Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทัศนีย์ นาคเสนีย์

ทัศนีย์ นาคเสนีย์

Published by วิทย บริการ, 2022-07-03 07:20:54

Description: ทัศนีย์ นาคเสนีย์

Search

Read the Text Version

มหา ิวทยา ัลยราชภัฎหมู่ ้บานจอมบึง ตำรำ กำรจดั กำรกำรทอ่ งเท่ียวเชงิ กีฬำ Sport Tourism Management ทศั นยี ์ นำคเสนีย์ สำขำวิชำกำรท่องเทย่ี วและกำรบรกิ ำร คณะวิทยำกำรจัดกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏหมูบ่ ำ้ นจอมบงึ 2565

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง ตำรำ กำรจดั กำรกำรท่องเทีย่ วเชงิ กีฬำ Sport Tourism Management โดย ดร.ทศั นยี ์ นำคเสนีย์ กำรท่องเท่ียวและกำรบริกำร คณะวิทยำกำรจัดกำร มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั หมบู่ ้ำนจอมบึง (ตำรำฉบับนยี้ ังไม่เสร็จสมบรู ณ์หำ้ มนำไปอำ้ งองิ )

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงคำนำ ตำรำกำรจัดกำรท่องเท่ียวเชิงกีฬำ ฉบับน้ี เขียนข้ึนเพื่อใช้ประกอบในกำรเรียนกำรสอนสำหรับ นักศึกษำสำขำวิชำกำรท่องเท่ียวและกำรบริกำร ตำมหลักสูตรศิลปศำสตรบัณฑิต คณะวิทยำกำรจัดกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏหมู่บ้ำนจอมบึง โดยเน้ือหำภำยในเล่ม แบ่งออกเป็น 9 บท ประกอบด้วย บทที่ 1 ควำมรู้เบื้องต้นของกำรท่องเท่ียวเชิงกีฬำ บทที่ 2 ระบบนิเวศน์ของกำรท่องเท่ียวเชิงกีฬำ บทท่ี 3 กำร วิเครำะห์พฤติกรรมของนักท่องเท่ียวเชิงกีฬำ บทที่ 4 มำตรฐำนกำรจัดมหกรรมกีฬำของประเทศไทย บทที่ 5 กำรดำเนนิ ธุรกิจดว้ ยแนวคิดเศรษฐกจิ เชิงแบ่งปนั บทที่ 6 ตัวอยำ่ งกำรออกแบบแอพพลิเคช่นั เพ่ือส่งเสริม กำรท่องเทย่ี วเชงิ กีฬำ บทที่ 7 ขน้ั ตอนกำรจดั กิจกรรมกีฬำว่ิงถนนเพื่อสง่ เสริมกำรทอ่ งเท่ยี ว บทที่ 8 ขนั้ ตอน กำรจัดกิจกรรมป่นั จกั รยำนเพื่อส่งเสริมกำรท่องเที่ยว และ บทท่ี 9 ขั้นตอนกำรจัดมหกรรมปนั่ จกั รยำนเพอื่ ส่งเสรมิ กำรทอ่ งเท่ยี ว ผเู้ ขียนหวังเปน็ อยำ่ งยิ่งว่ำตำรำเล่มนจี้ ะเป็นประโยชน์แก่นกั ศกึ ษำหรอื ผู้ทส่ี นใจทั่วไป ทจี่ ะทำให้เกิด ควำมเข้ำใจ สำมำรถนำไปประยุกต์ใช้ในกำรจัดกำรงำนกีฬำเพื่อส่งเสริมกำรท่องเท่ียวได้อย่ำงมี ประสิทธิภำพ อกี ทงั้ ได้รว่ มกนั สร้ำงใหก้ ำรจัดกิจกรรมงำนวิ่งอยำ่ งมืออำชพี และสร้ำงภำพลกั ษณ์ทด่ี ดี ำ้ นกำร กีฬำของประเทศไทยให้เป็นท่ียอมรับ รู้จักแก่นักท่องเท่ียวที่รักกำรกีฬำ หำกตำรำฉบับนี้เกิดประโยชน์และ เป็นผลดี ขอคุณงำมควำมดีนั้นบังเกิดแก่ผู้ท่ีสนับสนุนผเู้ ขียนทุกคนท้ังท่ีได้กลำ่ วอ้ำงและไม่ได้กลำ่ วอ้ำงไว้ใน ตำรำแตห่ ำกเกดิ ข้อผิดพลำดประกำรใด ผเู้ ขียนขอรับไว้ทกุ ๆ ข้อเสนอแนะ และจะนำไปปรบั ปรงุ พัฒนำงำน เขยี นในคร้ังต่อไป สุดท้ำยน้ผี ้เู ขียน ขอขอบคุณ รองศำสตรำจำรย์ ดร.พมิ พร์ ะวี โรจน์รงุ่ สัตย์ ผทู้ รงคณุ วุฒิ สำนักงำน คณะกรรมกำรสง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) และ สำนกั งำนสภำนโยบำยกำรอดุ มศึกษำ วิจัย และนวัตกรรมแห่งชำติ (สอวช.) ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. สัจจำ ไกรศรรัตน์ และคณะนักวิจัยกำร ท่องเท่ียวเชิงกีฬำ ท่ีได้ให้โอกำสให้ผู้เขียนได้พัฒนำตนเอง จนมีองค์ควำมรู้ นำมำพัฒนำเป็นตำรำ ประกอบกำรเรียนกำรสอน และขอขอบคุณผู้ที่มีรำยชื่อที่ผู้เขียนได้กล่ำวอ้ำงงำนในตำรำฉบับน้ีและท่ีไม่ได้ กลำ่ วอำ้ งถงึ แต่อยเู่ บ้อื งหลังท่ีสนบั สนนุ ทกุ ๆ ข้อมลู แก่ผเู้ ขยี น ขอขอบคณุ มำ ณ โอกำสน้ี ทศั นยี ์ นำคเสนีย์ 31 มกรำคม 2564

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง สำรบญั หน้ำ ก คำนำ ข สำรบญั ง สำรบญั ภำพ ช สำรบญั ตำรำง 1 บทท่ี 1 ควำมรเู้ บ้ืองตน้ ของกำรท่องเท่ียวเชิงกีฬำ 1 วตั ถุประสงค์ของกำรเรียนรู้ 2 ควำมหมำย ประเภท ของกำรท่องเที่ยวเชิงกฬี ำ 5 องคป์ ระกอบ ของกำรทอ่ งเที่ยวเชิงกฬี ำ 8 ควำมสำคญั ของกำรท่องเทย่ี วเชงิ กีฬำ 14 สรปุ 15 แบบฝกึ หดั ท้ำยบท 16 บทท่ี 2 ระบบนเิ วศน์ (Eco System) ของกำรท่องเทย่ี วเชงิ กฬี ำ 16 วตั ถุประสงค์ของกำรเรยี นรู้ 16 ระบบนเิ วศน์ (Eco System) ของกำรท่องเท่ียวเชิงกีฬำ 23 องค์ประกอบของระบบนิเวศน์ (Eco System) ของกำรท่องเทยี่ วเชงิ กีฬำ 30 รูปแบบของระบบนิเวศน์ (Eco System) ของกำรท่องเทยี่ วเชิงกีฬำ 32 สรุป 32 แบบฝกึ หดั ท้ำยบท 33 บทท่ี 3 กำรวเิ ครำะห์พฤติกรรมของนักท่องเท่ียว 33 วตั ถุประสงค์ของกำรเรียนรู้ 35 พฤติกรรมของนกั ทอ่ งเที่ยวเชงิ กีฬำในกลมุ่ กจิ กรรมงำนวิง่ ถนน 42 พฤติกรรมของนักทอ่ งเทยี่ วเชงิ กีฬำในกลมุ่ กิจกรรมงำนป่นั จกั รยำนทำงเรยี บ 50 พฤติกรรมของนกั ท่องเที่ยวเชิงกีฬำในกลุม่ กิจกรรมงำนปน่ั จักรยำนเสน้ ทำงผจญภัย 52 สรปุ 53 แบบฝึกหดั ท้ำยบท 54 บทที่ 4 มำตรฐำนกำรจัดมหกรรมกฬี ำของประเทศไทย 54 วัตถปุ ระสงค์ของกำรเรียนรู้ 55 มำตรฐำน IAAF 56 กำรขออนญุ ำตจดั กจิ กรรมงำนวงิ่ ประเภทถนน 57 กำรจัดกิจกรรมว่งิ และปั่นจักรยำนในจงั หวัดรำชบรุ ี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง สำรบญั (ต่อ) หนำ้ 81 สรปุ 82 แบบฝึกหัดทำ้ ยบท 83 บทที่ 5 กำรบรหิ ำรจัดกำรกำรจัดมหกรรมกีฬำเพ่ือส่งเสริมกำรทอ่ งเที่ยว 83 วัตถปุ ระสงค์ของกำรเรยี นรู้ 93 ควำมสำคญั ของกำรดำเนนิ ธุรกจิ ด้วยแนวคิดเศรษฐกจิ เชิงแบง่ ปนั 100 แนวทำงกำรเชื่อมโยงเพ่ือสร้ำงสรรค์มูลค่ำเพม่ิ ให้กบั กำรจดั งำนกจิ กรรมงำนว่งิ 102 สรุป 103 แบบฝกึ หดั ทำ้ ยบท 104 บทที่ 6 กำรออกแบบแอพพลเิ คชัน่ เพอ่ื ส่งเสริมกำรท่องเทย่ี วเชิงกีฬำ 104 วตั ถปุ ระสงค์ของกำรเรียนรู้ 104 องค์ประกอบของแอพพลิเคชั่นในกำรพฒั นำเศรษฐกิจเชงิ แบ่งปัน 117 ขั้นตอนกำรตดิ ต้งั โปรแกรมแอพพลเิ คชั่นบนอุปกรณ์พกพำ 127 สรุป 128 แบบฝึกหดั ท้ำยบท 129 บทที่ 7 ข้ันตอนกำรจดั กจิ กรรมกีฬำว่ิงถนนเพ่ือส่งเสรมิ กำรทอ่ งเท่ียวเชิงกฬี ำ 129 วตั ถปุ ระสงค์ของกำรเรยี นรู้ 132 กำรดำเนินงำนกอ่ นกำรจัดกจิ กรรมงำนว่งิ (Race Before) 137 กำรดำเนนิ งำนในวันจดั กิจกรรมงำนวิ่ง (Race Day) 141 กำรดำเนินงำนหลงั วนั จดั กจิ กรรมงำนว่ิง (Race End) 143 สรุป 145 แบบฝึกหัดทำ้ ยบท 146 บทท่ี 8 ข้ันตอนกำรจัดกจิ กรรมปน่ั จกั รยำนเพ่อื ส่งเสรมิ กำรทอ่ งเท่ียว 146 วตั ถปุ ระสงค์ของกำรเรียนรู้ 149 กำรดำเนนิ งำนปั่นจักรยำนเพื่อกำรท่องเทย่ี ว 150 กำรดำเนินงำนกอ่ นออกเดินทำงทอ่ งเที่ยวดว้ ยจักรยำน (Before Travel) 161 กำรดำเนนิ งำนระหวำ่ งกำรเดินทำงท่องเท่ยี วดว้ ยจักรยำน (Touring Day) 167 กำรดำเนินงำนหลังจำกเดนิ ทำงท่องเทยี่ วด้วยจักรยำน (After Travel) 172 สรปุ 174 แบบฝกึ หัดทำ้ ยบท

สำรบัญ(ต่อ) หนำ้ 175 บทท่ี 9 ขัน้ ตอนกำรจดั มหกรรมปน่ั จกั รยำนเพอื่ ส่งเสรมิ กำรทอ่ งเท่ียว 177 กำรดำเนินงำนก่อนกำรจัดมหกรรมปน่ั จักรยำน (Before Event) 194 กำรดำเนนิ งำนระหวำ่ งกำรจัดมหกรรมป่นั จักรยำน (Event Day) 204 กำรดำเนินงำนหลังกำรจดั มหกรรมปั่นจักรยำน (After Event) 209 สรุป 209 แบบฝกึ หัดทำ้ ยบท 210 บรรณำนุกรม 216 ประวัตผิ เู้ ขียน มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

สารบัญภาพมหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง ง ภาพที่ หนา้ 1.1 แสดงความสมั พันธ์ของวตั ถปุ ระสงค์ของการท่องเท่ียวเชงิ กีฬาผลกระทบ 2 1.2 องค์ประกอบของการท่องเทีย่ วเชิงกีฬา 7 2.1 กล่มุ ผ้ทู ่ีเข้ามมสี ่วนร่วมในกิจกรรมงานว่งิ 18 2.2 ระบบนเิ วศน์ทางธรุ กจิ การท่องเทย่ี วเชงิ กีฬา 23 2.3 รปู แบบของระบบนเิ วศน์ของธรุ กจิ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ กีฬา 31 3.1 ข้อมูลส่วนบคุ คลของนกั วิ่งและผูต้ ิดตามในงานบางแสน 42 37 3.2 พฤติกรรมนักว่งิ และผตู้ ดิ ตามในการจดั งานว่ิงบางแสน 42 38 3.3 ขอ้ มลู นักวง่ิ ในงาน UTMB ปี 2020 40 3.4 พฤติกรรมนักวิง่ ในงาน UTMB ปี 2020 41 3.5 ความสัมพันธข์ ององคป์ ระกอบการท่องเทยี่ ว 9As 45 3.6 ความสมั พันธข์ องแนวคดิ การจัดเสน้ ทางจักรยานดว้ ย 4E 46 3.7 ความสัมพนั ธ์ของแนวคิดการจัดเส้นทางจักรยานดว้ ย 6S 47 3.8 ความสัมพันธ์ของการจดั เสน้ ทางปนั่ จักรยานเพ่ือการท่องเทย่ี ว 49 4.1 มาตรฐาน IAAF 56 4.2 ขน้ั ตอนการดาเนินงานเพื่อขออนญุ าต 58 5.1 แสดงปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ การสร้างมูลค่าเพมิ่ ทางเศรษฐกิจให้ประสบผลสาเร็จ 84 5.2 ระบบเศรษฐกิจเชิงแบง่ ปัน 85 5.3 องคป์ ระกอบเว็บไซต์ (7C) 87 5.4 เศรษฐกจิ เชิงแบ่งปัน (Sharing Economy) ในมหกรรมกิจกรรมงานวง่ิ 90 5.5 จานวนนักว่ิงและรายไดท้ ่ีเกิดขน้ึ จากการใหบ้ ริการธุรกจิ ของศูนยเ์ รียนรู้ 94 5.6 บรรยากาศการดแู ลนกั วิ่งของศูนยก์ ารเรยี นรู้ 94 5.7 การใช้ทนุ ในชุมชนมาสรา้ งมูลคา่ เพ่ิม 94 5.8 การใช้แรงงานในชุมชน 96 5.9 ตวั อยา่ งสนิ คา้ ชมุ ชน 97 5.10 บรรยากาศการถา่ ยทอดความรขู้ องศูนย์ 97 5.11 ภาพลกั ษณ์ตราสินค้าของศนู ย์ 98 5.12 องค์ประกอบการดาเนนิ ธรุ กิจเพอ่ื สงั คมของศนู ย์ 99 5.13 รูปแบบการใชร้ ะบบธุรกจิ เชิงแบ่งปนั ในการจัดกจิ กรรมงานวิ่งระดับชุมชน 6.1 แผนเชือ่ มโยงธรุ กิจตามระบบเศรษฐกิจเชงิ แบ่งปันในกิจกรรมงานว่ิง 101 6.2 ผงั แนวคดิ การออกแบบสร้างแพลทฟอร์ม Sharing Economy 105 6.3 องคป์ ระกอบเวบ็ ไซต์ (7C) 106 6.4 ข้ันตอนการสรา้ งนวตั กรรมเทคโนโลยีในรูปแบบของโปรแกรมแอพพลิเคชน่ั 112 113

จ สารบัญภาพ (ตอ่ )มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง หนา้ 114 ภาพท่ี 115 6.5 กลไกในการผลักดนั การดาเนินนเิ วศทางธุรกิจ 116 6.6 ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงานในการจัดงานวิ่งดว้ ยโปรแกรมแอพพลิเคช่นั สาหรบั นกั ว่งิ 117 6.7 ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานในการจดั งานวิง่ ดว้ ยโปรแกรมแอพพลเิ คชั่น สาหรบั ผจู้ ดั 119 6.8 หน้าจอแอพพลเิ คช่ัน SHARING ECONOMY 120 6.9 ช่องทางการตดิ ตงั้ แอพพลิเคช่ัน SHARING ECONOMY 121 6.10 หน้าแรกของแอพพลิเคชน่ั SHARING ECONOMY 122 6.11 ชอ่ งทางกลมุ่ นักวงิ่ ของแอพพลเิ คชน่ั SHARING ECONOMY 123 6.12 ช่องทางกลมุ่ ผ้จู ัดงานวง่ิ ของแอพพลิเคชนั่ SHARING ECONOMY 124 6.13 ชอ่ งทางกลมุ่ ผปู้ ระกอบการของแอพพลเิ คชั่น SHARING ECONOMY 125 6.14 ช่องทางตดิ ตอ่ ผู้พฒั นาแอพพลิเคชั่น SHARING ECONOMY 126 6.15 การใช้ขอ้ มลู สาหรบั การแหลง่ ใหบ้ ริการในแอพพลิเคชน่ั SHARING ECONOMY 129 6.16 การเขา้ ถงึ ขา่ วสารและบทความในแอพพลเิ คชน่ั SHARING ECONOMY 131 7.1 พฤติกรรมของนกั วงิ่ ในการเข้าร่วมกิจกรรมงานวิ่งในแต่ละสนาม 132 7.2 ข้ันตอนการจดั กิจกรรมงานวงิ่ 137 7.3 ขั้นตอนการดาเนินงานกอ่ นการจัดกิจกรรมงานวง่ิ 141 7.4 ขน้ั ตอนการดาเนินงานในวนั จดั กิจกรรมงานวง่ิ 147 7.5 ขนั้ ตอนการทางานหลังการจัดกิจกรรมงานวงิ่ 149 8.1 แนวคดิ การจัดทาคู่มือการจัดกจิ กรรมป่ันจักรยานเพื่อส่งเสรมิ การท่องเทีย่ ว 149 8.2 ตวั อยา่ งเสน้ ทางปัน่ จักรยานเพ่ือการท่องเท่ียว 151 8.3 การดาเนินงานปน่ั จักรยานเพ่ือการท่องเท่ียว 152 8.4 การเตรียมงานก่อนออกเดินทางทอ่ งเทย่ี วด้วยจกั รยาน 157 8.5 งานวางแผนและการบริหารจัดการนาเท่ยี ว 160 8.6 งานวางแผนเสน้ ทาง 162 8.7 การดาเนินงานบริการ 163 8.8 การดาเนนิ งานระหว่างการเดินทางปน่ั จกั รยานเพ่ือการท่องเทย่ี ว 164 8.9 งานวางแผนและการบรหิ ารจัดนาเทีย่ ว 166 8.10 การทางานบนเสน้ ทางปัน่ 168 8.11 งานบริการระหวา่ งเสน้ ทาง 169 8.12 การดาเนนิ งานหลงั จากการเดินทางป่นั จกั รยานเพ่ือการท่องเท่ยี ว 170 8.13 งานวางแผนและการบริหารหลังจดั นาเท่ียว 171 8.14 งานเส้นทางหลังจากการดาเนินงาน 8.15 งานบริการหลงั จากการดาเนินงาน

ฉ สารบัญภาพ (ตอ่ ) หน้า 175 ภาพท่ี 176 9.1 การดาเนินงานการจัดกิจกรรมพิเศษประเภทการปน่ั จักรยาน 176 9.2 เส้นทางการจดั กจิ กรรมป่ันจักรยานเพื่อสง่ เสริมการท่องเทยี่ ว 177 9.3 การเตรยี มงานก่อนการจัดกจิ กรรมป่นั จักรยาน 178 9.4 การดาเนนิ งานก่อนการจดั มหกรรมปน่ั จักรยานเพื่อสง่ เสรมิ การท่องเท่ยี ว 187 9.5 งานวางแผนและการบรหิ ารการจดั กจิ กรรมก่อนการจดั กิจกรรมปน่ั จักรยาน 190 9.6 การจดั นิทรรศการ 195 9.7 งานเส้นทางปั่นจักรยานในการจดั กจิ กรรม 196 9.8 การดาเนนิ งานระหว่างการจดั มหกรรมปัน่ จักรยานเพื่อส่งเสริมการท่องเทีย่ ว 197 9.9 งานวางแผนและการบรหิ ารจัดกิจกรรมปั่นจักรยานสาหรบั ผ้จู ัด 199 9.10 งานจดั นิทรรศการสาหรับผ้จู ดั 203 9.11 งานเสน้ ทางป่นั จกั รยานสาหรับผู้จัด 204 9.12 เวทีกลางในการจดั งาน 205 9.13 การดาเนินงานหลังการจดั มหกรรมปน่ั จักรยานเพ่ือสง่ เสริมการท่องเทย่ี ว 207 9.14 งานวางแผนและการบริหารหลังจดั มหกรรมปนั่ จักรยาน 208 9.15 งานจดั นทิ รรศการหลงั การจดั กจิ กรรม 9.16 งานเส้นทางปนั่ จกั รยานหลงั จากการจัดกจิ กรรม มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

สารบญั ตาราง ช ตารางที่ หน้า 2.1 แบบจำลอง Diamond Model ของอตุ สำหกรรมกีฬำของประเทศไทย 19 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 1 บทท่ี 1 ความรเู้ บื้องตน้ ของการท่องเท่ียวเชงิ กีฬา วตั ถปุ ระสงค์ของการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน 1. สามารถอธบิ าย ความหมาย และประเภทของการท่องเทีย่ วเชิงกีฬา 2. สามารถจาแนกองค์ประกอบของการท่องเท่ยี วเชงิ กีฬา 3. สามารถวิเคราะหส์ ถานการณแ์ ละความสาคัญของการท่องเทย่ี วเชงิ กฬี า การท่องเทย่ี วเชงิ กีฬาไดเ้ ข้ามามีบทบาทอย่างมากในการกระตุ้นเศรษฐกจิ ให้กับประเทศไทย ในชว่ ง ระว่างปี 2555 – 2562 ด้วยกระแสผู้คนรักและห่วงใยในสุขภาพของตนเองและคนท่ีรักเพ่ิมมากข้ึน รวมถึง การกระตุ้นส่งเสรมิ กาหนดนโยบาย เพ่ือให้คนไทยหันมาออกกาลังกายของทุกภาคสว่ น ดังน้ัน การดาเนนิ ธุรกิจกีฬาเพื่อส่งเสริมการท่องเทีย่ ว จึงได้รับความนิยมในกลุ่มผจู้ ัดกิจกรรมเชิงกีฬาท้ังระดับมืออาชีพและผู้ จัดหนา้ ใหม่ ทตี่ า่ งเขา้ สู่การดาเนินธุรกจิ ดังกล่าว ด้วยการจัดกจิ กรรมงานวิ่งเปน็ การจัดกิจกรรมที่รวมคนหมู่ มากเข้ามาในพ้ืนที่ (Mass Participation) ในมุมมองของการท่องเท่ียว นั่นหมายถึงการมีนักท่องเที่ยว คุณภาพเดินทางเข้ามาในพื้นที่ที่เป็นจุดหมายปลายทางของการจัดกิจกรรมมหกรรมกีฬา ที่สามารถสร้าง ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีชุมชนที่เป็นเจ้าภาพจัด ดังน้ัน การจัดกิจกรรมกีฬาจึงได้รับความ นิยมแพร่หลาย จนกระท่ังเม่ือเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า ในปลายปี พ.ศ. 2562 ถึงปี พ.ศ. 2565 ซึ่งไม่ม่ีทีท่าของการหยุดการระบาดด้วยเชื้อไวรัสได้มีการขยายเป็นเช้ือโรคตัวใหม่ออกมาอย่าง ต่อเน่ือง ในขณะท่ีทั่วประเทศระดมให้ประชาชนเข้ารับการแกวัคซีนเพ่ือเป็นการป้องกันตนเองและเพ่ือ บรรเทาอาการท่ีเกิดจากการติดเช้ือเข้าสู่ร่างกาย ณ ปัจจุบันการแร่ระบาดก็จะยังไม่สิ้นสุด ส่งผลกระทบ อย่างมากต่อวงการการจัดกิจกรรมหากรรมเชิงกีฬาทุกประเภท ซึ่งไม่เคยประสบมาก่อน แต่ถึงอย่างไร วงการการกีฬาก็ไม่สูญหายไป ตราบใดท่ีประชาชนคนท้ังประเทศต่างหันมาสนใจรักสุขภาพให้ร่างกายของ ตนเองมีสุขภาพที่ดี ด้วยการออกกาลังกาย รับประทานอาหารท่ีดี เดินทางท่องเที่ยวไปในพื้นที่ท่ีมีสภาพ ภูมิอากาศท่ีดี พบประผู้คนสังคมที่ดี ดังนั้นจากจุดแข็งท่ีโดดเด่นของพื้นที่การจัดกิจกรรมมหกรรมกีฬาใน สภาพบรรยากาศท่ีดีสามารถพบได้ทุกพื้นท่ีของประเทสไทย จึงเช่ือได้ว่า ธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬาจะ กลับมาทวีความย่ิงใหญ่ ได้รับการตอบรับจากทุกคนทุกเพศทุกวัย ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของ ไวรัสโคโรน่าสิ้นสุดลงหรือทุกประเทศทั่วโลกใช้มาตรการผ่อนปรน จึงจะเป็นโอกาสทองของมหากรรมกีฬา ทุกประเภทอีกคร้ัง

2 ความหมาย การท่องเที่ยวเชิงกีฬา เป็นกิจกรรมทางการกีฬาและผสมผสานเข้าไปกับการท่องเที่ยว ท่ีนักเดินทางเดินทางออกไปจากส่ิงแวดล้อมปกติเพื่อไปทากิจกรรมในรูปแบบของการแข่งขัน โดยมีสาเหตุ หลัก คือ แรงจูงใจ ให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวหรือพักผ่อน ซ่ึงถือได้ว่าเป็นการสร้างประสบการณ์ ใหม่ๆ ให้ตนเองการท่องเท่ียวเชิงกีฬาเป็นการผสมผสานระหว่างกิจกรรมทางการกีฬาเข้ากับกิจกรรมการเดินทาง ซ่ึงการท่องเที่ยวเชิงกีฬามี 2 ประเภท คือ 1) มีกีฬาเป็นส่วนหน่ึงของการท่องเที่ยว เช่น เดินทางเพ่ือไปรว่ ม แขง่ ขัน ร่วมเลน่ กฬี า และ 2) การเดนิ ทางเพ่อื ไปชมกฬี าตามกิจกรรมต่าง ๆ (Event) ท่ีมกี ารจดั ขึ้น ดังนั้น การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport Tourism) จึงหมายถึง การเดินทางของนักท่องเที่ยว นักทัศนาจร หรือ ผู้มาเยือน ท่ีเดินทางออกจากภูมิลาเนาของตน ไปยังพ้ืนท่ีต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ โดยมีจุดมุ่งหมายหลักคือการเล่นกีฬา อาจจะเล่นเพื่อการแข่งขัน เพื่อการพักผ่อน หรือ เพื่อสุขภาพ ซ่ึงได้ ส่งผลให้สังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจดีข้ึนแล้วยังทาให้สุขภาพของผู้เล่นกีฬาดีขึ้นตามไปด้ วย ดังแผนภาพความสัมพนั ธต์ อ่ ไปนี้ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง วัตถุประสงค์ของการเลน่ กีฬา เพอ่ื การแข่งขัน เพื่อการพักผอ่ น เพอ่ื สขุ ภาพ สุขภาพ สิ่งแวดล้อม สงั คม เศรษฐกิจ การทอ่ งเที่ยวเชิงกีฬา ภาพที่ 1.1 แสดงความสัมพันธ์ของวตั ถุประสงค์ของการท่องเทยี่ วเชงิ กฬี าผลกระทบ ทมี่ า ทัศนีย์ นาคเสนีย์ (2558)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 3 สาหรับตลาดการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ถูกมองว่าเป็นตลาดเฉพาะกลุ่มสาหรับอุตสาหกรรมท่องเท่ียว ทีอ่ าจกาหนดเปน็ เป้าหมาย เพ่อื ขยายกลุ่มของตลาดนักท่องเที่ยวทถ่ี ูกดึงดูดให้เดินทางมายังแหลง่ ท่องเท่ียว น้ัน ๆ ตลาดการท่องเท่ียวเชิงกีฬาน้ีอาจจะเข้าไปถึงได้โดยทั่วไป ดังเช่นที่เห็นได้จากการส่งเสริม ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวแบบมวลชน เมื่อมีการจัดมหกรรมกีฬาครั้งสาคัญๆ แต่ละคร้ัง ในความเป็นจริงแล้วพบว่า การท่องเท่ียวเชิงกีฬา ประกอบด้วย ตลาดเฉพาะท่ีแตกต่างกันหลายระดับ การทาความเข้าใจกับตลาดนักท่องเท่ียวเชิงกีฬา จึงเป็นพ้ืนฐานสาคัญสาหรับการพัฒนาการท่องเที่ยว เชิงกีฬาประเภทอ่ืน ๆ โศรยา หอมชื่น (2557) ได้กล่าวถึงกลุ่ม อุปสงค์หรือตลาดเฉพาะกลุ่มของการ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ กฬี าไว้ 4 กล่มุ ตามความเขม้ ข้นของกจิ กรรมกฬี าทเี่ ขา้ รว่ มในสถานที่ท่องเทยี่ วดงั น้ี 1) กลุ่มนกั กีฬาทม่ี ีผลงานยอดเย่ียม (Top performance athletes) นักทอ่ งเทยี่ วกลุ่มนี้ คอื ผทู้ ี่เข้า ร่วมการแข่งขันจึงต้องถึงสนามแข่งขันได้สะดวก มีสภาพแวดล้อมและส่ิงอานวยความสะดวกในการฝกึ ซ้อม ที่เหมาะสมเป็นสาคัญ ผู้จัดการเดินทางและผู้ดูแลสถานที่ท่ีเป็นจุดหมายปลายทางจาเป็นต้องคานึงถึงท่ีพัก เฉพาะ และความต้องการเรื่องอาหารของนักกีฬา รวมท้ังการจัดเตรียมแพทย์ และเคร่ืองไม้เคร่ืองมือท่ี จาเป็นตลอดจนบริการอ่ืน ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การสร้างผลงานของนักกีฬา 2) กลุ่มนักกีฬามวลชน (Mass Sports) นักท่องเที่ยวกลุ่มน้ีต้องการรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง อยู่เสมอ และมีเป้าหมายเฉพาะบุคคลที่ชัดเจนในการเดินทาง การเข้าถึงเขตพื้นที่พักผ่อนวันหยุด และ คณุ ภาพของสิง่ อานวยความสะดวกดา้ นกีฬาเป็นสาคัญ ในการพิจารณาสาหรบั กล่มุ ตลาดน้ี 3) กลุ่มคนที่เล่นกีฬาเฉพาะบางโอกาส (Occasional sports (wo)men) สาหรับกลุ่มน้ีการชดเชย และชื่อเสียงเกียรติยศมีบทบาทสาคัญกว่าความทะเยอทะยานทางด้านกีฬา ในการแสวงหากีฬาท่ีเกิดข้ึน เฉพาะบางโอกาส กลุ่มความต้องการนี้ให้ความสาคัญกับกีฬาท่ีไม่ต้องฝึกซ้อมมาก เช่นสกี และโบว์ล่ิง เพ่ือ การพักผ่อนหย่อนใจ กิจกรรมด้านกีฬามิได้มีความสาคัญมากไปกว่า การเยี่ยมชมสถานที่ทางวัฒนธรรม และความสนใจอื่น ๆ ภายในกลมุ่ ตลาดน้ี 4) นักท่องเท่ียวที่ไม่ได้เป็น ผู้เล่นกีฬา (Passive sports tourist) กลุ่มนี้มิได้แสวงหากิจกรรมกีฬา เฉพาะตัวแต่อย่างใด เป้าประสงค์ของกลุ่มน้ีคือ มหกรรมกีฬาคร้ังยิ่งใหญ่ และสถานท่ีจัดการแข่งขันกีฬาท่ี ทรงเกียรติ รวมถึงโค้ช และผู้ติดตามนักกีฬาคนสาคัญ ตลอดจนผู้รายงานข่าวกลุ่มนี้ต้องการโครงสร้าง พน้ื ฐานในระดับสูงเพอื่ รองรับความตอ้ งการของผ้เู ข้าร่วมมหกรรมกีฬาจานวนมหาศาล สรุปได้ว่า จากคาอธิบายดังกล่าวข้างต้น สามารถให้คาจากัดความของ “การท่องเท่ียวเชิงกีฬา” หมายถงึ การเดนิ ทางของกลุ่มคนหรือผู้ติดตาม ทม่ี ีความสนใจเฉพาะทางด้านกฬี าในแต่ละประเภท ไม่ว่าจะ เป็นการเลน่ กีฬาเพ่ือสุขภาพ หรอื การเล่นกีฬาเพื่อการแขง่ ขันที่มีรูปแบบพฤติกรรมการท่องเท่ยี วในระหว่าง ชว่ งเวลาแห่งการพกั ผ่อน ท่เี หมือนหรือแตกต่างกันของประชาชนร่วมด้วย

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 4 ประเภทของกฬี า ความนิยมในการจัดกิจกรรมกีฬา กลายเป็นกิจกรรมที่มีการจัดข้ึน ตั้งแต่ระดับท้องถิ่น จังหวัด ประเทศ ทวีป และระดับโลก ซึ่งแต่ละประเภทของกีฬา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังที่เป็นผู้เล่น ผู้ติดตาม ผู้ชม และผู้เชียร์ ซ่ึงปัจจุบันกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาได้แบ่งประเทศของกีฬาออกเป็นหลายประเภท ท้ัง ชนิดกฬี าในร่ม (Indoor) และกลางแจ้ง (Outdoor) ตามกจิ กรรมที่แต่ละพื้นท่ีมคี วามโดดเด่น 1) กีฬาในร่ม (Indoor) เช่น กีฬาปิงปอง โบว์ลิ่ง กาบัดดี (Kabaddi) วอลเลย์บอล สควอซ แบดมินตัน ฟุตซอล เทเบิลเทนนิส ชกมวย ศิลปะการต่อสู้ บาสเก็ตบอล โยคะร้อน HITI ว่ิงบนลู่ เตน้ ซุมบ้า เตน้ แอโรบกิ วา่ ยน้า ป่ันจักรยานอยกู่ บั ท่ี กระโดดเชือก เปน็ ต้น 2) กีฬากลางแจ้ง (Outdoor) เช่น ฟุตบอล ฟุตซอล มวยไทย มวยสากล วอลเลย์บอล สนุกเกอร์ ว่ายน้า บาสเก็ตบอล แบดมินตัน เทเบิลเทนนิส เซปักตะกร้อ ยิมนาสติก กอล์ฟ กรีฑา เทนนิส กระโดดน้า ระบาใต้น้า โปโลน้า เทควันโด ข่ีม้า ยิงธนู เรือแคนู / เรือคายัก ยกน้าหนัก กีฬายิงปืน กีฬาขี่จักรยาน อี สปอร์ต เปน็ ต้น ในขณะท่ีผู้จัดกิจกรรมกีฬาเพื่อการแข่งขันหรือการจัดมหกรรมกีฬาต่าง ๆ ก็ได้มีการแบ่งประเภท ของกีฬาออกตามลักษณะของรูปแบบการออกกาลังกาย โดยแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ใหญ่ ๆ ได้ 6 หมวดหมู่ ดังน้ี 1) หมวดหมู่ลู่ลาน/ความเร็ว ได้แก่ กีฬาว่ายน้า วิ่งแข่ง จักรยาน พายเรือ พายเรือแคนู พาย เรือคายัค มอเตอร์สปอร์ต ยิงธนู ยิงปืน ขี่ม้า ยกน้าหนัก กระโดดไกลสามจังหวะ เขย่งก้าวกระโดด๗ ทมุ นา้ หนกั เป็นตน้ 2) หมวดหมู่ของศิลปะการต่อสู้ ได้แก่ กีฬายูโด คาราเต้ มวย มวยไทย ซูโม่ มวยปล้า ฟันดาบ ฟันดาบไทย คาโปเอร่า ไอดิโด ฮัปดิโด เคนโด กังฟู มวยจีน ไทชิ ไท่เก๊ก นินจุสสุ กระบี่-กระบอง เปน็ ต้น 3) หมวดหมู่ตาข่าย/แร็กเก็ต ได้แก่ แทนนิส แบดมินตัน วอลเลย์บอล วอลเลย์บอลชายหาด วอลลี่บอล สควอช แรก๊ เกตบอล ปงิ ปอง เทเบลิ เทนนีส เปน็ ตน้ 4) หมวดหมู่ทีม/สนาม ได้แก่ เบสบอล ฟุตบอล ชอกเกอร์ อเมริกันฟุตบอล อัลติเมตฟุตบอล รกั บ้ี ฮอกก้นี ้าแขง็ ฮอกก้ี ซอฟต์บอล เคอร์ลิง ลาคอสส์ เพนต์บอล บาสเกต็ บอล เปน็ ตน้ 5) หมวดหม่ปู ระกวด ไดแ้ ก่ ยิมนาสตกิ ตอ่ ตวั สก็ตน้าแขง็ เป็นต้น 6) หมวดหมูอ่ ืน่ ๆ ได้แก่ กอล์ฟ ลอ่ งเรือ ดาน้า ปีนหนา้ ผาหนิ เป็นต้น

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 5 องคป์ ระกอบของการทอ่ งเทยี่ วเชงิ กีฬา จากการแบ่งประเภทกีฬา ดังกล่าวข้างต้น จะทาให้เห็นภาพของลักษณะการจัดกิจกรรมกีฬาแต่ละ ประเภท ว่ามีการดาเนินงานเก่ียวกับการจดั กจิ กรรมกีฬาแตล่ ะชนดิ มีวธิ กี ารดาเนินงานท่แี ตกต่างกนั ทาให้มี องค์ประกอบของกีฬาแต่ละชนิดแตกต่างกันออกไป ท้ังนี้ เพื่อให้การจัดกิจกรรมแต่ละประเภทได้มาตรฐาน ผู้จัดกิจกรรมกีฬาควรทาการศึกษาเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน ความปลอดภัย และมีมาตรการบริหาร ความเสี่ยง ร่วมดว้ ย แต่หากเป็นการจดั กจิ กรรมกีฬาที่มีการรวมคนหมู่มากเข้ามาอยู่ในพน้ื ที่จัดกิจกรรมกีฬา และผู้จัดมีวัตถุประสงค์ของการจัดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว เพ่ือสร้างรายได้ให้กับชุมชนในพื้นที่จัดงาน หรือเพ่ือการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียงกับสถานท่ีจัดกิจกรรมกีฬานั้น ๆ การจัดกิจกรรมกีฬา ดงั กลา่ วจึงเป็นการดาเนนิ งานตามรูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ซงึ่ มอี งคป์ ระกอบของการจัดงานท่ีเพ่ิม มากข้ึน เน่ืองจากการจัดกิจกรรมในมิติของการท่องเท่ียว ผู้จัดจะต้องตระหนักถึงผลกระทบต่อชุมชนใน พน้ื ท่ีและต้องไดร้ ับความร่วมมือกับชมุ ชนพื้นที่ ทัง้ ทเี่ ปน็ สายการปกครองจนถึงระดับชุมชน ดังน้ัน จากผลการศึกษาทบทวนวรรณกรรมและจากประสบการณ์ของผู้แต่ง จากการดาเนินการ วิจัยที่ร่วมกับคณะนักวิจัยในปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นมา พบว่า ปัจจัยที่สาคัญจาเป็นต่อการนาไปเป็น แนวทางการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ท้ังเพ่ือการพักผ่อน หรือ เพื่อการแข่งขัน โดยแบ่ง ออกเป็น 3 ขั้น ของการตระหนักถงึ ความเข้มขน้ ของแต่ละปัจจยั เพื่อรองรบั นักท่องเทยี่ วเชงิ กีฬาท้ังชาวไทย และชาวต่างชาติ มดี งั นี้ ขัน้ ท่ี 1 (Stage I) เป็นปจั จัยขนั้ พ้ืนฐานสาหรับผู้เล่นกีฬา ซ่งึ เป็นปจั จัย ท่ีมีความสาคัญอันดับต้นๆ สาหรับนักนกั กีฬามอื ใหม่ มอื สมัครเล่ม หรือมืออาชพี ประกอบด้วยปัจจัยดังนี้ 1) Safety ความปลอดภัย การจัดกิจกรรมทุกประเภทกีฬา ความปลอดภัย เป็นสิ่งสาคัญและ จาเป็นลาดับแรกท่ีผู้จัดจะต้องให้ความสาคัญ ท้ังระบบการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย และการ บรหิ ารความเสยี่ ง กอ่ น ระหวา่ ง และหลังการจัดกิจกรรม 2) Sharing System (Road/Logistic/Rest Park) ระบบการใช้ทรัพยากรร่วมกัน หน่วยงาน ในพ้ืนที่จะต้องมีการกาหนดนโยบายการใช้รถใช้ถนนร่วมกัน เพ่ือส่งเสริมการจัดกิจกรรมกีฬา ในพื้นที่ ตลอดจนการแบง่ ปนั ระบบการขนสง่ ให้สามารถขนส่งจักรยานดว้ ยระบบการเดินทางโดยรถสาธารณะ ระบบ ราง หรือเครอื่ งบนิ ตลอดจนจุดแวะพกั ทม่ี ีการบรกิ ารนกั กีฬา 3) Satisfaction การสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าของบริษัทผู้ให้บริการ ถือว่าเป็นหัวใจ สาคัญทจ่ี ะรกั ษาลกู ค้าเดิมและสรา้ งลูกคา้ รายใหม่ๆ ได้ 4) Style (Nostalgia and Extreme) กิจกรรมกีฬาเป็นความชอบเฉพาะบุคคล ดังน้ันการจัด กิจกรรมแต่ละคร้งั จะต้องคานึงถงึ กลุ่มเปา้ หมาย/กลมุ่ ลูกค้าเป็นสาคัญ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 6 5) Social Media (Smart Phone) ด้วยการเดินทางของนักกีฬาและผู้ติดตาม ปัจจุบันนิยม เดินทางดว้ ย Application บน Smart Phone มากกวา่ การจัดทาป้ายบอกทางดงั เดมิ ข้ันท่ี 2 (Stage II) เป็นปัจจัยท่ีสูงข้ึนที่นักกีฬาที่มีความเชี่ยวชาญ หรือ นักกีฬามืออาชีพ ต้องให้ ความสาคัญและศึกษาหาขอ้ มูลลว่ งหนา้ กอ่ นการเดินทางเสมอ ประกอบไปด้วย 6) Scale คือ ขนาดสนาม ลักษณะสนาม ระยะทางจัดกิจกรรม อาทิ เส้นทางวิ่ง หรือ เส้นทาง ป่ันจักรยาน อันเป็นปัจจัยสาคัญจาเป็น เพราะจะสัมพันธ์ไปถึงการเตรียมอุปกรณ์ที่สอดคล้องกับลักษณะ สนาม 7) Season ฤดกู าลเปน็ ปจั จัยสาคัญต่อนักกฬี าเปน็ อย่างมากโดยเฉพาะฤดูร้อน หรอื ฤดูฝน ทไี่ ม่ เอ้ือต่อการจัดกิจกรรมการกีฬาเป็นอย่างมาก ฤดูกาลการท่องเที่ยวในพื้นที่ที่มีการแออัดท้ังรถและถนน ซ่ึง นักกฬี าหรอื ผู้จดั จะต้องให้ความสาคญั เช่นกัน 8) Service (Human) การบริการด้วยคนจะสร้างความโดดเด่น และความพึงพอใจให้แก่ นักทอ่ งเท่ยี วไดเ้ ป็นอย่างดี 9) Sport Tourism Platform การส่งเสริมกิจกรรมกีฬาควรมีการสร้าง Platform เพ่ือ รวบรวมข้อมูลการจดั กิจกรรมไวใ้ น Platform ให้มคี วามทนั สมยั และพร้อมใชง้ านเสมอ 10) Seamless Experience การเดนิ ทางของนกั กีฬา ท่ีเรียกว่ากลุม่ Elite นั้น ประสงคเ์ ดินทาง เพือ่ การพกั ผ่อนและการสรา้ งประสบการณ์ในการเดนิ ทางไปยังพ้ืนที่ใหม่ๆ ใหต้ นเอง ดงั นั้นการเดนิ ทางแบบ ไรร้ อยต่อ “โลกไรพ้ รมแดน” จะทาให้เกิดการเดนิ ทางเขา้ ไปทอ่ งเท่ียวในชุมชนอกี ทางหนงึ่ ขน้ั ที่ 3 (Stage III) เปน็ ปัจจัยข้นั ทสี่ งู ขน้ึ ทน่ี ักกีฬาทม่ี ีความเชี่ยวชาญ หรือ นักกีฬามืออาชีพ หรือ นักกีฬาเพื่อการแข่งขัน มักจะมีความหลงใหลการเล่นกีฬาเป็นชีวิต ต้องให้ความสาคัญและศึกษาหาข้อมูล ล่วงหน้าก่อนการเดนิ ทางเพื่อการท่องเทยี่ วเสมอ ประกอบไปดว้ ย 11) Subagent การเปิดตลาดในต่างประเทศ กลุ่มบริษัททัวร์จาเป็นต้องใช้บริการของผู้รับจ้าง ชว่ งเพ่ือส่งเสรมิ การขายไปทัว่ โลกได้ 12) Standard มาตรฐานสนาม กฎกติกาการแข่งขัน กฎระเบียบปฏิบัติ จะต้องคานึงถึงหาก รปู แบบการจัดน้ันเปน็ สนาม Inter หรือ รปู แบบการจดั เพ่อื รองรบั ชาวตา่ งชาติ 13) Supply Chain การส่งเสริมกิจกรรมกีฬา จะต้องมองท้ังกระบวนการตลอดห่วงโซ่อุปทาน ซึง่ ประกอบไปดว้ ยการบริหาร การตลาดสว่ นหน้า การจดั การส่วนหลัง

7 14) Save Energy การจัดกิจกรรมกีฬา เป็นส่ิงที่ท่ัวโลกให้การยอมรับว่าเป็นอีกหน่ึงกิจกรรมท่ี สามารถนาไปสกู่ ารประหยัดการใชพ้ ลงั งานให้ลดลงได้ 15) Sustainable กิจกรรมกีฬา ก่อให้เกิดความย่ังยืนของสภาพแวดล้อมของโลกและสอดคล้อง กับนโยบายขององค์การการท่องเที่ยวโลก (UNWTO) ท่ีหันมาใส่ใจในการมุ่งสู่เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน Sustainable Development Goals–SDGs ดงั แผนภาพความสมั พันธ์ ท่ี 1.2 ดังน้ี มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง Sport Tourism ภาพท่ี 1.2 องคป์ ระกอบของการท่องเที่ยวเชงิ กีฬา ท่ีมา ทัศนีย์ นาคเสนีย์ (2561)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 8 ความสาคญั ของการท่องเทีย่ วเชิงกีฬา การท่องเทีย่ วเชงิ กฬี าเปน็ วิถที างแหง่ การดาเนนิ ชีวติ (Lifestyle) ของคนรุ่นใหม่ ท่ีสนใจในเร่อื งของ กีฬาและการทากิจกรรมที่ต้องใช้ทักษะทางด้านรา่ งกายเป็นส่วนใหญ่ การท่องเท่ียวท่ีเน้นกิจกรรม ที่เพ่ิงจะ เกิดขึ้นในปลายศตวรรษท่ี 20 (เลิศพร ภาระสกุล, 2556 หน้า 116) ด้วยการท่องเท่ียวเชิงกีฬาเป็นการจัด กิจกรรมต่าง ๆ ตามศักยภาพเชิงพ้ืนที่ปัจจุบันนอกจากจะเป็นการส่งเสริมพัฒนาและรักษาให้สังคม ส่ิงแวดล้อม คงอยู่ และมีสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียดีข้ึนแล้ว ยังพบว่าการท่องเที่ยว เชิงกีฬายังสามารถทาให้ผู้ป่ันเพื่อการท่องเท่ียวหรือป่ันตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ มีสุขภาพท่ีดีข้ึนอีกด้วย ดังเช่น การท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียน ที่พบว่า สินค้าทางการท่องเท่ียวที่กลุ่มประเทศอาเซียนมี ศักยภาพท่ีจะนามาเป็นจุดขาย สร้างความโดดเด่นในผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวในระดับภูมิภาค ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม/มรดก การท่องเที่ยวทางน้า การท่องเท่ยี วเชงิ สุขภาพ และ การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (วรมน ทรัพย์ศรสี ัญจัย, 2557 หนา้ 72) การทอ่ งเท่ียวท่ี เน้นกิจกรรมมีขอบเขตที่กว้างขวางมาก แต่ เลิศพร ภาระสกุล สามารถจัดเป็น 3 หมวดหมู่ใหญ่ๆ (เลิศพร ภาระสกุล, 2556 หนา้ 116) ไดแ้ ก่ การท่องเท่ียวทีต่ ้องใช้การเคลื่อนไหวของร่างกายและความเข้มแข็ง เชน่ การปีนหน้าผา (rock climbing) การกระโดดบันจีจั้มป์ (bungyjump) การล่องแพ (water rafting) กีฬา ทางบก เช่น กอล์ฟ เทนนสิ การขบั รถโกคาร์ต และกฬี าทางนา้ เชน่ การดาน้า การเล่นกระดานโต้คลืน่ ในขณะท่ี สุกัลยา กรรณสมบัติ (2557 หน้า 1) ได้กล่าวว่า การท่องเท่ียวเชิงกีฬาเป็นการท่องเท่ยี ว อกี รูปแบบหนงึ่ ท่ีนักท่องเท่ียวมจี ุดประสงค์หลักคือการเล่นกีฬา ซ่งึ สามารถแบ่งรูปแบบออกเป็น 2 ลกั ษณะ ได้แก่ การเล่นกีฬาเพ่ือสุขภาพนักท่องเท่ียวจะเดินทางไปพร้อมกับวัตถุประสงค์ในการออกกาลังกายด้วย การเล่นกีฬา ไม่ว่าจะเป็น ตีกอล์ฟ ดาน้า ปั่นจักรยาน พายเรือ และกีฬาอื่น ๆ แต่อีกรูปแบบหนึ่ง คือ การ เล่นกีฬาเพ่ือการแข่งขัน ซึ่งนักท่องเท่ียวท่ีเป็นนักกีฬาจะเดินทางเพ่ือไปร่วมแข่งขันในการจัดรายการ ณ ท่ี ตา่ ง ๆ เชน่ การแข่งขันกอลฟ์ การแข่งขนั เรอื ใบ การแข่งขนั เทนนสิ เป็นตน้ ซงึ่ ทัง้ สองอยา่ งนอกจากจะทาให้ สุขภาพแข็งแรงแล้วยังได้ไปท่องเที่ยวยังที่ต่าง ๆ อีกด้วย และสาหรับการเล่นกีฬาเพ่ือการแข่งขันนอกจาก นกั กฬี าท่ีเดินทางแล้ว ยงั มที ีมงาน ผู้ติดตาม กองเชยี ร์ และผเู้ ขา้ ชมการแขง่ ขนั ก็เป็นบคุ คลสาคัญที่มีการใช้ จ่าย สร้างรายได้จากการท่องเท่ียวในแต่ละพื้นท่ีได้เป็นอย่างดี จึงเห็นได้ว่าการเลน่ กีฬาสามารถสร้างรายได้ ให้แก่อุตสาหกรรมท่องเท่ียวได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการเล่นกีฬาเพ่ือสุขภาพหรือการเล่นกีฬาเพื่อการ แขง่ ขนั ท้ังก่อนการแขง่ ขัน ระหวา่ งการแขง่ ขนั และภายหลังสน้ิ สดุ การแขง่ ขัน เพราะต้องมีการเตรยี มความ พร้อมของนักกีฬา และทีมงานก่อนเข้าการแข่งขัน ซึ่งหากสามารถจัดเตรียมการท่องเที่ยวเพ่ือรองรับ นักท่องเที่ยวกลุ่มน้ี ก็จะก่อให้เกิดรายได้ท่ีเป็นผลกาไรอันเนื่องมาจากการจัดเตรียมการเดินทางมาเพื่อการ เล่นกฬี านัน้ ๆ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 9 โศรยา หอมชื่น (2557 หน้า 2) กล่าวว่า การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ได้รับอิทธิพลมาจาก กระแสโลกาภิวัฒน์ และการเปลี่ยนแปลงของนานาชาติ ที่เข้าสู่ระบบประชาธิปไตยมากข้ึน แม้ว่าการเข้า ร่วมกิจกรรมบางประเภท ยังคงถูกจากัดด้วยปัจจัยหลายอย่าง เช่น ชนช้ันทางสังคม โดยมีความเช่ือมโยง ระหว่างสถานะทางสังคม ประชากรศาสตร์ วิถีชีวิต รูปแบบการบริโภคในด้านกีฬาและการท่องเท่ียวท่ีเพ่ิม คณุ ค่า และประโยชน์ในการใหค้ วามหมายของตลาดการทอ่ งเทยี่ วเชิงกีฬาในทางปฏิบตั ิ ซ่งึ แนวโนม้ ร่วมสมัย ในการพฒั นาการท่องเทีย่ วเชิงกฬี าสมยั ใหม่ ได้แก่ 1) การขยายขอบเขตด้านประชากรศาสตร์ ของผเู้ ข้ารว่ มในกจิ กรรมกฬี าตา่ ง ๆ 2) ความสนใจในเร่ืองของสุขภาพ และการออกกาลังกายที่เพิ่มสูงข้ึนในสังคมตะวันตก ต้ังแต่ยุคปี ค.ศ. 19703) ความตอ้ งการมีสว่ นร่วมอย่างกระตือรือรน้ ในกิจกรรมนันทนาการ ระหว่างท่ีเดนิ ทางท่องเท่ียว เพม่ิ มากขึน้ ตัง้ แต่ยุคปี ค.ศ. 1980 3) มีความสนใจเพ่ิมขึ้นในบทบาทที่โดดเด่นของกีฬาและมหกรรมกีฬาต่าง ๆ ท่ีจัดขึ้นในเขตเมือง ใหม่ และเมืองท่ีมภี าพลักษณ์ดี และศกั ยภาพในการจดั สรรโอกาสทางการท่องเท่ยี วโดยเชือ่ มโยงกบั มหกรรม กีฬาตา่ ง ๆ ในช่วงเวลาสองทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มการเข้าร่วมมหกรรมกีฬาต่าง ๆ มีอัตราสูงข้ึนในทุก ระดับของสังคม โดยกีฬาส่วนใหญ่มีผู้เข้าร่วมมากข้ึนจากการขยายตัวของสังคมที่กว้างขึ้น และมีการบันทึก ว่าการเดินทางท่องเที่ยววันหยุดของกลุ่มเยาวชนเพิ่มข้ึน รวมท้ังการเดินทางแบบ Short breaks และ Second holiday’s ก็สูงข้ึนด้วย การขยายตัวของการเดินทางเข้าร่วมมหกรรมกีฬานี้ ได้รับแรงขับเคล่ือน จากอิทธิพลของเศรษฐกิจ และการเมือง รวมท้ังค่านิยม และทัศนคติทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งการ อานวยความสะดวกของเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เช่น การถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ซึ่งล้วนมีผล ต่อความนยิ ม ในกีฬาของคนในสังคม สเตฟาน ดี.รอส (Stephan D.Ross, 2001) กล่าวใน นิตยสาร Developing Sport tourism ว่า ช่วงระยะเวลา 3 ปีท่ีผ่านมา กระแสการตอบรับทางการกีฬาในภูมิภาคตะวันตกได้รับการตอบรับ มากมาย เช่น การวิ่งเทรลการว่ิงมาราธอน มินิมาราธอนการป่ันจักรยานการเล่นวอลเล่ย์บอลชายหาด ฟุตบอล ซึ่งกิจกรรมทางการกีฬาทาให้คนเดินทางมาในพื้นที่มากมายและมีการใช้จ่ายค่าที่พัก อาหาร การขนส่ง บันเทิงและช็อปป้ิง แต่ทั้งน้ีได้มีข้อเสนอแนะในการเป็นเมืองแห่งการท่องเท่ียวเชิงกีฬา คือ ต้อง ทาให้เกิดความน่าเช่ือถือได้รับความเห็นชอบ การมีส่วนร่วมกับชุมชนเจ้าของพ้ืนท่ี มีการสนับสนุนการ ทอ่ งเท่ยี วเชิงกฬี าอย่างสม่าเสมอ ในช่วง 20 ปีท่ีผ่านมา พบว่าการเดินทางเพื่อการท่องเท่ียวเชิงกีฬา มีการขยายตัวเพ่ิมขึ้น อยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะการเดินทางเพ่ือไปชมกีฬาท่ีมีการจัดขึ้นพิเศษทั้งในระดับนานาชาติ ระดับชาติ หรือ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 10 ระดับท้องถ่ินผลกระทบที่เกิดจากการจัดการท่องเที่ยวเชิงกีฬา มีทั้งผลกระทบทางตรงและทางอ้อม คือ ผลกระทบทางตรง ต่อผู้จัด ตารางการจัด และผู้เข้าชม กระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจ การกาหนดตารางการ จัด การทาการตลาด และผลกระทบทางอ้อมต่อการทาการตลาดจุดหมายปลายทาง ซ่ึงนาไปสู่การ เปลี่ยนแปลงทางธุรกิจทางการท่องเที่ยวต่าง ๆ ซึ่งผลกระทบทางอ้อมนี้กลับส่งผลมากมายต่อการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมทางการกีฬาขนาดใหญ่ที่ต่างคาดหวังว่าเป็นงานที่ย่ิงใหญ่ ตามที่ เลขา สหประชาชาติโคฟี่ อนัน ประกาศให้ มกี ารจดั ตง้ั คณะกรรมการระหวา่ งประเทศว่าดว้ ยการกฬี า และ พลศึกษา ในปี 2005 โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ ให้กลุ่มประเทศท่ีเป็นสมาชิกได้แนะแนวทางและควบคุม การวางแผนงานและการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ขององค์การยูเนสโก รวมท้ังกิจกรรมต่าง ๆ ด้านการกีฬา และพลศึกษา ด้วยการจัดลาดับความสาคัญของกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีปรากฏในแผนงาน และส่งเสริมความ ร่วมมือระหว่างประเทศด้านการกีฬาและพลศึกษาเพ่ือเสริมสร้าง สันติภาพ มิตรภาพ ความเข้าใจ รวมถึง การเคารพซงึ่ กนั และกันระหว่างประชาชน ด้วยการช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการสร้างความรว่ มมือด้านการ กฬี าและพลศึกษา ท้ังจากการร้องขอของประเทศสมาชิกหรือจากคาแนะนาของคณะกรรมการท่ีปรกึ ษา ทุกวันนี้การท่องเที่ยวเชิงกีฬา เป็นการตลาดทางการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มท่ีเติบโตอย่างรวดเร็ว ดังน้ันจึงสามารถกล่าวได้ว่า การกีฬาที่จัดขึ้นในปัจจุบันทาให้เกิดการรวมกลุ่มของวัฒนธรรม และกิจกรรม ต่าง ๆ ที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวปัจจุบันการกีฬาเข้าไปสร้างความดึงดูดใจ ทางการท่องเท่ียวให้กับอุตสาหกรรมท่องเท่ียวได้เป็นอย่างมากดังนั้นการท่องเที่ยวเชิงกีฬา เป็น ส่วนประกอบหลักของระบบการท่องเที่ยว ที่หลักของการท่องเท่ียวคือการพัฒนาเมืองที่เป็นจุดหมาย ปลายทาง พฒั นาผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว การทอ่ งเที่ยวเชิงกีฬาถือไดว้ า่ เป็นธรุ กจิ ท่ีมีการเจริญเติบโตแบบก้าวกระโดดอย่างรวดเร็ว ทาใหเ้ กิด การเดนิ ทางท่วั โลก ธรุ กิจขา้ มชาตติ ่าง ๆ ต่างให้ความสนใจและเจริญเติบโตตามไปด้วย เชน่ ธุรกจิ การจัดทา ส่ือให้เกิดความน่าสนใจ ดึงดูดใจให้เกิดการท่องเที่ยว การลงทุน การเมือง การเดินทาง เพื่อท่องเที่ยว และ การเดินทางเพื่อการกีฬา โดยในปี ค.ศ. 2011 การเดินทางเพ่ือการท่องเที่ยวคาดหวงั ไว้ว่าการท่องเท่ียวของ คนในพน้ื ทจี่ ะเพ่ิมสูงข้นึ อกี 10% การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ของเมือง ภมู ิภาคและประเทศท่ัวโลกจะเพ่ิม สงู ขึ้นตามไปด้วย โดยเฉพาะการเดินทางเชงิ กฬี าประเภท กอลฟ์ สกี ฟตุ บอล รักบี้ หรอื การเล่นคริกเก๊ต ใน บางประเทศการกีฬาถอื ไดว้ ่าเป็นส่วนประกอบของการท่องเทย่ี ว มากกวา่ รอ้ ยละ 25 ในช่วง 10 ปีท่ีผ่านมา พบว่ากระแสการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ได้รับการยอมรับเพิ่มมากขึ้นดังเช่น ประเทศฟิลิปปินส์ ที่มีการขยายตัวทางการกีฬาเพิ่มมากข้ึน ส่งผลให้เกิดการพัฒนาธุรกิจอื่น ๆ ตามไปด้วย ไม่ว่าจะส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศดีขึ้น และอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวเกิดการพัฒนาไปในทางท่ี ดีด้วยการเป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวเชิงกีฬา จึงได้ส่งผลให้ท่ัวโลกเกิดการรับรู้ของประเทศ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 11 ว่าเปน็ เมอื งจุดหมายปลายทางทีโ่ ดดเด่น ทางการกีฬา การผจญภัย การมีกจิ กรรมนันทนาการท่หี ลากหลาย ชักจูงให้นักท่องเที่ยวเข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรมระหว่างการเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางแต่ละแห่ง เกิดการสร้างกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อเร้าใจให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวซ้าหรือจัดโปรแกรมเพื่อให้ นักท่องเท่ียวได้มาพักที่ยาวนานมากข้ึน ตลอดจนมีการสร้างส่ือประชาสัมพันธ์ให้เกิดการรับรู้ของเมือง จุดหมายปลายทางให้มากยิ่งข้ึนต่อมาประเทศฟิลิปปินส์ได้ปลุกกระแสถึงความเป็นเมืองจุดหมายปลายทาง แห่งการกีฬาเพ่ือการผจญภัย และการกีฬาประเภทต่าง ๆ เนื่องจาก ประเทศ มีสภาพภูมิประเทศที่เป็น ธรรมชาติ เช่นเดียวกับรัฐบาลของอินเดียท่ีมีเป้าหมายในการจัดกีฬา Delhi 2010 Commonwealth Games ระหว่างวันที่ 3-14 ตุลาคม 2553 เพ่ือเป็นการแสดงศักยภาพทางการกีฬาและการท่องเที่ยวให้ ชาวโลกได้รับรู้เหมือนการจัดกีฬาโอลิมปิกของประเทศจีนที่ผ่านมา ซึ่งผลคือได้รับการตอบรับมากมายถึง กระแสการจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ถึงแม้ว่าภาพลักษณ์จะเป็นประเทศที่มีการคอรัปชั่นมากมายก็ตาม ผลกระทบต่อมาคือ ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเจน (GDP เพ่ิมข้ึน 4% จากปี 2009) จึงถือได้ว่า การจัดกีฬาของเมืองเดลีคร้ังน้ีประสบผลสาเร็จเป็นอย่างมาก ท้ังทางด้าน เศรษฐกิจ อุตสาหกรรมการท่องเท่ียว การขนส่ง การเมือง การลดหย่อนการขอวีซ่าเข้าประเทศ การออก กฎหมายความปลอดภัย การประกาศให้โทษของการก่อการร้ายท่ีรุนแรงมากย่ิงข้ึน เพื่อสร้างความม่ันใจ ให้กบั นกั ท่องเทีย่ วมากยิง่ ขึ้น จากนิตยสาร Sport Tourism ของ Tourism BC (2011) กล่าวว่า การท่องเท่ียวเชิงกีฬาได้เข้ามา เปน็ สว่ นหน่ึงของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวท่ีทาใหเ้ กิดการใชจ้ ่ายสงู ถึง 3.4 พนั ลา้ นเหรียญสหรัฐ เป็นตลาด เฉพาะกลุ่มท่ีมีความน่าสนใจมาก ประกอบกับความต้องการเดินทางเพื่อการแข่งขันหรือ การพักผ่อนในการชมกีฬาเพิม่ มากขึ้น จาก ปี 2008 เปน็ ต้นมา พบว่า ประเทศ British Columbia ประสบ ผลสาเร็จเป็นอยา่ งมากในการทาตลาดทางการกีฬา อาทิ สกี กอล์ฟ และ กจิ กรรมทางการท่องเท่ียวเพ่ือการ กฬี าประเภทอ่ืน ๆ ซงึ่ จะเหน็ ไดว้ ่า การท่องเทีย่ วเชงิ กีฬาเป็นกจิ กรรมทสี่ ร้างโอกาสและก่อใหเ้ กิดการพัฒนา พืน้ ท่หี ลกั ๆ 3 ประการคือ 1) พัฒนาระบบการกีฬา เช่น การสร้างสิ่งอานวยความสะดวก อุปกรณ์ทางการกีฬา มีสานักงาน ประสาน มผี ู้ดแู ลทเี่ ปน็ มอื อาชพี 2) พัฒนาระบบเศรษฐกจิ ด้วยการรวมคนหมู่มากเข้ามาในพื้นท่ี ทาใหเ้ กดิ ระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวียน จากการจบั จ่ายใชส้ อยของนกั กีฬา ผูร้ ว่ มชม ผมู้ าเชียร์ หรอื ทีมงานของผจู้ ัด 3) พฒั นาระบบสังคมและชุมชน เชน่ การเพมิ่ จานวนของสถานทอ่ี อกกาลังกายการปรับปรงุ สถานท่ี ออกกาลงั กายทีม่ ีอยเู่ ดมิ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 12 เช่นเดียวกับ ประเทศBritish Columbiaต่างได้รวมตัวกันในการขับเคลื่อนกิจกรรมทางการกีฬา เพื่อการท่องเท่ียว เช่น เมือง Abbotford เป็นเมืองศูนย์รวมท่ีสนับสนุนการจัดกิจกรรมทางการกีฬากว่า 100 ประเภทกีฬาในปีที่ผ่านมา ค.ศ. 2011หรือ เมือง Kamloops เป็นเมืองท่ีมีการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจมาก โดยเฉพาะจากประสบการณ์การจัดกีฬา Canada’s Tournament Capital ในปี 2001 ทา ให้เกิดการลงทุนในส่ิงอานวยความสะดวกในพ้ืนท่ีกว่า 50 ล้านเหรียญ และในปัจจุบันเมือง Kamloops ได้ ดาเนินการต่อในเร่ืองการกาหนดแผนกลยุทธ์ทางการกีฬาของประเทศร่วมกับชุมชน ส่งผลทาให้เกิดความ ร่วมมือกับชุมชน ระบบเศรษฐกิจโดยทั่วไปสูงข้ึน และสิ่งสาคัญท่ีสุดคือการกาลังดาเนินการในเรื่องของการ ขับเคล่ือนกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพที่มีผู้สนใจให้ความสาคัญกับสุขภาพของ ตนมากยงิ่ ข้ึน เช่น การออกกาลงั กาย เมือง Kelowan เป็นเมืองท่ีมีจุดแข็งในการจัดกีฬาเพื่อการท่องเท่ียว โดยเฉพาะในปี 1999 ทม่ี ีภารกจิ สาคญั คือ 1) พัฒนาสรา้ งสรรคก์ จิ กรรม ในฐานะเปน็ เมืองจุดหมายปลายทางทางการท่องเทีย่ ว เชน่ การสรา้ ง กจิ กรรมการแข่งขัน การจดั โปรแกรม 2) พฒั นาองค์กร ไมว่ ่าจะเป็นโปรแกรมหรือทรัพยากรสง่ิ อานวยความสะดวก รวมไปถงึ การสรา้ งจุด แข็งของชุมชน 3) พัฒนาทางการกีฬา ได้แก่ การพัฒนาและสนับสนุนทรัพยากรจาเป็นต่อการทากิจกรรม การ สรา้ งระบบการศกึ ษา การสรา้ งเครือข่ายพีเ่ ลี้ยงทางการกฬี า 4) การสร้างกิจกรรมทางการกีฬา เช่น การจัดกิจกรรมเพ่ือการกีฬา รวมตัวกันจัดกิจกรรมสาหรับ เยาวชน ผใู้ หญแ่ ละผู้สงู วยั เข้ามามีส่วนรว่ ม เมือง Langley มีปัจจัยแห่งการจัดทากลยุทธ์ทางการกีฬา กล่าวคือสร้างส่ิงสนับสนุนทาง สิ่งแวดล้อมในชุมชนพัฒนาระบบสิ่งอานวยความสะดวกและส่งเสริมการจัดกิจกรรมของนักกีฬาพัฒนา ระบบครูผู้ฝึกสอนสนับสนุนการท่องเที่ยวคุณภาพให้ชุมชนและจังหวัดสนับสนุนให้เกิดการจัดกิจกรรม ทางการกีฬาอย่างมีคุณภาพในชุมชน ภูมิภาคและจังหวัด สร้างโอกาสสาหรับการสร้างความร่วมมือและ เครอื ข่ายในการทางาน และสง่ เสริมการสรา้ งกลมุ่ อาสาสมคั รในพืน้ ท่ี แมทธิวเจมส์ ลามัวร์ (Matthew James Lamount, 2009) ได้แบ่งรูปแบบของการจัดกิจกรรม ทางการท่องเท่ยี วและกีฬาออกเป็น 14 รูปแบบ ดงั นี้ 1) Mega Event เป็นลักษณะการจัดกจิ กรรมทใี่ หญ่มาก เชน่ กีฬาโอลมิ ปกิ APEX หรอื พาราลิมปิก เกมส์ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ให้ผลตอบแทนที่มากกว่า พันล้านเหรียญข้ึนไป และต่อมา The Federal Policy on International Sport Event ได้แบ่งประเภทของ Mega ออกเป็น 3 ประเภทไดแ้ ก่

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 13 1.1) International Major Multisport Games เช่น กฬี าโอลมิ ปิก หรอื APEX 1.2) International Single Sport Event เป็นกิจกรรมเฉพาะ เช่น การแข่งขัน World Championship หรือ World Cups 1.3 ) International Multisport Games for Aboriginal Peoples and Person with a Disability เปน็ กฬี านานาชาติสาหรับชาวอะบอริจนิ และผู้ทพุ พลภาพ 2) เกมส์ (Games) เปน็ กิจกรรมที่มีความหลากหลายมาก ทสี่ ามารถแบ่งออกเป็น 2 หมวดหมู่ คอื 2.1) แบ่งตามฤดูกาล เช่น Summer Games Winter Games ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะจัดข้ึน ทกุ ๆ ปี อาจจะเป็นปลี ะครง้ั หรอื 2 คร้ังก็แล้วแต่ 2.2) เกมส์อื่น ๆ ท่ีจัดข้ึนเฉพาะกลุ่ม ไม่มีกาหนด จัดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของผูจ้ ัดและผู้เข้ารว่ ม กจิ กรรม เชน่ การจัดเพือ่ การผจญภยั หรอื กิจกรรมผจญภยั สรา้ งประสบการณ์ใหมใ่ ห้ตนเอง 3) Championships เป็นกิจกรรมท่ีจัดเป็นฤดูกาลเพื่อแข่งขัน แข่งขันกีฬาประเภทเดียว และ คัดเลือกเพื่อก้าวไปในลาดับที่สูงข้ึน และการจัดในรูปแบบการแข่งขันนี้จะแบ่งกลุ่มประเภทผู้แข่งขัน เช่น นักเรียน เยาวชน บุคคลท่ัวไป การคัดเลือกได้ก้าวขึ้นไปในแต่ละระดับต้องมีการแข่งขันคัดเลือกนักกีฬา ต้งั แตร่ ะดบั โรงเรยี น จงั หวดั ภูมภิ าค ประเทศ และโลก 4) Tournaments เป็นการแข่งขันกีฬาประเภทเดียว โดยมีหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเป็น เจ้าภาพจัด มหี นว่ ยงานภาครัฐหรือเอกชนมาร่วมสนับสนุน แตล่ ะทีม เชน่ โรงเรียน วัด หรอื องค์กรเอกชน เป็น กจิ กรรมท่ีจัดข้นึ ทุก ๆ ปี ซ่งึ โดยปกตจิ ะถูกกาหนดใหจ้ ดั ขึ้นเปน็ ตารางประจาปีท่ีแน่นอน 5) Training Camps เป็นกิจกรรมทางการกีฬาที่มิได้มุ่งหวงั เพ่ือการแข่งขัน แต่เพื่อเป็นการนามา ฝกึ ซ้อมเก็บตัว โดยมพี ีเ่ ลี้ยงผู้เชยี่ วชาญเปน็ ผู้ฝึกสอน อาจจะฝึกสอนเปน็ รายบคุ คลหรอื เป็นกลมุ่ ก็ได้ 6) Development Courses เป็นหลักสูตรทางการกีฬาเพื่อสร้างนักกีฬาให้เป็นบุคคลท่ีมี ศกั ยภาพ 7) Conferences เป็นกิจกรรมของหน่วยงานทางการกีฬาจัดการประชุมหรือสัมมนาข้ึนระหว่าง ชนิดกีฬา การจัดกิจกรรมแบบนี้มักจะเปล่ียนสถานที่จัด และทุกคร้ังท่ีจัดจะมีการออกร้านจัดจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกทางการกีฬา เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์หรืออาจจะมีการจัดกิจกรรมทางการแข่งขัน ร่วมด้วย 8) Professional Sports เป็นการจัดกิจกรรมทางการแข่งขันของมืออาชีพท่ีต้องเดินทางไป แขง่ ขนั ตามที่ต่าง ๆ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 14 9) Cause related เป็นกิจกรรมทางการแข่งขันที่ออกแบบมาเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ เช่น ประเทศแคนาดาจัดกิจกรรมทางการแข่งขันกอล์ฟ เปิดโอกาสให้ผู้สนใจเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมการ แข่งขัน 10) Media Events เป็นกิจกรรมที่จัดแข่งขันเพ่ือค้นหาตัวตน ค้นหาความสามารถเฉพาะบุคคล เชน่ กิจกรรมการแขง่ ขันชกมวย ผ่านทาง TV 11) Showcases เป็นกิจกรรมท่ีออกแบบในการสร้างภาพลักษณ์ที่น่าสนใจในแตล่ ะพื้นที่ออกเปน็ กจิ กรรมทางการแขง่ ขัน 12) Spectator Events ผู้ที่มาชมกีฬา ที่หากเป็นการชมกิจกรรมทางการแข่งขันที่มีชื่อเสียงก็จะ ทาให้ผูท้ ีม่ าชมกีฬาได้เขา้ มาพกั อาศัยในพ้นื ทยี่ อ่ มเกิน วา่ 1 คืน เกดิ การท่องเที่ยวไปยังสถานทีต่ ่าง ๆ 13) Created Sport Events เป็นกิจกรรมทางการกีฬาที่สร้างข้ึนเฉพาะโดยความร่วมมือกับ ภาครัฐและเอกชน เพอ่ื พัฒนาศักยภาพของนกั กีฬาไปสคู่ วามเปน็ มืออาชีพ 14) One-Off Events เปน็ กิจกรรมที่สรา้ งขน้ึ มาเพอ่ื เชื่อมโยงกบั กิจกรรมงานพิเศษ สรปุ การท่องเท่ียวเชิงกีฬา หมายถึง การเดินทางของกลุ่มคนหรือผู้ติดตาม ท่ีมีความสนใจเฉพาะ ทางด้านกีฬาในแต่ละประเภท ไม่ว่าจะเป็นการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ หรือการเล่นกีฬาเพ่ือการแข่งขันที่มี รูปแบบพฤตกิ รรมการท่องเทีย่ วในระหว่างช่วงเวลาแห่งการพกั ผ่อน ทเ่ี หมือนหรือแตกตา่ งกันของประชาชน ร่วมด้วย ที่มีกีฬาทั้ง ชนิดกีฬาในร่ม (Indoor) และกลางแจ้ง (Outdoor) หรือ มี 6 ประเภทแบ่งตาม ลักษณะของการจัดกิจกรรม ได้แก่ หมวดหมู่ลู่ลาน/ความเร็ว หมวดหมู่ของศิลปะการต่อสู้ หมวดหมู่ตา ข่าย/แร็กเก็ต หมวดหมู่ทีม/สนาม หมวดหมู่ประกวด และ หมวดหมู่อื่น ๆ ซ่ึงมี 15 องค์ประกอบของการ ท่องเท่ียวเชิงกฬี า 3 ขนั้ 15S คือ ขั้นท่ี 1 เป็นปัจจยั พนื้ ฐาน ประกอบดว้ ย Safety ความปลอดภัย Sharing System (Road/Logistic/Rest Park) Satisfaction การสร้างความพึงพอใจ Style (Nostalgia and Extreme) กิจกรรมกีฬาเป็นความชอบเฉพาะบุคคล Social Media (Smart Phone) เดินทางด้วย Application บน Smart Phone ข้ันที่ 2 (Stage II) เป็นปัจจัยท่ีสูงข้ึนท่ีนักกีฬาท่ีมีความเชี่ยวชาญ ประกอบด้วย Scale คือ ขนาดสนาม Season ฤดูกาล Service (Human) การบริการ Sport Tourism Platform การสร้าง Platform ให้มีความทันสมัยและพร้อมใช้งานเสมอ Seamless Experience การ เดินทางแบบไร้รอยต่อ ข้ันที่ 3 (Stage III) เป็นปัจจัยข้ันที่สูงข้ึนที่นักกีฬาที่มีความเช่ียวชาญ ประกอบด้วย Subagent การเปิดตลาดในต่างประเทศ Standard มาตรฐานสนาม Supply Chain การสง่ เสรมิ กิจกรรม กีฬา จะต้องมองท้ังกระบวนการตลอดห่วงโซ่อุปทาน Save Energy การจัดกิจกรรมกีฬา ที่นาไปสู่การ

15 ประหยัดการใช้พลังงานให้ลดลงได้ และ Sustainable กิจกรรมกีฬา ก่อให้เกิดความย่ังยืนของ สภาพแวดล้อมของโลก ความสาคัญของการท่องเที่ยวเชิงกีฬา คือ เป็นกิจกรรมท่ีสร้างโอกาสและก่อให้เกิดการพัฒนา 3 มิติ คือ พัฒนาระบบการกีฬา พัฒนาระบบเศรษฐกิจ พัฒนาระบบสังคมและชุมชน ด้วย มีรูปแบบของการจัด กิจกรรมทางการท่องเที่ยวและกีฬา ตามแนวคิดของ แมทธิวเจมส์ ลามัวร์ (Matthew James Lamount, 2009) ออกเป็น 14 รูปแบบ คือ Mega Event เป็นลักษณะการจัดกิจกรรมท่ีใหญ่มาก Game) เกมส์ Championships เป็นกิจกรรมที่จัดเป็นฤดูกาลเพ่ือแข่งขัน Tournaments เป็นการแข่งขันกีฬาประเภท เดียว Training Camps เป็นกิจกรรมฝึกซ้อมเก็บตัว Development Courses เป็นหลักสูตรทางการกีฬา Conferences เป็นกิจกรรมของหน่วยงานทางการกีฬาจัดการประชุมหรือสัมมนาข้ึนระหว่างชนิดกีฬา Professional Sports เป็นการจัดกิจกรรมทางการแข่งขันของมืออาชีพ Cause related เป็นกิจกรรม ทางการแข่งขันที่ออกแบบมาเพ่ือวัตถุประสงค์เฉพาะ Media Events เป็นกิจกรรมท่ีจัดแข่งขันเพ่ือค้นหา ตัวตน Showcases เปน็ กจิ กรรมที่ออกแบบในการสรา้ งภาพลักษณ์ แบบฝกึ หดั ท้ายบท 1. จงอธบิ ายความหมายของการท่องเท่ยี วเชงิ กีฬา 2. จงอธิบายแนวคิดการจัดกิจกรรมกีฬา ทผ่ี สมผสานกบั การทอ่ งเท่ียว 3. จงอธบิ ายองค์ประกอบและประเภทของการท่องเท่ยี วเชิงกีฬา 4. การท่องเท่ียวเชิงกีฬา มีความสาคัญต่อการพัฒนาระบบการกีฬา พัฒนาระบบเศรษฐกิจ พัฒนา ระบบสงั คมและชุมชน อยา่ งไร 5. จงอธิบายถงึ รูปแบบการท่องเท่ยี วเชงิ กีฬาตามแนวคดิ ของ แมทธิวเจมส์ ลามวั ร์ (Matthew James Lamount, 2009) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 16 บทท่ี 2 ระบบนิเวศน์ของการท่องเทย่ี วเชิงกฬี า วัตถุประสงคข์ องการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน 1. สามารถอธิบายความหมายระบบนิเวศน์ (Eco System) ของการทอ่ งเท่ยี วเชิงกีฬา 2. สามารถจาแนกองคป์ ระกอบระบบนเิ วศน์ (Eco System) ของการทอ่ งเทย่ี วเชงิ กีฬา 3. สามารถวเิ คราะห์รปู แบบของระบบนเิ วศน์ (Eco System) ของการท่องเทย่ี วเชงิ กฬี า การดาเนินงานของการท่องเท่ียวเชิงกีฬา เปรียบเสมือนกับการดาเนินชีวิตของส่ิงมีชีวิตในระบบ นิเวศน์ ท่ีต้องพึ่งพาอาศัยกลุ่มธุรกิจสนับสนุนท้ังส่วนหน้าและส่วนหลังมากมายท่ีมาร่วมกันจัดกิจกรรม เพ่ือให้การดาเนินงานน้ัน ๆ บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายท่ีได้กาหนดไว้ ดังนั้น ระบบนิเวศทางธุรกิจ จึง เป็นระบบที่มีความเชื่อมโยงกันของธุรกิจที่เก่ียวข้องและอาศัยพ่ึงพาซึ่งกันและกันเหมือนระบบนิเวศของ สัตว์น้า ซึ่งต้องอาศัยประโยชน์ในการดารงอยู่ร่วมกัน ดังนั้นระบบนิเวศทางธุรกิจจึงเสมือนเป็นส่วนหนึ่ง ของระบบนเิ วศทางเศรษฐกจิ ที่ประกอบด้วย ระบบนเิ วศการบรหิ ารจดั การธรุ กจิ ระบบนิเวศเชิงพฤติกรรม ของผู้บริโภค และระบบนิเวศของหน่วยงานรัฐท่ีคอยอานวยความสะดวกให้กับระบบนิเวศของธุรกิจ สามารถดาเนินการไปได้ด้วยดี เม่ือระบบธุรกิจอยู่ได้ด้วยการสนองตอบที่ตรงต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค หน่วยงานภาครัฐสนับสนุน จะทาให้ระบบนิเวศทางธุรกิจสามารถพึ่งพาอาศัยอยู่ร่วมกันได้อย่างยาวนาน และยัง่ ยืน ระบบนเิ วศน์ (Eco System) ของการท่องเท่ียวเชงิ กฬี า ระบบนิเวศทางธุรกิจ คือ การรวมตัวกันเป็นระบบหรือเป็นโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของ ธุรกิจที่สามารถอยู่รอดท่ามกลางการเปล่ียนแปลงของส่ิงต่าง ๆ ของสิ่งแวดล้อมทางธุรกิจ แล้วจึงค่อยอยู่ รอดและสมดุลไปกับส่ิงแวดล้อมหรือธรรมชาติ เช่นเดียวกับระบบนิเวศทางธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ที่พบว่า จากกระแสโลกาภิวัฒน์ด้านการกีฬาที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ทั้งมีความตื่นตัว การเอาใจใส่ สุขภาพและการออกกาลังกายท่ีเพิ่มมากข้ึน การผลักดันและส่งเสริมกีฬามวลชนโดยภาครัฐ และ โลกาภิวัฒน์กับเศรษฐกิจการกีฬาท่ีเปล่ียนแปลงไป ตลอดจนมีการปรับเปล่ียนวิถีชีวิตของประชากร และ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัล (กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา, 2559) ส่งผลให้การท่องเท่ียวเชิง กีฬาได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น อีกท้ังยังได้ก่อให้เกิดผลทางเศรษฐกิจ สร้างรายได้ให้แก่ผู้ประกอบการ ธุรกิจในพื้นที่ อันเกิดจากการใช้จ่ายและการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจในธุรกิจต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องทั้งทางตรง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 17 และทางอ้อมต่อการท่องเท่ียวเชิงกีฬา เช่น ด้านที่พัก โรงแรม ร้านอาหาร ร้านจาหน่ายเคร่ืองดื่ม การ เดินทาง การจาหน่ายสินค้าของที่ระลึก นอกจากนี้ การท่องเท่ียวเชิงกีฬายังก่อให้เกิดการสร้างงานใหแ้ ก่ คนในท้องถิ่น ลดปัญหาการว่างงาน สร้างอาชีพใหม่ท้ังงานทางตรงและทางอ้อม ลดความเหลื่อมล้า ทางดา้ นรายได้ ทาใหค้ ุณภาพชีวิตดีขึ้น คนในพ้ืนที่สามารถเข้าถึงการจา้ งแรงงานได้อยา่ งเทา่ เทยี ม ดงั เช่น ผลการสัศึกษา พบว่า การส่งเสริมการท่องเทย่ี วเชิงกีฬาเป็นการบูรณาการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชนในการขับเคล่ือนการท่องเท่ียวเชิงกีฬาท้ังระบบในด้านอุปสงค์และอุปทานให้มีประสิทธิภาพ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อแสดงถึงศักยภาพของเมืองที่เป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport Tourism Destination) ทไ่ี ดม้ กี ารเชอื่ มโยงแหล่งท่องเทยี่ วทางธรรมชาติ ศาสนา ประเพณี ศิลป และวัฒนธรรมในพ้ืนท่ีหลอมรวมกัน เพื่อดึงดูดนักกีฬา นักท่องเท่ียว ในการเดินทางเพ่ือสร้าง ประสบการณ์ทางการท่องเท่ียวรูปแบบใหม่ ๆ ควบคู่ไปรับกิจกรรมด้านการกีฬา ซึ่งเป็นภาพลักษณ์ที่ดีใน การประชาสัมพันธ์พ้ืนท่ีไปสู่สายตาของนักท่องเท่ียวทั้งในและต่างประเทศ ซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดของ วิทยา อินทร์พงษ์พันธ์ุ (2561) ท่ีกล่าวว่า การจัดกิจกรรมกีฬาส่งผลให้เกิดการจัดมหกรรมกีฬาควบคู่ไป กับโอกาสทางการท่องเที่ยวท่ีผสมผสานไปกับกิจกรรมนันทนาการในแต่ละพื้นท่ี โดยดึงเอาความโดดเด่น และเอกลักษณ์แต่ละเมืองมาเป็นส่วนหน่ึงของการส่งเสริมการตลาด และพบว่า ปัจจัยที่ทาให้การ ท่องเท่ียวเชิงกฬี าไดร้ ับความนยิ ม เกดิ จากปจั จยั 3 ประการด้วยกนั (วรพงศ์ ภูมบิ อ่ พลบั , 2561) ไดแ้ ก่ 1) ปจั จัยท่สี ง่ ผลทางด้านเศรษฐกิจ 2) ปจั จัยทางด้านเทคโนโลยี 3) ปจั จยั ทางดา้ นการเปลีย่ นแปลงอนั เกดิ จากคา่ นิยมของสงั คม ในขณะที่ Getz, D. (2005) ไดแ้ สดงความคิดเห็นเก่ียวกับแนวคิดการจัดการท่องเทยี่ วเชิงมหกรรม กีฬา (Event Sport Tourism Management) ว่าเป็นการจัดการท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับองค์ประกอบกีฬา (Sport) กิจกรรม (Event) และการท่องเท่ียว (Tourism) ท่ีสามารถดึงดูดผู้ชมจานวนมาก อีกทั้งยังเป็น การปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชนที่มาร่วมงาน ผู้จัดงานและผู้กากับควบคุมดูแลเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยมี ระบบการบริหาร การออกแบบ และมีกิจกรรมเข้ามาเก่ียวข้องเพ่ือสร้างแรงจูงใจแก่นักท่องเท่ียว ซง่ึ มหกรรมท่ีจดั ขึ้นมีกจะมแี รงจงู ใจมาจากมีการออกแบบงานสร้างสรรค์ที่มีคุณค่าต่อนักท่องเทย่ี วท่ีจะได้รับ ประสบการณ์ใหม่จากการจัดมหกรรมกีฬาน้ัน ๆ ดังเช่น วรพงศ์ ภูมิบ่อพลับ (2561) ได้กล่าวว่า การท่องเท่ียวเพื่อเล่นกีฬาทาให้เกิดการรวมกลุ่มกันของนักท่องเที่ยวเชิงกีฬาทั้งส่วนของนักกีฬา ผู้ชม ทีมงานกีฬา ประชาชน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และสื่อมวลชนที่มาร่วมกิจกรรมในฐานะนักท่องเที่ยวเชิงกีฬา แสดงดงั ภาพที่ 2.1

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 18 ภาพท่ี 2.1 กลมุ่ ผทู้ ่ีเข้ามมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมงานวง่ิ ทม่ี า : วรพงศ์ ภูมบิ อ่ พลบั (2561) เนื่องจากรูปแบบการดาเนินการนิเวศทางธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬาในกลุ่มกิจกรรมงานว่ิง มี ความสลับซับซ้อนและมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไปตามขนาด วิธีการจัด และวัตถุประสงค์ของการจัด กจิ กรรมงานว่ิง ดงั นั้นแนวโนม้ ของการท่องเที่ยวสมัยใหมจ่ ึงมีทิศทางดังนี้ 1) นวัตกรรมสมัยใหม่ (Innovation) และส่ือดิจิทัล (Digital Media) จะมีบทบาทมากย่ิงข้ึนในการ ท่องเทยี่ วเชิงกฬี า 2) การทอ่ งเทีย่ วเชิงกีฬาในแบบกีฬาทเี่ ล่นคนเดียว (Individual Sports) กลบั ได้รับความนิยมมาก ข้ึน 3) กีฬาท่ีเป็นการสานต่อสิ่งดีงาม (Legacy) ธรรมชาติ (Nature) และวัฒนธรรมท้องถิ่น (Local Culture) เข้าไวก้ บั กีฬาจะมคี วามสาคญั ต่อการท่องเทย่ี วเชิงกีฬามากข้ึน 4) ตลาดการท่องเท่ียวเชิงกีฬาจะมีความซับซ้อนมากยิ่งข้ึน ทาให้การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) จะมีความสาคัญมากข้ึน (กองเศรษฐกิจการท่องเท่ียวและกีฬา กระทรวงการท่องเท่ียว และกฬี า, 2561) ดังเช่น สมาคมจัดการกีฬาแห่งประเทศไทย (กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2562) ได้มีการจัด หมวดหมู่ของกลุ่มที่มีลักษณะธุรกิจที่มีการประกอบการอย่างใกล้เคียงกันและเช่ือมโยงกันเป็นกลุ่มธุรกิจ (Cluster) 5 กล่มุ ธรุ กิจ ไดแ้ ก่

19 กลุ่มธุรกิจท่ี 1 คือ กลุ่มให้บริการสถานบริการออกกาลังกายและสโมสรกีฬาสมัครเล่น ประกอบด้วย 2 กล่มุ คือ (1) กล่มุ สถานทีบ่ ริการออกกาลังกาย และ (2) กล่มุ สโมสรกีฬาสมคั รเลน่ กลุ่มธุรกิจท่ี 2 คือ กลุ่มให้บริการสื่อสารมวลชน ลิขสิทธิ์ทางการกีฬาและกีฬาอาชีพ ประกอบด้วย 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ (1) กลุ่มสอื่ สารมวลชน กิจกรรมการตลาดและโฆษณา การประชาสัมพนั ธท์ างการกฬี า (2) กลุม่ การ จดั การสทิ ธปิ ระโยชน์และสิทธทิ างการกีฬา และ 3) กลุม่ กฬี าอาชพี กลุ่มธุรกิจท่ี 3 คือ กลุ่มวิทยาการทางการกีฬาและผู้ผลิตบุคลากรทางการกีฬา ประกอบด้วย 2 กลมุ่ คือ (1) กลุ่มการบริการทางวิทยาศาสตร์การกีฬา และ (2) กลมุ่ สถาบันการศึกษาผ้ผู ลิตบุคลากรด้าน การกีฬา กลุ่มธุรกิจที่ 4 คือ กลุ่มกีฬาเพ่ือการท่องเท่ียวและการจัดการแข่งขัน ประกอบด้วย 2 กลุ่มคือ (1) กลุม่ การจดั กีฬาเพอ่ื การทอ่ งเท่ยี วและนนั ทนาการ และ (2) กลุม่ การจดั การแขง่ ขนั กีฬา กลุ่มธุรกิจท่ี 5 คือ กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้นาเข้าและส่งออกทางการกีฬา ประกอบด้วย 3 กลุ่มคือ (1) กลุ่มผู้ค้าปลีกและค้าส่งอุปกรณ์กีฬา (2) กลุ่มผู้ผลิตอุปกรณ์กีฬา และ (3) กลุ่มผู้นาเข้าและส่งออก ทางการกีฬา ผลจากการวิเคราะห์สถานการณ์ของอุตสาหกรรมกีฬาของประเทศไทยเพ่ือแสดงให้เห็นถึงระบบ นิเวศของธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ทาให้พบว่า ประเทศไทยมีอุตสาหกรรมการกีฬาไทยที่ประกอบดว้ ย สินค้ากีฬา บริการกีฬา และกิจกรรมการกีฬา เพื่อให้ทราบถึงลักษณะการดาเนินการ องค์ประกอบ โอกาส ตลอดจนการเพ่ิมมูลค่าขององค์ประกอบของอุตสาหกรรมการกีฬา ด้วยแบบจาลองตาม องคป์ ระกอบ 6 ด้านของแบบจาลอง Diamond Model ที่กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา (2562) ได้ทา การวเิ คราะห์แลว้ พบว่า มีสถานะท้งั ท่ีเปน็ เชิงบวกและเชงิ ลบ ดงั ตารางที่ 2.1 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง ตารางที่ 2.1 แบบจาลอง Diamond Model ของอุตสาหกรรมกีฬาของประเทศไทย องค์ประกอบ สนิ คา้ กฬี า บริการด้านการกีฬา กิจกรรมการกฬี า Diamond Model 1) โอกาส + กระแสนิยมการ + กระแสการใสใ่ จ + กระแสดดูแลใสใ่ จสุขภาพและรูปร่างเพมิ่ มากขึ้น ใส่ใจสขุ ภาพ สขุ ภาพเพิ่มมากขึ้น + ภาวการณต์ ิดส่อื โซเซยี ลเพิม่ มากขึ้น + กระแสการใช้ + กระแสนยิ ม + เทคโนโลยีการสือ่ สารทาใหเ้ กดิ การรบั รใู้ นวงกว้าง ส่ือโซเซยี ลทผ่ี ู้คน เพ่มิ ขนึ้ โดยเฉพาะ นยิ มทาตาม ผ้สู ูงอายแุ ละผหู้ ญงิ กระแส + ชีวติ ทเี่ ป็นเมอื ง มากขนึ้ โดยเฉพาะ

20 ตารางท่ี 2.1 (ต่อ) องคป์ ระกอบ สินค้ากฬี า บริการด้านการกฬี า กจิ กรรมการกฬี า Diamond Model เมอื งท่มี รี ะบบสาธารณปู โภค มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง พรอ้ ม + ธรุ กิจบริการเป็นทางเลือก หลกั 2) รัฐบาล + สง่ เสรมิ การลงทนุ - ขาดการสง่ เสรมิ สนบั สนุน - ขาดแผนการดึงดดู การจดั งาน ขนาดใหญ่ ธรุ กิจบริการดา้ นการกีฬาท่ี ระดบั โลก + เปดิ เสรีทางการค้า ชัดเจน - ไมม่ ีกลไกรองรับมาตรฐาน และบรกิ าร - ขาดการระบพุ ิกดั ศลุ กากรใน - ขาดการจัดการข้อมูลทางการ - ขาดมาตรการ ภาคสนิ คา้ กฬี า กีฬาท่เี ป็นปจั จัยพนื้ ฐานในการ สนบั สนุนที่ชัดเจน พัฒนาต่อยอดด้านการกีฬาได้ - ขาดพิกัดศุลกากร อยา่ งยั่งยนื เฉพาะของภาคสินคา้ บรกิ าร 3) กจิ การ + ความคิดสรา้ งสรรค์ + การตลาดสินค้ากฬี าเปดิ - โครงสรา้ งกลยุทธ์การจดั งาน โครงสรา้ ง ของผู้ประกอบการ โอกาสให้ผ้ปู ระกอบการรายใหม่ ขาดความเปน็ ผปู้ ระกอบการ กลยุทธ์ + การเข้ามาของผู้จดั เข้ามา - การแข่งขนั ของ รายใหม่ + เกดิ โอกาสในการแขง่ ขันดา้ น ผ้ปู ระกอบการมีความเข้มขน้ - สถานการณว์ าวะ คณุ ภาพบรกิ าร + การแข่งขันทดี่ เุ ดอื ดทาให้เกดิ วกิ ฤต สานการ์ + เปิดโอกาสใหผ้ ู้ให้ ความเป็นมอื อาชีพของผู้จดั และ COVID-19 ระบาด ผู้ประกอบการได้สรา้ งคุณคา่ เป็นท่ีนา่ เชอื่ ถอื และใสค่ วามคิดสร้างสรรค์ใน บริการอย่างเปดิ กวา้ ง 4) เง่ือนไขอุปสงค์ + นักวิง่ มหี ลายระดบั + ผบู้ ริโภคมหี ลายระดับ + ความต้องการของผู้บรโิ ภค + มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ที่ + มคี วามตอ้ งการทีแ่ ตกต่างกัน เตบิ โตอยา่ งต่อเน่อื ง แตกตา่ งกนั ไป + มีพฤตกิ รรมการใชบ้ รกิ ารซา้ + มีแนวโน้มเพิ่มสูงมาก + มแี นวโนม้ ในการเตบิ โต ของผู้บริโภค ขน้ึ ระดับสงู + ผู้จัดใส่ใจและพฒั นาใน + เปน็ โอกาสในการสร้าง + ผบู้ ริโภคมีการบอกตอ่ ท้ังปาก คณุ ภาพและบริการสม่าเสมอ การลงทุน ต่อปากและประชาสมั พนั ธอ์ อก เพราะรกั ษาฐานลูกคา้ เดิม สอ่ื โซเซยี ล ตลอดจนการขยายฐานลูกค้า

21 ตารางท่ี 2.1 (ตอ่ ) องคป์ ระกอบ สนิ ค้ากฬี า บรกิ ารดา้ นการกฬี า กจิ กรรมการกีฬา Diamond Model + เป็นโอกาสในการ ใหม่ ดว้ ยการประชาสมั พนั ธ์ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงพฒั นาสาธารณูปโภค ออกสื่อโซเซียล 5) อตุ สาหกรรม + ฐานการผลิตภาคสงิ่ + มีอสงั หาริมทรพั ย์ (อาคาร + มีกลุ่มจติ อาสาทางการกฬี า สนบั สนุน ทอของประเทศเติบโต ท่ดี ิน)ท่ีเปิดใหเ้ ชา่ จานวนมาก เพม่ิ มากขึ้น + ภาคการออกแบบ + เทคโนโลยเี ติบโตอยา่ ง + ระบบสาธารณปู โภคด้านการ เตบิ โต รวดเรว็ ชว่ ยผ้ปู ระกอบการลด ขนส่งมปี ระสิทธิภาพดขี น้ึ + ภาคการจาหน่าย ตน้ ทุนประชาสมั พันธ์ + ดึงดดู นกั ทอ่ งเที่ยวเชิงกีฬาให้ สนิ คา้ ออนไลนเ์ ตบิ โต + เพ่มิ ประสิทธภิ าพใหผ้ บู้ ริการ เกดิ การเดนิ ทางเข้ารว่ มกิจกรรม เกิดความสะดวกในการดาเนิน เพม่ิ มากข้นึ ธรุ กจิ + พ้ืนที่การจัดกจิ กรรมสามารถ รองรบั นักท่องเท่ยี วไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 6) ปจั จัยนาเข้า + ผปู้ ระกอบการมี + ขั้นตอนการออกแบบแตกตา่ ง + การก่อสรา้ ง การออกแบบ เงนิ ทนุ หมนุ เวยี นมากข้นึ ดาเนนิ การไดร้ วดเร็ว การตกตา่ งทาไดอ้ ย่างรวดเรว็ + มเี ทคโนโลยสี มัยใหม่ + มโี คช้ ตลอดจนเทรนเนอร์ + มโี ค้ชตลอดจนเทรนเนอร์ + ช่วยแก้ไขปญั หาการ เพิม่ ขนึ้ อย่าวรวดเร็ว เพ่ิมขนึ้ อย่าวรวดเร็ว ขาดแคลนแรงงาน + คนในชมุ ชนมที ศั นคตทิ ่ดี ตี อ่ การจดั กิจกรรมกฬี าทาใหม้ ี ความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพ จดั การแข่งขันได้เปน็ อย่างดี + มีการสนับสนนุ จาก สปอนเซอร์ อยา่ งต่อเนื่อง - ขาดบุคลากรทางการกฬี าที่ เป็นมอื อาชพี สาธารณปู โภคทางดา้ นกีฬายัง ขาดความพรอ้ มในหลาย ๆ ดา้ น ทีม่ า : กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า (2562, หนา้ 68-74)

22 จากผลการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับนิเวศทางธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬาใน สถานการณป์ จั จุบนั จะเหน็ ได้วา่ ธุรกจิ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการกีฬาของประเทศไทยมีแนวโน้มในการเตบิ โตเพิ่ม มากขึ้น เช่นเดียวกับการการพัฒนาการที่ก้าวหน้าอย่างไม่หยุดน่ิงของเทคโนโลยีการสื่อสาร ที่ได้มามี อทิ ธิพลต่อการดารงชวี ิตของประชาชนในยุคปัจจุบนั โดยเฉพาะส่ือโซเซียล ในขณะท่ีกระแสของพฤติกรรม ผู้บริโภคที่หันมาใส่ใจในสุขภาพด้วยการออกกาลังกาย ทั้งผู้สูงวัยและเพศหญิง เริ่มได้รับความสนใจมาก ยิ่งขึ้น ดังน้ันการทาธุรกิจเพียงลาพังอาจจะไม่ตอบโจทย์หรือปรับตัวได้ทันต่อการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนใน ยุคปัจจบุ นั และในอนาคต ทางเลอื กจากการจบั มือรว่ มกนั ของภาคธุรกจิ จะทาให้สร้างโอกาสทางการเติบโต ได้ดีมากกว่า ดังเช่น บริษัท Ourgreenfish จากัด ได้เผยแพร่ความรู้เก่ียวกับ Ecosystems Business มี 2 ประเภทคือ Ecosystem Partnerships คือ การหาพาร์ทเนอร์ธุรกิจทเ่ี ก่ียวข้องและเอ้ือต่อการทาธรุ กิจ ของเรามาร่วมเป็นบริษัทคู่ค้า และอีกประเภทหนึ่งคือ Ecosystem Corporate Sustainability เป็นการ สร้างทรัพยากรทางธุรกิจขึ้นมาใหม่ และให้ลูกค้าเข้ามาใช้เครือข่ายบริการที่สร้างข้ึนมาท้ังหมด ซ่ึงได้รับ ความนิยมในปจั จุบนั อาทิ Facebook GrapTaxi UBER เป็นตน้ (สบื ค้นจากhttps://blog.ourgreenfish.com วนั ทีส่ บื คน้ 10 สงิ หาคม 2563) เมื่อวิเคราะห์ถึงพฤติกรรมของผู้บริโภคที่นิยมใช้ Platform ที่เป็นเสมือนระบบนิเวศทางธุรกิจ ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนที่ส่วนร่วมในผลประโยชน์ท่ีเรียกว่าชุมชน (Community) ซึ่งประกอบด้วย 2 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนที่เป็นผู้สร้างและดารงรักษา Platform และกลุ่มที่สองคือกลุ่มท่ีเป็นผู้ใช้ประโยชน์จาก Platform ในรูปแบบผลิตภัณฑ์และการบริการ ในขณะเดยี วกัน กลุ่มบุคคลทง้ั 2 ก็จะสามารถใชเ้ ป็นพ้ืนท่ี ในการต่อเติมเสริมให้กับการให้และการใช้บริการบนแกนกลางท่ีเรียกว่า Platform เติบโตงอกงามขึ้นไปได้ เรื่อย ๆ ในทางเดียวกันระบบนิเวศทางธุรกิจการท่องเท่ียวเชิงกีฬา (Sport Tourism Business Eco System) ประกอบด้วยชุมชน 2 ส่วน ดังเช่น (1) ส่วนของผู้ให้บริการ (Supply) และ (2) ส่วนของ ผู้รับบริการ (Demand) ดังเช่นระบบนิเวศในสระน้าที่ต่างพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน อยู่รอด และเติบโต ร่วมกนั ได้ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

23 องค์ประกอบของระบบนเิ วศน์ของธรุ กจิ การท่องเท่ยี วเชงิ กฬี า มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง ภาพที่ 2.2 ระบบนเิ วศน์ทางธุรกจิ การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport Tourism Business Eco System) ทมี่ า : วรพงศ์ ภมู บิ อ่ พลับ (2563)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 24 ระบบนิเวศน์ทางธุรกิจการท่องเท่ียวเชิงกีฬา (Sport Tourism Business Eco System) ในกลุ่ม กิจกรรมงานกีฬา อันประกอบไปด้วยธุรกิจที่เกี่ยวข้องและการพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกันหลายภาคส่วนตาม ลกั ษณะการดาเนนิ งาน ดังเชน่ การบรหิ ารจดั การการท่องเที่ยวเชิงกีฬาในกลุ่มกจิ กรรมงานวิง่ ยังมีลกั ษณะที่ เปน็ ไปตามกลไกในการดาเนนิ งานตามห่วงโซ่อปุ ทาน (สจั จา ไกรศรรัตน์ และคณะ (2562) ได้แก่ 1) การนาเข้าวตั ถดุ บิ และอุปกรณ์ 2) การผลิต 3) การจาหน่ายหรือการจัดงาน 4) การขายและการตลาด 5) การบูรณาการรวมกบั องคป์ ระกอบการขบั เคล่ือนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทเี่ นน้ การสรา้ งคณุ ค่า และหว่ งโซ่คุณค่าของการจดั กจิ กรรมงานวิ่ง อนั ประกอบไปดว้ ย 5.1) องคค์ วามรู้ 5.2) ความคิดสรา้ งสรรค์ 5.3) การใชท้ รัพยส์ ินทางปัญญา 5.4) วฒั นธรรม 5.5) ภูมิ ปัญญา 5.6) เทคโนโลยนี วตั กรรมสมัยใหม่ 5.7) เครือข่ายการดาเนนิ งาน ซง่ึ ระบบนเิ วศน์ของการท่องเทยี่ วเชิงกีฬาSport Tourism Business Eco System) ในกลมุ่ กิจกรรม งานว่ิง ในส่วนของการผลติ พบว่า มีการบริหารจัดการงานว่งิ โดยแบ่งช่วงเวลาของการดาเนนิ งานออกเป็น 3 ชว่ ง ไดแ้ ก่ 1) การเตรยี มการก่อนการจดั กจิ กรรมงานวิ่ง (Pre-race หรือ Race Before) 2) การทางานของทีมงานในวนั จัดกิจกรรมงานวิ่ง (Race หรือ Race Day) 3) การทางานหลังการจัดการหลงั การจดั กจิ กรรมงานว่งิ (Post-Race หรอื Race End) การจัดกิจกรรมว่ิงประเภทถนน (Road Race) ในประเทศไทย สามารถจัดได้ต้ังแต่ระดับชุมชน ท้องถ่นิ ไปจนถึงระดับนานาชาติ หรอื สามารถต่อยอดเพอ่ื ขอรบั การรบั รองมาตรฐานการจดั งานวิง่ นานาชาติ แต่ด้วยการจัดงานว่ิงเป็นการรวมกลุ่มคนจานวนมากมารวมอยู่ในพ้ืนท่ีจัดกิจกรรม (Mass Participation Sports) ความสาเร็จไม่สามารถเกิดข้นึ ได้เพียงหนว่ ยงานเดยี ว ดังน้นั รปู แบบความเชื่อมโยงกันของธุรกิจทเี่ กี่ยวข้อง นอกจากจะต้องศึกษาตลอดหว่ งโซ่อปุ ทานของ การจัดกิจกรรมงานวิ่งแล้ว ยังพบว่า ระบบนิเวศน์ทางการท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport Tourism Business

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 25 Eco System) และ ระบบนิเวศน์ขององค์กรการกีฬา ( Stakeholders in Sport Organizations Ecosystem) ยังมีการพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน ทั้งที่เป็นบุคคล ชุมชนท้องถ่ิน หน่วยงาน องค์กร และ สถานที่สิ่งแวดล้อม ท่ีมีความสัมพันธ์แบบส่วนตัว แบบเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ จากการวิเคราะห์ ลักษณะของการบริหารจดั การงานของการจดั กิจกรรมงานว่ิง พบว่า ระบบนิเวศนท์ างการท่องเท่ียวเชิงกีฬา (Sport Tourism Business Eco System) ในองค์กรของการจัดกิจกรรมงานว่ิงถนนของประเทศไทยเชิง พาณชิ ย์ การสรา้ งมลู ค่าเพิม่ ในระดบั ชมุ ชน ระดบั ชาติ และนานาชาติ จากการทบทวนข้อมลู ความรู้ พบวา่ องค์ประกอบของระบบนเิ วศน์ทางธุรกิจการท่องเท่ียวเชงิ กีฬา ประกอบดว้ ย 1) ผู้จัดกิจกรรมงานวิ่ง(Organizers) ซึ่งผลจากการศึกษา การสัมภาษณ์ผู้จัด พบว่า มีผู้จัดที่ หลากหลาย บริการหารจัดการในรูปของบริษัท ชมรม สมาคม มูลนิธิ โรงเรียน โรงพยาบาล สถานศึกษา องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ ผู้จัด/บุคคลท่ัวไปในชุมชน ทั้งท่ีเป็นมืออาชีพและมือใหม่ อาทิ ผู้จัด กิจกรรมงานว่ิงบางแสน 42 บางแสน 21 และ บางแสน 10 คือ บริษัท MICE & Communication จากัด และผจู้ ดั กจิ กรรมงานว่ิงตะนาวศรีเทรล คอื บรษิ ทั Running connect จากัด ในขณะท่ีในแตล่ ะพ้ืนท่ีมีผู้จัด กิจกรรมงานวิ่งหน้าใหม่และผู้จัดที่มีประสบการณ์การจัดมาแล้ว ข้อค้นพบคือ ในช่วงปี พ.ศ. 2555 เป็นต้น มา งานวิ่งเป็นที่ได้รับการนิยมจากกลุ่มนักว่ิง ทาให้มีผู้จัดรายใหม่เพ่ิมมากขึ้น กิจกรรมงานว่ิงใหม่ ๆ ก็เกิดข้ึนตามมา ดังเช่น บริษัท สปอร์ตเวิร์ค (ประเทศไทย) จากัดร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตาบล ธรรมเสน อาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ร่วมกันจัดกิจกรรมการเดิน-ว่ิง มินิมาราธอน ศึกเจ็ดเสมียน โดย การเชื่อมโยงกับศิลปะหนังใหญ่มากาหนดเป็น Theme การจัดงาน อาทิ โขนโรมรัน ในปี 2019 และ Theme ศึกชิงนางสีดา ในปี 2020 ซึ่งผู้จัดได้นาศิลปะโขนมาออกแบบเป็นลวดลายบนเสื้อว่ิง เหรียญที่ ระลกึ จนทาให้ไดร้ ับความนยิ มจากนักวง่ิ ที่มีความชอบสะสมเก็บเป็นของที่ระลึก ดังน้นั ผู้จัดกิจกรรมงานวิ่ง จึงเป็นผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญในการออกแบบ วางแผนบริหาร จัดกิจกรรมงานวิ่ง ให้ประสบความสาเร็จ เป็นผู้ เร่มิ ตน้ ในการขับเคลอ่ื นให้เกดิ เปน็ กลไกในระบบนิเวศนข์ องการท่องเทยี่ วเชิงกีฬาในกลุ่มกิจกรรมงานวงิ่ 2) ชุมชน ท้องถิ่น (Local Partners) หมายรวมถึง ประชาชนในฐานะเจ้าของพื้นที่ และเป็นผู้ที่ ได้รบั ผลกระทบโดยตรงจากการจัดกจิ กรรมงานวิ่ง หากผ้จู ัดไม่ได้รับความร่วมมือจากประชาชนในชุมชนนั้น ๆ การจดั กิจกรรมงานกจ็ ะไม่ประสบผลสาเร็จ แตห่ ากไดร้ บั ความร่วมมือจาก เจา้ บา้ นผอู้ าศัยอยู่ตามเสน้ ทาง วิ่งผ่าน ผู้ประกอบการร้านค้าในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ การจัดกิจกรรมงานว่ิงน้ันสร้าง ประโยชน์ให้กับชุมชน สร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการร้านค้าในชุมชน เจ้าของทรัพย์สินในชุมชนได้นา ทรัพย์สินที่เหลือใช้มาร่วมให้บริการสร้างรายได้ในช่วงการจัดกิจกรรมงานวิ่ง อาทิ การให้เช่ารถรับจ้างสอง แถว/รถรับส่งนักเรียน ที่ไม่มีคิวรับงาน นารถยนต์มาให้เช่าเพ่ือหารายได้เสริม หรือ ประชาชนในพื้นที่มี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 26 หอพัก บ้านเช่า อพาร์ทเม้นท์ที่ว่างนามาเปิดให้บริการท่ีพักแก่นักวิ่งและผู้ติตดาม ตลอดจนแหล่งท่องเที่ยว และธุรกิจให้บริการต่าง ๆ ได้รับผลกระทบในการมีรายได้เพ่ิมข้ึน มีการจาหน่ายสนิ ค้าเพิ่มขี้นในระหว่างท่มี ี การจัดกิจกรรมงานว่ิงดังนั้น ชุมชน/ท้องถ่ิน เป็นกลุ่มผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบนิเวศน์ทางการท่องเท่ียว เชิงกีฬาในอันดับต้น ๆ ของการจัดกิจกรรมการท่องเท่ียวเชิงกีฬา ที่มีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งท่ีจะนาพาให้ การจัดกิจกรรมงานวง่ิ ของผูจ้ ัดแต่ละรายมีความม่นั คงและยง่ั ยนื 3) หน่วยงานภาครัฐ (Sport Governments) ในการจัดกิจกรรมงานว่ิงแต่ละครั้งนอกจากจะเป็น การส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมทางการท่องเที่ยวในพ้ืนที่แล้ว หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการสนับสนุน ส่งเสริมให้ มีการจัดกิจกรรม ได้แก่ สานักงานการท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัด สานักงานการกีฬาจังหวัด การท่องเท่ียว แห่งประเทศไทย หน่วยงานตารวจด้านการจราจร และหน่วยงานองค์ปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้เข้ามามี บทบาทในการจัดกิจกรรม ทั้งอยู่ในรูปแบบของการเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณ หรือสนับสนุนบุคลากรใน การเข้าร่วมกิจกรรม เพ่ือแสดงถึงศักยภาพความร่วมมือของหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีมีหน้าท่ีในการส่งเสริมการ ทอ่ งเที่ยว สขุ ภาพ และการกฬี า 4) ลกู คา้ / นักวิง่ (Customer / Runner) ลูกคา้ ของผ้จู ัดกิจกรรมงานว่ิง คอื นกั วิ่ง ทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ รวมถึงผู้ติดตามนักว่ิง ที่เดินทางมาร่วมกิจกรรม จากข้อค้นพบในการเก็บสถิติจานวน นักว่ิงระยะต่าง ๆ ของงานว่ิงจอมบึงมาราธอน 10 ปีย้อนหลัง พบว่า นักว่ิงให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม งานว่ิงมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน ยกเว้น ในปี พ.ศ. 2564 (ค.ศ.2021) ท่ีจานวนนักวงิ่ ลดลง ด้วยเกิดการแพร่ระบาด ของไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ส่งผลให้ผู้จัดต้องปรับแผนการรับสมัครนักว่ิงใหม่ ตามมาตรการการเว้น ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ที่นักวิ่ง 1 คน จะต้องเว้นระยะห่าง 1.0 – 1.30 เมตร ทาให้การ คานวณศักยภาพในการรองรับนักว่ิงกับขนาดพื้นท่ีของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงทาให้สามารถ รองรบั นักวง่ิ ได้ 16,600 คน ซึ่งมีจานวนลดลงจากปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2563) 5) ผู้สนับสนุน / พันธมิตรร่วมจัด (Sponsors / Partnerships) ในการจัดกิจกรรมงานว่งิ ผู้มี ส่วนที่ทาให้การจัดงานย่ังยืนสามารถจัดกิจกรรมงานวิ่งได้ต่อไปหรือไม่ อยู่ท่ีผู้สนับสนุน หรือ พันธมิตรร่วม จดั เน่อื งจากการวเิ คราะหโ์ ครงสร้างต้นทุนในการจัดกิจกรรมงาน รายไดท้ ่ไี ด้จากการคา่ รบั สมัครไม่เพียงพอ ตอ่ การจดั กิจกรรมงานว่ิงแตล่ ะคร้ัง โดยเฉพาะงานว่งิ ขนาดใหญ่ท่ีต้องใช้งบประมาณจานวนมาก ในส่วนการ ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ ผู้จัดสามารถจัดทาข้อเสนอโครงการการจัดกิจกรรมงานวิ่ง ตาม เงื่อนไขและวัตถุประสงค์องหน่วยงาน โดยเสนอไปยังหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมกับแจ้งถึงสิทธิประโยชน์ที่ ผสู้ นบั สนุนจะไดร้ ับจากการเปน็ ภาคีรว่ มจดั ประกอบดว้ ย หนว่ ยงานต่าง ๆ ดังนี้ 5.1) หน่วยงานท่ีส่งเสริมสุขภาพของประชาชน ได้แก่ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 27 5.2) หน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดกิจกรรมกีฬา ได้แก่ การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการ ท่องเท่ียวและกีฬา หรือ อาจจะเสนอผ่าน สานักงานการกีฬาแห่งประเทศไทย ของแต่ละจังหวัดที่มีการจัด กิจกรรมงานว่ิง 5.3) หน่วยงานท่ีส่งเสรมิ การท่องเทีย่ วในพ้ืนที่ ได้แก่ สานักงานการท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัด กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า การทอ่ งเทยี่ วแห่งประเทศไทย 5.4) หน่วยงานท่ีส่งเสริมสนับสนุนการจัดนิทรรศการ ได้แก่ สานักงานส่งเสริมการจัดประชุม และนทิ รรศการ (องคก์ ารมหาชน) ชื่อยอ่ สสปน. หรอื TCEB 5.5) หน่วยงานท่ีมีวัตถุประสงค์ประชาสัมพันธ์หน่วยงานให้เป็นที่รู้จักของคนหมู่มากที่มา รวมตัวกันในวันจัดกิจกรรมงานวิ่ง ได้แก่ ธนาคาร สานักงานต่าง ๆ ท่ีอยู่ในพื้นท่ี บริษัทประกันภัย บริษัท ห้างรา้ นต่าง ๆ 6) ผู้ให้บริการการท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport Tourism Service Provider) หมายถึง กลุ่มผู้ ให้บริการที่เก่ียวข้องกับการท่องเท่ียวเชิงกีฬามากท่ีสุด เพราะเป็นส่วนที่นักท่องเท่ียวเชิงกีฬาจะต้องใช้ บริการโดยตรง หรือ กล่าวได้ว่าเป็นกลุ่มท่ีมีความสาคัญมากท่ีสุดในห่วงโซ่อุปทาน ซ่ึงประกอบไปด้วยผู้ ให้บริการที่เก่ียวข้อง 4 กลุ่มย่อย ได้แก่ ท่ีพัก ร้านอาหาร การขนส่ง และการจาหน่ายสินค้า (กระทรวงการ ท่องเท่ียวและกีฬา, 2560 หน้า 23) ซึ่งการให้บริการแต่ละกลุ่ม ยังมีกลุ่มผู้ให้บริการสินค้าและบริการ ทางเลอื ก ในประเภทเดยี วกันทห่ี ลากหลาย ดังนี้ 6.1) ด้านท่พี กั พน้ื ท่แี ละอาเภอ/จังหวัดใกล้เคยี งกับสถานที่จัดกิจกรรมงานวงิ่ ทง้ั ท่ีเป็นโรงแรม รีสอร์ท อพาร์ทเม้นท์ ห้องเช่า หอพัก Homestay Home-lodge เต้นท์นอน รถบ้าน ห้องประชุม อาคาร เรยี น ฯลฯ 6.2) ร้านอาหาร รวมถึงร้านอาหารท่ีจาหน่ายอยู่เดิมแล้ว และร้านอาหารท่ีเปิดให้บริการใหม่ ในช่วงการจัดกิจกรรมงานว่ิง เพื่อกระจายท่ีรับประทาน แก้ไขปัญหาการให้บริการไม่เพียงพอดังจะเห็นได้ จากก่อนการจัดการแข่งขัน 1 วัน นักว่ิงจะใช้บริการร้านอาหารในพื้นที่ตามอัธยาศัย ดังนั้นช่วงเย็นก่อนถึง วันแข่งขัน จะมีร้านค้าน้อยใหญ่ออกมาจาหน่ายอาหารให้แก่นักว่ิง แต่สาหรับในวันจัดการแข่งขัน นักวิ่งจะ นาคปู องอาหารไปแลก ณ จุดบรกิ ารซมุ้ อาหาร อาหารว่าง ผลไม้ น้าดม่ื ทผี่ ู้จัดได้เตรียมไวใ้ หบ้ ริการนกั วิ่งทุก คนท่ีไดล้ งสมคั รเข้ารว่ มกจิ กรรมงานว่งิ 6.3) การขนส่ง ช่วงในระหว่างการเตรียมจัดการแข่งขัน ผู้จัดจะต้องวางระบบการขนส่งท้ังใน ส่วนบรเิ วณงานและบรเิ วณท่จี อดรถท่ีผู้จดั เตรยี มไว้นอกพน้ื ทก่ี ารจัดงาน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 28 6.4) จาหน่ายสินค้า ในการรองนักว่ิงท่ีมีจานวนมาก ทาให้เกิดการจับจ่ายใช้สอยในพ้ืนที่การ จัดกิจกรรม ในระหว่างการจัดงาน ได้มีชุมชนมาออกร้านค้าจาหน่ายสินคา้ มากมาย และในขณะเดียวกันกม็ ี ผจู้ าหนา่ ยสินคา้ ในพืน้ ท่ีการจดั Expo ดว้ ย 7) ผู้นาเสนอปัจจัยการผลิตในการท่องเท่ียวเชิงกีฬา (Sports Input Providers) หมายถึง กลมุ่ ผปู้ ระกอบการท่ีมจี ดุ มุ่งหมายผลิตใหน้ ักกีฬาท่มี าเขา้ ร่วมการแข่งขัน ประกอบดว้ ย 4 กลุม่ ยอ่ ย ไดแ้ ก่ 7.1) กลุ่มผู้ผลิตของท่รี ะลึกท่ีมอบใหแ้ ก่นักว่งิ เพ่ือใช้สวมใส่ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมและเพื่อเป็น รางวลั ใหแ้ กน่ กั วิง่ ท่ไี ดร้ บั รางวัล ประกอบด้วย เส้อื นักวงิ่ เหรยี ญรางวลั เส้ือผ้พู ชิ ติ (Finisher) ถ้วยรางวลั 7.2) กลุม่ ผู้รบั จา้ งทางาน/แรงงาน ทใ่ี ห้บรกิ ารอานวยความสะดวกแก่นกั วิ่งและผู้ที่มารว่ มงาน ทงั้ ในสว่ นของการทางานจัดเตรยี มอาหาร นา้ ด่ืม ผลไม้รับรองในงานและรบั รองนกั วิ่งตลอดเสน้ ทาง 7.3) กลุ่มธุรกิจให้เช่าอุปกรณ์เพ่ือใช้อานวยความสะดวกข้ันพื้นฐานให้แก่นักวิ่งและผู้ท่ีมาเข้า ร่วมกิจกรรมงานวิ่ง ได้แก่ กลุ่มผู้ให้เช่าอุปกรณ์เคร่ืองเสียง เครื่องป่ันไฟฟ้า อุปกรณ์เครื่องไฟส่องสว่างใน บริเวณงานและตลอดเส้นทางการแข่งขัน และ กลุ่มผู้รับจ้างขนส่งสินค้าและบุคคลในการลาเลียงเข้า-ออก ภายในบรเิ วณงาน ในกรณีทม่ี ีการปิดเส้นทาง หรือ การจราจรแออดั 7.4) กลุ่มผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้าน ได้แก่ ด้านการแพทย์ การประกันภัย ด้านเทคโนโลยีการ สื่อสาร การถ่ายทอดสด การให้บริการทางด้านเทคนิคการจับเวลาและเก็บสถิติการว่ิงของนักว่ิงรายบุคคล ฝา่ ยระบบการรับสมัคร 8) เอกลักษณ์เชิงพ้ืนที่ (DNA Area) หมายถึง วิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิศาสตร์ ลักษณะที่ตั้ง ทางกายภาพ ที่จะทาเส้นทางว่ิงน้ัน ๆ มีเสน่ห์ ความโดดเด่น ท่ีแตกต่างไปจากเส้นทางว่ิงอื่น ๆ และสร้าง ความประทับใจให้แก่นักว่งิ ตลอดเสน้ ทางวง่ิ ให้เกิดความติดใจและอยากท่ีจะกลับมาสัมผัสประสบการณ์การ วง่ิ ในเส้นทางว่งิ น้นั ในทุก ๆ ครง้ั ทีม่ กี ารจดั กจิ กรรมงานวิ่ง 9) ผลิตภัณฑ์และการบริการ (Product Services) ในส่วนของการจัดกิจกรรมงานว่ิงนอกจาก ระยะทางว่ิงแต่ละระยะเป็นผลิตภัณฑ์หลัก ให้นักวิ่งเลือกสมัครลงวิ่งแล้วยังมีการบริการในส่วนของการจัด นิทรรศการงาน Expo การออกบูซจาหน่ายสินค้าของร้านค้าต่าง ๆ อาทิ อุปกรณ์สวมใส่ในการออกกาลัง กาย นาฬิกานักกีฬา เพื่อต้อนรับนักว่ิงและผู้ติดตามนักว่ิงได้ตามนักว่ิงได้มาเดินเล่น เลือกชมและเลือกซ้ือ นอกจากน้ันผู้จัดบางรายอาจจะมีการออกแบบให้มีกิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ การออกกาลังกาย ให้แก่ นักว่ิง และ การจัดกิจกรรมนักท่องเที่ยวท่องเที่ยวไปตามเส้นทางท่องเท่ียวในพื้นที่ใกล้เคียง ท่ีเปิดใหม่ ทันสมัยให้นักทอ่ งเทย่ี วไดไ้ ปสัมผสั

29 10) ระบบเทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนาระบบเทคโนโลยสี มัยใหมเ่ ขา้ มาประยุกต์ใช้กับ การจัดกิจกรรมงานว่ิง เพ่ือให้บริการที่รวดเร็ว เชื่อถือได้ สร้างความมั่นใจให้แก่นักว่ิง ซึ่งในปัจจุบันได้ ออกแบบและพฒั นาใช้งานโดยเชื่อมโยงกบั ระบบอนิ เตอร์เน็ต ประกอบด้วย 10.1) ระบบการรับสมัคร ปัจจุบันมหี ลายบรษิ ัททอ่ี อกแบบและเขยี นโปรแกรมการรบั สมัครว่ิง ของนักว่ิง ซ่ึงปัจจุบันได้กลายเป็นส่ิงสาคัญเพราะการรับสมัครผ่านระบบนอกจากจะสามารถเก็บประวัตนิ ัก วิ่ง ข้อมูลส่วนตัวแล้วยังเป็นศูนย์รวมของคลังข้อมูล (Data Base) ของนักวิ่งทั่วประเทศท่ีสามารถนามา วิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytic) เพ่ือวางแผนทางการตลาดนักวิง่ ไดต้ ่อไป 10.2) ระบบการสื่อสารกับนักวงิ่ รวมถึงการรายงานผลสถิติการวิ่งของนักวิง่ แตล่ ะคนที่บันทกึ ข้อมูลใน แผ่นชิฟติดบนแผ่นป้ายเบอร์วิ่งของนักวิ่งแต่ละราย ผลที่รายงานจะแสดงให้เห็นถึงระยะทางท่ีนัก วง่ิ เลอื กว่งิ ระยะเวลาทใี่ ช้ไปในการเข้ารว่ มว่ิง 10.3) ระบบความปลอดภัยทางการแพทย์ ท่ีต้องมีการวางแผนอัตรากาลังให้เพียงพอในการ ให้บริการ บรรเทาอาการให้แก่นักว่งิ 10.4) ระบบการติดต่อประสานงานฉุกเฉิน (Incident command System) ด้วยการจัด กิจกรรมงานว่ิงเป็นการรวมกลุ่มนักว่ิงมาในพ้ืนที่เป็นจานวนมาก อีกท้ังเพื่อให้สามารถเข้าไปช่วยเหลือ นกั ท่องเทีย่ วในกรณที ไี่ ดร้ ับอบุ ตั เิ หตอุ ย่างรวดเร็วและทนั ท่วงที 10.5) การรกั ษาความปลอดภยั ถอื วา่ เปน็ ส่ิงสาคญั ท่ีอยู่ควบคู่กบั การจดั กจิ กรรมงานวิ่ง ดงั นั้น ระบบความปลอดภัยจะต้องออกแบบและให้บรกิ ารอย่างเพียงพอ ท้ังการรักษาความปลอดภัยในบริเวณจัด งานและพ้ืนท่ีที่ใช้จัดงานโดยรอบกาลังคนที่มีอยู่อาจจะไม่เพียงพอต่อจานวนผู้ใช้บริการ ผู้จัดงานอาจจะ ประกาศรบั สมัคร หรอื รับสมัครอาสาสมัครให้มาแลกเปล่ยี นเรียนรู้ในการทาสวนทาไร่ 10.6) การค้นหาข้อมูล ประวัติของนักวิ่ง ประสบการณ์ หรอื ข้อมลู สว่ นตัวของนักวง่ิ 10.7) การออกแบบระบบการวิ่งเสมือนจรงิ (Virtual Run) ในกรณีที่มีเหตอุ ันทาให้ไมส่ ามารถ เข้ารว่ มกจิ กรรมงานว่งิ ในสนาม การวง่ิ เสมอื นจริง 10.8) ระบบนาทางเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวและการบริการในพื้นท่ีจัดงานและพ้ืนที่ใกล้เคียง (GPS) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

30 รปู แบบของระบบนิเวศนข์ องธุรกิจการท่องเทยี่ วเชิงกฬี า ระบบนิเวศน์ของการท่องเที่ยวเชิงกีฬาในกลุ่มกิจกรรมงานว่ิง (Sport Tourism Business Eco System) ประกอบไปดว้ ยกลุ่มบุคคลและสภาพแวดล้อม 10 องค์ประกอบ ตามท่ีไได้แก่ ผ้จู ัดกิจกรรมงานวิ่ง ชุมชน/ท้องถ่ิน หน่วยงานภาครัฐ/วิสาหกิจ ลูกค้า/นักวิ่ง ผู้สนับสนุน/พันธมิตรร่วมจัด ผู้นาเสนอปัจจัย การผลิตในการทอ่ งเท่ยี วเชิงกีฬา ผใู้ ห้บรกิ ารการท่องเทีย่ วเชิงกีฬา เอกลกั ษณ์เชิงพน้ื ท่ี ผลติ ภณั ฑ์และการ บริการ และ ระบบเทคโนโลยี ซ่ึงจะต้องสร้างเครือข่ายและดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง เพราะหลังจากการจัด กจิ กรรมงานวิง่ จบส้นิ ลงแล้ว ประชาชนตา่ งกลบั ไปปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีอาชพี เดิม ดังน้ัน รูปแบบของการดาเนินธุรกิจการท่องเท่ียวเชิงกีฬา ตามระบบระบบนิเวศน์ของการท่องเท่ียว เชิงกีฬา (Sport Tourism Business Eco System) ต่างมีความเกื้อหนุนพึ่งพาอาศัยซ่ึงกัน และกัน อันจะ ทาให้เกิดความสมดุล ท้ังส่วนของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ดังเช่น การจัดกิจกรรมงานวิ่งนั้น ไม่เพียงแต่ ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มให้แก่กิจกรรมงานว่ิงในฐานะผลิตภัณฑ์การท่องเท่ียวเชิงกีฬาของชุมชน หรือ ก่อให้เกิด การจ้างงาน สร้างรายได้เพ่ิมข้ึน ในช่วงระยะเวลาของการจัดงานเท่านั้น แต่ยังสร้างผลลัพธ์ที่ดีต่อสังคม ให้ เกิดการพัฒนาชุมชนโดยชุมชน ได้อย่างย่ังยืน ดังภาพแสดงรูปแบบของระบบนิเวศน์ของธุรกิจการ ท่องเท่ยี วเชงิ กีฬา มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

31 ภาพท่ี 2.3 รปู แบบของระบบนเิ วศนข์ องธุรกิจการท่องเทยี่ วเชงิ กีฬา มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 32 สรุป ระบบนิเวศทางธุรกิจ คือ การรวมตัวกันเป็นระบบหรอื เป็นโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของธุรกิจ ที่สามารถอยู่รอดท่ามกลางการเปล่ียนแปลงของส่ิงต่าง ๆ ของส่ิงแวดล้อมทางธุรกิจ แล้วจึงค่อยอยู่รอด และสมดลุ ไปกบั สิ่งแวดล้อมหรือธรรมชาติ เช่นเดียวกับการดาเนนิ งานของการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ทีม่ ีมคี วาม สลับซบั ซ้อนและมลี ักษณะทแ่ี ตกตา่ งกันออกไปตามขนาด วธิ กี ารจดั และวตั ถปุ ระสงค์ของการจัดกจิ กรรม ดงั เช่น สมาคมจดั การกีฬาแห่งประเทศไทย (กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2562) ได้มีการจัดหมวดหมู่ ของกลุ่มท่ีมีลักษณะธุรกิจท่ีมีการเช่ือมโยงกันเป็นกลุ่มธุรกิจ (Cluster) 5 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ กลุ่มให้บริการ สถานบริการออกกาลังกายและสโมสรกีฬาสมัครเล่น กลุ่มให้บริการสื่อสารมวลชน ลิขสิทธ์ิทางการกีฬา และกีฬาอาชีพ กลุ่มวิทยาการทางการกีฬาและผู้ผลิตบุคลากรทางการกีฬา กลุ่มกีฬาเพื่อการท่องเที่ยว และการจดั การแขง่ ขัน และกล่มุ ผู้ผลติ ผคู้ ้า ผู้นาเขา้ และสง่ ออกทางการกฬี า ผลการวเิ คราะห์ดว้ ยแบบจาลอง Diamond Model ตามองคป์ ระกอบ 6 ดา้ น ได้แก่ โอกาส รัฐบาล กิจการโครงสร้างกลยุทธ์ เง่ือนไขอุปสงค์ อุตสาหกรรมสนับสนุน และ ปัจจัยนาเข้า มีสถานะท้ังที่เป็นเชิง บวกและเชงิ ลบ ทง้ั ในส่วนของสนิ ค้ากีฬา บรกิ ารดา้ นการกีฬา และ กิจกรรมการกีฬา โดยองคป์ ระกอบของ ระบบนิเวศน์ทางธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ประกอบด้วย 10 องค์ประกอบ คือ ผู้จัดกิจกรรมงานวิ่ง (Organizers) ชุมชน ท้องถ่ิน (Local Partners) หน่วยงานภาครัฐ (Sport Governments) ลูกค้า / นักว่ิง (Customer / Runner) ผู้สนับสนุน / พันธมิตรร่วมจัด (Sponsors / Partnerships) ผู้ให้บริการการ ท่องเท่ียวเชิงกีฬา (Sport Tourism Service Provider) ผู้นาเสนอปัจจัยการผลิตในการท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sports Input Providers) เอกลักษณ์เชิงพ้ืนท่ี (DNA Area) ผลิตภัณฑ์และการบริการ (Product Services) และระบบเทคโนโลยี (Technology) แบบฝกึ หัดทา้ ยบท 1. จงอธิบายความหมายระบบนเิ วศนข์ องธรุ กจิ การท่องเทย่ี วเชิงกฬี า 2. จงอธบิ ายองค์ประกอบของระบบนิเวศน์ของธรุ กจิ การท่องเท่ยี วเชิงกีฬา 3. จงอธิบายถึงผลการวเิ คราะห์ ทั้งท่ีเป็นเชิงบวกและเชิงลบ ตามแบบจาลอง Diamond Model ของ ธรุ กิจการท่องเทีย่ วเชงิ กีฬา 4. จงอธบิ ายรปู แบบของระบบนิเวศน์ของธุรกจิ การท่องเทย่ี วเชงิ กีฬา 5. จงวิเคราะห์รปู แบบของการดาเนนิ ธุรกจิ การท่องเท่ยี วเชิงกีฬา ตามา และเสนอแนะรปู แบบนเิ วศน์ ของการท่องเท่ยี วเชงิ กีฬา ที่ดีควรเป็นอย่างไร

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 33 บทที่ 3 การวเิ คราะห์พฤติกรรมของนักทอ่ งเทย่ี วเชิงกีฬา วตั ถุประสงค์ของการเรียนรู้ เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี น 1. สามารถอธบิ าย พฤตกิ รรมของนกั ทอ่ งเที่ยวเชงิ กีฬาในกลุ่มกจิ กรรมงานว่งิ ถนน 2. สามารถอธิบาย พฤตกิ รรมของนักท่องเทย่ี วเชงิ กีฬาในกลุ่มกจิ กรรมงานวง่ิ ผจญภยั 3. สามารถอธิบาย พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชงิ กีฬาในกลุ่มกิจกรรมงานปนั่ จกั รยานทางเรยี บ 4. สามารถอธิบาย พฤติกรรมของนักท่องเทย่ี วเชิงกีฬาในกลุ่มกจิ กรรมงานจักรยานเส้นทางผจญภัย 5. สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมของนักท่องเท่ียวเชิงกีฬา มาประยุกต์ใช้กับแนวทางการจัดการธุรกิจ การท่องเท่ยี ว การทราบถึงพฤติกรรมของนักท่องเท่ียวกลุ่มเป้าหมายจะทาให้ผู้จัดกิจกรรมงาน กีฬาสามารถ ออกแบบรูปแบบการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการ พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวในแต่ละกลุ่ม กิจกรรมได้อย่างมีความหมาย ด้วย พฤติกรรม เป็นการแสดงออกของบุคคลท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว มักเกี่ยวข้องกับการมีปฏสิ มั พันธ์กันระหว่างความรู้สึกนึกคิด การกระทาของตวั นักท่องเท่ียวกับภาวะแวดล้อมภายนอก ดังเช่น ยุวดี นิรัตน์ตระกูล (2557) ได้ให้ความหมายของ นักท่องเท่ียวคุณภาพ คือ นักท่องเที่ยวท่องเท่ียวกลุ่มเป้าหมายทม่ี ีการใช้จ่าย ในระหว่างการเดินทางสูงกวา่ นักท่องเที่ยวกลุ่มท่ัวไป สามารถจับจ่ายสินค้าทางการท่องเที่ยวตามท่ีต้องการ ได้รวมถึงการต้ังสมมุติฐานท่ี เชื่อว่านักท่องเท่ียวกลุ่มน้ีมีการพัฒนาคุณภาพพฤติกรรมระหว่างการเดินทางท่องเท่ียวมากกว่ากลุ่มทั่วไป ท่ี ไม่กอ่ ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมทั้งด้านธรรมชาติ สังคมและวฒั นธรรม นักท่องเท่ียวคณุ ภาพ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) กลุ่ม Reformer (ผู้รังสรรค์ตนเองและโลกให้ดีกว่าเดิม) มีพฤติกรรม คือ เป็นกลุ่มคนท่ีมีความ เติบโต ของความคิด สร้างมุมมองใหม่ ให้กับโลกและสังคม ต้องการ เรียนรู้ส่ิงใหม่ และการค้นหา เพื่อเป็น ประสบการณ์ ทาให้เวลา มีความสาคัญมากกว่าเงิน นิยมวัดความสาเร็จจากคุณค่าภายใน ที่ไม่ใช่แค่เปลือก นอกอยา่ งมรี สนยิ ม ดงั น้นั การกาหนดกลยทุ ธเ์ พ่อื ใหเ้ หมาะสมกบั กลมุ่ นกั ท่องเทย่ี วกลุม่ นี้ คอื 1.1) กลยุทธ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ (Medical Tourism) สาหรับนักท่องเที่ยว ศกั ยภาพสงู จากประเทศเมียนมาร์ ลาว กมั พูชา เวยี ดนาม และบรไู น

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 34 1.2) กลยุทธ์เพ่ือส่งเสริมการท่องเท่ียวแบบหรูหรามีเกียรติ สะดวกสบายสาหรับผู้นับถือศาสนา อิสลาม (The Thai Sensation of Prestige) สาหรับนักท่องเท่ียวศักยภาพสูงจากประเทศมาเลเซีย และ อนิ โดนีเซีย 1.3) กลยุทธ์เพ่ือส่งเสริมการท่องเท่ียวที่เน้นความหลากหลายของกิจกรรมต่าง ๆ ในประเทศ ไทย (Experience the Local Chic) สาหรับนักท่องเท่ียวศกั ยภาพสูงจากประเทศสงิ คโปร์ และฟลิ ปิ ปนิ ส์ 2) กลุ่ม Succeeder (ผู้คว้าชัย) คือ ผู้ท่ีมีการกาหนดเป้าหมายการดารงชีวิต เชื่อม่ันใน ความสามารถของตน เพื่อชีวิตท่ีม่ันคง จึงทางานหนัก โดยไม่ลืมให้รางวัลกับตนเองด้วยสิ่งที่ดีท่ีสุด ดังนั้น การกาหนดกลยุทธ์เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั กลุ่มนักท่องเท่ียวกลุ่มน้ี คอื 2.1) กลยุทธ์หลักของนักท่องเท่ียวศักยภาพสูงกลุ่ม Succeeder เน้นการนาเสนอสถานที่ ท่องเที่ยว ท่ีพัก สินค้า และบริการระดับหรูหรา โดยเน้นการส่ือสารไปในทาง Exclusive หรือเป็นส่ิงท่ีมอบ ใหก้ ับลกู ค้าคนสาคญั เท่านนั้ 2.2) นักท่องเทีย่ วศกั ยภาพสงู กลมุ่ Succeeder จากประเทศฟลิ ิปปนิ สท์ ีช่ ่ืนชอบการชอ้ ปปิ้ง กล ยทุ ธ์จะเนน้ ไปทางการแสวงหาแหลง่ ช๊อปปิง้ หลากหลายสไตล์ มรี ้านคา้ และร้านอาหารให้เลือกมากมาย ท้งั ในพ้นื ทก่ี รุงเทพฯ และต่างจังหวดั เช่น ตลาดนา้ อัมพวา Asiatique ตลาดนัดจตจุ ักร ไปจนถงึ ศนู ยก์ ารค้าท่ีมี รา้ นค้าระดับไฮเอนดแ์ ละสินคา้ แบรนดเ์ นม อย่างเกษรพลาซา สยามพารากอน และเซ็นทรัลเวิลด์ 2.3) ส่วนนักท่องเท่ียวศักยภาพสูงกลุ่ม Succeeder จากประเทศลาว และกัมพูชาที่ช่ืนชอบ กิจกรรมทางทะเล กลยุทธ์จะเน้นไปท่ีการโปรโมทสถานท่ีท่องเท่ียวทางทะเล และแหล่งดาน้า รวมท้ังที่พัก โรงแรม และรีสอร์ตระดับหรูหรา Pool Villa เน้นการสื่อสารในเชิงการให้รางวัลกับชีวิตที่คุ้มค่าและ ตอบสนองมติ ทิ างอารมณ์ถงึ ขดี สดุ ของผู้ท่ีมสี ถานะทีเ่ หนือช้ันและประสบความสาเร็จในชีวติ 2.4) ส่วนนักท่องเท่ียวศักยภาพสูงกลุ่ม Succeeder จากประเทศอินโดนีเซีย เวียดนาม เมียนมาร์ บรูไน และมาเลเซีย นั้นค่อนข้างคล้ายคลึงกันในแง่มุม ของความเป็นผู้เหนือชั้น สาหรับ นักท่องเที่ยวศักยภาพสงู กลมุ่ Succeeder ชาวสิงคโปร์ ซึ่งไม่ได้มองประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเท่ยี วระดับ หรูหรานั้น กลยุทธ์หลักคือการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว ที่พัก สินค้า และบริการ ระดับไฮเอนด์โดย เน้นการสือ่ สารในเชิง ‘ความหรูหราที่คุณภาพคุม้ ค่ามากกว่าเงนิ ทจ่ี า่ ยไป 3) กลุ่ม Mainstream (ครอบครัวที่อบอุ่น ม่ันคง) คือ กลุ่มคนที่มี ความม่ันคงในชีวิต เกิดจาก ครอบครัวท่ีอบอุ่น ใช้ชีวิตตามกฎเกณฑ์ ไม่ชอบการสุ่มเส่ียงใด ๆ เน้นความปลอดภัยของครอบครัวและ ทรัพย์สิน ให้ความสาคัญและระมัดระวังกับการใช้จ่ายและราคาสินค้า ดังน้ันการกาหนดกลยุทธ์เพื่อให้ เหมาะสมกับกลมุ่ นกั ท่องเที่ยวกลุ่มน้ี คอื

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 35 3.1) ให้ความสาคัญกับความสะดวกสบาย และความปลอดภัยในการเดินทางท่องเท่ียว แต่ก็ ไม่ได้ใชเ้ งินฟมุ่ เฟอื ยจนเกินไป การเสนอสินคา้ และบริการทใี่ หค้ วามร้สู ึกคุ้มคา่ คุ้มราคาจงึ เป็นสิ่งสาคัญ 3.2) การประชาสัมพันธ์กิจกรรมการท่องเท่ียวและสถานท่ีท่องเที่ยวซ่ึงเหมาะกับ ครอบครัว และการจดั เตรียมสาธารณูปโภค ส่ิงอานวยความสะดวกของการทอ่ งเทยี่ วเปน็ หมู่คณะ 3.3) นักท่องเท่ียวกลุ่ม Mainstream ชาวอินโดนีเซียที่นิยมเดินทางเป็นหมู่คณะหรือหลาย ครอบครัว เหมาะกับการนาเสนอภาพลักษณ์การท่องเท่ียวที่สนุกสนานสาหรับทุกคนในครอบครัว รวมท้ัง ความสะดวกสบายทั้งการเดินทาง สาธารณูปโภค และการช้อปปิ้งท่ีมีสินค้าคุณภาพดีในราคาท่ีเหมาะสม รวมท้ังส่งเสริมภาพลักษณ์ด้านแหล่งท่องเที่ยวที่มีความเป็นกลางทางศาสนา และนาเสนอวัฒนธรรมที่ แตกตา่ ง แตส่ ามารถอยู่รว่ มกนั อย่างเป็นสุข 3.4) นักท่องเที่ยวกลุ่ม Mainstream ชาวบรูไน สาหรับกลุ่ม ท่ีนิยมกิจกรรมการดูแลสุขภาพ แบบองคร์ วม และกิจกรรมสปา รวมถึงแหล่งทอ่ งเที่ยวทางธรรมชาติท่ีสวยงาม ควรส่งเสรมิ โดยกลยทุ ธแ์ หล่ง ทอ่ งเท่ียวและสถานบรกิ ารการดแู ลสขุ ภาพแบบองค์รวมระดบั ไฮเอนด์ ในส่วนของนักท่องเที่ยวกลุ่ม Mainstream จากประเทศ อื่น ๆ ท่ีอาจมาเที่ยวกับเพื่อนๆ หรือ คน รัก เช่น กลุ่ม Mainstream ชาวสิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ กัมพูชา ลาว เวียดนาม เมียนมาร์ และมาเลเซีย เหมาะ กบั การปรบั ใชก้ ลยุทธ์ท่ีเน้นกจิ กรรมใหม่ๆ ในประเทศไทยท่ีมี ทง้ั ความหลากหลายและโดดเด่น ไมว่ า่ จะเป็น แหล่งท่องเท่ียวใหม่ๆ ท่ียังไม่เป็นท่ีรู้จักของนักท่องเที่ยวประเทศดังกล่าว รวมทั้งเทศกาลหรือประเพณีไทย เช่น สงกรานต์ ลอยกระทง หรือกิจกรรมใหม่ๆ เช่น คอร์สเรียนมวยไทย คอร์สสอนทาอาหารไทย เป็นต้น รวมทัง้ สินคา้ และแหลง่ ช้อปปง้ิ หลากหลายระดบั ต้งั แตศ่ นู ยก์ ารค้าถงึ ตลาดท้องถิ่น ดังนั้นจากการศึกษาค้นคว้าถึงพฤติกรรมของนักท่องเท่ียวในกลุ่มกีฬา พบว่า มีพฤติกรรมท่ี หลากหลาย จาแนกไปตามลักษณะของแต่ละประเภทกีฬา ในตาราเล่มน้ี จึงขอนาเสนอพฤติกรรมของ นักท่องเท่ยี วเชิงกฬี าในกลุ่มกจิ กรรมงานวงิ่ ถนน วิ่งผจญภัย การปั่นจักรยานทางเรียบ และการปน่ั จกั รยาน ผจญภยั ซึ่งมรี ายละเอียดตอ่ ไปน้ี พฤตกิ รรมของนกั ท่องเทยี่ วเชงิ กีฬาในกลมุ่ กจิ กรรมงานวิ่งถนน ผลการศึกษาถึงพฤติกรรมของนักท่องเท่ียวเชิงกีฬากลุ่มกิจกรรมงานว่ิงถนน ผู้เขียนตารา ในฐานะ คณะนักวิจัย (สัจจา ไกรศรรัตน์ และคณะ, 2563) ได้ทาการเก็บข้อมูล พฤติกรรมนักว่ิงจากการจัดงานว่ิง ประเภทการวง่ิ ถนน (Road Race) กจิ กรรมงานว่ิงมาราธอน บางแสน42 ชลบุรีมาราธอน 2020 ในระหว่าง วันท่ี 7 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 พบว่า มีนักวิ่งและผู้ติดตามมาร่วมกิจกรรมงานว่ิงประมาณ 6,500 คน ผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน 734 คน จาแนกเป็น

36 ประเภท นกั วิง่ (คน) ผตู้ ดิ ตาม (คน) รวม (คน) วิ่งระยะ 42.195 (คน) 463 187 650 วง่ิ การกุศล (Charity) (คน) 71 13 84 รวม (คน) 534 200 734 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงพบว่า ขอ้ มลู ทวั่ ไปสว่ นใหญเ่ ป็นเพศชาย (รอ้ ยละ 72.40) มอี ายุระหว่าง 35-39 ปี (รอ้ ยละ 27.67) ระดับการศึกษาปริญญาตรี (ร้อยละ 58.60) ส่วนใหญ่เดินทางมาจากกรุงเทพมหานคร (ร้อยละ 33.85) ประกอบอาชีพหลักเป็นพนักงานเอกชน/รัฐวิสาหกิจ(ร้อยละ 56.40) มีรายได้ส่วนตัวต่อเดือนระหว่าง 15,001 – 30,000 บาท (ร้อยละ 31.90) วัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อเข้าร่วมว่ิง (ร้อยละ 83.80) ส่วนใหญ่มี ประสบการณ์วิ่งมาราธอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี (ร้อยละ 27.90) นักว่ิงและผู้ติดตามนิยมเดินทางโดย รถยนต์ส่วนตัว (ร้อยละ 87.90) ช่องทางการรับรู้ข่อมูลข่าวสารผ่านส่ือออนไลน์มากท่ีสุด (ร้อยละ 49.90) โดยส่ือสารผ่าน Facebook (ร้อยละ 95.20) และนักว่ิงต่างเดินทางมาร่วมว่ิงอย่างเดียว (ร้อยละ 45.00) มี การใช้จ่ายต่อคนต่อคร้ังประมาณ 5,726.33 บาท การจัดกิจกรรมงานวิ่ง ครั้งนี้ ได้สร้างมูลค่าเพ่ิมทาง เศรษฐกิจในพื้นท่ีจากการใชจ้ ่ายของนักว่ิงและผู้ติดตามท้ังหมดท่ีเข้ารว่ มกิจกรรมงานวง่ิ มาราธอน บางแสน 42 ชลบรุ มี าราธอน 2020 จานวน 279,019,997.63 บาท ดงั ภาพ

37 ภาพที่ 3.1 ขอ้ มูลส่วนบุคคลของนักว่งิ และผูต้ ดิ ตามในงานบางแสน 42 ที่มา สจั จา ไกรศรรัตนแ์ ละคณะ (2563) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 38 ภาพที่ 3.2 พฤติกรรมนกั วิ่งและผู้ติตดามในการจดั งานวิ่งบางแสน 42 ทมี่ า สจั จา ไกรศรรัตน์และคณะ (2563)

39 พฤติกรรมของนักทอ่ งเทยี่ วเชงิ กฬี าในกลุ่มกจิ กรรมงานว่ิงผจญภัย ผลการศึกษาพฤติกรรมของนักวิ่งและผู้ติดตามนักว่ิงท่ีเดินทางมาร่วมกิจกรรมงานว่ิง งานวิ่ง ประเภทตามภูมภิ าค (Trail Race) กจิ กรรมงานว่งิ THAILAND ดอยอินทนนท์ BY UTMB 2020 ระว่างวันท่ี 30 ตลุ าคม – 1 พฤศจิกายน 2563 อทุ ยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จงั หวดั เชียงใหม่ โดยคณะนักวิจัยร่วมกับ บริษัท Running Connect จากัด พบว่า การจัดกิจกรรมงานว่ิงเทรล UTMB มีผู้สมัคร 1,837 คน และมี ผู้ติดตามประมาณ 4,427 คน ส่งผลให้การจัดกิจกรรมคร้ังน้ีมีนักท่องเที่ยวเดินทางมาในพ้ืนที่ ไม่น้อยกว่า 6,264 คน ที่มีการใช้จ่ายต่อคนต่อครั้ง ประมาณ 20,515.77 บาท ส่งผลให้ในภาพรวมเกิดมูลค่าการใช้จา่ ย โดยรวมของกลุ่มนักวง่ิ และกลุ่มผู้ติดตาม ประมาณ 128,514,295.30 บาท จาแนกเปน็ มูลค่าการใช้จ่ายของ กลุ่มนักว่ิง ประมาณ 27.00 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 21.01 และมูลค่าการใช้จ่ายของกลุ่มผู้ติดตาม ประมาณ 101.50 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 78.99ผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน 227 คน พบวา่ ข้อมลู ทว่ั ไป ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 59.47) มีอายุระหว่าง 20-29 ปี (ร้อยละ 48.90) ระดับการศึกษาต่ากว่า ปรญิ ญาตรี (รอ้ ยละ 60.79) สว่ นใหญ่เดนิ ทางมาจากกรงุ เทพมหานคร (รอ้ ยละ 42.73) ประกอบอาชีพหลัก เป็นพนักงานเอกชน (ร้อยละ 48.46) มีรายได้ส่วนตัวต่อเดือนระหว่าง 15,001 – 30,000 บาท (ร้อยละ 27.75) วัตถปุ ระสงค์หลัก คอื เพื่อเขา้ รว่ มวิง่ เทรล (ร้อยละ 34.82) ส่วนใหญม่ ปี ระสบการณ์วิ่งเทรลมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี (ร้อยละ 28.63) นักว่ิงและผู้ติดตามนิยมเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว (ร้อยละ 55.07) ช่อง ทางการรับรู้ข่อมูลข่าวสารผ่านส่ือออนไลน์มากท่ีสุด (ร้อยละ 60.11) โดยสื่อสารผ่าน Facebook (ร้อยละ 72.29) และนักว่งิ ตา่ งเดนิ ทางมาร่วมว่งิ อยา่ งเดียว (ร้อยละ 43.43) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง 40 ภาพที่ 3.3 ข้อมูลนกั ว่ิงในงาน UTMB ปี 2020 ทมี่ า สัจจา ไกรศรรัตนแ์ ละคณะ (2563)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook