Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1

คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1

Published by Amanee Hayihasa, 2022-07-03 03:15:14

Description: คู่มือครูวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1

Search

Read the Text Version

เฉลิมพระเกยี รติ สมโเคดรจ็ งพการระจเทดั พทรำำ ตัสน่ือร ๖า๐ชส พุดราร ฯษาสยามบรมราชกุมารี ชดุ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ๒ช้ันประถมศึกษาปีท่ี เล่ม ๑ (สำ� หรับคร)ู กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ สำ� นักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๑ คำแนะนำสำหรับครผู ้สู อน ๑. แนวคิดหลกั การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งให้ผู้เรียนมีความสามารถเข้าใจเน้ือหาสาระวิทยาศาสตร์และ นาความรู้ไปอธิบายหรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ รวมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะการ แก้ปัญหา ทักษะการเขียน ทักษะการอ่าน นอกจากนี้ในการจัดกิจกรรมยังมุ่งเน้นการเรียนรูรวมกันเปนกลุม ซ่ึงเป็นการเปดโอกาสใหผูเรยี นไดร้ วมกันคิด ปรึกษาหารือ อภิปราย แกปญหา แสดงความคิดเห็น สะท้อน ความคิด และได้นาเสนอผลการทากิจกรรม ซ่ึงชวยใหผู้เรียนไดพัฒนาทั้งความรู้ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะอื่น ๆ รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรมอีกด้วย ในการจัดกลุมอาจจัดเปนกลุม ๒ คน หรือ กลมุ่ ๔-๖ คน หรืออาจจัดกจิ กรรมร่วมกันทัง้ ชั้นท้ังนี้ขึ้นอยกู่ บั วัตถุประสงคข์ องการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูนั้น ๆ ในการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ สิ่งสาคัญท่ีผูสอนควรคานึงถึงเป็นอันดับแรกคือ ความรูพ้ืนฐานของผูเรียน ผูสอนอาจทบทวนหรือตรวจสอบความรู้เดิมของผู้เรียนโดยใชคาถามหรือกลวิธี ต่าง ๆ ที่กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนและนาไปสูการเรียนรู้เน้ือหาใหม ข้ันการสอนเน้ือหาใหม่ ผูสอนอาจ กาหนดสถานการณท์ ี่เช่อื มโยงกับเรื่องราวในขน้ั ทบทวนความรหู้ รือมคี าถาม และมีกิจกรรมใหน้ ักเรยี นได้ลงมือ ปฏิบัติด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry) ในการค้นหาคาตอบท่ีสงสัยด้วยตนเอง ผูสอนมีบทบาท เป็นผู้ใหอิสระทางความคิดกับผูเรียน คอยสังเกต ตรวจสอบความเข้าใจและคอยให้ความช่วยเหลือและ คาแนะนาอยา่ งใกลช้ ดิ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ผูสอนควรใหผูเรียนแตล่ ะคนหรือแต่ละกลมุ่ ไดนาเสนอแนวคิด เพราะผเู รียนมโี อกาสแสดงแนวคดิ เพิม่ เติมรวมกัน ซักถาม อภิปรายขอ้ ขัดแยง้ ดวยเหตุและผล ผูสอนมโี อกาส เสริมความรู ขยายความรหู้ รอื สรุปประเด็นสาคญั ของสาระทน่ี าเสนอนน้ั ทาให้การเรียนรขู้ ยายวงกวา้ งและ ลกึ มากขน้ึ สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจริงได้ นอกจากน้ียังทาใหผ้ ูเรียนเกดิ เจตคติทด่ี ี มคี วามภมู ใิ จ ในผลงาน เกดิ ความรูสกึ อยากทา กลาแสดงออก และจดจาสาระท่ีตนเองได้ออกมานาเสนอไดนาน รวมท้งั ฝกึ การเป็นผู้นา ผตู้ าม รบั ฟังความคดิ เหน็ ของผ้อู ื่น ๒. กระบวนกำรจดั กำรเรียนรู้ การนาชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรไู้ ปใช้ ครคู วรเตรียมตัวล่วงหนา้ ดังนี้ ๑. ศึกษาโครงสรา้ งชดุ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เพื่อให้ทราบว่าตลอดท้งั ปีการศึกษา นักเรยี นตอ้ ง เรยี นรทู้ ั้งหมดกี่หน่วย แตล่ ะหน่วยมีหน่วยย่อยอะไรบา้ ง ใช้เวลาสอนกีช่ วั่ โมง และมีก่ีแผน ๒. ศึกษาโครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้ ว่าแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้มเี น้ือหาอะไรบ้าง เน้ือหาละกี่ช่ัวโมง ซึ่งจะชว่ ยให้ครผู ู้สอนมองเหน็ ภาพรวมของการสอนในหน่วยดังกล่าวได้อยา่ งชดั เจน

๒ ๓. ศึกษาแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซ่ึงอยู่หน้าแผนแต่ละแผน เป็นการสรุปแนวการจัดกิจกรรม ในแตล่ ะข้นั ตอนการสอน ทาให้ครูมองเหน็ ภาพรวมของการจดั การเรียนรู้ในชั่วโมงนนั้ ๆ ๔. ศึกษาแผนการจัดการเรยี นรู้ ตามหัวข้อต่อไปนี้ ๔.๑ ขอบเขตเนอ้ื หา เป็นเน้อื หาทนี่ กั เรียนตอ้ งเรียนรใู้ นแผนที่กาลงั ศึกษา ๔.๒ สาระสาคญั เปน็ ความคิดรวบยอดหรอื หลกั การที่นกั เรียนควรจะไดห้ ลังจากไดเ้ รียนรู้ตามแผน ทีก่ าหนด ๔.๓ จุดประสงค์การเรียนรู้ แบ่งเป็นด้านความรู้ ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และด้าน คุณธรรม ๔.๔ กิจกรรมการเรียนรู้ แบ่งเป็น ขั้นนา ข้ันสอน และขั้นสรุป ซึ่งแต่ละข้ันครูผู้สอนควรศึกษาทา ความเข้าใจอย่างละเอียด นอกจากนี้ครูควรพิจารณาด้วยว่า ในแต่ละข้ันตอนการสอน ครูจะต้องศึกษาว่ามี สอื่ /อุปกรณอ์ ะไรบา้ ง ๔.๕ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ เป็นการบอกรายการส่ือ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ท่ีต้องใช้ในการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ในช่วั โมงนัน้ ๔.๖ การประเมิน เป็นการบอกทั้งวิธีการ เครื่องมือ และเกณฑ์การประเมิน สาหรับเคร่ืองมือการ ประเมินในชุดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ฯ นี้ ได้จดั เตรยี มไวใ้ หค้ รูผูส้ อนเรยี บรอ้ ยแลว้ ๓. สอ่ื กำรจดั กำรเรยี นรู้ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี ๒ สื่อการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ ประกอบด้วย ๓.๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ สาหรบั ครูใชเ้ ปน็ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ หก้ บั นักเรยี น ๓.๒ ใบกิจกรรม สาหรับนักเรียนใช้ฝึกทักษะปฏิบัติ หรือสร้างความคิดรวบยอดในบทเรียน โดยใน ใบกิจกรรมจะประกอบด้วยใบงาน ให้นกั เรียนไดบ้ ันทึกผลการทากจิ กรรม การตอบคาถามหลงั จากทากิจกรรม เพื่อทบทวนสิ่งท่ีได้เรียนรู้จากการทากิจกรรม และมีแบบฝึกหัดเพื่อประเมินการเรียนรู้หลังจากเรียนจบ ในแตล่ ะกิจกรรม ๓.๓ แบบทดสอบ เป็นการวัดความรูค้ วามเข้าใจตามตวั ชี้วัดทกี่ าหนดไว้ในหลักสูตร

๓ ใบกิจกรรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ ได้มีการกาหนดสัญลักษณ์รูปดาว ๕ แฉก จานวน ๓ ดวง และแถบสีชมพู โดย บ. หมายถึง ใบกจิ กรรม ผ. หมายถึง แผนการจดั การเรียนรู้ เชน่ บ. ๑.๑ / ผ. ๑.๑-๐๑ ระดับช้นั ใบกิจกรรม หน่วยท่ี หน่วยยอ่ ยท่ี แผนที่ ใบงำนที่ หมายเหตุ เลขแสดงลาดบั ของแผนการจดั การเรยี นรู้จะเรียงตอ่ กนั จนครบทุกแผนในแตล่ ะหนว่ ยยอ่ ย และ ใบงานจะเรียงเลขตอ่ กันในแต่ละแผน เมอ่ื ขน้ึ หน่วยใหม่ การแสดงลาดับเลขของท้ังหนว่ ยย่อย แผน และใบงานจะเร่ิมตน้ ใหม่ ๔. ลกั ษณะชดุ กำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้ กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปที ่ี ๒ ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๒ จัดทาเป็น หน่วยการเรียนรู้ (Learning Unit) โดยผ่านการวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาจัดทาเป็นหน่วยการเรียนรู้ ในแต่ละเล่มเป็น ๒ เล่ม ดงั น้ี เลม่ ๑ ประกอบด้วย หน่วยกำรเรียนรู้ ๒ หน่วย ดังนี้ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๑ พชื และสตั ว์ หน่วยยอ่ ยที่ ๑ การเจรญิ เติบโตและการดารงชวี ติ ของพชื

๔ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒ การเจริญเตบิ โตและการดารงชีวิตของพชื หนว่ ยย่อยท่ี ๓ การตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้าของพชื และสตั ว์ หน่วยยอ่ ยท่ี ๔ ประโยชนข์ องพชื และสตั ว์ในท้องถนิ่ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒ ตวั เรา หน่วยยอ่ ยที่ ๑ ปจั จัยที่จาเป็นตอ่ การดารงชวี ิตของเรา หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ การตอบสนองต่อส่ิงเร้าของเรา เล่ม ๒ ประกอบด้วยหนว่ ยกำรเรยี นรู้ ๓ หน่วย ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ ดนิ หนว่ ยย่อยที่ ๑ ดนิ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๔ ของเลน่ ของใช้ แรงและพลงั งานไฟฟ้า หนว่ ยยอ่ ยที่ ๑ ของเล่น ของใช้ หน่วยย่อยที่ ๒ แรงแม่เหลก็ หน่วยย่อยท่ี ๓ แรงไฟฟ้า หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๔ พลงั งานไฟฟา้ และการผลติ ไฟฟ้า หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๕ ดวงอาทิตย์ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๑ ประโยชน์ของดวงอาทติ ย์ ๕. แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชนั้ ประถมศึกษำปีที่ ๒ การจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ กาหนดให้ สอดคลอ้ งกับหน่วยการเรยี นรู้ แต่ละหนว่ ยการเรยี นรปู้ ระกอบดว้ ย แผนการจัดการเรียนรหู้ ลายแผน แผนละ ๑-๒ ช่ัวโมง โดยมีองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้คือ ขอบเขตเนื้อหา สาระสาคัญ จุดประสงค์การ เรยี นรซู้ ่ึงมที ้ังด้านความรู้ ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และด้านคณุ ธรรม กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ / แหล่งเรียนรู้ และการประเมิน สาหรับแผนการจัดการเรียนรู้ทุกแผนจะมีแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ หน้าแผนทุกแผนซ่ึงเป็นการสรุปภาพรวมของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในช่ัวโมงน้ัน ๆ ในทุกข้ันตอนการสอน ตั้งแต่ขั้นนา ขั้นสอน ขั้นสรุป และการประเมินผล พร้อมทั้งมีเฉลยคาตอบในใบงาน และเฉลยแบบทดสอบ อกี ดว้ ย

๕ ทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการท่ีนักวิทยาศาสตร์นามาใช้เพ่ือศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถแบ่งได้ ๒ ระดับ คือ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขนั้ พื้นฐานและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ้ันผสม ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ข้นั พืน้ ฐำน มีดังน้ี กำรสังเกต หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมกู ลนิ้ ผวิ กาย เพอ่ื บรรยายรายละเอียดของสง่ิ นน้ั โดยไม่ใส่ความคิดเห็นเพิ่มเตมิ กำรวัด หมายถึง การเลือกใช้เคร่ืองมือและวัดหาปริมาณของสิ่งต่าง ๆ และระบุหน่วยของการวัดได้ กำรใช้จำนวน หมายถึง การใช้ความรู้สึกเชิงจานวนและการคานวณ เพื่อบรรยายหรือระบุ รายละเอยี ดเชงิ ปรมิ าณของส่งิ ที่สังเกตหรอื ทดลอง กำรจำแนกประเภท หมายถึง การแบ่งพวกหรือเรียงลาดับวัตถุ หรือส่ิงต่าง ๆ โดยใช้ความเหมือน หรอื ความแตกตา่ งกนั เป็นเกณฑ์ กำรหำควำมสัมพันธ์ของสเปซของวัตถุ หมายถึง ที่ว่างที่วัตถุน้ันครอบครองอยู่ ซ่ึงจะมีรูปร่าง ลักษณะเชน่ เดยี วกบั วตั ถนุ ้นั โดยทว่ั ไปแล้วสเเปซของวัตถจุ ะมี ๓ มติ ิ คือ ความกว้าง ความยาว และ ความสงู - ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปซกับสเปซ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงตาแหน่ง ท่ีอยู่ของวัตถุหน่ึงกับอีกวัตถุหน่ึง ตัวอย่างเช่น การหย่อนก้อนหินลงไปในน้าพบว่าก้อนหินเข้าไปแทนที่น้า สังเกตไดจ้ ากนา้ บางสว่ นซง่ึ มีปรมิ าตรเท่ากับกอ้ นหินไหลออกมาข้างนอก - ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสเปซกับเวลำ หมายถึง ความสัมพันธร์ ะหว่างการเปลีย่ นแปลงตาแหน่งท่ีอยู่ ของวัตถุกับเวลา หรือความสัมพันธ์ระหว่างสเปซของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับเวลา ตัวอย่างเช่น กลุ่มดาว นายพรานปรากฏบนท้องฟ้าในทิศตะวันออก เม่ือเวลาผ่านไป ๑ ชั่วโมง กลุ่มดาวนายพราน เคล่อื นไปทางด้านตะวนั ตก โดยหา่ งจากตาแหนง่ เดิมประมาณ ๕ องศา กำรจัดกระทำและส่ือควำมหมำยข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลที่รวบรวมได้ทั้งหมดมาจัดกระทาให้ อยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย หรือมีความสัมพันธ์กันมากขึ้น รวมท้ังนาข้อมูลมาจัดทาในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ เข้าใจได้ง่าย กำรพยำกรณ์ หมายถึง การนาข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือจากประสบการณ์ของเรื่องน้ันท่ีเกิดขึ้น ซ้า ๆ เปน็ แบบรปู มาช่วยในการคาดการณส์ งิ่ ท่เี กดิ ขน้ึ กำรลงควำมเห็นจำกข้อมูล หมายถึง การใช้ความคิดเห็นจากความรู้หรือประสบการณ์เดิม เพือ่ อธบิ ายขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการสงั เกตอย่างมีเหตุผล

๖ ทักษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์ขนั้ ผสม มดี ังนี้ กำรต้ังสมมติฐำน หมายถึง การคิดหาคาตอบล่วงหน้าก่อนการทดลอง โดยอาศัยการสังเกตความรู้ หรือประสบการณ์เดมิ เปน็ พื้นฐาน กำรกำหนดนิยำมเชิงปฏิบตั กิ ำร หมายถงึ การกาหนดความหมายและขอบเขตของคาต่าง ๆ ที่อยใู่ น สมมติฐานทต่ี อ้ งการทดลองใหเ้ ข้าใจตรงกัน และสามารถสงั เกตหรอื วัดได้ กำรกำหนดและควบคมุ ตัวแปร หมายถึง การชบ้ี ่งตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตวั แปรท่ีต้องควบคุม ให้คงท่ีให้สอดคล้องกบั สมมติฐานของการทดลอง - ตัวแปรต้น หมายถึง ส่ิงท่ีเป็นสาเหตุท่ีทาให้เกิดผลต่าง ๆ หรือสิ่งท่ีเราต้องการทดลองดูว่า เปน็ สาเหตทุ ่กี อ่ ให้เกดิ ผลเช่นนน้ั จริงหรือไม่ - ตัวแปรตำม หมายถึง สิ่งที่เป็นผลเนื่องมาจากตัวแปรต้น เมื่อตัวแปรต้นหรือส่ิงที่เป็นสาเหตุ เปลี่ยนไปตวั แปรตามหรือสิ่งทเ่ี ป็นผลจะแปรตามไปดว้ ย - ตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ หมายถึง ส่ิงอื่นๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นท่ีอาจทาให้ผลการทดลอง คลาดเคลื่อน ถ้าหากว่าไม่มีการควบคุมให้เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น การกาหนดและควบคุมตัวแปรที่มีผลต่อ แรงแมเ่ หล็กไฟฟา้ คือ จานวนรอบของขดลวดและปริมาณกระแสไฟฟ้า การควบคมุ ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ผ่าน วงจรจะทาให้ทราบความสมั พันธ์ของจานวนรอบของขดลวดกับแรงแม่เหล็กไฟฟา้ หรือการควบคมุ จานวนรอบ ของขดลวดจะทาใหท้ ราบความสัมพนั ธร์ ะหว่างปริมาณกระแสไฟฟา้ กับแรงแม่เหล็กไฟฟ้า กำรทดลอง หมายถึง กระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคาตอบจากสมมติฐานที่ต้ังไว้ในการทดลองจะ ประกอบด้วยกิจกรรม ๓ ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ การออกแบบ การปฏิบัติ และการบันทึกผลการทดลอง - กำรออกแบบกำรทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองกอ่ นลงมอื ทดสอบจรงิ - กำรปฏิบัติกำรทดลอง หมายถึง การลงมือปฏิบัติจรงิ และใชอ้ ุปกรณไ์ ดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม - กำรบันทึกผลกำรทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการทดลองซ่ึงอาจเป็นผลจากการ สังเกต การวัด และ อื่น ๆ ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้องตัวอย่างเช่น การทดลองเพ่ือเปรียบเทียบความแข็ง ของเนื้อไม้ ๓ ชนิด ทาได้โดยนาตะปูขีดบนเนื้อไม้แต่ละชนิดด้วยแรงท่ีเท่ากัน จากน้ันสังเกตรอยและ ความลกึ ของรอยที่เกิดข้ึนพรอ้ มทง้ั บันทึกผล กำรตีควำมหมำยขอ้ มูลและกำรลงข้อสรปุ กำรตีควำมหมำยข้อมูล หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มี อยู่ และสามารถสรปุ ความสัมพันธข์ุ องขอ้ มลู ทัง้ หมด กำรลงข้อสรุป หมายถึง การสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูล เช่น การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรบนกราฟ ถ้ากราฟเป็นเส้นตรงก็สามารถอธิบายได้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับตัวแปรตามขณะท่ีตัวแปรอิสระ เปลี่ยนแปลง หรือถ้าลากกราฟเป็นเส้นโค้งให้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรก่อนที่กราฟเส้นโค้ง จะเปล่ียนแปลงทิศทาง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหลังจากท่ีกราฟเส้นโค้งเปล่ียนทิศทางแล้ว

๗ กำรสร้ำงแบบจำลอง หมายถึง การสร้างหรือใช้ส่ิงที่ทาขึ้นมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบาย ปรากฏการณท์ ่ศี ึกษาหรอื สนใจ และสามารถนาเสนอข้อมูล แนวคิดรวบยอดเพือ่ ใหผ้ ้อู น่ื เขา้ ใจในรูปแบบจาลอง ต่าง ๆ

๘ โครงสร้ำงของชุดกำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๒ หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี ๒ พชื และสตั ว์ ตัวเรำ (๒๙ ช่ัวโมง) (๑๑ ชั่วโมง) หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ่ี ๕ ดวงอำทิตย์ กลมุ่ สำระ หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๓ (๖ ชว่ั โมง) กำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ ดนิ ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี ๒ (๔ ชัว่ โมง) (๖๐ ชั่วโมง/ป)ี หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี ๔ ของเลน่ ของใช้ แรงและพลังงำนไฟฟ้ำ (๓๐ ชัว่ โมง)

๙ แนวทำงกำรจดั หน่วยกำรเรยี นรู้ ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๒ เล่ม ๑ (ภำคเรยี นที่ ๑) เล่ม ๒ (ภำคเรยี นที่ ๒) หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๑ พืชและสตั ว์ หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ี่ ๓ ดิน หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี ๒ ตัวเรำ หน่วยกำรเรยี นร้ทู ี่ ๔ ของเล่น ของใช้ แรงและ พลงั งำนไฟฟ้ำ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี ๕ ดวงอำทิตย์

๑๐ โครงสร้ำงรำยวิชำวทิ ยำศำสตร์ ระดับชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ ๒ หนว่ ยกำรเรียนรู้/ ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๒ เวลำท่ีใช้ (ช.ม.) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตัวชวี้ ดั สำระกำรเรยี นรู้ พชื และสัตว์/ ว ๑.๑ ป. ๒/๑ ทดลองและอธิบาย น้า แสง เป็นปจั จัย - พืชต้องการน้า แสง อากาศ เพ่ือการเจรญิ เตบิ โต ๒๙ ชั่วโมง ท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวติ ของพชื และการดารงชวี ิต หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ ตวั เรา/๑๑ ช่ัวโมง ว ๑.๑ ป. ๒/๒ อธบิ ายอาหาร นา้ อากาศเป็นปจั จัยท่ี -พืชและสัตว์ต้องการอาหาร น้า อากาศ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๓ จาเปน็ ต่อการดารงชวี ติ และการเจรญิ เติบโตของพืช เพอ่ื การดารงชวี ิตและการเจริญเตบิ โต ดนิ /๔ ชวั่ โมง และสตั ว์และนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ - นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดูแลพืช หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๔ ของเล่น ของใช้ ว ๑.๑ ป. ๒/๓ สารวจและอธิบายพืชและสตั ว์ และสัตวเ์ พ่อื ให้เจริญเติบโตได้ดี แรงและพลงั งานไฟฟ้า/ สามารถตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิและการสัมผัส - พืชและสัตว์มีการตอบสนองต่อแสง ๓๐ ชั่วโมง ว ๑.๒ ป. ๒/๑ อธิบายประโยชนข์ องพชื และสตั ว์ใน อณุ หภูมิและการสัมผสั ทอ้ งถ่นิ - พืชและสัตว์มีประโยชน์ต่อมนุษย์ในแง่ ของปัจจัยส่ี คือเป็นอาหาร ท่ีอยู่อาศัย เคร่อื งนุ่งหม่ และยารักษาโรค ว ๑.๒ ป. ๒/๕ ทดลองและอธิบายร่างกายของมนษุ ย์ - ร่างกายมนุษย์สามารถตอบสนองต่อแสง สามารถตอบสนองต่อแสงอุณหภมู แิ ละการสัมผัส อณุ หภมู ิ และการสัมผัส ว ๑.๑ ป.๒/๔ อธิบายปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต - มนษุ ย์ตอ้ งการอาหาร น้า อากาศ เพอ่ื การ และการเจริญเติบโตของมนษุ ย์ ดารงชีวิตและการเจริญเติบโต ว ๖.๑ ป. ๒/๑ สารวจและจาแนกประเภทของดนิ โดย - ดินจาแนกออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ใช้สมบัติทางกายภาพเป็นเกณฑ์ และนาความรู้ไปใช้ ดนิ รว่ น ดนิ เหนยี ว และดนิ ทราย ตามลกั ษณะ ประโยชน์ ท่ีแตกต่างกันในด้านของสี เนื้อดิน การอุ้มน้า และการจับตัวของดิน ซึ่งนาไปใช้ประโยชน์ ไดแ้ ตกตา่ งกันตามสมบตั ิของดนิ ว ๓.๑ ป. ๒/๑ ระบชุ นดิ และเปรยี บเทียบสมบัติของวสั ดุ - ของเล่น ของใช้อาจทาจากวัสดุที่แตกต่างกัน ทนี่ ามาทาของเลน่ ของใช้ในชวี ติ ประจาวัน เช่น ไม้ เหลก็ กระดาษ พลาสติก ยาง ซ่งึ วัสดุท่ี ว ๓.๑ ป.๒/๒ เลือกใช้วัสดุและส่ิงของต่าง ๆ ใช้ทาของเล่นของใชต้ ่างชนิดกันจะมีสมบัติที่ ได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย แตกต่างกัน ว ๔.๑ ป.๒/๑ ทดลองและอธบิ ายแรงท่เี กดิ จากแม่เหล็ก - การเลือกวัสดุและส่ิงของต่าง ๆ มาใช้ ว ๔.๑ ป.๒/๒ อธิบายการนาแมเ่ หล็กมาใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจาวัน เพื่อความเหมาะสมและ ว ๔.๑ ป.๒/๓ ทดลองและอธิบายแรงไฟฟ้าท่ีเกิดจาก ปลอดภัย ตอ้ งพจิ ารณาจากสมบตั ิของวัสดุ การถูวตั ถบุ างชนิด ที่ใช้ทาสิ่งของนนั้ ๆ ว ๕.๑ ป.๒/๑ ทดลองและอธิบายไดว้ ่าไฟฟา้ เปน็ พลังงาน - แม่เหล็กมีแรงดึงดูดหรือผลักระหว่าง

๑๑ หนว่ ยกำรเรยี นรู้/ ชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี ๒ เวลำท่ใี ช้ (ช.ม.) ตัวชี้วดั สำระกำรเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕ ดวงอาทติ ย/์ ว ๕.๑ ป.๒/๒ สารวจและยกตวั อยา่ งเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน แทง่ แม่เหล็กรอบแท่ง แมเ่ หล็ก มีสนามแมเ่ หลก็ ๖ ชวั่ โมง ท่เี ปลีย่ นพลังงานไฟฟา้ เปน็ พลงั งานอ่นื และสามารถดงึ ดูดวัตถุทีท่ าดว้ ยสารแม่เหล็ก - แม่เหล็กมีประโยชน์ในการทาของเล่น ของใช้ หรอื แยกสารแมเ่ หล็กออกจากวัตถุอ่ืน - เม่ือถูวัตถุบางชนิดแล้วนามาใกล้กัน จะดึงดูด หรือผลักกันได้ แรงที่เกิดขึ้นนี้ เรียกว่า แรงไฟฟ้า และวัตถุนั้นจะดึงดูด วัตถเุ บา ๆ ได้ - ไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่ สามารถทางานได้ ไฟฟ้าจึงเป็นพลังงาน - พลังงานไฟฟ้าเปล่ียนเป็นพลังงานอื่นได้ ซ่ึงตรวจสอบได้จากเคร่ืองใช้ไฟฟ้าในบ้าน ว ๗.๑ ป. ๒/๑ สบื ค้นและอภิปรายความสาคญั ของ - ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานที่สาคัญ ดวงอาทิตย์ ของโลกเพราะให้ท้ังพลังงานความร้อน และพลังงานแสง ซ่ึงช่วยในการดารงชีวิต ของส่ิงมีชวี ิต

๑๒ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ พืชและสัตว์

๑๓ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้และตวั ช้วี ดั ของหนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี ๑ พชื และสัตว์ (จำนวน ๒๙ ชวั่ โมง) มำตรฐำนกำรเรียนร้แู ละตวั ชว้ี ัด มำตรฐำน ว ๑.๑ เขา้ ใจหนว่ ยพนื้ ฐานของสง่ิ มีชวี ิตความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวติ ทท่ี างานสมั พันธ์กัน มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ส่อื สารส่ิงทีเ่ รยี นร้แู ละนาความรู้ไปใช้ในการดารงชวี ติ ของ ตนเองและดูแลสิ่งมชี วี ติ ตัวชี้วดั ว ๑.๑ ป. ๒/๑ ทดลองและอธิบาย น้า แสง เปน็ ปัจจัยท่จี าเปน็ ต่อการดารงชวี ิตของพชื ว ๑.๑ ป. ๒/๒ อธบิ ายอาหาร นา้ อากาศเปน็ ปัจจัยท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิตการเจรญิ เติบโต ของพืชและสตั ว์ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๑.๑ ป. ๒/๓ สารวจและอธบิ าย พชื และสัตวส์ ามารถตอบสนองต่อแสง อณุ หภูมิ และการสัมผสั มำตรฐำน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพทีม่ ผี ลต่อมนษุ ยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู้และจติ วทิ ยาศาสตร์ สอื่ สารสง่ิ ทเ่ี รียนร้แู ละนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ตัวชว้ี ัด ว ๑.๒ ป. ๒/๑ อธบิ ายประโยชนข์ องพืชและสัตวใ์ นท้องถิน่ มำตรฐำน ว ๘.๑ ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตร์ในการสบื เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ ทางธรรมชาตทิ ีเ่ กิดขน้ึ ส่วนใหญ่มรี ปู แบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมลู และเคร่ืองมือท่ีมีอยู่ใน ชว่ งเวลานั้น ๆ เขา้ ใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และสิง่ แวดล้อมมีความเกี่ยวขอ้ งสัมพันธก์ นั ตวั ชวี้ ัด ว ๘.๑ ป. ๒/๑ ตงั้ คาถามทีเ่ กี่ยวกบั เรื่องที่จะศกึ ษาตามท่ีกาหนดให้หรือตามความสนใจ ว ๘.๑ ป. ๒/๒ วางแผนการสังเกต สารวจตรวจสอบ ศกึ ษาค้นคว้า โดยใช้ความคิดของตนเอง และของครู ว ๘.๑ ป. ๒/๓ ใช้วัสดุอุปกรณใ์ นการสารวจตรวจสอบ และบันทกึ ผลด้วยวธิ ีงา่ ย ๆ ว ๘.๑ ป. ๒/๔ จดั กลุ่มข้อมูลท่ีได้จากการสารวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ป. ๒/๕ ตั้งคาถามใหม่จากผลการสารวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ป. ๒/๖ แสดงความคดิ เห็นในการสารวจตรวจสอบ

๑๔ ว ๘.๑ ป. ๒/๗ บันทึกและอธิบายผลการสังเกตสารวจตรวจสอบอย่างตรงไปตรงมา ว ๘.๑ ป. ๒/๘ โดยเขียนภาพ แผนภาพหรือคาอธบิ าย นาเสนอผลงานดว้ ยวาจาใหผ้ ู้อื่นเขา้ ใจกระบวนการและผลของงาน

๑๕ ลำดับกำรนำเสนอแนวคิดหลักของหน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี ๑ พืชและสตั ว์ พชื ต้องการอาหาร น้า แสง อากาศ ธาตุอาหารและอาหารเพอื่ การดารงชีวิตและการเจริญเตบิ โต สัตว์ต้องการอาหาร น้า อากาศ เพอ่ื การดารงชีวติ และการเจริญเติบโต พืชและสตั วส์ ามารถตอบสนองต่อแสง อุณหภมู ิ และการสัมผัส สตั ว์ต้องการอาหาร นา้ อากาศ เพอ่ื การดารงชวี ิตและการเจริญเติบโต พชื และสตั วม์ ปี ระโยชน์ตอ่ มนุษยใ์ นแงป่ ัจจัยส่ี คือ เปน็ อาหาร ที่อยอู่ าศยั เคร่ืองนุ่งห่ม และยารกั ษาโรค สตั ว์มปี ระโยชน์ตอ่ มนุษย์ เช่น เป็นอาหาร เคร่อื งนุ่งหม่ ยารักษาโรค และอนื่ ๆ

๑๖ โครงสรำ้ งแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ของหน่วยกำรเรียนร้ทู ี่ ๑ พชื และสัตว์ แผนท่ี ๑.๑ แผนท่ี ๑.๒ แผนท่ี ๒ (เมลด็ พชื น้อย) (ปจั จยั ท่ีจาเปน็ ต่อการ (ปัจจัยทจ่ี าเปน็ ต่อการ เจรญิ เติบโตและการ เจริญเติบโตและการ (๓ ชั่วโมง) ดารงชวี ติ ของพชื ) ดารงชีวติ สตั ว์) (๕ ชว่ั โมง) (๔ ช่ัวโมง) หน่วยย่อยท่ี ๑ หนว่ ยย่อยที่ ๒ (การเจรญิ เติบโตและการ (การเจรญิ เตบิ โตและการ ดารงชวี ิตของพชื ) ดารงชวี ติ ของสตั ว์) (๘ ช่วั โมง) (๔ ชว่ั โมง) หน่วยกำรเรยี นร้ทู ี่ ๑ พชื และสัตว์ (๒๙ ชว่ั โมง หน่วยย่อยท่ี ๓ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๔ (การตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้า (ประโยชน์ของพชื และ ของพชื และสัตว)์ สตั วใ์ นท้องถนิ่ ) (๑๐ ชั่วโมง) (๗ ช่ัวโมง) แผนที่ ๓.๑ แผนท่ี ๓.๒ แผนท่ี ๔.๑ แผนที่ ๔.๒ (การตอบสนองต่อสิ่ง (การตอบสนองตอ่ ส่งิ (ประโยชน์ของพชื ใน (ประโยชนข์ องสัตวใ์ น เร้าของพืช) เรา้ ของสัตว์) ทอ้ งถิน่ ) ทอ้ งถิน่ ) (๖ ช่วั โมง) (๔ ช่วั โมง) (๔ ชว่ั โมง) (๓ ชวั่ โมง)

๑๗ หน่วยย่อยท่ี ๑ กำรเจริญเติบโตและกำรดำรงชวี ิตของพืช หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ ช่ือหน่วย ลกั ษณะทำงพนั ธุกรรม จำนวนเวลำเรียน ๘ ช่วั โมง จำนวนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ๒ แผน สำระสำคญั ของหน่วย พืชต้องการอาหาร น้า แสง ธาตอุ าหาร และอากาศ ในการเจรญิ เตบิ โตและการดารงชีวติ มำตรฐำนกำรเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ดั มำตรฐำน ว ๑.๑ เข้าใจหน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิตที่ ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของ ตนเองและดแู ลสิง่ มชี ีวติ ตวั ชวี้ ัด ว ๑.๑ ป. ๒/๑ ทดลองและอธิบาย น้า แสง เปน็ ปจั จัยทีจ่ าเปน็ ต่อการดารงชีวิตของพืช ว ๑.๑ ป. ๒/๒ อธิบายอาหาร น้า อากาศเป็นปัจจัยท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิตการเจริญเติบโตของพืช และสตั ว์ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มำตรฐำน ว ๘.๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสบื เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้วา่ ปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติท่ีเกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ใน ชว่ งเวลาน้ัน ๆ เขา้ ใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และสิง่ แวดลอ้ มมีความเกี่ยวข้องสมั พนั ธ์กนั ตัวชวี้ ัด ว ๘.๑ ป. ๒/๑ ตง้ั คาถามทีเ่ กีย่ วกับเร่อื งทีจ่ ะศกึ ษาตามท่ีกาหนดใหห้ รือตามความสนใจ ว ๘.๑ ป. ๒/๒ วางแผนการสังเกต สารวจตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใชค้ วามคิดของตนเอง และของครู ว ๘.๑ ป. ๒/๓ ใชว้ ัสดุอปุ กรณใ์ นการสารวจตรวจสอบ และบันทึกผลดว้ ยวธิ งี า่ ย ๆ ว ๘.๑ ป. ๒/๔ จดั กล่มุ ข้อมลู ท่ีได้จากการสารวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ป. ๒/๕ ตง้ั คาถามใหมจ่ ากผลการสารวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ป. ๒/๖ แสดงความคดิ เหน็ ในการสารวจตรวจสอบ ว ๘.๑ ป. ๒/๗ บันทกึ และอธิบายผลการสงั เกตสารวจตรวจสอบอย่างตรงไปตรงมา โดยเขยี นภาพ แผนภาพหรือคาอธิบาย ว ๘.๑ ป. ๒/๘ นาเสนอผลงานด้วยวาจาใหผ้ ูอ้ ่ืนเขา้ ใจกระบวนการและผลของงาน

๑๘ ลำดบั กำรนำเสนอแนวคิดหลกั ของหน่วยย่อยท่ี ๑ กำรเจรญิ เติบโตและกำรดำรงชีวิตของพชื พชื ตอ้ งการธาตุอาหาร นา้ อากาศ แสง เพ่ือการดารงชวี ติ และการเจริญเตบิ โตโครงสรา้ งของหน่วยยอ่ ยที่ ๑ โครงสรำ้ งของหน่วยย่อยท่ี ๑ กำรเจริญเติบโตและกำรดำรงชีวติ ของพชื หน่วยกำรเรียนรู้ ช่ือหน่วยย่อย จำนวนแผน ชือ่ แผนกำรจดั กำร จำนวนชั่วโมง เรยี นรู้ ๓ หน่วยการเรยี นรู้ ๑ หน่วยย่อยที่ ๑ ๒ ๑.๑ เมลด็ พชื นอ้ ย ๕ พืชและสตั ว์ การเจริญเตบิ โตและ ๑.๒ ปัจจยั ที่จาเปน็ การดารงชีวติ ของพชื ต่อการเจริญเตบิ โต และการดารงชวี ติ ของพืช

๑๙ คำชแี้ จงประกอบแผนจัดกำรเรยี นรู้ หน่วยกำรเรยี นรทู้ ี่ ๑ แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ี่ ๑.๑ เมลด็ พืชน้อย เวลำ ๓ ช่ัวโมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. สำระสำคัญของแผน พชื ต้องการน้า แสง ธาตุอาหาร และอากาศในการเจริญเติบโตและการดารงชีวิต ๒. ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ในกำรนำไปใช้ (ใหร้ ะบสุ ่ิงทีต่ ้องกำรเน้นหรือข้อสังเกต ขอ้ เสนอแนะ คำแนะนำ) ในเร่อื งต่อไปน้ี คอื ๒.๑ ขอบขำ่ ยเน้ือหำ เมล็ดพชื ประกอบดว้ ย ตน้ อ่อน ใบเล้ยี ง เปลือกหุ้มเมล็ด โดยตน้ ออ่ นจะเจริญเปน็ ต้นพืช ใบเลยี้ งเป็นอาหาร เล้ียงตน้ อ่อนเพ่ือใหเ้ ตบิ โตเปน็ ต้นพืช เปลือกหมุ้ เมล็ดคอยปอ้ งกันอันตรายให้กบั เมล็ด น้าและอากาศที่พอเหมาะเปน็ ปจั จยั ทช่ี ว่ ยให้ต้นอ่อนภายในเมลด็ งอกเป็นตน้ พชื ได้ ๒.๒ จุดประสงค์กำรเรยี นรู้ (ควำมรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม คำ่ นิยม) (ถ้ำม)ี จุดประสงคด์ ้ำนควำมรู้ ๑. ระบสุ ว่ นประกอบของเมลด็ พืช ๒. ระบปุ ัจจัยทจ่ี าเป็นต่อการงอกของเมล็ดพชื จุดประสงคด์ ้ำนทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ ๑. การสังเกต ๒. การลงความเหน็ จากข้อมลู จดุ ประสงคด์ ้ำนคณุ ธรรม ๑. มีความมุง่ มนั่ ในการทางาน ๒. มีความสามคั คี ชว่ ยเหลือในการทางานกลมุ่ ร่วมกัน ๓. มคี วามซอื่ สัตย์ต่อตนเอง ๒.๓ กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ๑) กำรเตรียมตัวของครู นกั เรยี น (กำรจัดกลุ่ม) (ถ้ำม)ี ๑.๑ การจดั กลมุ่ โดยแบง่ นักเรียนออกเปน็ กล่มุ ละ ๔-๖ คน ๑.๒ วางแผนการสอน โดยอาจนาเมล็ดพืชมาให้นักเรยี นสังเกตและเตรยี มเพาะเมล็ดไวล้ ว่ งหน้า เพอ่ื ให้ นักเรียนทากจิ กรรมที่ ๑ ได้ภายในวันเดยี ว ๒) กำรเตรียมสื่อ วสั ดุอปุ กรณ์ ของครู นักเรยี น (ถ้ำม)ี ส่งิ ทคี่ รูตอ้ งเตรียม คอื ๒.๑ เตรยี มรูปต้นพชื กับรปู เมลด็ พืชท่ีเป็นคู่กันเพ่ือใหน้ กั เรียนได้จบั คใู่ นขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๒.๒ เมลด็ ชนดิ ต่าง ๆ ทง้ั ทย่ี งั ไม่แชน่ ้า และเมล็ดที่งอกแลว้ ๒.๓ อปุ กรณ์เพาะเมลด็ ไดแ้ ก่ ๑. กระดาษเยอื่ ๑ มว้ น/กล่มุ

๒๐ ๒. แวน่ ขยาย ๑ อัน/กลมุ่ ๓. มีดโกน ๑-๒ อัน/กลุ่ม ๓) เตรยี มใบงำน ใบควำมรู้ ใบกจิ กรรม (ถำ้ ม)ี ๓.๑ ใบงาน ๐๑ ัลักษณะของเมล็ดพชื ๓.๒ ใบงาน ๐๒ แบบฝึกหดั เรื่องเมล็ดพืช ๒.๔ วัดผลประเมนิ ผล (ถ้ำมี) ๑) วิธกี ำรวดั ผลประเมินผลกำรเรยี นรู้ ๑.๑ สงั เกตทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการทากิจกรรม ๑.๑ สงั เกตดา้ นคณุ ธรรมขณะทากจิ กรรม ๒) วธิ กี ำร เครื่องมอื เกณฑ์ ๒.๑ เคร่อื งมอื และเกณฑใ์ นกำรประเมินดำ้ นควำมรู้ ตรวจใหค้ ะแนนจากการตอบคาถามในใบงาน แล้วใชเ้ กณฑใ์ นการใหค้ ะแนนดังน้ี - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๒.๒ เคร่อื งมอื และเกณฑใ์ นกำรประเมนิ ทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ สังเกตทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใชแ้ บบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ดงั แนบ) แลว้ นาคะแนนมารวมกนั แลว้ ใชเ้ กณฑใ์ นการให้คะแนนดังน้ี - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ต่ากวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๒.๓ เคร่ืองมอื และเกณฑ์ในกำรประเมนิ ดำ้ นคณุ ธรรม สังเกตคณุ ลกั ษณะด้านคุณธรรมโดยใช้แบบประเมนิ ด้านคณุ ธรรม (ดังแนบ) แลว้ นาคะแนนมารวมกัน แล้วใชเ้ กณฑ์ในการใหค้ ะแนนดังนี้ - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๓) กำรทดสอบกอ่ นเรยี น หลังเรียน แบบฝึกหดั ก่อนเรียน หลงั เรยี น ทาแบบฝึกหดั ในใบงานหลังเรียน ๓. อื่น ๆ ....................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................

หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี ๑ พืชและสตั ว์ แนวกำรจดั กจิ กรรมกำร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อ รำยว ขนั้ นา แนวการจัดกจิ ก ข้ันสอน  ตรวจสอบความรเู้ ดิมเกี่ยวกับสว่ นประกอ  ร่วมกนั ทากจิ กรรมท่ี ๑ มีอะไรอย่ใู นเมล็ด ข้ันสรุป  ทาใบงาน ๐๑ ลักษณะของเมล็ดพืช การวัดและประเมนิ ผล  อภิปรายเร่อื งสว่ นประกอบของเมลด็ พืช  รว่ มกนั สรุปเก่ยี วกบั ส่วนประกอบของเมล  ทาใบงาน ๐๒ แบบฝึกหดั เรื่องเมล็ดพชื  ประเมนิ จากการตอบคาถาม  ประเมินจากการทากิจกรรมในชั้นเรยี น  ประเมินจากการทาแบบฝึกหัด

รเรียนรู้ของแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ที่ ๑.๑ ๒๑ อง เมลด็ พืชนอ้ ย วชิ ำวิทยำศำสตร์ เวลำ ๓ ช่ัวโมง ช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๒ กรรมการเรยี นรู้ อบของเมล็ดพืช ด และปัจจยั ทม่ี ีผลต่อการงอกของเมลด็ พืช ล็ด

หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจดั กำรเ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ หนว่ ยย่อยท่ี ๑ กำรเจรญิ รำยวิชำ ขอบเขตเนอ้ื หำ กจิ กรรมกำรเรียนรู้ (๓ ช่ัวโมง) เมล็ดพืชประกอบด้วย ต้นอ่อน ชั่วโมงที่ ๑-๒ ข้นั นำ (๑๐ นำที) ใบเล้ียง เปลือกหุ้มเมล็ด โดยต้นอ่อน ๑. ครูให้นักเรียนจับคู่เมล็ดพืชชนิดต่าง ๆ กับรูปต้ จะเจริญเปน็ ต้นพืช ใบเลี้ยงเปน็ อาหาร ครูถามนักเรียนว่าจะทาอย่างไรให้เมล็ดพืชเหล่าน เล้ียงต้นอ่อนเพื่อให้เติบโตเป็นต้นพืช แตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั คิด จากนนั้ ครูสุม่ บางกลุม่ ตอบตาม เปลือกหุ้มเมล็ดคอยป้องกันอันตราย ขั้นสอน (๑๐๐ นำท)ี ใหก้ ับเมลด็ ๒. ครูให้นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรมและจุดประสงค น้าและอากาศที่พอเหมาะเป็ปัจจัย จากน้ันครถู ามคาถามดังตอ่ ไปน้ี ที่ช่วยให้ต้นอ่อนภายในเมล็ดงอกเป็น ตน้ พืชได้ ๒.๑ นักเรียนจะเรียนเรื่องอะไร (ส่วนประกอบ จุดประสงคด์ ้ำนควำมรู้ เมลด็ พชื ) ๑. ระบุสว่ นประกอบของเมล็ดพชื ๒. ระบุปจั จัยที่จาเป็นต่อการงอก ๒.๒ นกั เรยี นจะเรียนดว้ ยวธิ ีการใด (การสงั เกต) ของเมล็ดพชื ๒.๓ เมื่อเรียนจบแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (ระบ การงอกเมลด็ พืช) ๓. นักเรียนอ่านวิธีในใบกิจกรรมท่ี ๑ และทาความ นักเรยี นเขา้ ใจ จงึ ใหน้ ักเรียนลงมือทากิจกรรม ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมที่ ๑ มีอะไรอยู่ ซ่ึงครูเตรียมมาให้ และสังเกตลกั ษณะภายนอก และ ผ่าใหน้ ักเรยี น บันทึกผลการทากิจกรรมลงในใบงาน

๒๒ เรียนรู้ที่ ๑.๑ เมลด็ พืชน้อย เวลำ ๓ ชั่วโมง ญเตบิ โตและกำรดำรงชีวิตของพชื ช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๒ ำวิทยำศำสตร์ นพืชที่เป็นคู่กัน โดยจับคู่ถูกหรือผิดก็ได้ จากน้ัน สอื่ /แหล่งเรียนรู้ น้ีเป็นต้นพืชดังรูปได้อย่างไร ครูให้เวลานักเรียน ๑. รปู ต้นพืช มความเขา้ ใจ ๒. เมลด็ พืชทมี่ ีขนาดใหญ่พอ ค์ในใบกิจกรรมท่ี ๑ มีอะไรอยู่ในเมล็ด หน้า ๓ ทจี่ ะผา่ ได้ ๓. กระดาษเยื่อหรือผา้ ขนหนูซบั นา้ ๔. แวน่ ขยาย ๕. มีดโกน ของเมล็ดพืชและปัจจัยที่จาเป็นต่อการงอกของ ภำระงำน / ช้ินงำน บุส่วนประกอบของเมล็ดพืชและปัจจัยที่จาเป็นตอ่ ๑. การบันทกึ ผลการทากิจกรรม ในใบงาน ๒. การทาแบบฝกึ หดั มเข้าใจข้ันตอนการทากิจกรรม เมื่อแน่ใจแล้วว่า ในเมล็ด ข้อ ๑-๓ โดยให้เลือกเมล็ดพืชที่สนใจ ะเมล็ดพืชทง่ี อกและใชม้ ดี ผ่าเมลด็ ทงี่ อก ซึง่ ครูควร ๐๑ ลักษณะของเมล็ดพชื หนา้ ๘

หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจัดกำร กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์ หนว่ ยย่อยท่ี ๑ กำรเจริญ รำยวิชำ จุดประสงคด์ ำ้ นทักษะกระบวนกำร ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการสังเกตลัก ทำงวิทยำศำสตร์ เรียกช่ือสว่ นประกอบไมถ่ กู ต้องได้ และระบายสรี ปู ท ๖. ครูให้นักเรียนอ่านนิทานเรื่อง จุกกับเมล็ดทาน ๑. การสังเกต จากนั้นให้นักเรียนเขียนช่ือส่วนประกอบของเมล็ดพชื ๒. การลงความเห็นจากข้อมูล ๗. ครูอาจสุ่มนักเรียนนาเสนอผลการทากิจกรรมโด เปรียบเทียบความเหมือนและแตกต่างในสว่ นประกอ จุดประสงคด์ ้ำนคณุ ธรรม ๘. ครชู วนนักเรียนอภิปรายผลการทากจิ กรรมที่ ๑ ข ๑. มคี วามมุง่ มนั่ ในการทางาน ๒. มีความสามัคคี ชว่ ยเหลอื ๘.๑ ภายในเมล็ดพชื พบอะไรบ้าง (ต้นอ่อน ใบเลี้ย ๘.๒ สว่ นใดท่อี ยใู่ นเมลด็ พืชทจ่ี ะเปน็ ต้นพชื (ต้นอ ในการทางานกลุ่มร่วมกนั ๘.๓ จากนทิ าน ภายในเมลด็ พืชมีอะไรบา้ ง (ภายใ ๓. มีความซ่อื สัตยต์ ่อตนเอง ๘.๔ แต่ละสว่ นประกอบมีความสาคญั อย่างไร (ตน้ ตน้ อ่อนเปลอื กหุ้มเมลด็ ชว่ ยปอ้ งกันอนั ตรายให้กบั เม ๘.๕ ลกั ษณะภายในของเมล็ดพชื ทเี่ พาะแลว้ ผา่ ดูเ ๘.๖ ปจั จัยใดบา้ งท่ีช่วยใหเ้ มล็ดพืชงอกเป็นตน้ พชื ๘.๗ ยังมปี ัจจัยอื่นอกี ไหมท่ีชว่ ยให้เมลด็ พชื งอกได ขน้ั สรุป (๑๐ นำที) ๙. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปไดว้ ่าเมล็ดพืชประกอบ

๒๓ รเรียนรทู้ ่ี ๑.๑ เมล็ดพืชนอ้ ย เวลำ ๓ ชวั่ โมง ญเติบโตและกำรดำรงชีวติ ของพชื ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ ๒ ำวิทยำศำสตร์ กษณะภายนอกและลักษณะภายในโดยนักเรียนอาจ วิธีกำรประเมนิ ทวี่ าดเป็นการบ้าน ตะวัน หน้า ๔-๕ โดยฝึกนักเรียนอ่านทีละย่อหน้า ๑. ประเมินผลจากการตอบคาถาม ชในรูปทีว่ าด ๒. สังเกตทักษะกระบวนการทาง ดยเลือกกลุ่มท่ีได้เมล็ดพืชไม่ซ้ากันเพื่อนาข้อมูลมา วทิ ยาศาสตรใ์ นการทากิจกรรม อบของเมล็ดพชื ได้ ๓. ประเมนิ ผลจากการทา ขอ้ ๑-๔ โดยอาจใช้คาถามดังต่อไปน้ี แบบฝึกหัด ยง เปลือกหมุ้ เมลด็ ) ๔. สงั เกตด้านคุณธรรมขณะทา ออ่ น) กิจกรรม ในเมลด็ พืชมตี น้ อ่อนและใบเลย้ี ง) นออ่ นจะเปน็ ตน้ พืชต่อไปใบเล้ียงเปน็ อาหารเลย้ี ง มลด็ พืช) เหมือนหรือแตกตา่ งจากในนิทาน (เหมือนกนั ) ชได้ (นา้ ) ด้ (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจ) บดว้ ยต้นอ่อน ใบเล้ียง เปลือกห้มุ เมล็ด

หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจดั กำรเ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ หน่วยย่อยท่ี ๑ กำรเจริญ รำยวิชำว ช่วั โมงท่ี ๓ ขนั้ นำ (๕ นำท)ี ๑๐ ครูนาเข้าส่บู ทเรยี นโดยทบทวนบทเรียนครั้งทแ่ี ล้วโด ๑๐.๑ ลักษณะภายนอกของเมลด็ พืชเป็นอย่างไร (มีเป ๑๐.๒ ภายในเมล็ดพืชมอี ะไรบ้าง (มตี ้นออ่ น มใี บเลี้ยง ขนั้ สอน (๔๕ นำท)ี ๑๑. ครใู ห้นักเรยี นอ่านวธิ ที าในใบกิจกรรมท่ี ๑ ข้อ ๕ หน ๑๒. ครูให้นักเรียนอ่านนิทานเรื่องเมล็ดพืชน้อย หน้า อภปิ รายเน้ือเร่ืองทีอ่ ่านไปทลี ะย่อหน้าโดยใช้คาถามดังต ๑๒.๑ เมล็ดพืชนอ้ ยใช้ส่งิ ใดบา้ งในการงอก (นา้ และอา ๑๒.๒ อากาศที่เมล็ดพชื ใช้ในการงอกนั้นมาจากไหน (อ ๑๒.๓ รากของเมล็ดพืชแทงลงในดนิ เพื่ออะไร (เพื่อดูด ๑๒.๔ ตน้ กลา้ หมายถึงอะไร (ตน้ พืชขนาดเลก็ ท่ีเกิดจา ๑๒.๕ ขณะทตี่ น้ กลา้ เจริญเติบโตทาไมใบเลีย้ งจงึ ค่อ ใบเล้ียงเพื่อการเจริญเติบโต เม่อื อาหารสะสมหมด ใบเล้ีย ๑๒.๖ ปัจจยั ทจี่ าเปน็ ต่อการงอกของเมลด็ พชื มีอะไรบ ๑๓. นกั เรยี นบันทกึ ปัจจัยท่ีจาเปน็ ตอ่ การงอกของเมล

๒๔ เรียนรู้ท่ี ๑.๑ เมล็ดพืชน้อย เวลำ ๓ ชวั่ โมง ญเตบิ โตและกำรดำรงชวี ติ ของพชื ช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๒ วิทยำศำสตร์ ดยใช้แนวคาถามดังน้ี เกณฑก์ ำรประเมิน ปลอื กหุ้มเมล็ด) ๑. การตอบคาถามในใบงานได้ถูกต้อง ง) ด้วยตนเอง - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน นา้ ๓ และทาความเข้าใจข้ันตอนการทากจิ กรรม - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน ๖-๗ โดยฝึกอ่านทีละย่อหน้าสลับกับครูชวนนักเรียน - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ต่อไปนี้ ๒. มที ักษะกระบวนการทาง ากาศที่พอเหมาะ) วทิ ยาศาสตร์ขณะทากิจกรรม (อยู่ในดิน) - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน ดน้าและธาตุอาหารในดิน) - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน ากเมล็ด) - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน อย ๆ ลบี เล็กลง (เพราะตน้ กล้าใช้อาหารท่สี ะสมอย่ใู น ๓. มีคุณธรรมจริยธรรมขณะทา ยงจงึ ลบี เล็กลง) กิจกรรม บา้ ง (นา้ และอากาศที่เหมาะสม) - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน ลด็ พชื และตอบคาถามหลงั จากทากจิ กรรม หนา้ ๙ - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน

หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจัดกำร กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตร์ หน่วยย่อยท่ี ๑ กำรเจรญิ รำยวิชำว ขน้ั สรปุ (๕ นำที) ๑๔. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ ได้ว่าเมลด็ พชื ประกอบ จะเจรญิ เปน็ ตน้ พืช ใบเลี้ยงเปน็ อาหารเลย้ี งต้นอ่อนเพื่อ อันตรายให้กับเมล็ด น้าและอากาศที่พอเหมาะเป็นปัจ ๑๕. นักเรียนทาใบงาน ๐๒ แบบฝกึ หัด เรือ่ งเมลด็ พืช

รเรยี นรู้ท่ี ๑.๑ เมล็ดพืชน้อย ๒๕ ญเตบิ โตและกำรดำรงชวี ิตของพชื วิทยำศำสตร์ เวลำ ๓ ชั่วโมง ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๒ บด้วย ตน้ ออ่ น ใบเล้ยี ง เปลือกหมุ้ เมล็ด โดยต้นอ่อน อให้เติบโตเปน็ ตน้ พชื เปลอื กหุม้ เมลด็ คอยป้องกัน จจัยที่ช่วยให้ต้นอ่อนภายในเมล็ดงอกเป็นต้นพืชได้ ช

๒๖ แบบประเมนิ ดำ้ นคุณธรรม แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๑.๑ เมลด็ พชื น้อย ช่ือผปู้ ระเมนิ /กลุ่มประเมิน…………………………………………………………………………………………............................................ ชื่อกล่มุ รบั กำรประเมิน………………………………………………………………………………………………............................................ ประเมินผลครั้งท…่ี …......……………....…….. วนั ……….....……..…. เดือน ………..…..........……. พ.ศ. ……............................…... เร่ือง………………………………………………………………………………………………...........................................................……………. ที่ ลกั ษณะ/พฤติกรรมบ่งช้ี ระดบั พฤตกิ รรม คะแนนทไ่ี ด้ ๑. มีความมงุ่ มั่นในการทางาน เกดิ = ๑ ไม่เกิด = ๐ ๒. มีความสามัคคี ชว่ ยเหลอื ในการทางานกลุม่ รว่ มกนั ๓. มคี วามซื่อสตั ยต์ อ่ ตนเอง รวมคะแนนที่ได้ทงั้ หมด = …………… คะแนน คุณลกั ษณะตามจุดประสงค์ด้านคณุ ธรรม - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ต่ากวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน

๒๗ แบบประเมินดำ้ นทกั ษะกระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตรใ์ นกำรทำกจิ กรรม แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ่ี ๑.๑ เมลด็ พชื น้อย เกณฑ์การประเมนิ มดี ังน้ี ๓ หมายถงึ ดี ๒ หมายถึง พอใช้ ๑ หมายถึง ควรปรบั ปรงุ ส่งิ ทีป่ ระเมิน คะแนน การสงั เกต การลงความเหน็ จากขอ้ มลู รวมคะแนน เกณฑ์กำรประเมิน ทกั ษะ ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรบั ปรงุ (๑) การสงั เกต ใช้ตาและมือในการวบรวม ใช้ตาและมือในการวบรวม ไม่สำมำรถใช้ตาและมือในกา การลงความเห็น จากข้อมูล ข้อมูลเ กี่ยว กับลัก ษ ณ ะ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล เ ก่ี ย ว กั บ ภ า ย น อ ก แ ล ะ ลัก ษ ณ ะ ภ า ย น อ ก แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ลักษณะภายนอกและลักษณะ ภายในของเมล็ดพืช ภายในของเมล็ดพืชได้จำก ภายในของเมล็ดพืช ถึงแม้จะ ด้วยตนเองโดยไม่เพิ่มเตมิ กำรช้แี นะของครูหรอื ผู้อ่ืน ไดร้ ับคาแนะนาจากผอู้ ื่น ความคิดเห็น เพิ่มเติมความคิดเห็นเกี่ยวกับ เพ่ิมเติมความคิดเห็นเกี่ยวกบั ไม่สำมำรถเพิ่มเติมความคิดเห็น ส่วนประกอบของเมล็ดพืช ส่วนประกอบของเมล็ดพืช เก่ียวกับส่วนประกอบของเมล็ด และปัจจัยที่มีผลต่อการงอก และปัจจัยที่มีผลต่อการงอก พืช และปัจจัยท่ีมีผลต่อการงอก ของเมลด็ พืชได้อยา่ งมีเหตผุ ล ของเมล็ดพชื ไดอ้ ย่างมีเหตุผล ของเมล็ดพชื ไดอ้ ย่างมีเหตุผลจาก จากความรู้หรือประสบการณ์ จากความรู้หรือประสบการณ์ ความรู้หรอื ประสบการณ์เดิมได้ เดมิ ได้ด้วยตวั เอง เดิมได้ โดยอำศัยคำแนะนำ ของครหู รือผูอ้ นื่

เฉลยใบงำน ๒๘ ขน้ึ อยูก่ ับกำรเลือก เช่น เมล็ดถัว่ ดำ บนั ทึกลกั ษณะตำมชนิดของเมล็ดพชื ท่นี ักเรียนเลอื ก บนั ทึกลกั ษณะตำมชนิดของเมลด็ พชื ท่ีนกั เรียนเลอื ก

๒๙ นำ้ ท่พี อเหมำะ อำกำศท่ีพอเหมำะ ต้นออ่ น ใบเล้ยี ง เปลือกหุ้มเมลด็ ต้นออ่ น เปน็ อำหำรเลี้ยงต้นอ่อน เพ่ือให้เจรญิ เติบโตเป็นตน้ พืช น้ำและอำกำศท่พี อเหมำะ

๓๐ ต้นอ่อนใชอ้ ำหำรที่สะสมอยู่ในใบเล้ียงเพื่อกำรเจรญิ เตบิ โต เปน็ ตน้ พชื ตน้ ออ่ น ใบเลยี้ ง และเปลือกหมุ้ เมล็ด น้ำและอำกำศทพ่ี อเหมำะ

๓๑ นกั เรยี นสำมำรถทำรูปแบบอ่ืน ๆ ตำมควำมคดิ ของนักเรียนได้ คือ ตน้ อ่อน เจรญิ เปน็ ต้นพชื สว่ นประกอบ คอื ใบเล้ยี ง เปน็ อำหำรเลย้ี งตน้ ออ่ น มี คือ เปลอื กหุ้มเมลด็ มหี น้าท่ี ปกปอ้ งเมล็ด เมล็ด ต้องการ คอื น้ำทพ่ี อเหมำะ คอื อำกำศท่พี อเหมำะ ปจั จยั ท่ีมผี ล ต่อกำรงอก

๓๒ เมล็ดพชื จำเปน็ ตอ้ งมีอำหำรเลยี้ งตน้ อ่อน เพรำะต้นอ่อนตอ้ งใช้อำหำรในกำร เจริญเติบโตในขณะยงั ไม่สำมำรถสรำ้ งอำหำรได้เอง ไมไ่ ด้ เพรำะอุณหภูมิท่ีสูงเกินไปอำจไม่เหมำะสมกับกำรงอกของพชื อีกท้ังอำหำรสะสมอำจถกู ถูกทำลำยจนไม่สำมำรถนำมำใชไ้ ด้

๓๓ คำชี้แจงประกอบแผนจัดกำรเรยี นรู้ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๑.๒ ปัจจัยท่จี ำเปน็ ต่อกำรเจรญิ เตบิ โตและกำรดำรงชวี ติ ของพชื เวลำ ๕ ชว่ั โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. สำระสำคัญของแผน พืชต้องการนา้ แสง อากาศ ธาตุอาหาร อาหาร เพ่อื การเจรญิ เติบโตและการดารงชีวิต ๒. ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติมในกำรนำไปใช้ (ใหร้ ะบุสง่ิ ท่ีต้องกำรเนน้ หรือข้อสงั เกต ข้อเสนอแนะ คำแนะนำ) ในเร่อื งตอ่ ไปน้ี คือ ๒.๑ ขอบขำ่ ยเน้อื หำ นา้ แสง อากาศ ธาตอุ าหาร และอาหารเป็นปัจจยั ทจ่ี าเป็นตอ่ การเจริญเตบิ โตและการดารงชวี ติ ของพืช โดยน้าเกย่ี วขอ้ งกบั การงอกของเมลด็ พืช สรา้ งอาหาร ลาเลียงธาตอุ าหาร แสงใช้ในการสร้างอาหาร อากาศ ใช้ในการงอก การหายใจ และสรา้ งอาหาร ธาตุอาหารชว่ ยใหพ้ ชื เจรญิ เตบิ โตเปน็ ปกติ ๒.๒ จุดประสงค์กำรเรยี นรู้ (ควำมรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม คำ่ นยิ ม) (ถำ้ ม)ี จดุ ประสงค์ด้ำนควำมรู้ อธิบายปัจจัยทจ่ี าเป็นในการเจรญิ เตบิ โตและการดารงชีวติ ของพชื จดุ ประสงค์ดำ้ นทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ ๑. การสังเกต ๒. การวดั ๓. การใชจ้ านวน ๔. การจัดกระทาและสือ่ ความหมายขอ้ มูล ๕. การลงความเห็นจากข้อมูล ๖. การกาหนดนิยามเชงิ ปฏิบัตกิ าร ๗. การกาหนดและควบคมุ ตัวแปร ๘. การทดลอง ๙. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป จดุ ประสงค์ดำ้ นคณุ ธรรม ๑. มีความมุ่งม่นั ในการทางาน ๒. มคี วามสามคั คี ชว่ ยเหลอื ในการทางานกล่มุ รว่ มกัน ๓. มีความซอื่ สัตย์ต่อตนเอง ๒.๓ กำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นรู้ ๑) กำรเตรียมตัวของครู นกั เรยี น (กำรจัดกล่มุ ) (ถ้ำม)ี ๑.๑ การจดั กลมุ่ โดยแบง่ นักเรียนออกเป็นกลุม่ กลุ่มละ ๔-๖ คน

๓๔ ๑.๒ ครคู วรวางแผนให้นกั เรยี นแต่ละกลุม่ เลอื กเมลด็ พชื ท่จี ะปลูกตามความสนใจ เชน่ เมล็ดถ่ัวเขยี ว ถ่วั ดา หรือเปน็ เมล็ดพืชชนิดอื่นท่ีเป็นพืชใบเลีย้ งคทู่ ีเ่ ห็นลาต้นชดั เจน สามารถวัดการเจริญเติบโตไดง้ ่าย หลงั จาก ได้เมล็ดพชื ที่สนใจ ครเู นน้ ย้าให้นักเรียนสงั เกตลักษณะของเมล็ดและนาเมลด็ พืชแช่นา้ ไว้ ๑ คนื จากนัน้ ปลูก ลงในกระถางทม่ี ขี นาดและปริมาณดนิ เทา่ ๆ กนั ๔ กระถาง กระถางละ ๑๐ เมลด็ รดนา้ ปรมิ าณเทา่ กันทกุ วนั และวางไวบ้ รเิ วณเดียวกัน เป็นเวลา ๓ วนั อาจใหน้ กั เรียนเพาะเผ่อื ไวอ้ ีก ๒ กระถางในกรณีที่เมล็ดพชื ไม่งอก หรืองอกแล้วตาย หรือเจรญิ เตบิ โตช้าเกนิ ไป ๑.๓ เตรียมสถานที่เพื่อให้นักเรียนวางกระถางตน้ พืชได้โดยไม่มีสง่ิ รบกวนการทดลอง เชน่ หนู ๒) กำรเตรยี มส่ือ วัสดอุ ปุ กรณ์ ของครู นักเรียน (ถ้ำม)ี สง่ิ ท่คี รูต้องเตรียม คอื ๒.๑ อปุ กรณส์ าหรับปลกู พชื ได้แก่ ชอ้ นปลูก ชอ้ นกินข้าว ๑ ชดุ /กลมุ่ ๒.๒ กล่องกระดาษหรอื กล่องพลาสตกิ ทึบ ๑ กล่อง/กลมุ่ ๓) เตรยี มใบงำน ใบควำมรู้ ใบกิจกรรม (ถำ้ มี) ใบงาน ๐๑ ปัจจัยทจ่ี าเป็นตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดารงชวี ติ ของพชื ๒.๔ วัดผลประเมนิ ผล (ถ้ำมี) ๑) วธิ กี ำรวดั ผลประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ ๑.๑ สงั เกตทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการทากิจกรรม ๑.๒ สังเกตดา้ นคณุ ธรรมขณะทากจิ กรรม ๒) วิธีกำร เคร่ืองมอื เกณฑ์ ๒.๑ เครื่องมอื และเกณฑใ์ นกำรประเมินด้ำนควำมรู้ ตรวจใหค้ ะแนนจากการตอบคาถามในใบงาน แลว้ ใช้เกณฑ์ในการใหค้ ะแนนดงั นี้ - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ต่ากว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๒.๒ เครอ่ื งมือและเกณฑ์ในกำรประเมินทกั ษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ สังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใชแ้ บบประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ดังแนบ) แลว้ นาคะแนนมารวมกนั แล้วใช้เกณฑใ์ นการให้คะแนนดงั น้ี - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กว่า ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน

๓๕ ๒.๓ เครื่องมือและเกณฑใ์ นกำรประเมินด้ำนคุณธรรม สงั เกตคณุ ลักษณะด้านคุณธรรมโดยใช้แบบประเมนิ ดา้ นคุณธรรม (ดังแนบ) แล้วนาคะแนนมารวมกัน แล้วใช้เกณฑ์ในการใหค้ ะแนนดังน้ี - มากกว่า ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๓) กำรทดสอบกอ่ นเรียน หลงั เรยี น แบบฝกึ หดั กอ่ นเรยี น หลังเรียน ทาแบบฝึกหดั ในใบงานหลังเรียน ๓. อ่ืน ๆ ....................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................

หน่วยกำรเรยี นร้ทู ่ี ๑ พืชและสตั ว์ แนวกำรจัดกิจกรรมกำรเรีย กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์ เร่ือง ปัจจยั ทีจ่ ำเป็นต่อกำ รำยวิชำ ขนั้ นา แนวการจดั กิจก ขนั้ สอน  ทบทวนความร้เู ก่ยี วกบั ปจั จัยทจี่ าเป็นต่อ ข้นั สรุป ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการดารงชีวิตของ การวัดและประเมินผล  ร่วมกนั ทากจิ กรรมที่ ๑ ปจั จัยการเจริญเต  อภปิ รายเรอ่ื งปจั จยั ทีจ่ าเปน็ ในการเจรญิ เ  ทาใบงาน ๐๑ ปจั จยั ทมี่ ผี ลต่อการเจริญเต  ร่วมกันสรปุ เก่ียวกับปัจจัยในการเจรญิ เติบ  ประเมนิ จากการตอบคาถาม  ประเมนิ จากการทากิจกรรมในชน้ั เรียน  ประเมนิ จากการทาแบบฝึกหัด

ยนรู้ของแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๑.๒ ๓๖ ำรเจรญิ เตบิ โตและกำรดำรงชีวิตของพืช ำวทิ ยำศำสตร์ เวลำ ๕ ช่วั โมง ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๒ กรรมการเรยี นรู้ อการงอกของเมลด็ พืชและตรวจสอบความรู้เดิมเก่ยี วกับปัจจยั ที่จาเปน็ งพืช ตบิ โตและการดารงชีวติ ของพืชมีอะไรบ้าง เตบิ โตและการดารงชีวติ ของพืช ติบโตและการดารงชีวิตของพชื บโตและดารงชีวิตของพืช

หนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ่ี ๑ พืชและสตั ว์ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๑.๒ ปจั จยั ที่จำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ หน่วยยอ่ ยที่ ๑ กำรเจริญเติบโ รำยวชิ ำวิท ขอบเขตเนอื้ หำ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ (๕ ชัว่ โมง) น้า แสง อากาศ ธาตุอาหาร และ ชัว่ โมงท่ี ๑-๒ ขัน้ นำ (๑๐ นำท)ี อาหาร เป็นปัจจัยท่ีจาเป็นต่อการ ๑. ครูทบทวนความรู้เก่ียวกับปัจจัยที่จาเป็นต่อก เจริญเตบิ โตและการดารงชีวิตของพชื เก่ียวกับปัจจัยท่ีจาเป็นต่อการเจริญเติบโต และการ โดยน้าเก่ียวข้องกับการงอกของ ๑.๑ ปจั จยั ที่จาเป็นต่อการเจรญิ เตบิ โตของเมลด็ พืชม เมล็ดพืช แสงใช้ในการสร้างอาหาร อากาศใช้ในการงอก การหายใจ ๑.๒ จากนิทานเรื่องจุกกับเมล็ดทานตะวัน เมื่อ และสร้างอาหาร ธาตุอาหารช่วยให้ เมลด็ ทานตะวันเจริญเติบโต เป็นต้นทานตะวนั (ต้อง พืชเจรญิ เตบิ โตเปน็ ปกติ ๑.๓ ต้นทานตะวันต้องการอะไรอีกบ้างเพ่ือการ จดุ ประสงคด์ ำ้ นควำมรู้ ตนเอง) อ ธิ บ า ย ปั จ จั ย ที่ จ า เ ป็ น ใ น ก า ร ๑.๔ เราจะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรว่าต้นทานตะวันเจรญิ เตบิ โ เจริญเตบิ โตและการดารงชวี ิต ขั้นสอน (๑๐๐ นำที) ๒. ครูให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรมและจุดประสงค และการดารงชวี ติ ของพชื มีอะไรบ้าง จากน้นั ครถู ามค ๒.๑ นักเรยี นจะเรียนเรื่องอะไร (ปจั จยั ทีจ่ าเป็นต่อ ๒.๒ ๒.๒ นกั เรียนจะเรยี นด้วยวธิ ีการใด (การสงั เกต) ๒.๓ เมื่อเรยี นจบแล้วนักเรยี นทาอะไรได้ (ระบุปจั จยั

๓๗ ำเปน็ ต่อกำรเจรญิ เตบิ โตและกำรดำรงชวี ิตของพชื เวลำ ๕ ชั่วโมง โตและกำรดำรงชวี ิตของพชื ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๒ ทยำศำสตร์ การงอกของเมล็ดพืช และตรวจสอบความรู้เดิม ส่ือ /แหลง่ เรยี นรู้ รดารงชีวิตของต้นพืช โดยครูใช้คาถามดังต่อไปน้ี ๑. เมล็ดพืช มอี ะไรบา้ ง (น้าและอากาศท่พี อเหมาะ) ๒. ดนิ อเมล็ดทานตะวันงอก จุกต้องทาอย่างไร เพื่อให้ ๓. ชอ้ นปลกู งนาไปปลกู ในดินแลว้ รดนา้ ) ๔. ช้อนกินขา้ ว รเจริญเติบโต (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ๕. กล่องกระดาษหรอื กลอ่ งพลาสติกทึบ โต (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) ภำระงำน / ชนิ้ งำน ค์ในใบกิจกรรมที่ ๑ ปัจจัยในการเจริญเติบโต ๑. การบันทึกผลการทากิจกรรม คาถาม ดังตอ่ ไปนี้ อการเจริญเติบโตและดารงชวี ิตของพชื ) ในใบงาน ๒. การทาแบบฝึกหัด ยท่ีจาเป็นต่อการเจริญเติบโต และดารงชวี ิตของพชื

หน่วยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ี่ ๑.๒ ปัจจยั ที่จำ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ หน่วยย่อยท่ี ๑ กำรเจริญ รำยว จดุ ประสงคด์ ้ำนทกั ษะกระบวนกำร ๓. ครูให้นักเรียนอ่านกิจกรรมข้อ ๑-๔ หน้า ๑๔ จา ทำงวทิ ยำศำสตร์ ลงมือทากิจกรรม โดยอาจใช้คาถามต่อไปนี้ ๑. การสงั เกต ๓.๑ นกั เรยี นสนื ค้นข้อมลู เก่ียวกบั การปลกู พืชจาก ๒. การวดั ๓.๒ นักเรียนจะเพาะเมลด็ อย่างไร (โดยการแช่นา้ ๓. การใชต้ วั เลข ๓.๓ ทาไมตอ้ งแชเ่ มลด็ พชื กอ่ นปลกู (เม่อื เมลด็ พืช ๔. การจัดกระทาและสื่อ ๓.๔ ในการเตรยี มพชื ๔ กระถาง เราทาสิง่ ใดเหมือน ๕. การลงความเห็นจากข้อมลู ปรมิ าณดินเท่ากนั ปรมิ าณนา้ เทา่ กนั ) ๖. การกาหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั กิ าร ๓.๕ นักเรียนจะรดนา้ ในเวลาใด ใช้นา้ เท่าไร (นัก ๗. การกาหนดและควบคุมตวั แปร ๓ ชอ้ นกินขา้ ว) ๘. การทดลอง ๓.๖ นกั เรยี นต้องดแู ลพชื ไปกว่ี ันจงึ เร่ิมทดลอง (๕ ๙. การตีความหมายข้อมูลและ ๓.๗ นักเรยี นจะวดั การเจริญเติบโตของพืชอยา่ งไร ลงขอ้ สรุป ๔. เม่อื เขา้ ใจขั้นตอนการทากิจกรรมแลว้ นักเรียนแต การดูแลและแบง่ หน้าทีร่ ับผิดชอบ และสามารถปลูก จุดประสงค์ดำ้ นคณุ ธรรม ๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอแผนท่ีวางไว้และท ๑. มีความม่งุ ม่ันในการทางาน และการดารงชวี ิตของพชื หน้า ๗ ๒. มคี วามสามัคคี ชว่ ยเหลือ ขั้นสรปุ (๑๐ นำท)ี ในการทางานกลุ่มร่วมกัน ๖. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรุปเกยี่ วกับการปลูกพชื ว่า ๓. มีความซอื่ สตั ย์ตอ่ ตนเอง ลงดิน รดนา้ ทพี่ อเหมาะทุกวัน

๓๘ ำเป็นต่อกำรเจรญิ เตบิ โตและกำรดำรงชีวติ ของพชื เวลำ ๕ ชัว่ โมง ญเติบโตและกำรดำรงชีวิตของพชื ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๒ วชิ ำวิทยำศำสตร์ ากนั้นครูอาจตรวจสอบความเข้าใจกับนักเรียนก่อน วธิ ีกำรประเมนิ กทใ่ี ด (จากการสอบถามครู ผูป้ กครอง) ๑. ประเมินผลจากการตอบคาถาม าไว้ ๑ คนื ) ๒. สงั เกตทักษะกระบวนการทาง ชได้รับความชมุ่ ช้ืนเมล็ดจะงอกได)้ วทิ ยาศาสตร์ในการทากจิ กรรม นกันบ้าง (ใชก้ ระถางขนาดเดยี วกนั ดนิ ชนดิ เดยี วกนั ๓. ประเมินผลจากการทาแบบฝกึ หดั ๔. สงั เกตด้านคณุ ธรรมขณะทา กเรียนอาจตอบว่ารดในเวลาเช้ากระถางละประมาณ กจิ กรรม ๕ วัน) ร (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ต่ละกลุ่มเริ่มช่วยกนั วางแผนการเพาะเมลด็ การปลูก กตน้ พืชได้ ๔ กระถาง ทาใบงาน ๐๑ ปัจจัยท่ีจาเป็นต่อการเจริญเติบโต าต้องมีการเมลด็ พชื ไปแช่นา้ เพ่ือให้เมล็ดงอก แลว้ ปลกู

หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ พืชและสัตว์ แผนกำรจัดกำรเรยี นรูท้ ี่ ๑.๒ ปจั จัยที่จำ กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์ หน่วยยอ่ ยท่ี ๑ กำรเจริญเ รำยว ชัว่ โมงที่ ๑-๒ ขนั้ นำ (๕ นำท)ี ๗. ครนู าเมล็ดพชื ๔ กระถางทม่ี ีอายุ ๕ วัน มาตง้ั หน ๗.๑ นกั เรียนดูแลพืชอย่างไร (วางในทท่ี ี่มีแสงและ ๗.๒ ต้นพืชมีการเปล่ียนแปลงต้ังแต่งอกจนมีอาย ข้ันสอน (๕๐ นำท)ี ๘. ครูให้นักเรียนอ่านวิธีทาในใบกิจกรรมที่ ๑ ข้อ การทากิจกรรม โดยครูใชค้ าถามตรวจสอบความเข้าใ ๘.๑ จะต้องจัดกระถางที่ ๑ และ ๓ ให้เหมือนก ดนิ ทใ่ี ช้เหมือนกนั อายขุ องตน้ พชื เทา่ กัน ๘.๒ จะตอ้ งจดั กระถางท่ี ๒ และ ๓ ให้เหมือนกนั ใ ขนาดกระถางเทา่ กนั ดินท่ีใช้ปลกู เหมอื นกัน อายขุ อง ๘.๓ กระถางที่ ๑ และ ๓ จัดให้แตกต่างกันในเรื่องใด กระถางท่ี ๓ มแี สง) ๘.๔ จะตอ้ งจดั กระถางท่ี ๒ และ ๓ ให้ต่างกันในเรื่องใ ๑ รดน้า) ๘.๕ ต้องสงั เกตและวดั อะไรบ้าง (สังเกตลกั ษณะของใบ ๘.๖ จะวัดความสูงของต้นพืชอย่างไร (วัดความสูงโดย โคนต้นทกุ วนั )

๓๙ ำเปน็ ตอ่ กำรเจริญเติบโตและกำรดำรงชวี ติ ของพชื เวลำ ๕ ช่ัวโมง เตบิ โตและกำรดำรงชีวิตของพืช ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี ๒ วชิ ำวทิ ยำศำสตร์ นา้ ช้ันเรียน แลว้ ครใู ชค้ าถาม ดังต่อไปนี้ เกณฑก์ ำรประเมนิ ะรดน้าปริมาณท่ีพอเหมาะ) ๑. การตอบคาถามในใบงานไดถ้ กู ตอ้ ง ยุ ๕ วันอย่างไร (ต้นพืชสูงขึ้น มีจานวนใบมากขึ้น) ดว้ ยตนเอง - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน ๕-๗ หน้า ๑๔-๑๕ แล้วทาความเข้าใจในข้ันตอน - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน ใจตอ่ ไปน้ี - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน กันในเร่ืองใด (รดนา้ เท่ากัน ขนาดกระถางเท่ากัน ๒. มีทกั ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรข์ ณะทากิจกรรม ในเรื่องใด (วางบริเวณทีม่ แี สงแดดส่องถึงเหมือนกัน - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน องต้นพชื เทา่ กัน) - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน ด อย่างไร (แสงแตกต่างกัน โดยกระถางที่ ๑ ไม่มีแสง - ตา่ กวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน ๓. มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมขณะทา ใด (การรดนา้ โดยกระถางที่ ๒ ไม่รดนา้ และกระถางที่ กิจกรรม - มากกวา่ ๘๐ % ได้ ๓ คะแนน ลาต้น และวดั ความสงู ของต้นพืช) - ๕๐ % - ๗๙ % ได้ ๒ คะแนน ยใชไ้ ม้บรรทัดวดั ต้ังแต่ยอดตรงรอยแยกทม่ี ีใบออกจนถึง - ต่ากวา่ ๕๐ % ได้ ๑ คะแนน

หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ่ี ๑ พืชและสตั ว์ แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ี่ ๑.๒ ปจั จัยที่จำ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์ หน่วยยอ่ ยท่ี ๑ กำรเจริญเต รำยวิชำ ๘.๗ หน่วยทใี่ ชว้ ดั คอื อะไร (เซนติเมตรและมลิ ลิเม ๘.๘ สง่ิ ท่ีต้องตดิ ตามคืออะไร (ความสงู ลกั ษณะข ๘.๙ นกั เรียนจะสงั เกตและวดั ความสงู ของต้นพืชท ๙. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันถอนต้นพืชให้เหล เป็นต้นท่ี ๑, ๒, ๓ และ ๔ สังเกตและชว่ ยกนั วดั ความ และความสูงของต้นพืชในกระถางต่าง ๆ หน้า ๑๘-๒ ข้นั สรุป (๕ นำที) ๑๐. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปว่า เรากาลงั ศึกษาเก่ีย และการดารงชวี ิตของพชื หรือไม่โดยติดตามการเจรญิ เต ลาต้นของพชื ชั่วโมงท่ี ๔ ขน้ั นำ (๕ นำท)ี ๑๑. ครูถามเกี่ยวกบั ตน้ พืชทที่ ดลองไป ๕ วนั วา่ ต้นพืช ตามผลการทดลองของตนเอง) ขัน้ สอน (๔๕ นำที) ๑๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกตและวัดความสูงของ หน้า ๑๘-๒๐ ช่องวันท่สี ิ้นสดุ ๑๓. ครูนาอภปิ รายเพอื่ เช่ือมโยงไปสขู่ ้อสรุปของการ ๑๓.๑ ต้นพชื ในกระถางใบที่ ๒ และ ๓ มีการเจรญิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook