Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระบรมราชาวิธี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

พระบรมราชาวิธี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

Published by Rattanagorn Putiaek, 2021-09-06 04:11:16

Description: พระบรมราชาวิธี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

Search

Read the Text Version

พลต�ำรวจตรี สชุ ำติ เผอื กสกนธ์ นักวทิ ยสุ มคั รเล่น VR009 ย้อนกลับไปกว่า ๔๐ ปี การสื่อสารไม่ได้สะดวกรวดเร็วเช่นทุกวันน้ี พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงสนพระราชหฤทัย ดา้ นการสอ่ื สารมาตงั้ แตท่ รงพระเยาว์ ทรงใหค้ วามส�าคญั เกยี่ วกบั การสอ่ื สารอยา่ งมาก เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารกับประชาชน ตลอดจนการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ ของพสกนิกรชาวไทยที่ประสบภัยพิบัติด้วย ทรงเพียรพยายามคิดค้น วางระบบ การติดตอ่ ระยะไกลร่วมกบั ผเู้ ชยี่ วชาญหลายคนมาอย่างตอ่ เนอื่ ง ราว พ.ศ. ๒๕๒๔ พลตา� รวจตรี สุชาติ เผอื กสกนธ์ ขณะดา� รงต�าแหน่งอธิบดี กรมไปรษณยี โ์ ทรเลข เรม่ิ พบปญั หาของวทิ ยสุ อื่ สาร เนอ่ื งจากมกี ารตรวจพบวา่ มกี ารนา� เขา้ วิทยุสื่อสารจากต่างประเทศและมีการลักลอบใช้กันอย่างผิดกฎหมายมากข้ึนเร่ือย ๆ พลตา� รวจตรี สชุ าติ เผอื กสกนธ์ ซงึ่ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านถวายพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ในดา้ นวทิ ยสุ อ่ื สาร จงึ ไดก้ ราบบงั คมทลู ถงึ ปญั หา ดังกล่าวและขอพระราชทานแนวทางในการบริหารจัดการว่า ถ้าจะน�าประชาชนที่ กา� ลงั ใชว้ ทิ ยสุ อ่ื สารแบบไมถ่ กู กฎหมายมาเขา้ ระบบท�าใหถ้ กู กฎหมายจะสมควรหรอื ไม่ พระองค์ตรสั วา่ “ดสี ิ เขาเหล่านนั้ จะได้มคี วามภูมใิ จ” จากนั้นกรมไปรษณีย์โทรเลขจึงได้ริเริ่มก่อตั้ง “ชมรมวิทยุอาสาสมัคร” (Volunteer Radio อักษรยอ่ VR) ขึ้น โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื เปน็ โครงการน�าร่องให้ ทางราชการได้เห็นประโยชน์ในการใช้วิทยุส่ือสารของภาคประชาชน มีการจัดสอบ ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นข้ันต้น เพ่ือให้ผู้ท่ีสนใจในเร่ืองวิทยุสื่อสารได้ ใชง้ านอยา่ งถกู ตอ้ งตามกฎหมายตง้ั แตน่ นั้ เปน็ ตน้ มา และในโอกาสเดียวกัน กรมไปรษณีย์โทรเลขได้ น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายสัญญาณพระนาม เรียกขานประจ�าพระองค์ทางวิทยุ “VR009” แด่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ซึ่งพระองค์ทรงรับไว้ด้วยความ ยินดีและยังทรงออกอากาศมาสนทนาให้ความรู้ กับนักวทิ ยุสมัครเลน่ อย่บู ่อยครงั้ ในคนื วนั อาทติ ย์ ที่ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ เหล่านักวิทยุสมัครเล่นต่างรวมใจกันถวายพระพร เนือ่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ผา่ นคลืน่ ความถวี่ ทิ ยุ เมอื่ สถานสี ดุ ทา้ ยถวายพระพรเสรจ็ สนิ้ พลต�ารวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์ (รหัสเรียกขาน VR001) จึงได้กล่าวสรุปปิดท้าย เพอ่ื เป็นการเคลยี รค์ ลื่นความถี่ จากนั้นกม็ ีเสียงหนง่ึ ดงั ขน้ึ ในวทิ ยุวา่ “วอี าร์ ๐๐๑ จากวีอาร์ ๐๐๙ ขอขอบใจวอี ารท์ กุ คน” ครง้ั นน้ั เปน็ ครงั้ แรกทน่ี กั วทิ ยสุ อื่ สารสมคั รเลน่ ไดร้ บั ฟงั กระแสพระราชดา� รสั ของ พระองคท์ ่านผา่ นทางวิทยุ น�าความปลาบปล้มื มาสนู่ ักวิทยุสมคั รเล่นทุกคนท่ีไดร้ ับฟงั พระสรุ เสยี งในวนั นน้ั จนถอื เปน็ ประเพณปี ฏบิ ตั ขิ องนกั วทิ ยสุ มคั รเลน่ ทจ่ี ะพรอ้ มใจกนั ถวายพระพรต่อพระองค์ทา่ นผา่ นวิทยุสอ่ื สารในคนื วันท่ี ๕ ธนั วาคมของทุกปี หลังจากนั้น พระองค์ท่านทรงใช้วิทยุในการติดต่อส่ือสารถึงนักวิทยุสมัครเล่น อยเู่ สมอ และพระราชทานพระราชดา� รสั ในโอกาสวนั สอ่ื สารแหง่ ชาติ และวนั ครบรอบ ๑๐๐ ปขี องการสถาปนากรมไปรษณยี ์โทรเลข พ.ศ. ๒๕๒๖ มคี วามว่า 248 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

“การสื่อสารเป็นปัจจัยท่ีส�าคัญย่ิงอย่าง หนงึ่ ในการพฒั นาสรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ กา้ วหนา้ รวมทั้งการรักษาความม่ันคงและปลอดภัยของ ประเทศด้วย ย่ิงในสมัยปัจจุบันท่ีสถานการณ์ ของโลกเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ การติดต่อ สื่อสารท่ีรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ย่อมมีความ ส�าคัญมากเป็นพเิ ศษ. ทกุ ฝ่ายและทกุ หนว่ ยงาน ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสอื่ สารของประเทศ จงึ ควรจะ ได้ร่วมมือกันด�าเนินงานและประสานผลงานกัน อยา่ งใกลช้ ดิ และสอดคลอ้ ง. สา� คญั ทสี่ ดุ ควรจะได้ พยายามศึกษาค้นคว้าวิชาการและเทคโนโลยี อนั ทนั สมยั ใหล้ กึ ซง้ึ และกวา้ งขวาง แลว้ พจิ ารณา เลือกเฟ้นส่วนที่ดี มีประสิทธิภาพแน่นอน มาปรบั ปรงุ ใชด้ ว้ ยความฉลาดรเิ รมิ่ ใหพ้ อเหมาะ พอสมกับฐานะและสภาพของบ้านเมืองของเรา เพื่อให้กิจการสื่อสารของชาติมีโอกาสได้พัฒนา อย่างเต็มที่ และสามารถอ�านวยประโยชน์แก่ การสรา้ งเสรมิ เศรษฐกิจ สงั คม และเสถยี รภาพ ของบา้ นเมอื งไดอ้ ย่างสมบรู ณแ์ ทจ้ รงิ .” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงแนะน�าการใช้ เคร่ืองวิทยุในการเข้าไปช่วยเร่ืองภัยพิบัติต่าง ๆ แกก่ ลมุ่ วทิ ยสุ มคั รเลน่ ดว้ ยพระองคเ์ องอยหู่ ลายครง้ั อย่างเช่นช่วงที่เกิดเหตุวาตภัยท่ีอ�าเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี เม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งมีนักวิทยุ สมัครเล่นต้องการไปช่วยเหลือชาวบ้านได้ติดต่อเข้ามายังศูนย์ควบคุมข่าย “สายลม” เพื่อขอค�าแนะน�าในการเตรียมพร้อม เมอ่ื ความทราบถงึ พระกรรณพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงตดิ ตอ่ เขา้ มาเพอ่ื แนะนา� วธิ ที ถ่ี กู ตอ้ ง แกอ่ าสาสมัครในการออกไปชว่ ยเหลือประชาชน โดยให้น�ารถยนตท์ ี่ตดิ ตั้งเครื่องรับ - สง่ วทิ ยุ เป็นสถานวี ทิ ยุเคลอื่ นทไี่ ปจอดปฏบิ ัตกิ าร ในบริเวณจงั หวัดราชบรุ ี โดยใหพ้ ิจารณาคดั เลือกพ้ืนทีส่ ูง ๆ เพื่อเปน็ สถานทถ่ี า่ ยทอดข้อความการรายงานข่าว นอกจากนั้นพระราชทานค�าแนะน�าก�าชับในเรื่องของแบตเตอร่ีประจ�าเครื่องวิทยุ ต้องมีการเตรียมแบตเตอร่ีส�ารองท่ีมีการ ประจไุ ฟไวใ้ หเ้ ต็ม และการเก็บไว้ในกระเปา๋ สมั ภาระจะตอ้ งท�าการห่อหมุ้ ให้ดีไมใ่ หเ้ กิดการลดั วงจรจากการสัมผสั กบั โลหะ ในความทรงจ�าของนักวิทยุสมัครเล่นทุกคนนั้น พระองค์ท่านทรงเคร่งครัดต่อระเบียบวินัยและใส่ใจรายละเอียดทุกเรื่องมาก ทรงสามารถใช้วิทยุอย่างคล่องแคล่ว ซึ่งคณะกรรมการสมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทยและสมาคมวิทยุอาสาสมัครได้เข้าเฝ้า ทลู ละอองธลุ พี ระบาท ทลู เกลา้ ทลู กระหมอ่ มถวายประกาศนยี บตั รพนกั งานวทิ ยสุ มคั รเลน่ ชนั้ สงู และสญั ญาณเรยี กขานประจา� พระองค์ ในขา่ ยวิทยสุ มัครเลน่ ทพ่ี ระตา� หนกั จติ รลดารโหฐาน เมอ่ื วนั พฤหัสบดี ท่ี ๑๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ ซงึ่ พระองค์ทา่ นไดพ้ ระราชทาน พระราชดา� รัสตอ่ ทกุ คนในวันนนั้ มคี วามตอนหนึง่ ว่า “...ขอขอบใจทา่ นทม่ี าใหพ้ รแลว้ กใ็ หว้ ทิ ยเุ รยี กขาน วทิ ยสุ มคั รเลน่ ซงึ่ คดิ วา่ ปลมื้ มาก เพราะใหน้ กึ ถงึ วา่ ผทู้ ที่ า� การในดา้ นวทิ ยุ สมคั รเลน่ และวทิ ยอุ าสา กไ็ ดม้ กี ารปฏบิ ตั มิ าเปน็ เวลาพอสมควร กค็ งเขา้ ใจถงึ เรอื่ งวทิ ยแุ ละวธิ ที จี่ ะศกึ ษากนั ไดด้ .ี ..นอกจากรจู้ กั หลกั ของวชิ าการและเทคโนโลยใี นการวทิ ยุ กค็ งไดเ้ หน็ เกย่ี วกบั ประโยชนข์ องการสอ่ื สารทมี่ ตี อ่ สงั คมและประเทศชาติ ซงึ่ ผทู้ ดี่ า� เนนิ งาน ในด้านวทิ ยุสอ่ื สารน้ี มีทงั้ ความสามารถความสนุกสนานและสนใจ และมีประโยชน์ในดา้ นสว่ นของตัวเองเปน็ อนั มาก นอกจากนั้น ก็จะไดเ้ หน็ วา่ วทิ ยุสอ่ื สารนี้เปน็ ประโยชน์อย่างไร ในการพัฒนาและรักษาความม่นั คงของประเทศ...” 249

นำยสธุ ี อกั ษรกติ ต์ิ กำรประดิษฐ์สำยอำกำศพระรำชทำน สธุ ี ๑ - สุธี ๔ ในอดตี ระบบการตดิ ตอ่ สอื่ สารนน้ั ท�าไดย้ ากลา� บาก “วทิ ยสุ อ่ื สาร” จงึ ถอื เปน็ สง่ิ เดยี วทช่ี ว่ ยอา� นวยความสะดวกในการสอ่ื สารของเจา้ หนา้ ทใี่ นถน่ิ ทรุ กนั ดารทง้ั ทหาร และต�ารวจตระเวนชายแดน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงใหค้ วามสา� คญั ในการสอ่ื สารเปน็ อยา่ งมาก นายสธุ ี อกั ษรกติ ติ์ เปน็ นกั วทิ ยาศาสตรผ์ มู้ บี ทบาทสา� คญั ในดา้ นวศิ วกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยขี องประเทศไทย และเปน็ ผหู้ นงึ่ ทเ่ี คยปฏบิ ตั งิ านสนองพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร มายาวนานถงึ ๔๖ ปี ถือเป็นช่วงเวลาท่ีมีค่าย่ิงในชีวิตท่ีมีโอกาสได้คิดค้นส่ิงประดิษฐ์อันย่ิงใหญ่ และเกดิ คณุ ปู การเปน็ อยา่ งสงู แกป่ ระเทศชาติ หลังจากเรียนจบปริญญาเอกและท�างานในต่างประเทศอยู่ระยะหนึ่ง นายสุธี อกั ษรกติ ต์ิ ไดเ้ ดนิ ทางกลบั ประเทศไทยและเขา้ รบั ราชการในตา� แหนง่ นายชา่ งตรปี ระจา� กรมการบนิ พาณชิ ย์ ไดร้ บั มอบหมายงานใหค้ ดิ คน้ สายอากาศวทิ ยทุ ส่ี ามารถรบั - สง่ สญั ญาณระยะไกล วันหน่ึงใน พ.ศ. ๒๕๑๓ นายสุธี อักษรกิตต์ิ ได้รับค�าส่ังให้เตรียมตัวไปยัง พระตา� หนกั จติ รลดารโหฐาน โดยไมค่ าดฝนั วา่ กา� ลงั จะไดเ้ ขา้ เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท พระองคท์ า่ นอยา่ งใกลช้ ดิ ในระยะหา่ งไมถ่ งึ เมตร “ผมจา� ไดว้ า่ เขา้ ไปถงึ วงั สวนจติ รลดาในชว่ งเทย่ี ง หลงั จากรบั ประทานมอื้ กลางวนั เสร็จก็เริ่มงานทันที ขณะน้ันผมก�าลังยืนควบคุมผู้ร่วมงานให้ปีนขึ้นเสาส่งสัญญาณ ทตี่ ดิ ตงั้ บนดาดฟา้ อาคาร และทา� งานอยา่ งเรง่ ดว่ นเนอ่ื งจากไมอ่ ยากปฏบิ ตั งิ านในเขต พระราชฐานเป็นเวลานาน ระหว่างน้ันเม่ือหันไปมองด้านหลัง พบว่ามีใครบางคน ยนื อยู่ และทา่ นมลี กั ษณะคลา้ ยกบั ผทู้ เี่ ราคนุ้ เคย... “ซงึ่ ในครง้ั นนั้ กน็ กึ ไมถ่ งึ วา่ จะมโี อกาสไดพ้ บพอ่ ของแผน่ ดนิ ในระยะใกลช้ ดิ มาก จนระลกึ ขน้ึ ไดใ้ นเวลาตอ่ มาวา่ นน่ั คอื ในหลวงของคนไทย พระองคท์ า่ นไมไ่ ดต้ รสั อะไร เพยี งแตท่ อดพระเนตรผมดว้ ยแววตานงิ่ เฉย เมอ่ื ตง้ั สตไิ ดผ้ มรบี นง่ั คกุ เขา่ ลง ซงึ่ พระองค์ กท็ รงนง่ั ลงเชน่ เดยี วกนั กอ่ นจะเปลยี่ นพระราชอริ ยิ าบถนง่ั พบั เพยี บ ซงึ่ ตอนนนั้ ดาดฟา้ ของอาคารเปน็ พนื้ ปนู ทรี่ อ้ นจดั ตวั ผมเองยงั รสู้ กึ รอ้ นจนตาตมุ่ แทบไหม้ แตพ่ ระองคท์ า่ น กลับทรงนั่งด้วยท่าทางเรียบง่าย สงบ ไม่แสดงความร้อนหรือล�าบากพระองค์เลย แมแ้ ตน่ อ้ ย กอ่ นจะทรงซกั ถามเก่ียวกับงานสายอากาศเพ่ือวทิ ยุส่อื สารอย่นู าน ตัง้ แต่ บา่ ย ๓ โมง จนถงึ ๑ ทมุ่ ” ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๑๓ เปน็ ตน้ มา นายสธุ ี อกั ษรกติ ติ์ ไดพ้ ฒั นาสายอากาศวทิ ยสุ อื่ สาร ถวายพระองคท์ า่ น มกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขอยา่ งตอ่ เนอื่ งตามพระราชประสงคท์ พี่ ระองค์ ตรสั ไวอ้ ยา่ งละเอยี ดถงึ ๒๑ ขอ้ และทกุ ครงั้ ทท่ี า� ผดิ ไปจากพระราชประสงคพ์ ระองคก์ ็ ไมเ่ คยตา� หนเิ ลยแมแ้ ตน่ อ้ ย กระทง่ั พ.ศ. ๒๕๑๖ สายอากาศแบบแรกกเ็ สรจ็ สน้ิ ไดร้ บั พระราชทานนามในภายหลงั วา่ “สธุ ี ๑” หลังจากน้ันไม่นาน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร มรี บั สง่ั พรอ้ มกบั แยม้ พระสรวลเลก็ นอ้ ยวา่ หากวทิ ยสุ อื่ สารของพระองค์ สามารถติดต่อจากพระต�าหนักจิตรลดารโหฐานไปยังพระต�าหนักภูพิงคราชนิเวศน์ได้ ก็จะดมี าก ซงึ่ น่นั คอื โจทยค์ รั้งใหม่ทีน่ ักวิทยาศาสตร์อยา่ งนายสธุ ี อักษรกิตติ์ จะต้อง 250 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

คดิ คน้ สมการแหง่ การพฒั นา ทจ่ี ะทา� ใหว้ ทิ ยสุ อื่ สารสามารถสง่ สญั ญาณไดไ้ กลถงึ ๖๐๐ กโิ ลเมตร และการแกโ้ จทยด์ งั กลา่ วนนั้ จา� เปน็ ตอ้ งแลว้ เสรจ็ ภายใน ๒ สปั ดาห์ “โจทย์ดังกล่าวเป็นการสร้างสายอากาศเพ่ือรองรับวิทยุสื่อสารทางไกล ที่ไม่เคยมีมาก่อนในประเทศไทย หรืออาจจะยัง ไม่มีมาก่อนในโลกสมัยนั้น ซึ่งผมแอบคิดอยู่ในใจว่าอาจต้องใช้เวลาคิดและพัฒนาไม่ต�่ากว่า ๒ ปีถึงจะแล้วเสร็จ แต่พระองค์ ตรัสว่า “ปีนี้น�้ามันแพง ฉันจะขับรถไปเชียงใหม่เองจะได้หาทางประหยัดน้�ามัน ระหว่างทางก็จะได้ทดลองไปด้วย และ ฉันจะไปให้ถึงเชียงใหม่ในวันที่ ๒ มกราคม ๒๕๑7” นายสุธี อักษรกิตติ์ ระลึกถึงช่วงเวลา ๒ สัปดาห์น้ันว่าเป็นช่วงที่มีโอกาสพักผ่อนน้อยท่ีสุดในชีวิต เน่ืองจากเร่งมือท�า เสาอากาศ “สุธี ๒” ท่ีต้องท�าถึง ๒ ชุด เพ่ือติดต้ังทั้งท่ีกรุงเทพฯ และเชียงใหม่ได้ทันในระยะเวลาดังกล่าว ก่อนจะต้องพัฒนา สายอากาศ “สุธี ๓” และ “สุธี ๔” อย่างต่อเน่ืองตามพระราชประสงค์ที่ต้องการให้สายอากาศน้ันถูกรบกวนจากภูมิอากาศ ให้น้อยที่สุด สามารถใช้ติดต่อสื่อสารได้แบบไม่ขาดช่วง ไม่มีการจางหายของสัญญาณ จากน้ันในวันศุกร์ ท่ี ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้มีรับสั่งให้นายสุธี อักษรกิตติ์ เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท และเป็นวันเดียวกับท่ีมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเก่ียวกับ สายอากาศ สุธี ๑ - สุธี ๔ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ระบุช่ือของนายสุธี อักษรกิตต์ิ ลงไปใน ช่ือผู้ออกแบบ และระบุว่า “ทรงทดลองได้ผลดีแล้ว” ในความทรงจ�าของนายสุธี อักษรกิตต์ิ ทุกครั้งท่ีปฏิบัติงานถวาย พระองค์ไม่เคยตรัสถึงก�าหนดเสร็จสิ้นในการถวาย ผลงานเลยแมแ้ ตค่ รง้ั เดยี ว แตจ่ ะทรงบอกเปน็ นยั ดว้ ยวธิ อี นื่ เชน่ มรี บั สง่ั ถงึ กา� หนดแปรพระราชฐาน ซง่ึ ประโยคทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ตรัสว่า “เพราะประชาชนรอไม่ได้” ท�าให้นายสุธี อักษรกิตติ์ จดจ�าได้ ไม่มีวันลืม และเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าท�าไมเขาจึงต้องปฏิบัติงานถวายให้เสร็จภายในเวลาอันจ�ากัด เพราะส�าหรับพระองค์แล้ว ความเดือดร้อนของประชาชนถือเป็นเร่ืองเร่งด่วนที่ต้องใช้ทุกวิถีทางในการเร่งแก้ไขปัญหา นอกจากนี้พระองค์ยังสนพระราชหฤทัยในเร่ืองของเทคโนโลยีอื่น ๆ อาทิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม วิทยุ กระจายเสียง วิทยุเคล่ือนท่ี รวมถึงการน�าเทคโนโลยีมาใช้เพื่ออ�านวยความสะดวกในกิจการต่าง ๆ เพื่อผลสัมฤทธิ์ที่ดีย่ิงขึ้น ดว้ ยเหตนุ เ้ี องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร จงึ ทรงเปน็ พระมหากษตั รยิ ท์ ท่ี รงงานหนกั เพ่ือประโยชน์ของประชาชนอย่างแท้จริง และท�าให้ประชาชนได้มีความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน ทรงเป็นแบบอย่างให้ได้เรียนรู้ว่า ทุกคนสามารถท�าสิ่งต่าง ๆ ได้ แม้ไม่ใช่หน้าท่ี แต่ท�าเพ่ือสร้างประโยชน์แก่บุคคลอ่ืน ขณะเดียวกันพระองค์ท่านทรงปฏิบัติ ให้เห็นประจักษ์เร่ืองความเรียบง่ายและส่งเสริมพสกนิกรชาวไทยให้คิดเอง ท�าเอง มากกว่าการพ่ึงพาผู้อื่นเพียงอย่างเดียว 251

พระรำชทำน มงคลนำม



พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช บรมนำถบพิตร มีพระมหำกรุณำธิคุณพระรำชทำน “มงคลนาม” แกก่ ระทรวงคมนำคม ในกจิ กำรทส่ี รำ้ งทำ� สนองพระรำชดำ� รหิ รอื สบื สำนแนวพระรำชดำ� รดิ ำ้ นตำ่ ง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อสำธำรณชนและกำรพัฒนำประเทศ จ�ำแนกตำมลักษณะงำนได้เป็น ๕ ด้ำน คือ ด้ำน กำรขนส่งทำงบก ด้ำนกำรขนส่งทำงน้�ำ ด้ำนกำรขนส่ง ทำงรำง ด้ำนกำรขนส่งทำงอำกำศ ด้ำนกำรสื่อสำร และได้พระรำชทำนมงคลนำมแก่พระพุทธรูปประจ�ำ กระทรวงคมนำคม ท่ีสร้ำงเป็นพระพุทธำนุสรณ์ ในโอกำสพระรำชพธิ กี ำญจนำภเิ ษก ๙ มถิ นุ ำยน ๒๕๓๙ และในโอกำสสถำปนำกระทรวงคมนำคมครบ ๘๔ ปี อีกด้วย 254 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

255

มงคลนำมกจิ กำรดำ้ นกำรขนสง่ ทำงบก ถนนนำมพระรำชทำน (๑) ถนนรัชดำภิเษก (๒) ถนนกำญจนำภเิ ษก ถนนวงแหวนรอบในของกรงุ เทพมหานคร สรา้ งขน้ึ ทางหลวงหมายเลข ๙ เป็นถนนวงแหวนรอบนอก เพื่อแก้ปัญหาการจราจรตามแนวพระราชด�าริ และ ของกรุงเทพมหานครเพ่ือแก้ปัญหาการจราจรติดขัดในเขต ถวายเป็นพระบรมราชานุสรณ์ ในโอกาสพระราชพิธี กรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามพระราชด�าริ เป็นคู่กับถนน รชั ดาภเิ ษก ฉลองสิริราชสมบัตคิ รบ ๒๕ ปี ๙ มถิ ุนายน รชั ดาภเิ ษก และเพอ่ื เปน็ ทางเลย่ี งเมอื งกรงุ เทพมหานครทเ่ี ชอ่ื มกบั ๒๕๑๔ ความยาว ๔๕ กิโลเมตร พระราชทานพระบรม- ทางสายหลักออกสู่ทุกภาค จัดเข้าเป็นระบบทางหลวงพิเศษ ราชานุญาตใหใ้ ชน้ าม “ถนนรัชดาภิเษก” เม่ือวันองั คาร ระหว่างเมือง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้กระทรวง ท่ี ๘ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๑๔ คมนาคมอญั เชญิ ชอ่ื พระราชพธิ กี าญจนาภเิ ษก ฉลองสริ ริ าชสมบตั ิ ครบ ๕๐ ปี ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๓๙ เปน็ นาม “ถนนกาญจนาภเิ ษก” ได้เมือ่ วนั ศุกร์ ท่ี ๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๙ 256 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

๒ ๑๓ ๔ ๑. ถนนรัชดาภเิ ษก ๒. ถนนกาญจนาภเิ ษก ๓. ถนนบรมราชชนนี ๔. ถนนสริ นิ ธร (๓) ถนนบรมรำชชนนี (๔) ถนนสริ ินธร ทางหลวงหมายเลข ๓๓๘ เส้นทางบางกอกน้อย - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๔๑ เสน้ ทางสะพาน นครชัยศรี สร้างข้ึนเพ่ือบรรเทาการจราจรที่แออัดในเขต กรงุ ธน - ตลง่ิ ชนั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม กรุงเทพมหานคร และเพ่ือให้ประชาชนได้รับความสะดวก พระราชทานนามว่า “ถนนสิรินธร” เม่ือวันจันทร์ ท่ี ในการเดินทางสู่จังหวัดปริมณฑลโดยรอบกรุงเทพมหานครและ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จ จังหวัดต่าง ๆ ในภาคใต้และภาคตะวันตกมากยิ่งข้ึน ทรง พระเทพรตั นราชสดุ า เจา้ ฟา้ มหาจกั รสี ิรินธร สยามบรม- พระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามว่า ราชกุมารี “ถนนบรมราชชนน”ี เมอื่ วนั จนั ทร์ ที่ ๒๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ เพื่อเฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 25๗

๖ ๕7 ๕. ถนนมหิดล ๖. ถนนนราธวิ าสราชนครินทร์ ๗. ถนนเฉลิมพระเกยี รติ ๗ รอบ พระชนมพรรษา (๕) ถนนมหดิ ล (๗) ถนนเฉลมิ พระเกยี รติ ๗ รอบ พระชนมพรรษำ ถนนในตา� บลศาลายา อา� เภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม ถนนสาย จ ๑ ผังเมืองรวมเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ทรง ซ่ึงสร้างผ่านมหาวิทยาลัยมหิดล ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า พระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามว่า “ถนน โปรดกระหมอ่ มพระราชทานนามวา่ “ถนนมหดิ ล” เมอื่ วนั องั คาร เฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา” เมื่อวันพฤหัสบดี ท่ี ๘ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๕ เพ่ือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ พร้อมทั้งมีพระบรมราชานุญาตให้เชิญ พระมหิตลาธิเบศร อดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ตราสญั ลกั ษณง์ านเฉลมิ พระเกยี รตเิ นอื่ งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคล เฉลมิ พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๔ มาประดษิ ฐาน (๖) ถนนนรำธิวำสรำชนครินทร์ ถนนเลียบคลองช่องนนทรี ช่วงจากถนนสุรวงศ์ถึงถนน พระราม ๓ ซง่ึ เลียบแมน่ �า้ เจ้าพระยา ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมพระราชทานนามว่า “ถนนนราธิวาสราช- นครินทร์” เมื่อวันอาทิตย์ ที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ เพื่อ เทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์ 258 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

๑ ๒๓ ๑. สะพานพระราม ๙ ๒. สะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ๓. สะพานเอกาทศรถ สะพำนนำมพระรำชทำน (๑) สะพำนพระรำม ๙ (๓) สะพำนเอกำทศรถ สะพานขา้ มแมน่ า�้ เจา้ พระยาอนั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของทางพเิ ศษเฉลมิ มหานคร สาย สะพานขา้ มแมน่ า้� นา่ น จงั หวดั พษิ ณโุ ลก บน ดาวคะนอง - ทา่ เรอื เชอื่ มระหวา่ งเขตยานนาวากบั เขตราษฎรบ์ รู ณะ กรงุ เทพมหานคร ทางหลวงหมายเลข ๓๐๙ ปลายถนนนเรศวร ทรง สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทาน บรมนาถบพิตร ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ นามว่า “สะพานเอกาทศรถ” เมอ่ื วันศกุ ร์ ที่ ๒๘ ๕ ธนั วาคม ๒๕๓๐ เปน็ สะพานขงึ แหง่ แรกของประเทศไทย ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๓ เพื่อเป็นอนุสรณ์เทิด โปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “สะพานพระราม ๙” เมือ่ วันพฤหสั บดี ท่ี ๑ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเอกาทศรถ พระมหากษตั รยิ ์ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่เคยเสด็จมาประทับ ณ เมืองพิษณุโลก สร้างคู่ขนานกับสะพานสมเด็จ (๒) สะพำนสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช พระนเรศวรมหาราชทม่ี มี าแตเ่ ดมิ อยดู่ า้ นทศิ เหนอื สะพานข้ามแม่น�้าปา่ สกั จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ขนาบข้างสะพานปรีดีธ�ารง เช่ือมระหว่างถนนโรจนะ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๓๐๓๕) กับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๓๐๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามว่า “สะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” เม่ือวันพุธ ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๓ เพ่ือเป็นอนุสรณ์เทิดพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผู้ทรงกอบกู้อิสรภาพ ชาวสยามจากหงสาวดี 259

(๔) สะพำนจลุ จอมเกลำ้ และสะพำนจลุ จอมเกล้ำ ๒ ๔ ๕ สะพานข้ามแม่น้�าตาปี อ�าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทานนามวา่ “สะพาน ๖ จุลจอมเกล้า” เม่ือวันพุธ ท่ี ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๔ เพ่ือเทิด พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาสะพาน 7 จุลจอมเกล้าแห่งน้ีเริ่มมีสภาพช�ารุด กรมทางหลวงจึงได้สร้างสะพาน คู่ขนานสะพานเดิมอีก ๑ สะพาน และได้รับพระราชทานพระบรม- ๘ ราชานญุ าตเม่ือวันศุกร์ ท่ี ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๓ ใหใ้ ช้นามสะพาน ๔. สะพานจุลจอมเกลา้ แหง่ ใหม่น้ีวา่ “สะพานจลุ จอมเกลา้ ๒” ๕. สะพานพระราม ๕ ๖. สะพานพระราม ๔ (๕) สะพำนพระรำม ๕ ๗. สะพานกาญจนาภิเษก ๘. สะพานพระน่งั เกล้า ๒ สะพานข้ามแม่น้�าเจ้าพระยาบริเวณวัดนครอินทร์ อ�าเภอ เมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ในถนนแนวตะวันออก - ตะวันตก เช่ือมต่อถนนติวานนท์ - เพชรเกษม - รัตนาธิเบศร์ ลักษณะเป็น สะพานคู่ขนาน มีขนาด ๖ ช่องจราจร ความยาวสะพานพร้อมเชิงลาด รวมท้ังสิ้น ๙๓๙ เมตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามวา่ “สะพานพระราม ๕” เมอื่ วนั อาทติ ย์ ท่ี ๑๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (๖) สะพำนพระรำม ๔ สะพานข้ามแม่น�้าเจ้าพระยาบริเวณห้าแยกปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามว่า “สะพานพระราม ๔” เม่ือวันพฤหัสบดี ท่ี ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ เพ่ือเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (๗) สะพำนกำญจนำภิเษก สะพานขึงข้ามแม่น้�าเจ้าพระยาระหว่างท้องท่ีต�าบลบางจาก เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง กับต�าบลบางหัวเสือ เขตเทศบาลเมือง ปเู่ จา้ สมงิ พราย อา� เภอพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของถนนกาญจนาภิเษก ทางหลวงพิเศษหมายเลข ๙ ช่วงทางพิเศษ สายบางพลี-สุขสวัสด์ิ ลักษณะการก่อสร้างเป็นสะพานขึงระนาบคู่ ขนาด ๖ ช่องจราจร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “สะพานกาญจนาภิเษก” เมื่อวันอาทิตย์ ที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เน่ืองในโอกาสพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ๙ มิถุนายน ๒๕๓๙ (๘) สะพำนพระน่งั เกลำ้ ๒ สะพานข้ามแม่น�้าเจ้าพระยาบริเวณแยกถนนรัตนาธิเบศร์ ตัดกับถนนสนามบินน้�า สร้างคู่ขนานกับสะพานพระน่ังเกล้า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามว่า “สะพานพระน่ังเกล้า ๒” เม่ือวันอังคาร ที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒ เ พื่ อ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น่ั ง เ ก ล ้ า เ จ ้ า อ ยู ่ หั ว พระมหาเจษฎาราชเจ้า 260 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

๙ (๙) สะพำนตำกสนิ มหำรำช ๑๐ สะพานข้ามแม่น�้าจันทบุรีบริเวณปากน้�าแหลมสิงห์ จังหวัด จันทบุรี สร้างข้ึนเพ่ือเชื่อมต่อโครงข่ายถนนเลียบชายฝั่งทะเลภาค ๑๑ ตะวนั ออก ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทานนามวา่ “สะพานตากสนิ มหาราช” เมอ่ื วนั องั คาร ที่ ๒๖ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ๑๒ เพอ่ื เทดิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชทเ่ี คยเสดจ็ มาประทบั ๙. สะพานตากสินมหาราช ณ เมืองจนั ทบุรี เพอ่ื กอบกู้อิสรภาพของชาตไิ ทย ๑๐. สะพานภูมิพล ๑ และสะพานภมู พิ ล ๒ ๑๑. สะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์ (๑๐) สะพำนภมู พิ ล ๑ และสะพำนภมู ิพล ๒ ๑๒. สะพานท้าวศรีสนุ ทร สะพานภูมพิ ล ๑ และสะพานภูมพิ ล ๒ เป็นสะพานขงึ ขา้ มแม่นา้� เจ้าพระยาเชื่อมถนนพระรามที่ ๓ กับถนนปู่เจ้าสมิงพรายเข้าด้วยกัน ท�าให้ถนนวงแหวนอุตสาหกรรมเช่ือมถึงกันได้ตลอดเส้นทาง สะพาน ทางทิศเหนือเช่ือมกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรปราการ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทานนามวา่ “สะพาน ภูมิพล ๑” ชื่อภาษาอังกฤษว่า “Bhumibol Bridge 1” สะพาน ทางด้านทิศใต้เช่ือมอ�าเภอพระประแดงกับต�าบลส�าโรงใต้ จังหวัด สมุทรปราการ พระราชทานนามว่า “สะพานภูมิพล ๒” ชื่อภาษา องั กฤษวา่ “Bhumibol Bridge 2” เมอ่ื วนั พฤหัสบดี ที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (๑๑) สะพำนมหำเจษฎำบดนิ ทรำนุสรณ์ สะพานข้ามแม่น�้าเจ้าพระยาบริเวณถนนนนทบุรี ๑ ช่วงคลอง อ้อมนนท์กับถนนท่าน�้านนทบุรี - วัดโบสถ์ดอนพรหม ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามว่า “สะพานมหาเจษฎา- บดินทรานุสรณ์” เมื่อวันพุธ ท่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เ พ่ื อ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น่ั ง เ ก ล ้ า เ จ ้ า อ ยู ่ หั ว พระมหาเจษฎาราชเจ้า (๑๒) สะพำนทำ้ วศรีสุนทร สะพานสร้างทดแทนสะพานสารสินซงึ่ ช�ารดุ เชอ่ื มเกาะภเู ก็ตกบั แผ่นดินใหญ่ มีจุดเร่ิมต้นท่ีบ้านท่าฉัตรไชย ต�าบลไม้ขาว อ�าเภอถลาง จงั หวดั ภเู กต็ ถงึ บา้ นทา่ นนุ่ ต�าบลโคกกลอย อา� เภอตะกวั่ ทงุ่ จงั หวดั พงั งา ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทานนามวา่ “สะพาน ท้าวศรีสุนทร” เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อเชดิ ชเู กยี รตทิ า้ วศรีสนุ ทรและเพ่ือความเปน็ สิริมงคลแกช่ าวภูเกต็ 261

ทำงพิเศษนำมพระรำชทำน การทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้ด�าเนินการ ก่อสรา้ งทางพเิ ศษ ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๕๙ รวม ๖ เส้นทาง และกรมทางหลวงได้บริหารจัดการทาง ยกระดบั (ทางดว่ น) ๑ เสน้ ทาง ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมพระราชทานนามทางพิเศษท้ัง ๗ สาย ดังน้ี (๑) ทำงพเิ ศษเฉลิมมหำนคร ๑ (ระบบทำงด่วนขัน้ ท่ี ๑) ๒ ทางพิเศษสายแรกของประเทศไทย มีจุดเร่ิมต้น ๑. ทางพเิ ศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางดว่ นข้นั ท่ี ๑) ทางด้านทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตกของ ๒. ทางพเิ ศษศรรี ัช (ระบบทางดว่ นข้นั ที่ ๒) กรุงเทพมหานคร ประกอบดว้ ย ๓ เส้นทาง ไดแ้ ก่ สาย ดนิ แดง - ทา่ เรอื สายบางนา - ทา่ เรอื และสายดาวคะนอง - ทา่ เรอื ทง้ั ๓ เสน้ ทางเชอื่ มตอ่ กนั ทท่ี างแยกตา่ งระดบั ทรง พระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทานนามวา่ “ทางพเิ ศษเฉลิมมหานคร” เม่ือวันจันทรท์ ่ี ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๕ เน่ืองในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ๖ เมษายน ๒๕๒๕ ระยะทาง ๒๗.๑ กิโลเมตร (๒) ทำงพิเศษศรรี ชั (ระบบทำงดว่ นขั้นที่ ๒) ทางพิเศษท่ีสร้างขึ้นเพ่ือบรรเทาการจราจรบน ทางพิเศษเฉลิมมหานคร และเพิ่มประสิทธิภาพของ ทางพิเศษในกรุงเทพมหานครให้เป็นโครงข่ายที่สมบูรณ์ ระยะทางรวม ๓๘.๔ กโิ ลเมตร ประกอบดว้ ย ๔ สว่ น ไดแ้ ก่ • ทางพิเศษศรีรัช ส่วน A เริ่มต้นที่ถนน รชั ดาภเิ ษก ผา่ นบรเิ วณแยกตา่ งระดบั พญาไท (โรงกรองนา้� สามเสน) สนิ้ สดุ ทถี่ นนพระราม ๙ • ทางพิเศษศรีรัช ส่วน B เชื่อมต่อส่วน A บรเิ วณทางแยกตา่ งระดบั พญาไท (โรงกรองนา�้ สามเสน) สิ้นสุดแนวสายทางท่ีบริเวณแยก ตา่ งระดบั บางโคล่ • ทางพเิ ศษศรรี ชั สว่ น C เชอ่ื มตอ่ สว่ น A บรเิ วณ ถนนรชั ดาภิเษก สิน้ สุดทถ่ี นนแจง้ วฒั นะ • ทางพเิ ศษศรรี ชั สว่ น D เชอ่ื มตอ่ สว่ น A บรเิ วณ ถนนพระราม ๙ สน้ิ สดุ ที่ถนนศรีนครินทร์ ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล ้ า โ ป ร ด ก ร ะ ห ม ่ อ ม พระราชทานนามวา่ “ทางพิเศษศรรี ัช” มคี วามหมายวา่ “ทางพเิ ศษฉลองสริ ริ าชสมบัต”ิ เม่ือวันพฤหัสบดี ท่ี ๒๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เนอื่ งในโอกาสพระราชพธิ กี าญจนา- ภเิ ษก ฉลองสิริราชสมบตั ิครบ ๕๐ ปี ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๓๙ 262 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

๓๕ ๔ ๖ 7 ๓. ทางพเิ ศษฉลองรชั ๕. ทางพิเศษอดุ รรัถยา ๗. ทางพเิ ศษอตุ ราภมิ ขุ ๔. ทางพิเศษบรู พาวถิ ี ๖. ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (๓) ทำงพิเศษฉลองรัช (๕) ทำงพเิ ศษอดุ รรัถยำ ทางพเิ ศษชว่ งรามอนิ ทรา - อาจณรงค์ สรา้ งขนึ้ ทางพิเศษช่วงบางปะอิน-ปากเกร็ด สร้างเพ่ือรองรับการแข่งขันเอเชียนเกมส์ เพื่อแบ่งเบาการจราจรบนถนนรามอินทรา ครั้งที่ ๑๓ และเพ่ือให้ระบบทางพิเศษในตอนบนของกรุงเทพมหานครสมบูรณ์ขึ้น และทางพิเศษเฉลิมมหานคร ระยะทาง ๒๘.๒ ระยะทาง ๓๒ กโิ ลเมตร ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มพระราชทานนาม กโิ ลเมตร ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ว่า “ทางพิเศษอุดรรัถยา” มีความหมายว่า “ทางไปทิศเหนือ” เม่ือวันศุกร์ ท่ี ๔ พระราชทานนามว่า “ทางพิเศษฉลองรัช” มี สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ เน่ืองในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ความหมายว่า “ทางพิเศษฉลองสิริราชสมบัติ” ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ เมื่อวันพฤหัสบดี ท่ี ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ฉลอง (๖) ทำงพเิ ศษกำญจนำภิเษก สิรริ าชสมบัตคิ รบ ๕๐ ปี ๙ มิถนุ ายน ๒๕๓๙ ทางพิเศษช่วงบางพลี - สขุ สวัสด์ิ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของถนนกาญจนาภิเษก อนั เป็น (๔) ทำงพิเศษบรู พำวิถี ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ระยะทาง ๒๒.๕ กิโลเมตร ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ใช้นามของถนนกาญจนาภิเษกมาเป็นนามเรียกของ ทางพเิ ศษชว่ งบางนา - ชลบรุ ี สรา้ งขึน้ เพอื่ “ทางพเิ ศษกาญจนาภเิ ษก (บางพลี - สขุ สวสั ด)์ิ ” เมอ่ื วนั ท่ี ๑๓ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เช่ือมการคมนาคมขนส่งระหว่างกรงุ เทพมหานคร กับพ้ืนที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศ (๗) ทำงพเิ ศษอุตรำภมิ ุข ช่วยลดปริมาณการจราจรบนทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๓๔ และนับว่าเป็นทางยกระดับท่ียาว ทางยกระดบั บนถนนวภิ าวดรี ังสติ ช่วงดินแดง - ดอนเมือง - หลักส่ี - อนุสรณ์- ท่ีสุดในโลกจนถึง พ.ศ. ๒๕๕๓ ระยะทาง ๕๕ สถาน - รงั สติ หรอื ดอนเมอื งโทลลเ์ วย์ เพอื่ ชว่ ยใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตวั ดา้ นการจราจรใน กโิ ลเมตร ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม กรุงเทพมหานครมากขึ้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนาม พระราชทานนามว่า “ทางพิเศษบูรพาวิถี” ทางยกระดับนี้ รวมถึงช่วงท่ีจะมีการก่อสร้างเชื่อมต่อในอนาคต ให้เป็นนามเดียวกัน มคี วามหมายวา่ “ทางไปทศิ ตะวนั ออก” เมอื่ วนั ศกุ ร์ ตลอดสายว่า “อุตราภิมุข” อันมีความหมายว่า “บ่ายหน้าไปทางทิศเหนือ” ที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ เนื่องในโอกาส เมอื่ วันพธุ ท่ี ๑๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ พระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๔๒ 263

อำคำรนำมพระรำชทำน อาคารสถานขี นสง่ ผู้โดยสาร จงั หวัดสโุ ขทัยเฉลิมพระเกยี รติ อาคารสถานีขนสง่ ผ้โู ดยสาร จังหวัดพทั ลงุ เฉลิมพระเกยี รติ (๑) อำคำรสถำนขี นสง่ ผู้โดยสำรจงั หวัดสโุ ขทัยเฉลิมพระเกียรติ (๒) อำคำรสถำนีขนส่งผู้โดยสำรจงั หวัดพทั ลุงเฉลิมพระเกยี รติ กรมการขนสง่ ทางบกจัดสร้างสถานขี นสง่ ผูโ้ ดยสาร จังหวัดสโุ ขทยั และจังหวัดพัทลงุ เพื่อจดั ระเบยี บรถโดยสารสาธารณะ และอ�านวยความสะดวกในการเดินทางของประชาชนท้ังภายในจังหวัดและระหว่างจังหวัด เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เน่ืองในโอกาสพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๓๙ พรอ้ มประดษิ ฐานตราสญั ลกั ษณง์ านฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ปี ทปี่ า้ ยชอ่ื อาคาร ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมพระราชทานนามอาคารสถานีขนส่งผู้โดยสารว่า “อาคารสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสุโขทัยเฉลิมพระเกียรติ” เปิดท�าการเมื่อวันอาทิตย์ ที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔ และ “อาคารสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดพัทลุงเฉลิมพระเกียรติ” เปิดทา� การเม่อื วันพฤหัสบดี ท่ี ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ 264 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

(๓) อำคำรสถำนขี นสง่ ผู้โดยสำร จงั หวดั อบุ ลรำชธำนเี ฉลมิ พระเกยี รติ ๖ รอบพระชนมพรรษำ กรมการขนสง่ ทางบกจดั สรา้ งสถานขี นสง่ ผโู้ ดยสาร จังหวัดอุบลราชธานี เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๔๒ พร้อมประดิษฐานตราสัญลกั ษณ์งาน เฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษาท่ีป้ายชอ่ื อาคาร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน นามอาคารสถานีขนส่งผูโ้ ดยสารวา่ “อาคารสถานขี นส่ง ผู้โดยสารจังหวัดอบุ ลราชธานีเฉลิมพระเกยี รติ ๖ รอบ พระชนมพรรษา” เปิดท�าการเม่ือวันอาทิตย์ ที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ สวนสขุ ภำพนำมพระรำชทำน อาคารสถานขี นสง่ ผู้โดยสารจงั หวดั อบุ ลราชธานเี ฉลมิ พระเกยี รติ ๖ รอบพระชนมพรรษา (๑) สวนรำชด�ำริหรรษำประชำรำษฎร์ เฉลมิ พระเกยี รติ ๘๔ พรรษำ สวนสขุ ภาพบรเิ วณพนื้ ทถี่ นนวงแหวนอตุ สาหกรรม (ทางทิศใต้ฝั่งปู่เจ้าสมิงพราย) เฉลิมพระเกียรติเนื่องใน โอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมพระราชทานนามว่า “สวนราชด�าริ หรรษาประชาราษฎร์ เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา” เม่ือวนั พธุ ท่ี ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ สวนราชดา� ริหรรษาประชาราษฎร์ เฉลิมพระเกยี รติ ๘๔ พรรษา 265

มงคลนำม ๑ กิจกำรดำ้ นกำรขนสง่ ทำงน�ำ้ ๒ เรอื นำมพระรำชทำน ๑. เรอื เด่นสทุ ธิ เรือพร้อมอุปกรณ์ขจัดคราบน�้ามันที่รัฐบาลไทยและ รฐั บาลราชอาณาจกั รเดนมารก์ นอ้ มเกลา้ นอ้ มกระหมอ่ มถวายแด่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เนื่องในโอกาสพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ฉลองสิริราชสมบัติ ครบ ๕๐ ปี ๙ มิถุนายน ๒๕๓๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมพระราชทานนามเรือขจัดคราบน�้ามันล�านี้ว่า “เดน่ สุทธ”ิ เมอ่ื วันอังคาร ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๐ ๒. เรอื ชลธำรำนรุ กั ษ์ เรืออเนกประสงคซ์ ่งึ มีขนาดใหญ่กวา่ เรอื เดน่ สทุ ธิ มีหน้าท่ี หลักในการขจัดคราบน้�ามันและช่วยดับเพลิงในบริเวณอ่าวไทย และทะเลอันดามัน การค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัย ทางทะเล ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทาน นามเรอื ลา� นวี้ า่ “ชลธารานรุ กั ษ”์ เมอ่ื วนั องั คาร ท่ี ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ ๓. เรือสำครวิสัย เรอื ฝกึ นกั เรยี นเดนิ เรอื พาณชิ ยล์ า� ที่ ๓ ภายในเรอื ประกอบ ดว้ ยหอ้ งเรยี น หอ้ งจา� ลองการเดนิ เรอื และอปุ กรณท์ ใ่ี ชท้ า� การฝกึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนาม เรือฝึกล�าน้ีว่า “สาครวสิ ยั ” ซ่ึงมีความหมายว่า “ความสามารถ ทางน้�าหรือทางทะเล” เม่ือวันพฤหัสบดี ที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ 266 ๓ ๑. เรอื เดน่ สุทธิ ๒. เรือชลธารานุรกั ษ์ ๓. เรอื สาครวิสัย พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

มงคลนำม กิจกำรดำ้ นกำรขนสง่ ทำงรำง เส้นทำงรถไฟฟ้ำนำมพระรำชทำน ๑ ๒ ๑. เฉลมิ รชั มงคล ๒. ฉลองรัชธรรม (๑) เฉลิมรัชมงคล (๒) ฉลองรชั ธรรม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามเส้นทาง ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล ้ า โ ป ร ด ก ร ะ ห ม ่ อ ม รถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้�าเงิน ระยะแรก ช่วงหัวล�าโพง - ศูนย์การประชุม พระราชทานนามเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง แห่งชาตสิ ิรกิ ติ ิ์ - บางซื่อ วา่ “เฉลิมรัชมงคล” ซึ่งมีความหมายวา่ “เฉลิมฉลอง ช่วงบางใหญ่ - บางซ่ือ ว่า “ฉลองรัชธรรม” ชื่อภาษา ความเป็นมงคลแห่งความเป็นพระราชา” เมื่อวันจันทร์ ที่ ๙ สิงหาคม องั กฤษคอื “Chalong Ratchadham” อนั มคี วามหมาย พ.ศ. ๒๕๔๒ เนอื่ งในโอกาสพระราชพธิ กี าญจนาภเิ ษก ฉลองสิรริ าชสมบตั ิครบ ว่า “เฉลิมฉลองพระราชาท่ีปกครองโดยธรรม” เมื่อ ๕๐ ปี ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๓๙ และเพ่ือเป็นสริ ิมงคลแกก่ ารรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชน วันพฤหัสบดี ที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เน่ืองใน แหง่ ประเทศไทย (ขณะนั้นคือองคก์ ารรถไฟฟา้ มหานคร) โอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๗๐ ปี ๙ มิถุนายน ๒๕๕๙ และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ ต่อมาในวันอาทิตย์ ท่ี ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดพ้ ระราชทาน พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เน่ืองในโอกาส พระบรมราชานุญาตให้ใช้ช่ือเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ เปน็ ภาษาองั กฤษ วา่ Metropolitan Rapid Transit Chaloem Ratcha- ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ mongkhon Line และใชช้ อ่ื ยอ่ วา่ M.R.T. Chaloem Ratchamongkhon Line 26๗

มงคลนำม กิจกำรดำ้ นกำรขนส่งทำงอำกำศ เครื่องบินนำมพระรำชทำน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามเครื่องบิน รบั สง่ ผู้โดยสารของบรษิ ัท การบินไทย จา� กดั (มหาชน) ตลอดรัชสมัย จ�านวน ๑๖๐ ลา� จา� แนกตามประเภทและล�าดับเวลา ดังนี้ เครื่องบินประเภทโบอง้ิ ๗๔๗-๔๐๐ เคร่อื งบนิ ประเภทโบอ้งิ ๗๔๗-๔๐๐ (๑) ชัยปราการ (๖) ศริ ิโสภาคย์ ชอื่ ภาษาอังกฤษวา่ CHAIPRAKARN ชอื่ ภาษาองั กฤษว่า SIRISOBHAKYA เปน็ เครอ่ื งบนิ โดยสารฝูงแรกของบรษิ ัท การบนิ ไทย จา� กัด จ�านวน ๓๘๙ ท่ีนั่ง (14F 50C 325Y) จ�านวน ๓๗๕ ทน่ี ัง่ (10F 40C 325Y) เริม่ ปฏบิ ัตกิ ารเมื่อวันพธุ ที่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๐ เริ่มปฏบิ ตั ิการเมอื่ วนั พฤหสั บดี ที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๓ (7) ดารารัศมี ปจั จบุ นั ไดด้ ัดแปลงเปน็ เครือ่ งบนิ ขนส่งสนิ คา้ ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ DARARASMI (๒) หริภญุ ชยั จา� นวน ๓๘๙ ทีน่ ั่ง (9F 40C 325Y) ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ HARIPHUNCHAI เริ่มปฏิบตั กิ ารเมือ่ วันอังคาร ที่ ๒๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ เปน็ เครื่องบินโดยสารฝูงแรกของบริษัท การบนิ ไทย จา� กดั (๘) พมิ รา จ�านวน ๓๗๕ ท่ีนง่ั (10F 40C 325Y) ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ PHIMARA เริ่มปฏิบัติการเมอ่ื วันพฤหัสบดี ที่ ๒๒ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๓ จา� นวน ๓๗๔ ที่นง่ั (9F 40C 325Y) ปจั จุบนั ได้รบั การดดั แปลงเป็นเครือ่ งบนิ ขนส่งสนิ คา้ เริม่ ปฏิบัตกิ ารเมื่อวนั อังคาร ที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ (๓) บวรรงั สี (๙) ศรสี ุริโยทยั ชื่อภาษาองั กฤษว่า BOWONRANGSI ชื่อภาษาอังกฤษวา่ SRISURIYOTHAI จ�านวน ๓๗๕ ท่ีน่งั (10F 40C 325Y) จา� นวน ๓๗๔ ทนี่ ง่ั (9F 40C 325Y) เรมิ่ ปฏบิ ัตกิ ารเมื่อวนั พธุ ท่ี ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ เร่มิ ปฏบิ ตั กิ ารเมือ่ วันศุกร์ ท่ี ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ (๔) เทพประสทิ ธิ์ (๑๐) ศรสี ชั นาลัย ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า THEPPRASIT ช่ือภาษาองั กฤษว่า SISATCHANALAI จา� นวน ๓๗๕ ทน่ี ง่ั (10F 40C 325Y) จา� นวน ๓๗๔ ทีน่ ัง่ (9F 40C 325Y) เรม่ิ ปฏบิ ัตกิ ารเมื่อวันองั คาร ที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๗ เริ่มปฏิบัติการเมอื่ วนั พุธ ที่ ๒๗ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๔ (๕) วิสุทธกษัตรยี ์ ชื่อภาษาองั กฤษว่า VISUTHAKASATRIYA จา� นวน ๓๘๙ ทน่ี ัง่ (14F 50C 325Y) เริ่มปฏบิ ัติการเม่ือวันจันทร์ ท่ี ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๐ 268 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

(๑๑) ศรอี ุบล (๑๕) เจา้ พระยา ชือ่ ภาษาอังกฤษวา่ SRIUBON ช่อื ภาษาองั กฤษวา่ CHAOPHRAYA จ�านวน ๓๗๔ ทนี่ ง่ั (9F 40C 325Y) จา� นวน ๓๗๕ ท่นี ่งั (10F 40C 325Y) เริ่มปฏิบัตกิ ารเม่ือวนั ศกุ ร์ ท่ี ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๖ เริ่มปฏิบตั กิ ารเมื่อวนั พุธ ที่ ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๕ (๑๒) ปทมุ าวดี (๑๖) ศรีมงคล ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ PATHOOMAWADI ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า SIMONGKHON จ�านวน ๓๗๔ ทนี่ ง่ั (9F 40C 325Y) จา� นวน ๓๗๕ ที่นั่ง (10F 40C 325Y) เริม่ ปฏบิ ัติการเมอ่ื วนั อังคาร ที่ ๔ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๖ เร่มิ ปฏิบัติการเมอ่ื วนั ศกุ ร์ ที่ ๑๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ (๑๓) อลงกรณ์ (๑7) สิริวฒั นา ชื่อภาษาอังกฤษวา่ ALONGKORN ชื่อภาษาอังกฤษว่า SIRIWATTHANA จ�านวน ๓๗๕ ทน่ี ง่ั (10F 40C 325Y) จ�านวน ๓๗๕ ท่นี ง่ั (10F 40C 325Y) เริ่มปฏิบัตกิ ารเมอ่ื วันพฤหัสบดี ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๔ เร่ิมปฏิบตั กิ ารเมื่อวนั อังคาร ท่ี ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘ (๑๔) เทพราช (๑๘) วฒั โนทยั ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า THEPARAT ชื่อภาษาองั กฤษวา่ WATTHANOTHAI จา� นวน ๓๗๕ ที่นงั่ (10F 40C 325Y) จา� นวน ๓๗๕ ทน่ี ง่ั (10F 40C 325Y) เริ่มปฏบิ ตั ิการเมอื่ วันพฤหัสบดี ท่ี ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ เร่ิมปฏิบตั กิ ารเมือ่ วันท่ี ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ 269

เครือ่ งบินประเภทโบองิ้ ๗๗๗-๔๐๐ เครอื่ งบินประเภทโบองิ้ ๗๓๗-๔๐๐ (๖) สรุ นิ ทร์ ช่ือภาษาองั กฤษว่า SURIN (๑) ศรสี ะเกษ จ�านวน ๑๔๙ ที่น่งั (12C 137Y) ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า SISAKET เรม่ิ ปฏิบัติการเมือ่ วันศุกร์ ท่ี ๒๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ จา� นวน ๑๔๙ ท่ีนั่ง (12C 137Y) (7) ลพบรุ ี เรม่ิ ปฏบิ ตั ิการเม่อื วนั พุธ ท่ี ๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ชื่อภาษาองั กฤษวา่ LOPBURI (๒) กาฬสนิ ธุ์ จ�านวน ๑๔๙ ท่ีนงั่ (12C 137Y) ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า KALASIN เรม่ิ ปฏิบตั ิการเม่ือวนั ศกุ ร์ ท่ี ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ จ�านวน ๑๔๙ ทน่ี ั่ง (12C 137Y) (๘) นครชยั ศรี เรมิ่ ปฏบิ ตั กิ ารเมื่อวันองั คาร ท่ี ๒๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๓๖ ชื่อภาษาองั กฤษว่า NAKHON CHAISI (๓) สงขลา จา� นวน ๑๕๙ ที่นั่ง (12C 137Y) ช่ือภาษาองั กฤษวา่ SONGKHLA เร่ิมปฏบิ ัติการเมื่อวันศกุ ร์ ที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๑ จา� นวน ๑๕๙ ที่นงั่ (12C 137Y) (๙) ศรสี รุ าษฎร์ เริ่มปฏบิ ัตกิ ารเมอื่ วนั พฤหัสบดี ที่ ๑๓ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๓๙ ช่ือภาษาองั กฤษวา่ SRI SURAT (๔) ภเู ก็ต จา� นวน ๑๕๙ ทนี่ ง่ั (12C 137Y) ชอื่ ภาษาองั กฤษวา่ PHUKET เริม่ ปฏบิ ัติการเม่อื วันพธุ ที่ ๒๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ จา� นวน ๑๕๙ ทีน่ ง่ั (12C 137Y) ๑๐) ศรกี าญจน์ เริ่มปฏิบัตกิ ารเมื่อวันศุกร์ ที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ชอื่ ภาษาองั กฤษว่า SRIKARN (๕) ชมุ พร จ�านวน ๑๕๙ ทน่ี ง่ั (12C 137Y) ชื่อภาษาองั กฤษว่า CHUMPHON เรมิ่ ปฏบิ ตั กิ ารเมื่อวนั พธุ ท่ี ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ จ�านวน ๑๕๙ ท่ีนงั่ (12C 137Y) เริ่มปฏิบตั กิ ารเมื่อวันพุธ ท่ี ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๙ 2๗0 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

เครื่องบนิ ประเภทโบองิ้ ๗๗๗-๒๐๐ เคร่ืองบินประเภทโบอง้ิ ๗๗๗-๒๐๐ (๑) ล�าพนู เครื่องบนิ ประเภทโบอิง้ ๗๗๗-๒๐๐ อีอาร์ ชือ่ ภาษาอังกฤษวา่ LAMPHUN จา� นวน ๓๐๙ ทีน่ ง่ั (30C 279Y) เครื่องบนิ ประเภทโบอิง้ ๗๗๗-๒๐๐ ออี ำร์ เริ่มปฏบิ ัตกิ ารเม่ือวันอาทิตย์ ที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ (๒) อทุ ัยธานี (๑) นครสวรรค์ ช่อื ภาษาอังกฤษว่า UTHAI THANI ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า NAKHON SAWAN จา� นวน ๓๐๙ ทีน่ ง่ั (30C 279Y) จ�านวน ๒๙๒ ทน่ี ั่ง (30C 279Y) เริ่มปฏบิ ตั ิการเมื่อวันพฤหัสบดี ท่ี ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๙ เริม่ ปฏบิ ตั ิการเมื่อวนั พุธ ที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙ (๓) นครนายก (๒) พระนคร ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า NAKHON NAYOK ช่ือภาษาองั กฤษวา่ PHRA NAKHON จ�านวน ๓๐๙ ทน่ี ั่ง (30C 279Y) จา� นวน ๒๙๒ ที่นั่ง (30C 279Y) เริ่มปฏิบตั กิ ารเมอื่ วันศุกร์ ที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ เริม่ ปฏบิ ัตกิ ารเมอื่ วันพฤหัสบดี ที่ ๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๙ (๔) มุกดาหาร (๓) ปทมุ วนั ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า MUKDAHAN ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า PATHUM WAN จ�านวน ๓๐๙ ทน่ี ั่ง (30C 279Y) จ�านวน ๒๙๒ ทนี่ ั่ง (30C 279Y) เริม่ ปฏิบตั กิ ารเมอ่ื วนั พฤหัสบดี ที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ เรม่ิ ปฏบิ ัติการเมื่อวนั ศกุ ร์ ที่ ๑๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๙ (๕) ปัตตานี (๔) พจิ ิตร ชื่อภาษาองั กฤษวา่ PATTANI ชอื่ ภาษาองั กฤษวา่ PHICHIT จ�านวน ๓๐๙ ที่นง่ั (30C 279Y) จ�านวน ๒๙๒ ทน่ี ง่ั (30C 279Y) เริ่มปฏบิ ตั ิการเมือ่ วนั ศกุ ร์ ที่ ๓๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๐ เรม่ิ ปฏบิ ตั กิ ารเมื่อวันศกุ ร์ ที่ ๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ (๖) สุพรรณบุรี (๕) นครปฐม ชือ่ ภาษาองั กฤษวา่ SUPHAN BURI ชื่อภาษาอังกฤษวา่ NAKHON PATHOM จา� นวน ๓๐๙ ทน่ี ั่ง (30C 279Y) จา� นวน ๒๙๒ ที่น่งั (30C 279Y) เรม่ิ ปฏิบตั กิ ารเมื่อวนั ศุกร์ ที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๑ เริ่มปฏบิ ัตกิ ารเม่ือวนั จนั ทร์ ท่ี ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ (7) ชยั ภมู ิ (๖) เพชรบูรณ์ ชื่อภาษาองั กฤษว่า CHAIYAPHUM ช่ือภาษาองั กฤษว่า PHETCHABUN จา� นวน ๓๐๙ ทน่ี ั่ง (30C 279Y) จา� นวน ๒๙๒ ทีน่ ั่ง (30C 279Y) เรม่ิ ปฏิบตั กิ ารเมอื่ วันเสาร์ ที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ เริ่มปฏิบัติการเมื่อวนั จันทร์ ท่ี ๒๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ (๘) พนมสารคาม ชือ่ ภาษาองั กฤษว่า PHANOM SARAKHAM จ�านวน ๓๐๙ ทน่ี ่ัง (30C 279Y) เริ่มปฏบิ ตั ิการเมอ่ื วันจนั ทร์ ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ 2๗1

เครื่องบนิ ประเภทโบอง้ิ ๗๗๗-๓๐๐ เครื่องบินประเภทโบอง้ิ ๗๗๗-๓๐๐ อีอำร์ (๑) ศรีวรรณา (๑) พิลาวณั ย์ ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า SRIWANNA ชือ่ ภาษาอังกฤษวา่ PHILAVAN จา� นวน ๓๖๔ ที่นัง่ (34C 330Y) จ�านวน ๓๔๘ ท่นี ั่ง (42C 306Y) เรม่ิ ปฏิบตั กิ ารเม่อื วันศกุ ร์ ท่ี ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ เริม่ ปฏบิ ัตกิ ารเม่ือวันพฤหัสบดี ที่ ๒ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ (๒) ชัยนารายณ์ (๒) สนุ ันทา ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า CHAINARAI ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า SUNANDA จ�านวน ๓๖๔ ที่นงั่ (34C 330Y) จา� นวน ๓๔๘ ทีน่ ง่ั (42C 306Y) เริ่มปฏบิ ัตกิ ารเมอื่ วนั พธุ ที่ ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ เรม่ิ ปฏบิ ตั ิการเมอื่ วนั เสาร์ ที่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ (๓) ขวัญเมอื ง (๓) ประภาศรี ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า KWANMUANG ชือ่ ภาษาอังกฤษว่า PHABHASRI จ�านวน ๓๖๔ ทน่ี ่งั (34C 330Y) จ�านวน ๓๔๘ ทน่ี ั่ง (42C 306Y) เรม่ิ ปฏบิ ตั ิการเม่ือวันจนั ทร์ ท่ี ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เรม่ิ ปฏิบัติการเมอ่ื วันพฤหัสบดี ที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๔) เทพาลยั (๔) เมทินีนาถ ชื่อภาษาองั กฤษว่า THEPALAI ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ MEDININAT จา� นวน ๓๖๔ ทน่ี ง่ั (34C 330Y) จ�านวน ๓๔๘ ท่นี ั่ง (42C 306Y) เริม่ ปฏบิ ตั ิการเมอ่ื วันพธุ ที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เรม่ิ ปฏิบตั กิ ารเมือ่ วนั องั คาร ที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ (๕) สคุ ริ ิน (๕) วมิ ลมาศสริ ี ช่อื ภาษาองั กฤษว่า SUKHIRIN ชอื่ ภาษาอังกฤษว่า VIMOLMASSIRI จา� นวน ๓๖๔ ทน่ี ่งั (34C 330Y) จ�านวน ๓๔๘ ทน่ี ั่ง (42C 306Y) เรม่ิ ปฏิบัติการเม่ือวนั องั คาร ท่ี ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ เร่ิมปฏบิ ัติการเม่อื วันพฤหัสบดี ที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ (๖) ละหานทราย (๖) ศรอี มั พร ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ LAHANSAI ชื่อภาษาอังกฤษวา่ SRI-AMPHONRN จ�านวน ๓๖๔ ทีน่ งั่ (34C 330Y) จา� นวน ๓๔๘ ที่นั่ง (42C 306Y) เรมิ่ ปฏบิ ตั ิการเม่อื วันเสาร์ ที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ เรม่ิ ปฏบิ ัติการเม่ือวันศกุ ร์ ที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (7) เขมราฐ เครื่องบนิ ประเภทโบอิ้ง ๗๗๗-๓๐๐ ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ KHEMARAT จา� นวน ๓๔๘ ที่นั่ง (42C 306Y) เริ่มปฏบิ ตั ิการเมอ่ื วันจันทร์ ท่ี ๒๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ 2๗2 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

เครอื่ งบนิ ประเภทโบอิง้ ๗๗๗-๓๐๐ อีอาร์ เครื่องบนิ ประเภทโบอง้ิ ๗๘๗-๘ (๘) หาดใหญ่ เครอื่ งบินประเภทโบอง้ิ ๗๘๗-๘ ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า HAT YAI จ�านวน ๓๔๘ ทีน่ ง่ั (42C 306Y) (๑) องครักษ์ เร่มิ ปฏบิ ัตกิ ารเมื่อวันอังคาร ท่ี ๒๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า ONGKHARAK (๙) อจั ฉราโสภติ จา� นวน ๒๖๔ ทน่ี ง่ั (24C 240Y) ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ ACHARASOBHIT เรม่ิ ปฏิบัตกิ ารเมอื่ วนั พธุ ท่ี ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ จา� นวน ๓๔๘ ที่น่ัง (42C 306Y) (๒) จตุรพักตรพมิ าน เริม่ ปฏบิ ัติการเม่ือวนั องั คาร ที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ชือ่ ภาษาองั กฤษวา่ CHATURAPHAK PHIMAN (๑๐) สจุ ิตรา จา� นวน ๒๖๔ ทน่ี งั่ (24C 240Y) ชื่อภาษาอังกฤษวา่ SUCHITRA เรม่ิ ปฏิบัตกิ ารเมื่อวนั จนั ทร์ ที่ ๑๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗ จา� นวน ๓๔๘ ทน่ี ่ัง (42C 306Y) (๓) ปราณบุรี เริม่ ปฏบิ ตั ิการเมอ่ื วันพฤหสั บดี ที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ชื่อภาษาอังกฤษว่า PRANBURI (๑๑) มุกดาสยาม จ�านวน ๒๖๔ ทน่ี ่ัง (24C 240Y) ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า MUKDASAYAM เริ่มปฏิบัตกิ ารเม่อื วันพธุ ที่ ๒๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ จา� นวน ๓๔๘ ที่นั่ง (42C 306Y) (๔) วาปปี ทุม เริ่มปฏิบตั กิ ารเมอ่ื วันพุธ ที่ ๒๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ชื่อภาษาอังกฤษวา่ WAPI PATHUM (๑๒) สธุ รรมา จ�านวน ๒๖๔ ทน่ี ั่ง (24C 240Y) ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ SUDHARMA เรม่ิ ปฏบิ ัตกิ ารเมื่อวันองั คาร ที่ ๙ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ จา� นวน ๓๔๘ ทน่ี ง่ั (42C 306Y) (๕) โกสุมพสิ ยั เริ่มปฏบิ ตั กิ ารเม่ือวันอังคาร ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ชื่อภาษาองั กฤษว่า KOSUM PHISAI (๑๓) ยุพาผกา จ�านวน ๒๖๔ ท่นี ั่ง (24C 240Y) ช่อื ภาษาองั กฤษวา่ YUBHAPHAKA เริ่มปฏบิ ตั ิการเมอ่ื วนั ศุกร์ ท่ี ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ จ�านวน ๓๔๘ ทนี่ ั่ง (42C 306Y) (๖) กงไกรลาศ เรม่ิ ปฏิบตั กิ ารเม่ือวนั จันทร์ ท่ี ๒๒ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ชื่อภาษาองั กฤษวา่ KONG KRAILAT (๑๔) สลุ าลีวนั จา� นวน ๒๖๔ ทน่ี ัง่ (24C 240Y) ชือ่ ภาษาองั กฤษวา่ SULALIVAN เร่มิ ปฏบิ ัตกิ ารเมอ่ื วนั ศกุ ร์ ท่ี ๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ จา� นวน ๓๔๘ ที่นง่ั (42C 306Y) เรม่ิ ปฏบิ ัตกิ ารเมอ่ื วนั จนั ทร์ ท่ี ๒๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ 2๗3

เครื่องบินประเภทแอร์บัส ๓๘๐-๘๐๐ เครือ่ งบินประเภทแอรบ์ สั ๓๒๐-๒๐๐ เคร่อื งบนิ ประเภทแอรบ์ สั ๓๒๐-๒๐๐ (๑) อบุ ลราชธานี ชือ่ ภาษาอังกฤษวา่ UBON RATCHATANI เครอ่ื งบินประเภทแอร์บสั ๓๘๐-๘๐๐ จ�านวน ๑๗๔ ทนี่ ั่ง (174Y) เริ่มปฏิบัตกิ ารเมื่อวันศุกร์ ที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ (๑) ศรรี ัตนะ (๒) นครพนม ชื่อภาษาองั กฤษวา่ SI RATTANA ชื่อภาษาองั กฤษว่า NAKHON PANOM จ�านวน ๕๐๗ ที่น่ัง (12F 60C 435Y) จ�านวน ๑๗๔ ท่ีน่ัง (174Y) เริ่มปฏบิ ัตกิ ารเมอื่ วันพุธ ที่ ๒๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ เรม่ิ ปฏบิ ัตกิ ารเมื่อวนั พธุ ท่ี ๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ (๒) มญั จาครี ี (๓) หนองบัวล�าพู ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ MANCHA KHIRI ช่อื ภาษาองั กฤษวา่ NONG BUA LAM PHU จา� นวน ๕๐๗ ทน่ี ั่ง (12F 60C 435Y) จา� นวน ๑๗๔ ท่ีนั่ง (174Y) เร่มิ ปฏิบตั ิการเมือ่ วันพุธ ที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ เริม่ ปฏิบตั กิ ารเมือ่ วนั ศกุ ร์ ที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ (๓) ไชยา (๔) สิงห์บรุ ี ชื่อภาษาองั กฤษว่า CHAIYA ชื่อภาษาอังกฤษว่า SING BURI จา� นวน ๕๐๗ ทนี่ ั่ง (12F 60C 435Y) จา� นวน ๑๗๔ ที่นั่ง (174Y) เร่มิ ปฏบิ ตั กิ ารเมื่อวนั พฤหัสบดี ท่ี ๒๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เริ่มปฏิบตั กิ ารเมอ่ื วันศุกร์ ท่ี ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ (๔) พยุหะคีรี (๕) นครศรีธรรมราช ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า PHAYUHA KHIRI ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ NAKHON SI THAMMARAT จา� นวน ๕๐๗ ทีน่ ั่ง (12F 60C 435Y) จ�านวน ๑๗๔ ที่นัง่ (174Y) เริ่มปฏิบัตกิ ารเมื่อวนั พฤหัสบดี ที่ ๒๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เริ่มปฏิบตั ิการเมื่อวนั พฤหัสบดี ท่ี ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๕) ศรรี าชา (๖) สมุทรสงคราม ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ SI RACHA ชื่อภาษาองั กฤษวา่ SAMUT SONGKHRAM จา� นวน ๕๐๗ ที่นัง่ (12F 60C 435Y) จา� นวน ๑๗๔ ที่นัง่ (174Y) เรม่ิ ปฏิบัตกิ ารเมอ่ื วันอังคาร ที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เริ่มปฏิบตั ิการเมือ่ วันพฤหัสบดี ท่ี ๒๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๖) กมลาไสย (7) ปราจนี บุรี ช่อื ภาษาองั กฤษว่า KAMALASAI ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ PRACHIN BURI จา� นวน ๕๐๗ ที่น่ัง (12F 60C 435Y) จา� นวน ๑๖๘ ทนี่ ั่ง (168Y) เริ่มปฏบิ ตั กิ ารเมื่อวนั องั คาร ท่ี ๒๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เริ่มปฏบิ ัตกิ ารเมื่อวนั พธุ ที่ ๒๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๘) สตลู ชือ่ ภาษาองั กฤษว่า SATUN จ�านวน ๑๖๘ ท่นี งั่ (168Y) เรม่ิ ปฏิบัติการเมื่อวนั อังคาร ท่ี ๒๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๙) อ่างทอง ชื่อภาษาองั กฤษวา่ ANG THONG จ�านวน ๑๖๘ ที่นง่ั (168Y) เริ่มปฏิบัตกิ ารเมือ่ วันอังคาร ท่ี ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ 2๗4 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

เครอ่ื งบนิ ประเภทแอร์บัส ๓๘๐ (๑๖) พระนครศรอี ยุธยา ชอื่ ภาษาองั กฤษวา่ PHRA NAKHON SI AYUTTAHAYA (๑๐) ระนอง จ�านวน ๑๖๘ ทน่ี ่งั (168Y) ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า RANONG เริ่มปฏิบตั กิ ารเมอ่ื วันพฤหสั บดี ท่ี ๑๖ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ จ�านวน ๑๖๘ ทีน่ ั่ง (168Y) (๑7) ตราด เรม่ิ ปฏิบัติการเม่ือวันพุธ ท่ี ๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า TRAT (๑๑) หนองคาย จา� นวน ๑๖๘ ทนี่ ง่ั (168Y) ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า NONG KHAI เริ่มปฏิบัติการเมอ่ื วนั พธุ ท่ี ๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ จา� นวน ๑๖๘ ทนี่ ง่ั (168Y) (๑๘) รอ้ ยเอ็ด เรม่ิ ปฏิบัตกิ ารเมอ่ื วนั ศกุ ร์ ท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ชอื่ ภาษาอังกฤษว่า ROI ET (๑๒) กรงุ เทพมหานคร จา� นวน ๑๖๘ ที่น่ัง (168Y) ชื่อภาษาองั กฤษวา่ KRUNG THEP MAHA NAKHON เริ่มปฏิบตั ิการเมื่อวนั อังคาร ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ จา� นวน ๑๖๘ ที่นง่ั (168Y) (๑๙) ขอนแกน่ เร่ิมปฏบิ ตั กิ ารเมอื่ วนั องั คารที่ ๑๘ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ ชื่อภาษาอังกฤษวา่ KHON KAEN (๑๓) อุดรธานี จ�านวน ๑๖๘ ท่ีนั่ง (168Y) ชื่อภาษาอังกฤษว่า UDON THANI เร่มิ ปฏบิ ตั กิ ารเม่อื วนั พฤหัสบดี ที่ ๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๘ จา� นวน ๑๖๘ ที่นั่ง (168Y) (๒๐) ฉะเชงิ เทรา เริ่มปฏบิ ัติการเมอ่ื วันองั คาร ที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ช่อื ภาษาอังกฤษว่า CHACHOENGSAO (๑๔) นครราชสมี า จา� นวน ๑๖๘ ท่ีน่ัง (168Y) ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ NAKHON RATCHASIMA เร่ิมปฏิบัติการเมอื่ วันพฤหัสบดี ที่ ๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๘ จ�านวน ๑๖๘ ที่นั่ง (168Y) เรม่ิ ปฏิบตั กิ ารเม่อื วันศุกร์ ที่ ๒๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๗ 2๗5 (๑๕) สุราษฎรธ์ านี ชอื่ ภาษาองั กฤษวา่ SURAT THANI จ�านวน ๑๖๘ ที่นั่ง (168Y) เร่มิ ปฏบิ ตั ิการเมอ่ื วนั ศุกร์ ท่ี ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

เครอื่ งบินประเภทแอรบ์ ัส ๓๓๐-๓๐๐ เคร่อื งบินประเภทแอรบ์ สั ๓๓๐-๓๐๐ (๖) สดุ าวดี ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ SUDAWADI (๑) ศรสี าคร จา� นวน ๓๐๕ ทีน่ ั่ง (42C 263Y) ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า SI SAKHON เร่ิมปฏิบัตกิ ารเมื่อวันพุธ ที่ ๒๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ จ�านวน ๓๐๕ ที่นง่ั (42C 263Y) (7) เทพามาตย์ เรม่ิ ปฏบิ ัตกิ ารเมื่อวนั อาทิตย์ ท่ี ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ชื่อภาษาอังกฤษวา่ THEPAMART (๒) บางระจัน จา� นวน ๓๐๕ ท่นี งั่ (42C 263Y) ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า BANG RACHAN เรมิ่ ปฏิบัติการเมื่อวันพธุ ที่ ๒๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๑ จ�านวน ๓๐๕ ทนี่ ั่ง (42C 263Y) (๘) จิรประภา เริ่มปฏิบัตกิ ารเมอื่ วันพธุ ที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ช่ือภาษาองั กฤษวา่ JIRAPRABHA (๓) มโนรมย์ จา� นวน ๓๐๕ ที่นงั่ (42C 263Y) ชื่อภาษาองั กฤษว่า MANOROM เริ่มปฏิบัตกิ ารเม่อื วนั พธุ ที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ จา� นวน ๓๐๕ ที่นัง่ (42C 263Y) (๙) สชุ าดา เริม่ ปฏบิ ัตกิ ารเมอื่ วันศกุ ร์ ท่ี ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ช่ือภาษาองั กฤษว่า SUCHADA (๔) ล�าปลายมาศ จา� นวน ๒๙๙ ท่นี ั่ง (36C 263Y) ชอื่ ภาษาอังกฤษวา่ LAM PLAI MAT เร่มิ ปฏิบตั กิ ารเม่อื วนั พุธ ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ จา� นวน ๓๐๕ ท่นี ง่ั (42C 263Y) (๑๐) จฑุ ามาศ เรม่ิ ปฏบิ ตั กิ ารเมอ่ื วันพฤหัสบดี ที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ชื่อภาษาอังกฤษวา่ CHUTAMAT (๕) สายบุรี จ�านวน ๒๙๙ ทน่ี ง่ั (36C 263Y) ชื่อภาษาองั กฤษว่า SAI BURI เรม่ิ ปฏิบตั ิการเมื่อวนั พฤหสั บดี ท่ี ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ จา� นวน ๓๐๕ ทนี่ ่ัง (42C 263Y) เรมิ่ ปฏบิ ตั กิ ารเมือ่ วันพุธ ท่ี ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ 2๗6 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

(๑๑) ศรีอโนชา (๒๐) พะเยา ชื่อภาษาองั กฤษวา่ SRIANOCHA ชื่อภาษาอังกฤษวา่ PHAYAO จ�านวน ๒๙๙ ที่นัง่ (36C 263Y) จา� นวน ๒๙๙ ทน่ี ัง่ (36C 263Y) เริ่มปฏบิ ัติการเมื่อวนั จนั ทร์ ท่ี ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เริ่มปฏบิ ตั ิการเมื่อวนั องั คาร ที่ ๑๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ (๑๒) ศรอี ยธุ ยา (๒๑) สกลนคร ช่อื ภาษาอังกฤษว่า SI AYUTTHAYA ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ SAKON NAKHON จ�านวน ๒๙๙ ทน่ี ง่ั (36C 263Y) จ�านวน ๒๙๙ ทนี่ ั่ง (36C 263Y) เรมิ่ ปฏบิ ตั กิ ารเมื่อวนั พธุ ที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เรมิ่ ปฏบิ ัติการเม่ือวันศุกร์ ท่ี ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ (๑๓) อูท่ อง (๒๒) สระแกว้ ชื่อภาษาองั กฤษว่า U THONG ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ SA KAEO จ�านวน ๒๙๙ ที่นั่ง (36C 263Y) จา� นวน ๒๙๙ ทน่ี ่ัง (36C 263Y) เร่ิมปฏิบัตกิ ารเมื่อวนั พุธ ที่ ๒๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เริ่มปฏิบตั ิการเมอ่ื วนั พธุ ที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ (๑๔) สโุ ขทยั (๒๓) สมุทรปราการ ชือ่ ภาษาอังกฤษวา่ SUKHOTHAI ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า SAMUT PRAKAN จา� นวน ๒๙๙ ทนี่ ั่ง (36C 263Y) จา� นวน ๒๙๙ ที่นั่ง (36C 263Y) เรม่ิ ปฏบิ ตั กิ ารเมือ่ วันพธุ ท่ี ๒๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เรม่ิ ปฏิบัตกิ ารเมอื่ วนั จนั ทร์ ท่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ (๑๕) ครี ีมาศ (๒๔) ดอนเจดีย์ ชื่อภาษาองั กฤษว่า KIRIMAS ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า DON CHEDI จ�านวน ๒๙๙ ที่น่งั (36C 263Y) จา� นวน ๓๐๖ ทน่ี ง่ั (42C 263Y) เรม่ิ ปฏิบตั กิ ารเม่อื วนั จนั ทร์ ท่ี ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เรม่ิ ปฏบิ ัติการเมื่อวนั ศกุ ร์ ที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๘ (๑๖) ชัยบรุ ี (๒๕) กสุ มุ าลย์ ชือ่ ภาษาอังกฤษวา่ CHAIBURI ชอื่ ภาษาอังกฤษวา่ KUSUMAN จ�านวน ๒๙๙ ทน่ี ง่ั (36C 263Y) จา� นวน ๓๐๖ ทนี่ ั่ง (42C 263Y) เรมิ่ ปฏบิ ัตกิ ารเมอ่ื วนั จันทร์ ที่ ๒๙ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เร่มิ ปฏบิ ตั ิการเมื่อวนั องั คาร ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๘ (๑7) อ�านาจเจริญ (๒๖) ส่องดาว ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ AMNAT CHAROEN ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า SONG DAO จ�านวน ๒๙๙ ทีน่ ่ัง (36C 263Y) จ�านวน ๓๐๖ ท่นี ัง่ (42C 263Y) เรมิ่ ปฏบิ ัตกิ ารเมอ่ื วันพุธ ท่ี ๑๖ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เริ่มปฏิบัติการเมื่อวันศุกร์ ที่ ๒๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๘ (๑๘) แพร่ (๒7) ศรจี ฬุ าลักษณ์ ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ PHRAE ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ SRICHULALAK จา� นวน ๒๙๙ ที่นง่ั (36C 263Y) จ�านวน ๓๐๖ ทน่ี ง่ั (42C 263Y) เรมิ่ ปฏบิ ัตกิ ารเมอ่ื วันองั คาร ท่ี ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เริ่มปฏบิ ัตกิ ารเม่อื วนั พุธ ท่ี ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ (๑๙) กาญจนบุรี ชื่อภาษาองั กฤษว่า KANCHANABURI จา� นวน ๒๙๙ ทน่ี ง่ั (36C 263Y) เริม่ ปฏบิ ตั ิการเมื่อวนั พฤหัสบดี ที่ ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ 2๗๗

เครือ่ งบนิ ประเภทแอร์บัส ๓๔๐-๕๐๐ เคร่ืองบนิ ประเภทแอร์บสั ๓๔๐-๕๐๐ เคร่อื งบินประเภทแอรบ์ สั ๓๔๐-๖๐๐ (๑) เชยี งค�า (๑) วฒั นานคร ช่ือภาษาอังกฤษวา่ CHIANG KHAM ชื่อภาษาอังกฤษวา่ WATTHANA NAKHON จา� นวน ๒๑๕ ท่ีนั่ง (60C 42Y 113B*) จา� นวน ๒๖๗ ทน่ี ่งั (8F 60C 199Y) ปฏบิ ัตกิ ารเมื่อวันพธุ ที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ เริ่มปฏิบตั ิการเมื่อวันพุธ ที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๘ (๒) อตุ รดติ ถ์ (๒) สระบรุ ี ช่ือภาษาอังกฤษวา่ UTTARADIT ชอื่ ภาษาองั กฤษว่า SARABURI จ�านวน ๒๑๕ ทน่ี ง่ั (60C 42Y 113B*) จา� นวน ๒๖๗ ทนี่ ั่ง (8F 60C 199Y) ปฏบิ ตั กิ ารเมือ่ วนั ศุกร์ ท่ี ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ เริ่มปฏิบตั ิการเมือ่ วันองั คาร ที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ (๓) พิษณุโลก (๓) ชลบรุ ี ช่ือภาษาองั กฤษวา่ PHITSANULOK ชือ่ ภาษาองั กฤษวา่ CHONBURI จ�านวน ๒๑๕ ทีน่ ง่ั (60C 42Y 113B*) จ�านวน ๒๖๗ ที่นง่ั (8F 60C 199Y) เรมิ่ ปฏบิ ตั ิการเมื่อวันองั คาร ที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เรม่ิ ปฏิบตั ิการเมื่อวันพุธ ที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ (๔) เพชรบรุ ี หมายเหตุ * เครื่องปลดระวาง รอการขาย ช่อื ภาษาอังกฤษว่า PHETCHABURI จา� นวน ๒๖๗ ทน่ี ั่ง (8F 60C 199Y) เริม่ ปฏบิ ตั ิการเมือ่ วนั จนั ทร์ ท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๘ (๕) นนทบรุ ี ช่ือภาษาองั กฤษวา่ NONTHABURI จา� นวน ๒๖๗ ท่นี ง่ั (8F 60C 199Y) เร่ิมปฏบิ ัตกิ ารเมอ่ื วนั ศุกร์ ที่ ๙ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ 2๗8 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

เครื่องบินประเภทแอร์บัส ๓๐๐-๖๐๐ (๑๐) พญาไท ชื่อภาษาอังกฤษว่า PHAYA THAI (๑) สุวรรณภูมิ จ�านวน ๒๔๗ ท่ีน่ัง (46C 201Y) ชื่อภาษาอังกฤษว่า SUWANNAPHUM เร่ิมปฏิบัติการเมื่อวันอังคาร ท่ี ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ จ�านวน ๒๖๐ ที่นั่ง (28C 232Y) (๑๑) ศรีตรัง เร่ิมปฏิบัติการเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ชื่อภาษาอังกฤษว่า SRITRANG (๒) ราชสมี า จ�านวน ๒๔๗ ที่น่ัง (46C 201Y) ชื่อภาษาอังกฤษว่า RATCHASIMA เริ่มปฏิบัติการเมื่อวันเสาร์ ท่ี ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๓ จ�านวน ๒๖๐ ท่ีน่ัง (28C 232Y) (๑๒) เชียงใหม่ เริ่มปฏิบัติการเม่ือวันพฤหัสบดี ท่ี ๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ ชื่อภาษาอังกฤษว่า CHIANG MAI (๓) ศรเี มอื ง จ�านวน ๒๔๗ ที่น่ัง (46C 201Y) ช่ือภาษาอังกฤษว่า SRIMUANG เริ่มปฏิบัติการเมื่อวันอังคาร ที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ จ�านวน ๒๖๐ ท่ีน่ัง (28C 232Y) (๑๓) เชียงราย เริ่มปฏิบัติการเม่ือวันพฤหัสบดี ที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ ช่ือภาษาอังกฤษว่า CHIANG RAI (๔) สรุ นารี จ�านวน ๒๔๗ ที่น่ัง (46C 201Y) ช่ือภาษาอังกฤษว่า SURANAREE เริ่มปฏิบัติการเม่ือวันอังคาร ที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ จ�านวน ๒๖๐ ที่น่ัง (28C 232Y) (๑๔) จนั ทบุรี เริ่มปฏิบัติการเมื่อวันอังคาร ท่ี ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ ช่ือภาษาอังกฤษว่า CHANTHABURI (๕) เทพสตรี จ�านวน ๒๔๗ ท่ีน่ัง (46C 201Y) ช่ือภาษาอังกฤษว่า THEPSATRI เริ่มปฏิบัติการเมื่อวันอังคาร ที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ จ�านวน ๒๖๐ ที่น่ัง (28C 232Y) (๑๕) ปทุมธานี เริ่มปฏิบัติการเม่ือวันจันทร์ ท่ี ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ ชื่อภาษาอังกฤษว่า PATHUM THANI (๖) ศรสี นุ ทร จ�านวน ๒๔๗ ที่นั่ง (46C 201Y) ช่ือภาษาอังกฤษว่า SRISOONTHORN เริ่มปฏิบัติการเมื่อวันจันทร์ ที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕ จ�านวน ๒๖๐ ที่นั่ง (28C 232Y) (๑๖) ยโสธร เร่ิมปฏิบัติการเม่ือวันอังคาร ท่ี ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ ช่ือภาษาอังกฤษว่า YASOTHON (7) ศรีสพุ รรณ จ�านวน ๒๔๗ ท่ีน่ัง (46C 201Y) ช่ือภาษาอังกฤษว่า SRISUBHAN เร่ิมปฏิบัติการเมื่อวันพฤหัสบดี ท่ี ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ จ�านวน ๒๖๐ ท่ีนั่ง (28C 232Y) (๑7) ยะลา เร่ิมปฏิบัติการเมื่อวันจันทร์ ท่ี ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๑ ชื่อภาษาอังกฤษว่า YALA (๘) ศรนี ภา จ�านวน ๒๔๗ ท่ีน่ัง (46C 201Y) ชื่อภาษาอังกฤษว่า SRINAPHA เริ่มปฏิบัติการเมื่อวันอังคาร ท่ี ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ จ�านวน ๒๔๗ ท่ีนั่ง (46C 201Y) เริ่มปฏิบัติการเม่ือวันศุกร์ ที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ (๙) นภจนิ ดา ชื่อภาษาอังกฤษว่า NAPACHINDA จ�านวน ๒๔๗ ท่ีน่ัง (46C 201Y) เริ่มปฏิบัติการเมื่อวันศุกร์ ท่ี ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๒ 2๗9

เครอ่ื งบนิ ประเภทเอทีอาร์ ๗๒ (๓) อทุ ุมพรพสิ ัย ชือ่ ภาษาอังกฤษวา่ UTHUMPHON PHISAI เครื่องบนิ ประเภทเอทีอำร์ ๗๒ จ�านวน ๓๒๑ ทนี่ ง่ั (36C 289Y) เริม่ ปฏบิ ัตกิ ารเมือ่ วนั ศกุ ร์ ที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ (๑) ลา� ปาง (๔) ชยั บาดาล ช่อื ภาษาอังกฤษว่า LAMPANG ชือ่ ภาษาอังกฤษวา่ CHAI BADAN จา� นวน ๖๖ ท่ีน่ัง จ�านวน ๓๒๑ ทน่ี ั่ง (36C 289Y) เรม่ิ ปฏบิ ัตกิ ารเมือ่ วันองั คาร ท่ี ๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๓ เรม่ิ ปฏบิ ตั กิ ารเมอ่ื วันพฤหัสบดี ท่ี ๑๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐ (๒) ชยั นาท (๕) ยานนาวา ช่อื ภาษาอังกฤษวา่ CHAI NAT ชือ่ ภาษาอังกฤษวา่ YAN NAWA จ�านวน ๖๖ ทีน่ ่งั จา� นวน ๓๒๑ ทีน่ ง่ั (36C 289Y) เรม่ิ ปฏิบตั กิ ารเมอื่ วนั ศุกร์ ท่ี ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๓ เรม่ิ ปฏิบตั ิการเมอื่ วันพฤหสั บดี ที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ (๖) ภูผาม่าน เครือ่ งบินประเภทแอร์บสั ๓๕๐-๙๐๐ ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ PHU PHA MAN จา� นวน ๓๒๑ ที่นั่ง (36C 289Y) เคร่ืองบนิ ประเภทแอรบ์ สั ๓๕๐-๙๐๐ เรม่ิ ปฏิบตั ิการเมอ่ื วนั พฤหัสบดี ท่ี ๓๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ (7) ธารโต (๑) วเิ ชยี รบรุ ี ช่อื ภาษาอังกฤษว่า THAN TO ชอื่ ภาษาอังกฤษว่า WICHIAN BURI จา� นวน ๓๒๑ ที่น่ัง (36C 289Y) จ�านวน ๓๒๑ ท่นี งั่ (36C 289Y) เรมิ่ ปฏบิ ัตกิ ารเมอื่ วนั ศกุ ร์ ที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ เรมิ่ ปฏบิ ตั ิการเม่อื วันจันทร์ ท่ี ๒๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ (๘) โพธิ์ไทร (๒) ศรีนคร ชอ่ื ภาษาองั กฤษว่า PHO SAI ชื่อภาษาองั กฤษวา่ SI NAKHON จา� นวน ๓๒๑ ท่ีนง่ั (36C 289Y) จา� นวน ๓๒๑ ทนี่ ั่ง (36C 289Y) เริ่มก�าหนดปฏิบัตกิ าร มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เริ่มปฏบิ ัติการเมือ่ วนั อังคาร ท่ี ๑๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ (๙) ไพศาลี ชื่อภาษาองั กฤษว่า PHAISALI จ�านวน ๓๒๑ ทน่ี ั่ง (36C 289Y) เรม่ิ ก�าหนดปฏบิ ตั กิ าร มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑ (๑๐) ศรีขรภูมิ ชอ่ื ภาษาอังกฤษว่า SIKHORAPHUM จ�านวน ๓๒๑ ทีน่ ั่ง (36C 289Y) เริ่มก�าหนดปฏบิ ตั กิ าร กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ (๑๑) ชุมพลบุรี ชอ่ื ภาษาองั กฤษวา่ CHUMPHON BURI จา� นวน ๓๒๑ ที่น่งั (36C 289Y) เร่ิมกา� หนดปฏบิ ัตกิ าร มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ (๑๒) คีรรี ัฐนคิ ม ชอ่ื ภาษาอังกฤษวา่ KHIRI RAT NIKHOM จา� นวน ๓๒๑ ที่นง่ั (36C 289Y) เรม่ิ กา� หนดปฏิบัตกิ าร พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ 280 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

ท่ำอำกำศยำนนำมพระรำชทำน ๑๒ (๑) ท่ำอำกำศยำนสุวรรณภูมิ (๒) ท่ำอำกำศยำนแมฟ่ ้ำหลวง เชียงรำย ท่าอากาศยานสากล ต้ังอยทู่ ถ่ี นนบางนา-ตราด กโิ ลเมตร ท่าอากาศยานท่ีสามารถรองรับเครื่องบินโดยสารที่บินระหว่าง ที่ ๑๕ อ�าเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ทรงพระกรุณา ประเทศได้ เปดิ บรกิ ารการเดนิ ทางระหวา่ งเชยี งราย - กรงุ เทพมหานคร โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทานนามวา่ “ทา่ อากาศยาน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนามว่า สุวรรณภูมิ” หมายถึง “แผ่นดินทอง” เมื่อวันศุกร์ ท่ี ๒๙ “ทา่ อากาศยานแมฟ่ ้าหลวง เชียงราย” เมือ่ วนั เสาร์ ที่ ๑๓ มีนาคม กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๕๓ เพ่ือเทดิ พระเกียรตแิ ละนอ้ มรา� ลกึ ถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเป็นอนุสรณ์สถาน มงคลนำม แห่งความจงรักภักดีท่ีมีต่อสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี กิจกำรด้ำนกำรสื่อสำร ซึ่งเคยประทับอยู่ ณ พระต�าหนักดอยตุง จังหวัดเชียงราย เปิดใช้งาน อยา่ งเป็นทางการเม่อื วันพธุ ที่ ๕ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ดำวเทยี มนำมพระรำชทำน (๑) ดำวเทยี มไทยคม ดาวเทียมไทยคม 1A และ 2 ดาวเทยี มสอ่ื สารดวงแรกของประเทศไทยทก่ี ระทรวงคมนาคมสรา้ งตามนโยบาย ของรัฐบาลเพ่ือตอบสนองความต้องการใช้ดาวเทียมที่เพิ่มข้ึนและทดแทนการใช้ ดาวเทยี มจากตา่ งประเทศ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทานนาม “ไทยคม” มาจากคา� วา่ “ไทยคม (นาคม)” เขยี นเปน็ ภาษาองั กฤษวา่ “THAICOM” มาจากค�าว่า THAICOM (MUNICATION) และทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อม เสด็จพระราชด�าเนินไปทรงเปิดสถานีดาวเทียมไทยคม ณ ถนนรตั นาธเิ บศร์ จงั หวดั นนทบรุ ี และทอดพระเนตรกจิ การและการสาธติ การควบคมุ สถานดี าวเทียมไทยคม เม่ือวันพธุ ที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๗ 281

มงคลนำม พระพุทธรปู ประจำ� กระทรวง พระพุทธคมนำคมบพิธ พระพทุ ธรูปประจ�ำกระทรวงนำมพระรำชทำน ในโอกาสที่กระทรวงคมนาคมได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า โปรดกระหมอ่ มใหส้ ถาปนาขนึ้ เมอ่ื วนั จนั ทร์ ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๕ ครบรอบ ๘๔ ปีแหง่ การสถาปนาในวนั จนั ทร์ ที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๙ ประจวบกบั เป็นปีมหามงคลท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงประกอบพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ฉลองสิริราชสมบัติ ครบ ๕๐ ปี ๙ มิถุนายน ๒๕๓๙ อันนับเป็นมหามงคลสมัยย่ิง กระทรวง คมนาคมพิจารณาเห็นสมควรสร้างพระพุทธปฏิมาประจ�ากระทรวงขึ้น เป็นที่ระลกึ ในโอกาสมหามงคลทง้ั ๒ โอกาส ส�าหรับสักการบูชาเพ่ือความเปน็ สิริมงคลสืบไป จงึ ไดข้ ออนุญาตกรมศิลปากรสรา้ งพระพุทธสหิ ิงคจ์ า� ลอง และ ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเชญิ อักษรพระปรมาภไิ ธย ภ.ป.ร. ภายใต้ พระมหาพิชัยมงกฎุ ประดิษฐานทดี่ า้ นหน้าฐานพระพุทธสิหงิ ค์จ�าลอง ซึ่งเป็น พระพุทธรูปประจ�ากระทรวง และประดิษฐานท่ีฐานพระพุทธรูปขนาดต่าง ๆ กับท่ีด้านหลังเหรียญพระพุทธสิหิงค์ ทั้งขอพระราชทานนามพระพุทธสิหิงค์ จา� ลอง ภ.ป.ร. พระพทุ ธรปู ประจ�ากระทรวง 282 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

เหรยี ญพระพุทธคมนาคมบพธิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พระราชทานพระบรมราชานุญาต และพระราชทานนามพระพุทธรูป ประจ�ากระทรวงคมนาคมว่า “พระพุทธคมนาคมบพิธ” โดยให้ ออกเสียงว่า คม-มะ-นา-คม นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้า ลน้ กระหมอ่ มหาท่ีสุดมิได้ สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ทรงพระกรณุ าเสดจ็ เปน็ ประธานในพธิ เี ททองหลอ่ พระพทุ ธคมนาคมบพธิ พระพุทธสิหิงค์จ�าลอง ภ.ป.ร. ประจ�ากระทรวงคมนาคม พระพุทธ- สิหิงค์จ�าลองบูชา พระพุทธสิหิงค์องค์ลอยขนาดเล็ก และเหรียญ พระพุทธสิหิงค์ ณ โบสถ์คณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหาร เม่ือวันเสาร์ ท่ี ๒๓ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๙ และตอ่ มาไดท้ รงพระกรณุ าเสดจ็ เปน็ ประธาน ในพิธีพุทธาภิเษก เม่ือวันอังคาร ท่ี ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๙ ณ พระอุโบสถวดั บวรนเิ วศวหิ าร พระพุทธคมนาคมบพิธ หรือพระพุทธสิหิงค์จ�าลอง ภ.ป.ร. พระพุทธรูปประจ�ากระทรวงคมนาคม มีขนาดหน้าตักกว้าง ๒๕ น้ิว ส่วนสงู จากฐานถงึ ปลายพระรศั มี ๕๓ น้ิว เน้อื ลา�่ อู่แดงซ่งึ ประกอบด้วย ส่วนผสมของโลหะทองแดงร้อยละ ๓๐ ทองเหลืองร้อยละ ๗๐ ลงรัก ปดิ ทอง นายแกว้ หนองบวั เปน็ ประตมิ ากรปน้ั หลอ่ และจัดสรา้ ง นอกจากน้ี กระทรวงคมนาคมได้จัดสร้างพระพุทธสิหิงค์จ�าลอง ภ.ป.ร. พระเครอ่ื งพทุ ธสหิ งิ คจ์ า� ลอง ภ.ป.ร. ลอยองค์ และเหรยี ญพระพทุ ธ- สหิ งิ ค์จา� ลอง ภ.ป.ร. สา� หรบั ใหเ้ ชา่ บูชา น�ารายได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร โดยเสด็จพระราชกุศลเน่ืองในโอกาสพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ฉลองสิริราชสมบตั คิ รบ ๕๐ ปี ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๓๙ และจัดตัง้ กองทนุ ดา้ นศาสนกจิ สาธารณกุศล และสวสั ดิการของกระทรวงคมนาคม 283

พระบรมรำชำวถิ ี ณ วนั ถวำยพระเพลิง พระบรมศพ



เสด็จสูส่ วรรคำลยั กระทรวงคมนำคมเปน็ เจำ้ ภำพบำ� เพญ็ พระรำชกศุ ลฯ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหก้ ระทรวงคมนาคมเปน็ เจา้ ภาพรว่ มบ�าเพ็ญกุศลถวาย พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เมอื่ วนั ที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ พระทนี่ ัง่ ดสุ ิต มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวงั 286 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

กระทรวงคมนาคมตรวจเย่ยี มความพร้อมการอ�านวยความสะดวกในการเดนิ ทางของประชาชนทมี่ าถวายบงั คมพระบรมศพฯ กระทรวงคมนาคมจัดระบบขนสง่ สาธารณะบริการประชาชนที่มาถวายบงั คมพระบรมศพฯ โดยไมค่ ดิ คา่ โดยสาร 28๗

กระทรวงคมนาคมจดั ทา� ดอกไมจ้ ันทนส์ า� หรบั ประชาชน ท่มี าร่วมพิธีถวายดอกไม้จันทนใ์ นพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ 288 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

พระบรมรำชำวถิ ี ณ วนั ถวำยพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคตเม่ือวันพฤหัสบดี ท่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ นับเป็นวันแห่งความวิปโยคโศกเศร้าของพสกนิกรทั่วท้ังแผ่นดิน รัฐบาล ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ใหจ้ ดั พระราชพธิ บี า� เพญ็ พระราชกศุ ลถวายพระบรมศพตามโบราณราชประเพณโี ดยถวายพระเกยี รตยิ ศ สูงสุด และแต่งตั้งคณะกรรมการอ�านวยการจัดงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพและ คณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ตลอดจนคณะอนุกรรมการและคณะท�างานด�าเนินการจัดเตรียมพระราชพิธี ถวายพระเพลิงพระบรมศพ กระทรวงคมนาคมไดร้ บั แตง่ ตงั้ ใหร้ ว่ มเปน็ กรรมการหลายคณะ นอกจากปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายแลว้ มภี ารกจิ ตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ทุกหน่วยงานในสังกัด ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคต้องอ�านวยความสะดวกแก่ประชาชนจาก ทกุ ภมู ภิ าคของประเทศ ทงั้ จงั หวดั อา� เภอ ตา� บล และหมบู่ า้ น ทหี่ ลงั่ ไหลกนั เขา้ มายงั กรงุ เทพมหานครเพอ่ื กราบถวายสกั การะ พระบรมศพ ณ พระทน่ี ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาทในพระบรมมหาราชวงั ตลอดเวลา ๓๓๗ วนั ทที่ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ใหป้ ระชาชนเขา้ ถวายสกั การะพระบรมศพ การเดนิ ทางของประชาชนกวา่ สบิ สองลา้ นคนโดยยวดยานตา่ ง ๆ ผา่ นเสน้ ทางบก ทางนา้� ทางราง และทางอากาศสจู่ ดุ หมาย ปลายทางเดยี วกนั แมจ้ ะเปน็ การทยอยกนั เดนิ ทางเขา้ มา แตก่ ต็ อ้ งมกี ารบรหิ ารจดั การทด่ี ี ซงึ่ เปน็ สงิ่ ยนื ยนั ถงึ ประสทิ ธภิ าพของ เสน้ ทางในความรบั ผดิ ชอบของกระทรวงคมนาคม โดยเฉพาะพระบรมราชาวถิ ที จี่ ดั สรา้ งขนึ้ ตามแนวพระราชดา� ริ เพอื่ แกป้ ญั หา การจราจรและเพอื่ ประโยชนข์ องประชาชนทง้ั ในกรงุ เทพมหานครและตา่ งจงั หวดั ครนั้ ถงึ พระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร กา� หนด ระหวา่ งวนั พธุ ที่ ๒๕ ตลุ าคม ถงึ วนั อาทติ ย์ ที่ ๒๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยเฉพาะวนั พฤหสั บดี ท่ี ๒๖ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ซงึ่ เปน็ วนั ถวายพระเพลงิ พระบรมศพ มรี ว้ิ ขบวนพระบรมราชอสิ รยิ ยศอญั เชญิ พระบรมศพจากพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวงั สพู่ ระเมรมุ าศ ณ มณฑลพธิ ี ทอ้ งสนามหลวง จา� เปน็ ตอ้ งปดิ ถนนหลายเสน้ ทางเนอื่ งจากมปี ระชาชนเดนิ ทางมาเฝา้ ถวายสกั การะ พระบรมศพรมิ ถนนทข่ี บวนพระบรมราชอสิ รยิ ยศเคลอ่ื นผา่ น ทง้ั จดั ใหป้ ระชาชนไดเ้ ขา้ ถวายดอกไมจ้ นั ทน์ ณ พระเมรมุ าศจา� ลอง พระเมรมุ าศเลก็ พระเมรมุ าศลอย วดั สา� คญั ตลอดจนซมุ้ ทก่ี า� หนดเพอื่ ความสะดวกของประชาชน ซงึ่ ไมเ่ ฉพาะแตใ่ นกรงุ เทพมหานคร เทา่ นนั้ หากแตร่ วมไปถงึ จงั หวดั และอา� เภอตา่ ง ๆ กก็ า� หนดสถานทถ่ี วายดอกไมจ้ นั ทนข์ องประชาชนในพน้ื ทต่ี า่ ง ๆ ทว่ั ราชอาณาจกั ร ดว้ ย ทง้ั น้ี สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู มพี ระราชกระแสรบั สงั่ ใหค้ ณะกรรมการอา� นวยการ จดั งานพระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร พยายาม ผอ่ นปรนลดความเขม้ งวด อา� นวยความสะดวกแกป่ ระชาชนใหม้ ากทส่ี ดุ ซง่ึ คณะกรรมการอา� นวยการและคณะกรรมการทกุ ฝา่ ย รบั พระราชกระแสรบั สงั่ ไวเ้ หนอื เกลา้ เหนอื กระหมอ่ มดว้ ยความซาบซง้ึ ในพระเมตตาธคิ ณุ อยา่ งหาทสี่ ดุ มไิ ด้ ในวนั เวลาเดยี วกนั นน้ั การเดนิ ทางของประชาชนทว่ั ทกุ สารทศิ ไมว่ า่ จะเปน็ ประชาชนในกรงุ เทพมหานครเอง ประชาชนจาก ตา่ งจงั หวดั ทเี่ ดนิ ทางเขา้ สกู่ รงุ เทพมหานคร ประชาชนทเ่ี ดนิ ทางภายในจงั หวดั ภายในอา� เภอและระหวา่ งอา� เภอ ทกุ ตา� บล หมบู่ า้ น ตลอดจนในถนิ่ ทรุ กนั ดาร เพอื่ รว่ มพธิ ถี วายดอกไมจ้ นั ทนใ์ นการถวายพระเพลงิ พระบรมศพทวั่ ประเทศ รวมทงั้ เจา้ หนา้ ทผ่ี ปู้ ฏบิ ตั งิ าน และจติ อาสา จา� เปน็ ตอ้ งใชเ้ สน้ ทางการคมนาคมขนสง่ และระบบสง่ มวลชน เหลา่ นลี้ ว้ นเปน็ ภารกจิ สา� คญั ทก่ี ระทรวงคมนาคมตอ้ ง รบั ผดิ ชอบบรหิ ารจดั การเพอื่ อา� นวยความสะดวกดา้ นการเดนิ ทางของประชาชนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ไมว่ า่ จะเปน็ การเดนิ ทางทางบก ทางนา้� ทางราง ทางพเิ ศษ หรอื ทางอากาศ ไมว่ า่ จะใชย้ านพาหนะสว่ นตวั รถโดยสารสาธารณะ รถบสั รถตู้ รถไฟฟา้ รถใตด้ นิ รถไฟ หรอื เครอ่ื งบนิ รวมถงึ การกา� หนดจดุ รบั สง่ กา� หนดสถานทจ่ี อดรถแตล่ ะประเภทใหพ้ รอ้ ม นอกจากนก้ี ระทรวงคมนาคมมหี นา้ ท่ี รบั ผดิ ชอบอา� นวยความสะดวกแกห่ นว่ ยงานทกุ ภาคสว่ น ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน จติ อาสา ทมี่ ภี าระหนา้ ทตี่ อ้ งปฏบิ ตั จิ ดั ทา� ถวาย ทงั้ ใน ชว่ งกอ่ นงานพระราชพธิ ี ระหวา่ งงานพระราชพธิ ี และภายหลงั งานพระราชพธิ ี ตลอดจนกจิ กรรมทจี่ ดั ทา� ถวายเพอื่ แสดงความอาลยั เชน่ การจดั นทิ รรศการเฉลมิ พระเกยี รติ ณ มณฑลพระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพเปน็ อาทิ 289

กระทรวงคมนาคมจัดซุ้มถวายดอกไม้จันทน์ส�าหรับประชาชนในพระราชพิธี ถวายพระเพลงิ พระบรมศพฯ ณ บรเิ วณหนา้ หอสมดุ เมอื ง ถนนราชดา� เนนิ กลาง กรงุ เทพมหานคร เม่ือวนั พฤหัสบดี ที่ ๒๖ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ 290 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

กระทรวงคมนาคมจัดอาหารพระราชทานส�าหรับประชาชนในพระราชพิธี ถวายพระเพลิงพระบรมศพ ณ โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เมอื่ วันพฤหัสบดี ที่ ๒๖ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ 291

โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร กระทรวงคมนาคม ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และภาคีเครือข่ายได้ร่วมมือกันในการสนองพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพติ รและสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ด้วยการจัดเตรียมพระบรมราชาวิถีตามแนวพระราชด�าริ ท้ังเส้นทางอ่ืน ๆ ให้สมบูรณ์ จัดบริการขนส่งสาธารณะรับส่งประชาชนผู้ร่วมพิธี โดยไม่คิดค่าโดยสาร ณ จดุ รับส่งต่าง ๆ ตามวนั เวลาท่กี �าหนด และจดั สถานท่จี อดรถ ดงั เช่น ทางบก จัดรถโดยสารประจ�าทาง รถรบั สง่ เฉพาะกิจ รถชัตเติลบสั ในเส้นทาง ต่าง ๆ ก�าหนดจุดจอดรถรับส่งของรถบริการเฉพาะกิจเหล่าน้ัน จุดจอดรับส่งของ รถโดยสารประจ�าทางในเส้นทางปกติ รถยนต์ส่วนบุคคล รถเช่าเหมา รสบัส รถตู้ รถรับจ้างอ่ืน ๆ และจัดสถานท่ีจอดรถดังกล่าว รวมท้ังได้ยกเว้นค่าผ่านทางของ ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางด่วนบางนา - ชลบุรี) และทางพิเศษสายศรีรัช - วงแหวน รอบนอกกรงุ เทพมหานคร ทางนา้� จดั เรอื ขา้ มฟาก เรอื คลองแสนแสบ เรอื ดว่ นเจา้ พระยา และเรอื จติ อาสา จากร้านอาหาร ภัตตาคาร และสมาคมเรือไทย ท่ีร่วมให้บริการโดยไม่คิดค่าโดยสาร ณ จดุ รับส่งทกี่ �าหนด ทางอากาศ ท่าอากาศยานดอนเมอื งและท่าอากาศยานสุวรรณภมู ิจัดรถรับส่ง เฉพาะกิจโดยไม่คดิ ค่าโดยสาร ณ จุดรบั สง่ ที่ก�าหนด ทางราง จัดรถไฟขบวนธรรมดา รถชานเมอื ง รถท้องถน่ิ ขบวนรถเรว็ ขบวน รถพิเศษจากต่างจังหวัด และขบวนรถพิเศษจากชานเมือง ให้บริการโดยไม่คิด ค่าโดยสารตามเส้นทางและจุดรับส่งท่ีก�าหนด นอกจากนี้ รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้า มหานคร รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ และรถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที ให้บริการ โดยไม่คดิ คา่ โดยสาร 292 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

พระบรมราชาวถิ ที ก่ี ระทรวงคมนาคมไดจ้ ดั สรา้ งขน้ึ ตามแนวพระราชด�าริ และที่ได้ขยายเส้นทางเพิ่มให้ สมบูรณ์ อันเป็นการอ�านวยความสะดวกแก่พสกนิกร ท้ังปวงมาโดยตลอด จึงย่ิงทวีประโยชน์จนเป็นที่ ประจักษ์ในวาระอันส�าคัญทางประวัติศาสตร์คร้ังน้ี กระทรวงคมนาคมขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมส�านึก ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ อนั หาทส่ี ดุ มไิ ดต้ ราบกาลนริ นั ดร์ 293

กระทรวงคมนาคมจดั นทิ รรศการและกจิ กรรมเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร “สืบศาสตร์สองราชัน รังสรรค์คมนาคมไทย” ณ สวนสุขภาพลัดโพธิ์ อ�าเภอพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ ระหวา่ งวนั เสาร์ ที่ ๑๖ - วนั อาทติ ย์ ที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ 294 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

พิธีวางพวงมาลาถวายสักการะและพิธีบ�าเพ็ญกุศลถวายเป็นพระราชกุศล ครบรอบ ๑ ปี วันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ณ สวนสุขภาพลัดโพธ์ิ อ�าเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เม่ือวันศุกร์ ท่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ 295

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เป็นประธานในพิธีเปิดกิจกรรม “คมนาคมท่ัวไทย ทงั้ ใจถวายพอ่ หลวง” ซง่ึ กรมการขนสง่ ทางบก กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท และการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย บูรณาการร่วมกันจัดกิจกรรมเพื่อแสดงความพร้อมการปฏิบัติภารกิจดูแลความปลอดภัยและอ�านวยความสะดวก แก่ประชาชนในช่วงพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เม่ือวันศุกร์ ท่ี ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ บริเวณด้านหน้าอาคาร ๑ กรมการขนส่งทางบก กรุงเทพมหานคร 296 พระบรมราชาวิถี ๗ ทศวรรษ พิพัฒน์คมนาคม

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เป็นประธานการจัดกิจกรรม “หน่วยงานการขนส่ง ทางอากาศ พร้อมให้บริการประชาชนในช่วงพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร” เมื่อวันศุกร์ ท่ี ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ อาคารผู้โดยสารขาเข้า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พิธีปล่อยแถว “บขส. ขสมก. รวมใจถวายพ่อ” กิจกรรม “รวมพลังคนรถไฟฟ้า ร้อยจิตอาสา เ พ่ื อ อ� า น ว ย ค ว า ม ส ะ ดว ก ป ร ะ ช า ช น เ ดิ น ท า ง ถวายพ่อ” เมื่อวันพฤหัสบดี ท่ี ๑๙ ตุลาคม เข้าร่วมงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ ลานจอดรถสถานรี ถไฟฟา้ MRT พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพชรบรุ ี กรงุ เทพมหานคร บรมนาถบพิตร เม่ือวันศุกร์ ท่ี ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) 29๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook