม่ต้องอธิบายเหตุผล และจะไม่มีผลต่อการดูแลรกั ษาพยาบาลที่จะได้รับ ขอ้ มลู ทั้งหมดของกลุม่ ตัวอยา่ งจะเก็บเปน็ ความลบั การนำเสนอข้อมูลและการพมิ พ์เผยแพรจ่ ากการกระทำในภาพรวมเท่านั้น หากกล่มุ ตัวอยา่ งยินดเี ข้ารว่ มในการวิจยั ขอความร่วมมือกล่มุ ตวั อย่างเซน็ ใบยนิ ยอมเข้าร่วมวจิ ยั 6. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวิจัยครัง้ นี้ ผูว้ ิจัยดำเนนิ การรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยนำหนังสือขอเข้าทดลองในห้องปฏิบัติการ วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั เพ่อื ช้ีแจงวตั ถุประสงค์ของการวจิ ัยและขอความรว่ มมือในการรวบรวมข้อมูล เมอ่ื ได้รับหนังสือ อนุมัติจากเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลห้องปฏิบตั ิการ จากนั้น ผู้วิจัยขอสำรวจหุ่นทดลองทีใ่ ชฝ้ ึกให้อาหารทางสายยางพร้อมนักศึกษา พยาบาลศาสตรบณั ฑติ ชนั้ ปที ่ี1 และนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ชนั้ ปีท่ี2 ท่มี คี ุณสมบัติตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด เพ่ือคัดเลือก กล่มุ ตัวอย่างทีม่ ใี หไ้ ด้จำนวนตามตอ้ งการ และดำเนนิ การในกลุ่มทดลอง ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาผลของการใช้นวัตกรรมถุงอาหารผ่านทางสายยางแบบอัตโนมัติของผู้ดูแลผู้ป่วยให้ อาหารทางสายยาง ในห้องทดลองปฏิบัติการพยาบาลที่วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช เก็บข้อมูลจากนักศึกษา พยาบาลศาสตรบณั ฑิตชนั้ ปีท่1ี และนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชนั้ ปีท2่ี กอ่ นจะนำไปใช้กับผู้ปว่ ยในหอผู้ป่วยแผนกอายุ รกรรม โรงพยาบาลบ้านโปง่ จงั หวดั ราชบุรี โดยใช้เคร่ืองมือทผ่ี ู้วิจยั สร้างขึ้น ผลของการวเิ คราะหข์ ้อมูลนำเสนอเรยี งตามลำดับ ดังนี้ สว่ นท่ี 1 ข้อมลู สว่ นบุคคลของกลมุ่ ตัวอย่าง สว่ นที่ 2 คะแนนแบบสอบถามความพึงพอใจของการใชน้ วัตกรรมถงุ อาหารผา่ นทางสายยางแบบอัตโนมตั ขิ องผู้ดูแล ผู้ป่วยทีไ่ ดร้ บั อาหารทางสายยาง สว่ นท่ี 3 คะแนนแบบประเมินความเหมาะสมนวัตกรรมถุงอาหารผา่ นทางสายยางแบบอัตโนมัตขิ องผู้ดูแลผู้ป่วยที่ ได้รบั อาหารทางสายยาง 215
ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ส่วนบุคคลของกลุ่มตวั อย่าง กลุม่ ตวั อยา่ งในการศึกษาครั้งนเ้ี ปน็ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑิตช้ันปที 1่ี และนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้น ปีท่ี2 จำวน 30 คน กลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 91.3 เปน็ เพศหญิง และเพศชายรอ้ ยละ 8.70 มีอายุระหวา่ ง 19-25 ปี โดย ส่วนใหญเ่ ปน็ นักศกึ ษาฝึกภาคปฏิบัตกิ ารทดลองการให้อาหารทางสายยางในผ้ปู ่วยทไี่ ม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ช้ันปีที่1 และนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชัน้ ปีที2่ ส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญิง คิด เป็นรอ้ ยละ 91.31 และเพศชายรอ้ ยละ 8.70 มอี ายุส่วนใหญ่ในชว่ ง 19-25 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95.70 ส่วนที่ 2 คะแนนแบบสอบถามความพึงพอใจของการใช้นวัตกรรมถุงอาหารผ่านทางสายยางแบบอัตโนมัติของผู้ดูแล ผูป้ ว่ ยทไี่ ด้รับอาหารทางสายยาง ระดับความพึงพอใจด้านการใช้งานคิดเป็นร้อยละ 24.61 ระดับความพึงพอใจด้านความปลอดภัยคิดเป็นร้อยละ 33.32 ระดบั ความพึงพอใจด้านความสวยงามคิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 ระดับความพึงพอใจดา้ นการคุ้มค่า คุม้ ทนุ คิดเป็นร้อยละ 33.33 พบวา่ ระดบั ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑิตชัน้ ปที ี1่ และนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ช้นั ปีท่ี2 ส่วนใหญ่อยู่ในด้านการคุ้มค่า คุ้มทุนคิดเป็นร้อยละ 33.33 ด้านความสวยงามคิดเป็นร้อยละ 33.33 รองลงมาด้านความ ปลอดภยั คดิ เปน็ ร้อยละ 33.32 และด้านการใช้งานคดิ เปน็ รอ้ ยละ 24.61ตามลำดบั สว่ นที่ 3 คะแนนแบบประเมินความเหมาะสมนวตั กรรมถุงอาหารผ่านทางสายยางแบบอตั โนมตั ิของผูด้ ูแลผู้ป่วยที่ได้รับ อาหารทางสายยาง ระดบั ความเหมาะสมด้านโครงสรา้ งคดิ เป็นรอ้ ยละ33.32 ระดับความเหมาะสมดา้ นการใช้งานคิดเป็นรอ้ ยละ 33.31 ระดบั ความเหมาะสมดา้ นความคุ้มคา่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ33.32 พบว่าระดับความเหมาะสมการใชน้ วัตกรรมของนกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑิตช้ันปที ่ี1 และนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ช้นั ปีที่2 สว่ นใหญ่อยู่ในด้านโครงสร้างคิดเป็นร้อยละ33.32 ดา้ นความคมุ้ คา่ คิดเปน็ รอ้ ยละ33.32 รองลงมาด้านการใช้งานคิด เปน็ รอ้ ยละ 33.31 ตามลำดบั บทสรุป ขอ้ มลู ทั่วไปของกลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญ่รอ้ ยละ 91.30 เป็นเพศหญงิ เป็นเพศชาย 8.70 มอี ายุระหวา่ ง 19-25 ปี โดยมี อายคุ ่าเฉลย่ี 95.70 กลุม่ ตวั อย่างเปน็ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตช้นั ปที ี่ 1 และนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ชั้นปีที่ 2 จำนวน 30 ราย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช คะแนนระดับความพึงพอใจด้านการใช้งานคดิ เป็นร้อยละ 24.61 ระดับความพึงพอใจด้านความปลอดภัยคิดเป็นร้อยละ 33.32 ระดับความพึงพอใจด้านความสวยงามคิดเป็นร้อยละ 33.33 และดา้ นการใชง้ านคดิ เปน็ รอ้ ยละ 24.61 กติ ตกิ รรมประกาศ (ถ้ามี) 216
คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณอาจารย์ดร.อัญญา ปลดเปลื้อง ที่ท่านได้ให้การช่วยเหลือ ให้คำแนะนำชี้แจงและให้ คำปรึกษาในการทำวิจัยทางการพยาบาล ขอขอบคุณนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชัน้ ปีที่ 1 และ 2 จึงทำให้วิจัยฉบบั นี้ สมบรู ณ์ คณะผจู้ ดั ทำหวังเป็นอยา่ งยิ่งวา่ วจิ ัยฉบับนจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผทู้ ่ีสนใจและหากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ทางคณะ ผจู้ ดั ทำขออภยั มา ณ ทีน่ ่ีดว้ ย เอกสารอ้างองิ (References) เสาวภา ศรีแกว้ . ห่วงใยกระเชา้ สดี า หนว่ ยงานผปู้ ่วยในชาย. สบื คน้ เมื่อ 1 สิงหาคม 2565. สบื คน้ จาก http://58045419-6620170407132739.webstarterz.com/ nur/cqi-file/ipd1/ipd1-1.pdf รพ.สต.ทางพระ. (2562). นวตั กรรมอ่ิมสุข. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2565. สืบคน้ จาก http://164.115.41.180/pts/?q=node/91 เสาวนา ปยิ ะพิสทุ ธ. (2551). นวัตกรรมถุงเก็บสายให้อาหารทางจมกู ถงึ กระเพาะอาหารสว่ นทีอ่ ยภู่ ายนอก รา่ งกาย. สบื ค้นเมือ่ 1 สิงหาคม 2565. สืบค้นจาก https://www.rama.mahidol.ac.th/nursing/sites/ default/files/public/journal/2551/issue_02/02.pdf โรงพยาบาลอุทัยธานี. (2559). นวัตกรรมจกุ ยางจกุ ยดึ สายให้อาหารทางหนา้ ทอ้ ง. สบื ค้นเม่ือ 1 สิงหาคม 2565. สืบค้นจาก http://www.ayhosp.go.th/ayh/images/HA/thaiPSA/TPSA03.pdf สายยนต์ รตั นา และคณะ. (2555). ห่วงคลอ้ ง ผ่อนแรง. สบื ค้นเม่ือ 1 สิงหาคม 2565. สืบคน้ จาก http://49.231.188.70/Nursekhukhan/file/inno/img_60191a4f43029.pdf 217
ชือ่ นวตั กรรม เครอ่ื งควบคมุ การให้อาหารทางสายยาง ปลายรงุ้ ภูม่ าลยั 1, ปวันรัตน์ เพยี งวัน2, พัชราภา สุตรัต3, สริ ริ ัตน์ เกดิ จรัส4, สดุ ารตั น์ คมุ้ ทรัพย์5, อารดา ชาญประไพร6, อศิ รญิ า ศรจี นั ทรร์ ตั น์7 และ อุมาพร ซ่อยหง8 1วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก *[email protected] บทคัดยอ่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยก่ึงทดลอง (Quasi Experiment) แบบหนึ่งกลุ่มวัดหลังการทดลอง (one group post-test design) มวี ัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสทิ ธิผลของการใชเ้ ครื่องควบคุมการใหอ้ าหารผ่านทางสายยางให้อาหารและศกึ ษาความพึง พอใจของญาติผู้ดแู ลผู้สงู อายุตดิ เตียงท่ีใสส่ ายยางให้อาหารผ่านทางรูจมูก(nasogastric tube; NG tube) หรือการใส่สายยางทาง ปาก (Orogastric tube intubation) จำนวน 20คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนหลังใช้เครื่องควบคุมการให้ อาหารทางสายยาง และประเมินความพึงพอใจในการใช้เคร่ืองควบคุมการให้อาหารทางสายยาง มีความเที่ยง (Index of Item- Objective Congruence) ioc เท่ากับ 0.78 ค่าอัลฟ่าครอนบาช (Cronbach's alpha) เท่ากับ 0.96 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ บรรยาย ผลการศกึ ษาพบวา่ 1. เม่ือใช้เคร่ืองควบคุมการให้อาหารทางสายยาง 4 คร้ัง คร้ังละ 30 นาที โดยมีควบคุมระยะเวลาและมีเสียงเตือนเมื่อ อาหารหมด พบว่าผู้สงู อายไุ มเ่ กิดภาวะแทรกช้อน เช่น คล่ืนไส้ อาเจียน ท้องอืด กดท้องแข็ง จุกแน่น อาการเหนื่อย ไมม่ ีแรง ชัก สำลักอาหาร และภาวะรีฟดี ดิ่ง ซนิ โดรม 2. ความพึงพอใจของญาติผ้ดู ูแล 20 คน ภายหลงั ใช้เครื่องควบคุมการให้อาหารทางสายยาง พบวา่ ความพึงพอใจในการใช้ นวตั กรรมในภาพรวมอยู่ท่ีระดับความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ คา่ เฉลยี่ เท่ากบั 4.62 ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน 0.16 คำสำคญั : เคร่ืองควบคมุ การให้อาหารทางสายยาง ผ้สู งู อายุตดิ เตยี ง การให้อาหารทางสายยาง 218
Feeding Timer Plairung Poomalai1, Pawanrat Piangwan2, Phatcharapha Sutrat3, Sirirat Kerdjarat4, Sudarat Kumsub5, Arada Chanprapai6, Aitsariya Srijanrat7 and Aumaphon Soihong8 1Boromarajonani College of Nursing, Chakriraj: Faculty of Nursing, Praboromrajchanok Institute *[email protected] Abstract This study was a quasi-experiment with one group post-test design. To study the effectiveness of The feeding timer and to study the satisfaction of caregivers of elderly bedridden caregivers who had a feeding tube inserted through the nostrils (nasogastric tube; NG tube) or orogastric tube intubation, 20 people. Data were collected using the complication assessment form after using The feeding timer and The satisfaction assessment form for the use of the tube feeding controller had an index of Item-Objective Congruence (IOC) of 0.78. Cronbach's alpha value is 0.96. Data were analyzed by descriptive statistics. The results showed that 1. When using The feeding timer 4 times, 30 minutes each time, with time control and sound alarm when the food runs out. It was found that the elderly did not have spoon insertion conditions, such as nausea, vomiting, flatulence, or abdominal pressure. Tight nipples, tiredness, lack of energy, seizures, choking, and refeeding syndrome. 2. Relatives, caregivers 20 people from the study of the use of the feeding timer, it was found the satisfaction of using overall innovation was at the highest level of satisfaction. The mean is 4.62, the standard deviation is 0.16. Keywords: Satisfaction effect of tube feeding control in bed-bound elderly, Refeeding syndrome and complications from tube feeding. 219
1. บทนำ ในปี 2583 มีการคาดการณ์วา่ ประเทศไทยจะมผี ู้สูงอายุจำนวน 20 ล้านคน และผู้สูงอายุมากกว่า 80 ปีข้นึ ไป จะมีมาก ถงึ 3,500,000 คน (สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.), 2563) จากผลสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทยในปี 2556 พบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 1.5 อยู่ในสภาวะ “ติดเตียง” ปัญหาด้านสุขภาพท่ีสูงท่ีสุด คือ การเคล่ือนไหวร่างกายร้อยละ 57.8 (มูลนิธิ สถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2558) สาเหตุของการติดเตียง ได้แก่ ความชราภาพ การเสื่อมถอยของอวัยวะ การได้รับ อุบัติเหตุหรือป่วยด้วยโรคหลอดเลอื ดสมอง หรืออาจเป็นผู้ป่วยระยะสุดท้ายท่ีไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ (สำนักการพยาบาล, 2556) และผู้สงู อายตุ ดิ เตียงยังมแี นวโนม้ เพ่ิมมากข้ึนเร่อื ยๆ ผู้สูงอายุติดเตียงเป็นผู้ท่ีมีภาวะทุพพลภาพไม่สามารถเคลื่อนไหวและช่วยเหลือตนเองได้ มีความต้องการช่วยเหลือ ทางด้านกิจวัตรประจำวันทั้งหมด ไม่สามารถเข้าถึงอาหารได้ด้วยตนเอง และรับประทานอาหารทางปากไม่ได้ ผู้สูงอายุกลุ่มน้ีมี ความจำเปน็ ต้องไดร้ ับอาหารทางสายยาง อย่างไรก็ตามในบางครงั้ กระบวนการเตรยี มอาหารเหลวทใ่ี ห้ทางสายยางไมไ่ ด้คณุ ภาพ มี สารอาหารไม่ครบถ้วนตามความต้องการของผูส้ ูงอายุติดเตียง ประกอบกับผู้สงู อายกุ ลมุ่ น้ีมกั มีโรคเรื้อรังร่วมด้วย และการนอนติด เตียงทำให้กล้ามเน้ือไมไ่ ด้ใช้งานเป็นเวลานาน ส่งผลให้การสังเคราะห์โปรตีนล้มเหลว สง่ ผลใหเ้ กดิ ภาวะทุพโภชนาการส่งผลให้เกิด ความผิดปกตขิ องระบบประสาทสมั ผัสต่างๆ เน้อื เยอื่ ขาดความตึงตวั กระดูกบางลง มีการสลายกลา้ มเน้ือเพ่ิมข้ึน ปริมาณกลา้ มเน้ือ และมวลกล้ามเนื้อท่ีปราศจากไขมันลดลง ซึ่งหากมวลกล้ามเนอ้ื ลดลงร้อยละ 10 จะทำให้ภูมคิ ุ้มกันของผู้ป่วยสูงอายุติดเตยี งลดลง มีโอกาสตดิ เช้อื เจ็บป่วยและเสยี ชีวติ ได้ง่าย และทำให้การเจ็บปว่ ยมีความรนุ แรงขน้ึ จากขอ้ มูลดังกล่าวแสดงให้เหน็ ถึงความสำคัญ ของการส่งเสริมภาวะโภชนาการของผ้สู ูงอายุติดเตยี ง เพ่ือป้องกันโอกาสทีจ่ ะเกดิ การเจ็บป่วยที่รุนแรง การเสียชีวติ และการคงไว้ ซ่งึ คณุ ภาพชีวติ ของผปู้ ่วยสูงอายตุ ดิ เตียง ปัจจบุ ันการดูแลโภชนาการให้กับผสู้ ูงอายุติดเตยี งท่ีใส่สายยางใหอ้ าหารทางจมูกส่วนใหญ่เน้นการใหอ้ าหารทางสายยาง ตามปริมาณท่ีแพทย์สั่งเป็นหลัก ผู้ดูแลยังไม่ได้รับการพัฒนา (ณัฐตินา วิชัยดิษฐและคณะ, 2561) เรอ่ื งกระบวนการดูแลเพื่อลด ภาวะแทรกซ้อนขณะให้อาหารได้แก่ 1) คล่ืนไส้ อาเจยี น ท้องอืด มักเกิดจากการให้อาหารป่ันเหลวมากเกินไป เร็วเกินไป ระบบ การย่อยและดูดซึมของร่างกายยงั ปรบั ไม่ได้ จึงต้องให้อาหารปั่นเหลวจำนวนน้อยในระยะแรกก่อน และให้อาหารโดยวิธกี ารหยด (drip) ภายใน 30-60 นาที 2) ท้องผูก เน่อื งจากอาหารปัน่ เหลวมีกากอาหารน้อย ขาดอาหารทม่ี ีกากใยอาหารทจ่ี ะช่วยระบบการ ย่อยทำให้มีกากอุจจาระมากขึ้น หรือรา่ งกายไดร้ ับน้ำไม่เพียงพอร่างกายอยู่ในภาวะ dehydration หรอื ผู้ปว่ ยขาดการเคลื่อนไหว ร่างกาย บางรายเกิดท้องผูก ต้องช่วยเหลือผู้ปว่ ยโดยการล้วงอจุ จาระ หรือสวนอุจจาระเพื่อความสุขสบาย และกำจัดกากอาหารท่ี หมักหมมสำหรบั บางคนทล่ี ำไสใ้ หญ่ไม่ค่อยทำงาน หากปล่อยท้ิงไว้นานย่งิ ถ่ายลำบาก 3) ภาวะขาดสมดุลของน้ำและอิเลค็ โทรลัยท์ เนื่องจากร่างกายได้รับอาหารไม่เพียงพอ ดังน้ัน ผู้ป่วยที่ได้รับอาหารทางสายต้องประเมินอิเล็คโทรลัยท์ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มี แนวโน้มเกิดภาวะขาดสมดุล อิเล็คโทรลัยท์ ในผู้ป่วยท่ีรับประทานอาหารไม่ได้นานหลายวันก่อนใส่สาย หรือผู้ป่วยท่ีได้รับยาลด ความดันโลหติ สูง เพื่อจะทราบปัญหาเบ้ืองตน้ สำหรับวางแผนการดแู ลผู้สงู อายุตดิ เตยี งทถ่ี ูกตอ้ ง เพอ่ื ภาวะแทรกซ้อนทรี่ ุนแรงที่อาจ เกดิ กบั ผสู้ ูงอายุตดิ เตียงท่ีใส่ยางใหอ้ าหาร 4 ) ท้องเดิน มักเกดิ จากการให้อาหารป่ันเหลวมากเกนิ ไป หรอื อาหารปัน่ เหลวมเี ชื้อโรค ปนเปื้อนหรือบดู เสียกอ่ นท่ีจะใหผ้ ู้ปว่ ย ดังน้ันก่อนให้อาหารต้องแน่ใจว่าอาหารไมเ่ สีย มีกลิ่นหรือบดู การเก็บรักษาอาหารป่ันเหลว ท่ีเตรียมเสร็จแล้วจะต้องเก็บไว้ในอุณหภูมิที่เหมาะสมและสะอาด โดยเก็บไว้ในตู้เย็นหรือกระติกน้ำแข็ง เก็บไว้ไม่นานเกิน 24 ชวั่ โมง ก่อนให้อาหารต้องอุ่นด้วยน้ำร้อนก่อน ถา้ ไม่มีตู้เย็นควรทำมื้อตอ่ มื้อ ไม่ทำล่วงหนา้ นานเกนิ 1 ชว่ั โมง หลงั ให้อาหารหมดแต่ ละมื้อควรให้น้ำทางสายประมาณ50-100 ซีซี เพ่ือล้างสายให้สะอาด 5) ภาวะโคม่าจากระดับน้ำตาลในเลอื ดสงู (Hyperosmolar Hyperglycemic State; HHS) จะพบในผู้ป่วยสูงอายุและไม่รู้สึกตัว อาหารป่ันเหลวท่ีเข้าอยู่ในระบบทางเดินอาหาร ถ้ามีความ เข้มข้นสูงเกินไป สามารถดึงน้ำในระบบการไหลหมุนเวียนโลหิตเข้าสู่ระบบทางเดินอาหารทำให้ปริมาณเลือดในระบบไหลเวยี น 220
ลดลงอย่างรวดเรว็ ความดนั โลหิตต่ำ เลือดไปเลี้ยงสมองนอ้ ยขาดออกซิเจน ทำให้ช็อค (shock) หรือหมดสติ บางรายอาจรนุ แรงถึง ข้ันเสียชีวิต พยาบาลควรตระหนักถึงภาวะแทรกซ้อนดงั กล่าว สงั เกตอาการผิดปกตอิ ย่างใกล้ชิด 6) ภาวะทพุ โภชนาการ ส่วนใหญ่ เกิดจากการได้รับอาหารทางสายในแต่ละม้ือไม่เพียงพอกับความความสามารถในการจัดการภาวะโภชนาการแก่ผู้สูงอายุติดเตียง (เสาวนา ปิยะพิสุทธ์ิ, 2555) โดยจากการศึกษาภาวะทุพโภชนาการผู้สูงอายุในจังหวัดสุรินทร์ พบภาวะทุพโภชนาการในผู้สูงอายุ รอ้ ยละ 24.43 (ณฎั ฐวฒุ ิ แกว้ พทิ ูลย์ และสรญา แก้วพิทูลย์, 2555) กระบวนหรือวิธีการให้อาหารเตรียมอาหารเหลว วิธีการให้อาหารทางสายยางท่ีถูกต้อง วิธีการเก็บอาหาร และวิธีการ แก้ไขภาวะแทรกช้อนที่อาจจะเกิดข้ึนกับผู้สูงอายุติดเตียง ตลอดจนความสามารถในการพิจารณาปรับเปล่ียนการดูแลและวาง แผนการดูแลภาวะโภชนาการใหก้ บั ผ้สู ูงอายุติดเตยี ง ดงั นั้นการส่งเสรมิ ความสามารถของผดู้ แู ลจึงมีความสำคญั ผู้ดแู ลถอื เปน็ บคุ คล หลักในการช่วยเหลือและส่งเสริมภาวะโภชนาการแกผ่ ู้สูงอายตุ ิดเตียง โดยผู้ดูแลต้องมคี วามรู้ ในการจัดการภาวะโภชนาการอย่าง รอบด้าน ได้แก่ มีความเข้าใจในการประเมินภาวะโภชนาการ และสามารถปฏิบัติการดูแลให้กับผู้สูงอายุติดเตียงได้ ตลอดจน วางแผนการดูแลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม จึงจะช่วยส่งเสริมภาวะโภชนาการและป้องกันภาวะ ทุพโภชนาการให้กับ ผู้สูงอายตุ ดิ เตยี ง นอกจากให้อาหารทางสายให้อาหารในเวลาที่เหมาะสม จะช่วยป้องกันการเกิดภาวะรีฟีดด่ิงซินโดรม (Refeeding Syndrome) ยังลดภาวะแทรกซอ้ นจากการให้อาหารผ่านทางสายยางให้อาหารอีกด้วย ดังนั้นจึงต้องเพิ่มความระมัดระวังในการ เริม่ ตน้ ให้อาหารทางสายยาง ซ่ึงการดแู ลให้อาหารในผู้ป่วยวกิ ฤตและผู้สูงอายตุ ดิ เตียงจงึ มีความสำคัญ โดยวิธกี ารดูแลให้อาหารทาง สายยางให้อาหารควรใช้วิธีการหยดอย่างต่อเน่ือง (continuous feeding) ในระยะเวลาอย่างน้อย 30 นาทีถึง 1 ช่ัวโมง และใช้ เครื่องควบคุมอัตราการหยดอาหาร เพ่ือให้สามารถควบคุมอัตราการหยดได้อย่างแน่นอน (วรัทยา ปุณณวัฒน์, 2562) ทาง โรงพยาบาลจึงมีการนำเครือ่ ง Infusion pump เข้ามาช่วยควบคุมอัตราการไหล หากแต่การใช้เครื่องนี้นั้นมีคา่ ใช้จ่ายค่อนข้างสูง จึงมีเพยี งผู้ป่วยภายในโรงพยาบาลเท่านั้นท่ีสามารถเขา้ ถึงการใช้งานของเครอื่ งน้ี ผูป้ ่วยติดเตยี งท่ีจำเป็นต้องได้รบั อาหารผ่านทาง สายยางท่ีได้รบั การรักษาที่บ้าน จึงมีความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับอาหารผ่านทางสายยาง เน่ืองจากไม่มีเครื่องมือ ควบคุมอัตราการไหลของอาหารที่เหมาะสม อีกท้ังยังไม่สามารถเข้าถึงเคร่ือง Infusion pump ของโรงพยาบาลได้ด้วยเพราะมี ราคาสูง จากปญั หาดังกล่าวจึงมีการจัดทำเครื่อง Feeding Timer ซ่ึงมีหลักการทำงานคล้ายคลึงกับเครื่อง Infusion pump ของ ทางโรงพยาบาล หากแตเ่ คร่ือง Feeding Timer มีราคาที่ย่อมเยา ต้นทุนต่ำ ผู้ป่วยตดิ เตียงที่ได้รบั อาหารผา่ นทางสายยางท่ีได้รับ การรกั ษาทบ่ี า้ นสามารถเข้าถึงได้ และยังสามารถป้องกันภาวะแทรกซอ้ นจากการให้อาหารผ่านทางสายยางอีกดว้ ย ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาเรื่อง ประสิทธิผลของการใช้เครื่องควบคุมการให้สารอาหารทางสายยาง ต่อผลลัพธ์การ ลดโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการให้อาหารผ่านทางสายยาง และความพึงพอใจของญาตผิ ู้ดูแลในผู้ป่วยท่ีติดเตียง เพื่อป้องกัน การเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใหอ้ าหารเร็วเกิน ลดต้นทุนการผลิตให้บุคคลท่ัวไปสามารถเขา้ ถึงได้ และเพื่อพัฒนาอุปกรณ์ทาง การแพทยใ์ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุดตอ่ ผู้รับบริการ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อศึกษาประสทิ ธผิ ลของการใช้เครื่องควบคุมการใหอ้ าหารผ่านทางสายยางใหอ้ าหาร 2. เพื่อศกึ ษาความพึงพอใจของญาตผิ ู้ดูแลผสู้ งู อายุตดิ เตียงที่ใส่สายยางใหอ้ าหารผ่านทางรูจมกู (nasogastric tube; NG tube) และการใส่สายยางทางปาก (Orogastric tube intubation) วิธกี ารดำเนินการวิจัย การวิจัยนีเ้ ป็นวิจยั กึง่ ทดลอง (Quasi Experiment) แบบหนึ่งกลมุ่ วดั หลังการทดลอง (one group posttest design) 221
ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ประชากร ได้แก่ ผู้สูงอายุติดเตียงที่ใส่สายยางให้อาหารผ่านทางรจู มูก (nasogastric tube; NG tube) และการใส่สาย ยางทางปาก (Orogastric tube intubation) กลุ่มตัวอย่าง คือ ผูส้ ูงอายุติดเตียงที่ต้องใส่สายยางให้อาหารผา่ นทางรจู มูก (nasogastric tube; NG tube) และการใส่ สายยางทางปาก (Orogastric tube intubation) โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามที่พักอาศัยของนักศึกษาในจังหวัดกาญ จนบุรี ประกอบไปด้วย 4 อำเภอ ไดแ้ ก่ อำเภอท่าม่วง 8 คน, อำเภอ เมือง 2 คน, อำเภอ พนมทวน 6 คน, อำเภอ ทา่ มะกา 4 คน จำนวน 20 คน เป็นเพศชาย 10 คน เพศ หญิง 10 คน อายุ 60-65 ปี 7 ราย รอ้ ยละ 35 อายุ 66-70 ปี 5 ราย รอ้ ยละ 25 มากกวา่ 70 ปี 8 ราย ร้อยละ 40 โรคท่ที ำใหผ้ ู้สงู อายุมภี าวะตดิ เตยี งจนไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ รวมถึงไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ ตอ้ งใส่สายให้อาหาร พบ โรคเสน้ เลือดสมองตีบ และเสน้ เลือดสมองแตก 15 ราย รอ้ ยละ 75 กลุ่มตวั อย่างดังกลา่ วมปี ระวัตเิ ป็นโรค ความดันโลหติ สูงทุกราย เขา้ รบั การผ่าตดั 5 ราย รอ้ ยละ 25 วิธีการได้มาซ่งึ กลมุ่ ตัวอย่าง ขนาดของกลุม่ ตัวอยา่ ง การคดั เลือกผู้เข้ารว่ มการวิจยั (Subject selection and allocation) 1. เกณฑ์การคัดเลอื กอาสาสมคั รเขา้ ร่วมการวิจัย (Inclusion criteria) 1.1. เป็นผสู้ ูงอายตุ ิดเตยี งทมี่ ีอายมุ ากกว่า 60 ทใ่ี ส่สายยางให้อาหารผา่ นทางรจู มูก และการใสส่ ายยางทางปาก 2. เกณฑ์การคดั ออกผู้เข้าร่วมการวิจัย (Exclusion criteria) 2.1. ผสู้ งู อายตุ ิดเตยี งทร่ี บั ประทานอาหารทางปาก เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมอื เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการวิจยั คร้ังน้ปี ระกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื 1. เครือ่ งมือท่ีใช้ในการทดลอง เคร่ืองควบคุมการให้สารอาหารทางสายยาง เป็นเครื่องที่เขียนขึ้นจากโปรแกรมคิดไบร์ท (Kid Bright) เป็น โปรแกรมสำเรจ็ รูปในการควบคุมมอเตอร์ ให้ทำงามตามคำส่งั ท่ีกำหนด โดยการนำบล็อกคำสงั่ มาเรียงตอ่ กัน ซงึ่ ออกแบบเครอื่ งควบคุมการให้สารอาหารทางสายยาง ใชโ้ ปรแกรมคิดไบร์ท ควบคุมแกนหมุนของเซอร์โวลให้ได้องศาท่ี กำหนด และกำหนดระยะเวลาในการหมนุ ในการจัดทำเครื่องควบคุมการให้อาหารทางสายยาง มรี ายการการใช้งาน และใช้งาน ดงั นี้ 1. ใสถ่ ่าน 6 ก้อน บริเวณรางถ่าน 2. นำเครื่องติดต้ังบนเสาร์น้ำเกลือ แขวนถุงให้อาหารและปล่อยอาหารให้ถึงปลายสายหลังจากน้ัน Clamp สายไว้ เชน่ เดมิ 3. นำสายใหอ้ าหารตดิ เขา้ กบั ตัวล็อคสายบรเิ วณดา้ นบนเคร่อื ง 4. ตอ่ สายใหอ้ าหารเข้ากับสาย NG tube 5. เปิดใชง้ านเครื่องผ่านแอพพลเิ คชันหรอื ผา่ นการกดสวติ ช์บนตัวบอรด์ สวิตช์1 คอื ปริมาณอาหาร 300 ml สวิตช์2 คือ ปริมาณอาหาร 200ml 6. ปลดตวั Clamp สายยางให้อาหาร เพอื่ ให้อาหารไหลตามสาย 222
7. เม่อื ครบเวลา 30 นาที จะมีเสียงแจ้งเตอื นดงั ข้ึน หลังจากนัน้ ให้ญาติผดู้ แู ลทำการ Feed นำ้ ตามประมาณ 50 ml 8. หลงั จากทำการใหอ้ าหารเสร็จจดั เก็บนวตั กรรมใหเ้ รียบรอ้ ย และชาร์จบอรด์ ไว้สำหรบั ใชง้ านคร้ังตอ่ ไป 2.เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ประกอบดว้ ย 2.1. แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนท่ีเกิดข้ึนหลังใช้เคร่ืองควบคุมการให้สารอาหารทางสายยาง โดยกำหนดให้ประเมิน หลังใช้นวัตกรรม ซึ่งผู้วิจัยคัดเลือกข้อคำถามจากภาวะแทรกซ้อนท่ีพบมากท่ีสุดจากการให้อาหารผ่านทางสายยางไม่ถูกวิธี โดย อา้ งอิงจากข้อมูลการให้อาหารทางสายจมกู และภาวะแทรกซ้อนเขยี นโดย คณุ เสาวนา ปิยะพิสุทธ์ิ พยาบาลชำนาญการ ภาควิชา พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อทดสอบวา่ หลังจากการใชเ้ คร่ืองมือช่วยกำหนดระยะเวลาการให้อาหารผา่ นทางสายยาง ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการได้รับอาหารผ่านทางสายยางให้อาหาร จำนวน 5 ข้อ โดยเลือกใช้ข้อคำถามปรนัยแบบ ปลายเปิด (Closed-ended questionnaires) ใหเ้ ลอื กตอบระหวา่ ง พบหรอื ไม่พบ ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ทา่ น หลังจากปรับปรุงตามคำแนะนำจากผู้ทรงคณุ วุฒิ ผู้วิจัย นำแบบทดสอบไปทดลอง ใชก้ บั กลุ่มตวั อย่างและทดสอบหาความเท่ียง 2.2. แบบประเมินความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลที่ใช้เคร่ืองควบคุมการให้สารอาหารทางสายยาง โดยผู้วจิ ัยได้นำมาจาก แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ดูแล โดยเป็นข้อคำถามเก่ียวกับประโยชน์ความปลอดภัย และความคุ้มค่า คุ้มทุน จากการใช้ เคร่ืองมือช่วยกำหนดระยะเวลาการให้อาหารผ่านทางสายยาง (Feeding Timer) จำนวน 5 ด้าน 14 ข้อย่อย ลักษณะคําตอบ เปน็ มาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดบั การแปลผลคะแนน แบ่งออกเปน็ 5 ระดบั ดงั นี้ - คา่ คะแนนเฉลยี่ 4.51 –5.00 หมายถงึ ความพึงพอใจในระดบั มากท่ีสดุ - ค่าคะแนนเฉลี่ย 3.51- 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจในระดับมาก - ค่าคะแนนเฉลีย่ 2.51– 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจในระดบั ปานกลาง - ค่าคะแนนเฉล่ยี 1.51- 2.50 หมายถึง ความพงึ พอใจในระดับน้อย - คา่ คะแนนเฉลย่ี 1.00 –1.50 หมายถงึ ความพึงพอใจในระดบั นอ้ ยทสี่ ุด นำแบบประเมินตรวจสอบความตรงด้านภาษา โดยผู้เชี่ยวชาญ 4 ท่าน ประกอบไปด้วย อาจารย์ประจำสาขาวิชาการ พยาบาลผู้ใหญแ่ ละผู้สูงอายุ จำนวน 4 ท่าน เร่ิมจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง แล้วสร้างแบบประเมินความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงที่ สร้างข้ึนโดยผ่านผู้เชย่ี วชาญ 4 ท่าน พิจารณาความสอดคล้องของความพึงพอใจ ทำการวเิ คราะหข์ ้อมูล โดยหาค่า IOC เพอื่ นำมา ปรับปรงุ แก้ไขคณุ ภาพของเครอ่ื งมือ ความตรงเชิงเน้ือหา ทดสอบโดยการพิจารณาความสอดคล้องจากการประเมินโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ 4 ท่าน ประเมินให้ คะแนนแต่ละข้อคำถาม โดยพจิ ารณาความสอดคลอ้ งของขอ้ คำถามกบั เนื้อหา ดังนี้ ให้คะแนน +1 สำหรับขอ้ ท่แี นใ่ จวา่ สอดคล้อง ให้คะแนน 0 สำหรบั ขอ้ ทไี่ มแ่ นใ่ จวา่ สอดคลอ้ ง ใหค้ ะแนน -1 สำหรับขอ้ ที่แน่ใจวา่ ไม่สอดคล้อง หาคา่ สัมประสทิ ธ์คิ วามสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence, IOC) ซ่งึ มสี ูตรคำนวณ คือ 223
∑������ ������������������ = ������ IOC ; ความสอดคลอ้ งระหว่างวัตถปุ ระสงคก์ ับเน้อื หา ∑R ; ผลรวมของคะแนนของผเู้ ชยี่ วชาญท้ังหมด N ; จำนวนผเู้ ชย่ี วชาญ เกณฑ์การพิจารณา คือ ข้อคำถามท่ีมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป เป็นข้อคำถามท่ีใช้ได้ สว่ นข้อคำถามที่มีค่า IOC น้อยกวา่ 0.49 ลง มา เปน็ ข้อคำถามทต่ี ้องปรบั ปรงุ และตดั ออก การตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือการวิจัย ผวู้ จิ ัยนําแบบสอบถามท่ีพฒั นา ที่ผ้วู ิจัยสร้างขน้ึ เองให้ผูท้ รงคุณวฒุ ิจำนวน 4 คน ประเมินความเทยี่ งตรงเชิงเนื้อหา และ หาดัชนคี วามสอดคล้อง (IOC) จากน้ันนํามาปรบั ปรงุ แก้ไข หลังจากนัน้ นําเครื่องมือทแ่ี ก้ไขไปหาความเช่ือมนั่ โดยใช้ค่าสมั ประสิทธิ์ แอลฟาครอนบาค (Cronbach’salpha coefficient) ในผู้ปว่ ยท่มี ีลกั ษณะใกล้เคียงกบั กล่มุ ตัวอย่างจำนวน 10 คนเท่ากบั .96 วิธีการรวบรวมขอ้ มูล การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการวิจัยครงั้ น้ี ผวู้ จิ ยั ดำเนนิ การตามข้ันตอนดงั ต่อไปน้ี 1. สมุ่ ตวั อย่างจากบ้านเลขทนี่ ักศึกษาประสานงานกบั อาสาสมัครในพ้ืนท่ีแลว้ สอบถามหาผูส้ ูงอายุตดิ เตียงหรือ ที่ไมส่ ามารถรบั ประทานอาหารได้เองตามกลุ่มเปา้ หมายท่ีกำหนดเพอ่ื ทำการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2. หลังจากชี้แจงและขอความร่วมมือจากญาติและผดู้ ูแลของกลุ่มตัวอย่างแล้ว ผู้วิจัยส่งใบยินยอมการเข้าร่วม เป็นผู้ให้ข้อมูล (information consent form) ลงนามด้วยความสมัครใจและแจ้งว่า กลุ่มตัวอย่าง สามารถถอนตัวได้ตลอดเวลา โดยไมจ่ ำเปน็ ต้องแจง้ เหตุผล ผู้วิจัยเปิดโอกาสใหส้ อบถามในสว่ นทย่ี ังไม่ เขา้ ใจและเมือ่ ผู้วิจัยอธบิ ายรายละเอียดและข้อคาํ ถามของ โครงการวิจัยจนเข้าใจแล้ว ญาติและผู้ดูแลของกลุ่มตัวอย่าง สามารถนําเอกสารช้ีแจงผู้เข้าร่วมการวิจัยไปปรึกษาผู้อื่นเพื่อขอ คาํ แนะนาํ หรือความคดิ เห็นได้และ ส่งกลบั คนื มายังผวู้ จิ ยั ภายใน 1 สัปดาห์ 3. ผวู้ ิจยั ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของข้อมูลเพ่ือนาํ เข้าโปรแกรมการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การพิทกั ษ์กลุ่มตัวอย่าง ไดด้ ำเนินการตามขัน้ ตอน รายละเอยี ดดงั นี้ 1. ผู้วิจัยอธิบายข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการดำเนินการวิจัยคุณสมบัติบุคคลที่จะเข้า ร่วมการวิจัย จำนวน ผู้เข้าร่วมการวิจยั ท้ังหมด ระยะเวลาท่จี ะตอ้ งเข้าร่วมโครงการวจิ ัย ขั้นตอนการ เกบ็ รวบรวม ข้อมูล พรอ้ มท้ังประโยชน์โดยตรงกับ ผ้เู ข้าร่วมการวิจัย ประโยชน์โดยรวมท่ีได้จากการวิจยั ในครั้งน้ี และขอความรว่ มมือในการให้ข้อมูลด้วยความสมัครใจโดยไม่มีการ บังคับใดๆ และมีสิทธ์จิ ะถอนตัวออกจากการวิจัยได้ตลอดเวลาโดยไม่จำเป็นต้องอธิบายเหตุผล ผู้วิจัยแจ้งต่อผู้เข้าร่วมวิจัยทราบ พร้อมท้ังส่งเอกสารการยินยอมเข้าร่วมการวิจัยให้ผู้ที่จะเข้าร่วมการวิจัยอ่าน โดยผู้เขา้ ร่วมการวิจัยสามารถติดต่อผู้วิจัยและคณะ หรือขอคำแนะนาํ ในกรณที มี่ ีปญั หาอนั มาจากผลการวจิ ยั ไดต้ ลอดเวลาท่ที ำงานและเบอรโ์ ทรศัพท์ 0614740490 2. ผู้วิจัยเปิดโอกาสให้ผู้ที่จะเข้าร่วมการวิจัยได้สอบถามในส่วนที่ยังไม่เข้าใจและเมื่อผู้วิจัย อธิบายรายละเอียดและข้อ คําถามของโครงการวิจัยจนเข้าใจแล้ว ผู้เข้าร่วมวิจัยสามารถนําเอกสาร ชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัยไปปรึกษาเพื่อขอคำแนะนําหรือ ความคดิ เห็นจากบุคคลในครอบครวั หรือผอู้ ่ืนทต่ี ้องการไดแ้ ละสง่ กลบั คืนมายงั ผู้วิจยั ภายใน 1 สปั ดาห์ 224
3. ขณะระหว่างการดำเนินการวิจัยหากผ้เู ขา้ ร่วมวิจยั มีความประสงคอ์ อกจากการศึกษาวจิ ัย สามารถแจง้ ขอออกจากการ วจิ ัยได้กอ่ นการดำเนินการวิจยั จะเสร็จส้ิน ซึ่งการกระทำดังกล่าวจะไมม่ ีผลใดๆตอ่ กลุม่ ตัวอย่างการวิจยั ครง้ั น้ี 4. การวิจยั คร้ังน้ีได้รับอนุมัติโดยคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการทำวจิ ัยในมนุษย์ของ วิทยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนี จกั รรี ัช 5. แบบสอบถามทั้งหมดไม่ได้ระบุชื่อผู้ตอบแบบสอบถามและขอ้ มูลทั้งหมดจะไม่มีการเปิดเผย อนั นําไปสู่ความเสียหาย การนําเสนอข้อมูลจะนําเสนอในภาพรวมของผลการวิจัยเท่านั้น และข้อมูลทั้งหมดจะถูกทำลายภายใน 1 ปี ภายหลังจากที่ ผลการวิจัยได้รับการเผยแพรแ่ ลว้ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1. ทำหนังสอื ถึงผู้ดูแลผู้ปว่ ย ต.ตะคร้ำเอน จ.กาญจนบุรี 2 คน, ต.ดอนชะเอม จ.กาญจนบุรี 2 คน, ต.แก่งเส้ียน จ.กาญจนบุรี 2 คน, ต.วังศาลา จ. กาญจนบรุ ี 4 คน, ต.ท่าลอ้ จ.กาญจนบรุ ี 4 คน, ต.หลุมหิน จ.กาญจนบุรี 3 คน และ ต.หว้ ยสะพาน จ.กาญจนบรุ ี 3 คน เพ่ือขออนญุ าตเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2. พบกล่มุ ตัวอย่างเพ่ือช้ีแจงวตั ถุประสงค์ของการวิจยั และขอความร่วมมือในการดำเนินการวิจัยด้วยความสมัครใจไม่มี การบงั คับ 3. หลังจากช้ีแจงและขอความรว่ มมือจากกลุ่มตัวอย่างแล้ว ผู้วิจยั ส่งใบยินยอมการเข้าร่วมเป็นผู้ใหข้ ้อมูล (Information consent form) ลงนามด้วยความสมัครใจ และแจ้งว่ากลุ่มตัวอย่างสามารถถอนตัวได้ตลอดเวลา โดยไม่จำเป็นต้องแจ้งเหตุผล ผู้วิจัยเปิดโอกาสให้สอบถามในส่วนท่ยี ังไมเ่ ข้าใจและเมื่อผู้วิจัยอธบิ ายรายละเอียดและขอ้ คําถามของโครงการวิจยั จนเข้าใจ 4. ผวู้ จิ ัยดำเนินการตามขัน้ ตอนของรูปแบบและมีการประเมินความสามารถในการบริหารความเสี่ยงก่อนและหลังการใช้ รปู แบบ การวิเคราะห์ข้อมลู 1. บรรยายลักษณะประชากรโดยใชส้ ถิติเชงิ พรรณนา แสดงค่าความถ่ี ร้อยละ คา่ เฉลย่ี และ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 2. วเิ คราะห์ความรู้ในการดูแลการให้อาหารผา่ นสายยางให้อาหารอย่างถกู วธิ ีท่อี าจส่งผลต่อผลลัพธก์ ารวิจัยหลังจากการ ใชเ้ ครอื่ งควบคมุ การใหส้ ารอาหารทางสายยาง ใช้สถิติเชิงพรรณนา แสดงค่าความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 3. วิเคราะห์ภาวะแทรกซอ้ นท่ีเกิดขึ้นกับผู้ป่วยหลังใชเ้ คร่อื งมือช่วยกำหนดระยะเวลาการให้อาหารผ่านทางสายยาง ใช้ สถิตเิ ชงิ พรรณนา แสดงค่าความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉลยี่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 4. วิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ดูแลท่ีใช้เครื่องควบคุมการให้สารอาหารทางสายยาง ใช้สถิติเชิงพรรณนา แสดง คา่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลยี่ และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ยั การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experiment) แบบหน่ึงกลุ่มวัดหลังการทดลอง (one group posttest design) ประสทิ ธผิ ลของการใชเ้ ครื่องควบคมุ การใหอ้ าหารทางสายยาง ต่อผลลัพธ์การลด การเกิดภาวะแทรกซ้อนการให้อาหาร ทางสายยาง และความพึงพอใจของผดู้ แู ลในผู้สูงอายตุ ดิ เตยี ง ดงั ตอ่ ไปนี้ 225
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ตารางท่ี 1 ตารางแสดงข้อมูลสว่ นบคุ คลของผตู้ อบแบบประเมนิ เพศ ข้อมูล ประชากรท้ังหมด (N) = ร้อยละ (%) อายุ (ป)ี 20 คน หญิง 10 50 โรค ชาย 10 50 60 - 65 7 35 66 – 70 5 25 มากกว่า 70 8 40 โรคหลอดเลอื ดสมองตีบและเสน้ 15 75 เลอื ดสมองแตก โรคความดันโลหติ สงู 5 25 จากตารางท่ี 1 พบว่า กล่มุ ตวั อย่าง จำนวน 20 คน เป็นเพศชาย 10 คน เพศ หญิง 10 คน อายุ 60-65 ปี 7 ราย รอ้ ย ละ 35 อายุ 66-70 ปี 5 ราย ร้อยละ 25 มากกว่า 70 ปี 8 ราย ร้อยละ 40 โรคที่ทำให้ผู้สูงอายุมีภาวะติดเตียงจนไม่สามารถ ชว่ ยเหลือตนเองได้ รวมถงึ ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ ตอ้ งใสส่ ายใหอ้ าหาร พบ โรคเส้นเลือดสมองตีบ และเส้นเลือดสมอง แตก 15 ราย ร้อยละ 75 กลุม่ ตวั อยา่ งดงั กล่าวมีประวัตเิ ปน็ โรคความดนั โลหิตสงู 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 25 ตารางที่ 2 ประเมนิ ภาวะแทรกซ้อนหลงั ใชเ้ ครือ่ งควบคุมการใหอ้ าหารทางสายยางโดยผวู้ ิจัยเป็นผูป้ ระเมิน ภาวะแทรกซ้อน พบ (คน) ไม่พบ (คน) (รอ้ ยละ) 1.คลน่ื ไส้ อาเจยี น 0 20 (100) 2.ท้องอดื เช่น ท้องมลี กั ษณะบวม กดท้องแขง็ จุกแน่น 0 20 (100) 3. อาการเหนื่อย ออ่ นเพลยี ไม่มแี รง ชัก 4.สำลักอาหาร 0 20 (100) 0 20 (100) รวม ร้อยละ 100 จากตารางที่ 2 พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเมอ่ื ใช้เครอ่ื งควบคมุ การใหอ้ าหารทางสายยาง ไม่พบภาวะแทรกซ้อนขณะให้ อาหารผา่ นทางสายยางให้อาหารในระยะเวลา 30 นาที คือ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอดื เช่น ทอ้ งมีลกั ษณะบวม กดทอ้ งแข็ง จกุ แน่น อาการเหนอื่ ย ออ่ นเพลยี ไม่มแี รง ชกั และสำลกั อาหาร 226
ตารางที่ 3 ตารางแสดงระดบั ความพงึ พอใจของผดู้ ูแลทใ่ี ชเ้ ครื่องควบคมุ การใหอ้ าหารทางสายยาง รายการประเมิน x̅ SD ระดบั ผลการ ประเมิน ดา้ นการแก้ปญั หา 1.สอดคล้องตามวัตถุประสงค์และเปา้ หมายท่รี ะบุได้ 4.45 .75 มาก หรอื พัฒนา ครบถ้วน 2.สามารถนำไปพัฒนา ประยุกต์ใช้ไดก้ บั ผปู้ ่วยใส่สายให้ 4.7 .57 มากท่ีสดุ ดา้ นโครงสรา้ ง อาหารทางสายยางทุกกรณี ของนวตั กรรม 4.5 .6 มากท่ีสุด รวม 4.4 .68 มาก 3.วัสดุมีความแข็งแรง ทนทาน 4.1 .78 มาก 4.วสั ดุท่ีเลอื กใช้สามารถหาไดง้ า่ ย ราคาประหยดั ด้านการใช้งาน 5.มีความเหมาะสมของรปู รา่ ง ขนาดต่อการใชง้ าน 4.8 .41 มากที่สุด นวัตกรรม รวม 4.4 .69 มาก 4.55 .60 6.สามารถใช้งานได้ง่ายข้นั ตอนไม่ซบั ซอ้ น 4.95 .22 มากที่สดุ 7.นวตั กรรมมคี วามปลอดภยั มากท่สี ุด 8.สามารถทำความสะอาดไดง้ า่ ย 4.3 .80 มาก รวม 4.6 .64 มากที่สดุ ดา้ นผผู้ ลิต 9.มคี วามเข้าใจในการใช้นวตั กรรม 4.75 .44 มากท่ีสุด นวตั กรรม 10.สามารถถา่ ยทอดรายละเอียดและวิธกี ารใชง้ านไดอ้ ย่าง 4.65 .48 มากทสี่ ดุ ชดั เจน 11.สามารถตอบขอ้ ซักถามของผูใ้ ชง้ านได้อย่างชัดเจน 4.65 .48 มากทสี่ ดุ รวม 4.6 .64 มากท่สี ุด ดา้ นประโยชนข์ อง 12.นวตั กรรมทำใหท้ า่ นเกดิ ความสะดวกสะบายในการให้ 4.85 .36 มากทส่ี ุด นวตั กรรมต่อ อาหารทางสายยาง บคุ ลากรและ 13.นวตั กรรมมีนํา้ หนกั เบา เล็กกระทดั รดั พกพาสะดวกและ 4.9 .30 มากทส่ี ดุ ผปู้ ว่ ย เคลื่อนย้ายงา่ ย 14.นวตั กรรมมปี ระโยชนต์ อ่ ผู้ดแู ลและผูร้ บั บริการเชน่ 4.75 .44 มากที่สดุ ป้องกนั การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นและมีเสยี งเตือนเมอื่ อาหาร หมด รวม 4.8 .37 มากท่สี ุด ดา้ นจุดเด่นของ 15.มแี นวคดิ แปลกใหมไ่ ม่เคยมปี รากฎมาก่อน 4.75 .44 มากท่ีสุด นวตั กรรม 16.ใชง้ บประมาณในการผลิตนอ้ ยแต่ใช้งานไดม้ ี 4.5 .60 มาก ประสิทธิภาพ 17.มีการปรบั ปรงุ จากแนวคดิ เดมิ และนำมาพฒั นาใหม่ 4.55 .51 มากที่สุด รวม 4.6 .52 มากทีส่ ุด รวมทั้งหมด 4.62 .16 มากท่ีสดุ 227
จากตารางท่ี 3 พบวา่ ระดับความพงึ พอใจของญาตผิ ู้ดแู ลท่ีใชเ้ ครอื่ งควบคุมการให้อาหารทางสายยาง มีคะแนนความพึง พอใจเฉลย่ี เทา่ กบั 4.62 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทา่ กับ 0.16 โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี 1. ด้านการแก้ปัญหาหรือพัฒนา สอดคล้องตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ระบุได้ครบถ้วนสามารถนำไปพัฒนา ประยกุ ตใ์ ชไ้ ดก้ บั ผปู้ ว่ ยใสส่ ายใหอ้ าหารทางสายยางทุกกรณี ผูด้ ูแลมรี ะดับความพงึ พอใจ x̅ = 4.5 SD = 0.67 แปลผล มากทส่ี ดุ 2. ดา้ นโครงสรา้ งของนวตั กรรม มีความแข็งแรงทนทาน วัสดุสามารถหาไดง้ ่ายมีความเหมาะสมของรปู ร่าง ขนาดตอ่ การ ใชง้ าน ผู้ดูแลมรี ะดบั ความพงึ พอใจ x̅ = 4.4 SD = 0.69 แปลผล มาก 3. ดา้ นการใช้งานนวัตกรรม ใช้งานงา่ ยนวัตกรรมมีความปลอดภัย ทำความสะอาดได้ง่าย ผูด้ แู ลมีระดับความพงึ พอใจ x̅ = 4.6 SD = 0.64 มากทส่ี ดุ 4. ด้านผผู้ ลิตนวัตกรรม มีความเขา้ ใจในการใชน้ วัตกรรม สามารถถา่ ยทอดรายละเอียดวธิ กี ารใช้ และตอบขอ้ ซักถามของ ผู้ใชไ้ ดอ้ ยา่ งชัดเจน ผดู้ แู ลมีระดบั ความพึงพอใจ x̅ = 4.6 SD = 0.64 มากทส่ี ุด 5. ประโยชน์ของนวตั กรรมต่อบคุ ลากรและผู้ป่วย เกิดความะดวกสบายในการให้อาหาร มีน้ำหนักเบา พกพาสะดวก มี ประโยชน์ต่อผดู้ ูแลและผู้รบั บริการ ป้องกนั การเกิดภาวะแทรกซ้อนและมเี สียงเตือนเมอ่ื อาหารหมด ผู้ดูแลมรี ะดบั ความพึงพอใจ x̅ = 4.8 SD = 0.37 มากทสี่ ดุ 6. จุดเด่นของนวัตกรรม มีแนวคิดท่ีแปลกใหม่ ใช้งบประมาณในการผลิตน้อยแต่มีประสิทธิภาพมาก มีการปรับปรุง แนวคิดเดิมและนำมาพัฒนาใหม่ ผ้ดู ูแลมรี ะดับความพึงพอใจ x̅ = 4.6 SD = 0.52 มากทสี่ ุด สรปุ และอภปิ รายผล 1. กลุ่มตัวอยา่ งผู้สงู อายตุ ิดเตยี งท่ีต้องใส่สายยางให้อาหารผา่ นทางรูจมูก (nasogastric tube; NG tube) และการใส่สาย ยางทางปาก (Orogastric tube intubation) ทั้งหมด 20 คน เพศชาย 10 คน และ เพศหญงิ 10 คน เมือ่ ใช้เคร่ืองควบคุมการให้ อาหารทางสายยางคนละ 4 ครั้ง คร้ังละ 30 นาที โดยมีควบคมุ ระยะเวลา ผลการศึกษาพบว่า ผสู้ ูงอายุไม่มีเกิดภาวะแทรกซ้อน เชน่ คล่ืนไส้ อาเจียน ท้องอืด กดท้องแข็ง จุกแน่น อาการเหนอื่ ย ไม่มีแรง ชกั สำลักอาหาร และภาวะ Refeeding ทั้งนี้พบวา่ การ ปอ้ งกันการเกดิ ภาวะแทรกซ้อนน้ัน นอกจากการควบคมุ ระยะเวลายังมีชนิดและลกั ษณะของอาหาร วธิ ีการให้อาหาร การไหลของ อาหารการใหโ้ ภชนบำบัด และการตดิ ตามอาการอย่างสม่ำเสมอย่อมลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ดี และลดภาระคา่ ใช้จ่ายได้อีก ด้วย และมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายให้กับผู้ดูแล เพื่อเสริมสร้างทักษะการใช้เทคโนโลยี การใช้ โปรแกรมตา่ งๆไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ญาติผู้ดูแล จำนวน 20 คน มรี ะดับความพงึ พอใจมากทสี่ ดุ คอื ด้านการแก้ปญั หาหรือพฒั นา ดา้ นการใชง้ านนวัตกรรม ดา้ นผู้ผลิตนวัตกรรม ประโยชนข์ องนวัตกรรมต่อบคุ ลากรและผปู้ ่วย จุดเด่นของนวตั กรรม และระดบั ความพงึ พอใจระดับมาก ด้าน โครงสรา้ งของนวัตกรรม จากการศึกษาการใช้เครื่องควบคุมการให้อาหารทางสายยาง พบว่า ความพึงพอใจในการใช้นวตั กรรมใน ภาพรวมอยู่ทรี่ ะดบั ความพึงพอใจมากท่ีสุด ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.62 ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน 0.16 โดยหลงั การใชเ้ ครือ่ งมอื ประเมิน ความพึงพอใจหลังใช้เคร่ืองควบคุมการให้อาหารทางสายาง พบว่า ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจอาการและอาการแสดงของ ภาวะแทรกซอ้ น มคี วามเขา้ ใจในการใช้นวตั กรรมสามารถถ่ายทอดรายละเอยี ดและวิธีการใชไ้ ด้อย่างถูกต้อง 228
เอกสารอ้างอิง National Institute for Emergency Medicine. Emergency medical criteria: Continuous monitoring report. (NIEM). 2019. เข้าถึงเม่ือ 5 ก.ค.65. Retrieved from https://ws.niems.go.th/KPI57/2557/kpireportcontinue01.as px. Pajak, A., Krolak-Olejnik, B., & Szafranska, A. Early hypophosphatemia in very low birth weight preterm infants. Adv Clin Exp Med 2018;27(6):841-847. SN service solutions. อาหารทางสายยาง. 2564. เข้าถงึ เมื่อ 25 สงิ หาคม 2565. จาก https://snss.co.th/อาหารทางสายยาง/. กฤษณา บญุ ม่ัง และไพรนิ ทร์ ณิชาโชตสิ ฤษฏ์. Refeeding syndrome: บทบาทพยาบาลกบั การปอ้ งกัน. มหาวทิ ยาลัยสยาม 2562;20:110-119. จำนอง ชูโต, เฉลมิ ศรี นันทวรรณ, ทศั นยี ์ พฤกษาชวี ะ, สุนทรี ภานทุ ัต และอำไพวรรณ พุ่มศรสี วสั ด.ิ์ การดแู ลผสู้ งู อายทุ ่ีมี ทพุ โภชนาการ. วารสารราชธานีนวัตกรรมทางวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ 2560;1(1):1-15. ณฎั ฐวุฒิ แก้วพิทลู ย์ และสรญา แก้วพิทลู ย์. รายงานการวจิ ัยภาวะโภชนาการ ผสู้ งู อายใุ นจงั หวัดสรุ ินทร.์ นครราชสีมา: สํานักวชิ า แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี;2555. ณัฐตนิ า วชิ ัยดษิ ฐ และคณะ.การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถของผดู้ แู ลในการจัดการภาวะโภชนาการในผู้สงู อายุตดิ เตียง ทใ่ี ส่สายให้อาหารทางจมูก.วารสารสภาการพยาบาล 2561;33(4),109-123. บรษิ ัท มายาเมย์ อินเตอรเ์ ทรดดง้ิ จำกดั . เครือ่ งควบคุมอาหารทางสายยางอัตโนมตั ิ Feeding Pump. 2565. เข้าถงึ เมื่อ 16 ส.ค. 2565. จาก https://thaismegp.com/product/620725b8537f82adb2445c79. ปรียะดา ภทั รสจั จธรรม. การออกแบบการเรียนการสอนเชิงระบบโดยใช้แบบจำลอง ADDIE : การพัฒนาการคดิ แบบเมตาคอกนิ ชนั (Metacognition) ของนักศกึ ษาพยาบาล.วารสาศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร,13(2),6-16. มลู นิธสิ ถาบันวิจัยและพฒั นาผสู้ ูงอายไุ ทย (มส.ผส) ร่วมกบั สถาบันวิจยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหิดล. สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพมหานคร: อัมรนิ ทรพ์ รน้ิ ต้งิ แอนด์ พบั ลชิ ซิง่ ;2557. มลู นิธสิ ถาบันวิจัยและพฒั นาผ้สู งู อายไุ ทย. รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายไุ ทย พ.ศ. 2557. 2558. เข้าถึงเมื่อ 6 ก.ค.2565. จาก วรัทยา กลุ นธิ ิชัย. การพยาบาลเพือ่ ตดิ ตามเฝ้าระวังภาวะทพุ โภชนาการอยา่ งต่อเน่ืองในผูป้ ่วยวิกฤต. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและ ทรวงอก 2562;30(1):2-16. สมพร วรรณวงศ์. วธิ ีการดูแลแผลบริเวณกระดูกก้นกบเพ่ือป้องกันการปนเปือ้ นส่ิงขบั ถ่าย. สงขลานครนิ ทรเ์ วชสาร 2555;30(5):255-263. สาํ นักการพยาบาล. การพยาบาลผูป้ ่วยทีบ่ ้าน Home Ward. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย;2556 229
1 ทน่ี อนหลอดซับพอร์ต กนั เปือ้ น ญาดา เจริญจารโุ รจน์1*, ณัฐวดี ชา่ งสาน2 , ธมลวรรณ แกน่ อำ่ 3 , ประภามาศ ตะ๊ ตยุ๋ 4 , ปุณยนชุ โสภา ปัจจุสมยั 5 , พนาภรณ์ สังขสุจติ 6 , พฤกษา จนิ ดาพลอย7 , พิมพม์ าดา พนั ธช์ ัยทพิ ย์8 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรชั คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันบรมราชชนก *[email protected] บทคดั ยอ่ แผลกดทบั เปน็ ปัญหาสุขภาพท่สี ำคญั ท่ีพบได้บอ่ ยในผู้ปว่ ยโรคเรอ้ื รังท่ีไม่สามารถชว่ ยเหลือตนเองได้หรือผู้ป่วยที่ไม่ ร้สู กึ ตวั ซ่ึงเปน็ ผูป้ ่วยท่นี อนเตยี งนาน เมื่อเกิดแผลจะเพ่ิมความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตถึง 4-6 เท่า และมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่ออายุ มากข้ึน การใชอ้ ุปกรณ์เพื่อชว่ ยปอ้ งกนั แผลกดทับ เปน็ อีกวิธหี น่งึ ทีน่ ิยมใช้ วัตถุประสงคค์ อื เพอื่ ให้มีการลดแรงกระจายและแรง กดบรเิ วณพ้นื ผวิ สมั ผัสระหว่างผิวหนังของผู้ป่วยกับพ้นื ท่ผี ิวท่รี องรับนำ้ หนกั การให้ผู้ปว่ ยนอนบนทนี่ อนท่ีมีความนุ่มกวา่ ทีน่ อน ท่ัวไปจะสามารถชว่ ยลดแรงกระจายและแรงกดบริเวณพนื้ ผิวสัมผัสระหว่างผิวหนงั ของผู้ป่วยกบั พื้นทผี่ ิวท่ีรองรบั ไดด้ ี จึงมีการ ใชท้ ีน่ อนทมี่ ีความนุ่มที่มคี ุณสมบัตหิ ลากหลายและแตกตา่ งกนั ไปเพ่อื ป้องกนั การเกดิ แผลกดทับ ท่นี อนจากหลอดซบั พอร์ต กนั เปือ้ นเป็นแนวคดิ ของทางคณะผู้จัดทำทีไ่ ดศ้ ึกษาไดว้ า่ ลักษณะของหลอดพลาสตกิ ทเ่ี มื่อรวมตวั กันมาก ๆ แลว้ จะเกิดเป็นช่อง อากาศ เม่อื ถูกกดทับจะยบุ ตวั ตามสรรี ะแต่ไมค่ ืนตัวในทนั ทชี ว่ ยกระจายแรงกดทับและสามารถปรบั รูปทรงให้เข้ากับสรีระของ แต่คนได้ และลดการสะสมของไรฝุน่ ผศู้ ึกษาจงึ เหน็ ความสำคัญของการพัฒนานวตั กรรมทน่ี อนหลอดซบั พอร์ต กันเป้ือนและ ป้องกนั แผลกดทบั จากวัสดุเหลอื ใช้ โดยมุ่งหวังวา่ ผู้ป่วยท่ีมแี ผลกดทับ เมื่อนอนบนนวัตกรรมทน่ี อนหลอดซับพอร์ต กันเปื้อน และป้องกนั การเกดิ แผลกดทับ ผ้ปู ว่ ยและญาตมิ คี วามพงึ พอใจจากราคาถูกประหยดั ค่าใชจ้ า่ ย สะดวกต่อการใช้งาน เหมาะแก่ การนำไปเปน็ ตน้ แบบในการประยกุ ต์ใช้ในชุมชน หรือผู้ทขี่ าดแคลนทนุ ทรัพย์ในการซอ้ื ทนี่ อนเพื่อป้องกนั แผลกดทับแบบอนื่ ซง่ึ มีราคาคอ่ นขา้ งสูงและมีแนวคดิ ในการนำผ้ายางกันเปือ้ นมาประกอบติดกบั ที่นอนหลอดซับพอร์ต กันเปือ้ นเพ่ือให้สะดวกต่อ การนำมาใชแ้ ละการทำความสะอาด และเพ่ิมเติมช่องสำหรับเปล่ียนถา่ ยหลอดพลาสตกิ เกา่ ออกเพอื่ ยดื อายุการใช้งานของที่ นอนหลอดซับพอร์ต กนั เป้อื น นอกจากนไี้ ด้มีการเพ่ิมอุปกรณ์ในการช่วยพลกิ ตะแคงตวั ผ้ปู ว่ ยเพิ่มเพ่อื ชว่ ยดันผู้ป่วยโดยอาศัย หลกั การเดยี วกับท่ีนอนหลอดอีกท้งั เปน็ การนำหลอดทใ่ี ชแ้ ลว้ กลับมาแปรรปู เพ่อื ทำให้เกดิ ประโยชน์ได้ คำสำคัญ : ท่ีนอนหลอดซัพพอรต์ กนั เปอื้ น, แผลกดทบั , ผู้ปว่ ยตดิ เตียง 230
2 Mattress from plastic tube prevent dirt Yada Charoencharurot 1 , Nadtawadee Changsan2 , Thamonwan Kaenam3 , Praphamart Tatui 4 , Poonyanuch Sophapadjoosamai5 , Panaporn Sangkhasujit6 , Phrueksa Chindaphloi7 , Pimmada phanchaithip8 Abstract Pressure sores are a major health problem commonly found in chronically incapacitated or comatose patients. which is a patient who lies in bed for a long time When the injury increases the risk of death by 4-6 times and tends to increase with increasing age. Using Devices to Help Prevent Pressure Sores It is another method that is commonly used. The objective is to reduce the distribution of force and pressure on the contact surface between the patient's skin and the supporting surface area. Having the patient sleep on a mattress that is softer than normal mattresses can help reduce diffusion and pressure on the contact surface between the patient's skin and the supporting surface area. Therefore, a soft mattress with various and different properties is used to prevent the occurrence of pressure sores. Mattresses from subport tubes Apron is a concept of the organizers who have studied that Characteristics of plastic tubes that when gathered together will form air pockets. When being pressed, it will collapse according to the body but does not return immediately, helping to spread the pressure and be able to adjust the shape to suit the body of each person. and reduce the accumulation of dust mites The study therefore saw the importance of developing an innovative mattress with absorbent tubes. Waterproof and prevent pressure sores from waste materials. with the aim that patients with pressure sores when sleeping on an innovative mattress with absorbent tubes Waterproof and prevents pressure sores. Patients and relatives are satisfied from the cheap price and cost savings. convenient to use suitable for being a model for community application Or those who are short on funds to buy a mattress to prevent pressure ulcers, which are quite expensive and have the idea of bringing a rubber apron to attach to the mattress with a subport tube. Waterproof for ease of use and cleaning. And adding a hole for replacing the old plastic tube to extend the life of the mattress, anti-fouling tube. In addition, a device to help turn the patient more to help push the patient based on the same principle as the tube mattress. It is also a way to recycle used straws to make them useful. Keywords : Mattress from plastic tube prevent dirt, pressure sores, bedridden patients 231
3 บทนำ หลักการและเหตุผล แผลกดทับเป็นปัญหาสุขภาพท่สี ำคญั ที่พบได้บอ่ ยในผู้ปว่ ยโรคเรอื้ รังที่ไมส่ ามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้หรือผู้ป่วยที่ไม่ รู้สึกตัว ซงึ่ เปน็ ผู้ป่วยทีน่ อนเตยี งนาน เชน่ ผปู้ ่วยท่ีเป็นอัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง ผ้ปู ่วยทไี่ ดร้ ับบาดเจ็บจากศีรษะหรือ กระดูกสันหลัง ผู้ป่วยกระดกู ขาหักท่ีต้องใช้เครื่องดึงกระดูกหรอื เข้าเฝือกเป็นระยะเวลานาน ผู้สูงอายุทีช่ ่วยเหลอื ตนเองได้ นอ้ ย และผู้ปว่ ยระยะสุดทา้ ย โดยผ้ปู ว่ ยสงู อายุมคี วามเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเพม่ิ ขนึ้ ถึงรอ้ ยละ 70 ผู้ป่วยสูงอายุมากกว่า 70 ปี เมื่อเกิดแผลจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตถึง 4-6 เท่า และมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น ในประเทศไทยได้มี การศึกษาถงึ อบุ ัตกิ ารณก์ ารเกดิ แผลกดทบั ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรกั ษาในโรงพยาบาลในภาพรวมเมอ่ื 10 กวา่ ปที ่ผี ่านมาพบว่า สงู ถงึ ร้อยละ 6.4 ถงึ รอ้ ยละ 55 และจะสงู ขน้ึ เม่อื กลุ่มผปู้ ่วยมอี ายุมากกว่า 80 ปี (พรทพิ ย์ สารีโส, 2560) ซ่ึงเมือ่ ผปู้ ่วยนอนอยู่ กับทีน่ าน ไม่มีการเคลอ่ื นไหวสง่ ผลใหก้ ารไหลเวียนเลอื ดลดลง เนอ่ื งจากมกี ารตายของเซลลจ์ ากการทำลายท้งั ชั้นของผิวหนัง และเน้อื เยือ่ บรเิ วณแผลกดทบั ทพ่ี บบ่อยมักเป็นบริเวณ ผวิ หนงั ท่ีเป็นจุดรบั นำ้ หนักของร่างกายทมี่ ีปมุ่ ยืน่ ของกระดกู เชน่ ก้น กบ สะโพก สะบักหลงั ข้อศอกและสน้ เท้า เมือ่ เกดิ แผลกดทบั ส่งผลใหม้ ีการอักเสบของเนื้อเยื่อ เกิดการตดิ เชอ้ื ในกระแสเลือด ที่รุนแรงจนอันตรายถึงแก่ชีวติ ได้ ทำให้คา่ ใช้จ่ายในการดแู ลแผล ค่ายา และอุปกรณส์ ิน้ เปลอื งสูงขึน้ ผู้ป่วย ครอบครัว และ ผดู้ แู ล มีความทุกข์ มีความเครยี ดและวิตกกงั วล สญู เสยี ภาพลักษณ์ทำใหค้ วามร้สู กึ มคี ณุ ค่าในตนเองลดลง การใชอ้ ปุ กรณ์เพอื่ ช่วยปอ้ งกันแผลกดทบั เปน็ อีกวธิ หี นึ่งที่นิยมใช้ วตั ถุประสงค์คือเพื่อใหม้ กี ารลดแรงกระจายและ แรงกดบริเวณพ้นื ผิวสัมผัสระหวา่ งผวิ หนงั ของผ้ปู ว่ ยกับพน้ื ท่ีผวิ ท่ีรองรบั น้ำหนกั โดยเฉพาะบริเวณปุ่มกระดูก ได้แก่สะโพก ก้น กบ สะบักหลัง ตาตุ่ม และส้นเท้า เพราะเป็นบริเวณที่รับแรงกดมาก การกระจายของแรงกดมีน้อย เนื่องจากมีชั้ นของ กลา้ มเน้อื และไขมนั รองรบั น้อยจากการทบทวนการศึกษาวิจยั พบว่าการลดแรงกดเพียงเลก็ น้อยโดยใช้สิ่งนุ่มๆ รองบริเวณท่ี เกิดแผลกดทับไดง้ ่าย จะชว่ ยลดแรงกดต่อเนอ้ื เยอื่ บริเวณปุ่มโปนกระดกู ดังนนั้ การให้ผูป้ ่วยนอนบนที่นอนท่ีมีความนุ่มกว่าที่ นอนทั่วไปจะสามารถช่วยลดแรงกระจายและแรงกดบรเิ วณพ้ืนผิวสมั ผสั ระหวา่ งผิวหนงั ของผปู้ ว่ ยกบั พ้ืนท่ีผิวทรี่ องรับไดด้ ี จึงมี การใช้ที่นอนที่มีความนุ่มที่มีคุณสมบัติหลากหลายและแตกต่างกันไปเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ เช่น ที่นอนลมไฟฟ้า (Alpha bed) ทนี่ อนเจล ทีน่ อนยางพารา ทีน่ อนนำ้ และทน่ี อนลูกโปง่ เปน็ ตน้ (ปรัชญพร คำเมอื งลอื , 2564) ท่นี อนจากหลอดซบั พอรต์ กันเป้อื นเปน็ แนวคดิ ของทางคณะผู้จดั ทำทไ่ี ดศ้ ึกษาได้วา่ ลกั ษณะของหลอดพลาสติกที่ เมื่อรวมตวั กนั มาก ๆ แลว้ จะเกิดเปน็ ช่องอากาศ เมอ่ื ถูกกดทับจะยบุ ตวั ตามสรีระแต่ไมค่ ืนตวั ในทนั ทีช่วยกระจายแรงกดทับ และสามารถปรับรูปทรงให้เข้ากับสรีระของแต่คนได้ และลดการสะสมของไรฝุ่น (อภนิ ันท์ จารรุ ัตนวงศ์, 2563) ผศู้ กึ ษาจงึ เห็น ความสำคัญของการพัฒนานวัตกรรมที่นอนหลอดซับพอร์ต กันเปื้อนและปอ้ งกนั แผลกดทบั จากวสั ดุเหลือใช้ โดยมุ่งหวังวา่ ผ้ปู ว่ ยทม่ี ีแผลกดทับ เมื่อนอนบนนวตั กรรมท่นี อนหลอดซบั พอรต์ กนั เปือ้ นและป้องกนั การเกิดแผลกดทับ ผู้ป่วยและญาติมี ความพึงพอใจ จากราคาถูกประหยัดค่าใช้จ่าย และสามารถประดิษฐ์ได้ง่ายสะดวกต่อการใช้งาน เหมาะแก่การนำไปเป็น ต้นแบบในการประยุกต์ใช้ในชุมชน หรือผู้ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการซื้อที่นอนเพื่อป้องกันแผลกดทั บแบบอื่นซึ่งมีราคา คอ่ นขา้ งสูงแตจ่ ากการศึกษาและเก็บรวบรวมขอ้ มลู พบว่าทน่ี อนหลอดพลาสตกิ ในรูปแบบปกตินั้นทำความสะอาดได้ยากและ เมื่อเปื้อนสารคัดหลั่งมากๆทำให้ไม่สามารถนำมาใช้ต่อได้และจากการค้นคว้า นวัตกรรมที่นอนหลอดซับพอร์ต กันเปื้อนยัง ไมไ่ ด้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตรการประดษิ ฐ์ และลิขสทิ ธ์มิ าก่อน จากปญั หาทีพ่ บดงั กลา่ วทำใหม้ ีแนวคดิ ในการนำผ้ายางกัน เป้อื นมาประกอบตดิ กับทน่ี อนหลอดซบั พอรต์ กนั เป้ือนเพือ่ ให้สะดวกตอ่ การนำมาใช้และการทำความสะอาด และเพิม่ เติมช่อง สำหรับเปลยี่ นถ่ายหลอดพลาสตกิ เก่าออกเพือ่ ยดื อายกุ ารใชง้ านของท่ีนอนหลอดซับพอรต์ กนั เป้ือน นอกจากน้ีได้มีการเพ่ิม 232
4 อุปกรณใ์ นการช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยเพม่ิ เพ่อื ชว่ ยดันผูป้ ่วยโดยอาศัยหลักการเดยี วกับที่นอนหลอดอกี ท้ังเป็นการนำหลอดที่ ใช้แลว้ กลับมาแปรรูปเพื่อทำให้เกิดประโยชนไ์ ด้ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างนวัตกรรมที่นอนหลอดซับพอร์ต กันเปื้อน ที่ช่วยลดแผลกดทับและป้องกันการเปื้อนสารคัดหลั่งของ ผู้ปว่ ย 2.เพอื่ ศกึ ษาประสิทธิภาพของนวัตกรรมท่ีนอนหลอดซับพอรต์ กนั เป้อื น ตอ่ ความพึงพอใจของผู้ป่วยและผูด้ ูแล สมมตุ ฐิ านการวจิ ยั นวตั กรรมทนี่ อนหลอดซบั พอร์ต กนั เป้ือน สามารถช่วยลดแผลกดทับและปอ้ งกันการเปอ้ื นสารคดั หลั่งของผ้ปู ่วยได้ดี และใช้งานได้จริง ขอบเขตงานวิจัย 1.ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา การทำวิจัยครัง้ น้ีเป็นวิจัยกึง่ ทดลอง (Quasi Experimental Research ) แบบกลุ่มเดียววัดหลงั การทดลอง (One Group Posttest Design)โดยวัตถปุ ระสงค์ เพ่ือศึกษาประสิทธภิ าพของนวัตกรรมทน่ี อนหลอดซบั พอรต์ กนั เป้อื น ต่อความพึง พอใจของผ้ปู ว่ ยและผดู้ แู ล - ตัวแปรตน้ ไดแ้ ก่ ท่ีนอนหลอดซับพอร์ตกันเป้ือน - ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ผลความพึงพอใจ 2.ขอบเขตดา้ นพ้นื ทท่ี ศี่ กึ ษา วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั และหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านโป่ง 3.ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ประชากร คือ ผ้ปู ว่ ยหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลบา้ นโปง่ จังหวดั ราชบรุ ี กล่มุ ตวั อยา่ ง คือ ผูต้ ดิ เตียงในหอผู้ปว่ ยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลบ้านโป่งจังหวัดราชบุรี เป็นการสุ่มแบบเจาะจง เนื่องจากเป็นตัวแทนของกลุ่มตัวอยา่ งประชากรในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง ผู้วิจยั ได้ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติท่ี กำหนดดังนี้ คือ ผู้ป่วยชายหญงิ ไทย ท่ตี ดิ เตยี งต้ังแตร่ ะยะเวลา 1 เดอื นข้นึ ไป ทั้งมีโรคประจำตวั และไม่มโี รคประจำตัว และมี การกำหนดค่าจากแบบประเมนิ Barthel Activities of Daily Living : ADL ตั้งแต่ 1-11 คะแนน ที่สามารถสื่อสารได้ร้เู รื่อง จำนวน 10 คน ท่เี ขา้ รับการรักษาทโ่ี รงพยาบาลบ้านโปง่ จังหวัดราชบุรี 233
5 4.ขอบเขตด้านเวลา ระยะเวลาในการดำเนินงานวิจัยต้งั แตเ่ ดอื นมิถนุ ายน-เดือนตุลาคม พ.ศ.2565 นยิ ามศัพท์ ท่นี อนหลอดซพั พอร์ต กนั เป้ือน คือ ทน่ี อนที่นำหลอดที่ใช้แล้วมาลา้ งและฆา่ เชอื้ ด้วยนำ้ ยาฆ่าเชือ้ นำมาตัดเป็นชิ้น เลก็ ๆ และนำมาประกอบเปน็ ไส้ฟกู ทนี่ อน อปุ กรณ์พลิกตะแคง หมอน ซึ่งเปน็ ทรงสี่เหลย่ี มผืนผ้าที่มีลกั ษณะเป็นร่องๆ นำเทป ตีนตุก๊ แกมาติดด้านข้างของตัวทน่ี อน และอปุ กรณ์พลิกตะแคง เพอ่ื ให้สามารถนำมาประกอบกนั เม่อื ตอ้ งการใชไ้ ด้ โดยทีน่ อนที่ ทำจากหลอดจะสามารถระบายอากาศได้ดี ไม่อบั ชน้ื รวมทั้งสามารถพับจดั เกบ็ ไดง้ ่าย ผู้ป่วยติดเตียง หมายถึง ผู้ป่วยที่มีความเจ็บป่วยเรื้อรังจนเกิดสภาวะร่างกายเสื่อมโทรม ทำให้ไม่สามารถใช้ ชวี ติ ประจำวันได้เหมือนคนปกติ หรือช่วยเหลือตนเองไดน้ อ้ ย หรืออาจไม่สามารถชว่ ยเหลือตนเองไดเ้ ลยแม้แตน่ อ้ ย ผู้ปว่ ยจึงไม่ อาจเลย่ี งทีจ่ ะต้องนอนอยู่บนเตยี งเป็นเวลานานๆได้ แผลกดทับ หมายถงึ แผลท่เี กิดจากการกดทับลงไปเป็นเวลานาน ทำให้ผิวหนงั หรอื เนือ้ เย่อื ใตผ้ วิ หนงั ถกู ทำลายแบบ เฉพาะท่ี เกิดเน้ือตายและแผลขึ้นมา อาจมีอาการเจบ็ ปวดร่วมดว้ ย ส่วนใหญ่จะเกิดบริเวณป่มุ กระดกู ตา่ งๆ เกณฑ์การประเมนิ /ตัวชี้วดั ผปู้ ่วยติดเตยี ง จำนวน 10 คน มีความพงึ พอใจต่อนวัตกรรมในระดับมากทส่ี ดุ ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ท่ใี ช้ในการประดษิ ฐ์คิดคน้ 1.ทีน่ อนหลอดซับพอร์ต กันเปื้อน มปี ระสิทธภิ าพชว่ ยลดและป้องกนั แผลกดทบั ให้ผใู้ ชง้ านได้ 2.เพือ่ เพ่มิ ความสะดวกสบายในการช่วยพลกิ ตะแคงตัวผปู้ ่วย 3.ผ้ใู ช้งานทีน่ อนหลอดซับพอร์ต กันเป้อื น มคี วามพึงพอใจหลังจากการใชง้ านในระดับดี วธิ ีการดำเนินงาน รปู แบบของการวจิ ยั การวิจัยครั้งน้ี เป็นการวิจยั กึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) แบบกลุ่มเดยี ว วัดก่อนและหลงั ทดลอง นวัตกรรม (One Group Posttest Design) โดยมีวัตถปุ ระสงค์ เพือ่ เปรียบเทียบความพงึ พอใจในการใช้ท่ีนอนแบบทั่วไปกับที่ นอนหลอดซับพอร์ตกนั เปือ้ น ในหอผปู้ ่วยแผนกอายุศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลบา้ นโป่ง จงั หวัดราชบุรี 234
6 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากร ได้แก่ ผู้ป่วยตดิ เตียงท่มี ีแผลกดทบั และมีผดู้ ูแลผปู้ ว่ ย กลมุ่ ตวั อย่างท่ีใช้ในงานวจิ ยั คร้งั นี้ คอื ผปู้ ่วยตดิ เตยี งในโรงพยาบาลบา้ นโป่ง หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย จำนวน 10 คน โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง และ มีการกำหนดค่าจากแบบประเมิน Barthel Activities of Daily Living : ADL ในชว่ ง ≤ 11 คะแนน ท่ีสามารถออกส่ือสารไดร้ เู้ รื่อง กำหนดเกณฑ์การคัดเลอื กเขา้ กลุ่ม 1.เป็นผูป้ ว่ ยตดิ เตยี งท่ีมีแผลกดทับโดยมกี ารรกั ษาตวั อยู่ในโรงพยาบาล 2.ผปู้ ว่ ยมคี ะแนน Barthel Activities of Daily Living : ADL ในช่วง ≤ 11 คะแนน 3.ผู้ดแู ลยินดเี ข้ารว่ มในการวจิ ยั โดยเซ็นใบยินยอมเข้าร่วมในการวิจยั เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั 1. ประเมินความพึงพอใจในการนอนท่ีนอนทั่วไป โดยประเมินก่อนใช้งานใช้นวตั กรรม โดยแบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มลู เก่ียวกบั สถานภาพและข้อมูลพืน้ ฐานของผตู้ อบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ คะแนนADL น้ำหนัก ส่วนสูง ระยะเวลาทีน่ อนตดิ เตยี ง ชนิดของทนี่ อนเดิมท่ใี ช้ ตอนที่ 2 การประเมนิ ความพงึ พอใจในการนอนที่นอนแบบทัว่ ไปของผู้ใชน้ วตั กรรมจำนวน 9 ขอ้ แบ่งเปน็ 3 ด้าน ได้แก่ ด้าน ความสะดวกสบายในการใช้งานจำนวน 4 ข้อ ด้านความปลอดภัยในการใช้งานจำนวน 2 ข้อ และด้านความคุ้มค่า คงทน จำนวน 3 ข้อ โดยกำหนดระดบั ความพึงพอใจเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ความพึงพอใจมากทีส่ ุด = 5 ความพงึ พอใจระดับมาก = 4 ความพึงพอใจกับปานกลาง = 3 ความพึงพอใจกบั ระดับน้อย = 2 ระดับความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด = 1 และแปลผล ระดบั ความพงึ พอใจแบ่งเปน็ 4 ระดบั ไดแ้ ก่ 1-9 คะแนน มรี ะดบั ความพงึ พอใจนอ้ ย คิดเป็น 20% 10-18 คะแนน ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง คดิ เป็น 40% 19-27 คะแนน มีระดับความพงึ พอใจมาก คดิ เปน็ 60% 28-45 คะแนน มรี ะดับความพงึ พอใจมากท่สี ดุ คิดเป็น 80% ตอนที่ 3 การประเมินความพงึ พอใจในการนอนทีน่ อนนวตั กรรมทน่ี อนหลอดซบั พอรต์ กันเปือ้ น ของผ้ใู ช้นวัตกรรมจำนวน 11 ข้อ แบง่ เปน็ 3 ดา้ น ได้แก่ ด้านความสะดวกสบายในการใช้งานจำนวน 4 ข้อ ดา้ นความปลอดภยั ในการใช้งานจำนวน 2 ข้อ และด้านความค้มุ คา่ คงทนจำนวน 3 ข้อ และด้านประสิทธภิ าพ จำนวน 2 ข้อ โดยกำหนดระดับความพึงพอใจเปน็ 5 ระดับ ไดแ้ ก่ ความพึงพอใจมากท่ีสุด = 5 ความพึงพอใจระดับมาก = 4 ความพึงพอใจกบั ปานกลาง = 3 ความพึงพอใจกับระดับ น้อย = 2 ระดบั ความพงึ พอใจระดับนอ้ ยท่ีสุด = 1 และแปลผลระดับความพงึ พอใจแบ่งเป็น 4 ระดับ ไดแ้ ก่ 235
7 1-11 คะแนน ระดบั ความพงึ พอใจน้อย คดิ เปน็ 20% 12-22 คะแนน มรี ะดับความพึงพอใจปานกลาง คิดเป็น 40% 13-33 คะแนน มรี ะดบั ความพงึ พอใจมาก คดิ เป็น 60% 34-44 คะแนน มรี ะดบั ความพึงพอใจมากท่ีสุด คิดเป็น 80% การตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมอื 1.การหาความตรงตามเนอ้ื หาของเครอื่ งมือ (Content validity) ความพงึ พอใจผลของการใช้นวตั กรรมที่นอนหลอดซบั พอร์ตกนั เปือ้ น ที่ผ้วู จิ ัยจะสรา้ งขนึ้ ได้นำไปตรวจสอบหาความ ตรงของเน้อื หา (Content validity) โดยผ้ทู รงคุณวุฒจิ ำนวน 3 ท่าน ประกอบดว้ ย อาจารยพ์ ยาบาล 3 ทา่ น ตรวจสอบเน้ือหา โครงสร้างและความเหมาะสมของภาษา พร้อมทั้งข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยมีการปรับปรุงแก้ไข และนำมาปรับปรุงแก้ไขตาม ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิคำนวณหาค่าดัชนีตรงตามเนื้อหา IOC (Index of Item - Objective Congruence) โดยใช้ เกณฑ์ +1 หมายถึงคำถามนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าคำถามนั้นสอดคล้องกับวัตถุปร ะสงค์ -1 หมายถึงคำถามนั้นไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ แปลผล ถ้า IOC 2 0.5 แสดงว่าข้อคำถามนั้นวัดได้ตรง (ใช้ได้) IOC< 0.5 แสดงวา่ ข้อคำถามนั้นวัดได้ไม่ตรง (ตดั ทิ้ง) 2.การหาความเชือ่ ม่ันของเคร่ืองมอื (Reliability) การใช้แบบสอบถามในกลุ่มผู้ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 10 คน ได้ค่า Reliability โดยใช้ สัมประสิทธิ์ของแอฟฟา (alpha - coefficient) ของครอนบาค (Cronbach, 1970) ซง่ึ มสี ตู ร ดังน้ี การเก็บรวบรวมข้อมลู การวิจัยครั้งนี้ ผ้วู จิ ัยดำเนนิ การรวบรวมขอ้ มลู ด้วยตนเอง โดยนำหนงั สือแนะนำตวั ถึงผ้อู ำนวยการของ โรงพยาบาล บ้านโปง่ จังหวดั ราชบุรี เพอื่ ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวจิ ัยและขอความร่วมมือในการรวบรวมข้อมลู เมื่อได้รับหนังสืออนุมัติ ผวู้ จิ ยั พบหัวหนา้ ตกึ ผปู้ ว่ ยศลั ยกรรมรวม เพอ่ื ช้แี จงวตั ถุประสงค์และขอความร่วมมือ จากนนั้ ผวู้ จิ ยั ขอสำรวจผู้ปว่ ยทไ่ี ด้นอนติด เตียงทมี่ คี ณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ทกี่ ำหนด เพอ่ื คัดเลอื กกลุ่มตัวอยา่ งท่ีมีให้ไดจ้ ำนวนตามตอ้ งการ และดำเนินการในกลุ่มทดลอง ดงั น้ี 236
8 ขน้ั ท่ี 1ขั้นตอนการเตรยี ม 1.จดั เตรยี มเคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั 2.ดำเนนิ การสรา้ งนวัตกรรม 3. จัดทำแผนดำเนินการทดลอง โดยการประสานงานกับหอผู้ปว่ ยศลั ยกรรมรวม โรงพยาบาลบา้ นโป่ง จงั หวัดราชบรุ ี 4. ชี้แจงเกี่ยวกับการเก็บข้อมูลและการนําเครื่องมือไปใช้กับทีมวิจัย โดยผู้วิจัยชี้แจง วัตถุประสงค์ของการวิจยั รายละเอียดเกี่ยวกบั การดำเนินการทดลอง การใช้แบบสอบถาม ความพึงพอใจ ให้เข้าใจจดุ มุ่งหมายของการวจิ ัยและเปดิ โอกาสให้ซักถาม 5. คัดเลอื กกลุ่มตวั อย่างตามคณุ สมบัตทิ ่กี ำหนดไว้และกลุ่มตัวอย่างเซน็ ช่อื เขา้ รว่ มวจิ ัย ขั้นท่ี 2 ระหว่างการทดลอง 1. เตรียมผู้ดูแลเมื่อได้คุณสมบตั ิตามท่ีกำหนด โดยสร้างสมั พนั ธภาพกบั ผูด้ ูแล ซกั ถามอาการ ผู้ป่วย แนะนาํ ตวั บอก วตั ถปุ ระสงคแ์ ละประโยชนใ์ นการเขา้ ร่วมวจิ ัยรวมทง้ั สทิ ธทิ ีจ่ ะปฏเิ สธในการเข้าร่วม 2. แนะนาํ วิธีการใชน้ วตั กรรมทีน่ อนหลอดซบั พอร์ตกันเป้ือน 3. เปดิ โอกาสให้ผู้ดแู ลซักถามปัญหาและข้อสงสัย ขั้นที่ 3 หลงั การทดลอง 1. แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และสร้างแรงจงู ใจในการใช้นวัตกรรม 2. ประเมนิ ผลการใช้นวัตกรรมโดยให้ผ้ดู ูแลตอบสอบถามความพึงพอใจของการใชน้ วัตกรรม 3. ผ้วู จิ ัยกลา่ วขอบคณุ ผดู้ ูแลท่ใี หค้ วามรว่ มมอื ในการทดลอง การวเิ คราะห์ข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมขอ้ มลู ได้ตามความต้องการแล้ว นําข้อมูลทั้งหมดมาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ แล้ว ทำการ วิเคราะห์เพอ่ื พิสจู น์สมมตฐิ าน และนาํ มาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู โดยมสี ถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี 1. ขอ้ มูลทั่วไปของกลุม่ ตัวอย่าง วเิ คราะหด์ ้วยการแจกแจงความถ่ีและหาค่ารอ้ ยละ 2. วิเคราะหค์ ะแนนความพึงพอใจของผู้ดูแลผู้ปว่ ยนอนตดิ เตียงของหอศลั ยกรรมรวม โรงพยาบาลบา้ นโป่ง จังหวัด ราชบรุ ี โดยหาค่ารอ้ ยละ คา่ เฉล่ียและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 237
9 การพทิ ักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วจิ ัยไดน้ ำโครงรา่ งวิจัยเสนอตอ่ คณะกรรมการ จรยิ ธรรมของวทิ ยาลยั พยาบาลชนนี จักรรรี ัช กอ่ นทำการศกึ ษาวิจยั และผู้วิจยั พิทักษส์ ิทธิของกลมุ่ ตัวอย่าง แก่ผดู้ แู ลต้งั แตเ่ ร่ิมตน้ ของการเก็บรวบรวมขอ้ มูล โดยผวู้ ิจยั ขอความยินยอมจากกลุ่ม ตัวอย่างทัง้ หมด โดย การชีแ้ จงวัตถุประสงค์ วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูลของ”นวัตกรรมที่นอนหลอดซับพอร์ตกันเป้ือน” โดย กลุ่มตัวอยา่ งสามารถซักถามขอ้ สงสัยจากผูว้ ิจยั และช้ีเแจง้ ให้ทราบวา่ การตอบรบั หรือปฎิเสธการเขา้ ร่วมวิจยั จะไม่มีผลกับกล่มุ ตวั อย่าง และมสี ิทธยิ ุติวิจัยไดท้ กุ เมื่อ ขอ้ มูลของกลุ่มตวั อย่างจะเก็บไว้เปน็ ความลับ และนำมาใชใ้ นการวิจัยเท่าน้ัน หากมีข้อ สงสยั สามารถสอบถามผวู้ จิ ัยได้ตลอดเวลา ผ้วู จิ ัยทำลายเอกสารเมื่อส้ินสุดการวิจัยและขอ้ มูลทไี่ ด้มานำไปเสนอเป็นภาพรวม หากกลมุ่ ตวั อยา่ งยนิ ดีเข้ารว่ มการวจิ ัยขอความร่วมมือกล่มุ ตวั อยา่ งเซน็ ใบยนิ ยอม สถิตทิ ่ีใชก้ ารวิเคราะห์ขอ้ มูล ผู้วจิ ยั นำข้อมลู ท่ีได้มาวเิ คราะหม์ รี ายละเอียดดงั น้ี 1. เกณฑก์ ารคดั เลอื กกลมุ่ ตัวอยา่ ง โดยขอ้ มูลทั่วไปของกลมุ่ ตวั อย่างมาแจกแจงความถแ่ี ละคำนวณคา่ ร้อยละ 2.คะแนนความพงึ พอใจตอ่ นวตั กรรมจากกลมุ่ ตัวอย่าง โดยหาค่าเฉล่ยี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน วิธีการดำเนินงาน(ตามหลัก PDCA) ขน้ั ตอนการเตรียม Plan 1.กำหนดหัวขอ้ ปญั หา 2.สำรวจปญั หาในปจั จุบัน 3.วิเคราะหส์ าเหตุ และกำหนดแนวทางแกไ้ ข 4.กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ และขอบเขตการดำเนินงาน 5.วางแผนดำเนินงาน 6.แบ่งหนา้ ที่ และมอบหมายความรบั ผดิ ชอบ การดำเนินการ Do 1.ดำเนินการตามแผนทีว่ างไว้ -รวบรวมขอ้ มลู จาก หนงั สือ ส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ และงานวิจยั ต่างๆ -ออกแบบช้ินงานนวตั กรรม -จดั หาวัสดุอุปกรณ์ ดงั นี้ 238
10 -ประดษิ ฐ์ช้นิ งานนวตั กรรม ขน้ั ตอนการติดตาม Check 1.ประเมินชน้ิ งาน โดยใชแ้ บบประเมินความพงึ พอใจ 2.สรปุ ผลการประเมินโดยใชค้ ะแนนการประเมนิ ตามความจรงิ ขั้นตอนการนำผลการประเมินไปปรบั ปรุงพัฒนา Act ปรับปรุงแกไ้ ขในส่วนที่มปี ัญหา และตามข้อเสนอแนะจากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ผลการดำเนนิ การ การศกึ ษาคร้ังนเี้ ป็นการศึกษา “นวตั กรรมท่ีนอนหลอดซบั พอร์ต กนั เปือ้ น” มีวัตถุประสงค์เพ่อื ท่ีชว่ ยลดแผลกดทับ และปอ้ งกนั การเป้ือนสารคดั หลั่งของผู้ป่วย และเพอื่ ทดสอบประสิทธภิ าพของนวัตกรรมท่ีนอนหลอดซับพอร์ต กันเป้ือน ต่อ ความพงึ พอใจของผู้ป่วยและผดู้ แู ล ผลของการดำเนินงานนำเสนอในรูปแบบ แบบประเมนิ ความพึงพอใจการใชง้ านนวัตกรรม แบ่งเป็น 3 ส่วน ดังน้ี 1. ประเมนิ ความพึงพอใจในการนอนทีน่ อนทว่ั ไป โดยประเมินก่อนใช้งานใช้นวัตกรรม โดยแบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น ดงั น้ี ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพและข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ คะแนนADL น้ำหนัก ส่วนสูง ระยะเวลาทน่ี อนตดิ เตยี ง ชนิดของทน่ี อนเดิมทใ่ี ช้ ตารางที่ 4.1 จำนวนและค่าร้อยละของขอ้ มลู เกีย่ วกบั สถานภาพและข้อมลู พ้ืนฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ คะแนนADL น้ำหนกั สว่ นสงู ระยะเวลาที่นอนติดเตียง ชนดิ ของทน่ี อนเดิมทีใ่ ช้ ข้อมลู ข้อมูลพนื้ ฐาน จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 2 50.00 หญงิ 2 50.00 รวม 4 100.00 อายุ ต่ำกวา่ 60 ปี 1 25.00 60 – 80 ปี 2 50.00 มากกวา่ 80 ปี 1 25.00 รวม 4 100.00 คะแนน ADL 0- 4 คะแนน 1 25.00 239
11 ข้อมูลข้อมูลพ้ืนฐาน จำนวน ร้อยละ 3 75.00 (ภาวะพึง่ พาโดยสมบรู ณ์) 0 00.00 5 – 8 คะแนน 0 00.00 4 100.00 (ภาวะพึง่ พารุนแรง) 0 00.00 9 - 10 คะแนน 1 25.00 2 50.00 (ภาวะพงึ่ พาปานกลาง) 0 00.00 11 - 20 คะแนน 1 25.00 (ไมเ่ ป็นการพง่ึ พา) รวม คา่ BMI ค่า BMI < 18.5 (นำ้ หนกั นอ้ ยหรือผอม) คา่ BMI 18.5 – 22.90 (อย่ใู นเกณฑป์ กติ) ค่า BMI 23 – 24.90 (นำ้ หนกั เกนิ ) คา่ BMI 25 – 29.90 (โรคอ้วนระดบั ที่ 1) ค่า BMI 30 ข้นึ ไป (โรคอ้วนระดบั ท่ี 2) รวม 4 100.00 ระยะเวลาท่ีนอนตดิ เตียง 1 25.00 ต่ำกวา่ 10 ปี 3 75.00 10-20 ปี 0 00.00 มากกวา่ 20 ปี 4 100.00 รวม 4 100.00 ชนิดของท่นี อนเดิมทีใ่ ช้ ที่นอนใยมะพรา้ ว รวม 4 100.00 จากตารางที่ 4.1 จำนวนและค่าร้อยละของข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพและข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ เพศ อายุ คะแนนADL คา่ BMI ระยะเวลาที่นอนติดเตียง ชนิดของท่ีนอนเดมิ ทใ่ี ช้ พบว่ากลมุ่ ตวั อยา่ งเปน็ เพศชายร้อย ละ 50 เพศหญงิ ร้อยละ 50 ช่วงอายุต่ำกว่า 60 ปรี อ้ ยละ 25 ชว่ งอายุ 60–80 ปี รอ้ ยละ 50 ชว่ งอายุมากกว่า 80 ปี รอ้ ยละ 25 240
12 คะแนน ADL ภาวะพึ่งพาโดยสมบูรณ์ร้อยละ 25 ภาวะพึ่งพารุนแรงร้อยละ 75 ค่า BMI อยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ 25 อยู่ใน เกณฑ์นำ้ หนักเกินรอ้ ยละ 50 อยู่ในเกณฑ์โรคอ้วนระดบั ที่ 2 ร้อยละ 25 ระยะเวลาที่นอนติดเตียง ต่ำกว่า 10 ปี ร้อยละ 25 ระยะเวลา 10-20 ปี ร้อยละ 75 ชนดิ ของที่นอนเดิมทใี่ ช้ เป็นท่ีนอนยางพาราร้อยละ 100 ตอนที่ 2 การประเมินความพงึ พอใจในการนอนท่นี อนแบบทั่วไปของผ้ใู ช้นวัตกรรม ตารางท่ี 4.2 จำนวน ร้อยละ ค่าเฉล่ยี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการประเมินความพึงพอใจในการนอนทนี่ อนแบบท่ัวไป ของผใู้ ช้นวตั กรรม ระดับความพึงพอใจ เกณฑก์ าร ลำดับ รายการ 5 4 3 2 1 N ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ S.D. ประเมิน 1 เมอ่ื นอนแล้วไมร่ ู้สึกปวดคอ หลงั เอว 0 0 1 3 0 4 2.25 15 0.43 น้อย หรอื แขน ขา 0 0 2 2 0 4 2.5 30 0.50 นอ้ ย 2 นอนแลว้ รสู้ กึ พอดีตัว ไม่อึดอดั 3 นอนแล้วไมร่ สู้ ึกร้อน ระบายอากาศไดด้ ี 0 0 1 1 2 4 1.75 35 0.83 นอ้ ย 4 เมอ่ื นอนแลว้ รสู้ กึ ผอ่ นคลายขึ้น สบาย 000224 1.5 40 0.50 นอ้ ยทีส่ ุด ข้นึ 002204 2.5 30 0.50 น้อย 220004 4.5 90 0.50 มาก 5 ทน่ี อนมคี วามยืดหยุ่น หนาแนน่ รับ น้ำหนกั ตัวได้ดี 6 ท่ีนอนมคี วามแขง็ แรง คงทน 7 ทน่ี อนทำความสะอาดได้ง่าย สามารถ 0 1 0 1 2 4 2 40 1.22 นอ้ ย ใชง้ านไดน้ าน 8 เมอื่ นอนแล้วไมเ่ กดิ แผลกดทบั เพิม่ จาก 0 0 3 1 0 4 2.75 45 0.43 ปานกลาง เดิม 9 เม่อื นอนแล้วไมเ่ กิดอาการบาดเจ็บ 0 0 2 2 0 4 2.5 30 0.50 นอ้ ย ระคายเคอื ง รวม 7 7 14 16 7 36 2.47 39.44 0.60 น้อย จากตารางท่ี 4.2 การประเมินความพงึ พอใจในการนอนที่นอนแบบทั่วไป พบว่า ผู้ทดลองมีความพึงพอใจในการนอน ท่นี อนแบบเดิมอยใู่ นระดบั น้อย (x̅ = 2.47, S.D.= 0.6 ) เม่ือพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ เมือ่ นอนแลว้ ไมร่ สู้ ึกปวดคอ หลัง เอว หรอื แขน ขา(x̅ = 2.25, S.D.= 0.43) นอนแลว้ รูส้ กึ พอดีตวั ไม่อดึ อดั (x̅ = 2.5, S.D.= 0.5 ) นอนแลว้ ไม่รู้สกึ รอ้ น ระบายอากาศ ได้ดี(x̅ = 1.75, S.D.= 0.83) เม่ือนอนแลว้ รู้สกึ ผอ่ นคลายข้นึ สบายข้นึ (x̅ = 1.5, S.D.= 0.5 ) ท่ีนอนมคี วามยืดหยุ่น หนาแน่น รับน้ำหนักตัวได้ดี(x̅ = 2.5, S.D.= 0.5 ) ที่นอนมีความแข็งแรง คงทน(x̅ = 4.5, S.D.= 0.5 ) ที่นอนทำความสะอาดได้ง่าย สามารถใช้งานได้นาน(x̅ = 2, S.D.= 1.22 ) เมื่อนอนแลว้ ไมเ่ กิดแผลกดทับเพ่มิ จากเดิม(x̅ = 2.75, S.D.= 0.43 ) เม่อื นอนแล้ว ไม่เกิดอาการบาดเจบ็ ระคายเคือง(x̅ = 2.5, S.D.= 0.6 ) 241
13 ตอนท่ี 3 การประเมนิ ความพงึ พอใจในการนอนทนี่ อนนวัตกรรมทีน่ อนหลอดซบั พอร์ตกันเป้อื น ตารางที่ 4.3 จำนวน ร้อยละ คา่ เฉลยี่ และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานของการประเมนิ ความพึงพอใจในการนอนท่นี อนนวัตกรรม ทนี่ อนหลอดซบั พอรต์ กันเป้อื น ลำดับ ระดบั ความพึงพอใจ เกณฑก์ าร รายการ 5 4 3 2 1 N ค่าเฉล่ีย ร้อยละ S.D. ประเมิน 1 เมื่อนอนแลว้ ไมร่ ู้สกึ ปวดคอ หลัง เอวหรือ 1 3 0 0 0 4 4.25 85 0.43 มาก แขน ขา 4.25 85 0.43 มาก 2 นอนแลว้ ร้สู กึ พอดีตัว ไม่อึดอัด 13000 4 มาก มากสดุ 3 นอนแล้วไมร่ ้สู ึกรอ้ น ระบายอากาศไดด้ ี 1 1 2 0 0 4 3.75 75 0.83 มาก 4 เมื่อนอนแล้วรูส้ ึกผ่อนคลายข้ึน สบายข้ึน 4 0 0 0 0 4 5 100 0.00 ปานกลาง มาก 5 ที่นอนมคี วามยืดหย่นุ หนาแนน่ รบั น้ำหนกั 1 2 1 0 0 4 4 80 0.71 3.5 70 0.50 มากสดุ ตวั ได้ดี มาก 6 ทน่ี อนมคี วามแข็งแรง คงทน 02200 4 มาก 7 ที่นอนทำความสะอาดได้งา่ ย สามารถใช้ 2 1 1 0 0 4 4.25 85 0.83 มาก งานไดน้ าน 4.75 95 0.43 มาก 8 เมือ่ นอนแล้วไม่เกิดแผลกดทบั เพมิ่ จากเดมิ 3 1 0 0 0 4 9 เม่อื นอนแลว้ ไม่เกดิ อาการบาดเจ็บระคาย 2 2 0 0 0 4 4.5 90 0.50 เคอื ง 10 นวตั กรรมมีน้ำหนักเบา สะดวกต่อการ 12100 4 4 80 0.71 เคลือ่ นยา้ ย 11 งา่ ยตอ่ การทำความสะอาดเม่ือมีสารคดั 2 0 2 0 0 4 4 80 1.00 หลง่ั เปรอะเปอ้ื นทนี่ อน รวม 18 17 9 0 0 44 4.20 84.09 0.58 จากตารางที่ 4.2 การประเมินความพงึ พอใจในการนอนที่นอนหลอดซับพอรต์ กนั เป้ือน พบว่า ผู้ทดลองมคี วามพึง พอใจในการนอนท่นี อนหลอดซบั พอร์ตกนั เป้ือนอยใู่ นระดับมาก (x̅ = 4.20, S.D.= 84.09 ) เม่ือพิจารณาเปน็ รายข้อพบวา่ เมอ่ื นอนแล้วไมร่ ู้สกึ ปวดคอ หลัง เอวหรอื แขน ขา(x̅ = 4.25, S.D.= 0.43) นอนแลว้ รู้สึกพอดตี วั ไม่อดึ อัด(x̅ = 4.25, S.D.= 0.43 ) นอนแล้วไมร่ สู้ กึ ร้อน ระบายอากาศได้ดี(x̅ = 3.75, S.D.= 0.83) เมือ่ นอนแล้วรสู้ ึกผ่อนคลายขน้ึ สบายขน้ึ (x̅ = 5, S.D.= 0.00 ) ที่นอนมีความยดื หยนุ่ หนาแน่น รบั นำ้ หนกั ตัวไดด้ (ี x̅ = 4, S.D.= 0.71 ) ทนี่ อนมคี วามแขง็ แรง คงทน(x̅ = 3.5, S.D.= 0.50 ) ท่ีนอนทำความสะอาดได้งา่ ย สามารถใช้งานไดน้ าน(x̅ = 4.25, S.D.= 0.83 ) เมื่อนอนแลว้ ไม่เกิดแผลกดทับเพิ่มจากเดิม(x̅ = 4.75, S.D.= 0.43 ) เมอื่ นอนแล้วไมเ่ กิดอาการบาดเจ็บระคายเคือง(x̅ = 4.5, S.D.= 0.50 ) นวตั กรรมมนี ำ้ หนักเบา สะดวกต่อ การเคลอื่ นย้าย(x̅ = 4, S.D.= 0.71) ง่ายตอ่ การทำความสะอาดเมือ่ มีสารคดั หลั่งเปรอะ-เปือ้ นทีน่ อน(x̅ = 4, S.D.= 1.00 ) 242