Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1

คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1

Published by Amanee Hayihasa, 2022-07-03 03:15:14

Description: คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1

Search

Read the Text Version

๓.๑ กำรตอบสนองต่อส่ิงเร้ำของพืช ๘๐ สนองต่อส่ิงเรำ้ ของพืชและสัตว์ วิทยำศำสตร์ เวลำ ๖ ชั่วโมง ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี ๒ ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ ๑. รปู ใบจามจุรขี ณะหบุ ใบและไม่หุบใบ ๒. พืชกระถางท่ี ๓ และ ๔ ทีป่ ลกู ไวใ้ น างรูป หรือยกตัวอย่างสถานการณ์ท่ีพืชตอบสนอง หน่วยที่ ๑ การเจริญเตบิ โตและการดารงชวี ิต ามจุรีตอนหบุ ใบเม่ือไม่มีแสงและใบไม่หบุ เม่ือมแี สง ของพชื ย่างไร (รูปหน่ึงจะมีใบหุบ อีกรูปใบจะไมห่ บุ ) ๓. กระดาษสีดาแผน่ ใหญ่ นี้ (เพราะการมีแสงในเวลากลางวนั และกลางคนื ) ๔. ตน้ ไมยราบ เชน่ นค้ี ืออะไร (แสง) ภำระงำน / ช้ินงำน ๑. การทากจิ กรรมตามใบงาน ไร (การหุบใบเมื่อไม่มีแสง และใบไม่หุบเม่ือมีแสง ๒. การบนั ทกึ ผลกจิ กรรมในใบงาน เอง) ๓. การทาแบบฝึกหดั คน วธิ กี ำรประเมนิ สงค์ในใบกิจกรรมที่ ๑ พืชตอบสนองต่อสิ่งเร้า ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. การตอบคาถามในใบงาน ารตอบสนองต่อส่ิงเรา้ ของพืช) ๒. สงั เกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กต) ในการทากิจกรรม (อธิบายสิ่งเร้าและการตอบสนองตอ่ สิง่ เร้าของพืช) ๓. สงั เกตด้านคุณธรรมขณะทากิจกรรม

หน่วยกำรเรยี นรูท้ ่ี ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ่ี ๓.๑ ก กลุ่มสำระกำรเรียนรูว้ ทิ ยำศำสตร์ หนว่ ยย่อยที่ ๒ กำรตอบ รำยวิชำ จุดประสงคด์ ้ำนทักษะกระบวนกำรทำง ๔. นกั เรียนอ่านวิธที าและทาความเข้าใจข้ันตอนก วทิ ยำศำสตร์ นักเรยี นลงมือทากิจกรรม บนั ทึกผลลงในใบงาน แ ๕. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ ราย โดยอาจแนวค ๑. การสงั เกต ๒. การลงความเหน็ จากข้อมลู ๕.๑ พชื ท่นี ักเรยี นนามาทดลองมีอะไรบ้าง (ตอบ ๓. การทดลอง ๕..๒ ผลการทดลองของแต่ละกลุ่มเหมือนกันหร ๔. การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ ท่วี างใกล้หน้าต่างท่ไี มไ่ ดต้ ิดกระดาษสีดา จะชยู อด ทีต่ ดิ กระดาษสีดา จะเบนยอดไปทิศตรงข้ามกับทีต่ จุดประสงคด์ ้ำนคุณธรรม ๕.๓ นักเรียนคดิ วา่ เพราะเหตุใดทท่ี าให้พืชท้งั ๒ ๑. มีความมงุ่ มั่นในการทางาน ๕.๔ เราเรยี กส่ิงที่ทาใหพ้ ืชเกิดการเปลีย่ นแปลงน ๒. ซอื่ สัตยต์ ่อตนเอง ๕.๕ พฤตกิ รรมทพี่ ชื ทาเม่ือมสี งิ่ เรา้ เรียกว่าอะไร ๓. ใฝ่เรยี นรู้ ๕.๖ จากกิจกรรมท่ี ๑ สรุปได้วา่ อยา่ งไร (ต้นพชื ๔. มีวินยั ขั้นสรปุ (๑๐ นำท)ี ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปได้ว่าพืชมีการตอบสน เมื่อมีสิ่งมากระตุ้น โดยส่ิงที่มากระตุ้น คือสิ่งเร้า ปลายยอดเข้าหาแสง ช่วั โมง ๓-๔ ขัน้ นำ (๕ นำท)ี ๗. ครทู บทวนบทเรียนจากครัง้ ที่แลว้ โดยใชค้ าถาม ๗.๑ สิ่งเรา้ หมายถึงอะไร (สิง่ ทท่ี าให้พืชเกดิ การเ ๗.๒ การตอบสนองต่อสิง่ เร้าของพืชหมายถงึ อะไ

๘๑ กำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำของพืช เวลำ ๖ ชวั่ โมง บสนองตอ่ สิ่งเรำ้ ของพืชและสตั ว์ ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๒ ำวิทยำศำสตร์ การทากิจกรรม เมอื่ แนใ่ จแล้วว่านกั เรยี นเข้าใจ จึงให้ เกณฑก์ ำรประเมิน และนาเสนอผลการทากิจกรรม หน้า ๓๗-๓๘ ๑. การตอบคาถามในใบงานได้ถูกตอ้ งด้วย คาถามดังนี้ ตนเอง บตามท่นี กั เรยี นทาในชั้นเรียน) - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน รือไม่ อยา่ งไร (เหมือนกันโดยตน้ พืชกระถางที่ ๓ - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน ดตง้ั ตรง ส่วนต้นพืชกระถางท่ี ๔ ทว่ี างใกลบ้ านหน้าตา่ ง - ต่ากวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ติดกระดาษสีดา) ๒. มที กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๒ กระถางเป็นเชน่ นน้ั (พชื ต้องการได้รบั แสง) ขณะทากจิ กรรม นี้วา่ อะไร (ส่งิ เรา้ ) - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน ร (การตอบสนองต่อสงิ่ เร้า) - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน ชตอบสนองต่อแสง โดยการเบนยอดเข้าหาแสง) - ต่ากวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๓. มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมขณะทากจิ กรรม นองต่อสงิ่ เร้า การตอบสนองต่อสิ่งเรา้ คือการแสดงออก - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน เช่น แสง พืชจะมีการตอบสนองต่อแสงโดยอาจเบน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ต่ากวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน มแนวนี้ เปลยี่ นแปลง ไร (สิ่งท่พี ืชทาเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุน้ )

หน่วยกำรเรยี นรูท้ ่ี ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๓.๑ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์ หน่วยย่อยท่ี ๒ กำรตอ รำยวิช ๗.๓ นักเรียนคิดว่านอกจากพืชมีการตอบสนอ (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ขนั้ สอน (๑๑๐ นำท)ี ๘. ครูใหน้ กั เรียนอา่ นช่อื กิจกรรมและจดุ ประสงค์ใน หนา้ ๓๙ จากนัน้ ครูถามคาถามดังต่อไปนี้ ๘.๑ นักเรียนจะเรยี นเรื่องอะไร (การตอบสนอง ๘.๒ นกั เรียนจะเรยี นด้วยวธิ ีการใด (การสงั เกต ๘.๓ เมอื่ เรยี นจบแลว้ นกั เรยี นจะทาอะไรได้ (ระ ๙. นักเรียนอ่านวิธีทาและทาความเข้าใจข้ันตอน จึงใหน้ กั เรยี นลงมือทากิจกรรม บันทึกผลลงในใบง โดยย้าใหน้ ักเรียนคาดคะเนและตรวจสอบผลการ เวลาใหใ้ บของของไมยราบกางออกก่อน ซึง่ จะต้อ แลว้ จงึ ทดสอบดว้ ยวธิ ที ่ี ๒ ได้ ๑๐. นักเรียนนาเสนอผลการทากิจกรรมโดยคร ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายผลการทากจิ กรร ๑๐.๑ เมื่อใช้มือสัมผัสใบของไมยราบได้ผลเห (คาตอบอาจแตกต่างกนั เชน่ ได้ผลเหมอื นกนั โดย ๑๐.๒ วิธีอื่นท่ีนักเรียนออกแบบได้ผลเหมือนก คอื ใบไมยรายหุบเมื่อโดนบางสงิ่ สัมผัส)

๑ กำรตอบสนองตอ่ สิ่งเรำ้ ของพืช ๘๒ อบสนองต่อสิ่งเรำ้ ของพชื และสตั ว์ ชำวิทยำศำสตร์ เวลำ ๖ ชั่วโมง ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี ๒ องต่อแสงแล้ว พืชยังมีการตอบสนองต่อส่ิงอื่นหรือไม่ นใบกจิ กรรมท่ี ๒ พืชตอบสนองต่อส่ิงเร้าอะไรบ้าง (๒) งต่อส่งิ เร้าของพืช) ต) ะบสุ ง่ิ เร้าและการตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ของพชื ) นการทากิจกรรมที่ ๒ เมื่อแน่ใจแล้วว่านักเรียนเข้าใจ บงาน ๐๒ การตอบสนองตอ่ ส่งิ เรา้ ของพืช หนา้ ๔๐-๔๑ รคาดคะเนไปทีละวิธี โดยเมื่อทดสอบวธิ ีที่ ๑ ตอ้ งเว้น องให้ใบของไมยราบได้รับแสง จะทาให้กางออกเร็วขึ้น รูควรเขียนผลงานของนักเรียนไว้บนกระดาน จากน้ัน รมที่ ๒ โดยครอู าจใชค้ าถามดังต่อไปนี้ หมือนหรือแตกต่างจากที่คาดคะเนหรือไม่ อย่างไร ย เม่อื ใชม้ อื สมั ผสั ใบไมยราบแล้วใบไมยราบหุบ) กับการใช้มือสัมผัสหรือไม่ อย่างไร (ได้ผลเหมือนกัน

หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๑ พืชและสตั ว์ แผนกำรจดั กำรเรียนรูท้ ่ี ๓.๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ หน่วยย่อยที่ ๒ กำรตอ รำยวิชำ ๑๐.๓ สงิ่ ที่มากระตุ้นให้ไมยราบเปลีย่ นแปลงค ๑๐.๔ เราเรียกสิ่งทท่ี าให้ไมยราบเกดิ การเปลย่ี น ๑๐.๕ ไมยราบตอบสนองต่อสิ่งเรา้ อย่างไร (โดย ๑๐.๖ จากกิจกรรมท่ี ๒ สรปุ วา่ อยา่ งไร (ไมยรา ขน้ั สรปุ (๕ นำที) ๑๑. ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปวา่ พชื บางชนดิ ตอ ชั่วโมงท่ี ๕-๖ ขน้ั นำ (๑๐ นำที) ๑๒. ครูนาเข้าสู่บทเรยี นโดยใชแ้ นวคาถามดังน้ี ๑๒.๑ นอกจากพืชตอบสนองต่อแสงและการ (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ๑๒.๒ พชื มกี ารตอบสนองต่อสิ่งเร้าน้ันเป็นอย่าง ขัน้ สอน (๑๐๐ นำท)ี ๑๓ ครใู หน้ ักเรยี นอ่านชื่อกิจกรรมและจดุ ประ จากน้ันครูถามคาถามดังต่อไปน้ี ๑๓.๑ นักเรียนจะเรยี นเรือ่ งอะไร (การตอบสนอ ๑๓.๒ นกั เรียนจะเรียนด้วยวิธกี ารใด (การสืบค ๑๓.๓ เมื่อเรยี นจบแล้วนกั เรียนจะทาอะไรได้ (

กำรตอบสนองต่อส่ิงเร้ำของพืช ๘๓ อบสนองตอ่ ส่ิงเรำ้ ของพืชและสตั ว์ ำวิทยำศำสตร์ เวลำ ๖ ชั่วโมง ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๒ คืออะไร (การสัมผสั ) ยนแปลงว่าอะไร (สิ่งเร้า) ยการหุบใบ) าบมกี ารตอบสนองต่อการสัมผัสโดยการหุบใบ) ตอบสนองต่อการสัมผสั โดยการหุบใบ รสัมผัสแล้ว พืชยังตอบสนองต่อสิ่งเร้าอะไรอีกบ้าง างไร (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ะสงค์ในใบกิจกรรมท่ี ๓ พืชตอบสนองต่อสงิ่ เร้า (๓) องต่อสิ่งเร้าของพชื ) ค้นข้อมลู ) (ระบุส่ิงเรา้ และการตอบสนองต่อสง่ิ เร้าของพชื )

หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๓ กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์ หน่วยย่อยท่ี ๒ กำรตอบ รำยวชิ ำ ๑๔. นกั เรยี นอ่านวธิ ีทาและทาความเขา้ ใจข้ันตอนกา จึงให้นักเรียนลงมือสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการตอบส หนงั สือ วดี ทิ ศั น์ เร่อื ง การตอบสนองต่ออุณหภูมิขอ ผลการทากจิ กรรม ๑๕. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภิปรายโดยการใชค้ าถา ๑๕.๑ ตัวอย่างพืชที่มกี ารตอบสนองต่ออุณหภมู ิม ๑๕.๒ จากตวั อย่างส่ิงเรา้ คืออะไร (อณุ หภมู ิ) ๑๕.๓ จากตัวอย่าง การตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ คืออะไ ข้นั สรปุ (๑๐ นำท)ี ๑๖. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปได้ว่า พืชบางชนิด พชื บางชนดิ ตอบสนองต่อการสมั ผัสโดยการหุบใบ ๑๗. นักเรยี นทาใบงาน ๐๔ แบบฝกึ หัด เรอื่ งการตอ

๓.๑ กำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำของพชื ๘๔ บสนองต่อสิ่งเร้ำของพชื และสตั ว์ ำวิทยำศำสตร์ เวลำ ๖ ชัว่ โมง การทากิจกรรมที่ ๓ เมื่อแนใ่ จแล้ว วา่ นกั เรยี นเข้าใจ ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๒ สนองต่ออุณหภูมิของพืช จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น องพืช บันทกึ ผลลงในใบงาน ๐๓ หน้า ๔๓ และนาเสนอ ามดังนี้ มีอะไรบา้ ง (เช่น การท้ิงใบของตน้ หูกวางในฤดหู นาว) ไร (การทิง้ ใบ) ดตอบสนองต่ออุณหภูมโิ ดยสลัดใบท้งิ เมื่อถึงฤดหู นาว อบสนองต่อสงิ่ เร้าของพืช

๘๕ แบบประเมินด้ำนคณุ ธรรม แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ ๓.๑ กำรตอบสนองตอ่ สิ่งเรำ้ ของพชื ชอ่ื ผู้ประเมนิ /กลมุ่ ประเมิน…………………………………………………………………………………………............................................ ชอ่ื กลมุ่ รบั กำรประเมิน……………………………………………………………………………………………….............................................. ประเมินผลคร้ังท…่ี …......……………....…….. วนั ……….....……..…. เดือน ………..….............……. พ.ศ. ……............................….. เรอ่ื ง……………………………………………………………………………………………….............................................................…………… ที่ ลกั ษณะ/พฤตกิ รรมบ่งชี้ ระดับพฤติกรรม คะแนนทีไ่ ด้ ๑. มุง่ ม่นั ในการทางาน เกิด = ๑ ไมเ่ กดิ = ๐ ๒. ซ่อื สัตย์ต่อตนเอง ๓. ใฝเ่ รยี นรู้ รวมคะแนนที่ไดท้ ัง้ หมด = …………… คะแนน คุณลกั ษณะตามจดุ ประสงคด์ ้านคุณธรรม - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน

๘๖ แบบประเมินด้ำนทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตรใ์ นกำรทำกจิ กรรม แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๓.๑ กำรตอบสนองตอ่ สิ่งเรำ้ ของพชื เกณฑ์การประเมนิ มดี ังนี้ ๓ หมายถงึ ดี ๒ หมายถงึ พอใช้ ๑ หมายถึง ควรปรับปรงุ ส่ิงท่ีประเมิน คะแนน การสงั เกต การลงความเหน็ จากข้อมลู การทดลอง การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป รวมคะแนน เกณฑ์กำรประเมนิ ทกั ษะ ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรบั ปรุง (๑) การสังเกต ใช้ตาและกายสัมผัสในการ ใช้ตาและกายสัมผัสในการ ไม่สำมำรถใช้ตาและกาย รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ สัมผัสในการรวบรวมข้อมูล การเปลี่ยนแปลงของพืช การเปลีย่ นแปลงของพืชเม่ือ เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของ เมื่อได้รับส่ิงเร้าได้ด้วย ได้รับส่ิงเร้าได้ จำกก ำ ร พืชเม่ือได้รบั สงิ่ เร้าได้ ถึงแมจ้ ะ ตนเองโดยไมเ่ พิ่มเตมิ ความ ชแี้ นะของครูหรือผอู้ ่ืน ไดร้ ับคาแนะนาจากผูอ้ ื่น คดิ เหน็ การลงความเห็นจาก เ พิ่ ม เ ติ ม ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ พ่ิ ม เ ติ ม ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ไม่ สำมำรถเพ่ิมเติมความ ขอ้ มลู เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ เก่ียวกับการตอบสนองต่อ คิดเห็นเก่ียวกับการตอบสนอง สิ่งเร้าของ พืช ได้ อ ย่ า ง ส่ิ ง เ ร้ า ข อ ง พื ช ไ ด้ อ ย่ า ง ต่อสิ่งเร้าของพืช ได้ อย่ าง ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ มี เ ห ตุ ผ ล ถูกต้องและมีเหตุผล โดย ถูกต้องและมีเหตุผล ถึงแม้จะ ด้วยตัวเอง อำศัยคำแนะนำของครู ได้รับคาแนะนาจากผู้อื่น หรอื ผ้อู ่นื

๘๗ ทกั ษะ ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรงุ (๑) การทดลอง ปฏิบตั ิการทดลองและสรุป ปฏบิ ัตกิ ารทดลองและสรุป ไม่สำมำรถปฏิบัติการทดลอง การตคี วามหมาย ข้อมูลและลง ผลการทดลองด้วยตนเอง ผลการทดลองจำกกำร และสรุปผลการทดลอง ถึงแม้ ข้อสรปุ ชีแ้ นะของครูหรือผู้อืน่ จะไดร้ ับคาแนะนาจากผ้อู ื่น สามารถสรุปเก่ียวกับการ สามารถสรุปเกี่ยวกับการ ไ ม่ ส ำ ม ำ ร ถ สามารถ ส รุ ป ตอบสนองต่อสง่ิ เร้าของพืช ตอบสนองต่อส่ิงเร้าของพืช เก่ียวกับการตอบสนองตอ่ ส่งิ เรา้ ได้จากผลการสังเกตและ ได้จากผลการสังเกตและ ของพืชได้จากผลการสังเกต การทดลองได้ด้วยตนเอง การทดลองได้ จ ำ ก ก ำ ร และการทดลองได้ ถึงแม้จะ ช้ีแนะของครหู รือผู้อื่น ได้รับคาแนะนาจากผู้อนื่

เฉลยใบงำน ๘๘ บันทึกตำมกำรทำกิจกรรมของนักเรยี น

๘๙ บันทึกตำมกำรทำกจิ กรรมของนกั เรียน แสง พืชตน้ ท่วี ำงใกลห้ น้ำตำ่ งท่ีติดกระดำษสดี ำ มีกำรโน้มเอยี งของลำตน้ เข้ำหำด้ำน ทีม่ แี สง

๙๐ บนั ทึกตำมกำรทำกจิ กรรมของนกั เรียน

๙๑ ตอบตำมกำรทำกิจกรรมของนักเรยี น กำรสัมผัส ตน้ ไมยรำบเกิดกำรหุบใบหลังถกู สัมผัส

๙๒ บนั ทึกตำมกำรทำกจิ กรรมของนกั เรียน

๙๓ อุณหภูมิ บันทึกตำมท่ีสืบค้นขอ้ มูล เช่น กำรสลัดใบท้งิ ของต้นไมเ้ มื่อฤดหู นำว

๙๔ พืช มี กำรตอบสนอง ต่อ แสง อุณหภูมิ กำรสัมผัส โดย ซึ่งเป็น กำรโน้มเอียง สิง่ เร้ำ ของลำต้น พืช เม่ือเขำ้ โดย โดย หำแสง กำรทงิ้ ใบของ กำรหุบใบของ ต้นไมใ้ นฤดูหนำว ตน้ ไมยรำบ เม่อื ถกู สัมผัส

๙๕ เมลด็ พชื ตอบสนองต่อควำมชน้ื ทำให้เมล็ดงอกได้ และต้นพชื ตอบสนองต่อแสง จะมกี ำรเบนปลำยยอดเขำ้ หำแสง

๙๖ คำชีแ้ จงประกอบแผนจดั กำรเรยี นรู้ หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ เวลำ ๔ ชั่วโมง แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ี่ ๓.๒ กำรตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้ำของสตั ว์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. สำระสำคัญของแผน สตั ว์มีการตอบสนองต่อแสง อณุ หภมู ิ และการสมั ผสั ๒. ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ ในกำรนำไปใช้ (ใหร้ ะบสุ ่ิงท่ตี ้องกำรเน้นหรอื ขอ้ สังเกต ขอ้ เสนอแนะ คำแนะนำ) ในเร่อื งต่อไปนี้ คอื ๒.๑ ขอบข่ำยเน้ือหำ สตั วส์ ามารถแสดงอาการหรือพฤตกิ รรมต่อสิง่ ท่ีมากระตุ้น เช่น แสง อณุ หภูมิ การสมั ผสั เสยี ง เราเรยี กสงิ่ กระตนุ้ ท่ีมผี ลตอ่ พฤตกิ รรมของสตั วว์ า่ สิ่งเร้า ส่วนพฤตกิ รรมอย่างใดอย่างหน่ึงท่สี ตั วแ์ สดงออกมาเม่ือมีสง่ิ เรา้ เรียกวา่ การตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ ๒.๒ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ (ควำมรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม) (ถำ้ ม)ี จุดประสงคด์ ำ้ นควำมรู้ อธิบายการตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ และการสมั ผัสของสตั ว์ จุดประสงค์ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ ๑. การสงั เกต ๒. การจัดกระทาและสอ่ื ความหมายขอ้ มลู ๓. การลงความเห็นจากขอ้ มูล จดุ ประสงคด์ ้ำนคุณธรรม ๑. มจี ติ เมตตากรุณาต่อสัตว์ ๒. มคี วามสามคั คี ช่วยเหลือในการทางานกลมุ่ รว่ มกนั ๓. มวี ินยั ๔. มุง่ มั่นในการทางาน ๒.๓ กำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ๑) กำรเตรียมตัวของครู นกั เรยี น (กำรจดั กล่มุ ) (ถ้ำมี) ๑.๑ การจัดกลุ่ม โดยแบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๖ คน ๑.๒ ครูวางแผนในการทากจิ กรร

๙๗ ๒) กำรเตรยี มสอื่ วัสดอุ ปุ กรณ์ ของครู นักเรยี น (ถำ้ ม)ี สงิ่ ท่คี รตู ้องเตรยี ม คือ ๒.๑ ไสเ้ ดอื นดนิ และหอยทาก ๑ ตวั /กลุ่ม ควรปล่อยให้อย่นู ง่ิ ๆ กอ่ นจะเร่มิ ทากิจกรรม เน้นย้ากับนักเรียน ไม่ใหน้ ักเรยี นใช้ส่ิงเรา้ ท่ีเปน็ อันตรายกบั สัตว์ และระมดั ระวงั ไม่ใหส้ ตั ว์ได้รบั บาดเจ็บหรือเสยี ชวี ิตได้ ๒.๒ ภาชนะและวัสดุสาหรบั ใส่ไสเ้ ดือนดิน หอยทาก ทสี่ ามารถปอ้ งกันการหนีของสตั ว์ได้ และกวา้ งขวางพอ ทจี่ ะไม่ทาให้สตั ว์ไดร้ ับอันตรายหรอื ตายได้ ๒.๓ เตรยี มบัตรคาปรศิ นาคาทาย ๒.๔ รปู อึง่ อ่างพองตัวเมื่อโดนสัมผสั ๑ รูป/ห้อง ๒.๕ รูปควายนอนแช่ปลัก ๑ รูป/ห้อง ๒.๖ ไมต้ ะเกียบ ๑ อัน/กลมุ่ ๒.๗ ดิน ๑ กลอ่ ง/กลมุ่ ๒.๘ โคมไฟ ๒-๓ อัน/ห้อง ๒.๙ วสั ดอุ ่ืน ๆ ท่อี าจจะใช้ เช่น กระบอกฉดี นา้ ไฟฉาย เสียงเพลง ๓) เตรยี มใบงำน ใบควำมรู้ ใบกจิ กรรม (ถำ้ ม)ี ๓.๑ ใบงาน ๐๑ การตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าของสัตว์ ๓.๒ ใบงาน ๐๒ แบบฝกึ หัด เร่อื งการตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ของสตั ว์ ๒.๔ วดั ผลประเมนิ ผล (ถ้ำมี) ๑) วิธีกำรวัดผลประเมินผลกำรเรียนรู้ ๑.๑ การตอบคาถามในใบงาน ๑.๒ สงั เกตทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการทากิจกรรม ๑.๓ สังเกตดา้ นคุณธรรมขณะทากิจกรรม ๒) วิธีกำร เครอื่ งมือ เกณฑ์ ๒.๑ เครือ่ งมือและเกณฑ์ในกำรประเมินดำ้ นควำมรู้ ตรวจให้คะแนนจากการตอบคาถามในใบงาน แล้วใชเ้ กณฑใ์ นการใหค้ ะแนนดังนี้ - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน

๙๘ ๒.๒ เครอื่ งมือและเกณฑ์ในกำรประเมินทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ สงั เกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใชแ้ บบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ดงั แนบ) แลว้ นาคะแนนมารวมกนั แล้วใช้เกณฑใ์ นการให้คะแนนดังนี้ - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๒.๓ เครือ่ งมอื และเกณฑใ์ นกำรประเมินดำ้ นคุณธรรม สงั เกตคณุ ลกั ษณะดา้ นคุณธรรมโดยใช้แบบประเมนิ ด้านคุณธรรม (ดงั แนบ) แลว้ นาคะแนนมรวมกนั แล้วใชเ้ กณฑ์ในการให้คะแนนดังน้ี - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๓) กำรทดสอบกอ่ นเรียน หลังเรียน แบบฝกึ หดั ก่อนเรยี น หลังเรียน ทาแบบฝกึ หดั ในใบงานหลงั เรียน ๓. อน่ื ๆ .............................................................................................................................................................................................................. .........................................................................................................................................................................................................

หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ พชื และสตั ว์ แนวกำรจัดกิจกรรมกำร กล่มุ สำระกำรเรียนร้วู ิทยำศำสตร์ เรือ่ ง กำร รำยวชิ ขั้นนา แนวการจัดกจิ ก ข้ันสอน  กิจกรรมเล่นเกมปริศนาคาทาย  ร่วมกันทากิจกรรมท่ี ๑ ร้ไู หมว่า...สัตวบ์ า ขัน้ สรุป  ทาใบงาน ๐๑ การตอบสนองตอ่ สิ่งเร้าขอ การวดั และประเมนิ ผล  อภปิ รายเรื่องการตอบสนองต่อสงิ่ เร้าของ  ร่วมกนั สรุปเกย่ี วกับการตอบสนองตอ่ ส่ิงเ  ทาใบงาน ๐๒ แบบฝึกหัด เร่ืองการตอบส  ประเมนิ จากการตอบคาถาม  ประเมนิ จากการทากิจกรรมในชั้นเรยี น  ประเมินจากการทาแบบฝกึ หัด

รเรยี นรูข้ องแผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ี่ ๓.๒ ๙๙ รตอบสนองต่อส่ิงเร้ำของสตั ว์ ชำวทิ ยำศำสตร์ เวลำ ๔ ชว่ั โมง ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๒ กรรมการเรียนรู้ างชนิดมกี ารตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ อยา่ งไร องสัตว์ งสตั ว์ เร้าของสตั ว์ สนองต่อสง่ิ เร้าของสัตว์

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๑ พืชและสตั ว์ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๓.๒ กำ กลุม่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๓ กำรตอบส รำยวชิ ำว ขอบเขตเนือ้ หำ กจิ กรรมกำรเรียนรู้ (๖ ชั่วโมง) สั ต ว์ ส า ม า ร ถ แ ส ด ง อ า ก า ร ห รื อ ช่วั โมงท่ี ๑-๒ พฤติกรรม ต่อสิ่งท่ีมากระตุ้น เช่น แสง ขน้ั นำ (๑๐ นำที) อุณหภูมิ การสัมผัส เสียง เราเรียกส่ิง ๑. ครูเล่นปริศนาคาทายกับนักเรียน โดยเมื่อถ กระตุ้นท่ีมีผลต่อพฤติกรรมของสัตว์ว่า นักเรียนอา่ นตาม ก่อนท่จี ะช่วยกันตอบปริศนาแ ส่งิ เร้า ส่วนพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งท่ี ๑.๑ สตั วอ์ ะไรเอ่ยชอ่ื สงู อยบู่ นฟ้า แต่กายาอย สัตว์แสดงออกมาเมอ่ื มสี งิ่ เร้า เรียกวา่ ๑.๒ สตั ว์อะไรเอ่ยตัวเล็กฤทธ์ิมาก เที่ยวลากข การตอบสนองต่อส่ิงเร้า ๑.๓ สัตวอ์ ะไรเอย่ หนา้ แลง้ อย่ถู า้ หน้านา้ อย (หอยทาก) จดุ ประสงค์ดำ้ นควำมรู้ ๑.๔ สัตว์อะไรเอ่ย รถยนต์ก็ไม่ใช่ รถไฟกไ็ มเ่ ช อธิบายการตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ ติดภาพสตั วท์ ีเ่ ปน็ คาตอบของปริศนาแตล่ ะข้อด และการสมั ผัสของสตั ว์ และยกตัวอยา่ งได้ ๒. สตั ว์ในปรศิ นาคาทายมสี ่ิงใดท่ีทาใหส้ ตั ว์เหลา่ น ของตนเอง) ข้นั สอน (๑๐๐ นำท)ี ๓. ครูให้นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรมและจุดประสงค ตอ่ ส่ิงเรา้ อยา่ งไร หน้า ๔๘ จากน้ันครูถามคาถามด ๓.๑ นกั เรยี นจะเรยี นเรอื่ งอะไร (การตอบสน ๓.๒ นกั เรียนจะเรยี นดว้ ยวธิ ีการใด (การสงั เก ๓.๓ เม่ือเรียนจบแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ บางชนดิ )

ำรตอบสนองตอ่ ส่ิงเรำ้ ของสตั ว์ ๑๐๐ สนองตอ่ ส่ิงเรำ้ ของพืชและสัตว์ วทิ ยำศำสตร์ เวลำ ๖ ชัว่ โมง ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๒ ถามคาถามเสร็จ ครูติดคาถามบนกระดานเพ่ือให้ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ แตล่ ะขอ้ ดังน้ี ๑. แผ่นบตั รคา “ ปริศนาคาทาย ” ยู่ใต้ดิน (ไส้เดือนดิน) ๒. รปู อึ่งอา่ งพองตัว ของหนัก (มด) ๓. รูปควายนอนแช่ปลกั ยู่ดอน เกล้าผมเหมอื นมอญ ซอ่ นหนา้ อยใู่ นเปลือก ๔. ไมส้ าหรับเขีย่ ๕. ไสเ้ ดอื นดินและหอยทาก ชิง วิ่งเตลิดเปิดเปิงอยู่กลางปา่ (ก้งิ กือ) ครูอาจ ๖. กระบะดิน ด้วยก็ได้ ๗. โคมไฟ (สาหรบั ใช้วันทไ่ี ม่มแี สงแดด) นี้เปล่ยี นพฤตกิ รรมใด (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ ๘. วสั ดุอ่นื ๆ ค์ในใบกิจกรรมท่ี ๑ รู้ไหมว่า...สัตว์มีการตอบสนอง ภำระงำน / ชิน้ งำน ดังตอ่ ไปน้ี ๑. การอ่านปรศิ นาคาทาย นองตอ่ สง่ิ เร้าของสตั วบ์ างชนดิ ) ๒. การบนั ทึกผลกิจกรรมในใบงาน กต) ๓. การทาแบบฝกึ หดั (ระบุส่ิงเร้าและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสัตว์ วธิ ีกำรประเมิน ๑. การตอบคาถามในใบงาน ๒. สงั เกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการทากจิ กรรม ๓. สังเกตด้านคุณธรรมขณะทากิจกรรม

หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ พืชและสตั ว์ แผนกำรจดั กำรเรียนรทู้ ่ี ๓.๒ ก กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ หน่วยย่อยที่ ๓ กำรตอบ รำยวชิ ำว จุดประสงคด์ ้ำนทกั ษะกระบวนกำรทำง ๔. นกั เรียนอา่ นวิธที าและทาความเข้าใจขั้นตอนก วิทยำศำสตร์ ว่านกั เรยี นเข้าใจ จึงใหน้ กั เรยี นลงมอื ทากจิ กรรม ๑. การสงั เกต ๕. จากนัน้ ครูนาไส้เดือนดนิ ออกมาใหน้ ักเรยี นดู แล้ว ๒. การจดั กระทาและสื่อความหมายข้อมลู พบได้ท่ีใด จากน้ันนักเรียนสังเกตลักษณะทั่วไปข ๓. การลงความเห็นจากข้อมูล เพอื่ ช่วยในการสงั เกต จากน้นั ให้บนั ทกึ ลงในใบงาน ๖. ครูอภิปรายกับนักเรียนว่า ไส้เดือนดินมีชีว จุดประสงค์ดำ้ นคณุ ธรรม (ต้องการ) เจบ็ และตายได้หรือไม่ (ได)้ ถา้ เราต้อง ๑. มีจิตเมตตากรณุ าต่อสตั ว์ ทาใหไ้ ส้เดือนดนิ เจบ็ หรือตาย เราจะต้องทาอย่าง ๒. มคี วามสามคั คี ชว่ ยเหลอื ใน ครยู ้าเตือนให้นักเรยี นสังเกตไส้เดือนดินอย่างเบาม การทางานกล่มุ รว่ มกัน ๗. ครูให้นักเรียนคาดคะเนว่าถ้านาไส้เดือนดินไป ๓. มวี นิ ยั จะเกิดอะไรขึ้นกบั ไส้เดือนดนิ ๔. มุ่งม่ันในการทางาน ๘. นักเรยี นทากิจกรรมเพื่อตรวจสอบการคาดคะเน โด ๙. นักเรียนทากิจกรรมไปทลี ะวธิ ีและระวังไมใ่ ห้ไ กบั ไส้เดือนดินวิธีแรกแล้ว กอ่ นใหส้ ่ิงเร้าท่ีสอง ควรให ลงในใบงาน ๐๑ หน้า ๔๙-๕๐ ๑๐. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอสงิ่ ทค่ี ้นพบจากกา ๑๑. ครูนาอภปิ รายว่าเม่ือมีสง่ิ ใดมากระตุ้นสัตว์ อา สัตว์แสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหน่ึง เรียกว่า เรยี กว่า การตอบสนองต่อส่ิงเร้า ครอู าจเขียนขอ้ คว

๑๐๑ กำรตอบสนองต่อส่ิงเร้ำของสัตว์ เวลำ ๖ ชั่วโมง บสนองต่อสิ่งเรำ้ ของพืชและสัตว์ ชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ ๒ วทิ ยำศำสตร์ การทากิจกรรมในใบกจิ กรรมที่ ๑ เมอ่ื แน่ใจแลว้ เกณฑ์กำรประเมนิ ๑. การตอบคาถามในใบงานได้ถกู ต้องดว้ ย วถามว่า เคยเหน็ สัตวช์ นิดนี้หรอื ไม่ สตั ว์นม้ี ชี อื่ วา่ อะไร ตนเอง ของไส้เดือนดินอย่างละเอียด ครูอาจแจกแว่นขยาย - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน น ๐๑ การตอบสนองต่อสงิ่ เร้าของสัตว์ - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน วิตหรือไม่ (มี) ไส้เดือนดินต้องการอาหารหรือไม่ - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน งการค้นหาคาตอบที่เราคาดคะเนไว้ แตไ่ ม่ต้องการ ๒. มที กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ งไร (เข่ยี ไส้เดือนดนิ อย่างเบามือไม่จับมาโยนเลน่ ) ขณะทากิจกรรม มือทะนุถนอม - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน ปวางบนกระบะดินแล้วนากระบะไปวางไว้กลางแดด - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ต่ากวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ดยระมัดระวงั ในการเคล่ือนย้ายหรือสัมผัไส้เดือนดิน ๓. มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมขณะทากจิ กรรม ไส้เดือนดนิ เจ็บ และหลงั จากสงั เกตการณใ์ ช้ส่งิ เร้า - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน หเ้ วลาไสเ้ ดือนดนิ ปรับตัวกลับสสู่ ภาพปกติ บนั ทกึ ผล - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ารทากิจกรรม าจแสดงพฤติกรรมบางอย่างออกมา สงิ่ กระตุ้นท่ที าให้ า ส่ิงเร้า ส่วนพฤติกรรมของสัตว์ที่เกิดจากส่ิงเร้า ความเกี่ยวกับแนวคิดนบี้ นกระดาน

หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๓.๒ กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์ หน่วยยอ่ ยที่ ๓ กำรตอบ รำยวชิ ำ ขนั้ สรุป (๑๐ นำที) ๑๒. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปไดว้ ่าไส้เดือนดนิ เป ต่อสงิ่ เรา้ คือการแสดงออกเม่ือมสี งิ่ มากระตุน้ โดยส ชั่วโมงท่ี ๓-๔ ขน้ั นำ (๑๐ นำท)ี ๑๓. ครูทบทวนว่าสิ่งท่ีทาให้ไส้เดือนดินเปล่ีย ใต้ดนิ คืออะไร (แสงแดด) ๑๔. แสงแดดจัดเป็นอะไรท่ีทาให้ไส้เดือนดินเป ๑๕. นักเรียนคิดว่าถ้าเปลี่ยนจากไส้เดือนดินเ ไสเ้ ดอื นดนิ หรอื ไม่ อยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตาม ขน้ั สอน (๑๐๐ นำที) ๑๖. ครนู าหอยทากออกมาใหน้ ักเรียนดู แล้วถ พบไดท้ ่ใี ด จากนั้น นักเรียนสังเกตลกั ษณะทว่ั ไป เพ่ือช่วยในการสังเกต จากนั้นให้บันทึกลงใน กับหอยทากเบามือ ไม่ทาร้ายให้หอยทากเป็น วางกลางแดดควรรบี สงั เกตและนาหอยทากกล ๑๗. นักเรียนคาดคะเนว่าหอยทากจะตอบ นักเรียนเขียนส่ิงที่คาดคะเนลงในใบกิจกร การตอบสนองตอ่ ส่งิ เร้าของสตั ว์ หน้า ๕๑-๕๒ เพอ่ื ตรวจสอบการคาดคะเน

กำรตอบสนองต่อส่ิงเร้ำของสัตว์ ๑๐๒ บสนองต่อสิ่งเรำ้ ของพืชและสตั ว์ ำวทิ ยำศำสตร์ เวลำ ๖ ช่วั โมง ชัน้ ประถมศกึ ษำปที ี่ ๒ ปน็ ส่ิงมีชวี ติ ทมี่ ีการตอบสนองต่อส่ิงเร้าการตอบสนอง สิ่งทีม่ ากระตุ้น คอื สิ่งเร้า เชน่ การสมั ผสั ยนพฤติกรรมจากท่ีวางอยู่บนกระบะดินเป็นมุดลง ปลี่ยนพฤติกรรม (สิ่งเรา้ ) เป็นสัตว์ชนิดอื่น จะแสดงพฤติกรรมแบบเดียวกับ มความเขา้ ใจ) ถามว่า เคยเห็นสัตวช์ นิดน้ีหรือไม่ สัตว์นม้ี ีช่อื ว่าอะไร ปของหอยทากอย่างละเอียด ครูอาจแจกแวน่ ขยาย นใบงาน ๐๑ หน้า ๕๑ และให้นักเรียนทากิจกรรม นอันตรายและเสียชีวิต และเม่ือต้องนาหอยทากไป ลบั เขา้ รม่ โดยเร็วทีส่ ดุ สนองต่อแสงหรือสิ่งอ่ืน ๆ หรือไม่ อย่างไรบ้าง รรม และให้นักเรียนทากิจกรรมในใบงาน ๐๑ ๒

หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี ๑ พืชและสตั ว์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ี่ ๓.๒ กลุม่ สำระกำรเรียนร้วู ิทยำศำสตร์ หนว่ ยย่อยที่ ๓ กำรตอบ รำยวิชำ ๑๘. เม่ือนักเรียนทากิจกรรมเสร็จแล้ว ครูและนัก หอยทาก ดังนี้ ๑๘.๑ เมอ่ื นาหอยทากไปวางกลางแดด หอยท ๑๘.๒ เหตุการณ์น้ี อะไรเป็นส่ิงเร้า และอะไร การมดุ ลงใตด้ ินเปน็ การตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ) ๑๘.๓ เม่ือรดน้าลงดินคร่ึงหนึ่งของกระบะ ห (หอยทากเคลือ่ นไปหาดินส่วนทรี่ ดน้าไว้) ๑๘.๔ นอกจากแสงแดด อุณหภูมิแล้ว หอยท (นักเรยี นตอบตามการทากิจกรรม เชน่ เม่อื ใชไ้ ม้เข่ีย ๑๙. ครใู หน้ ักเรยี นดูบัตรภาพตา่ งๆ แลว้ ถามนักเ สิง่ เรา้ ใดบ้าง ๑๙.๑ รปู ควายนอนแชป่ ลกั พฤติกรรมของคว ๑๙.๒ รูปองึ่ อ่างพองตัว พฤติกรรมของอ่ึงอ่าง ๒๐. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า เมื่อม อยา่ งใด อย่างหนง่ึ ออกมาเพื่อตอบสนองต่อส่ิงกระต ว่าส่ิงเร้า สว่ นพฤติกรรมทต่ี อบสนองต่อส่ิงเรา้ ยกตัวอยา่ งส่ิงเรา้ ในกิจกรรมน้ี ซ่ึงไดแ้ ก่ แสง อณุ

กำรตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้ำของสัตว์ ๑๐๓ บสนองต่อส่ิงเร้ำของพืชและสตั ว์ ำวิทยำศำสตร์ เวลำ ๖ ช่วั โมง ชัน้ ประถมศกึ ษำปที ี่ ๒ กเรียนอภิปรายเกี่ยวกับการตอบสนองต่อส่ิงเร้าของ ทากมพี ฤติกรรมอย่างไร (มดุ ลงใตด้ นิ ) รเป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (ความร้อนเป็นส่ิงเร้า หอยทากมีพฤติกรรมเปล่ียนแปลงไปหรือไม่ อย่างไร ทากมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปเม่ือมีสิ่งใดมากระทา ยเบา ๆ หอยทากจะผลุบตวั หอยเข้าไปในเปลือกหอย) เรียนว่า พฤตกิ รรมของสัตวน์ ั้นเป็นการตอบสนองต่อ วายเป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าใด(อุณหภมู ิ) งเปน็ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าใด (การสัมผสั ) มีสิ่งที่มากระตุ้น สัตว์แต่ละชนิดจะแสดงพฤติกรรม ตุ้นนน้ั เราเรียกสงิ่ กระตนุ้ ที่มผี ลต่อพฤติกรรมของสัตว์ เราเรียกว่า การตอบสนองต่อสิง่ เรา้ ให้นักเรยี น ณหภูมิ และการสมั ผัส

หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจดั กำรเรยี นรูท้ ี่ ๓.๒ ก กล่มุ สำระกำรเรียนร้วู ิทยำศำสตร์ หน่วยย่อยที่ ๓ กำรตอบ รำยวิชำว ขัน้ สรุป (๑๐ นำท)ี ๒๐. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปได้ว่าสตั วม์ ีการตอบ ๒๑. นักเรยี นทาใบงาน ๐๒ แบบฝกึ หัด เรอื่ งการตอบ

กำรตอบสนองต่อสิ่งเรำ้ ของสตั ว์ ๑๐๔ บสนองต่อสิ่งเรำ้ ของพืชและสตั ว์ วทิ ยำศำสตร์ เวลำ ๖ ชว่ั โมง ชัน้ ประถมศกึ ษำปที ี่ ๒ บสนองต่อแสง อุณหภมู ิ และการสัมผสั บสนองต่อส่ิงเร้าของสัตว์ หนา้ ๕๓

๑๐๕ แบบประเมนิ ด้ำนคุณธรรม แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ี่ ๓.๒ กำรตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้ำของสัตว์ ชอ่ื ผ้ปู ระเมิน/กลมุ่ ประเมนิ …………………………………………………………………………………………............................................ ชอ่ื กลุ่มรบั กำรประเมนิ ……………………………………………………………………………………………….............................................. ประเมนิ ผลครั้งท…ี่ …......……………....…….. วัน ……….....……..…. เดือน ………..….............……. พ.ศ. ……............................….. เรือ่ ง……………………………………………………………………………………………….............................................................…………… ที่ ลักษณะ/พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับพฤตกิ รรม คะแนนท่ีได้ ๑. มีจติ เมตตากรุณาต่อสตั ว์ เกดิ = ๑ ไม่เกดิ = ๐ ๒. สามัคคี ชว่ ยเหลอื ในการทางานกลมุ่ ร่วมกนั ๓. มีวินัย รวมคะแนนท่ีไดท้ ั้งหมด = …………… คะแนน ๔. มคี วามมุ่งมน่ั ในการทางาน คุณลกั ษณะตามจุดประสงค์ด้านคณุ ธรรม - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน

๑๐๖ แบบประเมินดำ้ นทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ในกำรทำกิจกรรม แผนกำรจัดกำรเรยี นรทู้ ่ี ๓.๒ กำรตอบสนองต่อสิ่งเรำ้ ของสตั ว์ เกณฑ์การประเมินมดี ังนี้ ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง พอใช้ ๑ หมายถงึ ควรปรับปรุง สิ่งท่ีประเมิน คะแนน การสังเกต การจดั กระทาและสอื่ ความหมายข้อมลู การตีความหมายข้อมลู และการลงขอ้ สรุป รวมคะแนน เกณฑก์ ำรประเมิน ทักษะ ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรุง (๑) การสงั เกต ใช้ประสาทสัมผัสในการ ใช้ประสาทสัมผัสในการ ไม่สำมำรถใช้ประสาทสัมผัส การจัดกระทาและ สื่อความหมาย รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ รวบรวมข้อมูลเกี่ยว กับ ในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ข้อมลู พฤติกรรมของสัตว์ได้ พฤติกรรมของสัตว์ได้ด้วย พฤติกรรมของสัตว์ได้ด้วย การลงความเหน็ จากข้อมูล ด้วยตนเองโดยไม่เพ่ิมเติม ตนเองโดยไม่เพิ่มเติมจำก ตนเองโดยไม่เพิม่ เตมิ ถึงแม้จะ ความคดิ เหน็ กำรชีแ้ นะของครหู รอื ผู้อ่ืน ได้รับคาแนะนาจากผอู้ ืน่ นาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการ นาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการ ไม่สำมำรถเนาเสนอข้อมูล ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของ ตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าของสัตว์ เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ สัตว์ให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้ง่าย ให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้ง่ายและ สิ่งเร้าของสัตว์ให้ผู้อื่นเข้าใจ และชดั เจน ดว้ ยตัวเอง ชัดเจน โดยอำศัยคำแนะนำ ได้ง่ายและชัดเจน ถึงแม้จะ ของครหู รือผอู้ ืน่ ไดร้ บั คาแนะนาจากผู้อ่ืน เพ่ิมเติมคว าม คิดเห็น เ พิ่ ม เ ติ ม ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ไม่สำมำรถ เพิ่มเติมความ เกี่ ยวกั บสิ่ งเร้ าและการ เกี่ยวกับสิ่งเร้าและการ คิดเห็นเกี่ยวกับส่ิงเร้าและ ตอบสนองต่อส่ิงเร้าของสัตว์ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสัตว์ การตอบสนองต่อส่ิงเร้าของ ได้อย่างมีเหตุผล จาก ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล จากความรู้ สัตว์ได้อย่างมีเหตุผล จาก หรือประสบการณ์เดิมได้ ความรู้หรือประสบการณ์เดิม

๑๐๗ ทักษะ ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรบั ปรุง (๑) ความรู้หรือประสบการณ์ จำกกำรช้ีแนะของครูหรือ ได้ ถึงแม้จะได้รับคาแนะนา เดมิ ได้ดว้ ยตนเอง ผู้อ่นื จากผอู้ ื่น

เฉลยใบงำน ๑๐๘ บนั ทกึ ผลจำกกำรสงั เกตของนกั เรียน แสงแดด บนั ทึกผลจำก ไสเ้ ดอื นมุดดนิ กำรมุดดิน กำรคำดคะเน แสงแดด

๑๐๙ บนั ทึกผลจำกกำรสังเกตของนักเรียน กำรสัมผสั บนั ทึกผลจำก เคลื่อนท่หี นี กำรคำดคะเน กำรสัมผสั เคลื่อนทหี่ นี

๑๑๐ บนั ทึกผลจำกกำรสังเกตของนักเรยี น บันทึกผลจำกกำรสังเกตของนักเรียน บันทกึ ผลจำกกำรสงั เกตของนกั เรยี น

๑๑๑ กำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำ ส่ิงเร้ำ

๑๑๒ แสง สิ่งท่กี ระตนุ้ ให้สตั วแ์ สดงพฤติกรรม ออกมำ พฤติกรรมทส่ี ตั ว์แสดงออกมำ

๑๑๓ หน่วยยอ่ ยท่ี ๔ ประโยชนข์ องพืชและสัตวใ์ นทอ้ งถิ่น หน่วยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๑ ชือ่ หนว่ ย พชื และสัตว์ จำนวนเวลำเรยี น ๘ ช่ัวโมง จำนวนแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ๒ แผน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ สำระสำคัญของหนว่ ย พชื และสัตว์ในทอ้ งถน่ิ มปี ระโยชน์ตอ่ มนุษย์มากมาย มำตรฐำนกำรเรียนรแู้ ละตัวชี้วดั มำตรฐำน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใชเ้ ทคโนโลยีชวี ภาพทม่ี ผี ลต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อม มกี ระบวนการสืบเสาะหา ความรูแ้ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สือ่ สารส่ิงที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชีว้ ัด ว ๑.๒ ป. ๒/๑ อธิบายประโยชนข์ องพชื และสัตว์ในท้องถนิ่ มำตรฐำน ว ๘.๑ ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติที่เกิดขน้ึ ส่วนใหญ่มรี ูปแบบท่แี นน่ อน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเคร่ืองมอื ท่ีมีอยู่ใน ชว่ งเวลาน้นั ๆ เขา้ ใจวา่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธ์กนั ตัวชวี้ ดั ว ๘.๑ ป. ๒/๑ ตง้ั คาถามทเ่ี กีย่ วกับเร่อื งทีจ่ ะศึกษาตามท่ีกาหนดให้หรือตามความสนใจ ว ๘.๑ ป. ๒/๒ วางแผนการสงั เกต สารวจตรวจสอบ ศึกษาคน้ คว้า โดยใช้ความคดิ ของตนเอง และของครู ว ๘.๑ ป. ๒/๓ ใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ในการสารวจตรวจสอบ และบนั ทกึ ผลดว้ ยวิธงี ่าย ๆ ว ๘.๑ ป. ๒/๔ จัดกลมุ่ ข้อมูลท่ีได้จากการสารวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ป. ๒/๕ ต้งั คาถามใหมจ่ ากผลการสารวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ป. ๒/๖ แสดงความคดิ เหน็ ในการสารวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ป. ๒/๗ บันทกึ และอธิบายผลการสังเกตสารวจตรวจสอบอย่างตรงไปตรงมา โดยเขียนภาพ แผนภาพหรือคาอธบิ าย ว ๘.๑ ป. ๒/๘ นาเสนอผลงานดว้ ยวาจาให้ผ้อู ่ืนเข้าใจกระบวนการและผลของงาน

๑๑๔ ลำดบั กำรเสนอแนวคดิ หลักของหนว่ ยย่อยท่ี ๔ ประโยชน์ของพชื และสัตว์ในท้องถ่นิ พชื มีประโยชนต์ อ่ มนุษย์ในแง่ปจั จัยส่ี คือ เป็นอาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องน่งุ ห่ม และยารักษาโรค สตั วม์ ีประโยชนต์ อ่ มนษุ ย์ เชน่ เป็นอาหาร เครือ่ งนุ่งห่ม ยารักษาโรค สร้างความเพลิดเพลนิ โครงสรำ้ งของหนว่ ยย่อยที่ ๔ ประโยชน์ของพชื และสตั ว์ในท้องถนิ่ หน่วยกำรเรียนรู้ ชื่อหน่วยยอ่ ย จำนวน ชื่อแผนกำรจดั กำร จำนวนชวั่ โมง แผน เรียนรู้ ๔ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ หน่วยย่อยที่ ๔ ๒ ๔.๑ ประโยชนข์ องพชื พชื และสตั ว์ ประโยชน์ของพืช ในทอ้ งถิ่น และสัตวใ์ นทอ้ งถน่ิ ๔.๒. ประโยชนข์ องสตั ว์ ๔ ในท้องถิน่ .

๑๑๕ คำชีแ้ จงประกอบแผนจัดกำรเรยี นรู้ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี ๑ เวลำ ๔ ช่วั โมง แผนกำรจัดกำรเรียนรูท้ ี่ ๔.๑ ประโยชนข์ องพชื ในทอ้ งถิ่น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ๑. สำระสำคญั ของแผน พชื ในทอ้ งถิน่ มีประโยชน์ต่อมนษุ ยม์ ากมาย ๒. ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ ในกำรนำไปใช้ (ให้ระบุสงิ่ ที่ต้องกำรเน้นหรอื ขอ้ สังเกต ข้อเสนอแนะ คำแนะนำ) ในเรอ่ื งต่อไปน้ี คอื ๒.๑ ขอบข่ำยเนอื้ หำ พชื มีประโยชน์ต่อมนษุ ยใ์ นแง่ปัจจัยสี่ คอื เป็นอาหาร ทอ่ี ย่อู าศยั เครื่องนงุ่ ห่ม และยารกั ษาโรค ๒.๒ จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ (ควำมรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม) (ถ้ำมี) จดุ ประสงคด์ ำ้ นควำมรู้ อธบิ ายประโยชน์ของพืชในท้องถ่นิ จดุ ประสงค์ดำ้ นทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ การจดั กระทาและส่ือความหมายของขอ้ มูล จดุ ประสงค์ดำ้ นคณุ ธรรม ๑. มีความมุ่งม่นั ในการทางาน ๒. ซ่อื สัตยต์ ่อตนเอง ๓. มวี ินยั ๒.๓ กำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้ ๑) กำรเตรียมตวั ของครู นกั เรยี น (กำรจัดกลมุ่ ) (ถ้ำม)ี การจดั กลมุ่ โดยแบ่งนักเรยี นออกเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ ๔-๖ คน ๒) กำรเตรียมสื่อ วัสดอุ ุปกรณ์ ของครู นักเรียน (ถำ้ มี) ส่งิ ทีค่ รตู อ้ งเตรียม คือ ๒.๑ รูปผ้าฝ้าย ยาแคปซลู ฟ้าทะลายโจร บ้านไม้สกั ผัดผกั รวม ๒.๒ รูปชนดิ ของพืชกับรูปประโยชนข์ องพืชประมาณ ๕-๑๐ รูป ทีจ่ บั คกู่ ัน ๑ ชุด/เลม่ ๒.๓ กระดาษแขง็ สีเทาขาว ๑ แผน่ /กลมุ่ ๒.๔ สีไม้ ๑ กลอ่ ง/กลมุ่ ๓) เตรยี มใบงำน ใบควำมรู้ ใบกจิ กรรม (ถ้ำมี) ๓.๑ ใบงาน ๐๑ ประโยชนข์ องพชื ในทอ้ งถ่นิ ๓.๒ ใบงาน ๐๒ แบบฝึกหัด เรือ่ งประโยชนข์ องพชื ในทอ้ งถ่ิน

๑๑๖ ๒.๔ วัดผลประเมนิ ผล (ถำ้ มี) ๑) วิธีกำรวัดผลประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ ๑.๑ การตอบคาถามในใบงาน ๑.๒ สังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการทากิจกรรม ๑.๓ สงั เกตด้านคุณธรรมขณะทากจิ กรรม ๒) วิธกี ำร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ๒.๑ เครอ่ื งมือและเกณฑใ์ นกำรประเมนิ ด้ำนควำมรู้ ตรวจให้คะแนนจากการตอบคาถามในใบงาน แลว้ ใชเ้ กณฑใ์ นการใหค้ ะแนนดังน้ี - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๒.๒ เครื่องมอื และเกณฑ์ในกำรประเมนิ ทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ สังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้แบบประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (ดังแนบ) แลว้ นาคะแนนมารวมกัน แลว้ ใช้เกณฑใ์ นการใหค้ ะแนนดังน้ี - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๒.๓ เครื่องมอื และเกณฑใ์ นกำรประเมนิ ดำ้ นคณุ ธรรม สังเกตคุณลกั ษณะดา้ นคณุ ธรรมโดยใชแ้ บบประเมินด้านคณุ ธรรม (ดังแนบ) แลว้ นาคะแนนมรวมกนั แล้วใชเ้ กณฑใ์ นการใหค้ ะแนนดังน้ี - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ต่ากวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๓) กำรทดสอบกอ่ นเรยี น หลังเรียน แบบฝึกหดั กอ่ นเรยี น หลังเรยี น ทาแบบฝกึ หัดในใบงานหลังเรยี น ๓. อน่ื ๆ ............................................................................................................................................................................................................ ....................................................................................... ....................................................................................................................

หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี ๑ พืชและสตั ว์ แนวกำรจัดกิจกรรมกำร กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์ เรอื่ ง ประ รำยวิช ข้นั นา แนวการจดั กจิ ก ขัน้ สอน  ตรวจสอบความรเู้ ดมิ เก่ยี วกบั ส่ิงของหรือผ  รว่ มกนั ทากจิ กรรมที่ ๑ พชื ในท้องถน่ิ มปี ร ขน้ั สรปุ  ทาใบงาน ๐๑ ประโยชน์ของพืชในทอ้ งถิน่ การวดั และประเมินผล  อภปิ รายเรอื่ งประโยชน์ของพืชในท้องถ่ิ  รว่ มกันสรปุ เกี่ยวกบั ประโยชนข์ องพืชในท  ทาใบงาน ๐๒ แบบฝึกหัด เร่ืองประโยชน  ประเมินจากการตอบคาถาม  ประเมินจากการทากิจกรรมในชนั้ เรยี น  ประเมนิ จากการทาแบบฝึกหัด

รเรยี นรขู้ องแผนกำรจดั กำรเรยี นรูท้ ่ี ๔.๑ ๑๑๗ ะโยชน์ของพืชในทอ้ งถิน่ ชำวทิ ยำศำสตร์ เวลำ ๔ ช่วั โมง ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๒ กรรมการเรียนรู้ ผลิตภัณฑท์ ี่ทามาจากพืชและประโยชนข์ องส่งิ น้ันที่มีตอ่ มนุษย์ ระโยชน์อะไรบ้าง น ท้องถน่ิ น์ของพืชในทอ้ งถ่ิน

หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๑ พืชและสตั ว์ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๔ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ หน่วยย่อยท่ี ๔ ประโย ๒ขอบเขตเนื้อหำ รำยวิชำว พืชมีประโยชน์ต่อมนุษย์ในแง่ปัจจัยส่ี คือ เป็นอาหาร ท่ีอยู่อาศัย เคร่ืองนุ่งห่ม กจิ กรรมกำรเรียนรู้ (๔ ชั่วโมง) และยารักษาโรค ชั่วโมงท่ี ๑ ขน้ั นำ (๕ นำท)ี จุดประสงค์ดำ้ นควำมรู้ ๑. ครูนารูปหรือผลิตภัณฑ์จากพืชในท้องถิ่น อธิบายประโยชน์ของพืชในท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ทามาจากพืชหรือไม่ มีประโยชน์กับม ของตนเอง) จุดประสงค์ด้านทักษะกระบวนการ ขั้นสอน (๔๕ นำที) ๒. ครูให้นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรมและจุดประส จุดประสงค์ด้ำนทักษะกระบวนกำรทำง อะไรบา้ ง หน้า ๕๕ จากน้นั ครถู ามคาถามดงั ตอ่ ไ วิทยำศำสตร์ ๒.๑ นักเรียนจะเรียนเร่ืองอะไร (ประโยชนข์ อ ก า ร จั ด ก ร ะ ท า แ ล ะ สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ๒.๒ นักเรียนจะเรยี นดว้ ยวธิ ีการใด (สืบคน้ ข้อ ข้อมลู ๒.๓ เมอื่ เรียนจบแลว้ นักเรียนจะทาอะไรได้ (อธบิ ๓. นักเรียนอ่านวิธีทาและทาความเข้าใจ จุดประสงคด์ ำ้ นคณุ ธรรม นักเรียนเข้าใจ จึงให้นักเรียนลงมือทากจิ กรรม ๑. มีความมงุ่ ม่ันในการทางาน ๔. ครูแบง่ นักเรยี นออกเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน แ ๒. ซอื่ สัตยต์ อ่ ตนเอง นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลช่ือพืชท่ีนามาใ ๓. มีวินัย สารานุกรมเยาวชน ใบความรู้ และบันทึกผลล หน้า ๕๖-๕๗ ขนั้ สรปุ (๑๐ นำที) ๕. ครแู ละนกั เรียนชว่ ยกันสรุปประโยชน์ของพืชใน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook