Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทัศนีย์ นาคเสนีย์

ทัศนีย์ นาคเสนีย์

Published by วิทย บริการ, 2022-07-03 07:20:54

Description: ทัศนีย์ นาคเสนีย์

Search

Read the Text Version

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 41 ภาพท่ี 3.4 พฤติกรรมนักวิ่งในงาน UTMB ปี 2020 ที่มา สจั จา ไกรศรรตั น์และคณะ (2563)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 42 พฤตกิ รรมของนักท่องเทย่ี วเชิงกฬี าในกลุ่มกิจกรรมงานปัน่ จกั รยานทางเรียบ ผลการเก็บข้อมูลจากพฤติกรรมนักป่ันจักรยานทางเรียบในเขตภูมิภาคตะวันตก พ้ืนท่ี 4 จังหวัด ไดแ้ ก่ จังหวดั นครปฐม จังหวดั ราชบุรี จังหวัดเพชรบุรี และ จงั หวดั กาญจนบุรี ของผแู้ ต่งในฐานะนักวจิ ยั ใน ปี พ.ศ. 2559 พบวา่ นักปนั่ จักรยานมีวตั ถปุ ระสงค์ในการป่ันจักรยาน 3 ประเด็นหลัก ๆ คอื เพอื่ ออกกาลัง กาย เพ่ือการแข่งขัน และ เพ่ือการท่องเที่ยว ด้วยการแข่งขันประเภทการป่ันจักรยาน ในเขตภูมิภาค ตะวันตกมีการจัดเป็นประจาในช่วงเวลาเดมิ ทกุ ๆ ปี ความโดดเด่นของเส้นทางท่องเที่ยวโดยจักรยานใน ภมู ภิ าคตะวนั ตก พบวา่ มคี วามเปน็ ธรรมชาติ ร่มรื่น มากท่ีสุด รองลงมาคือ มที ะเล/แม่น้า/ลาคลอง/น้าตก/ ถ้า และน้อยที่สุด คือ มีเส้นทางรองสาหรับปั่นจักรยานท่ีหลากหลาย เส้นทางท่องเที่ยวโดยจักรยานท่ีเป็น ปัญหาและอุปสรรค อยู่ คือ ไม่มีเลนจักรยาน ไม่มีป้ายสัญลักษณ์บอกเส้นทางจักรยาน แรงจูงใจที่ทาให้ นักท่องเที่ยวนิยมมาป่ันเพื่อการท่องเท่ียวในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันตก คือ มีความเป็นธรรมชาติ และ มี เส้นทางป่ันจักรยานเสน้ ทางใหม่ๆ อยู่ใกล้กรุงเทพฯ เส้นทางป่ันจักรยานมีความหลากหลายและท้าทายการ ปน่ั และมแี หลง่ ท่องเที่ยวความหลากหลาย แนวทางในการจดั การเสน้ ทางจักรยานในพืน้ ท่ี นกั ท่องเที่ยวเห็น ว่าดีและเหมาะสมแล้ว แต่ควรสร้างเส้นทางปั่นจักรยานใหม่ น้อยท่ีสุดคือ เพิ่มการบริการรักษาความ ปลอดภัย ผลจากการวัดระดับความคิดเหน็ ของนักท่องเท่ียวที่มีต่อองค์ประกอบทางการท่องเท่ียว 8 As ใน เขตภูมิภาคตะวันตก พบว่า ในภาพรวมมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นักท่องเที่ยวพึงด้านการตระหนักรู้ เข้าใจ (Awareness) ด้านสิ่งอานวยความสะดวก (Amenities) ด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว (Accessibility) ด้านความหลากหลายของกิจกรรม (Activity) ด้านการ ยอมรับของสังคมชุมชนในท้องที่ (Acceptance Community) ด้านความดึงดูดของเส้นทางจักรยานเพื่อ การทอ่ งเท่ียว (Attraction) ดา้ นทีพ่ ัก (Accommodation) และ ความเป็นดงั้ เดมิ (Authenticity) และผลการศึกษาเชิงลึก จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักจานวน 24 คน ประกอบด้วย จังหวัดกาญจนบุรี จานวน 7 คน จังหวัดนครปฐม จานวน 5 คน จังหวดั เพชรบุรี จานวน 5 คน และ จังหวดั ราชบรุ ี จานวน 7 คน ถึงความคิดเห็นต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวโดยจักรยานของนักท่องเที่ยว ซึ่งได้ผลการสัมภาษณ์ดังรายละเอียด ตอ่ ไปนี้ คุณลักษณะพฤติกรรมของนักปั่นจักรยานและผู้ติดตามท่ีเดินทางมาท่องเที่ยวด้วยตนเองในภมู ิภาค ตะวันตก ท่ีนิยมเดินทางมาภาคตะวันตก เพราะ อยู่ใกล้กับกรุงเทพ เดินทางสะดวก ขับรถขาออกจาก กรุงเทพรถไม่ติด สามารถเดินทางไปเช้าเย็นกลับในวันเดียวได้ เดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัวมีความสะดวก ที่สดุ ถนนสายหลักทุกเสน้ มสี ัญญาณโทรศัพท์มอื ถือไม่ขาดตอน จงึ ทาให้สามารถหาแหลง่ /สถานท่ีตา่ ง ๆ ได้ ด้วยพิกัด GPS ผ่าน Application ของ Google Maps การพักค้าง นักท่องเท่ียวที่มาในจังหวัดนครปฐม ส่วนมากนักท่องเที่ยวจะไม่พักค้าง แต่จังหวัดราชบุรี เพชรบุรีและกาญจนบุรี ส่วนมากจะพักค้างอย่างน้อย 1 คืนค่าใช้จ่ายที่จ่ายสาหรับค่าอาหารและเครื่องดื่ม และค่าสมัครป่ันจักรยาน สาหรับนักท่องเท่ียวท่ีมาป่ัน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 43 จกั รยานแต่ไม่พักค้างจะใชจ้ ่ายประมาณ 500-1,000 บาทต่อคน สาหรบั นกั ทอ่ งเที่ยวท่มี ากบั ครอบครัว แลว้ พกั ค้าง โดยเฉล่ยี จะใชจ้ ่ายประมาณ 1,500-3,000 บาทต่อคนวตั ถปุ ระสงค์ของการป่ันมาปัน่ เพอ่ื การแข่งขัน หรือสร้างสถิติประสบการณ์ให้ตนเองมาป่ันเพ่ือการท่องเท่ียวแบบ Touring Bike คือการปั่นเพ่ือการ ท่องเที่ยวจะเป็นเด่ียวหรือหมู่คณะก็ได้ แต่ไม่ถูกเร่งรีบ เร่งรัดด้วยการทาสถิติด้านเวลาหรือระยะทางป่ัน การป่ันประเภทนี้จะเป็นการปั่นแบบเนิบช้า (Slow Travel) เน้นการเข้าถึงเชิงลึกในพ้ืนท่ี และมาป่ันเพื่อ การท่องเที่ยวแบบ Trip Bike คือ การป่ันเพื่อการท่องเที่ยวที่มาเป็นกลุ่มต้ังแต่ 10 คน ข้ึนไป เน้นการป่ัน จักรยานที่ความเร็วเฉลี่ 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เม่ือถึงท่ีหมายก็แวะพัก และ ประเภทของจักรยานที่นิยมใช้ ป่ันมี 3 ประเภท คือ (1) จักรยานประเภทเสือหมอบ (2) เสือภูเขา และ (3) จักรยานเพ่ือการท่องเที่ยว (Touring)ท่ีเหมาะสม กับสภ า พส้น ทาง ท้ัง ทา งเรียบ แล ะทา งผจญภัย ซ่ึงส อด คล้ อง กั บ ก า ร แบ่งประเภทของชนิดจักรยานกับการท่องเท่ียวของ www.veneto (วันที่สืบค้น 25 สิงหาคม 2558) ท่ีแบ่ง ออกเปน็ 3 ประเภท คอื จกั รยานประเภท Slow Tourism จกั รยานแบบ Road Bike และ แบบ Mountain Bike ความคาดหวังกับเส้นทางปั่นจักรยานท่ีสามารถเข้าถึงวิถีชีวิตชุมชน ได้เห็นเทศกาลงานประเพณีของ ชุมชนอย่างมีส่วนร่วม อีกทั้งคาดหวังเส้นทางป่ันจักรยานท่ีมีการเชอื่ มโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะ กลุ่มประเทศอาเซียน อีกท้ังคาดหวังกับการเช่ือมโยงระบบการขนส่งประเภทต่าง ๆ (Logistic) ให้สามารถ ขนย้ายจักรยานได้สะดวก สามารถจอดจักรยานไว้ในท่ีจัดให้ซ่ึงมีความปลอดภัยท่ีรัดกุมความต้องการมี ความเห็นว่า ควรมี เสน้ ทาง (เลน) ปน่ั จกั รยานไม่ว่าจะเป็นทางหลักหรอื เสน้ ทางรองมีความปลอดภยั นกั ปน่ั จักรยานสามารถติดต่อกับหน่วยงานบริการต่าง ๆ ได้ตลอดเส้นทาง เช่น สถานีตารวจ โรงพยาบาลหรือ หนว่ ยบริการอุบตั ิเหตฉุ ุกเฉิน รวมไปถงึ การจัดทาป้ายสัญลักษณ์ บอกเสน้ ทางในเส้นทางรอง การจดั ทาแผน ทปี่ ่นั จักรยานเพ่อื ทอ่ งเท่ยี วดว้ ยตนเอง และ การจดั อบรมใหค้ วามรเู้ กย่ี วกับทักษะการใช้จักรยานเบอื้ งต้นให้ ถูกวิธีปัญหาที่พบ ประกอบไปด้วย อุบัติเหตุบนท้องถนนท่ีมีการใช้จักรยานร่วมกับรถยนต์หรือ รถจักรยานยนต์ มีความเสี่ยงสูง โดยเฉพาะช่วงเวลาแออัดของการจราจรคือ ช่วงเช้าก่อนเข้าเรียนและช่วง เย็นหลงั เลกิ เรยี น กระแสความนิยม ทาให้การท่องเท่ียวเชิงกีฬาเป็นวิถีทางแห่งการดาเนินชีวิต (Lifestyle) ของคนรุ่น ใหม่ ที่สนใจในเรื่องของกีฬาและการทากิจกรรมท่ีต้องใช้ทักษะทางด้านร่างกายเป็นส่วนใหญ่ ซ่ึงนอกจากจะเป็นการออกกาลังกายแล้ว ยังเป็นการรักษาสุขภาพ ของผู้เล่นกิจกรรมได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นมาถือได้ว่าเป็นยุคของ “จักรยานฟีเวอร์” ผู้คนจากท่ัวโลกต่างให้ ความสนใจอย่างล้นหลาม อาจจะเป็นเพราะการเดินทางด้วยจักรยาน เป็นตัวตอบโจทย์ท่ีดี ท่ีช่วยประหยัด พลังงานเชื้อเพลิง และไม่สร้างมลภาวะให้กับโลก จนทาให้เกิดเป็น กระแสของการปั่นจักรยานเพ่ือสุขภาพ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 44 และเพื่อใช้ในชีวิตประจาวนั จนกระทั่งมาสู่การปั่นเพ่ือการท่องเท่ียว ท่ีได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจบุ ัน (ศักดชิ์ ัย ภทั รปรชี ากลุ ,2557) ทุกคนตา่ งยอมรบั ว่าการปั่นจักรยานสง่ ผลดตี ่อสุขภาพจริง อย่างไรกต็ าม การ ปั่นจักรยานของนักปั่นหน้าใหม่หรือมืออาชีพ ควรท่ีจะต้องประเมินระดับสมรรถนะของร่างกายนักป่ัน จกั รยานร่วมด้วย ซ่งึ Spice Roads (2556) ไดแ้ บ่งเกรดนักทอ่ งเที่ยวด้วยจกั รยานออกเป็น 5 ระดับ ไดแ้ ก่ ระดับที่ 1 คือ กลุ่มพ้ืนฐาน (Basic) เหมาะสาหรับนักปั่นหน้าใหม่ ใคร ๆ ก็ป่ันได้ มีระยะทางปั่น ระหว่าง 25-40 กิโลเมตร ต่อวัน เน้นการปั่นเพื่อการชมวิวทิวทัศน์ ไม่เน้นทาเวลา เหมาะสาหรับกลุ่ม ครอบครวั หรอื ผ้สู งู วยั ทต่ี ้องการออกกาลังกาย ระดับท่ี 2 กลุ่มปานกลาง พอสมควร (Moderate) มีทักษะการป่ันจักรยานมาแล้ว ชอบป่ันใน ระยะทางที่ไกลออกไป อาจจะป่ันเพ่ือการท่องเท่ียวไปในพ้ืนที่แหล่งท่องเท่ียวแปลกๆ ใหม่ ด้วยระยะทาง ประมาณ 40-60 กิโลเมตรตอ่ วนั ระดบั ที่ 3 กลมุ่ คล่องแคล่วกระฉับกระเฉง (Active) เปน็ กล่มุ ทม่ี ีสมรรถนะค่อนข้างแขง็ แรง และออก กาลังกายดว้ ยการปัน่ จักรยานเปน็ ประจา สามารถป่นั ไปในระยะทางไกล ๆ 50-80 กโิ ลเมตรตอ่ วนั ระดับที่ 4 กลุ่มนักป่ันท่ีท้าทายความสามารถ (Challenging) ชอบเส้นทางการปั่นท่ีท้าทาย โลดโผน ผจญภัย นักปั่นกลุ่มน้ีจะมีทักษะและ ใช้เทคนิคการปั่นจักรยาน การควบคุมจักรยานค่อนข้างมาก นิยมป่ัน ในทางเรยี บและทางภเู ขา ระดับท่ี 5 กลุ่มแข็งแรงทนทาน (Tough) ชอบเส้นทางป่ันที่ยาก ท้าทาย ฝึกความอดทน นิยมป่ัน ในทางเรียบ เพ่ือทาสถิติความเร็ว หรือ นิยมปั่นบนผิวถนนขรุขระ ปีนเขา เพื่อทดสอบสมรรถนะของตนเอง และทาสถิติใหม่ให้ตนเองเสมอ กรณีนักปั่นท่ีชอบผจญภัยด้วยการปั่นจักรยานเสือภูเขา กฤษณียา ศังข จันทรานนท์ และคณะ (2550 หน้า 12) มีความเห็นว่า จักรยานเสือภูเขา เป็นจักรยานอเนกประสงค์ท่ี สามารถใช้ได้ในทุกพ้ืนท่ี ไม่ว่าจะเป็นถนนธรรมดาหรือทางป่าทางเขาทุรกันดาร ในขณะที่จักรยานเสือ หมอบไม่สามารถป่ันทางป่าทางเขาทรุ กันดารได้ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั สภาพภูมทิ ัศน์ของภมู ภิ าคตะวันตกที่สภาพ ถนนทงั้ ผิวขรุขระและผิวเรียบ ซ่งึ ก่อนลงพ้ืนที่นักปั่นจักรยานต้องศึกษาเสน้ ทาง วเิ คราะหส์ มรรถนะร่างกาย ของตน เพ่ือพิจารณาว่าควรใช้จักรยานประเภทใด ในแต่ละสนามป่ัน เช่น ป่ันทางเรียบนักป่ันต้องการทา ความเร็วควรใช้จักรยานเสือหมอบ หากเส้นทางผิวถนนขรุขระ ปีนเขา ควรเลือกใช้จักรยานประเภทเสือ ภูเขา หรือหากต้องการปั่นท่องเท่ียวด้วยตนเอง ในสภาพถนนผิวเรียบ ไม่คานึงถึงความเร็ว แนะนาควรใช้ จักรยาน Touring หรือ จกั รยานพับได้ เป็นต้น ในการสารวจสถานที่ท่องเท่ียว ลักษณะของเส้นทางท่องเท่ียว และสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ใน ระหว่างการเดินทางท่องเท่ียวด้วยจักรยานในพื้นท่ีภูมิภาคตะวันตกโดยการมีส่วนร่วมของผู้แต่ง ในฐานะ นักวิจัยได้ใช้แนวคิดของ องค์ประกอบทางการท่องเที่ยว (8A) แนวคิด 4E4S และข้อเสนแนะจาก

45 ผู้ทรงคุณวุฒิ มาร่วมพิจารณาในการสารวจพ้ืนที่คร้ังนี้ และผลพบว่า ได้เส้นทางปั่นจักรยานเพื่อการ ทอ่ งเทย่ี ว จานวน 7 เส้นทาง โดยพน้ื ที่ภมู ิภาคตะวนั ตกและประเทศเมยี นมาร์ มีศกั ยภาพเชงิ พืน้ ที่ทมี่ ากกว่า องค์ประกอบทางการท่องเที่ยว (8A) และแนวคิด 4E4S จึงทาให้การวิจัยครั้งนี้ ข้อค้นพบองค์ประกอบ ทางการทอ่ งเทย่ี วใหมเ่ พิม่ เติม จากแนวคิดเดมิ 3 ประเดน็ ดังนี้ 1) นักท่องเที่ยวเชิงกีฬาด้วยจักรยาน นิยมบริโภคข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ผ่านการสืบค้น ค้นหาข้อมูล ผ่านระบบ Android Application/iOS จากโทรศัพท์มือถือ (Smart phone) เป็นจานวนมาก ดังน้ัน จึง ค้นพบองคป์ ระกอบทางการทอ่ งเที่ยว ดังน้ี มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง องค์ 1. ปจั จัยดา้ นความดงึ ดูดของแหล่งท่องเท่ียว ความโดดเด่นของพนื้ ท่หี ลากหลาย SEA SUN SAND DAM and (Attraction) MOUNTAIN และได้เรยี นรูแ้ ละสัมผัสวิถชี ีวติ ชุมชน ประ 2. ปัจจยั ดา้ นการเขา้ ถงึ แหลง่ ทอ่ งเท่ียว ไม่ไกลจากกรุงเทพ สามารถไปกลับได้ในวนั เดยี ว เดนิ ทางสะดวก กอบ (Accessibility) ดว้ ย รถยนต์ รถไฟ และมีความปลอดภยั ทางการ ท่อง 3. ปัจจยั ด้านท่ีพกั (Accommodation) มีมากมายหลายระดบั ต้ังแต่บังกะโลจนถึงโรงแรมระดับ 5 ดาว ที่ โดดเดน่ คอื ที่พกั แบบ บตู คิ รีสอรท์ ซ่งึ ทพ่ี กั มคี วามร่มรน่ื เท่ียว 4. ปัจจยั ดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก (Amenities) ไฟฟ้า นา้ ใช้ เขา้ ถงึ ทกุ พน้ื ที่ ตลอดทาง มแี หล่งทอ่ งเที่ยวที่ 9A หลากหลาย มบี รกิ ารของสถานนี า้ มนั วดั สามารถแวะพกั ได้ 5. ปจั จยั ด้านความหลากหลายของกจิ กรรม ใน (Activities) สามารถสรา้ งกิจกรรมการปั่นจกั รยานได้ตลอดท้งั ปี ปน่ั ชมวถิ ีชวี ิต 6. ปจั จัยด้านความเปน็ ดั้งเดิม (Authenticity) ป่ันทากจิ กรรมกบั สงั คม หรอื ปนั่ ชมเทศกาลงานประเพณี ฯลฯ พื้นท่ี 7. ปัจจยั ดา้ นการยอมรบั ของสังคม ชมุ ชนใน ภาพลกั ษณข์ องความเปน็ เมอื งเก่าสมยั ทวารวดีความหลากหลายของ 4 จงั หวัด ท้องที่ (Acceptance -Community) 8 ชาตพิ ันธุ์ และความคงอยู่ของธรรมชาติ ภูมภิ าค ตะวัน 8. การตระหนกั รเู้ ข้าใจ (Awareness) ตา่ งยนิ ดตี อ้ นรับผูม้ าเยอื น ไม่มาพกั แค่ปนั่ ผา่ นกย็ ังส่งยม้ิ ให้ สอบถาม เส้นทาง ชาวบา้ นกช็ ว่ ยกนั ตอบ ตก 9. โปรแกรมที่ใช้สบื คน้ ขอ้ มลตา่ ง ๆ ผา่ น โทรศพั ท์มอื ถอื /Smart phone นักป่นั จักรยานตระหนกั ถงึ การอนรุ กั ษ์ ไม่ทาลายส่งิ แวดลอ้ มหรอื และ ธรรมชาติ มกี ารรวมกลมุ่ กนั จดั กิจกรรมปน่ั ไปปลกู ปา่ ฯ ประเทศ (Android Application/iOS) เมยี นมาร์ นักปนั่ จกั รยาน นกั ทอ่ งเท่ยี ว นยิ มใชโ้ ทรศพั ท์มือถอื /Smart phone ในการหาข้อมูลเสน้ ทางทอ่ งเทยี่ ว สถานท่ีกนิ ชมิ พกั ผ่าน ระบบ Android Application/iOS มากขน้ึ ภาพท่ี 3.5 ความสมั พันธ์ขององค์ประกอบการท่องเที่ยว 9As ท่ีมา : ทัศนีย์ นาคเสนยี ์ (2559)

46 จากแนวคิดการจัดเส้นทางจักรยานโดยใช้หลักการ 4E6S ประกอบด้วย ความบันเทิงสนุกสนาน (Entertainment) ได้เรียนรู้/ความรู้ (Education) มีความตื่นเต้น (Excitement) ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมท่ีดี (Environment) และ การบริการ (Service) สร้างความพึงพอใจ (Satisfaction) ปลอดภัย (Safety) และ สะอาดถูกสุขอนามัย (Sanitary) ทักษะสมรรถนะ (Skill) และ การแบ่งปันการใช้ถนนร่วม/น้าใจ (Sharing) ผลจากกระบวนการวจิ ยั พบว่า มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 1.ความบันเทิงสนุกสนาน มีแหลง่ ท่องเท่ยี วทห่ี ลากหลายทงั้ แมน่ ้า ทะเล นา้ ตก ถา้ ธาร ปา่ เขา (Entertainment) และนา้ พรุ อ้ น รวมท้งั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วท่ีมนษุ ย์สรา้ งขึน้ 2. ไดเ้ รียนรู้/ความร(ู้ Education) มีแหล่งเรียนรชู้ ุมชน พพิ ธิ ภัณฑ์พ้ืนบา้ น พิพธิ ภัณฑห์ นังใหญ่ แหลง่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรตามวิถีเศรษฐกจิ พอเพยี ง วัด และพระราชวงั 4E 3.มคี วามต่นื เตน้ (Excitement) เสน้ ทางป่ันจกั รยานทท่ี า้ ทาย ท้งั ปั่นบนสันเขอ่ื น เนินเขา ทา้ ทาย สาหรบั ผตู้ อ้ งการปนั่ เพ่อื การทอ่ งเท่ียว หรอื ปน่ั เพือ่ การแข่งขัน 4. ทา่ มกลางสิง่ แวดล้อมทดี่ ี มสี ภาพส่ิงแวดล้อมท่รี ่มร่ืน เปน็ ธรรมชาติ มีสภาพบรรยากาศของการ (Environment) ดารงชีวิตตามวถิ ี 8 กลุ่มชาตพิ นั ธใุ์ นแตล่ ะพื้นที่ ภาพที่ 3.6 ความสมั พันธ์ของแนวคดิ การจดั เสน้ ทางจกั รยานดว้ ย 4E ทีม่ า : ทัศนีย์ นาคเสนีย์ (2559)

47 1. การบรกิ าร (Service) มกี ารรวมกลุ่มเป็นเครอื ข่ายของผปู้ ระกอบการ I love สวนผ้ึง และเครอื ขา่ ยนกั ปนั่ ประจาถ่ิน ในการให้บรกิ ารนกั ป่ันตา่ งถนิ่ /นกั ปน่ั หน้าใหม่ 2. สร้างความพึงพอใจ ชุมชนเจ้าของพืน้ ท่ี รวมทัง้ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ต่างเปน็ เจา้ บา้ นท่ีดใี นการ (Satisfaction) ต้อนรบั หรือใหข้ อ้ มูลแกน่ กั ท่องเท่ียว รา้ นอาหาร/ท่พี ักเรม่ิ จดั บรกิ ารทีจ่ อด จกั รยานไวใ้ ห้นักป่ัน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 3. ปลอดภัย (Safety) ตลอดเส้นทางมคี วามปลอดภยั ในการอานวยความสะดวกของตารวจ อพปร. 6S อาสาสมัคร กรณีนักป่นั แจ้ง ขอความชว่ ยเหลอื 4. สะอาดถูกสขุ อนามยั มกี ารบรหิ ารของรา้ นอาหารและเครอื่ งดมื่ การบรกิ ารที่พักแรมที่มีความสะอาด มี (Sanitary) จุดบรหิ ารของสถานบี รกิ ารน้ามนั ทม่ี หี อ้ งน้าบรกิ ารท่ถี กู สขุ ลกั ษณะ 5. ทักษะสมรรถนะ (Skill) ลักษณะเส้นทางป่นั มคี วามยากงา่ ย ใกลไ้ กล แตกต่างกันมาก ดงั น้นั นกั ป่ัน จักรยานควรต้องประเมนิ สมรรถนะความสามารถในการป่ันและความพรอ้ มของ 6. การแบง่ ปนั การใชถ้ นน อปุ กรณ์ก่อนปั่น รว่ ม/นา้ ใจ (Sharing) เส้นทางสายหลักสว่ นมากไมม่ เี ลนจักรยาน ยกเวน้ อาเภอสวนผ้งึ ทาให้ต้องใชร้ ถ ใชถ้ นนรว่ มกนั กับรถยนตห์ รอื รถอืน่ ๆ ดงั นัน้ จงึ ต้องมกี ารแบ่งปันซึ่งกันและกัน เพื่อลดการเกิดอบุ ัติเหตุ ภาพที่ 3.7 ความสัมพันธ์ของแนวคดิ การจดั เสน้ ทางจกั รยานด้วย 6S ทม่ี า : ทัศนยี ์ นาคเสนีย์ (2559) การบริหารความเส่ยี ง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยง คือ โอกาสท่ีเหตุการณ์บางอย่างอาจจะเกิดข้ึนและส่งผลกระทบต่อการ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของกิจกรรมที่จดั ทาข้นึ มา ดังนนั้ เพื่อเปน็ การป้องกนั ภัยต่าง ๆ ทอ่ี าจะเกดิ ข้นึ ไดใ้ นการจัด กิจกรรมการป่ันจักรยานในพ้ืนท่ี ที่รวมไปถึงภัยทางธรรมชาติและภัยที่เกิดจากฝีมือของมนุษย์ เช่น การ บรหิ ารความเส่ียงหากสภาพธรรมชาติท่ีไม่สามารถควบคุมไปเปลีย่ นแปลง จนทาให้เกดิ ผลกระทบตอ่ การจัด กิจกรรมการป่ันจกั รยาน เช่น ฝนตก น้าท่วม ท่ีเป็นเหตุให้การจดั กิจกรรมการปัน่ จกั รยานต้องชะงักลง ซ่ึงผู้ จัดกิจกรรมจะต้องมีการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงกรณีเหตุการณ์เหล่านั้นเกิดขึ้นจะได้แก้ไขอย่าง ทันท่วงที และส่งผลกระทบต่อการจัดกิจกรรม ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของงานให้น้อยที่สุด (อดิษฐ์ ชัย รัตนานนท์ผลการสัมภาษณ์ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2559) ซึ่งในการดาเนินการบริหารความเส่ียงในการจัด

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 48 กิจกรรมจักรยานประกอบไป ประกอบไปด้วย 2 กลยุทธ์ คือ 1)การจัดทาแผนการแผนบริหารความเส่ียง (Risk Management)และ 2) การจดั การภาวะวกิ ฤต (Crisis Management) สรุปผลจากการสารวจสถานที่ท่องเท่ียว ลักษณะของเส้นทางท่องเท่ียว และสิ่งอานวยความ สะดวกต่าง ๆ ในระหว่างการเดินทางท่องเท่ียวด้วยจักรยานในพื้นท่ีภูมิภาคตะวันตกโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชนโดยนาแนวคิดท่ีหลากหลายมาประกอบในการวิเคราะห์การจัดเส้นทางการท่องเท่ียวด้วยจักรยาน เพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียวด้วยตนเองในเขตภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทยเชื่อมโยงกับประเทศเมียนมาร์ พบว่า ปัจจัยที่สาคัญจาเป็นในการนามาเป็นส่วนประกอบเพ่ือวิเคราะห์การจัดเส้นทางท่องเที่ยวด้วย จักรยาน ประกอบดว้ ย 20 ประการ เรยี กว่า “9A4E6S1R Model” โดยประกอบไปด้วย ปจั จัยดังต่อไปน้ี 9Aประกอบด้วย1) Attraction= ด้านความดึงดูดของเส้นทางจักรยานเพื่อการท่องเท่ียว 2) Accessibility=ด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเท่ียว3) Accommodation=ด้านท่ีพัก 4) Amenities= ด้านสิ่ง อานวยความสะดวก5) Activity= ด้านความหลากหลายของกิจกรรม 6) Authenticity= ความเป็นด้ังเดิม 7) Acceptance= Community ด้านการยอมรบั ของสงั คมชุมชนในท้องท่ี 8) Awareness= การตระหนักรู้ เข้าใจและ 9) Android Application/iOS = โปรแกรมทใี่ ชส้ บื คน้ ขอ้ มลตา่ ง ๆ ผา่ น โทรศัพท์มอื ถอื /Smart phone 4E ประกอบด้วย1) Entertainment= ความบันเทิงสนุกสนาน 2) Education= ได้เรียนรู้/ ความร3ู้ ) Excitement= มคี วามตนื่ เต้น และ 4) Environment= ทา่ มกลางสิง่ แวดลอ้ มท่ดี ี 6Sประกอบด้วยService= การบริการ 2) Satisfaction= สร้างความพึงพอใจ 3) Safety= ปลอดภัย 4) Sanitary= สะอาดถูกสุขอนามัย 5) Skill= ทักษะสมรรถนะและ 6) Sharing = การแบ่งปัน การใช้ถนนรว่ ม/น้าใจ 1Rคือ R = Risk Managementการบริหารความเสยี่ ง ในการจัดทาเส้นทางท่องเที่ยวด้วยจักรยาน นาแนวคิดของ คูเรย์ (Koorey,2001) ได้กล่าวถึงส่ิง สนับสนุนในการส่งเสริมการป่ันจักรยานเพ่ือการท่องเที่ยวด้วยตนเองประกอบไปด้วย 1) ระยะทางไปและ กลับพร้อมแจ้งบอกระยะทาง 2) ตราสัญลักษณ์ของการให้บริการ 3) จากการประเมิน ควรมีจุดเตือนว่า ระยะทางแต่ละช่วงเป็นอย่างไรข้ึนเขา เป็นต้น 4) ระยะทางทั้งหมด โดยเริ่มนับจุดเร่ิมต้น และ 5) มีคู่มือ บอกถึงจุดหมายปลายทางแต่ละจุด พณกฤษ อุดมกิตติ (2557) แนวคิดในการจัดเส้นทางจักรยานเพื่อการ ท่องเทย่ี วในประเทศไทย ควรประกอบไปดว้ ย 5 แนวคิดที่สาคัญดงั น้ี 1) ความปลอดภัย 2) ลกั ษณะเสน้ ทาง ต้องครบวงจรหรือ จุดเร่ิมต้นและจุดสิ้นสุดควรจัดให้อยู่ที่จุดเดียวกัน เพ่ือป้องกันการพลัดหลง 3) ควรมี คู่มือหรือรายละเอียดเส้นทางที่ชัดเจนให้ผู้ป่ันจักรยานได้ศึกษาก่อน 4) มีส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ ท่ี เหมาะสม 5) ครอบคลุมแหล่งท่องเท่ียวที่สาคัญและน่าสนใจ นอกจากนั้น แชล่ม บุญลุ่ม (2558) ได้ให้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 49 แนวคิดในการจัดเส้นทางจักรยาน จะต้องมีข้อมูลประกอบการจัดทาเส้นทางจักรยาน ที่สาคัญดังนี้ 1) จดุ เร่ิมต้น 2) ระยะทาง 3) จุดแวะพกั (รา้ นคา้ ชุมชน) 4) แหล่งทอ่ งเทย่ี วชุมชนท่ีนา่ สนใจ 5) ระดบั ของความ ยากง่ายของเส้นทาง 6) ความเหมาะสมของผู้ปั่น/ระดับกาลัง (สมรรถนะของร่างกาย) 7) เวลาเฉลี่ยของแต่ ละเสน้ ทางพร้อมความเร็วเฉลีย่ ท่ัวไป มาเปน็ แนวทางประกอบการจดั ทาเส้นทางท่องเทย่ี ว พบวา่ จากผลการวิจัยของ ทัศนีย์ นาคเสนีย์ (2559) พบว่า ผลการจัดทาเส้นทางท่องเท่ียวในพ้ืนที่ เชื่อมโยงกลุ่มจังหวัดในภูมิภาคตะวันตกและประเทศเพื่อนบ้านและทาการลงพ้ืนท่ีเพ่ือทดลองเส้นทางใน กระบวนการวิจัยครั้งน้ี นอกจากจะใช้ “9A4E6S1R Model”มาวิเคราะห์ร่วมกับการจัดเส้นทางแล้ว นักวิจัยยังได้นารูปแบบของการจัดเส้นทางท่องเท่ียวตามรูปแบบของ Leiper’s Model มาประยุกต์ใช้เพ่ือ จัดทาเส้นทาง ซึ่งพบว่า การท่องเท่ียวมีองค์ประกอบท่ีเป็นปัจจัยดึง (Pull Factor) และ ปัจจัยผลัก (Push Factor) เพื่อจูงใจ (Motivation) ให้เกิดการเดินทางจากเมืองต้นทาง (Traveller Generating Region : TGR) ไปยังเมืองที่เป็นจุดหมายปลายทางที่ต้องการจะเดินทางเข้าไปท่องเที่ยว (Tourist Destination Region : TDR) โดยระหว่างการเดินทางเข้าถึงจะมีแหลง่ ท่องเที่ยวเปน็ จุดดึงดูดใจให้นกั ป่ันจักรยานได้แวะ พักหรือแวะชมดังแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ที่ 3.8 และ สามารถดูรายละเอียด เส้นทางปั่นจักรยานเพื่อ การท่องเท่ียวด้วยตนเอง จาก 3 ช่องทาง ได้แก่ 1) แผ่นพับประชาสัมพันธ์แผนท่ีเส้นทางการปั่นจักรยาน 2) แผ่นซีดี วีดีโอเส้นทางปน่ั ในภาคผนวกและสามารถดูผา่ นช่องทาง bicycle cross country ภาพท่ี 3.8 ความสัมพนั ธ์ของการจดั เส้นทางป่นั จักรยานเพ่ือการท่องเที่ยว ตาม Leiper’s Model ท่ีมา : ทัศนีย์ นาคเสนีย์ (2559)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 50 พฤติกรรมของนกั ทอ่ งเทีย่ วเชิงกฬี าในกลมุ่ กิจกรรมงานป่ันจกั รยานเสน้ ทางผจญภยั มูลนิธิวิทยาลัยครูหมู่บ้านจอมบึง (2558) ได้จัดโครงการรณรงค์ “จอมบึงเมืองจักรยาน 2557 (ปีที่ 4) และได้ทาการประเมินผลความพึงพอใจ ความคิดเห็นต่อการจัดโครงการดังกล่าว พบว่า กลุ่มผู้ร่วม โครงการมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดต่อการจัดกิจกรรมดังกล่าว เพราะนอกจากจะเป็นการออก กาลังกายแล้วยังมีการให้ความรู้ด้านการใช้จักรยานอย่างถูกต้องและปลอดภัยแก่ประชาชนและเยาวชนใน อาเภอจอมบึง ทาให้เกิดการกระตุ้นการใช้จักรยานในชีวิตประจาวันมากย่ิงข้ึน สาหรับความคิดเห็นที่เห็น ควรปรับปรุง คือ การประชาสัมพันธ์โครงการท่ียังไม่สร้างกระแสการรณรงค์ได้อย่างจริงจัง การประสาน เร่ืองเสน้ ทางป่ันไมช่ ัดเจนโดยเฉพาะทางแยกทาให้นักปัน่ หลงทาง ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม เหน็ ควรใหม้ ีการจัด อบรมให้ความรู้การใช้จักรยานอย่างถูกต้องและปลอดภัยแก่เด็ก เยาวชน และประชาชนในจอมบึงอย่าง ต่อเนอ่ื ง ในทุก ๆ โอกาสวันสาคัญ ควรสง่ เสรมิ กจิ กรรมการท่องเทยี่ วในชุมชนด้วยการปั่นจกั รยาน และควร มีการประสานงานกับธุรกิจที่พักแรมในอาเภอจอมบึง แหล่งเรียนรู้ วิสาหกิจชุมชน ร้านอาหาร สร้างการมี ส่วนรว่ มกบั หน่วยงานในอาเภอจอมบึง เช่น โรงเรียน วัด โดยม่งุ เนน้ ทีเ่ ดก็ เยาวชน และประชาชนในอาเภอ จอมบึงเปน็ อนั ดบั แรก แลว้ จงึ ขยายผลสูป่ ระชาชนท่ัวไปตอ่ ไป ณฐั พงศ์ นันทภทั รพานิช และคณะ (2558) ได้ทาการศกึ ษาเรื่อง พฤตกิ รรมการป่ันจกั รยานของผู้ใช้ จักรยานเพื่อพัฒนาสู่การท่องเท่ียว อาเภอเมือง จังหวัดตรัง พบว่า ผู้ใช้จักรยานให้ความสาคัญกับสุขภาพ เป็นหลัก โดยเลือกใช้จักรยานเสือภูเขา เรียนรู้วิธีการใช้จักรยานจากอินเตอร์เน็ต ช่วงเวลาการปั่นมี 2 ช่วง คือ ปั่นวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ป่ันระยะทางสั้นๆ ปั่นคนเดียว และปั่นในวันเสาร์-อาทิตย์ โดยปั่นเป็นกลุ่ม เพ่ือ การท่องเท่ียว มีระยะทางการไหลในระหวา่ งการปั่นก็จะมีการจัดกิจกรรมท่ีเป็นการท่องเที่ยว การกุศล และ วันสาคญั ต่าง ๆ คา่ ใชจ้ า่ ยต่อครั้งประมาณ 50-100 บาท มีหนว่ ยงานภาครฐั ให้การสนับสนุนการป่ันจักรยาน คือ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง ซ่ึงได้วางนโยบายการจัดกิจกรรมการป่ันจักรยานเพื่อการ ท่องเที่ยวและสุขภาพ การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย สานักงานตรัง ส่งเสริมการตลาดและการ ประชาสมั พนั ธ์กิจกรรมและหน่วยงานเทศบาลนครตรงั จดั ทาเลนจักรยานในเขตเทศบาลนครตรัง ท้งั นหี้ าก ไดร้ บั การส่งเสริมการป่ันจักรยานเพ่ือการท่องเที่ยว โดยผ่านการทากิจกรรมการท่องเท่ียว และให้หน่วยงาน ภาครัฐทส่ี นบั สนนุ การป่ันจกั รยานมารว่ มประชาสัมพันธใ์ ห้เป็นท่ีรู้จกั มากข้ึน Mountain Bike การจัดการพ้ืนท่ีเขตเมืองให้เป็นเมืองจักรยาน ได้รับความร่วมมือจากหลาย หน่วยงาน อาทิ สถาบันการศึกษา ผู้นาหน่วยงานการปกครองทั้งสิ้น 7 จังหวัดที่ต้ังอยู่ในเมืองเวเนโต้ สมาคมการท่องเที่ยว และ สมาคม FIAB Veneto ซึ่งมี 4 พันธกิจ ได้แก่ 1) การทาแผนท่ีสาหรับ นักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเท่ียวด้วยตนเอง 2) การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคของภาครัฐ 3) การทบทวน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 51 และทาซ้าเพ่ือให้ได้ซ่ึงตัวแบบที่ดี และ 4) การนาเสนอนวัตกรรมการรองรับนักท่องเท่ียวท่ีไว้วางใจได้ถึง ความปลอดภยั โดยเฉพาะการป่นั เพ่ือการท่องเทยี่ วในวันหยุด ผลการสารวจพบวา่ ความตอ้ งการของนักปั่น จกั รยานเพ่ือการทอ่ งเทีย่ วด้วยตนเอง มี 3 รูปแบบ ทนี่ ักป่นั จักรยานต้องการ 1) การป่ันจักรยานเพื่อการท่องเที่ยวในวันหยุดท่ีตนเองกาหนดได้ (Cycling Holidays) รอบการ ปน่ั โดยเฉลย่ี ไม่เกิน 7 วนั 2) การป่นั จักรยานในวันหยุดประจาจะเป็นการปนั่ เพ่อื การท่องเท่ยี วไม่เกิน 3 วนั 3) การป่ันจักรยานท่องเท่ียวระยะส้ันของนักทัศนาจร หรือ ผู้มาเยือน มีรูปแบบการปั่นเพ่ือการ ผ่อนคลาย ใช่เวลาป่ันไม่เกิน 3 ช่ัวโมงต่อคร้ัง ดังน้ันผลิตภัณฑ์ท่ีจะส่งเสริมให้นักป่ันจักรยานเพ่ือการ ทอ่ งเทยี่ วเดนิ ทางได้ด้วยตนเองอย่างปลอดภัย คือ การจัดทาเส้นทาง 2 รูปแบบ คือ 1) เส้นทางป่ันจักรยานสาหรับนักทัศนาจร เดินทางไปกลับในวันเดียว ไม่พักค้าง ซ่ึงกลุ่มเป้าหมาย ในการใช้เส้นทางนี้คอื กลมุ่ ปน่ั จกั รยานแบบชา้ (Slow bike) หรอื ปน่ั เพอื่ การท่องเท่ียว นักป่ันไม่จาเป็นต้อง มีความเช่ียวชาญมากนัก ระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตรโดยเฉล่ีย มีจุดแวะพักคือสวนสาธารณะและร้าน จาหน่ายสินค้า อาหารและเครื่องดืม่ ทวั่ ไป 2) เส้นทางปั่นจักรยานสาหรับผู้ท่ีต้องการปั่น 1 สัปดาห์ เป็นการสร้างเส้นทางปั่นจักรยานที่มีการ เช่ือมโยงเอาแหล่งท่องเท่ียวที่หลากหลายโดดเด่นในพื้นท่ีมาผสมผสานเป็นเส้นทางท่องเท่ียว ระยะทางไกล มากมีให้เลือกในแต่ละเส้นทาง ต้ังแต่ 185 – 305 กิโลเมตร ในการประชาสัมพันธ์เส้นทางป่ันจักรยานเพื่อ การทอ่ งเท่ียวเป็นสงิ่ สาคัญและจาเปน็ ในการให้ข้อมลู เข้าถงึ กลมุ่ เปา้ หมายมากทสี่ ุด ซง่ึ หน่วยงานภาครัฐของ เวเนโต้ เลือกใช้ 6 ช่องทางคอื 1) จัดทาเป็นแผ่นพับ คู่มือ หรือ ใบปลิว (Brochure/Map/boards/Leaflet/Good Practice Guide หรอื Road book 2) ประชาสมั พันธผ์ า่ นเว็บไซต์ www.veneto.to 3) การทาป้ายสัญลักษณ์ติดต้ังไว้ริมถนนในแต่ละพื้นที่ ที่มีหลายรูปแบบ คือ เป็นแบบบอกทาง ขนาดเลก็ พรอ้ มลูกศรบอกทศิ (Small arrow signs) 4) ป้ายช้บี อกดว้ ยลกู ศรตามทางแยกทางโคง้ (Directional arrows) 5) แผงป้ายประชาสมั พนั ธ์ (Information panels) 6) การนาเสนองานหรือ การถ่ายทาเป็นวีดีโอ (VDO) และทาการเผยแพร่ผ่านอินเตอร์เน็ตทุก รปู แบบ อาทิ YouTube Facebook line IG Instagramฯลฯ Spice Roads (2556) ได้แบ่งเกรดนักท่องเท่ียวด้วยจักรยานออกเป็น 5 ระดับ ซ่ึงแต่ละประเภท จะต้องจดั เส้นทางและกจิ กรรมระหวา่ งการท่องเที่ยวให้ตรงตามสมรรถนะของนกั ปัน่ จกั รยาน ได้แก่ ระดับท่ี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 52 1 คือ กลุ่มพ้ืนฐาน เหมาะสาหรับนักปั่นหน้าใหม่ ใคร ๆ ก็ปั่นได้ มีระยะทางปั่นระหว่าง 25-40 กิโลเมตร ต่อวัน เน้นการป่ันเพื่อการชมวิวทิวทัศน์ ไม่เน้นทาเวลา เหมาะสาหรับกลุ่มครอบครัวหรือผู้สูงวัยท่ีต้องการ ออกกาลงั กาย ระดับที่ 2 กลุ่มปานกลาง มีทักษะการป่ันจักรยานมาแล้ว ชอบปั่นในระยะทางที่ไกล อาจจะป่ันเพื่อ การทอ่ งเทย่ี วไปในพ้นื ทีแ่ หลง่ ทอ่ งเท่ียวแปลกๆ ใหม่ ดว้ ยระยะทางประมาณ 40-60 กิโลเมตรตอ่ วัน ระดับท่ี 3 กลุ่มคล่องแคล่ว เป็นกลุ่มที่มีสมรรถนะค่อนข้างแข็งแรง และออกกาลังกายด้วยการปั่น จักรยานเป็นประจา สามารถปน่ั ไปในระยะทางไกล ๆ 50-80 กโิ ลเมตรต่อวัน ระดับท่ี 4 กลุ่มนักป่ันท่ีท้าทาย ชอบเส้นทางการป่ันท่ีท้าทาย โลดโผน ผจญภัย นักป่ันกลุ่มนี้จะมี ทักษะและ ใชเ้ ทคนคิ การป่นั จกั รยาน การควบคมุ จักรยานคอ่ นขา้ งมาก นยิ มปั่นในทางเรียบและทางภูเขา ระดับท่ี 5 กลุ่มทนทาน ชอบเส้นทางปั่นท่ียาก ท้าทาย ผจญภัย ฝึกความอดทน นิยมป่ันในทางเรยี บ เพ่ือทาสถิติความเร็ว หรือ นิยมป่ันบนผิวถนนขรขุ ระ ปีนเขา เพื่อทดสอบสมรรถนะของตนเอง และทาสถิติ ใหมใ่ หต้ นเองเสมอ สรุป ตามความหมายของนักท่องเที่ยวคุณภาพ ของ ยุวดี นิรัตน์ตระกูล (2557) คือ นักท่องเที่ยว ท่องเทีย่ วกล่มุ เปา้ หมายท่ีมีการใช้จา่ ย ในระหว่างการเดนิ ทางสูงกว่านักท่องเที่ยวกลุ่มทวั่ ไป สามารถจับจ่าย สินค้าทางการท่องเที่ยวตามที่ต้องการ ไม่ก่อผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมท้ังด้านธรรมชาติ สังคมและ วัฒนธรรม มี 3 ประเภท ได้แก่ กลุ่ม Reformer (ผู้รังสรรค์ตนเองและโลกให้ดีกว่าเดิม) กลุ่ม Succeeder (ผู้คว้าชัย) กลุ่ม Mainstream (ครอบครัวที่อบอุ่น มั่นคง) ดังเช่น พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวในกลุ่มกีฬา กลุ่มกิจกรรมงานว่ิงถนน ว่ิงผจญภัย การป่ันจักรยานทางเรียบ และการป่ันจักรยานผจญภัย พบว่า มี พฤติกรรมท่ีหลากหลาย จาแนกไปตามลักษณะของแต่ละประเภทกีฬาท่ีแตกต่างกัน ยกตัวอย่างผล การศึกษาพฤติกรรมเชิงลึกของนักท่องเท่ียวเชิงกีฬาด้วยจักรยาน ท่ีพบว่า มีปัจจัยที่สาคัญจาเป็นในการ นามาเป็นส่วนประกอบเพื่อวิเคราะห์การจัดเส้นทางท่องเที่ยวด้วยจักรยาน ประกอบด้วย 20 ประการ เรยี กวา่ “9A4E6S1R Model” โดยประกอบไปด้วย ปัจจัยดังตอ่ ไปน้ี 9Aประกอบด้วย1) Attraction= ด้านความดึงดูดของเส้นทางจักรยานเพ่ือการท่องเที่ยว 2) Accessibility=ด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเท่ียว3) Accommodation=ด้านที่พัก 4) Amenities= ด้านส่ิง อานวยความสะดวก5) Activity= ด้านความหลากหลายของกิจกรรม 6) Authenticity= ความเป็นดั้งเดิม 7) Acceptance= Community ดา้ นการยอมรับของสงั คมชมุ ชนในท้องท่ี 8) Awareness= การตระหนักรู้

53 เข้าใจและ 9) Android Application/iOS = โปรแกรมท่ีใช้สบื ค้นข้อมลตา่ ง ๆ ผ่าน โทรศพั ทม์ ือถอื /Smart phone 4E ประกอบด้วย1) Entertainment= ความบันเทิงสนุกสนาน 2) Education= ได้เรียนรู้/ ความรู้3) Excitement= มคี วามตื่นเต้น และ 4) Environment= ท่ามกลางสิ่งแวดลอ้ มทดี่ ี 6S ประกอบด้วยService= การบริการ 2) Satisfaction= สร้างความพึงพอใจ 3) Safety= ปลอดภัย 4) Sanitary= สะอาดถูกสุขอนามัย 5) Skill= ทักษะสมรรถนะและ 6) Sharing = การแบ่งปัน การใชถ้ นนรว่ ม/นา้ ใจ 1R คือ R = Risk Managementการบริหารความเสย่ี ง แบบฝึกหัดท้ายบท 1. จงอธบิ ายความหมายพฤติกรรมของนกั ท่องเทีย่ วเชงิ กฬี า 2. จงอธิบายพฤติกรรมของนักทอ่ งเทีย่ วเชงิ กีฬาในกลมุ่ กิจกรรมงานวิง่ ถนน 3. จงอธิบายพฤตกิ รรมของนกั ท่องเที่ยวเชิงกฬี าในกลมุ่ กิจกรรมงานวิ่งผจญภยั 4. จงอธบิ ายพฤตกิ รรมของนกั ทอ่ งเท่ยี วเชงิ กีฬาในกลมุ่ กจิ กรรมงานจกั รยานทางเรียบ 5. จงอธบิ ายพฤตกิ รรมของนักท่องเทย่ี วเชงิ กีฬาในกลมุ่ กิจกรรมงานจักรยานเส้นทางผจญภัย 6. การนาข้อมูลพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา มาประยุกต์ใช้กับแนวทางการจัดการธุรกิจการ ทอ่ งเทีย่ ว ได้อย่างไร มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 54 บทที่ 4 มาตรฐานการจัดมหกรรมกีฬาของประเทศไทย วตั ถุประสงค์ของการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรยี น 1. สามารถอธิบายความสาคญั ของมาตรฐานการจดั มหกรรมกฬี าของประเทศไทย 2. สามารถอธิบายข้นั ตอนการขอการรบั รองมาตรฐานของสหพนั ธส์ มาคมกรีฑานานาชาติ (IAAF) 3. สามารถอธิบายแนวปฏบิ ัติสาหรับการขออนญุ าตจัดกจิ กรรมกีฬา 4. สามารถอธิบายข้ันตอนการขออนุญาตการจัดงานปั่นจักรยานประเภทการปั่นทางเรียบ (Road Cycling) การปั่นทางผจญภัย (Mountain Bike) และการปั่นทาง Cross country ของจังหวัด ราชบรุ ี การจัดกิจกรรมกีฬา เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมท่ีผู้จัดจะต้องให้ความสาคัญกับมาตรฐานการจัด มาตรฐานสนาม และมาตรฐานความปลอดภยั ต่าง ๆ มากมาย เพือ่ เป็นการป้องกันและการควบคุมไมใ่ ห้เกิด ความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินของนักวิ่งท่ีมาร่วมกิจกรรมของแต่ละสนาม และเพ่ือเป็นการรักษา ภาพลักษณ์ที่ดีของผู้จัดกิจกรรม ที่มีความจาเป็นต้องให้ความสาคัญอย่างจริงจังกับมาตฐานการจัดกีฬาแต่ ละกลุ่ม เนื่องจากปัจจุบันก่อนท่ีจะเกิดวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ประเทศ ไทยมกี ารจัดอีเวนท์ (EVENT) การแขง่ ขันรายการตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วกบั กฬี ามวลชนมากกว่า 1,000 รายการต่อปี งานวิ่งมาราธอนถือเป็นกีฬาท่ีได้รับความนิยมมากท่ีสุด โดยเฉล่ีย 1 งาน สามารถสร้างผลกระทบทาง เศรษฐกจิ มากกวา่ 200 ล้านบาท (จริ ตุ ถ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, 2562) ซง่ึ จากกระแสการจดั กิจกรรมทางกาย ด้วยกิจกรรมเดิน-วิ่ง ส่งผลให้กลุ่มคนรุ่นใหม่มาใส่ใจสุขภาพมากย่ิงขึ้น ท่ีสาคัญกิจกรรมทางกายช่วยลด ความสูญเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเร้ือรังที่ปัจจุบันคนไทยป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) กว่า 14 ล้าน คน และผู้ปว่ ยใหม่ถึง 11,129 รายต่อปี นาความสญู เสยี คา่ รกั ษาพยาบาลมากกว่า 5,977 ลา้ นบาท (ไพโรจน์ เสานว่ ม, 2562) ดังน้ันประเทศไทย จงึ ได้เลง็ เหน็ ความสาคญั ของกิจกรรมกีฬา และเล็งเห็นความก้าวหน้าใน เชงิ ยทุ ธศาสตร์ในการใช้กีฬามวลชน (Mass Participation Sports) โดยเฉพาะการว่งิ มาราธอนบนทอ้ งถนน ท่ีจะมีประโยชน์ต่อพ้ืนท่ีท่ีจัดงานไม่ว่าจะเป็นเรื่องการสร้างรายได้เศรษฐกิจ ภาพพจน์เชิงสิ่งแวดล้อม กิจกรรมสร้างสรรค์ชุมชน ความสามัคคี รวมถึงเป็นการต่อยอดสังคมกีฬาเพ่ือความยั่งยืน ซึ่งถือเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลท่ีไม่ใช่เพียงตัวเลขทางการเงิน หากแต่เป็นการสร้างต้นทุนใหม่ในเร่ือง สขุ ภาพ ความเข้มขน้ ของชุมชน การสร้างนวตั กรรมทางความคิด สง่ เสริมวัฒนธรรมและอื่น ๆ แต่ท้งั นี้ ด้วย การเติบโตอย่างรวดเร็วตามกระแสโลกของการจัดการแข่งขันวิ่งมาราธอนบนท้องถนนย่อมต้องมี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 55 ข้อผิดพลาดและอุปสรรคท่ีอาจจะเกิดปัญหาใหญ่ เน่ืองจากยังไม่มีระบบระเบียบและกฎเกณฑ์ จึงทาให้เกิด ความเสยี หายจากการจดั งานจากผจู้ ดั ท่ีไม่ได้คานึงถงึ ความเสียหายที่ก่อให้เกิดผลกระทบ ทงั้ ตวั บคุ คล นกั วงิ่ สังคม และภาพลักษณ์ของพื้นท่ีจัดงาน (เอกสารประกอบการประชุมงานว่ิงมาราธอนระดับโลก ระหว่าง วันท่ี 4-5 กรกฎาคม 2562) ในการน้ีจึงมีหน่วยงานหลายภาคส่วนเข้ามาร่วมมือกันตามบทบาทในการ สนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรมงานว่ิงมาราธอนของประเทศไทยเพื่อให้ได้มาตรฐานการจัดงานว่ิงบนท้อง ถนน (Thailand Road Racing Standard) ดังน้ี 1) การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) 2) สมาคมกรีฑา แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานที่ให้การรับรองระยะทางวิ่งของสนามการแข่งขันตา่ ง ๆ ของประเทศไทย 3) สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (Thailand convention & Exhibition Bureau : TCEB) 4) สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ 5) หน่วยงานอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง สหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (International Association of Athletics Federations : IAAF) เป็นองค์กรระดับโลกที่ทาหน้าท่ีควบคุมดูแลกีฬากรีฑา ท้ังทางด้านการแข่งขันและความเป็นมาตรฐานของ อุปกรณ์ ซึ่งหมายถึง การว่ิงประเภทถนน (Road Racing) เพ่ือให้การทาสถิติโลกอย่างเป็นทางการมี มาตรฐาน ในแต่ละปี IAAF จะมอบป้ายรับรองให้แก่งานแข่งขันวิ่งประเภทถนนช้ันนาทั่วโลก ดังเช่น Boston Marathon Chicago Marathon Dubai Marathon Paris Marathon NYC Marathon แ ล ะ Tokyo Marathon ท่ีตา่ งได้รบั การรับรองจนเปน็ งานวงิ่ ระดบั โลกทเ่ี รยี กว่า World Major Marathon ที่นัก วิ่งท่ัวโลกต่างรอคอยไปสร้างประสบการณ์การวิ่งในบรรยากาศงานแข่งขันระดับโลก โดยรอบระยะเวลาขอ การรับรอง IAAF จะมกี ารพจิ ารณาใบสมัครปลี ะ 2 ครง้ั คือ คร้ังท่ี 1 งานแข่งขันว่ิงประเภทถนน ท่ีจัดระหว่างเดือนมกราคม ถึง มิถุนายน จะถูกประเมินใน เดอื นสิงหาคม ซง่ึ IAAF ตอ้ งได้รับใบสมคั รไมเ่ กนิ วันท่ี 15 สงิ หาคม ครั้งท่ี 2 งานแข่งขันวิ่งประเภทถนน ที่จัดระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงธันวาคม จะถูกประเมินใน เดอื นธันวาคม โดย IAAF ต้องไดร้ บั ใบสมคั รไมเ่ กินวันท่ี 15 ธันวาคม มาตรฐาน IAAF : Road Race Gold Label, Silver Label และ Bronze Label งานแข่งขันว่ิงประเภทถนนอาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ มาราธอน ฮาล์ฟมาราธอน และงาน แข่งขันวิ่งประเภทอื่น ๆ ซึ่งการรับรองการแข่งขันว่ิงประเภทถนนท่ีได้รับป้ายรับรองจากสหพันธ์สมาคม กรฑี านานาชาติ (IAAF) มดี ว้ ยกัน 3 ระดบั ได้แก่ 1) ป้ายรบั รองระดับทอง (Road Race GOLD Label) 2) ปา้ ยรบั รองระดบั เงนิ (Road Race SILVER Label)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 56 3) ปา้ ยรบั รองระดับทองแดง (Road Race BRONZE Label) ปัจจุบัน IAAF ได้เพ่ิมมาตรฐานสูงสุดอีก 1 ระดับ คือ ป้ายการรับรองระดับแพลตตินัม (Platinum Label) ภาพท่ี 4.1 มาตรฐาน IAAF ท่มี า เอกสารประกอบการประชมุ งานว่งิ มาราธอนระดบั โลก ระหว่างวนั ที่ 4-5 กรกฎาคม 2562 การขออนญุ าตจัดกจิ กรรมงานว่งิ ประเภทถนน ด้วยการจดั กจิ กรรมกีฬาอยภู่ ายใต้การดูแล กากบั ตดิ ตาม ให้การดาเนนิ การเป็นด้วยความเรยี บร้อย ไม่สร้างความเสียหายให้แก่นักกีฬา ผู้มาเยือน ผู้จัดกิจกรรม และชุมชน นอกจากผู้จัดจะต้องจัดกิจกรรมให้ เป็นไปตามมาตรฐานสากลและมาตรฐานสนามแล้ว การขออนุญาตจัดกิจกรรมงานกีฬาจะต้องขออนุญาต จัดต่อหน่วยงานของจังหวดั นั้น ๆ เพื่อให้การจัดกิจกรรมงานว่งิ เกิดการรับรู้รับทราบของชุมชนในพ้ืนท่ี เพื่อ สรา้ งการมีส่วนร่วมกับภาคีที่เก่ียวข้อง ดังเชน่ การจดั กิจกรรมงานวิง่ หรือปั่นจกั รยานของจังหวัดราชบุรี ผจู้ ดั จะต้องได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตการจัดกิจกรรมวิ่งและป่ันจักรยานจังหวัดราชบุรี ตามเง่ือนไขท่ีกาหนด ซึ่งเป็นแนวทางท่ีดีและรัดกุม ซึ่ง จังหวัดราชบุรี เป็นจังหวัดนาร่อง ที่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา ทางจังหวัดโดย สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดราชบุรี ร่วมกับ สานักงานกีฬา จงั หวดั และ หนว่ ยงานปกครอง องค์กรในพืน้ ที่ ไดม้ กี ารเสนอและแต่งต้ังคณะกรรมการ พจิ ารณาอนญุ าตการ จดั กจิ กรรมวิ่งและปั่นจักรยานจังหวัดราชบุรี โดยมีอานาจหนา้ ท่ี ดังน้ี (1) พจิ ารณา กลน่ั กรอง ตรวจสอบมาตรฐาน ความพรอ้ ม และความปลอดภัย ของผู้ขออนญุ าตการ จัดกจิ กรรมวิ่งและปั่นจักรยานในพ้ืนทข่ี องจังหวดั ราชบรุ ี ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานแนวปฏิบตั ิและขั้นตอนการ จัดกจิ กรรมวิง่ และป่ันจกั รยานของจงั หวัดราชบุรี (2) พจิ ารณาอนญุ าตการขอจดั กิจกรรมวิ่งและปน่ั จกั รยานในพ้ืนที่ของจังหวดั ราชบุรี ให้ถกู ต้องตาม กฎระเบียบขอ้ กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งและสอดรบั กบั มาตรฐาน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 57 แนวปฏบิ ตั ิ และขั้นตอนการจดั กิจกรรมวิง่ และป่ันจักรยานจังหวดั ราชบรุ ี (3) รายงานผลการพิจารณาขออนุญาต เสนอให้จังหวัดทราบทุกครั้งท่ีมีการขออนุญาตจัดกิจกรรม วิง่ และปั่นจักรยานในพน้ื ทข่ี องจังหวัดราชบรุ ี (4) กากับติดตามการดาเนินงานการจัดกิจกรรมวิ่งและปั่นจักรยานให้เป็นไปตามแนวทาง ปฏิบัติการจัดกิจกรรมว่ิงและป่ันจักรยานจังหวัดราชบุรีและคู่มือการจัดกิจกรรมวิ่งและป่ันจักรยานจังหวัด ราชบุรี (5) ดาเนินการอนื่ ตามทจ่ี งั หวัดราชบรุ ีมอบหมาย ดงั นัน้ ผจู้ ัดกิจกรรมกิจกรรมว่ิงหรือปนั่ จกั ยานทกุ ประเภทจะต้องได้รับการอนุญาตก่อน ถงึ จะมีสทิ ธ์ิ จัดกิจกรรมในพ้ืนท่ีต่าง ๆ ของจังหวัดราชบุรีได้ หากไม่ปฏิบัติตามประกาศของจังหวัด หรือมีการละเมิด ทางจังหวดั จะพจิ ารณาเพือ่ กาหนดบทลงโทษตามลาดบั ต่อไป การขออนุญาตจัด มขี ้นั ตอนและรายละเอียดท่ี ผจู้ ดั กจิ กรรมวงิ่ จะตอ้ งดาเนนิ การและปฏิบตั ิดังนี้ การจดั กจิ กรรมวิ่งและปนั่ จกั รยานในจงั หวดั ราชบุรี ด้วยการจัดกิจกรรมกีฬาในแต่ละพื้นที่ นอกจากผู้จัดจะมีความเช่ียวชาญในการจัดกิจกรรมแล้ว การได้รับอนุญาตให้จัดจากเจ้าของพ้ืนท่ีท่ีมีอานาจในการตัดสินใจ การดูแลความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินของผู้ที่เดินทางมาร่วมกีฬาแล้ว ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของชมุ ชนท้องถ่ินในพื้นท่ีการ จัดต่างก็มีความสาคัญที่ต้องได้รับการดูแลเช่นกัน ดังนั้น จังหวัดราชบุรี จึงได้กาหนดมาตรการการขอ อนุญาตจัดกิจกรรมกีฬาประเภทว่ิงและป่ันจักรยานข้ึน โดยมีรายละเอียดข้ันตอนการดาเนินงานเพื่อขอ อนุญาตดังนี้ (1) ผู้จัดกิจกรรมว่ิง ยื่นเรื่องขออนุญาตจัดกิจกรรมต่อคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตการจัด กิจกรรมว่ิงและปั่นจักรยานจังหวัดราชบรุ ี (คณะกรรมการระดับอาเภอ) ซ่ึงมีนายอาเภอ (ในท้องที่ที่จดั กจิ กรรม) เป็นประธานคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 45 วัน ก่อนวันจัดกิจกรรมฯตามแนวทางปฏิบัติการจัดกิจกรรมว่ิง และป่ันจักรยานจงั หวัดราชบุรแี ละคมู่ ือการจัดกจิ กรรมวิง่ และป่ันจักรยานจังหวดั ราชบรุ ี (2) เม่ือย่ืนเรื่องขออนุญาตตามข้อ 1 แล้ว คณะกรรมการพิจารณาอนุญาตการจัดกิจกรรมวิ่งและ ป่นั จกั รยานจังหวัดราชบุรจี ะพิจารณาและแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้จัดทราบไม่เกิน 15 วันนบั ต้ังแตว่ ันที่ ย่นื เร่ืองขออนุญาตหากได้รับการพิจารณาอนุญาตคณะกรรมการฯ จะแจ้งไปยังจังหวัดเพ่ือจังหวัดจะออก หนังสือรบั รองการจัดกิจกรรมให้เพื่อเปน็ การรับรองในการจัดกิจกรรมในคร้งั น้ัน ๆ เพ่ือท่ีผจู้ ดั กิจกรรมจะนา หนังสือรับรองดังกล่าวไปใช้ในการติดต่อประสานงานเพ่ือความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและองค์กร

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 58 ปกครองส่วนท้องถ่ินเพื่อร่วมจัดกิจกรรมหรอื อานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมรวมถึงการใหส้ ิทธิพิเศษ ในการติดต้ังป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ในพื้นที่ของจังหวัดและการรับรองมาตรฐานการจัดกิจกรรมว่ิงและป่ัน จักรยาน ในอนาคตหากกิจกรรมมีความไมช่ ัดเจนกรอกรายละเอียดไมค่ รบถว้ นคณะกรรมการฯ อาจให้ผู้จัด กิจกรรมฯ นาข้อเสนอข้อมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมฯ กลับไปทบทวน ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมใหม่และ นาสง่ กลับให้คณะกรรมการฯ พจิ ารณาตามข้นั ตอนโดยลาดบั ต่อไป (3) การจัดกิจกรรมวิ่งและป่ันจักรยานที่ได้รับอนุญาตแล้วผู้จัดกิจกรรมจะต้องปฏิบัติการจัด กิจกรรมให้เป็นไปตามคู่มือการจัดกิจกรรมวิ่งและปั่นจกั รยานจังหวัดราชบุรีรวมถึงการกากับดูแลให้มีความ ปลอดภัย ความยุติธรรมความเท่าเทียมและความสนุกสนานโดยมีคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตการจัด กิจกรรมวิ่งและปั่นจักรยานจังหวัดราชบุรีเป็นผู้กากับติดตามการดาเนินงานการจัดกิจกรรม ก่อนได้รับ อนุญาตจากคณะกรรมการพิจารณาอนุญาตการจัดกิจกรรมวิ่งและปั่นจักรยานจังหวั ดราชบุรีห้ามผู้จัด กจิ กรรมประชาสัมพันธแ์ ละรับสมคั ร ดังแผนภาพแสดงข้นั ตอนต่อไปนี้ ภาพท่ี 4.2 ข้นั ตอนการดาเนินงานเพ่ือขออนญุ าต ท่มี า สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จงั หวัดราชบุรี (2562)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 59 คาอธิบายข้อมูลรายละเอียดการจดั กจิ กรรมงานวง่ิ ข้อมูลการจัดกิจกรรมวิ่งที่ขออนุญาตเพ่ือจัดกิจกรรมการวิ่งในจังหวัดราชบุรีน้ีจะเป็นแนวทางในการ จัดกิจกรรมงานวิ่งท่ีมีประสิทธิภาพลดปัญหาความไม่พร้อมและลดความเสี่ยงอันตรายต่อชีวิตร่างกายและ ทรัพย์สินของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมการว่ิง ทั้งน้ี เพื่อให้หน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนที่ทาหน้าท่ีกากับดูแลการ จดั กจิ กรรมการวิ่ง ผสู้ นบั สนนุ รวมถึงผ้เู ก่ยี วข้องได้ตรวจสอบตนเองว่า มคี วามพร้อมในการจัดกิจกรรมการว่ิง มากนอ้ ยเพียงใดโดยมีข้อกาหนดรายการตรวจสอบแบ่งเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู และรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมการวิ่ง ตอนที่ 2 การขออนญุ าตและการประสานงานหน่วยงานตา่ ง ๆ ตอนท่ี 3 ขอ้ มูลประกอบด้านความปลอดภัย (Safe) ตอนท่ี 4 ขอ้ มลู อ่นื ๆ ที่ต้องการนาเสนอ ตอนที่ 1 ขอ้ มลู และรายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรมการวิ่ง 1.1 รายละเอยี ดผู้รบั ผิดชอบโครงการ/กิจกรรมการว่ิง การให้ขอ้ มูลรายละเอียดของผรู้ บั ผิดชอบในการจดั กจิ กรรมหรือดาเนินโครงการจัดกิจกรรม - กรณีท่ีเป็นหน่วยงานร่วมจัดกิจกรรมการวิ่ง เป็นการจัดร่วมกันในนามของหน่วยงาน ราชการ หนว่ ยงานรัฐวิสาหกิจ หรอื หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ควรจะต้องระบุรายละเอียดของผู้ที่ เป็นหน่วยงานร่วมจัด และผู้ดาเนินการจัดโครงการ/กิจกรรม (สถานท่ีติดต่อ หมายเลขโทรศัพท์ ช่องทาง ออนไลน์ ฯลฯ) - กรณีที่เป็นบุคคลธรรมดา ควรจะต้องระบุถึงช่ือ – สกุล และรายละเอียดของผู้ที่เป็น ผดู้ าเนนิ การจัดโครงการ/กิจกรรม (สถานที่ตดิ ตอ่ หมายเลขโทรศัพท์ ช่องทางออนไลน์ ฯลฯ) - กรณีท่ีเป็นนิติบุคคล ควรจะต้องระบุถึงช่ือของนิติบุคคล และข้อมูลของผู้มีอานาจลงนาม หรือดาเนินการแทนนิติบุคคล อาทิ หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้มีอานาจลงนาม และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ตามกฎหมาย (สถานทตี่ ดิ ต่อ หมายเลขโทรศัพท์ ชอ่ งทางออนไลน์ ฯลฯ) 1.2 วัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม ระบุรายละเอียดของวัตถุประสงค์ของโครงการหรือการจัดกิจกรรมว่ิง โดยจะต้องเป็น วตั ถปุ ระสงคท์ ่ไี มม่ เี จตนารมณ์ทขี่ ัดต่อกฎหมาย หรอื ไม่ขดั ต่อความสงบเรียบรอ้ ย 1.3 ชื่อโครงการ/กิจกรรมและสถานท่ีจดั โครงการ/กิจกรรม ระบุรายละเอียดช่ือโครงการ/กิจกรรมและสถานท่ีการจัดกิจกรรมหรือดาเนินโครงการ ด้วยการแสดงให้เห็นถึงสถานที่หรือพื้นท่ีบริเวณที่จัดกิจกรรม พิกัดของสถานท่ี (เช่น พิกัดจาก Google Map

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 60 เป็นตน้ ) รวมท้ังแนบแผนที่จดั กิจกรรมแสดงทต่ี ั้งของการจดั กิจกรรมหรือดาเนนิ โครงการทัง้ น้ี สถานทด่ี งั กล่าว ควรเปน็ สถานที่ท่ีมีลกั ษณะเป็นพื้นที่สาธารณะ หรอื พื้นทขี่ องทางราชการ หรือพ้นื ทส่ี ่วนบคุ คลที่ได้รับอนุญาต ให้จดั กจิ กรรมวง่ิ หรือดาเนนิ โครงการ ได้อย่างเป็นลายลักษณอ์ กั ษรหรอื ไดร้ ับอนุญาตอยา่ งเป็นทางการ 1.4 ประเภทของการจดั กิจกรรมวิง่ ระบรุ ายละเอยี ดประเภทของการจดั กจิ กรรมการวงิ่ ให้ชดั เจน อาทิ - การว่ิงเพื่อความสนุกสนาน หรือฟันรัน (Fun Run) หรือท่ีเรียกกันว่า “เดิน-ว่ิงเพื่อการกุศล” ระยะทาง ไม่เกิน 5 กิโลเมตร - การวงิ่ มนิ ิมาราธอน (Mini Marathon) สว่ นใหญใ่ นประเทศไทยมักนยิ มใชร้ ะยะทาง 10 กโิ ลเมตร - การว่ิงครึ่งมาราธอน (Half Marathon) ระยะทาง 21.1 กิโลเมตร - การว่ิงมาราธอน (Marathon) ระยะทาง 42.195 กิโลเมตร เป็นการจัดกิจกรรมวิ่งทางถนน ระยะไกลทเี่ ป็นมาตรฐานและไดร้ ับความนิยมท่ัวโลก - การวิ่งเทรล (Trail Running) เป็นการวิ่งผจญภัยในเส้นทางธรรมชาติ โดยมีระยะทาง ไม่แน่นอนขึ้นกับภูมิประเทศท่ีจัดการแข่งขัน เช่น ระยะ 15 , 25 , 50 , 100 กิโลเมตร หรือมากกว่า การว่ิง แบบนเ้ี หมาะสาหรบั นักว่งิ ทีช่ อบทา้ ทายและมีความแขง็ แกรง่ - การว่ิงแอ็ดเวนเจอร์ (Adventure Running) เป็นการว่ิงผจญภัยผสมกับกีฬาท่ีหลากหลาย ระยะทางไม่แน่นอนขึ้นกับภมู ิประเทศและกิจกรรม เช่น ระยะ 15 , 25 , 50 , 100 กิโลเมตร หรอื มากกวา่ เหมาะ สาหรับนักวง่ิ ผกู้ ล้าทีแ่ ข็งแกร่งและชอบความท้าทาย - การวิ่งเอ็กซ์ทรีม (Extreme Running) เป็นการวิ่งผจญภัยเพื่อเอาชีวิตรอดจากความ หลากหลาย ทั้งในธรรมชาติและสร้างสรรค์ขึ้นตามกลุ่มที่สนใจ ระยะทางไม่แน่นอนเหมาะสาหรับนักวิ่งท่ี ชอบความท้าทายและมีความแข็งแกร่งสูงมาก 1.5 ชว่ งวันและเวลาของการจดั กิจกรรมวงิ่ ระบุรายละเอียดของช่วงระยะเวลาของกิจกรรมการแข่งขันให้เกิดความชัดเจน เพ่ือให้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรับทราบและวางแผนการร่วมกิจกรรมการแข่งขัน การจัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ผู้จัด กิจกรรมต้องคานึงถึงกับสภาพอากาศในแต่ละพื้นที่ (เช่น อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ เป็นต้น) ช่วงเวลาของวนั ที่ ทาใหผ้ เู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมได้รับอันตรายจากความร้อนน้อยท่ีสุด สภาพการจราจร ความสะดวกของท้องถิ่น เทศกาลของ ท้องถ่ิน ความสามารถในการบริการด้านที่พัก งานว่ิงอ่ืน ๆ ที่จัดในพ้ืนท่ีใกล้กันหรือมีกลุ่มนักวิ่งเป้าหมาย คลา้ ยกนั

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 61 ตอนท่ี 2 การขออนุญาตและการประสานงานหนว่ ยงานตา่ ง ๆ 2.1 การขออนญุ าตและการประสานงานส่วนราชการหรอื หน่วยงานในพื้นที่ โดยการขออนญุ าตน้ันผู้จัดต้องไดร้ ับอนุญาตจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องตามกฎหมาย และ ประสานแจง้ ใหส้ ่วนต่าง ๆ ทราบลว่ งหน้าอยา่ งน้อย ดงั นี้ - ส่วนราชการที่มีหน้าที่รับผิดชอบการอนุญาตให้ใช้พ้ืนท่ี อาทิ ท่ีว่าการอาเภอ กรมทาง หลวง กรมทางหลวงชนบท กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หน่วยงานด้านความม่ันคงสานักงานตารวจ แห่งชาติ ฯลฯ - ประสานการปิดการจราจรในพ้ืนทแี่ ละพื้นทใ่ี กล้เคียงในเส้นทางท่จี ะจัดกจิ กรรมวิ่ง - ประสานโรงพยาบาลและสถานพยาบาลที่ให้บริการทางการแพทย์ในพื้นท่ี และพื้นท่ีใกล้เคียง ทราบล่วงหน้าว่าจะมกี ารจัดกิจกรรมวง่ิ - ประสานใหผ้ อู้ ยู่อาศยั ในพืน้ ทีโ่ ดยรอบเสน้ ทางว่ิงทราบลว่ งหน้าว่าจะมีการจัดกิจกรรมวิ่ง - ประสานให้หน่วยงานอ่ืน ๆ ในพ้ืนท่ีและโดยรอบเส้นทางว่ิงทราบล่วงหน้าว่าจะมีการจัด กิจกรรมว่ิงอาทิ วัด โรงเรียน ตลาด/ตลาดนัด เป็นต้นทั้งนี้ สามารถแนบเอกสารและ/หรือรายละเอียดได้ตาม ความเหมาะสม 2.2 การขออนุญาตจัดจากหน่วยงานจราจร/ทางหลวง/ตารวจในพน้ื ท่ี ร ะ บุร า ย ล ะ เ อีย ด ข อ ง ข้อ มูล แ ล ะ / ห รือ ผู ้รับ ผ ิด ช อ บ ใ น ก า ร ติด ต่อ ป ร ะ ส า น ง า น เ พื่อ ข อ อนุญาตจัดกิจกรรมวิ่งหรือการใช้พื้นที่ผิวการจราจรทั้งที่เป็นถนนในเขตความรับผิดชอบของสถานี ตารวจในพื้นที่ทางหลวงชนบท หรือ ทางหลวงแผ่นดินในความรับผิดชอบของกองบังคับการตารวจทางหลวง รวมถึงการให้บริการด้านการรักษาความปลอดภัยกับการอานวยความสะดวกของเจ้าพนักงานตารวจในพื้นท่ี โดยเป็นการดาเนินการให้ถกู ต้องตามกฎหมายในเรื่องที่เก่ียวข้องอืน่ ๆ ว่าได้ดาเนินการแลว้ อยา่ งไร และมีผูใ้ ด สังกัดใดเป็นผู้ติดต่อประสานงานร่วม (contract point) ซ่ึงจะต้องระบุให้ชัดเจนว่า ได้มีการดาเนินการเรียบร้อย แล้ว ทัง้ น้ี ให้แนบเอกสารหรือรายละเอยี ดประกอบการพจิ ารณา ตอนที่ 3 ขอ้ มูลประกอบดา้ นความปลอดภัย (Safe) 3.1 การบรกิ ารทางการแพทย์ และการดแู ลนักว่งิ ท้ังก่อนและหลังเสน้ ชยั - มีจุดบริการปฐมพยาบาลทุก 5 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในระยะประมาณ 100 เมตรหลังจากจุด ใหน้ ้า รวมท้งั ควรจดั ให้มจี ดุ บรกิ ารปฐมพยาบาลใกลเ้ สน้ ชยั พร้อมแพทย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหากมผี ู้เขา้ รว่ มกิจกรรมไม่

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 62 เกิน 2,000 คน ใหม้ ีรถพยาบาล 2 คัน ทัง้ น้ีใหม้ รี ถพยาบาลเพิ่มหนึ่งคัน เมอื่ มีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมเพ่ิมขึ้นทุก 2,000 คน - ใหจ้ ัดเตรียมการกู้ชีพและปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ โดยจัดให้มีเครือ่ งกระตกุ หัวใจไฟฟา้ แบบอตั โนมัติ (Automated External Defibrillator : AED) สาหรับกรณีฉุกเฉินหรือวิกฤติตามมาตรฐานของสถาบัน การแพทยฉ์ กุ เฉินแหง่ ชาติ (สพฉ.) และมาตรฐานทางการแพทย์ท่เี กยี่ วขอ้ ง -ระบุชื่อสถานพยาบาลผู้รับผิดชอบ ชื่อ-สกุล ผู้อานวยการทางการแพทย์และโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile phone) ที่ตดิ ตอ่ สะดวก (Call Center) 3.2 การประเมนิ ความเสย่ี งของเสน้ ทาง ระบรุ ายละเอยี ดของการประเมินความเสย่ี งของเส้นทางการจัดกจิ กรรมหรือดาเนนิ โครงการ จะต้องระบใุ หช้ ดั เจน โดยกาหนดเปน็ การระบุรายละเอียดขอ้ มลู ได้ 2 กรณี กล่าวคอื กรณีท่ี 1 การระบวุ ่า ไม่มีการประเมนิ ความเสีย่ งของเส้นทาง กรณีท่ี 2 การระบุว่า มีการประเมินความเส่ียงของเส้นทาง โดยผู้จัดกิจกรรมจะต้อง ดาเนนิ การจดั ทาเป็นข้อมลู พรอ้ มแนบเอกสารการประเมนิ ความเสย่ี งของเส้นทางท่ีตอ้ งมกี ารระบขุ ้อมูล 3.3 การปิดจราจรสาหรบั จดั กิจกรรมว่งิ ระบุรายละเอียดของการใช้เส้นทางวิ่ง เส้นทางคมนาคม และการปิด การจราจรใน ระหว่างการจัดกิจกรรมซึ่งจะเป็นข้อมูลให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ยังสามารถใช้ เป็นข้อมูลในการประสานงานกับตารวจในพื้นท่ี ตารวจจราจร และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ระบบที่ชัดเจน โดย กาหนดเป็นการระบุรายละเอยี ดข้อมูลได้อยา่ งนอ้ ย 5 กรณี กลา่ วคือ กรณที ่ี 1 มกี ารปดิ ถนนทง้ั หมด (ปดิ การจราจร 100%) กรณีที่ 2 มีการปิดถนนเพียงบางส่วนหรือบางช่องทางเพื่อให้ใช้สาหรับการจัดกิจกรรม (ปิด การจราจรบางชอ่ งทาง) กรณีที่ 3 ไม่มกี ารปิดถนนแต่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะถูกแยกออกจากการจราจรทั้งหมด (ไม่มีการ ปิดการจราจร แต่กันพ้นื ท่บี างส่วนสาหรับการแขง่ ขัน) กรณีที่ 4 ไม่มีการปิดถนน และไม่มีเส้นทางวิ่งท่ีเล้ียวขวาซึ่งจะเป็นการตัดข้ามเส้นทางรถ หรือเปน็ การตัดข้ามถนนสายหลกั (ไม่มีการปดิ การจราจร และเส้นทางว่ิงไมม่ ีเลย้ี วขวา) กรณีที่ 5 ไม่มีการปิดถนน แต่มีเส้นทางว่ิงที่เลี้ยวขวาท่ีจะเป็นการตัดข้ามเส้นทางรถ ซึ่งจะ ได้รับการดแู ลจากเจ้าหน้าท่ี (ไม่มีการปิดการจราจร แตม่ ีเลยี้ วขวาซ่งึ อยู่ภายใต้การดูแลของเจ้าหน้าท่ี)

63 3.4 จดุ บรกิ ารน้าและเคร่อื งบรโิ ภคเพือ่ ความสดชื่นบนเส้นทางวิ่ง - ตอ้ งจัดใหม้ จี ุดบริการนา้ และเครอ่ื งบริโภคเพื่อความสดชนื่ ทีเ่ หมาะสมเมอื่ เข้าเสน้ ชัย - ต้องจัดให้มีจุดบริการน้าด่ืมก่อนการปล่อยตัว ที่เส้นชัย และตลอดเส้นทางว่ิง ทุกระยะ 2-3 กิโลเมตร ในกรณที ่อี ากาศรอ้ นต้องจัดจุดบรกิ ารนา้ และเครอ่ื งบริโภคเพือ่ ความสดชนื่ ทกุ 2 กโิ ลเมตร -จุดบริการน้าและเครื่องบริโภคฯ ต้องไม่กีดขวางเส้นทางการวิ่ง ไม่ต้ังจุดตรงทางเลี้ยว และไม่ ต้ังตรงกับจุดบันทึกเวลาระหว่างเส้นทาง (Check Point) มีป้ายแจ้งเตือนอย่างชัดเจนอย่างน้อย 100 เมตร กอ่ นถงึ จุดบริการน้า 3.5 ไฟสอ่ งสว่างในตอนกลางคืน ถา้ การแขง่ ขนั ยงั ดาเนนิ ต่อจนถึงกลางคืน ต้องทาใหแ้ น่ใจว่าไม่มไี ฟส่องสวา่ งดวงไหนส่องเข้า ตาผู้เข้าร่วมกิจกรรม ที่ว่ิงมาตามเส้นทางแสงไฟควรส่องไปยังทางที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมกาลังวิ่งและควรมีความสว่างไม่มาก จนเกินไป 3.6 ความรบั ผิดชอบตามกฎหมายและข้อบังคบั ท้องถน่ิ - จดั ทาประกันภยั ท่ีคุ้มครองผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมและ/หรือเจ้าหน้าท่ีท่ีจัดกิจกรรม หรอื มีการจัดทา บนั ทึกข้อตกลง (MOU) กบั ท้องถน่ิ - จัดการข้อมูลและเอกสารรับสมัครอย่างรอบคอบ เพ่ือเป็นการรักษาความปลอดภัยข้อมูลส่วน บคุ คล 3.7 ความปลอดภัยท่ัวไปของผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย รวมถึงประชาชนท่ีจะได้รับผลกระทบจากการ จัดกิจกรรมอาทิ การเดินทาง การจราจร ทจี่ อดรถ ทีร่ บั ฝากของ ข้อห้ามท่กี าหนด เจา้ หน้าทอี่ าสาสมัคร ตอนที่ 4 ข้อมลู อนื่ ๆ ท่ีต้องการนาเสนอเพิม่ เติมพรอ้ มเอกสารแนบ ทั้งนี้เพื่อแสดงถึงความพร้อมในการจัดกิจกรรมการว่ิง ท่ีมีประสิทธิภาพและคุณภาพ เช่น แผ่นพับ แผนท่ีเสน้ ทาง คาสง่ั คณะกรรมการจัดงาน รูปแบบเส้ือ เหรยี ญ ของทร่ี ะลึก ปา้ ยการประชาสมั พันธ์งาน **************************** มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 64 แบบฟอร์มขอ้ มูลรายละเอียดการจดั กิจกรรมว่งิ จังหวัดราชบุรี แบบฟอร์มข้อมูลการจัดกิจกรรมว่ิงจังหวัดราชบุรีน้ี เป็นเอกสารประกอบการย่ืนเรื่องขออนุญาตจัดกิจกรรมวิ่ง ซึ่ง กาหนดให้มีรายการตรวจสอบการจัดกิจกรรมวิ่ง เพ่ือให้หน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนท่ีจัดกิจกรรมว่ิงใช้เป็นแนวทางในการ ตรวจสอบ ประเมินผล และพัฒนาการจัดกิจกรรมว่ิงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดปัญหาความไม่พร้อม และลดความเส่ียงอันตรายตอ่ ชีวิต ร่างกายและทรัพย์สนิ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งนี้ เพ่ือให้หน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนที่ทาหน้าท่ีกากบั ดูแลการจดั กิจกรรม ว่ิง ผู้สนับสนุน รวมท้ังผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบตนเองว่ามีความพร้อม ในการจัดกิจกรรมว่ิง จังหวัดราชบุรีจึงได้กาหนดรายการ ตรวจสอบการจดั กจิ กรรมวิ่งซ่ึงแบ่งเปน็ 4 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู และรายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรมการวิ่ง ตอนท่ี 2 การขออนญุ าตและการประสานงานหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ตอนท่ี 3 ข้อมลู ประกอบดา้ นความปลอดภัย (Safe) ตอนท่ี 4 ขอ้ มลู อน่ื ๆ ทต่ี ้องการนาเสนอ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู และรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมการวิง่ 1.1 รายละเอยี ดผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ/กิจกรรมการวงิ่ - กรณีที่เป็นหนว่ ยงานรว่ มจดั กจิ กรรมการวิ่ง ชือ่ หน่วยงานราชการ/รฐั วสิ าหกิจ/องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ผจู้ ดั กิจกรรม......................................................... ชอื่ บรษิ ทั /หน่วยงานภาคเอกชนผู้ดาเนินการร่วมจัดกิจกรรม.................................................................................. ชอ่ื ผูม้ ีอานาจลงนามหรอื ดาเนนิ การแทนบรษิ ทั /หน่วยงานภาคเอกชนผ้ดู าเนินการจดั กจิ กรรม………………………….. …………………………………………………………….สถานที่ติดต่อของบริษัท/หน่วยงานภาคเอกชนผดู้ าเนินการจัดกิจกรรม เลขที่...................ถนน...................................ตาบล/แขวง.................................อาเภอ/เขต........... .........................จังหวัด ...................................รหัสไปรษณีย์.......................โทรศัพท์/มือถือ............................................................. ชอ่ งทางออนไลน์ เว็บไซต์ : ………………………………………………………………………………………………………………………………….. เฟสบุ๊ค/เพจ : …………………………………………………………………………………………………………………………… ช่องทางอื่น ๆ : …………………………………………………………………………………………………………………………

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 65 - กรณที ี่เป็นบุคคลธรรมดา ชื่อ..........................................................................นามสกลุ ................................................................................... ตาแหน่ง......................................................................สังกัด.................................................................................... สถานท่ตี ดิ ตอ่ ........................................................................................................................................................... เลขที่...................ถนน...................................ตาบล/แขวง.................................อาเภอ/เขต........... .........................จังหวัด ...................................รหัสไปรษณีย์.......................โทรศัพท์/มอื ถือ............................................................. ชอ่ งทางออนไลน์ เว็บไซต์ : ………………………………………………………………………………………………………………………………….. เฟสบุ๊ค/เพจ : …………………………………………………………………………………………………………………………… ชอ่ งทางอื่น ๆ : ………………………………………………………………………………………………………………………… - กรณีทเ่ี ปน็ นติ บิ ุคคล ช่ือนิติบุคคล (บรษิ ัท/หน่วยงาน)............................................................................................................................ ชอื่ ผู้มอี านาจลงนามหรอื ดาเนินการแทนนิติบคุ คล……………………………………………………………………………………….. สถานทตี่ ดิ ตอ่ ........................................................................................................................................................... เลขที่...................ถนน...................................ตาบล/แขวง.................................อาเภอ/เขต....................................จังหวัด ...................................รหัสไปรษณีย์.......................โทรศัพท์/มือถือ............................................................. ชอ่ งทางออนไลน์ เวบ็ ไซต์ : ………………………………………………………………………………………………………………………………….. เฟสบุค๊ /เพจ : …………………………………………………………………………………………………………………………… ชอ่ งทางอน่ื ๆ : ………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 วัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม (1) ……………………………………………………………………………………………………………………………….. (2) ……………………………………………………………………………………………………………………………….. (3) ……………………………………………………………………………………………………………………………….. 1.3 ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรมว่งิ และสถานที่จดั โครงการ/กจิ กรรม - ชอ่ื โครงการ/กิจกรรมวิ่ง.......................................................................................................................... - ชอ่ื สถานที่จัดกจิ กรรม………………………………………………………………………………………………………….... - พิกัดของสถานที่ ……………………………………………………………………………………………………………………. - แผนทแี่ สดงทตี่ ั้งของการจัดกิจกรรม (ตามแนบ)

66 1.4 ประเภทของการจัดกิจกรรมว่งิ  วงิ่ ทว่ั ไปตามระยะทาง (วิ่งประเภทถนน)  ฟนั รนั (Fun Run) ระยะทาง....................กโิ ลเมตร  มนิ ิมาราธอน (Mini Marathon) ระยะทาง....................กโิ ลเมตร  ฮาลฟ์ มาราธอน (Half Marathon) ระยะทาง....................กโิ ลเมตร มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง  มาราธอน (Marathon) ระยะทาง....................กโิ ลเมตร  อลั ตร้ามาราธอน (Ultra Marathon) ระยะทาง....................กิโลเมตร  ว่งิ บนเส้นทางทไี่ ม่ปกติ (วิง่ ผจญภยั )  วิ่งตามภูมิประเทศ (Trail Running) - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กโิ ลเมตร  วง่ิ แอดเวนเจอร์ (Adventure Running) - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กโิ ลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กโิ ลเมตร  วิง่ เอ็กซ์ทรีม (Extreme Running) - ระยะทาง....................กโิ ลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร 1.5 ชว่ งวนั และเวลาของการจดั กจิ กรรมว่งิ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอนท่ี 2 การขออนญุ าตและการประสานงานหนว่ ยงานต่าง ๆ 2.1 การขออนญุ าตและการประสานงานส่วนราชการหรือหน่วยงานในพ้นื ท่ี (1) ชอ่ื หน่วยงานผูร้ ับผดิ ชอบการอนญุ าตใหใ้ ช้พนื้ ท่ี……………………………………………................ สถานทตี่ ดิ ตอ่ ........................................................................................................................................................... เลขท.่ี ..................ถนน...................................ตาบล/แขวง.................................อาเภอ/เขต.................................... จงั หวดั ...................................รหสั ไปรษณีย.์ ......................โทรศพั ท์/มือถือ............................................................. (2) ชอ่ื หน่วยงานผูร้ ับผดิ ชอบการอนุญาตใหใ้ ช้พน้ื ท…่ี …………………………………………................ สถานที่ติดต่อ........................................................................................................................................................... เลขท.่ี ..................ถนน...................................ตาบล/แขวง.................................อาเภอ/เขต.................................... จังหวดั ...................................รหสั ไปรษณีย์.......................โทรศัพท์/มอื ถือ.............................................................

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 67 2.2 การขออนุญาตจัดจากหน่วยงานจราจร/ทางหลวง/ตารวจในพืน้ ที่ (1) ชือ่ หนว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบการอนญุ าตด้านการจราจร………………………………………………….. สถานทีต่ ิดต่อ........................................................................................................................................................... เลขท่.ี ..................ถนน...................................ตาบล/แขวง.................................อาเภอ/เขต.................................... จงั หวัด...................................รหสั ไปรษณีย.์ ......................โทรศัพท/์ มือถอื ............................................................. (2) ช่ือหน่วยงานผรู้ บั ผดิ ชอบการอนญุ าตด้านการจราจร………………………………………………….. สถานที่ติดตอ่ ........................................................................................................................................................... เลขท่.ี ..................ถนน...................................ตาบล/แขวง.................................อาเภอ/เขต.................................... ตอนที่ 3 ขอ้ มลู ประกอบด้านความปลอดภยั (Safe) 3.1 การบริการทางการแพทย์ และการดูแลนกั ว่งิ ท้งั ก่อนและหลงั เสน้ ชยั (1) จดุ บริการปฐมพยาบาลในเสน้ ทางการว่งิ จานวน...........จดุ โดยมีระยะหา่ งทุก.........กิโลเมตร และตงั้ อยู่ ในระยะประมาณ ............เมตรหลงั จากจุดให้นา้ (2) จดุ บริการปฐมพยาบาลใกลเ้ สน้ ชยั จานวน..............จุด (3) แพทย์/ผ้อู านวยการทางการแพทย์ผรู้ ับผดิ ชอบ ช่อื ........................... สกลุ ............................ โทรศัพท์มอื ถือทต่ี ิดต่อไดส้ ะดวก............................................................................... (4) รถพยาบาล จานวน.....................คนั 3.2 การประเมินความเสย่ี งของเส้นทาง  กรณีท่ี 1 ไม่มีการประเมนิ ความเสี่ยงของเส้นทาง  กรณีที่ 2 มีการประเมินความเส่ียงของเส้นทาง โดยมีข้อมูลการประเมินความเส่ียงของ เส้นทางตามเอกสารท่ีแนบ 3.3 การปิดจราจรสาหรบั จัดกจิ กรรมวิง่  กรณีที่ 1 มกี ารปิดถนนทงั้ หมด (ปดิ การจราจร ๑๐๐%) ระบรุ ายละเอยี ด……………………………………………………………………………………………………………………………………  กรณที ี่ 2 มีการปดิ ถนนเพียงบางส่วนหรอื บางช่องทางเพอื่ ให้ใชส้ าหรบั การจัดกจิ กรรม (ปดิ การจราจรบาง ชอ่ งทาง) ระบรุ ายละเอยี ด……………………………………………………………………………………………………………………………………  กรณีท่ี 3 ไม่มีการปิดถนนแต่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะถูกแยกออกจากการจราจรท้ังหมด (ไม่มีการ ปิดการจราจร แต่กนั พื้นท่ีบางส่วนสาหรบั การแขง่ ขนั ) ระบุรายละเอียด……………………………………………………………………………………………………………………………………  กรณีที่ 4 ไม่มีการปิดถนน และไม่มีเส้นทางวิ่งท่ีเลี้ยวขวาซึ่งจะเป็นการตัดข้ามเส้นทางรถ หรือเป็น การตดั ขา้ มถนนสายหลกั (ไมม่ กี ารปิดการจราจร และเสน้ ทางว่ิงไม่มเี ลีย้ วขวา)

68 ระบรุ ายละเอียด……………………………………………………………………………………………………………………………………  กรณีท่ี 5 ไม่มีการปิดถนน แต่มีเส้นทางว่ิงท่ีเลี้ยวขวาท่ีจะเป็นการตัดข้ามเส้นทางรถ ซ่ึงจะได้รับการ ดูแลจากเจา้ หนา้ ท่ี (ไมม่ กี ารปิดการจราจร แตม่ เี ลย้ี วขวาซง่ึ อยู่ภายใต้การดูแลของเจ้าหนา้ ท)่ี ระบุรายละเอียด…………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.4 จุดบรกิ ารน้าและเคร่ืองบริโภคเพ่ือความสดชนื่ บนเส้นทางวิ่ง มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง (1) จุดบรกิ ารน้าและเคร่ืองบริโภคเพื่อความสดชน่ื ทเี่ หมาะสมเม่อื เข้าเส้นชัย จานวน...........จุด (2) จุดบริการนา้ ด่มื ทจ่ี ดุ ปล่อยตัว จานวน...........จุด และตลอดเสน้ ทางว่ิง ทุกระยะ...........กโิ ลเมตร (3) ป้ายแจง้ เตอื นจุดบรกิ ารนา้ และเครอื่ งบริโภคฯ อยา่ งนอ้ ย ...............เมตรกอ่ นถงึ จดุ บรกิ ารนา้ 3.5 ไฟสอ่ งสว่างในตอนกลางคืน หากการแขง่ ขนั เรม่ิ ต้ังแตเ่ ชา้ มดื หรือการแขง่ ขันยงั ดาเนินตอ่ จนถงึ เวลากลางคืน จดั ให้มีไฟส่องสว่างตามเส้นทาง ไมจ่ ดั ใหม้ ไี ฟสอ่ งสวา่ งตามเสน้ ทาง 3.6 ความรบั ผิดชอบตามกฎหมายและข้อบังคับท้องถิน่ จดั ทาประกนั ภยั ท่ีคมุ้ ครองผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมและ/หรอื เจา้ หนา้ ท่ที จ่ี ดั กจิ กรรม จัดทาบนั ทกึ ข้อตกลง (MOU) กบั ท้องถิ่น รักษาความปลอดภัยเอกสารรบั สมคั รและข้อมลู สว่ นบุคคล 3.7 ความปลอดภยั ทว่ั ไปของผมู้ สี ว่ นรว่ มทกุ ฝ่าย จดั เตรยี มการดแู ละรกั ษาความปลอดภยั ทว่ั ไปของผมู้ สี ่วนร่วมทกุ ฝ่ายรวมถึงประชาชนทจ่ี ะได้รบั ผลกระทบ ทจ่ี อดรถ เจา้ หน้าทีอ่ าสาสมัคร ทรี่ ับฝากของ การเดนิ ทาง ขอ้ หา้ มท่กี าหนด การจราจร ตอนท่ี 4 ข้อมลู อ่นื ๆ ท่ตี ้องการนาเสนอเพิม่ เตมิ พรอ้ มเอกสารแนบ ท้ังนี้เพ่ือแสดงถึงความพร้อมในการจัดกิจกรรมการว่ิง ท่ีมีประสิทธิภาพและคุณภาพ เช่น แผ่นพับ แผนทเี่ ส้นทาง คาสั่งคณะกรรมการจัดงาน รูปแบบเสอ้ื เหรยี ญ ของทีร่ ะลึก ปา้ ยการประชาสัมพนั ธง์ าน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ****************************

69 นยิ ามศพั ท์เทคนิคที่เกย่ี วขอ้ งกับการจัดกจิ กรรมงานว่งิ ศัพทเ์ ทคนิคการวง่ิ ความหมาย RACE ชอ่ื รายการแขง่ ขนั เช่น จอมบึงมาราธอน บางแสน42 Tokyo Marathon มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงMARATHONการวิ่งระยะ 42.195 KM หรือ 26.2 ไมลเ์ ราอาจเรยี กระยะนี้ได้ว่า Full HALF - MARATHON marathon เช่นกัน MINI - MARATHON ระยะคร่งึ หน่งึ ของมาราธอน คือ 21.0975 KM ซง่ึ การจัดงานทัว่ ไปมักใช้ 21 KM หรือ 13.1 ไมล์ ระยะคร่งึ หนึ่งของ HALF - MARATHON ที่ 10.5 KM KM หนว่ ยของระยะทาง กโิ ลเมตร (KILOMETER) TROPHY ถ้วยรางวลั โดยงานวิ่งสว่ นใหญ่จะมีการแจกถว้ ยรางวัลให้ FINISHER ทีเ่ ข้าเสน้ ชัยเป็นอันดับตน้ ๆ ในแตล่ ะอายุ เชน่ อันดบั ที่ 1-3 PR ระยะเวลาวิง่ ท่ดี ีท่ีสุดของนักวิ่งแต่ละคน (Personal Record) หรือ PB เหรยี ญรางวัล โดยท่นี กั ว่ิงทกุ คนจะได้รับเหรยี ญรางวลั หลังเขา้ เสน้ ชยั (Personal Best) MEDAL BIB ปา้ ยบอกหมายเลข Bib ในภาษาลาตนิ แปลว่า ผ้ากันเป้ือน มาจากคาวา่ “Bibben” ปจั จบุ ันใช้เทคโนโลยใี หม่ เพ่อื สแกนยืนยนั ตวั ตนของนักวิ่งคน PACE น้นั ๆ เช่น สมั พนั ธ์กับใบหนา้ เพ่ือเอาไว้คยี ์เลข BIB PACER หรือ นาหมายเลข BIB ใชค้ น้ ภาพถา่ ยในเพจของผู้จัด (หรอื ACEMAKER) อัตราความเร็วของการวิ่งท่ี 1 กิโลเมตรคิดเปน็ นาที เช่น ถ้าวิ่งเพซ 7 หมายความวา่ 1 กิโลเมตร ใช้เวลาวิ่ง 7 นาที จางา่ ยๆ ว่ายง่ิ ตวั เลขเพซ นอ้ ย เช่น เพซ 5 เพซ 4 หรอื เพซ 3 ย่ิงวิง่ เร็ว นักวง่ิ ท่ลี งสนามเพ่ือเปน็ นาฬิกาเคลือ่ นที่ บอกอัตราความเร็ว มีสญั ลกั ษณ์ บอก สว่ นใหญเ่ พซเซอร์มาว่ิงด้วยใจรกั จติ อาสา

70 ศพั ท์เทคนิคการว่ิง ความหมาย SWEEPER ทมี สนบั สนุนบริการท้ายขบวนวิง่ จะเปน็ ผูค้ อยเกบ็ นักวง่ิ ท้ายขบวน หรอื CHECK POINT เปน็ แรงใจให้นักวิ่งท้ายขบวนเขา้ เส้นชยั ได้ DNF สญั ลกั ษณท์ ี่มีไวเ้ พือ่ ใชต้ รวจสอบวา่ นกั วิง่ ไมว่ ง่ิ ลัดเสน้ ทาง เมื่อผา่ นจะมี DNS เสียงปิ๊บ ๆ หรือจะส่งสญั ญาณกบั Chip ท่ตี ิดไว้หลงั BIB ซ่ึงจุดน้สี ามารถ นาไปใชต้ รวจสอบเวลาไดว้ ่านักวิ่งผา่ นจดุ นน้ั ใชเ้ วลาเท่าไรด้วย DNF หรอื Did Not Finish แปลวา่ ว่งิ ไมจ่ บ อาจจะเกิดจากการบาดเจ็บ หรืออุบตั ิเหตุอนื่ ๆ ท่ีทาใหอ้ อกจากการแข่งขันกลางคนั หรือเกดิ จากไม่ ผา่ นเกณฑ์เวลา Did Not Start หรอื การไม่ได้ออกสตาร์ทดว้ ย มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง EARLY BIRD การลงทะเบียนลว่ งหนา้ จะเป็นการสมคั รลว่ งหนา้ หลายวันมาก ก่อนท่จี ะ REGISTRATION มงี านนน้ั เกิดข้ึน ซึ่งส่วนมากจะมสี ว่ นลด หรอื ได้ราคาพเิ ศษในการสมัคร FINISHER นกั วงิ่ ทเี่ ขา้ รว่ มรายการทวี่ ่งิ และสามารถวิง่ เข้าเส้นชัยไดใ้ นเวลาที่กาหนด AED ส่วนใหญผ่ ทู้ ่วี ิง่ 42K มักจะแจกเส้อื ผพู้ ชิ ิต หรอื เสื้อ Finisher เปน็ ท่ีระลึก (Automated External Defibrillator) เครอื่ งวินิจฉยั การเต้นของหัวใจ ทีส่ ามารถกระตุกหัวใจดว้ ยไฟฟา้ เพื่อให้ HEART RATE ZONE หวั ใจกลับมาเต้นปกติอีกครง้ั เพราะนักวิ่งอาจเกดิ การหัวใจวายได้ จงึ ตอ้ ง มไี ว้ตามจุดปฐมพยาบาล หรือจุดให้น้า ใชป้ ระเมินความหนักเบาของการออกกาลังกายของนกั ว่งิ ในเวลานนั้ ซง่ึ ในลาดบั แรกต้องคานวณอัตราการเตน้ หัวใจสูงสดุ (Maximum heart rate: MHR) ของบุคคลน้ันก่อน ซง่ึ งา่ ย ๆ คอื เทา่ กับ อัตราการเตน้ ของ หวั ใจที่ 220-อายุ หน่วยเปน็ คร้งั ต่อนาที (มีการคานวณหลายวิธีทผี่ จู้ ดั / คนสว่ นใหญเ่ ลอื กใช้) โดยแบง่ เป็น 5 โซน โซนดงั นี้ 1. Zone 1 (Easy หรอื light intensity) อตั ราการเต้นหวั ใจ ประมาณ 50-60%ของ MHR 2. Zone 2 (Fat burning หรือ Moderate intensity) อตั ราการ เต้นหัวใจ ประมาณ 60-70%ของMHR 3. Zone 3 (Aerobic หรือ Intense) อตั ราการเตน้ หัวใจ ประมาณ 70-80% ของMHR 4. Zone 4 (Anaerobic หรือ Very intense) อัตราการเตน้ ของ หัวใจ ประมาณ 80-90% ของMHR

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 71 คาอธิบายข้อมูลรายละเอียดการจัดกจิ กรรมงานปน่ั จักรยาน ข้อมูลการจัดกิจกรรมป่ันจักรยานท่ีขออนุญาตเพอื่ จัดกิจกรรมปน่ั จักรยานในจงั หวัดราชบรุ นี ้ี จดั ทา ข้นึ โดยสานักงานการท่องเทยี่ วและกีฬาจังหวดั ในปี พ.ศ. 2561 เพอื่ ให้ผู้จัดกิจกรรมนาไปเป็นแนวทางในการ จัดกิจกรรมป่ันจักรยานที่มีประสิทธิภาพ ลดปัญหาความไม่พร้อมและลดความเสี่ยงอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย และทรพั ยส์ นิ ของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมปนั่ จักรยาน ทั้งน้ี เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานของรฐั และภาคเอกชนทที่ าหน้าที่กากับ ดูแลการจัดกิจกรรมป่ันจักรยาน ผู้สนับสนุน รวมถึงผู้เกี่ยวข้องได้ตรวจสอบตนเองว่ามีความพร้อมในการจัด กิจกรรมปั่นจักรยานมากน้อยเพียงใด โดยมขี ้อกาหนดรายการตรวจสอบ แบง่ เป็น 4 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลและรายละเอียดโครงการ / กจิ กรรมการป่ันจกั รยาน ตอนท่ี 2 การขออนญุ าตและการประสานงานหนว่ ยงานต่าง ๆ ตอนท่ี 3 ขอ้ มลู ประกอบด้านความปลอดภัย (Safe) ตอนท่ี 4 ข้อมลู อ่ืน ๆ ท่ีต้องการนาเสนอ ตอนที่ 1 ขอ้ มลู และรายละเอยี ดโครงการ / กิจกรรม 1.1 รายละเอียดผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ / กิจกรรมการป่ันจกั รยาน การให้ขอ้ มลู รายละเอียดของผรู้ ับผิดชอบในการจัดกิจกรรมหรือดาเนินโครงการ - กรณีท่ีเป็นหน่วยงานร่วมจัดกิจกรรมการปั่นจักรยาน เป็นการจัดร่วมกันในนามของ หน่วยงานราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ควรจะต้อ งระบุ รายละเอียดของผู้ท่ีเป็นหน่วยงานร่วมจัดและผู้ดาเนินการจัดโครงการ/กิจกรรม (สถานท่ีติดต่อ หมายเลข โทรศัพท์ ช่องทางออนไลน์ ฯลฯ) - กรณีที่เป็นบุคคลธรรมดา ควรจะต้องระบุถึงช่ือ – สกุล และรายละเอียดของผู้ท่ีเป็น เจา้ ของหรือผูด้ าเนนิ การจัดโครงการ / กิจกรรม (สถานที่ติดต่อ หมายเลขโทรศพั ท์ ชอ่ งทางออนไลน์ ฯลฯ) - กรณีท่ีเป็นนิติบุคคล ควรจะต้องระบุถึงช่ือของนิติบุคคล และข้อมูลของผู้มีอานาจลงนาม หรือดาเนินการแทนนิติบุคคล อาทิ หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้มีอานาจลงนาม และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ตามกฎหมาย (สถานที่ติดต่อ หมายเลขโทรศพั ท์ ชอ่ งทางออนไลน์ ฯลฯ) 1.2 วตั ถุประสงค์โครงการ/กจิ กรรม ระบุรายละเอียดของวัตถุประสงค์ของโครงการหรือการจัดกิจกรรม โดยจะต้องเป็น วัตถปุ ระสงค์ท่ีไม่มเี จตนารมณท์ ี่ขัดต่อกฎหมาย หรอื ไม่ขัดต่อความสงบเรียบรอ้ ย 1.3 ชื่อโครงการ/กจิ กรรมและสถานท่ีจัดโครงการ / กจิ กรรม ระบุรายละเอียดของช่ือโครงการ/กิจกรรมและสถานท่ีการจัดกิจกรรมหรือดาเนินโครงการ ด้วยการแสดงให้เห็นถึงสถานท่ีหรอื พื้นท่ีบริเวณท่ีจดั กิจกรรม พิกัดของสถานที่ (เช่น พิกัดจาก Google Map

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 72 เป็นต้น) รวมทั้งแนบแผนท่ีแสดงที่ตั้งของการจัดกิจกรรมหรือดาเนินโครงการ ท้ังนี้ สถานที่ดังกล่าวควรเป็น สถานท่ีที่มีลักษณะเป็นพ้ืนที่สาธารณะ หรือพ้ืนที่ของทางราชการ หรือพื้นท่ีส่วนบุคคลท่ีได้รับอนุญาตให้จัด กจิ กรรมหรอื ดาเนินโครงการไดอ้ ยา่ งเปน็ ลายลักษณ์อกั ษรหรือไดร้ บั อนุญาตอย่างเป็นทางการ 1.4 ประเภทของการจัดกจิ กรรมการปั่นจกั รยาน ระบรุ ายละเอยี ดประเภทของการจัดกจิ กรรมปนั่ จักรยานให้ชดั เจน อาทิ - การปนั่ ทางเรยี บ (Road Cycling) มักจะใช้ระยะทาง ไม่เกิน 50 - 60 กโิ ลเมตร - การป่ันทางผจญภยั (Mountain Bike) - การปน่ั ทาง Cross country ใชร้ ะยะทางไม่เกิน 30 กโิ ลเมตร 1.5 ช่วงวนั และเวลาของการจัดกจิ กรรม ระบรุ ายละเอยี ดของช่วงระยะเวลาของกิจกรรมใหเ้ กดิ ความชดั เจน เพ่ือใหผ้ เู้ ข้ารว่ มกิจกรรม รับทราบและวางแผนการร่วมกิจกรรม การจัดเตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณ์ ผู้จัดกิจกรรมต้องคานึงถึงกับ สภาพอากาศในแต่ละพื้นที่ (เชน่ อุณหภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ์ เปน็ ต้น) ช่วงเวลาของวนั ทท่ี าใหผ้ ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรม ได้รับอันตรายจากความร้อนน้อยท่ีสุด สภาพการจราจร ความสะดวกของท้องถ่ิน เทศกาลของท้องถิ่น ความสามารถในการบรกิ ารดา้ นทพ่ี ัก งานวง่ิ อืน่ ๆ ท่จี ัดในพน้ื ทใ่ี กล้กัน หรอื มีกลุ่มนกั ว่งิ เปา้ หมายคลา้ ยกนั ตอนที่ 2 การขออนญุ าตและการประสานงานหน่วยงานตา่ ง ๆ 2.1 การขออนญุ าตส่วนราชการหรือหน่วยงานในพนื้ ท่ี โดยการขออนุญาตน้ัน ผู้จัดต้องได้รับอนุญาตจากหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องตามกฎหมาย และประสานแจ้ง ให้สว่ นต่าง ๆ ทราบ ล่วงหน้าอยา่ งน้อย ดงั น้ี - สว่ นราชการทม่ี ีหน้าท่ีรับผดิ ชอบการอนญุ าตให้ใชพ้ น้ื ที่ (ระบุรายละเอยี ดทั้งหมด) - ประสานโรงพยาบาลและสถานพยาบาลท่ีให้บริการทางการแพทย์ในพื้นท่ี และพื้นท่ี ใกลเ้ คียงทราบ ลว่ งหน้าวา่ จะมีการจัดกจิ กรรม - ประสานใหผ้ ู้อยู่อาศัยในพืน้ ทีแ่ ละโดยรอบเส้นทางว่งิ ทราบลว่ งหนา้ ว่าจะมีการจดั กิจกรรม - ประสานให้หน่วยงานอื่น ๆ ในพื้นท่ีและโดยรอบเส้นทางว่ิงทราบล่วงหน้าว่าจะมีการจัด กิจกรรม อาทิ วัด โรงเรียน ตลาด/ตลาดนัด เป็นต้น ท้ังนี้ สามารถแนบเอกสารและ/หรือรายละเอียดได้ตาม ความเหมาะสม 2.2 การขออนญุ าตจัดจากหนว่ ยงานจราจร/ทางหลวง/ตารวจในพ้นื ท่ี ระบุรายละเอียดของข้อมูลและ/หรือผู้รับผิดชอบในการติดต่อประสานงานเพื่อขออนุญาต จัดกิจกรรม หรือการใช้พื้นที่ผิวการจราจรทั้งท่ีเป็นถนนในเขตความรับผิดชอบของสถานีตารวจในพ้ืนที่ หรือ ทางหลวงแผ่นดินในความรับผิดชอบของกองบังคับการตารวจทางหลวง รวมถึงการให้บริการด้านการรักษา

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 73 ความปลอดภัยกับการอานวยความสะดวกของเจ้าพนักงานตารวจในพื้นท่ี โดยเป็นการดาเนินการให้ถูกต้อง ตามกฎหมายและการประสานงานในเร่ืองที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ว่าได้ดาเนินการแล้วอย่างไร และมีผู้ใดสังกัดใด เป็นผู้ติดต่อประสานงานร่วม (contract point) ซ่ึงจะต้องระบุให้ชัดเจนว่าได้มีการดาเนินการ เรียบร้อยแลว้ ท้ังน้ี ใหแ้ นบเอกสารหรือรายละเอยี ดประกอบการพจิ ารณา ตอนท่ี 3 ขอ้ มูลประกอบดา้ นความปลอดภยั (Safe) 3.1 การบรกิ ารทางการแพทย์ และการดูแลนกั ปัน่ จักรยานท้ังก่อนและหลงั เสน้ ชัย - มจี ดุ บริการปฐมพยาบาลทุก 10 กโิ ลเมตร และตงั้ อยใู่ นระยะประมาณ 100 เมตรหลังจาก จุด ให้น้ารวมท้ังควรจัดให้มีจุดบริการปฐมพยาบาลใกล้เส้นชัยพร้อมแพทย์ผู้รับผิดชอบ หากมีผู้เข้าร่วม กิจกรรม ไม่เกิน 1,000 คน ให้มีรถพยาบาล 2 คัน ท้ังน้ีให้มีรถพยาบาลเพิ่มหน่ึงคัน เม่ือมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพ่ิมขน้ึ ทุก 1,000 คน - ให้จัดเตรียมการกู้ชีพและปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยจัดให้มีเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าแบบ อัตโนมัติ (Automated External Defibrillator : AED) สาหรับกรณีฉุกเฉินหรือวิกฤติตามมาตรฐานของ สถาบันการแพทย์ฉกุ เฉินแห่งชาติ (สพฉ.) และมาตรฐานทางการแพทย์ท่เี ก่ียวข้อง - ระบุช่ือสถานพยาบาลผู้รับผิดชอบ ช่ือ-สกุล ผู้อานวยการทางการแพทย์และ โทรศัพท์เคล่อื นที่ (Mobile phone) ท่ีติดตอ่ สะดวก (Call Center) 3.2 การประเมินความเสี่ยงของเส้นทาง ระบรุ ายละเอยี ดของการประเมินความเสย่ี งของเส้นทางการจัดกิจกรรมหรือดาเนนิ โครงการ จะต้องระบุใหช้ ดั เจน โดยกาหนดเปน็ การระบรุ ายละเอยี ดข้อมลู ได้ ๒ กรณี กลา่ วคอื กรณีท่ี 1 การระบวุ ่า ไมม่ กี ารประเมนิ ความเสย่ี งของเส้นทาง กรณีท่ี 2 การระบุว่า มีการประเมินความเสี่ยงของเส้นทาง โดยผู้จัดกิจกรรมจะต้อง ดาเนินการจัดทาเปน็ ขอ้ มลู พร้อมแนบเอกสารการประเมินความเสยี่ งของเส้นทางท่ีต้องมีการระบขุ ้อมูล 3.3 การปิดจราจรสาหรับจัดกจิ กรรมการปน่ั จักรยาน ระบุรายละเอียดของการใช้เส้นทางการปั่น เส้นทางคมนาคม และการปิดการจราจรใน ระหว่างการจัดกิจกรรมซ่ึงจะเป็นข้อมูลให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ยังสามารถใช้เป็น ข้อมูลในการประสานงานกับตารวจในพื้นที่ ตารวจจราจร และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ระบบท่ีชัดเจน โดย กาหนดเปน็ การระบรุ ายละเอยี ดข้อมลู ได้อย่างน้อย 5 กรณี กลา่ วคอื กรณีที่ 1 มีการปดิ ถนนท้ังหมด (ปิดการจราจร 100%) กรณีที่ 2 มีการปิดถนนเพียงบางส่วนหรอื บางช่องทางเพ่ือให้ใช้สาหรับการจัดกิจกรรม (ปิด การจราจรบางช่องทาง)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 74 กรณีที่ 3 ไม่มีการปิดถนนแต่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะถูกแยกออกจากการจราจรทั้งหมด (ไม่มี การปดิ การจราจร แตก่ นั พืน้ ท่บี างสว่ นสาหรบั การแข่งขัน) กรณีท่ี 4 ไม่มีการปิดถนน และไม่มีเส้นทางวิ่งที่เลี้ยวขวาซึ่งจะเป็นการตัดข้ามเส้นทางรถ หรอื เป็นการตดั ข้ามถนนสายหลกั (ไมม่ กี ารปิดการจราจร และเส้นทางวง่ิ ไมม่ ีเล้ยี วขวา) กรณีท่ี 5 ไม่มีการปิดถนน แต่มีเส้นทางว่ิงท่ีเลี้ยวขวาท่ีจะเป็นการตัดข้ามเส้นทางรถ ซ่ึงจะ ได้รับการดแู ลจากเจ้าหนา้ ท่ี (ไม่มกี ารปดิ การจราจร แต่มีเลีย้ วขวาซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของเจา้ หน้าที)่ 3.4 จุดบรกิ ารนา้ และเครอื่ งบรโิ ภคเพ่อื ความสดช่นื บนเสน้ ทางการปน่ั จกั รยาน - ตอ้ งจดั ใหม้ จี ุดบริการน้าและเคร่อื งบรโิ ภคเพอื่ ความสดชืน่ ทเ่ี หมาะสมเม่ือเข้าเสน้ ชยั - ตอ้ งจัดให้มจี ุดบริการนา้ ดื่มก่อนการปล่อยตัวท่ีเส้นชัย และตลอดเส้นทางการปั่น ทุกระยะ 10-12 กิโลเมตร ในกรณีทอ่ี ากาศรอ้ นตอ้ งจดั จดุ บรกิ ารนา้ และเครื่องบรโิ ภคเพ่ือความสดช่ืน ทกุ 8 กโิ ลเมตร - จุดบรกิ ารน้าและบรโิ ภคฯ ตอ้ งไมก่ ีดขวางเสน้ ทางการปั่น ไม่ตั้งจดุ ตรงทางเลีย้ ว และไม่ต้ัง ตรงกบั จุดบันทกึ เวลาระหวา่ งทาง (Check Point) มปี ้ายแจง้ เตอื นอย่างน้อย 200 เมตรกอ่ นถึงจดุ บรกิ ารน้า 3.5 ไฟส่องสวา่ งในตอนกลางคนื ถา้ การแขง่ ขันยงั ดาเนนิ ต่อจนถึงกลางคืน ต้องทาให้แนใ่ จวา่ ไม่มีไฟส่องสว่างดวงไหนส่องเข้า ตาผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมที่ป่นั มาตามเส้นทาง แสงไฟควรสอ่ งไปยังทางท่ีผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมกาลังปัน่ และควรมีความ สวา่ งไมม่ ากจนเกินไป (ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมจะตอ้ งเตรยี มไฟของตวั เองมาดว้ ย) 3.6 ความรับผิดชอบตามกฎหมายและข้อบังคับท้องถิ่น - จัดทาประกันภัยที่คุ้มครองผู้เข้าร่วมกิจกรรมและ/หรือเจ้าหน้าที่ที่จัดกิจกรรม หรือมีการ จัดทาบันทกึ ขอ้ ตกลง (MOU) กบั ทอ้ งถ่นิ - จัดการข้อมลู และเอกสารรับสมัคร เพอื่ เป็นการรักษาความปลอดภยั ข้อมลู สว่ นบคุ คล 3.7 ความปลอดภัยทั่วไปของผู้มีส่วนร่วมทกุ ฝา่ ย รวมถึงประชาชนท่ีจะได้รับผลกระทบจากการ จัดกิจกรรม อาทิ การเดินทาง การจราจร ทจี่ อดรถ ทร่ี บั ฝากของ ข้อหา้ มท่ีกาหนด เจ้าหนา้ ทอ่ี าสาสมัคร ตอนที่ 4 ขอ้ มูลอืน่ ๆ ท่ีตอ้ งการนาเสนอเพ่ิมเตมิ พรอ้ มเอกสารแนบ ท้งั นเี้ พือ่ แสดงถึงความพร้อมในการจัดกจิ กรรมการป่ัน ทม่ี ีประสิทธภิ าพและคุณภาพ เชน่ แผ่นพับ แผนท่ีเส้นทาง คาสัง่ คณะกรรมการจดั งาน รูปแบบเสื้อ เหรยี ญ ของท่ีระลกึ ปา้ ยการประชาสมั พันธง์ าน *****************************

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 75 แบบฟอร์มข้อมูลรายละเอียดการจดั กจิ กรรมปั่นจกั รยานจังหวัดราชบรุ ี แบบฟอร์มข้อมูลการจัดกิจกรรมปน่ั จักรยานจังหวดั ราชบุรีน้ี เป็นเอกสารประกอบการย่ืนเร่ืองขออนุญาต จัดกิจกรรมปั่นจักรยาน ซึ่งกาหนดให้มีรายการตรวจสอบการจัดกิจกรรมป่ันจักรยาน เพื่อให้หน่วยงานของรัฐและ ภาคเอกชนที่จัดกิจกรรมป่ันจักรยานใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบ ประเมินผล และพัฒนาการจัดกิจกรรมป่ัน จักรยานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดปัญหาความไม่พร้อม และลดความเส่ียงอันตรายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ท้ังน้ี เพ่ือให้หน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนที่ทาหน้าที่กากับดูแลการจัดกิจกรรมปั่น จักรยาน ผู้สนับสนุน รวมทั้งผู้เก่ียวข้องตรวจสอบตนเองว่ามีความพร้อมในการจัดกิจกรรมป่ันจักรยาน จังหวัด ราชบุรีจงึ ได้กาหนดรายการตรวจสอบการจดั กิจกรรมปน่ั จกั รยาน ซ่งึ แบ่งเปน็ 4 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลและรายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรมการป่ันจกั รยาน ตอนท่ี 2 การขออนุญาตและการประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ ตอนที่ 3 ขอ้ มลู ประกอบดา้ นความปลอดภัย (Safe) ตอนที่ 4 ขอ้ มูลอืน่ ๆ ทีต่ ้องการนาเสนอ ตอนที่ 1 ขอ้ มลู และรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมการปน่ั จกั รยาน 1.1 รายละเอียดผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ/กจิ กรรมการป่ันจักรยาน - กรณที ่เี ป็นหน่วยงานร่วมจัดกจิ กรรมปนั่ จกั รยาน ชื่อหนว่ ยงานราชการ/รัฐวสิ าหกจิ /องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นผู้จดั กจิ กรรม..................................................... ชอื่ บรษิ ัท/หนว่ ยงานภาคเอกชนผดู้ าเนินการร่วมจดั กิจกรรม.............................................................................. ชื่อผมู้ อี านาจลงนามหรือดาเนินการแทนบรษิ ัท/หนว่ ยงานภาคเอกชนผู้ดาเนินการจัดกิจกรรม……………………… สถานท่ตี ดิ ต่อของบรษิ ัท/หนว่ ยงานภาคเอกชนผู้ดาเนินการจัดกจิ กรรม เลขท่ี...................ถนน...........................ตาบล/แ ขวง.................................อาเภอ/เขต.................................... จงั หวดั ....................................รหสั ไปรษณยี .์ ...................................โทรศพั ท์/มือถอื ........................................... ช่องทางออนไลน์ เวบ็ ไซต์ : ……………………………………………………………………………………………………………………..…….. เฟสบคุ๊ /เพจ : ………………………………………………………………………………………………………………………

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 76 ช่องทางอนื่ ๆ : ……………………………………………………………………………………………………………..……… - กรณีท่ีเป็นบคุ คลธรรมดา ชอ่ื .....................................................................นามสกลุ ................................................................................... ตาแหนง่ ................................................................สังกดั ..................................................................................... สถานท่ีติดต่อ.................................................................. .เลขที่...................ถนน...................................ตาบล/ แขวง.................................อาเภอ/เขต....................................จังหวัด........................................................ รหสั ไปรษณยี .์ ...................................................โทรศัพท์/มอื ถือ......................................................................... ชอ่ งทางออนไลน์ เวบ็ ไซต์ : ……………………………………………………………………………………………………………………………. เฟสบุ๊ค/เพจ : ……………………………………………………………………………………………………………………….. ชอ่ งทางอืน่ ๆ : ……………………………………………………………………………………………………………………… - กรณที ีเ่ ป็นนิติบุคคล ช่อื นติ ิบุคคล (บรษิ ัท/หนว่ ยงาน)........................................................................................................................ ชือ่ ผู้มอี านาจลงนามหรือดาเนินการแทนนติ ิบุคคล…………………………………………………………………………………… สถานที่ตดิ ต่อ....................................................................................................................................................... เลขที่...................ถนน......................ตาบล/แขวง.............. ...................อาเภอ/เขต.................................... จงั หวดั ...............................รหสั ไปรษณีย.์ ......................โทรศัพท์/มือถอื ............................................................. ชอ่ งทางออนไลน์ เว็บไซต์ : …………………………………………………………………………………………………………………………….. เฟสบุ๊ค/เพจ : ………………………………………………………………………………………………………………….…… ช่องทางอ่ืน ๆ : ………………………………………………………………………………………………………………..…… 1.2 วตั ถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม (1) …………………………………………………………………………………………………………………….……… (2) ……………………………………………………………………………………………………………………………. (3) ……………………………………………………………………………………………………………………………. 1.3 ชือ่ โครงการ/กจิ กรรมป่ันจักรยานและสถานท่ีจัดโครงการ/กจิ กรรมปัน่ จกั รยาน - ชื่อโครงการ/กจิ กรรมปนั่ จักรยาน........................................................................................................ - ช่ือสถานทจี่ ัดกจิ กรรม…………………………………………………………………………………………………………… - พิกดั ของสถานที่ ………………………………………………………………………………………………………………….

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 77 - แผนทแ่ี สดงทตี่ ง้ั ของการจดั กิจกรรม (ตามแนบ) 1.4 ประเภทของการจดั กจิ กรรมปั่นจักรยาน  ทางเรียบ (Road Cycling) แบง่ ออกเปน็ จานวน ................ ระยะ ประกอบดว้ ย - ระยะทาง....................กโิ ลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร  ทางผจญภัย (Mountain Bike) แบ่งออกเปน็ จานวน ................ ระยะ ประกอบด้วย - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กโิ ลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กโิ ลเมตร  ทาง Cross country หรือ เสน้ ทางอ่นื ๆ : (โปรดระบุ) .................................................... แบง่ ออกเปน็ จานวน ................ ระยะ ประกอบด้วย - ระยะทาง....................กโิ ลเมตร - ระยะทาง....................กิโลเมตร - ระยะทาง....................กโิ ลเมตร - ระยะทาง....................กโิ ลเมตร 1.5 ชว่ งวันและเวลาของการจัดกิจกรรมปน่ั จกั รยาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอนที่ 2 การขออนุญาตและการประสานงานหนว่ ยงานต่าง ๆ 2.1 การขออนญุ าตและการประสานงานสว่ นราชการหรอื หน่วยงานในพ้ืนท่ี (1) ช่ือหนว่ ยงานผรู้ ับผดิ ชอบการอนุญาตใหใ้ ช้พืน้ ท่ี…………………………………………………….. สถานทีต่ ิดต่อ................................................................................................................................................... เลขที่...................ถนน...................................ตาบล/แขวง.................................อาเภอ/เขต........................... จงั หวดั ...................................รหัสไปรษณยี .์ ......................โทรศัพท์/มือถือ..................................................... (2) ช่อื หน่วยงานผรู้ ับผดิ ชอบการอนญุ าตให้ใชพ้ ื้นที่…………………………………………………….. สถานทต่ี ิดต่อ................................................................................................................................................... เลขท.่ี ..................ถนน..................ตาบล/แขวง.................................อาเภอ/เขต............................................ จังหวัด.....................................รหสั ไปรษณีย์....................................โทรศัพท/์ มอื ถอื ..................................... 2.2 การขออนญุ าตจัดจากหน่วยงานจราจร/ทางหลวง/ตารวจในพ้นื ที่ (1) ชื่อหนว่ ยงานผรู้ บั ผิดชอบการอนุญาตดา้ นการจราจร…………………………………………… สถานทีต่ ิดต่อ.................................................................................................................................................. เลขที.่ ..................ถนน.....................ตาบล/แขวง...................อาเภอ/เขต...................................................... จงั หวดั ...................................รหัสไปรษณยี .์ ......................โทรศัพท/์ มือถือ............................................

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 78 (2) ชอื่ หนว่ ยงานผู้รบั ผิดชอบการอนุญาตด้านการจราจร……………………………………… สถานทีต่ ิดต่อ........................................................................................................................................... เลขท.่ี ..................ถนน..................ตาบล/แขวง.................................อาเภอ/เขต.................................... ตอนที่ 3 ขอ้ มูลประกอบดา้ นความปลอดภยั (Safe) 3.1 การบริการทางการแพทย์ และการดูแลนักป่นั ท้งั ก่อนและหลังเส้นชัย (1) จุดบริการปฐมพยาบาลในเส้นทางการปั่นจักรยาน จานวน...........จุด โดยมีระยะห่าง ทุก............กโิ ลเมตร และต้ังอยใู่ นระยะประมาณ .................เมตรหลงั จากจดุ ให้น้า (2) จดุ บริการปฐมพยาบาลใกล้เสน้ ชัย จานวน..............จดุ (3) สถานพยาบาลผรู้ ับผิดชอบชื่อ...................................................................................... แพทย/์ ผู้อานวยการทางการแพทย์ผู้รับผิดชอบ ชอื่ ............................................ สกลุ ...................................... โทรศัพท์มือถอื ทต่ี ิดต่อได้สะดวก............................................................................... (4) รถพยาบาล จานวน.....................คนั (5) การเตรียมการกู้ชีพและปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้  มี เคร่อื งกระตุกหัวใจไฟฟา้ แบบอัตโนมัติ (Automated External Defibrillator : AED)  ไมม่ ี เครือ่ งกระตกุ หัวใจไฟฟา้ แบบอัตโนมัติ (Automated External Defibrillator : AED) 3.2 การประเมินความเสย่ี งของเสน้ ทาง  กรณีท่ี 1 ไม่มี การประเมินความเสี่ยงของเสน้ ทาง  กรณที ี่ 2 มี การประเมินความเสี่ยงของเส้นทาง โดยมขี อ้ มูลการประเมนิ ความเส่ยี งของ เส้นทางตามเอกสารท่ีแนบ 3.3 การปิดจราจรสาหรับจัดกิจกรรมปน่ั จกั รยาน  กรณที ่ี 1 มีการปิดถนนทัง้ หมด (ปดิ การจราจร ๑๐๐%) ระบุรายละเอียด………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………  กรณีที่ 2 มีการปิดถนนเพยี งบางสว่ นหรือบางช่องทางเพ่ือใหใ้ ช้สาหรับการจัดกิจกรรม (ปิดการจราจรบางชอ่ งทาง) ระบรุ ายละเอยี ด…………………………………………………………………………………………………………………………………..

79  กรณีที่ 3 ไม่มีการปิดถนนแต่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะถูกแยกออกจากการจราจรท้ังหมด (ไม่มกี ารปดิ การจราจร แตก่ ันพ้ืนท่บี างส่วนสาหรับการแขง่ ขัน) ระบรุ ายละเอียด…………………………………………………………………………………………………………………………………..  กรณีท่ี 4 ไม่มีการปิดถนน และไม่มีเส้นทางว่ิงท่ีเล้ียวขวาซึ่งจะเป็นการตัดข้ามเส้นทาง รถ หรอื เปน็ การตัดขา้ มถนนสายหลัก (ไมม่ กี ารปดิ การจราจร และเส้นทางว่ิงไม่มีเลีย้ วขวา) ระบุรายละเอียด…………………………………………………………………………………………………………………………………  กรณีที่ 5 ไม่มีการปิดถนน แต่มีเส้นทางว่ิงท่ีเล้ียวขวาที่จะเป็นการตัดข้ามเส้นทางรถ ซ่งึ จะไดร้ ับการดูแลจากเจ้าหน้าที่ (ไมม่ ีการปดิ การจราจร แตม่ เี ล้ยี วขวาซึง่ อยู่ภายใต้การดูแลของเจ้าหน้าที่) ระบรุ ายละเอียด………………………………………………………………………………………………………………………………….. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 3.4 จดุ บรกิ ารน้าและเคร่ืองบรโิ ภคเพื่อความสดช่นื บนเสน้ ทางการป่ันจักรยาน (1) จุดบรกิ ารนา้ และเครอื่ งบรโิ ภคเพอ่ื ความสดชน่ื ที่เหมาะสมเมื่อเข้าเส้นชัย จานวน...... จุด (2) จุดบริการน้าดม่ื ท่ีจุดปล่อยตัว จานวน.......จุด และตลอดเส้นทางว่ิง ทุกระยะ...........กิโลเมตร (3) ป้ายแจง้ เตอื นจุดบริการน้าและเครื่องบรโิ ภคฯ อย่างน้อย ...............เมตรก่อนถึงจุดบริการนา้ 3.5 ไฟสอ่ งสว่างในตอนกลางคืน หากการแข่งขนั เร่ิมต้งั แต่เช้ามืดหรอื การแข่งขนั ยังดาเนินต่อจนถงึ เวลากลางคืน จัดใหม้ ีไฟสอ่ งสวา่ งตามเสน้ ทาง ไมจ่ ัดให้มีไฟส่องสว่างตามเส้นทาง 3.6 ความรับผดิ ชอบตามกฎหมายและขอ้ บงั คับท้องถ่ิน จดั ทาประกันภยั ทคี่ ุ้มครองผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมและ/หรือเจา้ หนา้ ทีท่ จ่ี ัดกจิ กรรม จัดทาบนั ทึกขอ้ ตกลง (MOU) กับท้องถนิ่ รักษาความปลอดภัยเอกสารรับสมัครและข้อมูลส่วนบุคคล 3.7 ความปลอดภัยทั่วไปของผมู้ ีส่วนร่วมทุกฝ่าย ความปลอดภัยทัว่ ไปของผูม้ สี ่วนร่วมทุกฝ่ายรวมถงึ ประชาชนท่จี ะไดร้ บั ผลกระทบ ท่ีจอดรถ เจ้าหนา้ ทอี่ าสาสมัคร ที่รับฝากของ การเดนิ ทาง ขอ้ หา้ มทีก่ าหนด การจราจร

80 ตอนที่ 4 ขอ้ มลู อ่นื ๆ ท่ีตอ้ งการนาเสนอเพ่มิ เติมพรอ้ มเอกสารแนบ ทงั้ นเี้ พ่อื แสดงถงึ ความพร้อมในการจัดกจิ กรรมการปั่นจกั รยาน ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพและคุณภาพ เชน่ แผ่นพับ แผนทีเ่ สน้ ทาง คาส่ังคณะกรรมการจดั งาน รูปแบบเสื้อ เหรยี ญ ของทีร่ ะลึก ป้ายการประชาสมั พนั ธ์ งาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ***************************** มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 81 สรุป มาตรฐานการจดั กิจกรรมงานวงิ่ สหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (IAAF) ได้ให้การรับรองมาตรฐาน ด้วยกัน 3 ระดับ ได้แก่ 1) ป้ายรับรองระดับทอง (Road Race GOLD Label) 2) ป้ายรับรองระดับเงิน (Road Race SILVER Label) 3) ป้ายรับรองระดับทองแดง (Road Race BRONZE Label) และ ปัจจุบัน IAAF ได้เพิม่ มาตรฐานสูงสุดอีก 1 ระดับ คือ ปา้ ยการรบั รองระดับแพลตตนิ ัม (Platinum Label) ในการน้ี เพื่อให้การจัดกิจกรรมวิ่งและปั่นจักรยานในจังหวัดราชบุรี มีประสิทธิภาพลดปัญหาความไม่พร้อมและลด ความเสี่ยงอันตรายต่อชีวิตร่างกายและทรัพย์สินของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการวิ่ง คณะกรรมการพิจารณา อนุญาตการจัดกิจกรรมว่ิงและปั่นจักรยานจังหวัดราชบุรี จึงได้มีแนวปฏิบัติสาหรับการขออนุญาตจัด กิจกรรมกีฬา ขึ้น โดยมีข้อกาหนดรายการตรวจสอบแบ่งเป็น 4 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมูลและรายละเอยี ด โครงการ/กิจกรรมการว่ิง ตอนที่ 2 การขออนุญาตและการประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ ตอนท่ี 3 ข้อมูล ประกอบด้านความปลอดภัย (Safe) และ ตอนท่ี 4 ข้อมูลอื่น ๆ ที่ต้องการนาเสนอ ซ่ึงมีรายละเอียดแต่ละ ตอน ดงั นี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลและรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมการวิ่ง ประกอบด้วย รายละเอียดผู้รับผิดชอบ โครงการ/กิจกรรมการวิ่ง วัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม ช่ือโครงการ/กิจกรรมว่ิงและสถานท่ีจัด โครงการ/กจิ กรรม ประเภทของการจดั กจิ กรรมว่งิ และ ชว่ งวนั และเวลาของการจดั กจิ กรรมว่ิง ตอนที่ 2 การขออนุญาตและการประสานงานหน่วยงานตา่ ง ๆ ประกอบด้วย การขออนุญาตและ การประสานงานส่วนราชการหรือหน่วยงานในพื้นที่ การขออนุญาตจัดจากหน่วยงานจราจร/ทางหลวง/ ตารวจในพื้นท่ี ตอนท่ี 3 ข้อมูลประกอบด้านความปลอดภัย (Safe) ประกอบด้วย การบริการทางการแพทย์ และ การดแู ลนักวงิ่ ทั้งกอ่ นและหลงั เสน้ ชยั การประเมินความเส่ยี งของเสน้ ทาง การปิดจราจรสาหรบั จดั กิจกรรม ว่ิง จุดบริการน้าและเครื่องบริโภคเพ่ือความสดชื่นบนเส้นทางว่ิง ไฟส่องสว่างในตอนกลางคืน ความ รับผิดชอบตามกฎหมายและข้อบังคับท้องถนิ่ และ ความปลอดภยั ทัว่ ไปของผมู้ ีสว่ นร่วมทุกฝ่าย ตอนที่ 4 ข้อมูลอื่น ๆ ท่ีต้องการนาเสนอ เพ่ือแสดงถึงความพร้อมในการจัดกิจกรรมการว่ิง ท่ีมี ประสิทธิภาพและคุณภาพ เช่น แผ่นพับ แผนที่เส้นทาง คาส่ังคณะกรรมการจัดงาน รูปแบบเสื้อ เหรียญ ของทร่ี ะลึก ป้ายการประชาสมั พนั ธ์งาน มาตรฐานการจดั กิจกรรมงานปนั่ จักรยาน กรณขี องจังหวัดราชบรุ ี สานกั งานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัด (2561) ได้ตระหนักถึง ความมีประสิทธิภาพ ลดปัญหาความไม่พร้อมและลดความเส่ียงอันตรายต่อ ชีวติ รา่ งกายและทรัพยส์ นิ ของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมปั่นจกั รยาน จึงได้กาหนดรายการตรวจสอบ แบ่งเป็น 4 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมูลและรายละเอียดโครงการ / กิจกรรมการปั่นจักรยาน ตอนท่ี 2 การขออนุญาตและ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 82 การประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ ตอนที่ 3 ข้อมูลประกอบด้านความปลอดภัย (Safe) และ ตอนที่ 4 ข้อมลู อื่น ๆ ท่ตี ้องการนาเสนอ ซึ่งมรี ายละเอียดแตล่ ะตอน ดงั นี้ ตอนที่ 1 ข้อมลู และรายละเอียดโครงการ / กิจกรรมการป่นั จักรยาน ประกอบด้วย รายละเอียด ผู้รับผิดชอบโครงการ / กิจกรรมการปั่นจักรยาน วัตถุประสงค์โครงการ/กิจกรรม ช่ือโครงการ/กิจกรรมและ สถานที่จัดโครงการ / กจิ กรรม ประเภทของการจดั กจิ กรรมการปน่ั จกั รยาน ตอนท่ี 2 การขออนุญาตและการประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ ประกอบด้วย การขออนุญาต สว่ นราชการหรือหนว่ ยงานในพน้ื ที่ และ การขออนญุ าตจัดจากหนว่ ยงานจราจร/ทางหลวง/ตารวจในพื้นที่ ตอนที่ 3 ข้อมูลประกอบด้านความปลอดภัย (Safe) ประกอบด้วย การบริการทางการแพทย์ และการดูแลนกั ป่ันจกั รยานทง้ั ก่อนและหลงั เส้นชยั การประเมินความเส่ียงของเสน้ ทาง การปดิ จราจรสาหรับ จัดกิจกรรมการปั่นจักรยาน จุดบริการน้าและเครื่องบริโภคเพื่อความสดช่ืนบนเส้นทางการป่ันจักรยาน ไฟ ส่องสว่างในตอนกลางคืน ความรับผิดชอบตามกฎหมายและข้อบังคับท้องถิ่น ความปลอดภัยทั่วไปของผู้มี ส่วนรว่ มทกุ ฝ่าย ตอนท่ี 4 ข้อมูลอื่น ๆ ท่ีต้องการนาเสนอ ประกอบด้วย ข้อมูลอันมีประโยชน์ที่แสดงถึงความ พร้อมในการจัดกิจกรรมการปั่น ท่ีมีประสิทธิภาพและคุณภาพ เช่น แผ่นพับ แผนที่เส้นทาง คาสั่ง คณะกรรมการจัดงาน รูปแบบเส้อื เหรียญ ของท่รี ะลกึ ปา้ ยการประชาสมั พันธง์ าน แบบฝกึ หดั ท้ายบท 1. สหพันธ์สมาคมกรีฑานานาชาติ (IAAF) ได้ให้การรับรองมาตรฐานสนามก่ีระดับ และมีรอบระยะเวลาขอ การรบั รองใบสมคั รอย่างไร 2. คณะกรรมการพิจารณาอนุญาตการจัดกิจกรรมว่ิงของจังหวัดราชบุรี จึงได้มีแนวปฏิบัติสาหรับการขอ อนุญาตจดั กิจกรรมกฬี า ขนึ้ โดยมีข้นั ตอนการขออนุญาตเปน็ อย่างไร 3. คณะกรรมการพจิ ารณาอนุญาตการจัดกจิ กรรมป่ันจักรยานของจังหวดั ราชบุรี จึงได้มีแนวปฏิบัติสาหรับ การขออนญุ าตจัดกิจกรรมกีฬา ขนึ้ โดยมีขั้นตอนการขออนุญาตเปน็ อยา่ งไร 4. ตามมาตรฐานการจัดงานว่ิงสากลได้แบ่งประเภทของการจัดกิจกรรมงานวิ่งทั่วไปตามระยะทาง (ว่ิง ประเภทถนน)และการวิ่ง วิ่งบนเส้นทางที่ไม่ปกติ (ว่ิงผจญภัย) ของจังหวัดราชบุรี มีรายละเอียดและ รูปแบบการจดั กจิ กรรมตา่ งกนั อย่างไร 5. ตามมาตรฐานการจัดงานปั่นจักรยานประเภทการปั่นทางเรียบ (Road Cycling) การป่ันทางผจญภัย (Mountain Bike) และการปน่ั ทาง Cross country ของจังหวัดราชบรุ ี มีรายละเอียดและรูปแบบการจัด กจิ กรรมตา่ งกันอย่างไร

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 83 บทท่ี 5 การดาเนินธุรกจิ กีฬาดว้ ยแนวคิดเศรษฐกิจเชงิ แบง่ ปัน วตั ถปุ ระสงค์ของการเรยี นรู้ เพ่อื ให้ผู้เรียน 1. สามารถอธิบายรูปแบบการทาธรุ กิจแบบเศรษฐกิจแบง่ ปนั (Sharing Economy) 2. สามารถอธบิ ายความสมั พนั ธ์ของแผนภาพเศรษฐกิจเชงิ แบ่งปนั 3. สามารถอธบิ ายขัน้ ตอนการออกแบบและพัฒนาแอพพลิเคช่นั บนสมาร์ทโฟน 4. สามารถอธิบายห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของการทอ่ งเทีย่ วเชิงกฬี า 5. สามารถอธิบายการนาแนวคดิ เศรษฐกิจเชิงแบง่ ปันและธุรกิจเพ่ือสังคม มาประยกุ ต์ใช้กับธุรกจิ ชมุ ชน การจัดมหกรรมกีฬาในพื้นท่ีต่าง ๆ นอกจากจะเป็นการรวมกลุ่มคนหมู่มากมาอยู่ในพื้นที่เดียวกัน แล้ว หากวิเคราะห์ตามพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว (Customer Journey) พบว่า การเดินทางมายังพื้นที่ ต่างถิ่น ทาให้นักท่องเท่ียว เกิดการใช้จ่ายเพื่อตอบสนองความพึงพอใจของตนเอง ทาให้เกิดเป็นการสร้าง ระบบเศรษฐกิจข้ึนในชุมชนแบบอัตโนมัติท่ีมกี ารกระจายรายได้ไปสู่ธุรกิจ อาชพี ต่าง ๆ มากมาย ดังนั้น การ จัดกิจกรรมงานว่ิง จึงเป็นอีกหนึ่งรูปแบบหนึ่งของการจัดกิจกรรมกีฬาเพื่อส่งเสริมท่องเท่ียว ดังนั้นการ กระจายรายได้ไปยังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ที่มีการ ดาเนินงานตามแนวคดิ เศรษฐกิจเชงิ แบง่ ปันโดยอตั โนมัติอยู่แล้ว เพียงแตไ่ ม่ไดถ้ กู หยิบยกขึ้นมาวเิ คราะห์ตาม ทฤษฎีอยา่ งเป็นรปู ธรรม ดังนน้ั การนาเสนอเนือ้ หาในบททน้ี จึงเป็นการนาเสนอถงึ ประเดน็ ทส่ี าคัญของการ ดาเนินธุรกิจกฬี า ประเภทการจัดกิจกรรมงานวง่ิ ดว้ ยแนวคดิ เศรษฐกิจเชงิ แบง่ ปนั ดงั นี้ ความสาคญั ของการดาเนนิ ธุรกิจด้วยแนวคิดเศรษฐกจิ เชิงแบง่ ปัน เมื่อเทคโนโลยีกลายเป็นตัวกลางแห่งการส่ือสาร พ่อค้าคนกลางก็มีอันต้องลดบทบาทลง นอกจาก โลกท้ังใบจะดูแคบลงด้วยอานาจของอินเตอร์เน็ตแล้ว ผู้คนยังดูใกล้ชิดกันมากข้ึนด้วยอิทธิพลของอุปกรณ์ ติดต่อสื่อสารตา่ ง ๆ ดว้ ย นอกจากโลกท้งั ใบจะดูแคบลงด้วยอานาจของอินเตอร์เน็ตแล้ว ผู้คนยังดูแลใกล้ชิด กันมากขนึ้ ดว้ ยอิทธิพลของอปุ กรณต์ ิดต่อส่ือสารต่าง ๆ ด้วย ในยุคดจิ ทิ ัลที่แอพพลิเคช่ันตา่ ง ๆ ถกู ออกแบบ มาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค จากอดีตที่ต้องทาการซื้อขายผ่านพ่อค้าคนกลาง ผู้ซื้อไม่ สามารถพบกนั เองได้ แต่เทคโนโลยีทาใหโ้ ลกของธรุ กจิ เปลย่ี นไป ผู้ซือ้ และผูข้ ายสามารถพูดคุยกันเองได้ผ่าน แอพพลิเคช่ันบนโลกออนไลน์ และสามารถพบปะเจอหน้าค่าตากันได้ในโลกของความเป็นจริงทั่วทุกมุมโลก กาลังเกิดการเคล่ือนไหวทางเศรษฐกจิ ท่ีเรียกว่า “เศรษฐกิจแบง่ ปนั ” หรอื Sharing Economy

84 รูปแบบการทาธุรกิจแบบเศรษฐกิจแบ่งปัน (Sharing Economy) เป็นตลาดใหม่ ที่เป็นการทา ธุรกิจแบบเพื่อนสู่เพ่ือน (Peer to Peer) หรือ เป็นการติดต่อเพ่ือแบ่งปันทรัพย์สมบัติผลัดกันใช้ โดยผ่าน การ เช่า ซื้อแบบสินค้ามือสอง แทนการซ้ือของใหม่ ผ่านช่องทาง อินเตอร์เน็ต Online Booking Website ผลการศึกษาผู้บริโภคชาวอเมริกันถึง แนวคิดต่อเศรษฐกิจแบ่งปัน (Sharing Economy) พบว่า ธุรกิจแบบ เศรษฐกจิ แบง่ ปนั (Sharing Economy) มีขอ้ ได้เปรยี บกวา่ ธุรกิจอ่นื ๆ กลา่ วคอื 1) การแชร์ทรัพยากรระหว่างกันช่วยทาให้ชีวิตมีความสะดวกสบายและมีเงินใช้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพมากขนึ้ 2) การแบง่ ปนั หรือแลกเปลยี่ นสมบัติหรือสิ่งของระหวา่ งกนั คมุ้ คา่ กวา่ การซอื้ มาครอบครอง 3) การดาเนินธรุ กิจแบบแบ่งปันมีส่วนชว่ ยในการอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มได้อกี ทาง 4) มีความเช่ือถือในบริษัทที่ให้บริการ เม่ือมีบุคลท่ีเคยไปมาแล้วมาแลกเปล่ียนประสบการณ์ท้ัง ในทางที่ดีและไมด่ ี ผา่ น Online Booking Website ซง่ึ ปจั จัยทสี่ ่งผลต่อการสรา้ งมูลคา่ เพ่ิมทางเศรษฐกิจให้ ประสบผลสาเร็จ ประกอบด้วย 4 ปจั จยั (Alain Dupeyras, 2016) คอื มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง เศรษฐกจิ แบ่งปัน ความรว่ มมือทางเศรษฐกิจ (Sharing Economy) (Collaborative Economy) การมสี ว่ นรว่ มทางเศรษฐกิจ การทาธรุ กิจแบบเพ่ือนสเู่ พือ่ น (Participative Economy) (Peer to Peer Economy) ภาพที่ 5.1 แสดงปจั จัยทสี่ ่งผลตอ่ การสร้างมลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ ใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ทีม่ า : ดัดแปลงจาก Alain Dupeyras (2016) ดังน้ัน เศรษฐกิจเชิงแบ่งปัน ถือเป็นกระแสการเปลี่ยนแปลงสาคัญอย่างหน่ึงของโลกที่ ผู้ประกอบการไม่อาจหลีกเล่ียงได้ ดังน้ัน การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบธุรกิจ รวมถึงผลกระทบใน ดา้ นตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ขึน้ จึงเป็นสิ่งสาคัญในการปรบั ตวั เพื่อก้าวตามให้ทันกับกระแสโลก และช่วยในการติดตาม ทาความเข้าใจระบบเศรษฐกิจท่ีเปลี่ยนไป ซ่ึงจะมีนัยต่อการดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจต่าง ๆ รวมถึงการ ออกแบบกฎเกณฑ์กากับดูแลธุรกิจดังกล่าว เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดสาหรับทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง สาหรับ ประเทศไทย ปราณี สุทธศรี และคณะ (2562) ได้ประเมินว่าธุรกิจเชิงแบ่งปัน (Sharing Economy) มี ทิศทางขยายตัวต่อเนื่องไม่ต่างจากตลาดอื่น ๆ ท่ัวโลก และน่าจะก่อให้เกิดผลดีต่อระบบเศรษฐกิจไทย โดยรวม โดยเฉพาะในด้านการใช้จ่ายและการท่องเที่ยว อีกท้ังยังช่วยสร้างงานและรายได้เสริมหาก ประชาชนพร้อมท่ีจะปรับตัวใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทาธุรกิจ โดยถือเป็นตัวรองรับทางเศรษฐกิจ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 85 (Cushion) เมอื่ เกิดภาวะเศรษฐกจิ ถดถอยได้อีกหนึ่งช่องทางขณะเกี่ยวกนั ภาคเอกชนผู้ให้บริการด้งั เดมิ เองก็ ควรทาความเข้าใจแนวโนม้ การแข่งขนั ใหม่ทกี่ าลงั เกิดขนึ้ เพอื่ ปรบั ตวั และบริหารความเสยี่ งใหเ้ ทา่ ทนั ในขณะท่ี เดชา โควเอ่ียมไพโรจน์ (2561) เม่ือระบบนิเวศมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคดิจิทัล ที่มีแนวโน้มการทาธุรกิจเชิงแบ่งปันมากข้ึน ดังน้ัน การสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพย์สินท่ีมีอยู่ผ่านแพลตฟอร์ม จึงเป็นอีกแนวทางหน่ึงในการสร้างมูลค่าให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย ดังเช่นความสัมพันธ์ของ แผนภาพเศรษฐกจิ เชิงแบ่งปนั ทม่ี ีผู้เกยี่ วข้อง 3 ภาคส่วน ไดแ้ ก่ เจ้าของทรพั ยส์ ิน นาเสนอทรัพย์สนิ ทีต่ นเอง มีต่อผู้สร้างแพลตฟอร์มธุรกิจ เพ่ือให้บริการเช่าใช้ หรือ บริการอ่ืน ๆ ในขณะเดียวกันเจ้าของทรัพย์สินให้ ผู้ใช้บริการหรอื ผู้บริโภคท่ีแจ้งความประสงค์จะใช้บรกิ ารต่อแพลตฟอรม์ ธุรกิจไว้ จึงเกิดเป็นการซื้อขาย การ ให้บรกิ ารต่อกัน ผา่ นการสื่อสารทางเทคโนโลยี ภาพที่ 5.2 ระบบเศรษฐกิจเชงิ แบง่ ปนั ท่ีมา : เดชา โควเอี่ยมไพโรจน์ (2561) เมอ่ื กล่าวถึงเทคโนโลยใี นยุคโซเซยี ล วรญั ญา ตโิ ลกะวิชยั และ ณฐั ธยาน์ ชุติพงศพ์ มิ ล (2563) กล่าว ว่า องค์ประกอบของเว็บไซต์และแอพพลิเคช่ันในการออกแบบสาหรับการประชาสัมพันธ์หรือทาธุรกิจใน กลุ่ม Startup เพ่ือให้ระบบของเว็บไซต์และแอพพลิเคชั่น สามารถเข้าถึงได้ง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว อีกท้งั การดงึ ดูดจงู ใจให้ผ้บู รโิ ภคหรือลกู คา้ เข้ามาใชบ้ ริการ สินค้านัน้ ต้องมคี วาม หลากหลาย ระบรุ าคาชัดเจน มกี ารจดั สง่ สนิ ค้าไดท้ ั่วทุกท่ี และเวบ็ ไซต/์ แอพพลิเคช่ัน จะตอ้ งมีความง่ายต่อ การใช้งาน ได้ทุกที่ ทุกเวลา ปัจจัยด้านความปลอดภัยในการรักษาสิทธิของลูกค้าและสร้างให้มีความ

86 น่าเช่ือถือของเว็บไซต์/แอพพลิเคช่ัน ที่สร้างมาเพื่อจัดทาธุรกิจในรูปแบบของเศรษฐกิจเชิงแบ่งปัน ทั้งนี้ มิลตรา สมบัติ และปวีณา คาพุกกะ (2561) พบว่า องค์ประกอบเว็บไซต์ (7C) ท่ีนามาประยุกต์ใช้ในการ ออกแบบและพฒั นาแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน ประกอบดว้ ย 1) การพาณิชย์ (Commerce) คือ ขั้นตอนและกระบวนการส่ังซื้อสินค้าบนแอพพลิเคช่ัน เกิดการทาธุรกรรมบนระบบออนไลน์ มีการออกแบบวีการทารายการส่ังซ้ืออย่างเป้นข้ันตอน เพ่ือความ สะดวกต่อการใช้งานและให้ความสาคัญเรอ่ื งระบบความปลอดภัยของข้อมูลผู้ใชง้ านเปน็ หลัก 2) ความเป็นชุมชน (Community) คือ สังคมในแอพพลิเคชั่นของกลุ่มคนจานวนหนึ่งที่ สามารถติดต่อพูดคุยหรือทากิจกรรมอ่ืน ๆ ร่วมกันได้ แสดงความคิดเห็นการรีวิวหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่ง กนั และกนั 3) เนื้อหา (Content) คือ รายละเอียดของข้อมูลบนแอพพลิเคช่ัน ข้อมูลจัดวางเป็น ระเบียบ 4) การส่ือสาร (Communication) คอื ช่องทางการติดตอ่ ส่ือสารกับเจา้ ของร้าน 5) การปรับแต่ง (Customization) คือ การออกแบบให้ง่ายต่อการปรับแต่ง ส่วนที่ให้ ผู้ใช้งานสามารถเปลยี่ นแปลงแก้ไขขอ้ มลู ส่วนตวั ได้ ปรับเปล่ยี นฟังกช์ นั่ ต่าง ๆ ตามความตอ้ งการของผใู้ ช้งาน 6) รูปแบบ (Context) คือ การจัดโครงสร้างและการออกแบบแอพพลิเคช่ัน การจัดวาง องค์ประกอบต่าง ๆ โดยรวม คานึงถึงความสวยงามและประโยชน์ในการใช้งาน มีการแบ่งสัดส่วนของหน้า การใชง้ านเป็นแต่ละประเภท เพื่อความสะดวกและงา่ ยต่อการทางาน 7) การเช่ือมโยง (Connection) คือ ส่วนของเครือข่ายที่มีระบบการเชื่อมโยงจาก แอพพลเิ คช่ัน ไปยงั ชอ่ งทางออนไลน์อนื่ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

87 Commerce Connection Community มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงองค์ประกอบ เว็บไซต์ (7C) Context Content Customization Communication ภาพท่ี 5.3 องคป์ ระกอบเวบ็ ไซต์ (7C) ทีม่ า : มิลตรา สมบตั ิ และปวีณา คาพุกกะ (2561) เนื่องจากการท่องเท่ียวเชิงกีฬาถือเป็นเป็นภาคส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวของ ประเทศไทยทีม่ ีความสาคญั และมีศกั ยภาพ และพบวา่ มีทศิ ทางการพฒั นาไปในทศิ ทางบวก โดยเฉพาะตลาด การท่องเที่ยวเชิงกีฬาของประเทศไทยยังมีความสามารถในการให้บริการส่วนเกิน (Excess Capacity) ท่ียัง ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในหลาย ๆ ด้าน ทาให้การสร้างมูลค่าเพ่ิมในอุตสาหกรรมน้ัน ยังไม่สามารถทาได้อย่าง เต็มท่ี เป็นผลให้อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวของประเทศไทยยังไม่ได้รับประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากการ ท่องเท่ียวเชิงกีฬามากที่ควร ซ่ึงเม่ือวิเคราะห์ถึงกลุ่มธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงกีฬาของประเทศ ไทย กองเศรษฐกิจการท่องเท่ียวเชิงกีฬา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา (2560) ได้แบ่งห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของการท่องเทีย่ วเชิงกีฬาออกเป็น 3 กลมุ่ ได้แก่ 1) กลุ่มผู้ให้บริการการท่องเท่ียวเชิงกีฬา (Sports Tourism Service Providers) เป็น กลุ่มที่เก่ียวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงกีฬามากที่สุดเพราะเป็นส่วนที่นักท่องเที่ยวเชิงกีฬาจะต้องใช้บริการ โดยตรง หรือกล่าวได้ว่าเป็นกลุ่มท่ีมีความสาคัญมากที่สุดในห่วงโซ่อุปทาน โดยประกอบด้วย ผู้ให้บริการที่ เกย่ี วข้อง 4 กลมุ่ ยอ่ ย ได้แก่ กจิ กรรม (Activity) ทพ่ี ัก (Accommodation) การขนสง่ (Transport) อาหาร และเครอ่ื งดื่ม (Food and Craft)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 88 2) กลุ่มตัวแทนจัดการท่องเท่ียวเชิงกีฬาและผู้ประกอบการทัวร์เชิงกีฬา (Sports Travel Agencies and Tour Operators) กลุ่มน้ีคือ ผู้วางแผนและจัดการองค์รวมของการท่องเท่ียวเชิงกีฬา ท้ังหมด โดยทาหน้าท่ีเป็นคนกลาง เพ่ือผูกสินค้า หรือ เช่ือมโยง และบริการต่าง ๆ มารวมกันและขายเป็น แพ็คเกจให้กับนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา ส่วนผู้ประกอบการการทัวร์เชิงกีฬา (Sport Tour Operator) จะทา หน้าท่ีเหมือนตัวแทนจัดการท่องเที่ยวเชิงกีฬาแต่จะเป็นผู้ดูแลกิจกรรมท้ังหมดอย่างครบถ้วน โดยการ เดินทางไปกับลกู คา้ ด้วยเพ่อื ทาใหแ้ น่ใจวา่ ลูกค้าเกดิ ความพึงพอใจกบั บริการสูงสุด 3) กลุ่มผนู้ าเสนอปจั จัยการผลติ ในการทอ่ งเทีย่ วเชงิ กีฬา (Sports Input Providers) กลุม่ นี้มี 4 กลุ่มย่อย ได้แก่ เครื่องมือและอุปกรณ์กีฬา (Sporting Equipment) ซึ่งจาเป็นต้องเป้นอุปกรณ์ที่มี คุณภาพสูง อาหารและเครื่องดื่ม (Food and Beverage) ได้แก่ ผู้จาหน่ายอาหารและเคร่ืองดื่มท่ีมี จุดมุ่งหมายในการขายให้กับนักท่องเท่ียวเชงิ กีฬาโดยตรง เช่น ร้านอาหารในสนามกีฬา และปัจจัยการผลติ อื่น ๆ (Others Inputs) และโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) หรือ ผู้ให้บริการด้านสิ่งอานวยความ สะดวกอันเป็นโครงสรา้ งพน้ื ฐานท่ีจาเปน็ ตอ่ การทอ่ งเทีย่ วเชิงกีฬา นอกเหนือจาก 3 กลุ่ม ที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังพบว่ามีผู้ประกอบการอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับห่วงโซ่ อุปทานของการท่องเที่ยวเชิงกีฬาอีกมาก เพราะนอกเหนือจากจุดประสงค์ของการ “กีฬา” แล้ว นักท่องเท่ียวเชิงกีฬายังต้องการพักผ่อนหย่อนใจซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวอีกด้วย ดังนั้น หาก สามารถสร้างความเชื่อมโยงระหว่างผู้ให้บริการต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงกีฬาตามที่กล่าว มาแล้วต้ังแต่อุตสาหกรรมท่ีเป็นต้นน้า (Upstream) ไปจนถึงปลายน้า (Downstream) เพ่ือให้ภาคส่วน เหล่าน้ันได้มาทางานร่วมกันและส่งเสริมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะทาให้ประเทศไทยเป็นจุดสนใจของ นักทอ่ งเที่ยวเชิงกฬี า ต่อมา จากผลการวิจัยของ สัจจา ไกรศรรัตน์ และคณะ (2562) ได้ทาการวิจัยเกี่ยวกับการ ท่องเที่ยวเชิงกีฬา ภายใต้โครงการ “การพัฒนาต้นแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬาในกลุ่ม กิจกรรม มวยไทย ปั่นจักรยาน และวิ่ง (Fight Ride Run) สู่การท่องเที่ยวดิจิทัลของประเทศไทย พบว่า กลุ่มกิจกรรมที่มีผู้เล่นมากท่ีสุด และการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศไทยได้ในระดับท่ีดี คือ กลุ่ม กิจกรรมงานวิ่ง ทั้งการวิ่งถนน (Road Running) หรือการว่ิงผจญภัย (Trail Running) และยังพบว่าจะมี แนวโน้มในการจัดกิจกรรมงานวงิ่ ท่ีหลากหลายตามความโดดเดน่ และศักยภาพเชิงพ้ืนท่ี แต่ยังพบว่าการใน การจัดกิจกรรมงานว่ิง ผู้เป็นเจ้าของพื้นท่ียังมีความเป็นกังวลท้ังในเรื่องของมาตรฐานความปลอดภัย ศักยภาพในการรองรับกลุ่มนักวิ่งและผู้ติดตาม การสร้างผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม สังคมและชุมชน แต่ ถึงอย่างไรก็ตามการจัดกิจกรรมงานวิ่งหรือมหกรรมงานว่ิง ยังเป็นกิจกรรมท่ีดึงดูดให้นักว่ิงและผู้ติตตามให้ เดินทางมาเข้าร่วมกิจกรรมควบคู่ไปกับการเดินทางเพื่อการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว และการใช้บริการ

89 ตามผลิตภัณฑ์การท่องเท่ียวและบริการท่ีได้รับรู้ถึงความโดดเด่น หรือ ความเป็นเอกลักษณ์ในการบริการ แต่ยังพบว่าในบางพ้ืนที่ข้อมูลที่เกี่ยวกับ วิธีการเดินทางเข้าถึงการเลือกท่ีพักแรมท่ีปลอดภัย ความสะดวก สบายในการเลือกใช้บริการท่ีมีความน่าเช่ือถือได้ ยังคงเป็นประเด็นปัญหาสาหรับนักวิ่งหรือนักท่องเท่ียว หน้าใหม่ท่ีเดินทางเข้าไปร่วมกิจกรรมในต่างพื้นที่ ดังนั้น จากขอค้นพบในการศึกษาวิจัยมาก่อนหน้าน้ี จึง พบว่า จุดหมายปลายทางการท่องเท่ียว (Destination) จาเป็นต้องมีการบริการพ้ืนฐานด้านสิ่งอานวยความ สะดวกทางการท่องเที่ยวต่าง ๆ เพ่ือรองรับผู้ใช้บริการทางการท่องเท่ียว อาทิ ท่ีพักแรม การบริการขนส่ง (Logistic) การบริการการต้อนรับ การรองรับเร่ืองอาหารและเครื่องดื่ม การสร้างประสบการณ์ทางการ ท่องเที่ยวเชิงกีฬา และการเดินทางท่องเท่ียวเพื่อความบันเทิงและนันทนาการ ที่บางพื้นท่ียังมีจานวนจากัด ไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้บริการในช่วงที่มีการจัดกิจกรรมงานวิ่งหรือมหกรรมงานว่ิง (สัจจา ไกรศรรตั น์ และคณะ, 2562) ดงั น้ัน เพ่อื สรา้ งมูลคา่ เพิ่มทางเศรษฐกิจการกีฬา การส่งเสรมิ การนาทรพั ยากร ท่มี ีอยใู่ นชมุ ชนมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์อย่างเตม็ ศักยภาพ สรา้ งช่องทางการสร้างงาน สร้างรายไดใ้ หก้ ล่มุ ธุรกิจ ชุมชนหรือผู้ประกอบการขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ในพ้ืนท่ี ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงแบ่งปัน (Sharing Economy) อย่างสร้างสรรค์จะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการจัดกิจกรรมการวิ่งในฐานะผลิตภัณฑ์ ทางการท่องเท่ียวได้มากข้ึน ดังแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงแบ่งปัน (Sharing Economy) ตามภาพที่ 5.4 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

90 เศรษฐกิจเชิงแบ่งปัน (Sharing Economy) ในมหกรรมกิจกรรมงานวิ่ง ด้านบริการทพี่ กั ด้านบรกิ าร ดา้ นบริการ ดา้ นการ ในแหล่งทอ่ งเทย่ี ว การขนส่ง บรกิ ารอาหาร มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง - การใหเ้ ช่าสว่ นหนึ่งของ - บรกิ ารนาเที่ยวโดย - การเชา่ รถยนต์/ - การรวมกลมุ่ ของ บ้านสาหรบั นักท่องเทย่ี ว ชุมชนท้องถิน่ มอเตอร์ไซค/์ จักรยานใช้ ผ้ปู ระกอบการอาหาร ในพน้ื ที่ - การใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี ว - การออกแบบเสน้ ทาง เฉพาะกิจ สามารถกางเตน้ ใน ท่องเที่ยวเช่ือมโยง - การเช่าสถานท่จี อดรถ - การใชบ้ รกิ ารรา้ นอาหาร แหล่งทอ่ งเท่ยี วใน บรเิ วณบ้านพักและพ้นื ที่ ท้องถิน่ ทีป่ ลอดภัย ท่ีมชี ่อื เสยี งนอกพ้นื ที่ ส่วนราชการ - การจัดบรกิ ารขนสง่ - การสง่ เสริม - จดุ บริการให้เชา่ สัมภาระ - การสรา้ งเครอื ขา่ ยเฝ้า ชุดเคร่อื งนอน ระวังภัย ใหค้ วาม นกั ทอ่ งเที่ยวเข้าสู่ ผู้ประกอบการ Home - จุดบรกิ ารทเี่ ก็บสัมภาระ ปลอดภยั แก่ผมู้ าเยือน มหกรรมงานวงิ่ ในพื้นท่ี Restaurant - การสรา้ งเครอื ขา่ ย ทปี่ ลอดภยั - จดุ จาหน่าย/แหลง่ บรกิ ารรถสาธารณะนอก - สรา้ งเครือข่าภัตตาคาร - จุดบริการสถานที่อาบนา้ ผลิต ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน ชุมชน ทอ้ งถิน่ พืน้ ท่ี และเปลีย่ นเส้อื ผา้ - การวางระบบบริการ - อืน่ ๆ - อน่ื ๆ - อืน่ ๆ Grab Taxi ในพน้ื ที่ เฉพาะกิจ - อนื่ ๆ ภาพท่ี 5.4 เศรษฐกจิ เชิงแบ่งปนั (Sharing Economy) ในมหกรรมกจิ กรรมงานว่งิ ท่ีมา : สจั จา ไกรศรรัตน์ และคณะ (2562) เหตุผลของการใช้บริการแบ่งปัน เน่ืองจากมองเห็นประโยชน์ที่ช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากการใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายจากการยืมแทนการต้องซ้ือใหม่ หรือจากการ หมุนเวียนนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ช่วยให้คนสามารถเข้าถึงสินค้าที่ไม่มีอานาจซ้ือและท่ีต้องการใช้ ประโยชน์ในระยะเวลาสั้นทั้งช่วยเพิ่มความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนในการรู้จักร่วมมือกันและสร้างรายได้ที่เกิด จากการแบ่งปัน ช่วยเปลี่ยนแนวคิดหรือพฤติกรรมของผู้บริโภคให้หันมาให้ความสาคัญกับคุณค่า (Value) ของสินค้าและบริการน้ัน ๆ ในการใช้สอยและการไม่ทิ้งขว้างและช่วยทาหน้าที่เป็นแม่ส่ือ (Match Maker) เช่ือมระหว่าง ความต้องการของผู้บริโภคและสินค้าหรือทรัพยากรท่ีมีในตลาดได้ง่ายขึ้น การเติบโตของ เศรษฐกิจแบ่งปัน ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่โดดเด่นด้านที่พัก อย่างเช่น Airbab (Air Bed and Breakfast) เป็นธรุ กจิ ทีจ่ องผ่านอนิ เตอร์เนต็ ที่สามารถให้นักท่องเที่ยวจับจองพ้ืนที่ได้ทุกหนแหง่ ในโลก และ จะเป็นที่พักแบบใดก็ได้ อาจจะเป็นอพาร์ทเม้นท์สาหรับหนึ่งคืน ปราสาทสักหลังสาหรับการเข้าพัก 1 อาทิตย์ หรือ วิลล่าสาหรับหนึ่งเดือน Airbnb เช่ือมต่อทุกคนให้สัมผัสประสบการณ์การเดินทางอย่างมี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook