Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 17319-6116-PBเตรียมขึ้นTDC

17319-6116-PBเตรียมขึ้นTDC

Published by Sucheera Panyasai, 2022-05-27 03:34:20

Description: 17319-6116-PBเตรียมขึ้นTDC

Keywords: วิชาการสุขภาพ

Search

Read the Text Version

วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ Journal of Health Sciences Scholarship ---------------------------------------- เจ้าของ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก ท่ปี รึกษาวารสารวชิ าการ บรรณาธกิ าร: ดร.ยงยุทธ แกว้ เต็ม ผ้ชู ่วยบรรณาธกิ าร: ดร.ศรีประไพ อนิ ทรช์ ยั เทพ ศส.ุขเชภี่ยาวพชภาญาคพเิเหศษนอื ดร.สัญชัย จุตรสทิ ธา สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศ.ดร.นพ.พงศเ์ ทพ วิวรรธนะเดช นักวิจยั อสิ ระ ผอ. วาสนา มั่งคง่ั ผู้อานวยการวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง กองบรรณาธกิ าร ศ.ดร.นพ.พงศเ์ ทพ วิวรรธนะเดช นักวิจยั อสิ ระ รศ.ดร.เดชา ทาดี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ผศ.ดร.สุขศริ ิ ประสมสุข คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี ผศ.ดร.สมพร สนั ตปิ ระสทิ ธ์กิ ุล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง ผศ.ดร.รุ่งฤดี วงคช์ ุม คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลยั พายพั ผศ.ดร.มยุรฉตั ร กันยะมี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ (มศว.) ดร.กาญจนาณฐั ทองเมอื งธัญเทพ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วทิ ยาเขตนครสวรรค์ ดร.พัฒนา นาคทอง มหาวิทยาลยั เนชนั่ ลาปาง ดร.พทิ ยา ศรีเมือง วิทยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร ขอนแกน่ ดร.มธุรดา บรรจงการ วทิ ยาลยั พยาบาลพระปกเกลา้ จันทบรุ ี ดร.ชศู กั ดิ์ ยนื นาน วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่ ดร.เอกรัตน์ เช้ืออินถา วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.ธีรารัตน์ บุญกณุ ะ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.อจั ฉรา สิทธริ ักษ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง คณะกรรมการบริหารจัดการ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง อ.จิตอารี ชาติมนตรี นางสาวเบญจวรรณ ยศเสนา

นโยบายและขอบเขตการตพี มิ พ์ วารสารมีนโยบายการเผยแพร่บทความท่ีมีคุณภาพ ด้านสุขภาพและสาธารณสุขซ่ึงนิพนธ์โดยพยาบาล แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร นักกายภาพบาบัด ฯลฯ ซ่ึงปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข สาธารณสุขชุมชน อนามัยสิ่งแวดล้อม และ บทความด้านการพยาบาลท่ัวไป ทฤษฎีการพยาบาลและการวิจัยการพยาบาลข้ันสูงและการพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีผู้ นพิ นธ์จากทั้งภายในและภายนอกสถาบนั ประเภทบทความท่ีรบั ตีพิมพ์ 1.บทความวิจยั (Research article)คอื รายงานผลการศึกษา คน้ ควา้ วิจัยหรือการพฒั นาอย่างเป็นระบบ 2. บทความวิชาการ (Academicarticles) คือ งานเขียนซ่ึงเป็นเร่ืองที่น่าสนใจ เป็นความรู้ใหม่ มีการใช้แนวคิดทฤษฎี ผลงานวิจัยจาก แหลง่ ขอ้ มลู 3. บทความปริทัศน์ (ReviewArticle) คือ บทความที่มีการผสมผสานแนวคิดและผลการวิจัยหลายๆ งานวิจัย โดยผู้เขียนจะสังเคราะห์ แนวคิด ตลอดจนสังเคราะห์ผลการวิจัยจากงานวิจัยต่างๆ เพ่ือประมวลเป็นข้อโต้แย้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพื่อเป็นการทบทวนการก้าวหน้าทาง วชิ าการของเร่ืองนัน้ ๆ โดยใหข้ อ้ วิพากษท์ ่ชี ้ใี ห้เห็นแนวโน้มท่ีควรศึกษาและพัฒนาต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่และส่งเสริมความรู้ด้านการพยาบาล การแพทย์ และการสาธารณสุขท่ีเป็นประโยชน์ผ่านบทความ วชิ าการและผลงานวิจัย 2. เพอื่ เปน็ แหลง่ เสนอผลงานวิชาการสาหรบั สมาชกิ ทางการพยาบาล การแพทย์ การสาธารณสุข และศาสตร์อื่น ๆ ท่ีเกีย่ วข้องในเชงิ สุขภาพ 3. เพอ่ื เสริมสรา้ งนักวิชาการท่ีตอ่ ยอดเป็นองคค์ วามรู้อนั เป็นประโยชน์ทางการพยาบาล การแพทย์ การสาธารณสุข และศาสตร์อ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องในเชิงสุขภาพ 4. เพ่อื เปน็ สอื่ กลางในการแลกเปลย่ี นความรู้ ประสบการณ์ทางวชิ าการ และการติดตอ่ สมั พันธข์ องนกั วชิ าการในเชิง สขุ ภาพ สานกั งาน กองบรรณาธิการวารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื กล่มุ วจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง268ถนนป่าขามตาบลหวั เวยี ง อาเภอเมอื ง จงั หวัดลาปาง 52000 โทรศัพท์ 054-226254 ต่อ 141 โทรสาร 054-225-020 Email: [email protected] กาหนดออกวารสาร: ราย 6 เดือน (ปีละ 2 ฉบับ) มกราคม-มถิ นุ ายน และ กรกฎาคม-ธนั วาคม ทกุ บทความทต่ี ีพมิ พใ์ นวารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือนี้ ผ่านการพจิ ารณากลัน่ กรองจากผทู้ รงคณุ วฒุ ิท่ีมคี วามเชี่ยวชาญในเร่อื งนั้น ๆ อย่างน้อย 2 ทา่ น ความคดิ เห็นหรือขอ้ ความใด ๆ ในทุกบทความที่ตีพมิ พใ์ นวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื เป็นวรรณกรรมของผ้เู ขียนโดยเฉพาะและถอื เป็นความรบั ผิดชอบของผูเ้ ขียนเท่านนั้ ทางสถาบนั ผู้จดั ทาไม่จาเปน็ ต้องเห็นด้วย ไม่มขี อ้ ผกู พันประการใด ๆ และไมม่ ีส่วนรับผิดชอบแตอ่ ย่างใด

รายนามผู้ทรงคณุ วฒุ ติ รวจสอบเน้อื หาบทความเพือ่ ลงตีพมิ พ์ (Peer reviewers) วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ศ.ดร.นพ.พงศเ์ ทพ วิวรรธนะเดช นักวิจยั อิสระ รศ.ดร.เดชา ทาดี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ รศ.ดร.จักรกฤษณ์ พิญญาพงษ์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฎอุตรดิตถ์ ผศ.ดร.สขุ ศริ ิ ประสมสขุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี ผศ.ดร.สมพร สันตปิ ระสทิ ธก์ิ ุล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง ผศ.ดร.มยุรฉตั ร กนั ยะมี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ (มศว) ผศ.ดร.รงุ่ ฤดี วงค์ชมุ คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลยั พายพั ผศ ดร ทศั นยี ์ นะแส คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ดร.กาญจนาณฐั ทองเมอื งธญั เทพ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วทิ ยาเขตนครสวรรค์ ดร.พัฒนา นาคทอง มหาวิทยาลัยเนชัน่ ลาปาง ดร.พิทยา ศรีเมือง วิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร ขอนแก่น ดร.มธรุ ดา บรรจงการ วทิ ยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบรุ ี ดร.ชูศักด์ิ ยนื นาน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่ ดร.สวุ ฒั นา คาสุข วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.เอกรัตน์ เชื้ออินถา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.เชษฐา แก้วพรม วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี แพร่ ดร.อัญญา ปลดเปล้อื ง วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั ดร.สมปรารถนา สุดใจนาค วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี ดร.ยุทธศลิ ป์ ชูมณี สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงราย ดร.สุวมลิ แสนเวียงจนั ทร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพธนบุรี ดร.ธรี ารตั น์ บุญกุณะ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.อัจฉรา สิทธิรกั ษ์ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.ศรปี ระไพ อนิ ทร์ชัยเทพ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.ยงยุทธ แก้วเต็ม วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง

รายนามผูท้ รงคณุ วุฒติ รวจสอบเนือ้ หาบทความเพือ่ ลงตพี มิ พ์ (Peer reviewers) วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (ตอ่ ) รศ.ดร.จตุรงค์ เหมรา มหาวิทยาลยั การกีฬาแห่งชาติ วทิ ยาเขตลาปาง ผศ.ดร.เวหา เกษมสุข คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผศ.ภก.ดร.วนิ ยั สยอวรรณ วิทยาลัยเทคโนโลยที างการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กาญจนาภเิ ษก ดร. สุดคนงึ ฤทธฤ์ิ าชยั วิทยาลัยนกั บริหารสาธารณสขุ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ภญ.ดร.วรัญญา อรุโณทยานนั ท์ วทิ ยาลยั เทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กาญจนาภเิ ษก นพ.สิทธิ์ ภคไพบูลย์ ผอู้ านวยการโรงพยาบาลปางศิลาทอง กาแพงเพชร ดร.ดลนภา ไชยสมบัติ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา ดร.กนกวรรณ เอ่ียมชัย วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี พะเยา ดร อรญั ญา นามวงศ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา ดร จารณุ ี รัศมสี ขุ โรงพยาบาลสวนปรุง จงั หวัดเชยี งใหม่ ดร.พรรณี ไพศาลทักษนิ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.ณฏั ฐฐ์ ภรณ์ ปญั จขันธ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.รุ่งกาญจน์ วฒุ ิ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร บุศรนิ ทร์ ผดั วัง วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร วนั วิสาข์ ชจู ิตร วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.กัญญณ์ พัชญ์ ศรีทอง วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.วภิ า เอยี่ มสาอางค์ จารามลิ โล วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.ศรจี นั ทร์ พลับจน่ั วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร พยอม ถน่ิ อ่วน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดร.ดจุ เดือน เขยี วเหลือง วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี อตุ รดิตถ์ ดร.ดวงดาว เทพทองคา วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี อตุ รดติ ถ์ ดร.วรงรอง นลิ เพช็ ร์ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สงขลา

สารบัญ ซอลฟ์ สกิล: ทกั ษะท่ีจาเป็นสาหรับวิชาชพี พยาบาลสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น อาเภอบ้านโฮง่ 1 จังหวัดลาพูน 18 ภารดี ชาวนรนิ ทร์, สมฤดี กรี ตวนิชเสถยี ร, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรี, มยรุ ี กมลบุตร, 39 ปราชญา ศภุ ฤกษ์โยธนิ 52 68 การเรยี นรสู้ ู่การเปลย่ี นแปลง: การสอนแบบใชผ้ ู้เช่ยี วชาญโดยประสบการณ์ เพอ่ื พฒั นานักศกึ ษา 90 พยาบาลด้านทกั ษะการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและการแก้ปญั หา 103 124 จันทรจ์ รี า ยานะชยั , ประจวบ แหลมหลัก สมรรถนะของพยาบาลด้านการจัดบรกิ ารวัคซีนปอ้ งกนั โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อญั ญา ปลดเปล้ือง ปจั จยั ทานายการควบคมุ ความดนั โลหติ ของผเู้ ป็นโรคความดนั โลหติ สูงในเขตอาเภอเมอื ง จงั หวดั ลาปาง เอกรตั น์ เชอื้ อนิ ถา, กรรณิการ์ กองบุญเกดิ , อจั ฉรา สทิ ธริ กั ษ์ การจดั บรกิ ารเลิกบุหร่ีในสถานศึกษา : ความเปน็ ไปได้ รูปแบบ ปญั หาและอปุ สรรค ดลนภา ไชยสมบัติ, อัมพร ยานะ, บวั บาน ยะนา การถอดบทเรยี นการจดั บริการคลนิ กิ หมอครอบครวั :บทบาทพยาบาลวิชาชพี ในทมี สหวิชาชีพศนู ย์ สขุ ภาพชมุ ชนเขตเมอื ง โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลบา้ นศรหี มวดเกล้า อาเภอเมอื ง จงั หวดั ลาปาง สุวฒั นา คาสขุ , บศุ รา ทัศนวจิ ติ ร, จาเนยี ร วรรณารักษ์, ณัฏฐฐ์ ภรณ์ ปัญจขนั ธ์  คุณภาพชวี ติ ของผสู้ ูงอายทุ ีม่ ภี าวะพึ่งพงิ เทศบาลตาบลปา่ ตนั นาครัว อารษิ า เสารแ์ กว้ ผลของการใหก้ ารบาบดั แบบสนั้ ท่ีเชอ่ื มตอ่ จากการคัดกรองดว้ ยASSIST ตอ่ พฤติกรรมการดืม่ แอลกอฮอลแ์ บบเสย่ี งปานกลางของผู้ติดเช้ือเอชไอวี ณ คลินิกยาต้านไวรสั โรงพยาบาลเกาะคา จงั หวดั ลาปาง พณั ณิตา มหาราช

สารบญั (ตอ่ ) ความรอบรูด้ ้านการใช้ยาอย่างสมเหตผุ ลของนักศกึ ษาพยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาลของรฐั ในจงั หวัด 144 เชียงใหม่ 161 เกศราภรณ์ ชูพนั ธ์, พนดิ า พาลี, กานต์รวี คาชั่ง, ทวี เรืองโฉม 176 การศกึ ษาผลการใช้สอื่ ภาพกระบวนการแปรงฟันในการช่วยสอื่ สารกระบวนการแปรงฟันแก่เดก็ ทมี่ ี ความต้องการพิเศษโดยผ้ปู กครองที่บ้านโรงเรยี นวัดชา่ งเคีย่ น จ.เชียงใหม่ ทศั นา ฤทธิกลุ , พัชราภรณ์ กาวิละ, น้าผึง้ รัตนพิบลู ย์, กรวิภา วุฒจิ ูรีพนั ธุ์, วสิ เพ็ญ กจิ ธเนศ, สุทธิกานต์ กนั ตี, ภาวณิ ี วรรณศรี, เดชา ทาดี ประสิทธิผลของการพอกเข่าสมนุ ไพรร่วมกบั สง่ เสริมการดแู ลตนเอง ตอ่ อาการปวดเขา่ ความสามารถใน การเดนิ และการเคลื่อนไหวขอ้ ในผู้สูงอายโุ รคข้อเข่าเสื่อม วนิดา อนิ ทราชา, พยอม ถ่นิ อ่วน, อาทติ ย์ วจกี รรม สถานการณก์ ารเกดิ วณั โรคของผตู้ ้องขังในเรือนจา อาเภอเมอื งลาปาง จงั หวดั ลาปาง 194 ประดษิ ฐ นริ ตั ศิ ัย การศึกษาลักษณะทางคลินกิ และปัจจยั ทีส่ ัมพนั ธ์กบั อาการรนุ แรงของการติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 210 ในเด็ก โรงพยาบาลพระนารายณม์ หาราช ลพบรุ ี หทัยรตั น์ อจั จิมานนท1์ *, พนิดา สุขประสงค*์ *, สุพรรษา อาไพร การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชผ้ ปู้ ว่ ยมาตรฐานในสถานการณเ์ สมือนจรงิ ต่อผลลัพธ์การเรยี นรูใ้ น 228 รายวชิ าสขุ ภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช วนิ ัย รอบคอบ, ศรีประไพ อินทร์ชยั เทพ, วรภรณ์ ทนิ วัง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งความรอบรู้ทางสุขภาพกับการชะลอการเสอ่ื มของไตในผูป้ ่วยไตเร้อื รังท่ีมีโรครว่ มเปน็ 253 ความดนั โลหติ สงู หรือเบาหวาน อาเภองาว จังหวัดลาปาง ปรวิ ฒั น์ อนิ ทร์นวล,วัฒนา ตาแสน, กฤษฎิ์ ทองบรรจบ, ศรปี ระไพ อนิ ทรช์ ยั เทพ

สารจากบรรณาธิการ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2565 ฉบับนี้ เป็นฉบับแรกของปีท่ี 9 สาหรับการ ดาเนินงานวารสาร และเป็นก้าวต่อไปของวารสารที่ได้สง่ ผลการการดาเนนิ งานทผ่ี ่านมาเพ่อื เขา้ รับการประเมนิ การ ปรับกลุ่มคุณภาพวารสารวิชาการท่ีอยู่ในฐานข้อมูล TCI รอบท่ี 4 ครั้งท่ี 3 (2565-2567) และเราจะมุ่งม่ันพัฒนา คณุ ภาพวารสารให้มีคคุณภาพดียง่ิ ๆ ขึน้ ไป วารสารฉบบั นย้ี ังคงประกอบดว้ ยบทความวิชาการและบทความวิจยั ทีม่ คี วามหลากหลายเช่นเคย อาทเิ ช่น 1) ด้านการศึกษาเป็นการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง การใช้ สถานการณจ์ าลองกบั หุน่ ผูป้ ่วยเสมอื นจริงสงู การสอนแบบวิธีการใชผ้ ้เู ช่ียวชาญโดยประสบการณ์ และความรอบรู้ ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของนักศึกษาพยาบาล 2) ด้านความรอบรู้ทางสุขภาพกับการชะลอการเส่ือมของไต ปัจจัยทานายการควบคุมความดันโลหิตในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 3) ด้านสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ได้แก่ ซอล์ฟสกิลทักษะที่จาเป็นสาหรับพยาบาล บทบาทพยาบาลในทีมหมอครอบครัว และสมรรถนะด้านการ จัดบริการวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 4) ด้านการวิจัยในชุมชน ได้แก่ การใช้ส่ือภาพในการ สื่อสารกระบวนการแปรงฟันแก่เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง การ จัดบริการเลิกบุหร่ีในสถานศึกษา และ 5) ดา้ นการวิจัยในกลุ่มเปราะบาง ไดแ้ ก่ การบาบดั แบบส้ันฯ การคัดกรอง พฤติกรรมการดม่ื แอลกอฮอล์ผู้ตดิ เช้ือเอชไอวี และสถานการณ์การเกิดวัณโรคของผู้ตอ้ งขังในเรือนจา อาเภอเมือง จังหวดั ลาปาง ซง่ึ แต่ละเรื่องลว้ นมคี วามน่าสนใจแทบทงั้ ส้นิ บทความทุกเร่ืองได้ผ่านการพิจารณากล่ันกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องจากหลาย ๆ หนว่ ยงานทั้งจากสถาบนั การศกึ ษาและหนว่ ยงานภายนอกท่เี กย่ี วขอ้ ง จึงขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒทิ ี่กรณุ าสละ เวลาในการประเมินบทความและงานวิจัยเพื่อให้ข้อคิดเห็นในการปรับปรุงคุณภาพของงานและมีส่วนร่วมในการ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานของวารสารฯ ให้ดียิ่งข้ึน ขอขอบคุณสมาชิกทุกท่านที่ให้การสนับสนุนการดาเนินงาน ของวารสารเป็นอย่างดีรวมถึงท่านท่ีส่งบทความเข้ามาเพื่อเผยแพร่ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าวารสารฉบับนี้จะเป็นเวที ทางวชิ าการท่ีจะกระตุ้นความคิดและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของนักวิจัย นักวิชาการและผู้อา่ นทุกท่าน ทางวารสาร ยนิ ดีรับขอ้ เสนอแนะจากทุกช่องทางเพื่อการปรับปรุงวารสารใหม้ คี ณุ ภาพยง่ิ ขึ้นต่อไป ขอเชญิ ท่านตดิ ตามเนือ้ หาท่ี นา่ สนใจได้ภายในฉบบั พบกันใหม่ ฉบบั หน้าครับผม ยงยทุ ธ แก้วเต็ม บรรณาธกิ าร

Soft skills: Skills needed for nurses Paradee Chaonarin1*, Somruidee Keeratavanithsathian* Mayuree Kamolabutra*,Prachya Supharoekyothin* (Received: November 5, 2021, Revised: November 29, 2021, Accepted: December 13, 2021) Abstract Nursing and midwifery practitioners need two skills, hard skills, and soft skills, which are equally essential. Hard skills deal with the academic skill which use for the operation to be by professional standards. Soft skills will lead the practitioners to be successful in working on Humanize Nursing Care. Soft skills deal with emotional and socializing skills which are rather abstract and more difficult to measure and evaluate than academic skills. Soft skills derive from learning, working experience, practicing, working with others. Soft skills are specific and necessary for the nursing profession, they are cover emotional intelligence skills, communication skills, interaction with other skills, leadership skills, teamwork skills, analytical thinking skills, creative thinking skills, and problems solving skills. These skills suit and conform to core competencies for nursing and midwifery practitioners which sets by the Nursing and Midwifery Council. It is important and necessary to develop soft skills for practitioners by approaching through training programs and learning management meanwhile measurement and evaluating should be managed continuously. Each organization may select some soft skills that math up core competencies or need to develop which will be a benefit to the nursing profession, colleagues, and service recipients. Keywords: Nurses; Soft skills * Instructor, Nursing faculty, Bangkok Thonburi University Corresponding 1Corresponding author: [email protected] โทร 086-366-6001 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1

ซอลฟ์ สกิล : ทกั ษะท่ีจำเปน็ สำหรบั วชิ าชพี พยาบาล ภารดี ชาวนรนิ ทร์1*, สมฤดี กีรตวนชิ เสถยี ร*, มยรุ ี กมลบุตร*,ปราชญา ศภุ ฤกษ์โยธนิ * (วนั ทร่ี บั บทความ : 5 พฤศจิกายน 2564 , วันแกไ้ ขบทความ: 29 พฤศจิกายน 2564, วนั ตอบรบั บทความ: 13 ธันวาคม 2564) บทคดั ย่อ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์จำเป็นต้องใช้ทักษะทั้งสองด้านที่มีความสำคัญควบคู่กัน ได้แก่ ทักษะด้านวิชาการ (Hard skills) ซึ่งเป็นทักษะสำหรับการปฏิบัติงานให้ได้ตามมาตรฐานวิชาชีพและทักษะ ด้านอารมณ์และสังคม (Soft skills) ที่ทำให้การปฏิบัติงานนั้นสำเร็จ ในการดูแลผู้รับบริการด้วยหัวใจความเป็น มนุษย์ ทักษะด้านอารมณ์และสังคม (Soft skills) เป็นทักษะที่มีความเป็นนามธรรมสูงวัดและประเมินผลได้ยาก กว่าทักษะด้านวิชาการ Soft skills เกิดขึ้นได้จากการเรยี นรู้ ประสบการณ์การทำงาน จากการฝึกฝน และจากการ ทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื Soft skills ท่เี ป็นคณุ ลกั ษณะเฉพาะตัวท่ีจำเป็นสำหรับวิชาชีพพยาบาล เชน่ ทักษะความฉลาด ทางอารมณ์ ทักษะในการส่ือสาร ทักษะการมีปฏสิ มั พนั ธ์กับผู้อืน่ ทกั ษะภาวะผ้นู ำ ทกั ษะการทำงานเปน็ ทีม ทักษะ การคิดวเิ คราะห์ ทกั ษะความคิดสรา้ งสรรค์ และทกั ษะการแก้ปัญหาเปน็ ตน้ บทความนี้ประกอบด้วย ความหมาย คุณลักษณะและความสำคัญของ Soft skills ต่อการปฏิบัติงานและ ความสำคญั ของการพัฒนา Soft skills ในวิชาชพี พยาบาล ซึ่งทกั ษะเหล่านีม้ คี วามสอดคล้องกับสมรรถนะหลักของ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลผดุงครรภ์ที่กำหนดโดยสภาการพยาบาล Soft skills จึงมีความสำคัญและจำเป็น อย่างยิ่งที่ต้องพัฒนาให้กับวิชาชีพพยาบาลโดยใช้กระบวนการการฝึกอบรมหรือการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ตลอดจนมีการประเมินผลสม่ำเสมออย่างต่อเนื่องโดยอาจเลือก Soft skills ที่มีความสอดคล้องกับสมรรถนะหลัก หรือสอดคล้องกับความต้องการขององค์กรมาพัฒนา อันจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งทั้งต่อวิชาชีพพยาบาลเอง ผูร้ ว่ มงานและผลลัพธท์ ีด่ ีตอ่ ผรู้ ับบรกิ าร คำสำคญั พยาบาล ; ซอล์ฟสกลิ * อาจารย์ประจำคณะพยาบาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพธนบรุ ี ผปู้ ระพันธ์บรรณกิจ [email protected] โทร 086-366-6001 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1

3 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) บทนา ยุคศตวรรษที่ 21 เร่ิมตั้งแต่ปี 2000 จนถึงปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคมเทคโนโลยี อย่างรวดเร็ว ต่อเนื่องตลอดเวลา ซ่ึงการเปลี่ยนจากยุคอุตสาหกรรมเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สังคมใน ปัจจุบันและในโลกอนาคตมีการแข่งขันสูงข้ึนก่อให้เกิดความซับซ้อนของปัญหาต่างๆ เป็นยุคที่ต้องใช้ความรู้และ ทักษะชีวิตหลายอย่าง มาเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน จึงจะทาให้การดาเนินงานขององค์กรเป็นไปอย่าง ราบร่ืน สาเร็จตามเป้าหมาย จากนโยบายและจุดเน้นในการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาการปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป.ศธ.) ได้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล รวมทั้งบริบทที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิรูปการศึกษา เพ่ือนาไปกาหนดเป็นนโยบายและจุดเน้นการจัดการศึกษา โดยยึดกรอบการปฏิรูปการศึกษา น้อมนาพระราชกระแสรับส่ังของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้านการศึกษา ที่จะต้องมุ่งสร้างพ้ืนฐานให้เด็ก เยาวชน และผู้เรียนมีทัศนคติท่ีถูกต้องในเรื่องสถาบันหลักของชาติ สร้างพ้ืนฐานชีวิตด้านอุปนิสัยท่ีเข้มแข็งสร้าง ความรู้ และทักษะ เพ่ือให้มีอาชีพมีงานทา และได้นาเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 -2580) จดุ เน้นด้านการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและทรัพยากรมนุษย์ ทม่ี ุ่งใหค้ นไทยเป็นคนดี คนเก่งมคี ณุ ภาพในทกุ สาขาอาชีพ การจัดการศึกษาจึงมีความจาเป็นต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะชีวิตหลายๆด้าน เช่น การส่ือสาร การคิดวิเคราะห์ ความสามารถในการแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอน ในเชงิ แสดงความคิดเหน็ เพ่อื เปิดโลกทศั นม์ มุ มองร่วมกนั ของผู้เรียนและครใู หม้ ากขึ้น จดั การเรยี นรู้พฒั นาผเู้ รยี นให้ มีความรอบรู้ทง้ั ทักษะทางวชิ าการและทักษะชีวิต เพ่ือเป็นเครื่องมอื ในการดารงชวี ิตและสร้างอาชพี เพื่อให้บัณฑิต มคี วามพรอ้ มสาหรับวถิ ีชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 (Ministry of Education, 2017). Soft skills แปลเป็นภาษาไทยว่า จรณทักษะ (Chindarat, P., 2014). เป็นทักษะท่ีไม่ใช่ทักษะด้าน วิชาการ (Academic skills) หรือทักษะทางปัญญา (Cognitive skills) Soft skills มีการกล่าวถึงมานาน และมี การปรับเปลี่ยนคามาอย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่ปี คศ. 1993 เช่นใช้คาว่า Life skill, Transversal skills, Generic competence, Key competence, Transferable skills, 2 1 st century skills, Non- technical skill ห รื อ Future work skills คาว่า Soft skillsเร่ิมนามาใช้ในปี 2014 (Advance Collegiate Schools of Business :AACSB, 2016) Soft skills เป็นกลุ่มทักษะทางด้านอารมณ์และสังคม ดังน้ันการจะเกิด Soft skillsได้ ต้องลงมือ ปฏิบัติ ฝึกฝน ให้มีประสบการณ์ โดยอาศัยการเรียนรู้นอกห้องเรียนเป็นหลัก เพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนค่านิยม การมีคุณธรรม จริยธรรม มีวนิ ัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ Soft skills มีความคล้ายคลึงกบั ทักษะ ในศตวรรษที่ 21 Soft skills กล่าวถึงทักษะที่จาเป็นต้องใช้ในการดาเนินชีวิตหรือการทางาน เช่น ทักษะในการ ส่ือสาร และปฏสิ ัมพนั ธ์กับผู้อนื่ รวมไปถึงทักษะด้านการพูดในที่สาธารณะ ทักษะในการทางานร่วมกับผู้อื่น ทักษะ ในการเป็นผู้นา ทักษะการเรียนรู้ และการปรับตัวตามสถานการณ์ ทักษะการทางานเป็นทีม ทักษะในการคิด วิเคราะห์ ทักษะในการแก้ปัญหา และทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ และการคิดแก้ปัญหา เป็นต้น กลุ่มทักษะ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

4 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) เหล่านี้เป็นทักษะที่ผู้ปฏิบัติงานทุกคนรวมถึงพยาบาลควรมีเพ่ือช่วยในการปฏิบัติงานและร่วมกันเป็นพลัง ขับเคล่ือนการพัฒนาของประเทศชาติและวิชาชีพต่อไป (Wattanabutr, B., 2020) นอกจากน้ีองค์การ UNESCO ยังได้กล่าวถึงทักษะพื้นฐานท่ีควรมีในการทางานของทุกอาชีพ ได้แก่ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การคิด วิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ การทางานเป็นทีม หรือ ทักษะการสื่อสาร (Sornkasetrin, A., Rongmuang,D., & Chandra,R., 2019). วิชาชีพพยาบาลจาต้องมีการปรับตัวให้เท่าทันต่อการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็วและก้าวกระโดด กับงานท่ีท้าทายมากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จาเปน็ ต้องใช้ท้ังความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานและการปรับตัวที่ จะต้องนาทักษะชีวิตตา่ งๆ เช่น ทักษะทางการสอ่ื สาร ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการทางานเป็นทมี เป็นต้น มา ปรับตัวต่อการเผชิญสถานการณ์ท่ีต้องพบกับผู้ป่วย ญาติและผู้ร่วมงาน ที่มีความต้องการหลากหลายรูปแบบ ทั้งหมดต้องอาศัยการส่ือสาร ความร่วมมือระหวา่ งกันท่ีเน้นความถูกตอ้ ง ครอบคลุมกระชับ ตรงประเดน็ ซ่ึงจะลด ปัญหาข้อขัดแยง้ ระหว่างพยาบาล ผู้รับบริการและผู้ร่วมวชิ าชีพได้ พยาบาลจึงมีความจาเปน็ อย่างย่ิงท่ีตอ้ งมที ักษะ ทางอารมณ์และสังคมที่ดี อันจะนาไปสู่การให้บริการท่ีปลอดภัย สามารถส่งผลโดยตรงกับผู้ป่วยให้ได้รับคุณภาพ การพยาบาลที่ดี วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือใหท้ ราบถงึ ความสาคญั ของ Soft skills ต่อการปฏิบตั ิงาน 2. เพอื่ ให้ทราบถงึ ความสาคญั ของการพฒั นา Soft skills ในวชิ าชีพพยาบาล ขอบเขตบทความ ขอบเขตเน้อื หาในบทความน้ปี ระกอบดว้ ย บทนาเก่ียวกับ Soft skills ความหมายและคณุ ลกั ษณะของ Soft skills ความสาคัญของ Soft skills ต่อการปฏบิ ัติงาน ความสาคญั ของการพฒั นา Soft skills ในวชิ าชพี พยาบาล และ Soft skills ทจี่ าเป็นตามสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ความหมายและคุณลกั ษณะของ Soft skills Soft skills คือกลุ่มของคุณสมบัติด้านมนุษยสัมพันธ์ที่เป็นคุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล (Rattanawat, P.,2021 pp.59-69). สามารถจาแนกได้เป็น 3 หมวดหมู่ใหญ่ๆ ได้แก่ ทักษะส่วนบุคคล ทักษะทาง สงั คม และทกั ษะเชงิ ระบบ โดยลักษณะของกลุ่มทกั ษะเหล่านี้จะมีความสมั พนั ธซ์ ง่ึ กันและกนั ดังน้ี 1. ทักษะส่วนบุคคล (personal skills) หมายถึง ความสามารถของบุคคลที่ช่วยให้ประสบความสาเร็จใน ชีวิต และการทางาน เช่น ความรับผิดชอบ ความมุ่งม่ัน การมีแรงจูงใจในการทางาน ความมีวินัยในตนเอง การ ตระหนักในตนเอง ความม่ันใจในตนเอง การคิดบวก หรือ การมองโลกในแง่ดี ความตระหนักในตนเองสามารถ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

5 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) สร้างแรงบันดาลใจให้กับตนเองและผูอ้ ่ืนได้ คนที่มีแรงจูงใจในตนเอง จะมีความสามารถในการเรียนรสู้ ่ิงต่างๆ เป็น คุณสมบตั ิท่ีสามารถนาไปพัฒนา Soft skills ในดา้ นอนื่ ๆ ด้วย 2. ทักษะทางสังคม (social skills) หมายถึง ทักษะการติดต่อทางสังคม และการส่ือสารกับบุคคล เช่น การส่ือสารกับเพ่ือนร่วมงาน หัวหน้างาน ผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย รวมท้ังสหสาขาวิชาชีพต่างๆ ตัวอย่างของทักษะทาง สังคม ได้แก่ ความเหน็ อกเหน็ ใจ การรับคาวจิ ารณ์ และการทางานเปน็ ทีมและการจัดการ. ผปู้ ระกอบการส่วนใหญ่ มีความต้องการพนักงานท่ีมีความสามารถในการสื่อสารและการทางานเป็นทีม แม้ว่าความรอบรู้ทางวิชาชีพมี ความสาคัญ แต่ทักษะทางสังคมสามารถสร้างความแตกต่างได้ โดยทักษะทางสังคมจะช่วยให้ชีวิตการทางาน เปน็ ไปอย่างราบรนื่ ทางานอย่างมีความสุข และชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธิผลของงาน 3. ทักษะเชิงระบบ (systematic skills) หมายถึงทักษะการทางานที่เก่ียวข้องกับทักษะทางวิชาชีพเป็น อย่างมาก โดยทักษะเหล่าน้ีเป็นทักษะท่ีใช้ประกอบในการเรียนรู้ทักษะทางวิชาชีพ ตัวอย่าง เช่น ทักษะการ นาเสนองาน ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการจัดการความเครียด เป็นตน้ นอกจากการแบ่งหมวดหมู่ แล้วยังมีความหลากหลายในการให้ความหมายของ Soft skills ในแต่ละ บริบทของวิชาชีพท่ีมีความแตกต่างกัน จากแหล่งเผยแพร่ข้อมูลของศูนย์ผู้นานวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ กลา่ ววา่ Soft skills หมายถงึ ทกั ษะด้านความคิด อารมณ์ ความรูส้ กึ และการสอ่ื สารทจ่ี าเปน็ ต้องใช้ในการทางาน ด้านการเรียนรู้เพื่อการสร้างนวัตกรรมให้ประสบความสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และเอื้อให้เกิดการสร้างสรรค์ นวัตกรรม เพราะ Soft skills จะช่วยส่งเสริมการพัฒนา Hard skills หรือทักษะเฉพาะทางอย่างต่อเนื่องในการ สร้างสรรส่ิงใหม่ (Wongyai, W. and Marut Phatphon, M., 2019). และจากการศึกษาเร่ือง ทักษะทางสังคม คุณธรรม และจริยธรรมสาหรับการปฏิบัติงานของคนประจาเรือกรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม ของ สุรชัย บุรพา นนทชัย(Burapanontachai, S., 2020). พบว่าSoft skills มีความจาเป็นและสาคัญอย่างย่ิง และได้กล่าวว่า ผู้ปฏิบัติงานในการเดินเรือ ทักษะในการติดต่อสื่อสารเป็นทักษะสาคัญ โดยแยกความสามารถในการสื่อสารไว้ 3 ดา้ น ได้แก่ ทกั ษะในการรบั สาร ทักษะในการสง่ สาร และทักษะในการควบคุมการส่อื สารระหว่างบุคคล สอดคล้อง กับแนวคิดของ โกลแมน (Goleman, 1998: 27,95) ท่ีกล่าวว่าทักษะในการสื่อสารเป็นทักษะด้าน Soft skills ท่ี สาคัญประการแรกที่ใช้ในการสร้างสัมพันธภาพ และสร้างสายสัมพันธ์กับบุคคลอื่น เนื่องจากเป็นทักษะท่ีสามารถ ทาให้บคุ คล ค้นพบสิ่งที่เปน็ พนื้ ฐานร่วมกันของคนในองค์กร ทาให้คนในองค์การมคี วามสามัคคีปรองดองกนั ทาให้ การปฏสิ ัมพันธก์ บั ผู้อืน่ ราบร่นื สามารถทางานร่วมกันได้ดี และทาให้งานสาเรจ็ ได้ จะเห็นได้ว่า Soft skills เป็นการรวมทักษะหลายด้านที่เก่ียวข้องไว้ด้วยกันและมีความเก่ียวโยงกัน เช่น ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ทาให้รู้เท่าทันอารมณ์ตนเอง จึงบริหารจัดการอารมณ์ตนเองและผู้อ่นื ได้ ส่วนทักษะ ด้านมนุษยสัมพนั ธ์ (people skills )ได้แก่ ทักษะในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อ่นื เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการ ทางาน รวมถึงทักษะการส่ือสาร ทาให้รับฟังและเข้าถึงจิตใจผู้อื่น ทักษะดังกล่าวเป็นทักษะทางสังคม (social skills) วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

6 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) เป็นความสามารถในการปฏิบัติตัวเองเพื่อให้อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างเหมาะสม (Palagritconsultant,2021). ทกั ษะที่ชว่ ยส่งเสริมความฉลาด ความสามารถทางอารมณ์ ความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคล การทางานรว่ มกบั ผอู้ ่ืน ทา ให้การทางานมีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึน้ เป็นทักษะท่ีชว่ ยให้สามารถดาเนินชวี ิตร่วมกับผู้อ่ืนไดอ้ ย่างไม่เป็นปญั หาจึง ส่งผลตอ่ การทางานท่ปี ระสบความสาเร็จไดเ้ ปน็ อย่างดี ความหมายของ Soft skills อีกนัยหน่ึง คือ เป็นทักษะที่เกี่ยวกับพฤติกรรม และความคิด เป็นลักษณะ ส่วนบุคคลและเป็นทักษะท่ีสามารถช่วยให้บุคคลน้ันสามารถประสบความสาเร็จในบทบาทและหน้าท่ีการ ปฏิบตั ิงานได้ในทุกๆงานและยังส่งผลตอ่ การดาเนินชีวิต เน่ืองจากงานและการดาเนินชีวติ ไม่สามารถแยกออกจาก กันไดอ้ ย่างชดั เจนแต่เป็นเร่ืองท่เี กี่ยวขอ้ งกันอย่างใกลช้ ิด มีห้าทักษะท่ีถูกกล่าวถึงว่าเป็นท่ีต้องการมากท่ีสดุ สาหรับ ปี 2020 คือ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการโน้มน้าว ทักษะการทางานเป็นทมี ทักษะการปรับตวั และทักษะ ความฉลาดทางอารมณ์ (Uamsathit, T., 2021).เช่นเดียวกับ Kenton (2019) ท่ีให้ความหมาย ของ Soft skills ว่าเป็นลักษณะนิสัย ความฉลาดทางอารมณ์ของบุคคล (EQ) และ ทักษะการมีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอ่นื ๆใน สังคมและในสถานท่ที างาน จากที่ได้กล่าวมาโดยสรุป ความหมายโดยรวมของ soft skills ในพยาบาลวิชาชีพ หมายถึง ทักษะด้าน อารมณ์ รวมถึงกลุ่มของลกั ษณะบุคลกิ ภาพ อปุ นสิ ัย ความสุภาพ ความสามารถในการเข้าสงั คม ความสามารถและ ความมีวุฒิภาวะ ในการควบคุมอารมณ์ ความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับบุคคลอ่ืน ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ความสามารถในการควบคุมอารมณ์ เป็นคุณลักษณะที่จะช่วยให้พยาบาล สามารถดารงชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง ราบร่ืน และสามารถทางานประกอบอาชีพให้ก้าวหน้า และประสบความสาเร็จได้เป็นอย่างดี เป็นทักษะด้าน พฤตกิ รรมและเป็นคุณลักษณะท่ผี ู้ประกอบการตอ้ งการ มีความจาเป็นสาหรับการพฒั นาตนเองช่วยส่งเสริมให้การ ทางานมีประสิทธิภาพและนาไปสู่เป้าหมายและความสาเร็จในการทางาน และจากการจัดหมวดหมู่และ ความหมายของผู้รู้ที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า Soft skills เป็นเร่ืองสาคัญท่ี ทุกคน ทุกวิชาชีพท่ีต้องมีเพราะไม่ เพียงแต่ทาให้สามารถประสบความสาเร็จได้มากขึ้นเท่าน้ัน แต่ยังส่งผลต่อการดาเนินชีวิตของคนด้วย ในสาขา วิชาชีพการพยาบาลซึ่งต้องปฏิบตั ิงานท่ามกลางความเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการทางานท่ีตอ้ งใช้ ทักษะความสามารถในการดูแลสุขภาพ ให้ครอบคลุมท้ัง 4 มิติแบบองค์รวม (Holistic care) ต้ังแต่การส่งเสริม สุขภาพ เพ่ือให้มีร่างกายแข็งแรง การปอ้ งกัน เพ่ือไม่ให้มีความเจบ็ ป่วยเกิดข้นึ หรือเมื่อมีความเจ็บป่วยเกิดขึ้นแล้ว ต้องทาให้หายจากภาวะนั้น การดูแลฟื้นฟูสุขภาพ เม่ือหายจากอาการเจ็บป่วยและมีการดูแลด้านจิตวิญญาณ เพื่อให้เป็นประชากรท่ีมีภาวะสุขภาพท่ีดีที่สุดอย่างสมดุล ตามสถาพการณ์ของแต่ละบุคคลอย่างสมศักด์ิศรีความ เป็นมนุษยต์ งั้ แต่เกิดจนถงึ วาระสุดทา้ ยของชีวิต วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

7 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ความสาคญั ของ Soft skills ตอ่ การปฏิบตั งิ าน จากมุมมองของผู้จ้างงานพบว่านักศึกษาระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษายังขาด Soft skills ใน การทางาน (Inta, & Montree. (2019) ดังน้ันการผลิตบัณฑิตในยุคปัจจุบันของสถาบันอุดมศึกษาต้องคานึงและ ตระหนักถึงการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพมากท่ีสุด เพื่อสามารถที่จะตอบสนองความตอ้ งการของตลาดแรงงานและ ผู้รับบริการ (Prachakun R., & Sri Ruechach, 2019) Soft Skills เป็นสิ่งสาคัญท่ีมีผล และมีความสัมพันธ์กับ การเพ่ิมประสิทธิผลของพนักงาน และผลผลิตทางธุรกิจ รวมไปถึงความสาเร็จขององค์กร เป็นทักษะที่นามา ประยุกต์ใช้ในศตวรรษท่ี 21 (Gewertz, 2007) เนื่องจากเป็นคุณลักษณะ ที่ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ของบุคคล ประสิทธภิ าพในการทางาน และเพ่มิ โอกาสในการทางานให้กับบุคคล (Parsons, 2008) ทั้งนี้ Soft skills ยังส่งผล ต่อความสาเร็จในการประกอบธุรกิจ ช่วยให้บุคคลมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีการตัดสินใจท่ีเหมาะสม สามารถส่ือสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความประทับใจท่ีดีแก่ผู้อ่ืน และส่งผลดีต่อการพัฒนาวิชาชีพ (Anju, 2009) ผู้จ้าง งานให้ความสาคัญกับ Soft Skills ของผู้สมัครงานและนักศึกษาที่จบใหม่ค่อนข้างมาก เน่ืองจาก Soft Skills มีผล ต่อความสาเร็จขององคก์ ร (Vasanthakumari, 2019) ประกอบกบั Soft Skills เปน็ สงิ่ สาคญั ท่ีทาใหน้ กั ศึกษาทจ่ี บ การศึกษาแล้วสามารถหางานทาได้มากข้ึน ผลการวิจัยยังชี้ให้เห็นว่า การจ้างงานนั้นมีความ สัมพันธ์เชิงบวกกับ ทักษะภาวะผู้นา ทักษะการส่ือสาร และทักษะการทางานเป็นทีม โดยทักษะภาวะผู้นาสามารถผลักดันให้เกิดการ เปล่ียนแปลงในองค์กร (Abullah, Muhammad & Md Naris, 2019) จะเห็นได้ว่า การจ้างงานใช้ Soft Skills ของบุคคลในการพิจารณาว่าจ้างเป็นสาคัญ การผลิตบัณฑิตให้มี Soft Skills และสามารถที่จะตอบสนองได้ตรง ตามความต้องการของตลาดแรงงาน จึงเป็นส่ิงท่ีท้าทายสาหรับสถาบันอุดมศึกษาที่ จะต้องปรับตัวและ เปล่ียนแปลง ผลิตบัณฑิตให้มีความโดดเดน่ มีทักษะนอกเหนือมากกว่าความรู้ทางวิชาการ ทั้งน้ีในมุมมองของผู้จา้ ง งานมีความคาดหวังว่าสถาบันอุดมศึกษาจะสามารถพัฒนาและเพิ่มจานวนบัณฑิตผู้สาเร็จ การศึกษาท่ีมี ความสามารถมากข้นึ โดยผ่านกิจกรรมหรอื โปรแกรมต่าง ๆ ที่เกยี่ วข้องกับกระบวนการเรียนการสอน ผปู้ ฏิบัตงิ านในยุคปจั จบุ นั ทมี่ ีทกั ษะทางวิชาการเพยี งอยา่ งเดยี ว จะทาให้มีผู้รับเขา้ ปฏิบัตงิ านในองคก์ ร แต่ Soft skills เป็นทักษะที่มีความจาเป็นตอ่ ความสาเร็จของการปฏิบตั ิงาน เพราะทักษะนี้เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการ ปฏิบัติงานให้สาเร็จ และส่วนใหญ่ที่มี Soft skills จะเปน็ คนท่ีประสบความสาเร็จในอาชพี การงาน (Elmohmady, E. A. E., Abo Gad, R. A. E. F., Ramadan, A., & Hamdy, A. 2020) สามารถเพ่ิมความก้าวหน้าในอาชีพการ งานได้ มกี ารศกึ ษาเก่ียวกับการรับรู้ของนักศกึ ษาพยาบาลเก่ียวกบั การฝกึ Soft skills ในประเทศกานาพบวา่ 89% ของผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยอย่างย่ิงว่าSoft skills สามารถพัฒนาความก้าวหน้าในการทางานได้ และยัง สนับสนุนว่าSoft skills เป็นทักษะท่ีจาเป็นต้องมีสาหรับวิชาชีพพยาบาล (Laari L, Dube BM., 2017) เพราะมี ประโยชน์ในการทางานเนื่องจากช่วยเพ่ิมความสามารถในการส่ือสาร ช่วยสร้างความกระตือรือร้นในการทางาน เพิ่มทัศนคติที่ดีต่อการทางาน เสริมสร้างการทางานเป็นทีม การสร้างเครือข่าย ช่วยในการแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นใน การทางาน (Morrell BL, Eukel HN, Santurri LE., 2020) Soft skills หรือความฉลาดทางอารมณ์ ไม่ใช่ทักษะ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

8 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) และความสามารถท่ีมีมาโดยกาเนิด แต่เป็นทักษะท่ีสามารถพัฒนาได้ตลอดชีวิต ในสถานประกอบการที่ประสบ ความสาเร็จมักให้ความสาคัญในการพัฒนา Soft skillsให้กับพนักงาน (Pathiratne, J., 2015) ประโยชน์อีก ประการหน่ึงของ Soft skills คือ ความสามารถในการปรับปรุง และพัฒนาความม่ันใจในตนเอง ยังมีรายงานอีก ว่าSoft skills ส่งผลต่อการพัฒนาความม่ันใจในการจัดการกับสถานการณ์ ความพร้อมในการจัดการผู้ป่วย และ พฒั นาความสามารถในการตอบสนอง และการจดั การสถานการณ์ในการปฏบิ ัติงาน (Peddle, M., Bearman, M., Mckenna, L., & Nestel, D., 2019). สรุปความสาคัญของ soft skills ต่อการปฏิบัติงาน Soft Skills คือ ลักษณะอุปนิสัย และทักษะ ความสามารถทางอารมณ์และสังคม ทักษะ soft skills ส่วนใหญ่ จาเป็นต้องอาศัยการฝึกฝนเรียนรู้ soft skills ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีผลกระทบเชิงบวกต่องานท่ีทา โดยเฉพาะอย่างย่ิงเมื่อเป็นการทางาน ร่วมกัน ชว่ ยให้สามารถทางานและสอ่ื สารกับผอู้ ่นื ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ Soft Skills เป็นสิ่งสาคัญท่ีจะเพมิ่ โอกาส ในการทางานให้บณั ฑติ จบใหม่มงี านทามาก ความสาคญั ของการพฒั นา Soft skills ในวิชาชพี พยาบาล Soft skills เป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของวิชาชีพการพยาบาลทั้งยังช่วยให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีท่ีจะเกิด ข้ึนกับผู้รับบริการอีกดว้ ย Soft skills เป็นทักษะที่เกิดมาจากการอบรมเล้ียงดู จากประสบการณ์ชวี ิต และจากการ ฝึกฝนอบรม การพัฒนา Soft skills จึงควรมีการปลูกฝังและฝึกฝนตง้ั แต่เด็กและควรมีการพฒั นาเพิ่มเตมิ ตั้งแต่เร่ิม เข้ามาเป็นนักศึกษาพยาบาล เพ่ือให้นักศึกษาพยาบาลประสบความสาเร็จในการศึกษาด้วยดีและเสริมสร้างความ เข้มแข็งของวิชาชีพการพยาบาลได้อีกทางหน่ึง ( Tunksakool, J., Jamjuree, D., Yamkasikorn, M., & Kongsaktrakul, C,2020). การพัฒนา Soft skills ในวิชาชีพพยาบาลนับว่าเป็นเรื่องสาคัญ แต่ Soft skills เป็น ทักษะด้านอารมณ์และสังคม ซึ่งการทดสอบและการประเมินผลทาได้ยากและซับซ้อน (Melser, N.A., 2019) ใน การพัฒนาวิชาชีพพยาบาลให้ก้าวหน้าและยั่งยืนน้ันการพัฒนาทักษะ Soft Skills ให้กับพยาบาลเป็นส่ิงสาคัญ เทียบเทา่ กับการพัฒนาทักษะทางวชิ าการ เนอ่ื งจากเปน็ ทักษะที่ทาใหพ้ ยาบาลมีความสามารถในการทางานอย่างมี ประสิทธิภาพ และ Soft Skills ยังมีความสาคัญในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ ทาให้สามารถ ทางานได้อย่างไร้รอยต่อ เพราะการทางานเหล่าน้ีต้องใช้ทักษะการส่ือสารระหว่างการทางานเป็นทีม การทางาน รว่ มกับสหสาขาวิชาชีพ และเปน็ ทป่ี ระจักษว์ า่ งานการพยาบาลเป็นงานท่ี ทา้ ทายและมคี วามซับซ้อน อาจกอ่ ให้เกดิ ความเหนื่อยล้าและเกิดความ เครียดได้มาก (Ernawati, E., & Bratajaya C. N. A. (2021) จากการศึกษาเชิง สารวจ พบว่า Soft Skills ท่ีผู้ป่วยต้องการให้มีในพยาบาล ได้แก่ ความน่าเชื่อถือ ความรวดเร็ว ความช่วยเหลือ ด้วยความเต็มใจ การสื่อสาร มารยาท ความม่ันใจในการพูด รวมท้ัง ความทุ่มเทในการดูแลผู้ป่วย ความเมตตา เห็นอกเห็นใจ มนุษยสัมพันธ์ การเอาใจใส่ดูแล และความสุภาพ (Laari, L. Anim-Boamah, O., & Boso C. M.,2021) ในปัจจุบันแม้ว่าพยาบาลจะมีคุณสมบัติมากมาย แต่อาจยังขาดความรอบคอบ ความล่าช้า ขาด วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

9 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) แรงจูงใจ มีความประมาท ไม่จริงใจ ขาดความกระตือรอื ร้น ซึ่งในคุณลักษณะของพยาบาล ในวชิ าชีพพยาบาลควร มีความมุ่งม่ันตั้งใจ มีความคิดสร้างสรรค์ มีมนุษยสัมพนั ธ์ มีรอยยิ้ม และมีความอบอ่นุ (Hartiti, T., Poddar, S., & Bhaumik, A., 2020). คุณสมบัตเิ ชิงลบดังกลา่ ว อาจทาให้การใหบ้ รกิ ารในการดูผู้ป่วยอาจเกิดปญั หาได้ ผู้เขียนมีความเห็นว่า Soft Skills สามารถป้องกันการเกิดปัญหา และความผิดพลาดในการทางานได้ ดังนั้นการเตรียมบุคลากรผู้ดูแลสุขภาพให้มีความพร้อมโดยการพัฒนาเพื่อให้ปฏิบัติงานได้สาเร็จ มีความม่ันใจ และปรบั ตัวในการปฏบิ ัติงานไดด้ ี ใหม้ ีความฉลาดทางอารมณ์ มีความเตม็ ใจ มคี วามรว่ มมือร่วมใจ เรียนรรู้ ว่ มกัน มี มนุษยสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ซ่ือสัตย์ ทาให้เกิดความไว้วางใจกัน การทางานเป็นทีม การควบคุมอารมณ์ มีความเป็น ผู้นา มีการสื่อสารที่ดี และสามารถเข้าใจผู้ป่วยหรือผู้รับบริการได้ พยาบาลจึงจาเป็นต้องมีทักษะท้ังสองด้านทั้ง Hard Skills และ Soft Skills ควบคู่กันเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ การพัฒนาและฝึกฝน Soft Skills จึงมีความ จาเป็นอย่างยิ่งสาหรับพยาบาลทุกคน เพ่ือให้สามารถปรับตัวในการปฏิบัติงาน จึงควรจัดให้มีการพัฒนาใน หลักสูตรการเรียนการสอนพยาบาล และจัดให้มีการฝึกอบรมในสถานประกอบการภายหลังท่ีได้เข้าไปปฏิบัติงาน แล้ว ผู้รับผิดชอบหรือผู้บริหารท่ีมีหน้าที่มอบหมายงานควรมีความใส่ใจ และสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาอย่าง แท้จริง เนื่องจากพบวา่ ผลของการพัฒนา Soft Skills ส่งผลใหม้ ีบรรยากาศการทางานแบบเอ้ืออาทรต่อผู้ป่วยทมี่ า รับบริการ และผู้ป่วยมีความพึงพอใจในงานบริการด้านสุขภาพ (Patel S., 2021) ตัวอย่างของการพัฒนา Soft Skills ที่ทาการศึกษาโดย Hartiti, T., Poddar, S., & Bhaumik, A., 2020 มีการจัดทาโมเดลแบบจาลองความ เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง โดยใช้สถานการณ์จาลอง โดยเลือกSoft Skills ท่ีจาเป็นและสามารถได้นาไปใช้ใน สถานการณ์จริง เช่น ทักษะทางอารมณ์ ความมั่นใจในตนเอง การสื่อสาร ภาวะผู้นา การปฏิบัติตามกฎระเบียบ การทางานเป็นทมี ความถกู ตอ้ งแม่นยาและทักษะการแก้ปัญหา และมีการประเมนิ ผล พบว่าในองค์กรพยาบาลทุก แห่งที่นาโมเดลไปใช้ เกิดประสิทธภิ าพ ประสิทธิผลสูง ถือว่าเป็นการปฏิรูปโดยใช้โมเดลแบบจาลองความเป็นผู้นา การเปลี่ยนแปลงของพยาบาลทไ่ี ดผ้ ลเป็นอย่างย่งิ (Hartiti, T., Poddar, S., & Bhaumik, A., 2020) ในปัจจุบันเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีดิจิทัล นาแนวคิดการพัฒนาผู้นาทางการ พยาบาลโดยการฝึกอบรมโปรแกรมการพัฒนา Soft Skills บนเว็ปไซด์เสมือนจริง เพ่ือเสริมทักษะ Soft Skills ท่ี สาคัญของพยาบาลรูปแบบใหม่ในบริบทการดูแลสุขภาพพบว่าผู้นาการพยาบาลและประชาชนผู้รับบริการได้ตอบ รบั การเรยี นรู้ โดยใชโ้ ปรแกรมดงั กล่าวนี้ เป็นอย่างมาก การฝกึ อบรมมุ่งเนน้ ทักษะความเป็นผู้นา โดยนาเทคโนโลยี มาเสริมความเข้มแข็งในการพัฒนาแทนการพัฒนาแบบดั้งเดิมที่ใช้เพียงการถ่ายทอดประสบการณ์โดยวาจาหรือ จากการเรียนรู้ผ่านเอกสารเท่านั้น ยกตัวอย่างการนาสถานการณ์จาลองท่ีอาจเกิดขึ้นมาให้ทดลองปฏิบัติ เช่น สถานการณ์การสื่อสารเม่ือญาติหรือผู้ปว่ ยได้รับข่าวร้าย และมีการประเมินผลให้ทราบ ซึ่งเป็นการช่วยเสริมทักษะ Soft Skills สรา้ งความมนั่ ใจใหก้ บั พยาบาลกอ่ นท่ีจะพบในสถานการณ์จรงิ เป็นต้น Soft Skills ส่งผลต่อความสาเร็จในการดูแลสุขภาพของประชาชน การพัฒนา Soft Skills ใหก้ ับผูท้ ีจ่ ะเขา้ สู่ตาแหน่งผู้นาในอนาคตจึงมีความสาคัญอย่างย่ิง ดังนั้นผู้นาหรือผู้บริหารการพยาบาลจึงเป็นผู้ที่มีบทบาทในการ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

10 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ส่งเสริมสนับสนุนและจูงใจในการพัฒนาทักษะทางด้านSoft skillsให้กับพยาบาลผู้ปฏิบัติงานให้มีความสามารถ ด้าน Soft Skills อย่างเพียงพอและต่อเน่ือง เพอ่ื นาไปสู่การปฏบิ ัติงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (Raoji, N. V.,2021) Soft skills ทีจ่ าเป็นตามสมรรถนะของพยาบาลวิชาชพี จากความสาคญั ของการพัฒนา Soft skills ในวิชาชีพพยาบาลจะเหน็ ไดว้ า่ พยาบาลจาเป็นต้องศึกษาและ พัฒนา Soft skills ท่ีมีอยู่หลายด้านอยู่ตลอดเวลาอย่างต่อเน่ือง เพราะ การปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นซ่ึงเป็นหน้าท่ี ประจาหลักของพยาบาลวิชาชีพ แต่ Soft skills ในวิชาชีพพยาบาลมีตัวชี้วัด ที่ค่อนข้างเป็นนามธรรมและ ประเมินผลได้ยากเนื่องจากมีการส่ือความหมายไม่ชัดเจน (Jamjan, Makornkan & Keeratavanithsathian ,2019) ซึ่งแตกตา่ งจากทักษะเฉพาะทางวิชาชพี (Hard Skill) โดยตรงทีส่ ามารถวดั ผลไดง้ ่ายกว่า จึงทาใหแ้ นวทาง ในการพฒั นา ยังขาดการวัดผลท่ีชัดเจนตามท่ีกลา่ วมาแล้ว Soft skills ของพยาบาล มสี ่วนสาคัญมากเช่นเดียวกับ ทักษะทางวิชาการ (Hard Skill) ดังน้ันในอนาคตการพัฒนาทักษะบัณฑิตพยาบาล หรือแม้แต่ พยาบาลวิชาชีพที่ กาลังปฏิบัตหิ น้าท่ีอยู่ ควรไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะด้านการจัดการคน (People Management Competency) ท่ีเพิ่มเสริมจากสมรรถนะด้านการทางาน (Work Related Competency) โดยแบ่งได้เป็น 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้าน บริหารตนเอง เช่น บริหารเวลา จัดการตนเอง จูงใจตนเอง ความมั่นใจในตนเอง เชาวน์อารมณ์ 2) ด้านการทางาน ร่วมกับผู้อ่ืน เช่น ความสามารถในการจูงใจ การบริหารทีมงาน การสื่อสาร การนาเสนอข้อมูล การจัดการความ ขัดแย้ง และการจัดการการเปลย่ี นแปลง เป็นตน้ (Proyrungroj, P., 2021). จากเหตุผลและความจาเปน็ ดังกล่าวข้างตน้ ผู้เขียนจึงนาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ มาหาค้นหา Soft skills ท่ีสอดคล้องและเกี่ยวข้องกันเพื่อนาสู่การพัฒนาให้ตรงตามสมรรถนะหลักที่สภาการพยาบาลกาหนด โดย ตามความหมายของพระราชบญั ญตั วิ ิชาชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2540 พยาบาลวิชาชีพ หมายถึง บุคคลซึ่งได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพจากสภาการพยาบาล โดยสภาการ พยาบาลได้กาหนดสมรรถนะหลักของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ เพื่อให้พยาบาลวิชาชีพ สามารถปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างมีจริยธรรม เป็นไปตามมาตรฐานและกฎหมายวิชาชีพ บทบาทหน้าท่ีของ พยาบาลวิชาชีพประกอบด้วย ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ดูแลรักษา และฟ้ืนฟูสภาพ แก่บุคคล กลุ่มคน และชุมชน ทั้งด้านร่างกาย จิตสังคม เพ่ือให้ทุกคนเกิดการเรียนรู้ สามารถดูแลสุขภาพตนเองไดใ้ นภาวะปกติ และ ภาวะเจ็บป่วย ลดภาวะเสี่ยงการเกิดโรค หรือ ความเจ็บป่วย สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างเต็มศักยภาพ ด้วยการ สอน และให้การปรึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ แสดงภาวะผู้นาด้านสุขภาพ ตามจรรยาบรรณวิชาชีพโดยคานึงถึง สิทธิมนุษยชน ตระหนักในความสาคัญของการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยผ่าน ประสบการณ์ การวจิ ยั และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการสนับสนนุ การปฏบิ ัตงิ าน สรา้ งคุณค่าในตนเอง ใหม้ ี ความเจริญก้าวหน้า และมีศักด์ิศรี โดยสถาบันการศึกษาพยาบาล มีการพัฒนา Soft skills ที่เป็นระบบเดียวกัน จากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of Education, 2017) เร่ืองมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับปริญญาตรี สาขา วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

11 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) พยาบาลศาสตร์ พ.ศ.2560 ซึ่งได้กาหนดไวว้ ่าคุณลักษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ที่เป็น Soft skills ไดแ้ ก่ การส่ือสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ มีการตดั สินใจ และแก้ปญั หา อย่างสร้างสรรค์ มีความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่น มีภาวะผู้นาและสามารถบริหารจัดการในการทางาน ร่วมกับทีมสุขภาพ สหวิชาชีพและผู้เก่ียวข้อง และจากการศึกษาของ Ernawati, E., & Bratajaya C. N. A., 2021 ถึงการรับรู้ของพยาบาลอาวุโสเก่ียวกับ Soft skills ที่จาเป็นสาหรับพยาบาลใหม่ในโรงพยาบาลเอกชนในกรุง จาการต์ า ประเทศอินโดนเี ซยี โดยการสมั ภาษณ์พบมี Soft Skills 9 ด้านท่พี ยาบาลใหมค่ วรได้รับการพฒั นา ได้แก่ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การควบคุมตนเอง การสร้างแรงจูงใจในตนเอง การมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี ความยืดหยุ่น การคิดวิเคราะห์ การให้คาแนะนา และการดูแลผู้ป่วย เน้นทักษะทางด้านความฉลาดทางอารมณ์ สาหรับผู้นา ทางการพยาบาลในอนาคต มี Soft Skills ควรพัฒนาคือ ทักษะการส่ือสาร ทักษะภาวะผู้นา การควบคุมอารมณ์ การแก้ปัญหา ความมีจรรยาบรรณวิชาชีพ ทักษะด้านนวัตกรรม การบริหารจัดการ การวิเคราะห์คิด และการ ทางานเป็นทีม และมีข้อเสนอแนวทางการพฒั นา ให้ทาไดโ้ ดยจัดให้พยาบาลใหม่ไดร้ ับการฝึกอบรม เรียนรู้ร่วมกัน และประเมินผลจากการปฏิบัติ และได้มีข้อเสนอแนะให้จัดทาหลักสูตร Soft Skills ไว้ในหลักสูตรการศึกษา ทางการพยาบาล ทาให้ประสบความสาเรจ็ ในการปรับตัวและอาชพี ในอนาคต (Ernawati,E.,&BratajayaC.N.A.,2021) จากการทบทวนวรรณกรรมจากฐานข้อมูล Cumulative Index to Nursing & Allied Health Literature (CINAHL), Medline on EBSCOhost and Google Scholar โดยใช้คาสืบค้นคือ Soft skills, non- technical skills, nursing skills, nursing art, aesthetics. จากงานวิจัยจานวน 754 ช่ือเร่ือง ตั้งแต่ ปี 2012- 2020 โดย Laari, L. Anim-Boamah, O., & Boso C. M. , 2021 โดยแบ่ง Soft Skills ในมมุ มองผูบ้ รหิ าร มุมมอง ผู้ปว่ ย และใน มุมมองพยาบาลอาวโุ ส พบว่า มุมมองของผู้บริหาร มุมมองผู้ปว่ ย และมุมมองของพยาบาลอาวุโสมี ความเห็นคล้ายกันในเรื่องของคุณลักษณะที่พยาบาลควรมีคือความฉลาดทางอารมณ์ มุมมองของผู้บริหารและ ผู้ป่วยที่มองเหมือนกันคือการแก้ปัญหา การทางานเป็นทีม การส่ือสารและการเป็นผู้นา ส่วนมุมมองผู้บริหารกับ พยาบาลอาวุโสที่มองเหมือนกันคือการคิดวิเคราะห์ เทคโนโลยี ดังนั้นเพื่อให้พยาบาลมี Soft skills ที่เหมาะกับ สมรรถหลักในแตล่ ะด้าน จึงเห็นควรวา่ พยาบาลต้องเข้าใจสมรรถนะหลักเพ่ือวิเคราะห์และเลือกใช้ Soft skills ให้ เหมาะสมตามสมรรถนะที่สภาการพยาบาลกาหนดซึ่งทักษะต่างๆน้ัน มีข้อเสนอแนะ ว่าควรนาเข้าไว้ใน กระบวนการพยาบาล ในหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ และควรได้รับการประเมินและฝึกฝนก่อนฝึกปฏิบัติงานจริง (Laari, L. Anim-Boamah, O., & Boso C. M., 2021) และควรมกี ารจัดการฝึกอบรมพฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง สาหรบั ทั้งพยาบาลและผ้บู ริหารทางการพยาบาล เน่ืองจากมคี วามสาคญั ตอ่ การส่งเสรมิ ทักษะของพยาบาลในเชิงบวกทาให้ พยาบาลผู้ปฏิบัติงานท่ีมีทักษะ Soft Skills สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Hussein, N.H.Y. & Elsaiad H.S.A.E.A.,2021). ซง่ึ ผูเ้ ขียนมคี วามเหน็ วา่ ผูน้ าหรอื ผู้บรหิ ารการพยาบาลเป็นผทู้ ี่มบี ทบาทสาคญั ย่ิงในการ สง่ เสริมสนบั สนนุ และจูงใจในการพัฒนาทักษะทางดา้ น Soft skills ให้กับพยาบาลผ้ปู ฏิบัตงิ านเพอ่ื ช่วยใหพ้ ยาบาล วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

12 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพอย่าง เหมาะสม โดยสมรรถนะหลกั ของพยาบาลวชิ าชพี ของสภาการพยาบาลทีเ่ ก่ยี วข้องกับ Soft Skills ดังนี้ สมรรถนะท่ี 1 ด้านจริยธรรม จรรยาบรรณและกฎหมาย พยาบาลต้องตระหนักในคุณค่า ความเช่ือของ ตนเองและผู้อืน่ และไม่ใช้คณุ คา่ ความเชื่อของตนเองในการตัดสนิ ผอู้ ่ืนให้การพยาบาลโดยแสดงออกถึงการเคารพ ในคณุ คา่ ความเชอ่ื และศกั ด์ศิ รขี องความเป็นมนษุ ย์ ข้อจากัดของสมรรถนะตนเอง ไม่เสย่ี งในการปฏบิ ัติงานท่ีอาจ เกิดผลเสียต่อผู้ใช้บริการและปรึกษาผู้รู้อย่างเหมาะสมเพ่ือความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ ต้องแสดงออกถึงความ รับผิดชอบตอ่ ผลที่เกิดข้ึนจากการปฏบิ ัติการพยาบาลของตน ส่งเสริมให้ผใู้ ช้บริการได้รับรู้และเข้าใจในสทิ ธิของตน ปกปอ้ งผู้ที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิหรือไดร้ ับการปฏิบัติที่ผิดหลักคุณธรรม จริยธรรม อย่างเหมาะสม สามารถวิเคราะห์ประเด็นจริยธรรมและกฎหมายที่เก่ียวข้องในการปฏิบัติการพยาบาลตัดสินใจเชิงจริยธรรมและ ดาเนินการได้อย่างเหมาะสม ในสถานการณ์ที่มีความขัดแย้งทางจริยธรรมและกฎหมายที่ไม่ซับซ้อน และท่ีสาคัญ ต้องปฏิบัติการพยาบาลโดยแสดงออกซึ่งความเมตตา กรุณา คานึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ใช้บริการจรรยาบรรณ วิชาชีพ กฎหมาย และข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง ดังนั้น Soft skills ท่ีจาเป็นสาหรับสมรรถนะท่ี 1 ได้แก่ ด้าน จรรยาบรรณวิชาชีพ การเป็นมืออาชีพ ทักษะในการดูแลผู้ป่วย การมีมนุษยสัมพันธ์ ความยืดหยุ่น ทักษะการ สื่อสาร การใหค้ าแนะนา ทักษะการคิดวิเคราะห์ การรูจ้ กั ควบคุมตนเอง สมรรถนะท่ี 2 ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ Soft skills ท่ีจาเป็นสาหรับสมรรถนะท่ี 2 ไดแ้ ก่ การเปน็ มอื อาชพี ทกั ษะการทางานเป็นทีม และทักษะการดแู ลผูป้ ่วย สมรรถนะที่ 3 ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ Soft skills ที่จาเป็นสาหรับสมรรถนะที่ 3 ได้แก่ บุคลิกภาพ เชิงวชิ าชีพ พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง และการมีเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ วิชาชีพการพยาบาล สมรรถนะท่ี 4 ด้านภาวะผู้นา การจัดการ และการพฒั นาคุณภาพ Soft skills ที่จาเป็นสาหรับสมรรถนะ ท่ี 4 ไดแ้ ก่ การมภี าวะผ้นู า ความสามารถในการการบริหารจดั การและการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล การทางาน เป็นทีม สมรรถนะท่ี 5 ด้านวิชาการและการวิจัย พยาบาลต้องตระหนักรู้ในสิ่งที่ตนไม่รู้ และมีคาถามที่เกิดจาก การปฏิบัติงาน ท่ีจะนาไปสู่การแสวงหาความรู้ สามารถ สืบค้นความรู้ด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม สรุปประเด็นความรู้ จาก ตารา บทความวิชาการ และงานวิจัยที่ไม่ซับซ้อนและสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ สรุป ประเด็นความรู้จากประสบการณ์ของตนเองได้ และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ความรู้ในการปฏิบัติงานกับผู้ร่วมงาน ผู้เก่ียวข้อง ในการพัฒนางาน และแก้ไขปัญหาใน การปฏิบัติงานให้ ความร่วมมือในการดาเนินการวจิ ัยที่เป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ใช้บริการ หน่วยงาน และสังคม โดยไม่ละเมิดสิทธขิ องผู้ถูก วิจัย และคานึงถึงจรรยาบรรณนักวิจัย และสามารถประยุกต์ใช้กระบวนการวิจัยในการแสวงหาความรู้เพ่ือ พัฒนาการปฏิบัติการพยาบาล Soft skills ท่ีจาเป็นสาหรับสมรรถนะที่ 5 ได้แก่ การสร้างงานวิจัย การพัฒนา คณุ ภาพ การสร้างนวัตกรรม ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ทักษะการแกป้ ัญหา ความกระตือรอื ร้น วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

13 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) สมรรถนะท่ี 6 ด้านการส่ือสารและสัมพันธภาพ พยาบาลต้องมีทักษะการติดต่อส่ือสารและ การสร้าง สัมพันธภาพที่ดี Soft skills ท่ีจาเป็นสาหรับสมรรถนะท่ี 6 ได้แก่ ทักษะการส่ือสาร การให้คาแนะนา ความฉลาด ทางอารมณ์ ทกั ษะการมีมนุษยสัมพันธ์ ความยืดหยุ่น สมรรถนะที่ 7 ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ พยาบาลต้องมีความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โปรแกรมการใช้งาน องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ และการพยาบาล และระบบการจาแนกข้อมูลทางการพยาบาลสามารถ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานท่ีจาเป็นในการปฏิบัติงาน โปรแกรมวิเคราะห์พื้นฐาน โปรแกรมนาเสนองาน การประมวล จัดเก็บ และนาเสนอ ข้อมูลข่าวสาร. ใช้เครือข่าย ส่ือสารทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการสืบค้นข้อมูลข่าวสารดา้ นสุขภาพและการพยาบาล และความรู้ท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ัง ติดต่อส่ือสาร แลก เปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างบุคคลากรในทีมสุขภาพและบุคคลท่ัวไป มีส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูล เพ่ือจัดทาและพัฒนาฐานข้อมูลทางการพยาบาล และพัฒนาระบบสารสนเทศในหน่วยงาน Soft skills ที่จาเป็น สาหรับสมรรถนะที่ 7 ได้แก่ ทักษะด้านเทคโนโลยี และสารสนเทศ ทักษะการสื่อสาร ทักษะการสร้างนวัตกรรม ความกระตอื รอื รน้ มีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ ทักษะการบรหิ ารจัดการ ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ การมีมนุษยสัมพันธ์ และการสรา้ งเครือขา่ ย สมรรถนะท่ี 8 ด้านสังคม พยาบาลต้องติดตามการเปล่ียนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองอย่าง สม่าเสมอ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีเท่ียงตรงวิเคราะห์และประเมินข้อมูลข่าวสารการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ที่เก่ียวข้อง มีส่วนร่วมในการกาหนด นโยบายดา้ นสุขภาพของหนว่ ยงานทอ้ งถ่ิน ประเทศ และองค์กรวิชาชีพ สามารถปรับตัวใหส้ อดคล้องกบั บริบททาง สังคม วัฒนธรรม ยึดหลักปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดารง ส่งเสริม ค่านิยม วัฒนธรรมของชาติ ภูมิ ปัญญาท้องถ่ิน และวิถีชีวิตชุมชน มีวิจารณญาณในการ เลือกรับวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย Soft skills ท่ีจาเป็น สาหรับสมรรถนะที่ 8 ไดแ้ ก่ ทักษะการส่ือสาร ทักษะการสร้างนวัตกรรม การควบคมุ อารมณ์ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะด้านการบริหารจัดการ ทักษะการคิดวิเคราะห์เทคโนโลยีและสารสนเทศ ทักษะการทางานเป็นทีม ทักษะ ภาวะผนู้ า ความยืดหยุน่ แรงจูงใจ ทกั ษะการให้คาแนะนา การมีความฉลาดทางอารมณ์ จากการค้นคว้ารวบรวมสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพท่ีสภาการพยาบาลกาหนดและจากการ คน้ คว้างานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ผเู้ ขยี นพบวา่ Soft skills ที่สอดคลอ้ งและมคี วามจาเปน็ สาหรับวิชาชีพพยาบาล ไดแ้ ก่ 1) ทักษะการติดต่อส่ือสาร (communication skills) 2) การทางานเป็นทีม (teamwork) 3) ภาวะผู้นา (leadership) 4) ทกั ษะการแกป้ ัญหาและการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ (problem solving and critical thinking) 5) การคิดสร้างสรรค์ (creative thinking) 6) ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ (interpersonal skills) 7) ความยืดหยุ่น (flexibility) 8) ทกั ษะการจงู ใจ (motivation) ตัวอย่างในการใช้ Soft skills ในการดูแลผู้ป่วย เช่น การแจ้งภาวะความเจ็บป่วยหรือการแจ้งข่าวร้ายแก่ ผู้ป่วยหรือญาติ จาเป็นต้องมีการทางานร่วมกับทีมแพทย์ พยาบาลควรมีทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ ในการสร้าง วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

14 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ความสมั พันธ์ที่ดีและควรมีทกั ษะในการจงู ใจและทกั ษะในการสอื่ สารทดี่ ี ทงั้ กบั ผปู้ ่วยและญาติ เพอื่ สอื่ สารให้ผปู้ ่วย และญาติ ทราบถึงสภาพอาการของผู้ป่วย การรักษา การวางแผนการพยาบาล และการรักษาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ อาจจะเกิดข้ึนและได้เสนอแนะส่งิ ท่ีจะต้องตดิ ตามตอ่ ไป เพื่อให้การดแู ลผูป้ ่วยได้อย่างต่อเนื่อง และจากการศึกษา ของ รัตนาภรณ์ประชากูลและคณะ (Rattanaporn,P., & Chanaphol.S. ,2019). กล่าวว่าสุนทรียทักษะภาวะ ผู้นาซึ่งเป็นหนึ่งใน Soft skills เป็นทักษะท่ีสาคัญอีกและมีความจาเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพการบริการพยาบาล และเป็นทักษะที่จะทาให้องค์กรประสบความสาเร็จในการทางาน รวมทั้งมีผลในการส่งเสริมการพัฒนาตนเองของ ผู้ปฏิบัติงานและกระบวนการในการดูแลผู้ปว่ ยน้ันมีหลายวชิ าชีพในการดแู ลผู้ป่วย สุนทรียทักษะภาวะผู้นามีความ จาเปน็ และสาคัญในการพัฒนาคณุ ภาพบรกิ าร จะเห็นไดว้ ่า Soft skills รวมถงึ ทกั ษะการสอื่ สารทางการพยาบาลมีความสาคญั ในการช่วยให้รับทราบ ปญั หาและความตอ้ งการของผู้ปว่ ยแต่ละรายได้อย่างถกู ตอ้ งครบถ้วนและสามารถนาขอ้ มลู ต่างๆทีไ่ ด้มาร่วมวาง แผนการพยาบาลเพ่ือช่วยเหลือผู้ปว่ ยใหไ้ ด้รบั การรกั ษาพยาบาลอย่างทันท่วงที พน้ จากภาวะคุกคามของชีวติ บทสรปุ และข้อเสนอแนะ บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีและการปฎิรูประบบสุขภาพของประเทศไทยท่ี เปลี่ยนไป ส่งผลกระทบต่อองค์กรพยาบาลทั้งในปัจจุบันและอนาคตบริบทพยาบาลซึ่งเป็นทรัพยากรบุคลากรท่ีมี คณุ ค่าและมีความสาคญั ยงิ่ ต่อความ สาเร็จและการ อย่รู อดขององค์กร เป็นผู้ท่ีให้บริการใกลช้ ดิ กบั ผู้ป่วย และญาติ และยงั เปน็ ผูป้ ระสานงานทีส่ าคญั ในทีมสขุ ภาพ ทกั ษะ Soft skills ได้แก่ ทักษะการติดตอ่ สือ่ สาร ทกั ษะการทางาน เป็นทีม การมีภาวะผู้นา ทักษะการแก้ปญั หาและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การมีความคิดสร้างสรรค์ ทักษะด้าน มนุษยส์ ัมพนั ธ์ ทักษะการจงู ใจ และการมีความยืดหยนุ่ ในการทางาน เป็นทกั ษะทสี่ าคัญยิง่ ที่พยาบาลจาเปน็ จะตอ้ ง เรียนรู้และพัฒนา โดยจัดให้มีการเรียนรู้อย่างสม่าเสมออย่างต่อเน่ือง เพื่อการดูแลผู้ป่วยและการปรับตัวในการ ปฏิบัติกับผู้ร่วมงานท่ีมีความหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เขียนมีความเห็นว่าพยาบาลจาเป็นต้องมี Soft skillsที่มีความสอดคล้องเหมาะสมกับสมรรถนะหลักของสภาการพยาบาลที่กาหนดตามบริบทและสถานการณ์ท่ี เกิดข้ึน นอกจากนี้ปัจจัยสาคัญยิ่งที่ทาให้เกิดการพัฒนา Soft skills ของวิชาชีพพยาบาลคือการตระหนักถึง ความสาคัญ การส่งเสริมสนับสนุน และสร้างแรงจูงใจ ของผู้นาทางการพยาบาล รวมท้ังระบบการพฒั นาบุคลากร และวัฒนธรรมองค์กรท่ีดี เพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อวิชาชีพพยาบาล ผู้ร่วมงานและส่ิงสาคัญย่ิงคือผลลัพธ์ทางการ พยาบาลทีด่ ตี ่อผูป้ ่วยและผู้รับบริการ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

15 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) เอกสารอา้ งองิ Abullah, A. R., Muhammad, M. Z. & Md Naris, N. A. (2019). The Role of Soft Skills within Business Students towards Graduate Employability. Journal of Entrepreneurship and Business. 7(2): 1-14. Anju, A. (2009). A holistic approach to Soft skills training. IUP Journal of Soft Skills, 3(3). 7–11. Burapanontachai, S. (2020). Necessary and important social, moral and ethical skills. to the performance of seafarers. Marine Department, Ministry of Transport. (Online), Available: http://www.mmtc.ac.th/mmtc2020/mmtcpublish/630227-Research-Soft-skills-morality- and-ethics-for-seafarers.pdf. (2021, October 10). (in Thai) Chindarat, P. (2014). Skills. (Online), Available: https://www.dailynews.co.th/article/223844. (2021,1 August). (in Thai) Dube, B., & Laari, L. (2017). Nursing students' perceptions of Soft skills training in Ghana. Curationis, 40(1), 1-5. Elmohmady, E. A. E., Abo Gad, R. A. E. F., Ramadan, A., & Hamdy, A. (2020). Contribution of Non Technical Skills on Nurses' Performance Efficiency of Nursing Care Process in Intensive Care Units. Tanta Scientific Nursing Journal, 19(2), 127-150. Ernawati, E., & Bratajaya, C. N. A. (2021). Senior nurses’ perceptions of essential Soft skills for novice nurses in a private hospital in Jakarta, Indonesia: A phenomenological study. Belitung Nursing Journal, 7(4), 320-328. Gewertz, C. (2007). ‘Soft Skills’ in Big Demand. (Online), Available: https://www.edweek.org/ teaching-learning/Soft-skills-in-big-demand/2007/06. (2021, October10). Goleman, D. (1998). The emotional intelligence of leaders. Leader to Leader, 1998(10), 20–26. Hartiti, T., Poddar, S., & Bhaumik, A. (2020). Development Transformational Leadership Model to Improve Nurses’ Soft Skills. Malaysian Journal of Medicine and Health Sciences, 16(10), 113-8. Hussein, N.H.Y. & Elsaiad H.S.E.A. (2021). Impact of Soft Skills Training Program on Head Nurse ‘s Performance. Egyptian Journal of Health Care, 12(3), 1451–1461. doi:10.21608/ejhc.2021.196858. Inta, M. (2019). Soft Skills: Essential Skills for Professional Teachers in the New Era. Journal of Education Science, 20(1).153-167. (inThai). Jamjan, L., Makornkan, S., & Keeratavanithsathian, S. (2019). Developing Nursing Students’Soft Skills: Learned from the Collaborative Network for Educational Quality Assurance. Journal of Public Health Nursing, 33(2), 130-140. (inThai). Kenton, W. (2019). Soft Skills. (Online), Available: https://www.investopedia.com/terms/s/Soft-skills.asp. (2021, September 17). วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

16 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) Laari, L., Anim-Boamah, O., & Boso, C. M. (2021). Integrative review of Soft skills the desirable traits and skills in nursing practise. (Online), Available: https://scholar.google.com/scholar?hl=th&as_sdt=0%2C5&q=Integrative+review+of+Soft+ skills+the+desirable++traits+and+skills+in+nursing+practise.+&btnG=.(2021, September 17). Ministry of Education. (2017). Announcement of the Ministry of Education Commissioner Subject: Undergraduate qualifications Nursing Science, 2017. (Online), Available: http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/news/data6/pdf. (2021, October 10). Ministry of Education. (2017). Education Development Plan of the Ministry of Education,12 (2017- 2021). (Online), Available: http://www.mua.go.th/users/bpp/main/download/plan/ EducationPlan12.pd. (2021, October 10) (in Thai). Melser, N. A. (2019). Soft Skills for Children: A Guide for Parents and Teachers. Rowman & Littlefield Publishers. Morrell, B. L., Eukel, H. N., & Santurri, L. E. (2020). Soft skills and implications for future professional practice: Qualitative findings of a nursing education escape room. Nurse Education Today, 93, 104462. Palagrit consultant/blog/. (2021). What-Is-Soft-skills. (Online), Available: https://www.palagrit.com/what-is-interpersonal-skills/.(2021, October 10).(inThai) Parsons, T. L. (2008). Definition: Soft skills. (Online), Available: http://searchcio.techtarget.com/definition/Soft-skills. (2021, 1 August). Patel, S. (2021). Soft Skills for Health Care Staff: A Scoping Review. (Online), Available: https://www.theseus.fi/bitstream/handle/10024/501945/Patel%20Shradhdhabahen.pdf?s equence=2&isAllowed=y. (2021, October17). Pathiratne, J. (2015). Emotional Intelligence, Soft Skills and Nursing Performance: A Study of Nursing in Medical and Surgical Wards of a Private Tertiary Care Hospital in Sri Lanka. In Annual Research Symposium, University of Colombo. Peddle, M., Bearman, M., Mckenna, L., & Nestel, D. (2019). Exploring undergraduate nursing student interactions with virtual patients to develop ‘non-technical skills’ through case study methodology. Advances in Simulation. 4(1), 1-11. Prachakun R., & Sri Ruechach. (2019). Leadership Soft Skills Affecting Nursing Service Quality Development of Registered Nurse at Community Hospital in Khon Kean Province. KU ournal for ublic ealth esearch, 12(1), 86-94. (in Thai) Proyrungroj, P. (2021). Soft Skills Factors Affecting to Workers Performance Effectiveness of Y Generation Group in Bangkok. Rajapark Journal, 15(42), 117-128. วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

17 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) Raoji, N. V. (2021). The Future of Leadership Training: An Immersive Web-Based Program Enhancing Nurse’s Critical Soft Leadership Skills in New Healthcare Contexts. Doctoral dissertation, Yale University. Rattanaporn,P., & Chanaphol. S. (2019). Leadership Soft Skills Affecting Nursing Service Quality Development of Registered Nurse at Community Hospital in Khon Kean Province. KKU Journal for Public Health Research.12(1). 87-92. (inThai) Rattanawat, P. (2021). A Survey of Soft Skills Needed in the 21st Century Workplace.Rampai Pannee Research Journal. 15(1). 59-69. Sornkasetrin, A., Rongmuang,D., & Chandra,R. (2019). Nursing Education in the 21st Century: Competencies and Roles of Nursing Instructors. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 20(1), 12-20. Tunksakool, J., Jamjuree, D., Yamkasikorn, M., & Kongsaktrakul, C. (2020). A Study of Collaborative Problem-Solving Competency for Nursing Students. Ramathibodi Nursing Journal. 26(2), 217-231. Uamsathit, T. (2021). The development of Soft skills through the actualization of the volunteer project according to the rules of contemplative education. Journal of Liberal Art of Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi. 3(1), 37-50. (in Thai) Vasanthakumari, S. (2019). Soft skills and its application in work place. World Journal of Advanced Research and Reviews, 3(2), 66-72. Wattanabutr, B. (2020). Factors Influencing Soft Skills Development of Thai Youth in the 21st Century. Journal of Academic Research. 4(1), 87-94. Wongyai, W. and Marut Phatphon, M. (2019). Soft Skills to Master. Srinakarinwirot University. (Online), Available: http://www.curriculumandlearning.com/upload/Books/ Lesson%20Learned%20to%20Transform_1577326265.pdf. (2021, October 10).(in Thai). วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

Transformative Learning: Teaching by Experts by Experience for Development of Critical thinking and Problem Solving Skills Janjeera Yanachai 1* Prachuab Lamluk ** (Received: August 31, 2021, Revised: March 21, 2022, Accepted: March 23, 2022) Abstract In the 21st century, nursing education for baccalaureate nursing students have to encompass essential and productive skills into the nursing courses to generate their assessment abilities. This paper aimed to study transformative learning by using experts’ experiences to develop nursing’s student’s competency, including critical thinking and problem solving skills. As noted by Transformative Learning Theory, the study focused on expert by experiences to promote learning experiences of nursing students. To contribute expert by experiences technique into the nursing course, patients with physical and mental deficiency became as an expert member of the team. The results highlighted that using experts by experiences techniques delivered a new paradigm, and interestingly promote individual learners, transform critical thinking, alter attitude to emerge their own ways to gain knowledge. In addition, applying this strategy leaner acknowledged their recent skills to create their further nursing roles. These indicated that experts by experiences should apply to all clinical practices fields in order to develop nursing skills, knowledge, critical thinking, and problem solving in nursing students, as well as enhance core nursing skills and life-long learning. Keywords: Experts by experience; Transformative learning; Critical thinking and problem solving * Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, Nakhon lampang, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health ** Assistant Professor Dr.,School of Medicine, University of Phayao 1Corresponding author: [email protected] โทร 0979644263 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1

การเรียนรู้สกู่ ารเปลีย่ นแปลง : การสอนแบบใช้ผู้เชีย่ วชาญโดยประสบการณ์ เพื่อพัฒนานักศึกษา พยาบาลดา้ นทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา จนั ทร์จรี า ยานะชัย1* ประจวบ แหลมหลกั ** (วนั ท่รี บั บทความ : 31 สิงหาคม 2564 , วันแกไ้ ขบทความ: 21 มีนาคม 2565, วันตอบรบั บทความ: 23 มนี าคม 2565) บทคดั ย่อ การจัดการเรียนการสอนสาหรับนักศึกษาพยาบาล เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะดา้ นทักษะการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแก้ปัญหา เป็นทกั ษะท่ีจาเปน็ สาหรบั การเป็นพยาบาลเพื่อ ใช้ในการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ ระบุปัญหาทางการพยาบาล วางแผนการพยาบาล และตัดสินใจ ปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือผลลัพธ์ทางการพยาบาลที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ จึงมีการนาแนวคิดทฤษฎีการ เรียนรู้สู่การเปล่ียนแปลงของ Jack Merzirow (1997) ใช้ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมทักษะ โดยใช้วิธีการ จดั การเรยี นการสอนแบบใชผ้ เู้ ช่ียวชาญโดยประสบการณ์ เปน็ การนาผ้ปู ่วยทีม่ คี วามผดิ ปกตทิ างรา่ ยกายและจิตใจ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในฐานะผู้เชี่ยวชาญโดยประสบการณ์ ส่งผลทาให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ ด้วยตนเอง มีการเปล่ียนแปลงความคิด ความเชื่อ วิธีปฏิบัติและค้นพบวิธีการเรยี นรู้แบบใหม่ พัฒนาทักษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง จนกระท่ังเกิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ผเู้ รียนสามารถบรรลผุ ลลัพธ์การเรียนรู้และเชอ่ื มโยงความรู้สู่การเป็นพยาบาลวิชาชีพในอนาคต โดยมอี าจารยเ์ ป็น ผู้สนบั สนนุ การเรียนรู้ บทความวิชาการน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยวิธีการใช้ผู้เช่ียวชาญ โดยประสบการณ์ การเรยี นรูส้ กู่ ารเปลี่ยนแปลง ในการพฒั นาสมรรถนะนกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ด้านทักษะ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา และผลของการนาแนวคิดไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ภาคปฏิบัติในคลินิก ข้อเสนอแนะ ควรจัดการเรียนการสอนในภาคปฏิบัติด้วยวิธีการใช้ผู้เช่ียวชาญโดย ประสบการณ์ในข้ันตอนต่างๆอย่างสมบูรณ์ ได้แก่ ขั้นตอนเตรียมการสอนและการปฐมนิเทศ ขั้นตอนดาเนินการ สอนและวิธีการสอน และข้ันตอนการสรุปการเรียนรู้ ควรสนับสนุนการมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการอย่างแท้จริง และจัดการเรียนการสอนในทุกรายวิชาเพ่ือให้นักศึกษาเกิดทักษะที่จาเป็นเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองและอย่าง ตอ่ เน่อื ง Keywords: ผู้เชีย่ วชาญโดยประสบการณ์; การเรยี นรู้สกู่ ารเปลี่ยนแปลง; การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา * อาจารยพ์ ยาบาล วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ** ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.,คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา 1ผปู้ ระพันธ์บรรณกจิ [email protected] โทร 0979644263 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1

20 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) บทนา การนาแนวคดิ ทฤษฎีการเรยี นรู้สกู่ ารเปลีย่ นแปลงของ Jack Merzirow (Merzirow ,1997) ไปใชใ้ นการ จดั การเรียนการสอนสาหรับนักศึกษาพยาบาล เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมีทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ซง่ึ เป้าหมายหลักของ การศกึ ษาในศตวรรษ 21 ไมใ่ ช่เปน็ เพยี งตัวเน้ือหาหรือสาระความรู้ แตเ่ ปน็ การฝึกให้เกิดทกั ษะ (Skills) ทจ่ี าเป็น และฝึกการเรียนรู้ต่อเน่อื งตลอดชีวิต โดยเฉพาะทกั ษะทางปัญญาดา้ นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ซ่งึ เปน็ ทักษะทจ่ี าเป็นสาหรบั การเป็นพยาบาล เพอ่ื ใช้ในการรวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะหข์ อ้ มลู สขุ ภาพของผูร้ ับบริการ ระบปุ ญั หาทางการพยาบาล วางแผนให้การพยาบาล และตดั สนิ ใจปฏิบัติการพยาบาลเพอื่ ผลลพั ธ์ทางการพยาบาล ท่ปี ลอดภยั และมปี ระสิทธิภาพ การจดั การเรียนรเู้ พอ่ื ส่งเสริมทักษะดังกลา่ ว ผเู้ รียนตอ้ งมีการฝกึ พัฒนาด้วยตนเอง อย่างต่อเนือ่ ง โดยมีอาจารย์เป็นผ้ใู หก้ ารสนบั สนุนการเรยี นร้เู ท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับ Changing attitudes: The impact of Expert by Experience involvement in Mental Health Nursing Education: An international survey study กลา่ ววา่ การปฏริ ปู การศึกษามีความจา เป็นมากและเพ่อื การสรา้ งคุณคา่ สาหรับหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ การขบั เคลอื่ นด้านการพัฒนาหลักสูตรการ สอน จงึ มีการนาผูท้ ่ีมปี ระสบการณ์การเจ็บป่วยทางสขุ ภาพจติ และมอี าการดขี ึ้นจนหายเปน็ ปกติมาใช้ในการจดั การเรียน การสอนในฐานะผูเ้ ชี่ยวชาญโดยประสบการณ์ การศึกษาครงั้ นี้มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อประเมินทศั นคตขิ องนกั ศึกษา ต่อ ผปู้ ่วยทีม่ ปี ญั หาทางสุขภาพจติ การพยาบาลสุขภาพจิต และศกึ ษาการมีส่วนรว่ มของผู้เข้ารว่ มการศึกษาในครั้งนี้ จานวน 194 คน ผลการศกึ ษาพบวา่ นกั ศกึ ษามกี ารยอมรบั และเปลยี่ นแปลงทัศนคตทิ ี่ดีมากขึ้น และการศึกษาคร้ัง น้ียงั ชีใ้ ห้เห็นวา่ การฝกึ ภาคปฏิบัติการพยาบาลสุขภาพจิตดว้ ยการใช้ผู้เช่ียวชาญโดยประสบการณ์มีความสัมพันธ์ กบั การฟน้ื ฟสู ่สู ุขภาวะของผ้ปู ว่ ยจิตเวชทัง้ ทางด้านสังคมและการดูแลอยา่ งเปน็ ระบบด้วยเชน่ กัน แตอ่ ย่างไรกต็ าม ควรมีการพัฒนากลยุทธข์ องวิธีการจดั การเรียนการสอนแบบใช้ผู้เช่ยี วชาญโดยประสบการณ์ต่อไป (Brenda Happell et al., 2018) Petra Videmšek (Videmšek,2017) ได้ทาการศึกษาวิจัยแบบก่งึ ทดลอง เพอื่ ศึกษาประโยชน์ของการ สอนแบบการผเู้ ชย่ี วชาญโดยประสบการณ์ และการมีสว่ นร่วมของผู้เชยี่ วชาญ ในรายวชิ าสขุ ภาพจติ ของนกั ศึกษา ชนั้ ปที 3ี่ หลักสตู รสังคมสงเคราะห์ แบ่งกลุม่ ตวั อยา่ งออกเปน็ 2 กลมุ่ กลมุ่ แรกเรียนด้วยวธิ กี ารศึกษาวิจัยร่วมกับ ผู้เชยี่ วชาญโดยประสบการณ์ในฐานะนกั วจิ ยั และกลุ่มทสี่ องเรียนด้วยวธิ ีศกึ ษาวจิ ัยกับครผู สู้ อนที่เปน็ นกั วิจัย ผล การศึกษาพบว่า กลุ่มนกั ศกึ ษาทีเ่ รยี นโดยใชผ้ ู้เชย่ี วชาญโดยประสบการณ์มีความรู้ความเข้าใจมากกว่ากลุ่มที่เรียน กับครูผูส้ อน และนักศกึ ษาตระหนกั รถู้ งึ คณุ คา่ ของผเู้ ชีย่ วชาญโดยประสบการณ์โดยเป็นตน้ กาเนิดของการสร้างองค์ ความรู้ เห็นว่าความสาคญั ของการเรียนร้จู ากทัศนคติ แนวคิดและหลักการ ความผดิ ปกติและปัญหาสุขภา พของ ผู้เชย่ี วชาญ และความแตกตา่ งกันนนั้ ส่งผลให้นกั ศกึ ษาค้นพบองค์ความรู้ท่ีแท้จรงิ คณุ คา่ ท่เี กิดจากประสบการ ณ์ ของผู้เชยี่ วชาญสามารถชักนาใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงระบบบริการทางสงั คมได้ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

21 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) วัตถุประสงค์ บทความวิชาการน้ี มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือนาเสนอแนวทางการจัดการเรยี นการสอนเพ่ือการเรียนรู้สู่การ เปลี่ยนแปลงโดยวิธกี ารใชผ้ ู้เชย่ี วชาญโดยประสบการณ์ การเรยี นรู้ส่กู ารเปลี่ยนแปลง ในการพฒั นาสมรร ถน ะ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตต่อทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา จากการทบทวน วรรณกรรมผู้เขยี นผู้เขยี นขอนาเสนอใน 3 ประเดน็ หลัก ดังต่อไปนี้ 1.การเรียนร้สู ูก่ ารเปลย่ี นแปลง (Transformative Learning) 2.การจัดการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรสู้ ู่การเปล่ยี นแปลง และการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมี วจิ ารณญาณและการแก้ปัญหาของนักศกึ ษาพยาบาล 3. ผลของการนาวธิ กี ารจัดการเรยี นการสอนด้วยวิธกี ารใช้ผเู้ ชย่ี วชาญโดยประสบการณ์ไปใช้ 1. การเรียนรู้สู่การเปลย่ี นแปลง (Transformative Learning) การเรยี นรู้สกู่ ารเปลย่ี นแปลง หมายถงึ การเปล่ยี นแปลงระดบั รากลกึ ของกระบวนการคดิ ความรสู้ กึ และ การปฏบิ ตั ิ (Transformative Learning Centre, 2004) Jack Mezirow (Merzirow ,1997) เป็นผคู้ น้ พบทฤษฎี การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning : TL) เป็นคนแรกในปี 1978 กล่าวว่า TL เป็น การศกึ ษาหาวธิ กี ารเรียนรู้ต้งั แตเ่ ร่มิ ตน้ จากประสบการณข์ องตนเอง สกู่ ารเปลีย่ นแปลงดา้ นความเชื่อ การรบั รูแ้ ละ การตง้ั สมมติฐาน การปรับเปลีย่ นวิธีคิด มมุ มองและบูรณาการนาสู่การปฏิบตั ิจริง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงน้ันเป็น ระดับปจั เจกบุคคล นอกจากน้ี กลา่ วถงึ 10 ขน้ั ตอนของกระบวนการเรียนรสู้ ู่การเปลีย่ นแปลงมี ดงั น้ี 1.ภาวะกระตุกการรับรู้ในวกิ ฤตกิ ารณ์ปจั จุบันมีความขัดแย้งกับประสบการณ์การเรยี นร้ตู ามมุมมองเดิม (Disorienting Dilemma) การทบ่ี คุ คลเผชญิ กบั ประสบการณ์ที่แตกต่างไปจากประสบการณ์เดมิ หรือไมส่ อดคล้อง กบั ความเชือ่ ของตนเอง เมอ่ื เกิดความไมส่ อดคล้องกนั ระหวา่ งกรอบแนวคิดเดิมของบคุ คล เหตุการณท์ บ่ี คุ คลเผชิญ น้ันก่อให้บุคคลเกิดความสับสน วุ่นวาย งุนงง ในความเชื่อ Larry J. Green & Kaisu Mälkki (Green & Mälkki,2017) ศกึ ษาเรื่องความขัดแย้งในภาวะภาวะกระตุกการรับรู้ โดยนาทฤษฎกี ารเรยี นรสู้ กู่ ารเปลี่ยนแปลง ของ Mezirow’s (2000) ศึกษาประสบการณข์ องความสัมพันธ์ความขัดแยง้ และคุณลกั ษณะของภาวะกระตุกการ รบั ร้ใู นวกิ ฤติการณ์ พบว่าเมอ่ื ผู้เรียนเผชิญกบั จุดเรมิ่ ต้นของเหตุการณ์ที่สถานการณจ์ ริงท่เี หน็ ผู้ป่วย ผบู้ าดเจ็บ แล้ว เกดิ ภาวะชงกั งัน รสู้ กึ ถกู คุกคาม ไม่ปลอดภัย สบั สน ความรู้สึกดังกลา่ วนาไปสูก่ ารหาคาอธบิ ายว่าเกิดอะไรขึ้น กับ ตนเอง การรบั รผู้ ดิ ปกติ รู้สกึ ขดั แย้งในตนเอง เครยี ด ผู้เรยี นจะเกิดความพยายามด้นิ รนให้หลุดพน้ ออกสภาวะ คกุ คามเชน่ น้ี อยากหาสถานทป่ี ลอดภยั ซึ่งเปน็ สง่ิ กระตุ้นเชิงลบและนาสู่พัฒนาการของกระบวนการเรียนรู้อันท้า ทายจนนาไปสูก่ ารปฏิบัตกิ ารเรยี นรใู้ หม่ 2. การตรวจสอบความรสู้ ึกของตนเอง (Self-Examination with Feelings of Guilt, or Shame) จาก การประสบวิกฤติการณ์ที่ทาให้เกิดความสับสน บุคคลมีการตรวจสอบความรู้สึกต่าง ๆ ของตนเองเก่ียวกับ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

22 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) สถานการณ์ทเี่ กิดขึ้น เชน่ ความรู้สกึ กลัว โกรธ ความไมส่ บายใจ ความร้สู กึ ผดิ บาป โทษตนเอง และความอับอาย เป็นต้น Maria Miceli, & Cristiano Castelfranchi (Miceli & Castelfranchi ,2018) กล่าววา่ ความอบั อายเป็น การประเมนิ ตนเองเชิงลบประเภทตา่ งๆ ทแี่ สดงออกโดยนยั โทษตนเองว่ามคี วามบกพร่อง ไรค้ วามสามารถ ส่วน ความรูส้ กึ ผิดหมายถึงการรบั รตู้ นเองวา่ เป็นผู้กระทาผิด การรบั ร้ถู ึงอนั ตรายของตนเองที่ทาให้เกิดขึน้ และความ อับอายเกดิ จากความคลาดเคล่อื นในสิ่งที่ตนเองปฏิบตั จิ ริงเปรยี บเทียบกับส่ิงที่ตนเองคาดหวัง สง่ ผลให้บุคคลเกิด ความรับผดิ ชอบต่อพฤติกรรมและทัศนคติท่ีเป็นอนั ตรายของตนเอง และกระตนุ้ ให้เกิดการพัฒนาตนเองและ เปลี่ยนแปลงภาพลกั ษณข์ องตนเอง 3. การทบทวน วิเคราะหแ์ ละประเมินสมมติฐานเดิมอย่างจรงิ จงั (A critical assessment of epistemic, sociocultural, or psychic assumptions) หมายถงึ การวิเคราะหแ์ ละตรวจสอบความเช่ือถือในข้อสันนิษฐาน ของบคุ คลเองอย่างเปน็ เหตุเป็นผล โดยปราศจากอคติ และอยา่ งเปดิ ใจยอมรับ การประเมนิ สมมติฐานเดิมอย่าง จริงจงั 4. การยอมรบั ความไมพ่ อใจในสมมติฐานเดิมของตนเองและการแลกเปลย่ี นกระบวนการเปลี่ยนแปลงกับ บุคคลอ่ืน ( Recognition that one’s discontent and the process of transformation are shared and that others have negotiated a similar change) เมอ่ื บคุ คลเข้าใจและเกิดการยอมรับต่อความทุกขค์ วา มไม่ พอใจความไมส่ บายใจของตน จะเริ่มมีการแลกเปลี่ยนกระบวนการเปลย่ี นแปลงโดยการสอบถามบุคคลอื่น เชน่ อาจารย์ เพ่ือน เปน็ ต้น เพอ่ื ใหบ้ ุคคลเกดิ เรียนรู้ความเชอื่ หรือกรอบแนวคิดของบุคคลอื่น โดยเช่ือว่า เมือ่ บุคคล อนื่ สามารถทาได้ ตนเองกส็ ามารถทาไดเ้ ช่นกัน 5. การคน้ หาบทบาทใหม่ ความสัมพันธ์ และการปฏิบตั ใิ หม่ (Exploration of options for new roles, relationships, and actions) ในขน้ั น้ีบุคคลไดป้ รบั เปล่ยี นความเชื่อ ข้อสมมตุ ิฐาน หรือกรอบแนวคดิ ของตนเอง ใหม่ การรเิ รมิ่ ใหม่และเริ่มต้นหาแนวทางวิธีการปฏิบตั กิ ารเรยี นรู้แบบใหม่ 6.การวางแผนปฏิบตั ติ ามแนวทางปฏบิ ตั ิการเรียนรแู้ บบใหม่ (Planning of a course of action) บุคคล จะวางแผนแนวทางในการปฏิบัตเิ พ่อื นาไปสู่บทบาทใหม่ ความสมั พนั ธ์ใหม่ และการปฏิบตั ิใหม่ 7.การลงมือปฏิบตั ติ ามแผน โดยการพัฒนาความร้แู ละทักษะที่จาเป็นต่อการเปล่ียนแปลง (Acquisition of knowledge and skills for implementing one’s plans) บคุ คลอาจต้องพฒั นาความรูแ้ ละทักษะท่เี กยี่ วข้อง มีการศกึ ษาหาความรเู้ พ่ิมเติม และศกึ ษาอย่างลึกซงึ้ 8. การทดลองปฏิบัติตามบทบาทใหม่ (Provisional trying of new roles) พร้อมกับมีการตรวจสอบ ประโยชน์ของวิธกี ารปฏบิ ตั ิในการเรยี นรใู้ หม่ 9.การสร้างสมรรถนะ ความม่ันใจในบทบาทใหม่ และความสัมพันธ์ใหม่ (Building of competence and self-confidence in new roles and relationships) ในข้ันตอนน้ีจะช่วยสร้างความม่ันใจให้กับบุคคล ได้มากขึ้น และมีความสามารถในการปฏิบตั ทิ ีส่ งู ขึ้นอกี ด้วย วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

23 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) 10. การบูรณาการเข้ากบั ชีวิตตนเองในอนาคต (A reintegration into one’s life on the basis of conditions dictated by one’s perspective) เป็นการบูรณาการมุมมองใหม่ของบุคคลที่ผ่านกระบวนการ เรยี นร้สู ู่การเปล่ียนแปลง ไปสู่การดาเนินชีวติ จรงิ ในอนาคต Sabra Brock (Brock,2010) ศึกษาวิจยั โดยการนาแนวคิดทฤษฎีการเรยี นรสู้ ู่การเปลี่ยนแปลง 10 ขนั้ ตอน ของ Jack Mezirow (Merzirow ,1997) ไปใชใ้ นการเรียนการสอนกับนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรจี านวน 256 คน ผลการศกึ ษาพบวา่ พฤตกิ รรมการเรียนรสู้ ูก่ ารเปลี่ยนแปลงในข้ันตอนตา่ งๆ ภาวะกระตุกการรับรู้ในวิกฤติการ ณ์ ความรสู้ กึ ผิดและอบั อาย การตรวจสอบความรู้สกึ ของตนเองอย่างจริงจงั การไม่ยอมรับในความสมรรถนะแห่งตน และเร่มิ ทีการแลกเปลี่ยนประสบการณก์ ับผู้อ่ืน การค้นหาบทบาทใหม่และวิธกี ารเรียนร้แู บบใหม่ การวางแผน ปฏิบตั ิตามแนวทางปฏิบตั ิการเรียนรแู้ บบใหม่ การทดลองปฏบิ ัตติ ามบทบาทใหม่ การสรา้ งสมรรถนะ ความม่ันใจ ในบทบาทใหม่ และการบรู ณาการเขา้ กับชวี ติ ของนกั ศกึ ษาสามารถทานายการเกดิ การเรยี นรสู้ กู่ ารเปลีย่ นแปลงได้ อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ (P<.001) วจิ ารณ์ พานชิ (Phanich,2515) กลา่ วว่าTransformative Learning (TL) ตอ้ งเปลีย่ นแปลงทัง้ โลกทัศน์ (Affective Attributes) ความรคู้ วามเข้าใจ (Cognitive Attributes) และพฤตกิ รรม (Psychomotor Attributes) คือมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งครบถ้วนในทุกด้าน เป็นการเปลี่ยนแปลงท่ีเรยี กว่า การเปล่ียนแปลงท้ังเนื้อทั้งตวั (Holistic Change) และเช่ือว่าการเรียนรสู้ ู่การเปลีย่ นแปลงเป็น Communicative Learning ซึ่งหมายถึงการ เรียนเป็นกลุ่มโดยใช้วิธีการเรียนรู้ด้วยการร่วมกันตรวจสอบแนวความคิด ความเช่ือคุณค่า ความรู้สึก ผ่าน กระบวนการต่างๆ ผา่ นการปฏิบตั จิ รงิ ในชีวิต แล้วจงึ มีมตริ ว่ มกันตอ่ การเปลย่ี นแปลงนัน้ และปัจจยั หลัก6 ประการ ของ TL ประกอบดว้ ย ประสบการณข์ องปัจเจกบคุ คล การสะท้อนคดิ อย่างจริงจงั สุนทรียสนทนา มุมมอง/วธิ กี าร ท่ีครบด้าน (Holistic) ให้ความสาคัญต่อบริบท (Context) และความสัมพันธ์ที่อยู่บนฐานของความจริงใจ โดย ทัง้ หมดมีความเชื่อมโยงกนั และมีความสาคัญอยา่ งเทา่ เทียมกนั ผลลพั ธ์ของการเรียนร้สู ่งผลผเู้ รียนจะมชี วี ิตท่ีดี เกิด การเรียนรตู้ ลอดชีวติ และบรรลทุ ักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 2. การจดั การเรยี นการสอนเพ่อื การเรยี นรู้สู่การเปลีย่ นแปลง และการพฒั นาทกั ษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ และการแกป้ ัญหาของนกั ศึกษาพยาบาล การจัดการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาทักษะการคิดอย่า งมี วิจารณญาณและการแก้ปัญหาของนักศึกษาพยาบาล มีความเชื่อมโยงกันอย่างมีนัยยะ การเรียนรู้สู่การ เปลี่ยนแปลงนนั้ เปน็ การเปลย่ี นแปลงที่มงุ่ ให้ผู้เรยี นเกิดการเปล่ียนแปลงในความเช่ือแล ะมุมมอง โดยเป็นการ เรียนรทู้ พ่ี ิจารณาหาเหตุและผล จากการตง้ั คาถามกับปรากฎการณ์ท่ีพบเห็นวา่ เกิดอะไรขึ้น สาเหตุเกดิ ขึ้น ได้ อย่างไร การเรยี นรูเ้ กิดจากการสะทอ้ นคิดของตนเอง ส่งผลใหเ้ ปล่ียนแปลงโลกทัศน์ และนาไปสู่การปฏิบัติที่ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

24 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) สะทอ้ นใหเ้ หน็ การเปล่ยี นแปลงของผู้เรียนในด้านความรู้ วิธีการเรยี นรู้ การไดม้ าซง่ึ ความรู้ ความรับผดิ ชอบต่อการ เรียนร้ขู องตนเอง เกิดกระบวนการคิดเปน็ แบบพลวตั ร คดิ สรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ นาไปสูก่ ารตง้ั คาถามใหม่ คิด แบบตอ่ ยอด การคดิ ลึกซ้ึง ใคร่ครวญและเกดิ การศึกษาแบบหย่ังราก การพฒั นาเปน็ ลกั ษณะแบบค่อยเปน็ ค่ อยไป จนเกดิ ทกั ษะการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ ซงึ่ เป็นส่งิ ทจี่ าเปน็ และสาคญั มากสาหรับการศกึ ษาการหลักสตู รพยาบาล ศาสตรแ์ ละการฝึกปฏบิ ัติอย่างเป็นวชิ าชีพ (Pérez, Lluch, Pegueroles, Llobet, Arroyo, & Merino, 2015) นักศกึ ษาพยาบาลควรไดร้ บั การฝึกและพัฒนาทกั ษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งนาไปสกู่ ารเพ่ิมสมรรถน ะการ แก้ไขปญั หา (problem solving)ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพและการดแู ลผ้ปู ว่ ยดว้ ยความปลอดภยั (Alfaro-LeFevre, 2013) วิจติ รา กุสุมและคณะ (Kusoom et al.,2017) กลา่ ววา่ การพัฒนาทกั ษะการคดิ อย่างมีวิจารณญา ณของ นักศกึ ษาพยาบาล การจดั การเรียนการสอนด้วยวิธีการใช้สถานการณจ์ าลอง (simulation) เป็นกระบวนการที่ ผสู้ อนกระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดการเรียนร้ตู ามวัตถุประสงค์ทกี่ าหนด โดยใหผ้ เู้ รยี นแสดงในสถานการณท์ ่ีมีบทบาท ข้อมูล และกติกาการทาหนา้ ที่ ที่สะทอ้ นความเป็นจริง และมปี ฏิสัมพันธก์ ับสิ่งตา่ ง ๆ ทีอ่ ย่ใู นสถานการณ์นั้น ๆ โดยใช้ข้อมูลคล้ายกับท่ีเป็นจรงิ โดยผู้สอนสรุปการเรียนรู้จากการแสดงบทบาทนั้น ๆ จึงช่วยฝึกทักษะ การ ปฏสิ มั พนั ธ์กับผู้อื่น การสื่อสาร การตดั สนิ ใจ การแกป้ ัญหาและกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และชัชวาล วงค์สารี (Wongsaree,2019) กลา่ วว่าการสอนนักศกึ ษาพยาบาลเจเนอเรชั่นแซดให้คิดอย่างมีวิจารณญาณ ต้อง สอนโดยใช้การวธิ ีการสอนหลายๆวธิ ี บูรณาการใหเ้ ป็นโปรแกรมเดยี วกนั จัดผูเ้ รียนเป็นกลุ่มยอ่ ย อธบิ ายกจิ กรรม การเรยี นการสอนท่ีชดั เจน ก่อนให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรตู้ ามโปรแกรมท่ีออกแบบไว้ โดยผ้สู อนเปลยี่ นความสาคัญของ ตนจากการเป็นผู้บรรยายมาเปน็ ผู้ทอ่ี อกแบบสถานการณ์ เปน็ ผ้กู ระตุ้น เปน็ ผ้ชู แี้ นะให้นกั ศกึ ษาไดค้ ิด เปดิ โอกาส ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติทักษะด้วยตนเองอย่างเต็มท่ี โดยผู้สอนเป็นผู้ติดตามให้เป็นไปตามกระบวนการสอน ประเมนิ ผลความคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และสรา้ งบรรยากาศในการเรียนให้ผู้เรียนเกิดความสขุ จะชว่ ยกระตุ้น ให้ ผู้เรียนมกี ารคดิ ที่มวี ิจารณญาณมากขน้ึ บทความนผี้ ู้เขียนเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนเพ่ือการเรียนรู้สู่ การเปลย่ี นแปลง และการพัฒนาทักษะการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและการแก้ปญั หา ท่สี ามารถประยุกต์ใชไ้ ด้ดังน้ี การจัดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการเรยี นรู้โดยใช้สถานการณ์เสมือนจรงิ เป็นการจัดการเรยี นการ สอนท่ีมุง่ เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั ไดเ้ รียนรจู้ ากการฝึกปฏิบัติในสถานการณ์ที่กาหนดขึ้นเปิดโอกาสให้ผูเ้ รียน ได้ฝึก ปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างไมม่ ขี ้อจากัด สามารถพฒั นาทกั ษะด้านอ่ืนๆที่ตอ้ งใชใ้ นการปฏบิ ัติการพยาบาลเช่น การมีปฏสิ ัมพันธ์ การสือ่ สาร การตัดสินใจ การคดิ วเิ คราะห์ และการแกไ้ ขปญั หา เกดิ การเรียนรู้ด้วยตนเองจากประสบการณ์ จน สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองได้ ภายใตห้ ลักการสาคัญ 3 ประการ ดังนี้ ข้ันแรก Prebrief เปน็ ขั้นการ เตรยี มผ้เู รยี นใหร้ บั ทราบวัตถุประสงคข์ องการเรียนการสอน รวมถงึ รบั ทราบเก่ียวสถานการณท์ ่ีกาหนดไว้ พร้อมทั้ง แนะนาสถานที่ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือเคร่ืองใชเ้ พื่อใหผ้ ูเ้ รียนมีความพร้อม ขนั้ ทีส่ อง Scenario เป็นข้นั ฝกึ ปฏบิ ตั ิการ ดูแลผูป้ ่วยภายใต้สถานการณ์ท่กี าหนดโดยมีหุ่นและอุปกรณ์ อ่นื ๆเปน็ สอื่ การเรยี นรู้ และข้ันท่สี าม Debrief เป็น ขนั้ การสรุปใจความสาคญั หลงั การฝกึ ปฏบิ ัติโดยผสู้ อนกระตุ้นให้ผูเ้ รยี นได้สะทอ้ นถึงความรู้สึก ประสบการณ์และ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

25 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผลการปฏิบัติรวมถึงแนวทางการพัฒนาในการปฏบิ ัติงาน โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผ้เู อ้ืออานวยความสะดวก (facilitator) ซ่งึ ต้องใชค้ วามร้คู วามสามารถในการกระตุน้ ผู้เรียนให้เกิดการคิดวิเคราะห์และเรียนรูด้ ้วยตน เองท่ี เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับระดับความรแู้ ละประสบการณ์ผู้เรยี นเป็นสาคัญ การจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการใช้ผเู้ ชี่ยวชาญโดยประสบการณ์ (Experts by Experience :EBE) เป็นวิธีการสอนชนิดหนึ่งของการการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เสมือนจริง โดยผู้สอนได้นาผู้ป่วยจริงที่มี ประสบการณ์ในโรคนน้ั ๆ และมปี ัญหาสุขภาพทางกายหรือจิตใจ โดยการใชผ้ ูป้ ว่ ยเป็นผู้เช่ยี วชาญและใหน้ ักศึกษา ไดเ้ รยี นรู้จากผู้เช่ยี วชาญ ใหน้ กั ศึกษาไดฝ้ ึกการคิด การถาม การพดู การส่อื สาร การรับฟงั การต้งั คาถาม การ สงั เกตอาการและอาการแสดง ปฏิกิรยิ าตา่ งๆ การตรวจรา่ งกาย เพ่ือการคน้ หาความผดิ ปกตทิ ่เี กิดขึน้ กบั ตัวผู้ป่วย แล้วตัง้ คาถามด้วยตนเองวา่ ปรากฏการณ์ทีพ่ บเหน็ นนั้ เกิดข้ึนได้อย่างไร สาเหตเุ กดิ จากอะไร และแสวงหาความรู้ ทางวชิ าการดว้ ยตนเองเพ่ือนามาอธบิ ายในส่ิงทต่ี นเองต้ังคาถาม จนเกดิ การสรา้ งองค์ความรูด้ ้วยตนเอง สามารถ สง่ เสริมใหน้ กั ศกึ ษาสามารถคดิ วิเคราะห์ ระบุปญั หาทางการพยาบาล วางแผนให้การพยาบาล ปฏิบตั ิการพยาบาล และประเมนิ ผลการพยาบาลไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับปญั หาของผ้ปู ่วย โดยผ้สู อนเปน็ ผสู้ นับสนนุ กระบวนการเรียนรู้ และคอยชว่ ยเหลืออย่างใกล้ชิดเพ่ือความปลอดภยั ของผู้ปว่ ย ซ่งึ มคี วามแตกตา่ งจากการเรียนรู้โดยใช้สถานการ ณ์ เสมอื นจริง ในส่วนของผสู้ อนเปน็ ผอู้ อกแบบโจทยส์ ถานการณ์ ตามวตั ถุประสงคท์ ี่ต้องการใหน้ ักศกึ ษาเรียนรู้ การ สะท้อนคิด และสนับสนนุ แลกเปลี่ยนประสบการณท์ ี่ไดร้ บั จากการทางานรว่ มกันในกลมุ่ ผ้เู รียนด้วยกัน การสอน ด้วยวธิ ีการใชผ้ เู้ ชย่ี วชาญโดยประสบการณ์ ถูกนามาใชอ้ ย่างแพรห่ ลายในการเรียนการสอนรายวิชาการพยาบาลจิต เวช มปี ระโยชนต์ อ่ การเสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจในการพยาบาลแ บบองคร์ วม การพัฒนาทกั ษะปฏิบตั ิ การ สอื่ สารและการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ (interpersonal skill) ในปจั จุบนั การเรียนการสอนแบบ EBE ยงั ขาดความสมบูร ณ์ และไมค่ รอบคลุม ส่วนมากสาเหตเุ กิดจากการขาดการเตรยี มความพรอ้ ม การสะทอ้ นคดิ และทกั ษะความรู้ พบวา่ การสอนหลกั สูตรพยาบาลศาสตร์ด้วยวธิ ี EBE โดยการเรยี นรูจ้ ากปรากฎการณ์และประสบการณ์จริงของผู้ป่วย ควรไดร้ บั การสนับสนนุ ให้มีการสอนแบบ EBE อยา่ งกว้างขวางในสถานบันการศึกษาท่ีมีการสอนหลกั สตู รพยาบาล ศาสตร์ แต่วธิ กี ารนาสู่การปฏิบัติจรงิ นน้ั ขาดความชัดเจนในกระบวนการจัดการเรียนการสอน (Horgan et al.,2020) วธิ กี ารเรียนรู้ด้วยวธิ ี EBEเปน็ การเรยี นการสอนชนิดหนง่ึ ของการเรียนร้โู ดยใช้สถานการณเ์ สมือนจริง(SBL) โดย ผู้สอนได้นาผู้ป่วยจริงท่ีมีประสบการณ์ในโรคน้นั ๆ และมีปัญหาสุขภาพทางกายหรือจิตใจ โดยใช้ผู้ป่วยเปน็ ผ้เู ชย่ี วชาญ ให้นักศึกษาไดเ้ รียนรจู้ ากผเู้ ชยี่ วชาญ ทาใหน้ ักศกึ ษาได้ฝกึ การคดิ การถาม การพดู การสือ่ สาร การรับ ฟงั การต้ังคาถาม การสังเกตอาการและอาการแสดง ปฏิกริ ิยาตา่ งๆ การตรวจรา่ งกาย เพอื่ การค้นหาความผดิ ปกติ ทเี่ กิดข้นึ กับตวั ผู้ปว่ ย โดยการเรยี นการสอนแบบ EBE น้ี ทาให้นกั ศกึ ษาเกิดทกั ษะด้านการคิดแบบมีวจิ าร ณญา ณ (Critical Thinking ) หมายถงึ ความสามารถในการคิดอยา่ งถี่ถว้ นและมเี หตุผล เกีย่ วกบั ส่งิ ทีเ่ ราทาและสง่ิ ทีเ่ ร าเช่ือ ประโยชนข์ องการคิดแบบ Critical Thinking คอื การทาให้เราสามารถเชื่อมโยงตรรกะต่างๆ และสามารถสรา้ งข้อ โต้แยง้ ที่มเี หตุผลได้ การเรยี นรรู้ ูปแบบ EBE เป็นการเรียนรู้ท่ีมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล จะสง่ เสริมนกั ศึกษา วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

26 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) สามารถคิดวิเคราะห์ ระบุปัญหาทางการพยาบาล วางแผนให้การพยาบาล ปฏิบตั ิการพยาบาล และประเมินผล การพยาบาลได้อย่างเหมาะสมกับปญั หาของผปู้ ่วย จากการศึกษาของ Brenda Happell (Happell et al.,2022) พบว่า การสอนแบบใช้ผู้เช่ยี วชาญโดยประสบการณใ์ นวิชาการพยาบาลจิตเวช ทาให้เกดิ ผลลัพธ์เชิงบวกทั้งต่อ ผู้เรยี นและผปู้ ว่ ย และผเู้ รยี นบรรลผุ ลลพั ธ์การเรยี นร้ทู ่สี าคัญได้ จากการทบทวนวรรณกรรมผู้เขยี นได้นาแนวทางการจัดสอนด้วยวิธีการใชผ้ ู้เช่ยี วชาญโดยประสบการ ณ์ ไปใช้ในการสอนภาคปฏบิ ัติในคลินิก ประกอบดว้ ยข้นั ตอน ดังแสดงในภาพท่ี 1 1.ข้นั เตรียมการ : การปฐมนิเทศ 2.ขน้ั ดาเนินการสอนและวิธกี ารสอน 2.1 มอบหมายกรณีศกึ ษา 2.2 ขั้นแนะนา (Introduction) 2.3 ดาเนินการตามสถานการณ์จริงทกี่ าหนด (Scenario) 2.4 การสะท้อนคดิ (Reflective) 2.5 ข้ันสรุปการเรยี นรู้ (Debrief) ภาพที่ 1 แนวทางการจัดสอนด้วยวธิ กี ารใชผ้ ูเ้ ช่ียวชาญโดยประสบการณ์ 1.ขนั้ เตรยี มการ อาจารย์ผูส้ อนภาคปฏิบัติในคลินิก ปฐมนิเทศนักศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของรา ยวิชา วตั ถุประสงค์ วธิ กี ารจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลในรายวชิ า อธบิ ายวัตถุประสงค์ และวธิ ีดาเนนิ การ ของการฝึกภาคปฏิบัติด้วยวธิ ี EBE ระหว่างการฝึกภาคปฏิบัติจะมอี าจารย์ผูส้ อนดูแลอย่างใกล้ชิด ให้นักศึกษา เรียนรู้ด้วยตนเองโดยมีผู้ป่วยหรอื ญาติเป็นผู้เชี่ยวชาญ โดยเรยี นรู้จากตัวผู้ป่วยและสถานการณ์จริงที่เกดิ ข้ึน บทบาทของอาจารย์ผู้สอนภาคปฏบิ ตั ใิ นคลนิ ิกจะเป็นเพียงผู้สนับสนุนการเรยี นรู้ของนักศกึ ษาให้บรรลผุ ลลัพธ์การ เรยี นรู้ กาหนดประสบการณท์ ตี่ ้องเรยี นรู้ และเตรยี มการคน้ หาสถานการณ์จรงิ ทก่ี าหนดขึ้นสาหรับการเรยี นรู้ การ เตรียมตวั ผ้เู รยี นให้มคี วามพร้อมสาหรบั การเรยี นรแู้ ละปลอดภยั การเตรยี มสถานการณ์ที่ดเี พื่อใชใ้ นการเรียนรู้จ ะ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นบรรลวุ ตั ถุประสงคต์ ามทคี่ าดหวัง 2.ขั้นดาเนินการสอนและวิธีการสอน ผูส้ อนภาคปฏิบัตใิ นคลนิ กิ ดาเนนิ การดังน้ี 2.1 มอบหมายกรณศี ึกษา โดยเปน็ ผู้ป่วยทีม่ ีความผิดปกตทิ างกายหรอื จิตใจที่สอดคลอ้ งตาม ลักษณะและสาระสาคญั ของรายวิชา หรอื สถานการณ์จริงที่กาหนดไว้ให้นกั ศกึ ษาเรียนร้จู ากผเู้ ชีย่ วชาญ 2.2ขนั้ แนะนา(Introduction)และกลา่ วสรปุ กอ่ นฝกึ ปฏบิ ัติในสถานการณจ์ รงิ (Prebrief) ขั้นตอน มีดังน้ี วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

27 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) กาหนดเป้าหมายและวัตถปุ ระสงค์ผลลพั ธท์ ่ีคาดหวังท่จี ะเกิดกับนักศึกษาชแี้ จงบทบาทของผู้เรียนและผู้ทีเกย่ี วข้อง ปฐมนเิ ทศสิง่ แวดล้อม ความปลอดภัยของผู้เรียน และส่ิงของระบบสนับสนนุ ขณะที่ฝกึ ปฏิบัติในสถานการณ์จริงที่ กาหนดข้นึ อุปกรณเ์ ครื่องมอื เครื่องใช้ 2.3 ดาเนินการตามสถานการณจ์ รงิ ท่ีกาหนด (Scenario) โดยมีอาจารย์ผู้สอนภาคปฏบิ ัตใิ น คลินิกเป็นผู้ดแู ลนักศกึ ษาอย่างใกลช้ ดิ จนสิน้ สดุ สถานการณ์ 2.4 การสะทอ้ นคิด (Reflective) โดยมี 3 ขนั้ ตอนดงั น้ี ขั้น Descriptive phase มุ่งเน้นการ อธิบายความคดิ ความรู้สกึ ของนกั ศกึ ษา โดยเปิดโอกาสใหน้ กั ศกึ ษา อธิบายความคดิ ความรสู้ ึกเกย่ี วกับสถานการณ์ (Scenario) และสง่ิ ทย่ี งั ไม่เขา้ ใจในสถานการณ์และ อนุญาตให้ Facilitator ได้อธิบายหรือซักถามในประเด็นสงิ่ ท่ียัง ไมเ่ ข้าใจทีเ่ กดิ ขึ้นในสถานการณ์ ขนั้ Analysis phase เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สะท้อนคดิ บอกเล่าในส่ิงที่ตนเอง คดิ การตดั สินใจและส่งิ ทลี่ งมือปฏบิ ตั ิในสถานการณ์จริง พรอ้ มทงั้ คิดวิเคราะห์เกีย่ วกบั ประสบการณ์ทีไ่ ด้ปฏิบัติใน สถานการณ์ทีผ่ ่านมานั้นซึ่งเปน็ การวิเคราะหเ์ หตผุ ลการกระทาหรอื ส่ิงทเ่ี กดิ ขน้ึ ในสถานการณ์และขน้ั Application phase มุง่ เน้นส่ิงท่ีทาใหเ้ กดิ การเรยี นรภู้ ายใต้สถานการณแ์ ละการนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ นอนาคตตอ่ ไป เป็นการชว่ ย ใหผ้ ้เู รียนได้วิเคราะหแ์ นวทางพฒั นาทกั ษะดา้ นการปฏบิ ัติการพยาบาลในคลินิก การเรยี นรตู้ ามรูปแบบการสะท้อน คิดของกบิ ส์ เปน็ รูปแบบทใ่ี ชไ้ ดด้ ีโดยการบรรยายเหตุการณ์ ความคดิ ความรู้สึก วิเคราะหส์ ถานการณ์ ถงึ ส่ิงทที่ า ไดด้ แี ละส่งิ ทอ่ี ยากจะทาให้ดขี ึ้น เชอ่ื มโยงประสบการณเ์ ข้ากับทฤษฎี และสรุปหลักกการขององค์ความรทู้ ไ่ี ดเ้ รียนรู้ นาสู่การปฎิบัตเิ ชิงวิชาชพี ในอนาคต โดยผสู้ อนเปน็ เพยี งผู้สนับสนุนการเรยี นรโู้ ดยการใช้คาถามกระตนุ้ ให้ผู้เรียนได้ คิดวเิ คราะห์และฝกึ ทักษะการใหเ้ หตุผลทางคลินิกซึง่ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ ในการพัฒนาการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการตัดสินใจทางคลนิ ิก 2.5 ขนั้ สรุปการเรยี นรู้ (Debrief) เปน็ การสรุปการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสะท้อนคิด (reflective )ประกอบดว้ ยข้นั ตอนและวิธีการดังตอ่ ไปนี้ 2.5.1 การวางแผนสรปุ การเรยี นรู้ (Debrief plan) ประกอบดว้ ย ดาเนินการ Debrief ใน สถานที่เดยี วกบั สถานที่ปฏบิ ัติ Scenario เชน่ หอผู้ป่วย หอ้ งประชมุ ของหอผู้ปว่ ย ทา้ ยเตยี งผู้ป่วย เปน็ ตน้ การทา Debrief เมอ่ื ส้นิ สดุ สถานการณ์ทันที เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนสามารถทบทวนส่ิงท่ีเกิดขึน้ ได้ ผ้สู งั เกตการณ์ ไดแ้ กพ่ ยาบาลพ่ี เลี้ยงแหล่งฝกึ หรือนกั ศึกษาคนอืน่ มีหน้าท่ีหลัก คือการสังเกตเหตกุ ารณ์ท่เี กิดขึ้นทั้งท่ปี ฏบิ ัติได้ดีและสิ่งท่ีต้อง ปรับปรุงโดยใชเ้ คร่ืองมอื การบนั ทกึ เช่นการจดรายละเอยี ด แบบประเมนิ เป็นตน้ ผู้ช่วยสงั เกตการณ์ เป็นผชู้ ว่ ย เหลือในการสะทอ้ นข้อมูลเพ่มิ เติมทย่ี ังไมค่ รบถ้วน ผคู้ วบคุมระบบส่ังการเปน็ อาจารยผ์ สู้ อนภาคปฏบิ ัติในคลินิกทา หน้าทค่ี วบคุมการปฏิบตั ใิ ห้ดาเนินการไปตามระบบท่ีวางไว้ และผชู้ ว่ ยเหลอื การ Debrief มีบทบาทเปน็ ผชู้ ว่ ยเหลือ ผนู้ าในการ Debrief อาจมีหรือไม่มีก็ได้ หรอื อาจเป็นนกั ศึกษาคนอืน่ เป็นผู้ชว่ ยเหลอื การ Debrief เพือ่ ให้เกดิ การ แลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ันในทีม วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

28 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) 2.5.2 การอธบิ ายความคิด ความรสู้ ึกของนักศึกษา (Descriptive phase) เปน็ การกระตุ้นให้ นักศึกษาอธิบาย แสดงความรู้สึก ทบทวนและอธิบายส่ิงท่ีได้ลงมือปฏิบัติการพยาบาล โดยอาจารย์ผู้สอน ภาคปฏิบัติในคลินิกใช้คาถามปลายเปิดเพ่ือกระตุ้นให้นักศึกษาได้อธิบายในสิ่งท่ีเผชิญขณะดาเนิ นการตาม สถานการณ์จรงิ ทกี่ าหนด 2.5.3 การวิเคราะห์เหตุผลการกระทาหรอื ส่ิงท่ีเกิดข้นึ ในสถานการณ์ (Analysis phase) เป็น การใช้คาถามปลายเปิดท่ีสง่ ผลกระตุ้นนักศึกษาให้การคิดวิเคราะห์เก่ียวกับสถานการณจ์ ริงที่เกิดข้นึ หรืออธบิ าย เหตผุ ลของการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลนัน้ ๆ ไมค่ วรเป็นคาถามปลายปดิ ที่ใชว้ ัดความรนู้ กั ศึกษา 2.5.4 วิเคราะห์แนวทางพัฒนาทักษะดา้ นการปฏิบัตกิ ารพยาบาลในคลนิ กิ ปรับใช้ในอนาคต ตอ่ ไป (Application phase) เป็นการตั้งคาถามท่ีมงุ่ เน้นส่ิงทท่ี าใหน้ กั ศกึ ษาเกิดการเรยี นรภู้ ายใตส้ ถานการณจ์ รงิ ความรทู้ เ่ี กิดขนึ้ จดุ อ่อน หรอื จุดท่ปี ฏิบัติได้ดีในสถานการณ์ และการนาความรไู้ ปปรบั ใช้เม่ือเผชญิ สถานการณ์แบบ นีอ้ ีกครั้ง หรือนาไปใชใ้ นอนาคตสาหรบั การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในคลนิ กิ 2.5.5 ข้อปฏิบัติของผคู้ วบคุมระบบสัง่ การ และ Facilitator เพื่อให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ เปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีกาหนด มีขอ้ ปฏบิ ตั ดิ ังนี้ รักษาเวลา เป็นผสู้ งั เกตการณ์ คานงึ อยู่เสมอว่าไม่ใช่การสอน แบบ บรรยาย ควรกระตุ้นให้เกิดการสะท้อนคิด ทาให้เป็นการเรียนรู้ของกลุ่ม หรือของเหตุการณ์ และให้เกิด บรรยากาศการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ มกี ารตดั สินใจที่ดี และมีความแม่ยา เท่ยี งตรง ถูกต้อง รู้จงั หวะในการเข้า ไป เก่ยี วข้อง หรอื ชว่ ยเหลือนกั ศึกษาขณะปฏิบตั ิการพยาบาลในสถานการณ์จริงเพ่ือความปลอดภัยของผ้ปู ่วยหรือ ญาติ และใหน้ ักศึกษาได้เกิดการเรยี นรจู้ ากสถานการณจ์ รงิ ทกี่ าหนดขนึ้ 2.6 นิเทศ ติดตาม กากับนกั ศกึ ษา อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัตใิ นคลนิ กิ ดาเนนิ การ นเิ ทศ ติดตาม กากบั นกั ศึกษา ขณะฝึกปฏิบตั กิ ารพยาบาลในขน้ั ปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจ์ รงิ อย่างใกลช้ ดิ และตดั สนิ ใจใหก้ าร ชว่ ยเหลอื นกั ศึกษาเพอื่ ความปลอดภยั ของผูป้ ว่ ยหรือญาติ 2.7 ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ อาจารยผ์ ้สู อนภาคปฏบิ ัตใิ นคลินิกดาเนินการประเมินผลลัพธก์ าร เรียนรู้ตามแบบฟอร์มการวัดประเมินผลท่ีกาหนด โดยนักศึกษาบทบาทนักศึกษาดาเนินการดูแลผู้ป่วยใน สถานการณจ์ ริงตามท่ีไดร้ ับมอบหมายตามลกั ษณะวิชา ฝึกปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในสถานการณจ์ รงิ ตามทก่ี าหนดด้วย วธิ ีสอนแบบ EBE สะท้อนคดิ ทงั้ 3 ขั้นตอนกับอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติในคลินิกเม่ือเสรจ็ สิ้นแต่ละสถาน การ ณ์ และรว่ มประเมนิ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ตามแบบฟอร์มการวัด ประเมนิ ผล สาหรับการประเมนิ ผล แบ่งออกเปน็ 1) การประเมินสมรรถนะนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ด้านทักษะการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ใช้แบบประเมินสมรรถนะนักศึกษาพยาบาลด้านการ คิ ด แบบมีจารณญาณและการแก้ปัญหา ทมี่ กี ารพัฒนามาจากเครอื่ งมอื วดั และประเมินผลการเรยี นรู้ตามมาตร ฐาน คณุ วฒุ ริ ะดบั ปริญญาตรสี าขาพยาบาลศาสตร์ ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครลาปาง ประกอบดว้ ย ชุด ข้อสอบที่เป็นโจทย์สถานการณ์จาลอง จานวน 4 สถานการณ์ แบบประเมินทักษะการประชุมปรึกษาปญั หา วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

29 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ทางการพยาบาล (nursing care conference) แบบประเมิน mapping concept และแบบประเมินการ ตร วจ เย่ียมทางการพยาบาล และแบบประเมินทักษะการประชุมปรึกษาปัญหาทางการพยาบาล ( pre-post conference) 2) แบบประเมินผลของนักศึกษาต่อการสอนด้วยวิธีการใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยประสบการณ์ เปน็ แบบสอบถามก่ึงมโี ครงสร้างเป็นคาถามปลายเปิด เป็นการประเมนิ การรบั รู้ ความเข้าใจ และการใหค้ ุณคา่ ของตัว ผู้ป่วยทเ่ี ปน็ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ทศั นคตติ ่อวิธีการจัดการเรยี นการสอน และ การบรรลผุ ลลพั ธ์การเรยี นรู้ของนกั ศึกษา ตัวอย่างคาถามไดแ้ ก่ 2.1) วิธีการจดั การเรียนการสอนในคลนิ ิกด้วยวิธกี ารใชผ้ เู้ ชยี่ วชาญโดยประสบการณ์ ส่งเสรมิ สมรรถนะพยาบาลดา้ นการคิดแบบมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาอย่างไร 2.2) นักศกึ ษามีการเปลี่ยน แปลง วธิ ีการเรียนรู้ของตนเองและ/หรือสามารถนาทักษะทีเ่ กิดขึ้นไปใช้ในการฝึกภาคปฏบิ ัตใิ นรายวิชาอนื่ ๆได้อย่า งไร 2.3) นักศึกษาเล่าประสบการณ์ขณะฝึกภาคปฏิบัติด้วยวิธีการจัดการเรียนการสอนในคลินิกด้วยวิธีการใช้ ผู้เชย่ี วชาญโดยประสบการณ์ เป็นอย่างไร 3.ผลของการนาวิธีการจดั การเรียนการสอนด้วยวิธีใช้ผู้เช่ียวชาญโดยประสบการณ์ไปใช้ 1.สมรรถนะนกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ดา้ นทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและการแกป้ ญั หา ดา้ นทกั ษะการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ผลของการนาวธิ ีการจดั การเรียนการสอนด้วย วิธใี ชผ้ ้เู ชยี่ วชาญโดยประสบการณ์ไปใชจ้ ัดการเรยี นการสอนภาคปฏิบัตใิ นรายวชิ าปฏิบัตกิ ารพยาบาลผู้ใหญ่ 2 จานวน 64 คน ผลการประเมนิ ด้วยแบบประเมนิ สมรรถนะนักศึกษาดา้ นการคิดแบบมวี จิ ารณญาณและการแก้ไข ปญั หาของกล่มุ ท่ีได้รบั การจัดการเรียนการสอนด้วยวิธี EBE มคี ่าเฉลีย่ สมรรถนะด้านการคดิ อยา่ งมีวิจาร ณญา ณ และการแก้ปญั หาสงู กวา่ กลุ่มท่ีได้รับการจัดการเรียนการสอนดว้ ยวธิ ปี กติ อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ .001 และ พบวา่ นักศกึ ษามีการพัฒนากระบวนการคิดในลักษณะคอ่ ยๆพัฒนา โดยเริ่มจากการใช้ทักษะดา้ นความ รู้เป็น พนื้ ฐานสาคญั เมอ่ื เกิดองค์ความร้แู ล้วจะสามารถพัฒนาให้เปน็ ทักษะทางปญั ญา ด้วยการนาความรนู้ าไปใช้ในการ ประเมินปัญหาและความต้องการทางสุขภาพของผปู้ ่วย( health need assessment) จากนั้นนักศึกษาจะเรม่ิ กระบวนการคิดจากปรากฏการณ์ที่ตนเองค้นพบจากการประเมิน แลว้ ต้ังคาถามกบั ตัวเองวา่ ความผิดปกติน้ัน เกดิ ข้นึ ได้อย่างไร อะไรเป็นสาเหตุ มคี วามเชื่อมโยงกับสิ่งใดบ้าง กระบวนการคิดวิเคราะห์เปน็ การนาความรู้ทาง ทฤษฎีมาเช่ือมโยงและหาคาตอบเพ่ือมาอธิบายกบั ส่ิงท่ีค้นพบ สามารถระบุปัญหาผู้ป่วยได้อยา่ งถูกตอ้ ง และ ตัดสนิ ใจใหก้ ารพยาบาลได้ดีมากย่ิงข้นึ แก้ไขปญั หาของผูป้ ว่ ยไดอ้ ย่างเหมาะสมและทันเวลา ตรงกบั ความต้องการ ของผู้ปว่ ยเฉพาะราย ส่งผลใหเ้ กิดการใชก้ ระบวนการพยาบาลสาหรบั ปฏิบัติการพยาบาลอย่างสมบูรณ์ ทาให้ นกั ศกึ ษาเกดิ กระบวนการคิดแบบต่อเน่ือง ตลอดเวลา และมกี ารคิดตอ่ ยอด ดา้ นทกั ษะการแก้ปญั หา พบว่า นักศกึ ษาจานวน 64 คน มีความกล้าตดั สินใจปฏิบตั ิการพยาบาลเพื่อการ แก้ไขปัญหาทางสุขภาพของผู้ป่วยมากข้ึน พัฒนาการด้านทักษะการแก้ปัญหาของนักศึกษาเกิดจากกา ร เปลี่ยนแปลงกระบวนการเรียนรู้ โดยการพัฒนาทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหานั้น นักศึกษาค้นพบว่าตนเอง วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

30 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ทาการศึกษาค้นควา้ จากตาราและเอกสารทางวิชาการและนามาวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยนั้น ไม่สามารถ ตอบสนองความตอ้ งการอันแทจ้ ริงของผู้ปว่ ยได้ อกี ทง้ั นักศกึ ษายงั พบว่าการรวบรวมขอ้ มูลทร่ี ะบุปัญหาของผู้ป่วย ไม่ครอบคลุม การขาดขอ้ มูลที่สาคัญทาให้ไม่สามารถวิเคราะห์แนวโน้มของปัญหาสุ ขภาพของผู้ปว่ ย การท่ีไม่ สามารถตดั สนิ ใจปฏิบัติการพยาบาลเพื่อการแก้ไขปัญหาผูป้ ่วยไดเ้ นื่องจากขาดความรู้ ภาวะดงั กลา่ วชักนา ให้ ผเู้ รยี นเกดิ การเปลยี่ นแปลงกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง และก้าวเข้าสูร่ ะยะเปลีย่ นผ่าน (transitional phase) จนสามารถออกแบบวิธีการเรียนรู้ใหม่ (transformative learning) เกิดการคิดอย่างไคร่ครวญ คิดอย่างมี วจิ ารณญาณ กลา้ ตัดสนิ ใจแกไ้ ขปญั หาของผู้ป่วยและเกดิ การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (constructivism) 2.กระบวนการเรียนร้สู กู่ ารเปล่ียนแปลง ผลของการนาวิธกี ารจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวธิ ใี ช้ผเู้ ชีย่ วชาญ โดยประสบการณไ์ ปใชจ้ ดั การเรยี นการสอน พบวา่ ผเู้ รยี นเกดิ กระบวนการเรียนรู้สู่การเปลย่ี นแปลง ด้วยการเรยี นรู้ จากประสบการณ์ของตนเอง เกดิ การเปลยี่ นแปลงในระดับปจั เจกบคุ คล เป็นการเปลย่ี นแปลงความเชอื่ วธิ คี ิด เกดิ การคดิ แบบไคร่ครวญ คดิ แบบลกึ ซง้ึ จนสามารถออกแบบวธิ กี ารเรียนรูแ้ บบใหม่ รวมถงึ มีการเรียนรแู้ บบกลุม่ โดย ผ่านกระบวนการแลกเปลยี่ นเรียนร้ภู ายในกลุ่มระหวา่ งผู้เรียนและครผู ู้สอน ผเู้ รยี นแสดงความรู้ ความคดิ ความ เชื่อ ของตนเองต่อผู้อ่นื โดยไม่มกี ารปิดกน้ั และรว่ มกันตรวจสอบองค์ความรู้ ผ่านการอภปิ รายร่วมกัน การสะทอ้ น คิดทง้ั แบบรายบคุ คลและแบบกลุ่มเป็นสง่ิ ทกี่ ระตุ้นให้ผเู้ รียนเกิดการคิด การเรียนร้จู ากประสบการณจ์ รงิ ของตนเอง จนกระทั่งผู้เรียนสามารถบูรณาการความคิด แบบแผนความเช่ือใหม่นาสู่การปฏิบตั ิจริงได้ โดยกระบวนการ เปลี่ยนแปลงนั้นเกิดขึ้นในระยะเปลี่ยนผ่าน ก่อนและเกิดการพัฒนาสมรรถนะด้านทักษะการคิดอย่า ง มี วจิ ารณญาณและการแก้ปญั หา มลี ักษณะแบบค่อยเป็นค่อยไป พัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง โดยจากการสัมภาษณ์กลุ่ม นักศึกษาจานวน 64 คน มคี วามคิดเห็นตรงกันเกี่ยวกับกระบวนการการเรียนรู้สูก่ ารเปล่ียนแปลงในระยะเปลี่ยน ผ่าน มีดงั นี้ 1. ภาวะสบั สน นักศกึ ษาเกิดความรู้สกึ สบั สน มึนงง วุ่นวายใจ กระวนกระวายใจ วิตกกงั วลอยา่ ง รนุ แรง ไม่ร้วู ิธปี ฏบิ ัตติ อ่ ผปู้ ่วยทีอ่ ย่ตู รงหน้าอย่างไร พฤติกรรมทน่ี กั ศึกษาแสดงออก เช่น ยืนมองผปู้ ว่ ย ไมจ่ บั ต้อง ตวั ผูป้ ว่ ย หมนุ ตัวไปมา บางรายไม่อยูน่ ่ิง เป็นตน้ 2.ภาวะตรวจสอบความรู้สึกของตนเอง นักศึกษาเร่ิมมองตนเอง ตระหนักรู้และเกิดการรับรู้ว่าตนเอง ร้สู ึกว่าตนเองด้อยคา่ ไม่มีความรู้ความสามารถ ร้สู ึกผิด กลวั กังวล รู้สึกอาย ละอายใจ ร้สู ึกบาป โทษตวั เอง ผิดท่ี ไม่มีความรู้ ไมม่ ีความเหมาะสมท่ีจะมาดูแลผู้ป่วย กลา่ วโทษตนเอง เกิดการทบทวนตนเองว่าประสบการณ์การ เรยี นรู้ที่ผา่ นมาเปน็ อยา่ งไร เหตุใดจงึ ไมม่ ีความรเู้ พียงพอสาหรบั การดแู ลผูป้ ่วย 3.ภาวะการทบทวนและการวิเคราะห์ตนเองอย่างเป็นระบบ นกั ศึกษาทบทวนประสบการณ์การเรียนรู้ ที่ผา่ นมาและตัง้ คาถามแก่ตัวเองว่าทาไมพยาบาลประจาหอผปู้ ่วยถึงสามารถปฏิบตั ิการพยาบาลได้ เขามีวธิ คี ดิ และ เรียนรู้มาอย่างไร นักศึกษามีการคดิ ทบทวนตนเองและประเมนิ ความสามารถแห่งตนเปรยี บเทยี บกับความสามารถ ของผ้อู น่ื ท้งั ที่เปน็ พยาบาลและเพอ่ื นคนอ่นื ทีเ่ ป็นตน้ แบบของความสาเรจ็ เกิดการตดั สนิ ใจแบบฉบั พลนั โดยอยาก วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

31 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ทดลองเรียนรู้ ต้องการพฒั นาตนเองให้ดขี น้ึ ตอ้ งอยู่รอดภายใต้สถานการณ์ท่ีกาลังเผชิญอย่แู ละเชือ่ มนั่ ว่าตนเอง พัฒนาไดแ้ ละสามารถเรียนรู้และปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลไดเ้ ชน่ เดียวกับผอู้ นื่ 4.ภาวะการยอมรับในสภาวะการณ์และริเริ่มแลกเปลี่ยนวิธีเรยี นรกู้ ับบุคคลอื่น นกั ศกึ ษาจะเกิดการ ยอมรบั ความรสู้ ึกท่ีเกดิ ขึ้นกบั ตนเอง เช่น ความทุกข์ใจ ความละอายใจ ความรสู้ กึ ผิดและด้อยคา่ เป็นตน้ แลว้ จึง เริ่มเลา่ เรอ่ื งราวเกย่ี วกับความร้สู ึกของตนเองให้เพอ่ื น พยาบาลพีเ่ ลี้ยงแหลง่ ฝึก อาจารย์ผูอ้ น่ื นกั ศึกษาแพทย์ ตั้ง คาถามวิธีการเรียนรู้กับบคุ คลอ่นื ทป่ี ระสบความสาเร็จวา่ ควรเรมิ่ ตน้ การเรยี นรู้อย่างไร 5.ภาวะการค้นหาบทบาทใหม่ของตนเองสาหรับการเรยี นรขู้ องตนเอง นกั ศกึ ษายตุ บิ ทบาทเดิมวิธีการ เรยี นร้แู บบเดิมท่ีทาให้นักศึกษาเรยี นรู้ล้มเหลว ไม่บรรลุเป้าหมายการเรยี นรู้ และริเริ่มกระบวนการเรียนร้ใู หม่โดย ย้อนกลับไปเรียนรู้ใหมท่ ี่จดุ เร่ิมต้น เชน่ การประเมนิ จากตวั ผู้ป่วยอยา่ งละเอยี ดรอบคอบ จนคน้ พบสิ่งท่ีเปน็ ปญั หา ของผู้ป่วยจรงิ จึงกลับไปศึกษาค้นคว้าจากเอกสารตาราทางวิชาการเพิ่มเติม เพ่ือหาเหตุผลและคาอธิบายใน ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขน้ึ กบั ตัวผู้ป่วย และมคี วามตอ้ งการศึกษาต่อยอดในสิง่ ที่อาจเกิดขึน้ ตอ่ ไปในอนาคตของผู้ป่วย เป็นตน้ 6.การวางแผนแนวทางการเรียนรใู้ หม่ โดยนักศกึ ษาเร่ิมวางแผนการเรียนรู้ใหมข่ องตนเอง กาหนดวิธี ปฏิบัติของตนเองในการเรียนรู้จากตัวผู้ป่วยทีเ่ ช่ือว่าจะบรรลุลัพธ์การเรียนรู้ เพราะที่ผ่านมาพบว่าการเรยี น แบบเดิมเอามาใช้ไมไ่ ด้ ไม่ครอบคลุม การพยาบาลไม่เฉพาะเจาะจง ไมต่ รงกบั ปญั หาและความต้องการของผู้ป่วย รายนัน้ 7.การพัฒนาตนเองดา้ นทักษะความรู้ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ัญหา โดยนักศกึ ษาเร่ิม อา่ นหนังสือ ศึกษาค้นควา้ จากเอกสารทางวชิ าการจากหลายแหล่งมากขึน้ ซึ่งไม่เคยปฏิบัติเช่นน้ีมากอ่ น ทาความ เข้าใจกบั สิ่งทกี่ าลงั ศกึ ษาอย่างลกึ ซึง้ เชือ่ มโยงความรูก้ ับปรากฏการณท์ ี่ค้นพบในผู้ปว่ ย คดิ วเิ คราะห์หาเหตผุ ลโดย ใช้ความร้เู พอ่ื ใชอ้ ธิบายสิ่งท่เี กิดขนึ้ กับตวั ผู้ป่วย และพยายามค้นหาความผิดปกตแิ ละปญั หาของผ้ปู ว่ ยเพ่ิมเติมทั้งท่ี กาลังเกิดขึ้นและอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต เม่ือศกึ ษาด้วยตนเองแล้วมีบางประเด็นท่เี กิดขอ้ สงสัยเร่ิมมีการ ขอ คาปรกึ ษาจากอาจารยผ์ ู้สอนในคลนิ คิ 8.การทดลองปฏิบัติ ในระยะน้นี ักศึกษาต้องการทดลองในสิ่งท่ีตนเองศึกษามา เกดิ ความกลา้ ทดลอง ปฏบิ ัติการพยาบาลกับตัวผปู้ ่วยจริง กลา้ บอกพยาบาลพเ่ี ลย้ี งแหล่งฝกึ เกยี่ วกบั การตัดสนิ ใจของตนเองในการให้การ พยาบาล กล้าเล่าประสบการณท์ ่ีได้ตัดสนิ ใจปฎิบตั ิกิจกรรมการพยาบาลในกระบวนการสะท้อนคิด (reflective) เมอื่ รวู้ า่ สิง่ ใดปฏบิ ัติผิดพลาด กเ็ กดิ การเรยี นรู้ และขอแกไ้ ขในครงั้ ต่อไปเมื่อมโี อกาสอีก โดยอาจารย์ผสู้ อนจะทา หนา้ ท่ีจดั สถานการณจ์ ริง มอบหมายกรณศี ึกษาที่เปน็ ผู้ป่วยจริงให้นักศกึ ษาได้เรียนรู้อยา่ งใกล้ชิด โดยมีอาจารย์ เป็นผูด้ ูแลและช่วยเหลืออย่างใกลช้ ิด ชว่ ยกระตนุ้ ใหน้ ักศึกษาเกิดความกลา้ ที่จะเข้าหาตัวผู้ป่วย เพื่อค้นหาและ ศึกษาหาความร้จู ากตัวผู้ปว่ ย ระหวา่ งทดลองปฏิบัติผู้เรียนเห็นการพัฒนาของเพื่อนทง้ั ทมี ทกุ คนร่วมมอื กนั เรยี นรู้ ร่วมกนั เชน่ การประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาล ทกุ คนมเี ข้าใจมากข้ึน เพ่อื นทกุ คนได้คนไข้ท่ีแตกตา่ งกันจ ะ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

32 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) สามารถนามาพดู คุยแลกเปลยี่ นความรู้ ใหเ้ พอ่ื นคนอ่ืนฟังเกีย่ วกับการตัดสินใจให้การดูแลผ้ปู ่วยที่มีผลลัพธ์การ พยาบาลท่ดี ีข้ึน เหมอื นเพอ่ื นเคยเจอเหตุการณท์ ่ีเหมือนกนั เพ่ือนกส็ ามารถตัดสินใจไดด้ ขี นึ้ 9.ภาวะเช่ือมั่นในศักยภาพของตนเอง นักศึกษาเกิดการปฏบิ ัติการพยาบาลด้วยความม่ันใจ กล้า ตดั สินใจให้การพยาบาลผู้ปว่ ยเม่ือพบปญั หาได้ในทนั ที ให้การพยาบาลเหมาะสมกับกบั ปญั หา ตามความต้องการ ของผู้ปว่ ยจรงิ ม่นั ใจว่าสามารถดูแลผู้ป่วยของตนเองได้ กล้าเล่าประสบการณ์ดีๆ และความรู้ทไี่ ดจ้ ากการเรียนรู้ ขณะปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลให้เพ่ือนนักศึกษาคนอื่นได้ ระยะน้ีนกั ศึกษารู้สกึ มีความสุขกับความสาเร็จในการเรียนรู้ ของตนเอง ส่งผลให้กระตนุ้ ให้นกั ศึกษาอยากเรียนรู้ต่อเนือ่ ง ไม่ยอมหยุดนงิ่ 10.การวางแผนกา้ วสู่วชิ าชีพการพยาบาลของตนเอง นกั ศกึ ษาเรม่ิ มองการณไ์ กลไปอนาคตเมื่อตนเอง เป็นพยาบาลวชิ าชีพแลว้ วิธกี ารเรียนรู้ท่ีตนเองออกแบบใหม่น้ี สามารถทาใหต้ นเองเกดิ ความรู้ การคดิ อย่างมี วิจารณญาณ คิดเป็นระบบ คิดเช่ือมโยงและตัดสนิ ใจการแก้ปัญหาให้กับผู้ป่วยได้ทันทีและถูกต้องเหมาะสม สามารถปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลได้ตรงกบั ความต้องการของผู้ป่วย โดยใช้กระบวนการพยาบาลอยา่ งสมบรู ณ์ เพื่อให้ ผ้ปู ่วยหายจากการเจบ็ ปว่ ย และมคี วามปลอดภยั โดยทกั ษะการเรียนรูจ้ ะตดิ ตวั นกั ศกึ ษาไปตลอดและจะต้องมีการ พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง พฤตกิ รรมนักศึกษาท่ีแสดงออกขณะเรียนรดู้ ้วยวิธใี ช้ผู้เชยี่ วชาญโดยประสบการณ์ทั้ง 10 ข้นั ตอนน้ี สอดคลอ้ งกับการศึกษาของ Sabra Brock (Brock,2010) กลา่ วว่า พฤตกิ รรมการเรียนรู้สู่การเปลยี่ นแปลงใน ขัน้ ตอนภาวะกระตุกการรับรู้ในวิกฤตกิ ารณ์ ความรสู้ ึกผิดและอับอาย การตรวจสอบความรู้สกึ ของตนเองอย่าง จรงิ จงั การไม่ยอมรบั ในความสมรรถนะแห่งตนและเร่มิ ทีการแลกเปล่ียนประสบการณ์กับผูอ้ ื่น การคน้ หาบทบาท ใหม่และวิธีการเรยี นรู้แบบใหม่ การวางแผนปฏิบัตติ ามแนวทางปฏบิ ัติการเรยี นรู้แบบใหม่ การทดลองปฏบิ ัติตาม บทบาทใหม่ การสร้างสมรรถนะ ความมั่นใจในบทบาทใหม่ และการบูรณาการเข้ากบั ชีวิต สามารถทานายการ เกดิ การเรยี นรู้สกู่ ารเปลีย่ นแปลงไดอ้ ย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ปจั จัยแหง่ ความสาเรจ็ ของวิธีการจดั การเรียนการสอนในคลินกิ ด้วยวิธกี ารใช้ผเู้ ช่ียวชาญโดยประสบการณ์ (Experts By Experience : EBE) จากการถอดบทเรยี นของนกั ศกึ ษาหลงั การเรียนรู้แบบวธิ ีการใช้ผเู้ ช่ยี วชาญโดยประสบการณ์ พบปจั จัยแห่ง ความสาเร็จที่ส่งผลใหน้ กั ศึกษาเกดิ การเปล่ียนแปลง และบรรุผลลพั ธ์การเรยี นรู้ แบง่ ออกเปน็ 3 ดา้ นดังน้ี 1.ปัจจัยดา้ นผู้สอน พบว่า อาจารย์ผสู้ อนควรเป็นผทู้ มี่ ีทักษะหรือคุณลกั ษณะดังน้ี 1.1 เปน็ ผู้ฟงั ทีด่ ี (Good Audience) รบั ฟงั สิง่ ที่นักศึกษาอธบิ าย การรับฟงั จะเป็นการแสดงการ ยอมรับความคดิ เห็นของนกั ศกึ ษา เปิดโอกาสให้นกั ศกึ ษาแสดงความคิดเห็น อธบิ ายการเรยี นรู้ ความรสู้ กึ คับขอ้ งใจ หรอื ความภาคภมู ิใจเม่ือปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลแล้วประสบความสาเร็จตามเป้าหมายของการพยาบาลท่ตี ั้งไว้ ไมเ่ ป็น วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

33 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) การปิดก้นั ความคิดเห็นของนกั ศึกษาซ่งึ จะเปน็ การกระต้นุ ให้นกั ศึกษาไดพ้ ยายามคดิ ใคร่ครวญ และตดิ ต่อยอดองค์ ความรแู้ ละอยากศกึ ษา เรียนรใู้ นสงิ่ ที่เกดิ ข้ึนในปรากฏการณน์ ้ันอย่างตอ่ เนือ่ ง 1.2 เปน็ ผูช้ ีน้ า (mentor) ผสู้ อนทาหนา้ ทเ่ี ป็นพ่เี ลีย้ งในกระบวนการเรยี นร้ขู องนกั ศกึ ษา คอย ช้นี าประเดน็ การเรยี นรู้ในสถานการณ์ทกี่ าหนด เนื่องจากประเด็นการเรยี นรจู้ ะชกั นาให้นักศึกษาไดเ้ กิดทกั ษะการ ตงั้ คาถามดว้ ยตนเอง วา่ ส่งิ ทีเ่ กดิ ขน้ึ กบั ตวั ผูป้ ว่ ยน้นั เกิดขน้ึ ไดอ้ ย่างไร อะไรเปน็ สาเหตุ และตอ้ งวางแผนให้การ ชว่ ยเหลือผ้ปู ว่ ยอย่างไรเพื่อให้ผปู้ ว่ ยปลอดภยั โดยนกั ศึกษาพยายามศกึ ษาหาองคค์ วามรู้มาอธิบายโดยเชอื่ มโยง ความรู้เข้ากับปรากฏการณ์ท่ีค้นพบในตัวผปู้ ่วย เปน็ การฝึกคดิ วเิ คราะห์ การเป็นผชู้ ้ีนาของอาจารยผ์ สู้ อนนจี้ ะชว่ ย ใหก้ ารเรยี นร้ขู องนักศกึ ษาไดเ้ กดิ องค์ความรู้ ความเข้าใจและจดจา มากกวา่ การสอนภาคทฤษฎใี ห้เกิดความรู้เพียง อย่างเดยี ว 1.3 เป็นผู้เปดิ โอกาสสาหรบั การเรยี นรู้ (giving students a chance for learning) ผ้สู อนเปดิ โอกาสใหน้ ักศึกษาได้ทดลองฝึกปฏิบตั ิการพยาบาลภายใตส้ ถานการณท์ ี่กาหนด โดยมอี าจารย์ผูส้ อนคอยดูแลอย่าง ใกล้ชิดเพื่อความปลอดภัยของตวั ผู้ป่วย และเปดิ โอกาสให้ทดลองปฏบิ ัตไิ ด้อีกในคร้ังต่อๆไป เน่ืองจากนักศกึ ษาได้ ผา่ นกระบวนการทบทวนตนเองในประสบการณ์ครัง้ แรกและค้นพบความผิดพลาดของการตัดสินใจในการ ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล จึงเกดิ กระบวนการเรยี นรู้ จดจา ไตร่ตรอง และวางแผนการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลในคร้งั ต่อไป เมอื่ พบเหตกุ ารณ์คล้ายเดมิ 1.4 เปน็ ผู้สนับสนุนการเรียนรู้ (supporter) ผู้สอนเปน็ ผู้สรรหา วางแผนการจัดการเรียนรจู้ าก กรณศี กึ ษาจริง กาหนดวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรไู้ วอ้ ย่างชัดเจน และจัดประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ หค้ รอบคลุม แนะนา แหลง่ ค้นควา้ ความรจู้ ากฐานข้อมูลท่นี ่าเช่อื ถอื หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เอกสารตาราทางวชิ าการ เปิดโอกาสให้ นกั ศกึ ษาซักถามเมื่อเกดิ ข้อสงสยั หรือตอ้ งการความช่วยเหลือ 1.5 เปน็ ผกู้ ระตุ้นการเรียนรู้ (stimulator) ผู้สอนทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ผูก้ ระตุน้ การเรยี นรขู้ องนักศึกษา ชแี้ นะประเดน็ ความรทู้ ี่นักศึกษายงั เรียนรูไ้ ม่ครอบคลุมโดยการตั้งคาถามท่เี ปน็ เป้าหมายของการเรยี นรูใ้ น สถานการณท์ ่กี าหนดข้ึน โดยมิใชล่ กั ษณะการตั้งคาถามเพื่อวัดความรู้เท่านนั้ และผูส้ อนกระตุ้นการเรยี นร้ใู น ลักษณะแบบค่อยเปน็ คอ่ ยไป ควรประเมินพัฒนาการและผลลัพธ์การเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษาตลอดเวลา และกระตุ้น การเรยี นรเู้ ปน็ ระยะๆ ไม่เรง่ กระบวนการเรยี นรขู้ องนักศกึ ษา แตใ่ หข้ บั เคล่ือนการเรยี นรใู้ ห้เกิดอยา่ งต่อเน่ือง เพราะหากนักศกึ ษาเรียนร้ไู ม่ทันการณ์ จะสง่ ผลกระทบให้นกั ศึกษาเกดิ ความคิดเชงิ ลบ (negative thinking) ซึ่ง เปน็ อปุ สรรคตอ่ การเรยี นรู้ของนกั ศกึ ษา ร้สู กึ ดอ้ ยคา่ และหยดุ การเรยี นรไู้ ปในท่สี ุด การพดู เชงิ สรา้ งสรรคจ์ ะเป็น ตวั กระตุ้นการเรยี นรู้ 1.6 ทักษะการจงู ใจ (motivation) และพูดโน้มน้าว (convince) ผู้สอนเป็นผู้ช้ีนาหรอื ส่งเสรมิ ให้ นกั ศกึ ษามองเห็นความสาเร็จหรือผลลพั ธท์ ่ดี ขี องการเรียน ด้วยกระบวนการสะทอ้ นคดิ ซ่งึ จะกระต้นุ นักศึกษา ประเมนิ ตนเอง คน้ หาจดุ แข็งของนักศกึ ษา เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง กล่าวชน่ื ชมนกั ศึกษา วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

34 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) เม่ือบรรลุผลลัพธก์ ารเรยี นรูใ้ นสถานการณ์ที่กาหนด แมจ้ ะเป็นเพยี งความสาเร็จขนั้ ต่าก็ตาม แต่จะเป็นการสร้าง แรงจูงใจให้นกั ศึกษาเกิดความภาคภูมิใจในศกั ยภาพของตนเอง ตอ้ งการคดิ วเิ คราะห์และเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งและ ตอ่ ยอด ดงั น้นั การชีแ้ นะและการสง่ เสรมิ ใหม้ องเห็นความสาเรจ็ หรอื ผลลพั ธข์ องการเรยี นร้จู ะช่วยใหน้ กั ศกึ ษาเกิด แรงจงู ใจในการเรียนรมู้ ากข้ึน 1.7 ทกั ษะการส่ือสารทดี่ ี (good communication) จากการศกึ ษาพบวา่ การส่อื สารทดี่ คี วรเปน็ การส่อื สาร แบบสองทาง โดยเรม่ิ ตน้ ควรเปดิ โอกาสให้นักศกึ ษาได้แสดงความรสู้ ึก บอกเล่า อธิบายความรู้ ความคิดของตนเอง ให้อาจารยไ์ ด้รับรู้ อาจารยค์ วรรับฟงั จนจบ ไม่หยุดการพูดของนกั ศกึ ษาระหว่างสนทนา อาจารยค์ วรพดู ช้ีนา ประเดน็ การเรยี นรู้หลงั จากท่ีนกั ศกึ ษาพูดแล้วเสร็จ ทาให้นักศึกษากลา้ เลา่ ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ผี า่ นมากับ อาจารย์ 2.ปจั จยั ดา้ นผ้เู รยี น พบว่า นกั ศึกษาควรเปน็ ผู้ที่มที กั ษะหรอื คุณลกั ษณะดังนี้ 2.1ทกั ษะดา้ นความรู้ (knowledge skill) ทักษะดา้ นความร้เู ปน็ พ้ืนฐานสาคัญของการเรยี นรู้ของการ จดั การเรยี นการสอนในคลนิ กิ ด้วยวธิ ีการใช้ผเู้ ชีย่ วชาญโดยประสบการณ์ เนื่องจากนักศกึ ษาเหน็ ว่า การประเมิน ผู้ป่วยจะต้องใชอ้ งค์ความรทู้ างทฤษฎี หากพรอ่ งความรู้นักศึกษาจะไม่สามารถคน้ พบความผิดปกติ ปัญหาและ ความต้องการทางสขุ ภาพท่แี ท้จรงิ ของผู้ป่วยได้ ทส่ี าคญั จะสง่ ผลให้ไม่สามารถระบปุ ระเด็นสาคญั ของการเรยี นรู้ ทา ให้การศึกษาคน้ คว้าไม่ครอบคลุมผลลพั ธ์การเรยี นร้ทู กี่ าหนด 2.2 ทกั ษะการจดั การกับความคิดเชิงลบ (negative thinking) นกั ศกึ ษาต้องมที ักษะการจดั การกบั ความคิด เชิงลบได้เนอ่ื งจากการทีน่ ักศกึ ษาประเมนิ ตนเองว่าความรู้ไม่เพยี งพอสาหรบั ให้การพยาบาลผปู้ ว่ ย ไม่สามารถ ตดั สินใจปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเม่อื เผชญิ กับเหตกุ ารณท์ ี่กาลังเกิดขน้ึ สง่ ผลใหเ้ กิดความรู้สกึ ดอ้ ยคณุ คา่ กลา่ วโทษ ตวั เอง รู้สกึ ผดิ ตอ่ ผูป้ ่วยทไ่ี มส่ ามารถชว่ ยเหลอื ผปู้ ่วยได้ ความคิดเชงิ ลบทเ่ี กดิ ข้นึ ภายในตัวของนกั ศึกษาสง่ ผลให้เกิด ความพยายามทบทวนวธิ กี ารเรยี นรูท้ ี่ผา่ นมาของตนเอง มจี ดุ ดอ้ ยอยา่ งไร และพยายามคน้ หาและวางแผนวิธีการ เรียนรู้แบบใหม่ เปลย่ี นแปลงตนเองจนทาให้การเรยี นรู้บรรลุตามเป้าหมายทีต่ ้งั ไว้ วธิ กี ารจัดการความคดิ เชิงลบ ของนกั ศกึ ษา ได้แก่ การสงั เกตพฤตกิ รรมของพยาบาลทีเ่ ปน็ ต้นแบบ ผลลพั ธ์ทางการพยาบาลทดี่ ีท่เี กิดกบั ตัวผู้ป่วย ท่เี ปน็ ผลมาจากปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลในขณะน้นั ความสาเร็จในการเรยี นรขู้ องเพอ่ื น การสอบถามอาจารย์ผสู้ อนหรือ ผ้ทู ี่มีความรู้มากกวา่ จะเป็นการชว่ ยให้นกั ศกึ ษาคอ่ ยๆปรบั เปลี่ยนทัศนคติจากเชงิ ลบเปน็ เชงิ บวก ส่ิงทีส่ าคญั มาก ที่สดุ คือการมองเหน็ ผลลัพธ์ทางการพยาบาลในระยะส้ัน จากการปฏิบตั ิการพยาบาลแล้วผู้ป่วยปลอดภัย อาการ ทางคลนิ ิกดขี ้ึน นกั ศึกษาจะเกิดความภาคภมู ใิ จและเช่ือมน่ั ในความสามารถของตนเองเกดิ แรงจูงใจอยากเรียนรู้ เพ่ิมเติม แตก่ ารพูดเชิงลบจะเปน็ ทาลายความหวังและความต้องการเรยี นร้ขู องนักศกึ ษา 2.3 ความรบั ผดิ ชอบ (responsiveness) เน่อื งจากการเรียนรู้ของการจัดการเรยี นการสอนในคลินกิ ด้วย วธิ กี ารใชผ้ ู้เชีย่ วชาญโดยประสบการณ์ นักศึกษามีการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองโดยมีผูป้ ่วยหรือญาตเิ ป็นผู้เชีย่ วชาญและ นักศกึ ษาเรยี นร้จู ากตัวผปู้ ว่ ยและสถานการณจ์ รงิ ทีก่ าหนดขน้ึ บทบาทของอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติในคลนิ ิกจะ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

35 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) เปน็ เพียงผสู้ นับสนนุ การเรียนร้ขู องนกั ศกึ ษาให้บรรลุผลลัพธก์ ารเรยี นรเู้ ทา่ น้นั ดงั นัน้ นักศึกษาตอ้ งมีควารับผดิ ชอบ ในการเรยี นรขู้ องตนเอง มวี นิ ัย ศกึ ษาค้นคว้าความรู้ทางวิชาการด้วยตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง 3.ปจั จยั ดา้ นสงิ่ แวดล้อม ปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ แบง่ ออกเป็น 2 ประเดน็ ดังนี้ 1.บทบาทของพยาบาลพี่เล้ียงแหล่งฝึก พยาบาลพี่เลี้ยงแหล่งฝึกจะเป็นส่วนสาคัญในการสร้าง บรรยากาศเอื้อต่อการเรยี นรู้ ด้วยการเป็นแบบอย่างท่ีดีเกี่ยวกับบทบาทของพยาบาล ( role model) การจดั ประสบการณท์ ีส่ ่งเสริมการเรียนรใู้ ห้กบั นักศึกษา เปดิ โอกาสใหน้ กั ศึกษาไดฝ้ ึกปฏิบตั จิ ริง มีการเสรมิ แรงดว้ ยการ กล่าวชื่นชมเม่ือนักศกึ ษาสามารถปฏบิ ัติได้ดี 2. สงิ่ แวดลอ้ มท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้ การเปดิ โอกาสให้นักศกึ ษาไดป้ ฏบิ ัตใิ นสถานการณจ์ รงิ ฝึกปฏิบัติการ พยาบาล ฝึกตดั สนิ ใจใหก้ ารพยาบาลด้วยตนเอง และเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง โดยมอี าจารย์หรอื พยาบาลพี่เลีย้ งเป็นผู้ คอยดแู ลอยู่อย่างใกล้ชิด ไมป่ ดิ กน้ั โอกาส เพราะเม่อื นักศึกษาเกิดการเรียนรูจ้ นเกดิ องค์ความรู้ท่ีสามารถเรียนรู้ได้ ด้วยตวั เองแล้ว มีอาจารย์เป็นผู้ประคบั ประคองเทา่ น้ัน เมอ่ื นักศึกษาปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลและเหน็ ผลลัพธ์ทา งการ พยาบาลทีด่ ีที่เกดิ กับผปู้ ่วย จะทาให้นกั ศึกษาเกิดทัศนคติเชงิ บวกตอ่ การเรียนรู้ การสะท้อนคิดเป็นกระบวนการที่ ช่วยให้นักศึกษาได้เกิดการไคร่ครวญในส่ิงท่ีตนเองได้กระทาลงไป เป็นการระบายความรู้สึกของตนเองต่อ เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน รู้สึกปลดปล่อย การทบทวนตนเอง ทบทวนกระบวนการพยาบาลที่ปฏิบัติทาให้ทร าบ ข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการแก้ไขและการพัฒนา และการพยายามหาคาตอบท่ีเป็นองค์ความรู้มาอธิบาย ปรากฏการณท์ ่เี กิดข้นึ ช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรยี นรู้เพิ่มมากข้นึ และกล้าตดั สนิ ใจให้การช่วยเหลือผู้ป่วยถ้า พบ เหตุการณ์ท่ีมีลักษณะคล้ายกันอีกในอนาคต การทางานเป็นทีม จะเป็นการส่งเสริมบรรยากาศในการเรยี นรู้ เนือ่ งจากกรณีศึกษาในหอผู้ป่วยจริงมีมากมาย และนกั ศึกษาบางคนไม่มีประสบการณ์การเรียนร้คู รบทุกคน แต่ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้จะชว่ ยใหน้ กั ศึกษาทกุ คนรว่ มเรยี นรู้ และช่วยเหลือกันภายในทมี จดุ เดน่ ของการเรียนรสู้ ูก่ ารเปลี่ยนแปลง เมือ่ ผเู้ รียนไดร้ บั การสนบั สนนุ กระบวนการเรยี นรทู้ ้ังจาผู้เชี่ยวชาญ โดยประสบการณ์ อาจารยผ์ สู้ อน การสร้างบรรยากาศและสิง่ แวดล้อมทีส่ ่งเสริมการเรียนรู้ จะกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง การปรับเปลย่ี นกระบวนการเรียนร้ใู หม่ มมุ มอง และกระบวนทัศน์ใหม่ ออกแบบวธิ ปี ฏบิ ตั ิ จนนาสกู่ ารปฏบิ ัตจิ รงิ ได้ สง่ ผลใหผ้ เู้ รียนสามารถสรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง บรรลุเป้าหมายและผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ พบวา่ ทกั ษะดา้ นความรู้ การจดั การความคิดเชงิ ลบและความรบั ผิดชอบของผเู้ รยี นเปน็ ข้อจากัดสาคัญที่เปน็ อุปสรรคตอ่ การเรยี นรู้สกู่ ารเปล่ียนแปลง วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

36 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) บทสรปุ ผลของการสอนดว้ ยวิธี EBE สามารถพฒั นาสมรรถนะนกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ ด้านทกั ษะการคิด อย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาได้อย่างแท้จริงและมีประสิทธิภาพ ส่วนการเรียนรสู้ ู่การเปลี่ยนแปลง (Transformative learning)น้ันเกิดขึ้นในระยะเปล่ียนผ่าน (Transitional phase) มี10 ข้ันตอนสาคัญ โดย กระบวนการเปล่ียนแปลงวธิ ีการเรียนรู้ เกิดข้ึนก่อนสมรรถนะด้านทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการ แก้ปัญหาจะเกดิ ข้นึ การพฒั นาเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปและต่อเนื่อง การพฒั นาทักษะน้ันทาให้นกั ศึกษาสา มารถ ปฏิบตั กิ ารพยาบาลอย่างสอดคล้องกับปญั หาทางสุขภาพของผูป้ ว่ ยในระดบั ปัจเจกบุคคล ใชก้ ระบวนการพยาบาล ในการดแู ลผปู้ ว่ ยจากการเช่ือมโยงความร้ทู างทฤษฎีสูก่ ารปฏบิ ัติการพยาบาลอย่างเปน็ รูปธรรม สามารถอธบิ าย เหตผุ ลของการปฏบิ ตั ิการพยาบาลไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล ทักษะด้านความร้ขู องนกั ศกึ ษาเปน็ ปัจจยั แห่งความสาเร็จ ของการเรยี นรู้ กระบวนการสรา้ งความรู้เกิดจากการประเมนิ ผู้ป่วยในสถานการณ์จริง ค้นหาความผดิ ปกติท่ีเกิด ข้ึนกับผู้ปว่ ย โดยสงิ่ ที่นกั ศกึ ษาค้นพบและเผชญิ ในสถานการณ์จรงิ จะเป็นตัวกระตุ้น ให้นกั ศึกษาเกิดการคิดและต้ัง คาถามกบั ตนเองวา่ เกิดขึ้นไดอ้ ย่างไร แล้วใช้องค์ความร้ทู างทฤษฎีทีผ่ ่านการเรยี นในช้นั เรียน ร่วมกบั การศกึ ษาหา ความรูด้ ว้ ยตนเองจากแหลง่ ความรู้ต่างๆ เพ่ือหาคาตอบมาอธิบายปรากฎการณ์ท่ีเกิดขนึ้ กบั ตัวผูป้ ว่ ยอยา่ งมีเหตุผล และเกิดการตัง้ คาถามกบั ตัวเองว่าความผิดปกติน้ันเกิดข้ึนได้อย่างไร อะไรเปน็ สาเหตุ มีความเชอื่ มโยงกับส่ิงใดบ้าง นาสูก่ ระบวนการคิดวิเคราะหจ์ นสามารถระบุปัญหาผปู้ ่วยไดอ้ ย่างถูกต้อง และตดั สินใจให้การพยาบาลและแก้ไข ปัญหาของผู้ป่วยไดอ้ ย่างเหมาะสมและทันเวลา ตรงกับความต้องการของผู้ป่วยเฉพาะราย สง่ ผลใหเ้ กิดการ ใช้ กระบวนการพยาบาลสาหรับปฏิบัติการพยาบาลอย่างสมบูรณ์ นักศึกษาเกิดกระบวนการคิดแบบต่อเนื่อง ตลอดเวลา มีการคดิ ต่อยอด มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ ับผู้อ่ืนและเกิดการสร้างองค์ความร้ดู ้วยตนเอง การเรียนรู้ จากผปู้ ่วยจริงเปน็ ผ้เู ชีย่ วชาญน้ันเปน็ แหล่งความร้แู ละเปน็ การเรยี นรู้ท่ีดที ่ีสุดและมองเหน็ คุณคา่ ของผ้ปู ว่ ยซึ่งเป็น ผ้เู ชี่ยวชาญ โดยบทบาทของผู้สอนเป็นเพียงผู้ช้ีนาการเรียนรผู้ ่านการสะท้อนคดิ การค้นหาประเด็น การเรยี นรู้ จดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ สนบั สนุนและจัดบรรยากาศท่เี ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ การเรียนด้วยวิธี EBE ส่งผลให้นักศึกษา บรรลุผลลัพธ์การเรยี นรดู้ ้านทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและการแก้ปัญหา เกิดประโยชน์สูงสุดตอ่ ผเู้ รียนใน การกา้ วสู่วิชาชพี การพยาบาลในอนาคต ขอ้ เสนอแนะ ควรจดั การเรียนการสอนในภาคปฏิบตั ดิ ้วยวธิ ี EBE ควรดาเนินการการจดั การเรยี นการสอน ในขนั้ ตอนตา่ งๆอย่างสมบรู ณ์ ไดแ้ ก่ ข้นั เตรียมการสอน การปฐมนิเทศ การสรปุ การเรียนรู้ และการมสี ว่ นร่วมใน ทุกกระบวนการอยา่ งแทจ้ รงิ และสอนในทกุ รายวชิ าเพื่อใหน้ ักศึกษาเกิดทกั ษะทจ่ี าเปน็ เกดิ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และอย่างตอ่ เนอื่ ง วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

37 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) เอกสารอ้างอิง Alfaro-LeFevre, R. (2013). Critical thinking and clinical judgment: A practical approach to outcome-focused thinking (5th ed). Philadelphia, PA:W. B.SaundersElsevier. Brock,S.E.(2010)Measuring the importance of precursor steps to transformative learning. Adult Education Quarterly, 60(2), 122-142. Chutchavarn Wongsaree.( 2019). Teaching to Critical thinking in Generation Z Nursing Student: A Review of Literature. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 20(1),21-30 (in Thai) Green, L., & Mälkki, K. (2017). Relationship Conflict as Disorienting Dilemma: An Experiential Prototype for Transformation. Journal of Transformative Learning, (4)2,69-83. Happell, B., Platania-Phung, C., Scholz, B., Bocking, J., Horgan, A., Manning, F., Doody, R., Hals, E., Granerud, A., Lahti, M., Pullo, J., Vatula, A., Koski, J., van der Vaart, K. J., Allon, J., Griffin, M., Russell, S., MacGabhann, L., Bjornsson, E., & Biering, P. (2019). Changing attitudes: The impact of Expert by Experience involvement in Mental Health Nursing Education: An international survey study. International journal of mental health nursing, 28(2), 480–491. https://doi.org/10.1111/inm.12551 Horgan, A., et.al.(2020). Expert by experience involvement in mental health nursing education: The co-production of standards between Experts by Experience and academics in mental health nursing. Journal of psychiatric and mental health nursing, 27(5), 553–562. Khamnee,T. (2513). Instructional Design: Wide choice (vol.8). Bangkok: Chulalongkorn printing. (in Thai). Imel, S. (1998). Transformative learning in adulthood (Vol. 200). ERIC Clearinghouse on Adult, Career, and Vocational Education, Center on Education and Training for Employment, College of Education, the Ohio State University. Miceli, M., & Castelfranchi, C. (2018). Reconsidering the Differences Between Shame and Guilt. Europe's journal of psychology, 14(3), 710–733. Mezirow, J. (1997). Transformative learning: Theory to practice. New directions for adult and continuing education, 1997(74), 5-12. วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

38 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) Mezirow,J.(2000).L Learning to think like an adult. Learning as transformation: Critical perspectives on a theory in progress, 3-33. Potgieter,E.(2000).Clinical teaching: Developing critical thinking in student nurses: Education. Professional Nursing Today, 16(2), 4-8 Timo Toikko (2016) Becoming an expert by experience: An analysis of service users’ learning process, Social Work in Mental Health, 14:3, 292-312, DOI: 10.1080/15332985.2015.1038411 Kusoom, W.& Tongvichean,S.( 2017) Developing Critical Thinking Skill for Nursing Students.The Journal of Faculty of Nursing Burapha University. 25(3),1-7. in Thai) Wichan Phanich.(2515) Transformative learning.Bankok.SR printing mass product company limited. (in Thai) Saowanee Choojan, Ronnachai Khonboon.(2019). Transformative Learning: Education Perspective for Nursing Students in Coronavirus Disease 2019. (in Thai) Soakeaw,S. (2019). Factors Affecting to Analytical thinking of nursing students Faculty Of Nursing, Ubon Ratchathani Rajabhat University. Journal of SrivanalaiI VijaiI. 8(2),39-50. (in Thai). Suandra M. Tomlinson-Clarke, Darren L Clarke. (2016) Social Justice and Transformative Learning: Culture and Identity in the United States and South Africa Routledge Research in Educational Equality and Diversity. Routledge. ISBN 1317577914, 9781317577911 Videmšek, P.(2017). Expert by experience research as grounding for social work education. Social Work Education. 36 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

The Role of Nurses in the Provision of Vaccine Services to Prevent Coronavirus 19 Unya Plodpluang 1* (Received: December 3, 2021, Revised: February 20, 2022, Accepted: March 17, 2022) Abstract In the situation of the corona virus 19 epidemic, nurses play an important role in providing nursing services to coronavirus patients and preventing disease for at-risk individuals. This article presents the role of nurses in the provision of vaccine services for the prevention of Coronavirus 19 based on practical experience in vaccination centers and literature reviews. Five roles included: 1) planning for vaccination service, 2) risk assessments by screening risk assessment and vaccination consent form, 3) vaccine preparations, 4) vaccine injection technique and 5 ) observations of vaccine side effects. Nurses should review their roles in order to be able to provide effective vaccination services for the prevention of coronavirus disease 2019 and in accordance with the organization's policy and for the benefit of the service recipients. Keywords: Role of nurses; Vaccination service; Coronavirus 19 * Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, Chakriraj, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health 1Corresponding author: [email protected] Tel: 0898377885 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1

บทบาทของพยาบาลดา้ นการจดั บรกิ ารวัคซนี ป้องกันโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 อัญญา ปลดเปลื้อง1* (วนั ท่รี บั บทความ : 3 ธันวาคม 2564 , วนั แก้ไขบทความ: 20 กุมภาพันธ์ 2565, วนั ตอบรบั บทความ: 17 มีนาคม 2565) บทคดั ย่อ สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พยาบาลเป็นบุคลากรท่ีมี บทบาทสาคัญในการใหบ้ ริการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 และการปอ้ งกันโรคแก่บุคคลกลมุ่ เส่ียง ต่างๆ พยาบาลจึงควรมีความพร้อมในการจัดบริการวัคซีนป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 บทความน้ีเสนอ บทบาทของพยาบาลด้านการจัดบริการวัคซีนเพ่ือการป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จากการทบทวน วรรณกรรมและประสบการณ์ในการจดั บริการวัคซนี ป้องกันโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 พบ บทบาท 5 ประการ ได้แก่ 1) การวางแผนจัดบริการวัคซีน 2) การประเมินความเสี่ยงตามแบบคัดกรองและใบยินยอมรับวัคซีน 3) การเตรียมวัคซีน 4) การฉีดวัคซีน และ 5) การสังเกตอาการผิดปกติภายหลังได้รับวัคซีน พยาบาลควรทบทวน บทบาทดังกล่าวเพ่ือให้สามารถบริการวัคซีนเพื่อการป้องกันโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกบั นโยบายขององค์กรและเกดิ ประโยชน์สูงสุดต่อผรู้ ับบริการ คาสาคญั : บทบาทของพยาบาล; การจัดบริการวคั ซีน; โรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 * อาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ 1ผ้ปู ระพันธบ์ รรณกิจ:[email protected] โทรศพั ท:์ 0898377885 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1

41 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) บทนา ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีส่งผลกระทบต่อการสูญเสียทั้งในด้าน เศรษฐกิจและสังคมของโลก เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม มีปัญหาชีวิตโดยรวมและความเครียด รวมท้ังการปรับตัว และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน ปัญหาสุขภาพกาย และสุขภาพจิต ( Kittiprapas et al, 2020) โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคที่ติดต่อได้ง่ายและเป็นอันตรายอย่างมากต่อชีวิตของผู้ได้รับเช้ือ ก่อให้เกิด ผลกระทบทางด้านสุขภาพของประชากรโลกทั้งแบบเฉียบพลันถึงข้ันเสียชีวิต และส่งผลระยะยาวต่อสุขภาวะของ ร่างกายมนุษย์ จนองค์การอนามัยโลกต้องประกาศให้การระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 เป็นการระบาด ใหญ่ ทั้งนี้รัฐบาลไทยได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินโดยอาศัยอานาจตามพระราชกาหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ต้ังแต่วันท่ี 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 พร้อมกับจัดต้ังศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือเรียกโดยย่อว่า “ศูนย์บริหารสถานการณ์โควดิ -19” และให้โรงพยาบาล สถานพยาบาลหรือหน่วยงานที่มีหน้าท่ีและอานาจในการป้องกันและดูแลรักษาผู้ปว่ ยท้ังภาครัฐและเอกชน จัดหา ยา เวชภัณฑ์ เคร่ืองมือในการตรวจโรค เครื่องช่วยหายใจและอุปกรณ์อ่ืนๆ ที่จาเป็นให้เพียงพอตามมาตรฐานที่ กระทรวงสาธารณสุขกาหนดหรือแนะนา ทั้งน้ี ให้รวมถึงการเตรียมบุคลากรทางการแพทย์จากแหล่งต่าง ๆ และ การเตรียมสถานท่ีกักกัน สถานท่ีคุมไว้สังเกตหรือเตียงเพื่อรองรับผู้ป่วยที่อาจเพิ่มจานวนขึ้น นอกจากนั้นแล้วการ ป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ต้องดาเนินการอย่างเร่งด่วน นอกเหนือไปจากท่ีกล่าว มาแล้ว คือ การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนปฏิบัติตนแบบ Social distancing ควบคู่ไปกับการสร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับประชาชนด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โดยกระทรวงสาธารณสุขมีหน้าท่ีในการ จัดหาวัคซีนที่ได้มาตรฐานตามท่ีองค์การอนามัยโลกกาหนด เพ่ือให้บริการกับประชาชนอย่างทั่วถึง ในการนี้สภา การพยาบาลในฐานะผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลและการผดุงครรภ์ ได้ออกแถลงการณ์สนับสนุนให้มีการ จัดหาวัคซีนท่ีมีประสิทธิภาพสูงให้กับประชาชน และเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร อุปกรณ์และส่ิงแวดล้อมให้ เพียงพอต่อการดูแลรักษาผู้ป่วย (Thailand Nursing and Midwifery Council, 2021) พร้อมท้ังกาหนดแนว ปฏิบัติเพ่ือควบคุมและป้องกันโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 สาหรับผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลและการผดุงครรภ์ เพอื่ ใช้ในการดแู ลผปู้ ว่ ยในหน่วยบรกิ ารตา่ งๆ สมรรถนะของพยาบาลด้านการจดั บริการวัคซนี ปอ้ งกันโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 พยาบาลมีบทบาทสาคัญในการให้บริการพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และการ ปอ้ งกนั โรคแกบ่ ุคคลกลุ่มเส่ียงต่างๆ โดยเฉพาะการจัดบริการวัคซีนป้องกันโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 พยาบาล ต้องมีความรู้ ความสามารถและทักษะการจัดบริการให้กับผู้รับบริการจานวนมาก สมรรถนะของพยาบาลที่ ใหบ้ รกิ ารพยาบาลจึงมคี วามสาคัญอยา่ งยงิ่ ในการจดั บรกิ ารพยาบาลให้มปี ระสทิ ธิภาพ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

42 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) สมรรถนะท่ีจาเปน็ ของพยาบาลด้านการจดั บริการวัคซีนโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพ่ือประชาชน แบ่งเปน็ 5 ประการ ไดแ้ ก่ 1. การวางแผนจัดบรกิ ารวัคซนี 2. การประเมนิ ความเสี่ยงตามแบบคัดกรองและใบยินยอมรับวัคซีน 3. การเตรยี มวัคซีน 4. การฉีดวัคซนี 5. การสงั เกตอาการผดิ ปกติภายหลังได้รับวคั ซีน 1. การวางแผนจัดบรกิ ารวัคซนี พยาบาลพึงนาความรู้ ความสามารถด้านการบริหารยามาใช้ในการจดั บริการวัคซนี เพ่ือการป้องกันโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 คานึงถึงความสอดคล้องด้านนโยบายและการปฏิบัติเพื่อให้การบริการวัคซีนบรรลุ เป้าหมายตามท่ีหน่วยงานกาหนด ท้ังน้ีพยาบาลประสานความร่วมมือกับเภสัชกรเพ่ือเพ่ิมความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคงสภาพของวัคซีน การเตรียมวัคซีนเพื่อลดการสิ้นเปลืองและสูญเสียวัคซีน การลงรายงานการใช้ วัคซีน คานวณความต้องการใช้วัคซีนในแต่ละวัน การจัดเตรียมเวชภัณฑ์ท่ีเก่ียวข้อง และการจัดอัตรากาลัง พยาบาล นอกจากน้ีพยาบาลควรมีการเตรียมพร้อมก่อนการให้บริการ การควบคุมมาตรฐานการให้บริการ และ การบริหารจัดการภายหลังได้รับวัคซีน ตามมาตรฐานงานสร้างเสริมภมู ิคุ้มกันโรคอย่างเคร่งครัด การเตรียมพร้อม ก่อนการใหบ้ ริการวคั ซีนโควิด ประกอบด้วย 1. การจัดเตรียมสถานที่ให้บริการ เพ่ือสร้างความเชื่อม่ันในการให้บริการวัคซีนโควิด และเตรียมพร้อม กรณีเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์หลังฉีดวัคซีน ดังนั้น โรงพยาบาลควรจัดให้มีสถานท่ีให้บริการเป็นการเฉพาะ มี พื้นที่เพียงพอสาหรับผู้มารอรับบริการ โดยยึดหลักการเว้นระยะห่าง 1 – 2 เมตร มีจุดล้างมือหรือที่ต้ังเจล แอลกอฮอล์ท่ีเพียงพอต่อจานวนผู้รับบริการ จุดลงทะเบียนและคัดกรองที่โปร่งโลง่ มีอากาศถ่ายเทสะดวก จุดรอ ฉีดวัคซนี และใหค้ วามรู้ บริเวณฉดี วคั ซนี ท่มี ีความพร้อมในการก้ชู ีพ จดุ เฝ้าสงั เกตอาการภายหลังได้รับวคั ซีน จดุ นดั หมาย และท่ีสาคัญมีผังขั้นตอนการรับบริการตั้งแต่เริ่มรับบริการจนเสร็จสิ้นไว้อย่างชัดเจน ทั้ งนี้ควรมีจุด ประชาสัมพันธ์ที่อธิบายข้ันตอนต่างๆผ่านเครื่องขยายเสียงเพื่ออานวยความสะดวกต่อการรับบริการของ กลุม่ เปา้ หมาย 2. การจัดอตั รากาลงั พยาบาลเพอ่ื ให้บริการฉีดวัคซีน COVID – 19 ควรมคี วามสอดคล้องกบั ขั้นตอน การให้บรกิ ารทกี่ ระทรวงสาธารณสขุ กาหนดขึ้น โดยมขี ั้นตอนท่ีพยาบาลมสี ว่ นในการให้บริการ ได้แก่ จดุ วดั สญั ญาณชีพ จุดซักประวตั ิประเมินความเสีย่ งและลงนามในใบยนิ ยอมการรบั วคั ซีน จดุ รอฉีดวคั ซีน จดุ ฉีดวคั ซนี และจดุ สังเกตอาการ ทง้ั นี้ กองการพยาบาล (Nursing Division of Ministry of Public Health Thailand, 2021) ได้กาหนดการบริหารจัดการอัตรากาลังพยาบาลสาหรับการบริการวัคซีน COVID – 19 ดงั แสดงตารางท่ี 1 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook