Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-07-20 04:11:13

Description: สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
(สำนักงาน กปร.)
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

พระเมตตาและสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกับการแก้ไข ปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนเป็นอย่างมาก ถึงกบั เคย ทรงนา� เกลอื ผสมไอโอดนี ขนึ้ เฮลคิ อปเตอรไ์ ปทรงแจก ประชาชนในถิ่นทรุ กันดารมาแล้วหลายคร้ัง เมื่อวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๓๖ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�าเนินไปเย่ียม ชมกิจกรรมของวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ ซ่ึงในการ นี้ได้ทอดพระเนตรการสาธิตการท�างานของเครื่อง ผสมเกลือไอโอดีน ซ่ึงทางวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ ได้ผลติ ขน้ึ และน้อมเกล้าฯ ถวายสมเดจ็ พระเทพรตั น ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อพระราชทานให้ แก่จงั หวัดต่างๆ ในภาคเหนือที่ราษฎรประสบปัญหา ของการขาดสารไอโอดีน 247

มาจากแหลง่ ใด กน็ า่ ท่จี ะนา� เอาไอโอดนี ไปผสมกบั แหลง่ ผลติ ตน้ ทางเกลอื เสยี เลยทเี ดยี ว...” พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ไดพ้ ระราชทาน วธิ กี ารดา� เนนิ การตามแนวพระราชดา� ริ พระราชด�ารวิ ่า “เส้นทางเกลอื ” “...ให้พิจารณาแก้ไขปัญหาของการขาดสาร ๑. ศกึ ษาและหาแนวทางการแกไ้ ขปญั หาการ ไอโอดนี ของราษฎรโดยการสา� รวจพ้นื ทใ่ี นแตล่ ะพ้นื ท่ี ขาดแคลนสารไอโอดนี โดยการคน้ หา “เสน้ ทางเกลอื ” ถึงปญั หา และความตอ้ งการเกลอื ซ่งึ แตล่ ะทอ้ งถน่ิ ต้ังแต่แหล่งผลติ จนถงึ ผู้บรโิ ภค ที่จะมีปัญหาและความต้องการไม่เหมือนกัน โดยเฉพาะต้องส�ารวจ “เส้นทางเกลือ” ว่าผลิต ๒. น�าไอโอดีนไปผสมที่แหล่งผลติ หรือแหล่ง จัดจ�าหน่ายโดยเติมให้ฟรีก่อน หากภายหลงั พ่อค้า และภาคเอกชนเกิดศรทั ธาสมทบกส็ ามารถทา� ได้ ๓. หากบางท้องที่ไม่อาจเติมไอโอดีนท่ีแหล่ง ต้นทางได้ ทรงแนะน�าว่าควรน�าเครื่องเกลือผสม ไอโอดีนไปบริการในลักษณะหน่วยบริการเคล่ือนที่ เข้าไปในหมู่บ้านต่างๆ กล่าวคือ ใครมีเกลืออยู่แล้วก็ ผสมให้ฟรี หรืออาจเอาเกลอื ธรรมดามาแลกกบั เกลือ ผสมไอโอดีนกไ็ ด้ 248

๔. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงก�าหนด ให้ใช้อ�าเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นอ�าเภอ ต้นแบบในการศึกษาแก้ไขปัญหาการขาดแคลนสาร ไอโอดีนว่ามี “เสน้ ทางเกลอื ” มาจากแหล่งใด ผลการส�ารวจ “เสน้ ทางเกลือ” เสน้ ทางเกลอื ท่ไี มผ่ สมไอโอดนี มแี หลง่ ผลติ และจ�าหน่ายที่ส�าคัญ รวม ๔ เส้นทางคือ จากการค้นคว้า “เสน้ ทางเกลอื ” ตงั้ แตเ่ ดอื น เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นต้นมา สรปุ ได้ว่า ส่วนที่ ๑ : จากจังหวัดสมุทรสาคร เป็น แหล่งรวมเกลอื สมุทรจากเพชรบุรแี ละสมุทรสงคราม ๑. เกลอื ผสมไอโอดนี ส่วนใหญ่เป็นเกลือป่น ส่งไปยงั ตัวเมอื งเชยี งใหม่ และส่งขายต่อร้านค้าย่อย ๒. เกลอื ท่ีไม่ได้ผสมสารไอโอดีนเพ่ิมเข้าไป ในอ�าเภอสะเมงิ จะมที งั้ เกลือป่นและเกลือเมด็ เกลือปน่ ส่วนใหญ่เป็นเกลือสินเธาว์จากภาค ส่วนที่ ๒ : พ่อค้าเชียงใหม่ซื้อตรงจาก ตะวันออกเฉยี งเหนือ และเกลอื เม็ด ส่วนใหญ่เป็น สมุทรสาคร โดยรถสิบล้อบรรทุกขึน้ มาแล้วบรรจใุ ส่ เกลอื สมทุ รจากสมทุ รสงคราม สมทุ รสาคร และเพชรบรุ ี ซองพลาสตกิ ใส นา� ขน้ึ รถปคิ อพั เรข่ ายในอา� เภอสะเมงิ และพนื้ ท่ใี กล้เคยี ง ส่วนท่ี ๓ : พ่อค้าจากมหาสารคาม มกี าร ซอื้ เกลอื สนิ เธาวป์ น่ แถบอา� เภอบา้ นดงุ จงั หวดั อดุ รธานี และย่านหนองกวั่ง อ�าเภอบ้านม่วง จงั หวัดสกลนคร มาบรรจุซองท่ีจังหวัดมหาสารคาม แล้วน�าเกลอื ไป เร่ขายทั่วประเทศโดยใช้รถหกล้อ ซ่ึงมีการส่งขายถงึ เชียงใหม่และเข้าสู่อา� เภอสะเมิงในท่สี ุด สว่ นท่ี ๔ : จากกรงุ เทพมหานคร โดยพ่อคา้ รายใหญ่จัดส่งไปขายที่เชียงใหม่และแถบใกล้เคียง โดยใช้เกลอื สมุทรธรรมดา 249

เส้นทางเกลอื อันเนื่องมาจากพระราชด�าริน้ีได้ วธิ กี ารผลติ เกลอื เสรมิ ไอโอดนี หรอื เป็นแม่บทท่ีน�ามาใช้ในการเป็นต้นแบบวิธีการเติม เกลืออนามยั สารไอโอดีนจากแหล่งต้นทางการผลติ ทั่วทั้งประเทศ ในเวลาต่อมา โดยปกตแิ ลว้ คนเราตอ้ งการธาตไุ อโอดนี วนั ละ ประมาณ ๑๐๐ - ๑๕๐ ไมโครกรัม ในปริมาณเกลอื ท่ีบริโภคต่อวนั เฉลี่ย ๕.๔ กรมั อตั ราสว่ นเกลือไอโอดีน ๑. ต้องใช้ปริมาณไอโอเดทท่ีเสริมในเกลือ อัตราส่วน ๑ : ๒๐,๐๐๐ โดยน�า้ หนัก ๒. เกลอื ๑ กโิ ลกรมั ต้องเสรมิ โปแตสเซยี มไอ โอเดท ๕๐ มิลลกิ รมั เพอื่ ให้ผ้บู รโิ ภคได้รบั ไอโอดนี วนั ละ ๑๕๐ ไมโครกรัมต่อคนต่อวนั ๓. โปแตสเซียมไอโอเดท ๑ กิโลกรัม ผสม เกลอื ได้ ๑๘ ตนั ซง่ึ มีหลายวธิ กี าร ดังนี้ ก. การเสริมไอโอดีนในเกลือโดยใช้วิธีผสม เปียก โดยการใช้ผงไอโอเดตปริมาณ ๒๕ กรมั ผสม กับนา้� จา� นวน ๑ ลิตร ซึ่งผลการทดลองของวิทยาลัย เทคนิคสกลนครสามารถผลติ เกลือผสมไอโอดีนได้ คร้ังละ ๖๐ กิโลกรัม โดยการพ่นฉดี แต่ละครง้ั จะใช้ ไอโอดนี น้า� ผสมประมาณคร้ังละ ๒๐๐ ซซี .ี ต่อเกลือ จ�านวน ๖๐ กโิ ลกรัม ซึ่งพบว่าได้ความเข้มข้นของ ไอโอดีนสมา�่ เสมอดี ข. การเสริมเกลือไอโอดนี แบบผสมแห้ง เป็นเครื่องผสมเกลือไอโอดีนที่ด�าเนินการ ได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสงู โดยใช้วิธีผสมแห้งและ ใช้หลักการท�างานของเคร่อื งผสมทรายหล่อ และ หลกั การทา� งานของเครอ่ื งไซโลผสมอาหารสตั วม์ าเปน็ การทา� งานของเครอ่ื งผสมเกลอื ไอโอดนี ซงึ่ ใช้สะดวก กะทัดรัด ประหยัด ผสมได้ครั้งละ ๖๐ กิโลกรัม โดยใช้ใบกวนหมุนภายในถังที่ตรึงอยู่กับที่ โดยให้ ความเรว็ ของการหมนุ ใบกวนสัมพนั ธก์ บั ลกั ษณะของ ใบกวนที่วางใบให้เป็นมุมเอียง เพื่อให้เกลือไหลและ 250

เกิดการพลกิ ตลอดเวลา ใช้เวลาในการคลกุ ๒ นาที โดยการหมนุ ทวนเข็มนาฬิกา ในกรณที มี่ คี วามประสงคจ์ ะผสมเกลอื ไอโอดนี ดว้ ยตนเอง กส็ ามารถท�าไดใ้ นอัตราสว่ นดงั กลา่ ว โดย ใช้กระบะและไม้พายผสมโดยใช้แรงคนใช้เวลาผสม ประมาณ ๒๐ - ๓๐ นาที หรอื นานกว่า จึงจะได้ ส่วนผสมท่ใี ช้การได้ เส้นทางเกลือจึงนับเป็นพระมหากรุณา ธคิ ุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้ทรง ห่วงใยในทุกวิถีแห่งการด�ารงชีพของมวล พสกนกิ รท้งั หลายโดยแท้ 251

แนวคดิ การพฒั นาเพอ่ื พึง่ ตนเองของเกษตรกร อนั เนือ่ งมาจากพระราชด�าริ (Self Reliance) แนวพระราชด�าริเก่ียวกบั การส่งเสริมชุมชน ในการพัฒนาทั้งด้านอาชีพและส่งเสริม หรอื การพัฒนาชนบทท่ีสา� คัญๆ คือ การที่ทรงมุ่ง การเกษตรให้เกษตรกรสามารถด�ารงชีพอยู่ได้อย่าง ช่วยเหลอื พัฒนาให้เกดิ การพ่ึงตนเองได้ของคนใน มัน่ คง เป็นปึกแผ่นน้ัน พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ชนบทเป็นหลกั กจิ กรรมและโครงการตามแนว ทรงด�าเนินการแนะน�าสาธิตให้ประชาชนด�าเนินรอย พระราชด�าริที่ด�าเนินการอยู่หลายพ้ืนที่ท่ัวประเทศ ตามเบื้องพระยคุ ลบาทเป็นไปตามหลกั การพัฒนา ในปัจจุบันน้ันล้วนแล้วแต่มีเป้าหมายสุดท้ายอยู่ท่ี สงั คมชมุ ชนอยา่ งแทจ้ รงิ กลา่ วคอื ทรงมงุ่ ชว่ ยเหลอื การพงึ่ ตนเองได้ของราษฎรทงั้ สิ้น พฒั นาใหเ้ กดิ การพ่งึ ตนเองไดข้ องคนในชนบทเปน็ หลกั 252

ดงั นนั้ การทร่ี าษฎรในชนบทสามารถพงึ่ ตนเอง ได้มากย่งิ ข้ึนน้ัน สืบเน่ืองจากแนวพระราชด�ารดิ ้าน การพัฒนาทที่ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม พระราชทานแก่เกษตรกรทงั้ หลาย หลายประการ วิธีการพฒั นา ๑. ทรงยึดหลักทีไ่ ม่ใช้วิธกี ารสัง่ การให้ เกษตรกรปฏิบตั ติ าม เพราะไม่อาจช่วยให้คน เหล่านั้นพ่งึ ตนเองได้ เน่ืองจากเป็นการปฏิบตั ิงาน โดยไม่ได้เกิดจากความพงึ พอใจ ดังพระราชด�ารัส ความตอนหน่ึงว่า “...ดา� ริ คือ ความเห็นที่จะท�า ไม่ใช่ค�า สัง่ แต่มันเป็นความเห็น มีทฤษฎีอะไรต้องบอก ออกมา ฟงั ไดฟ้ งั ชอบใจกเ็ อาไปได้ ใครไมช่ อบใจ กไ็ ม่เปน็ ไร...” “...เมอื งไทยนีจ้ ะเป็นแห่งหนง่ึ ท่ีจะอยู่ได้ ถ้าช่วยกนั คิดช่วยกันทา� มีอะไรที่เป็นปัญหา ให้แก้ไขปัญหานั้น...” 253

“...หลักการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญจะต้องใช้การทา� งาน ๒ อย่าง โครงการพ้นื ฐานแบบชาวบ้านกบั โครงการวทิ ยาการชนั้ สงู ...” ๒. ทรงเน้นให้พึง่ ตนเองและช่วยเหลือ ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ ด้วยการ ตนเองเปน็ หลกั สา� คญั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ด�าเนินการเช่นนั้นจักช่วยให้ประชาชนสามารถช่วย มกั จะทรงทา� หนา้ ทกี่ ระตนุ้ ใหเ้ กษตรกรทงั้ หลายคดิ หา เหลอื ตนเองไดใ้ นทสี่ ดุ ดงั เคยมพี ระราชดา� รัสในโอกาส ลทู่ างทจ่ี ะชว่ ยตนเอง พงึ่ ตนเองโดยไมม่ กี ารบงั คบั การ วนั ขน้ึ ปใี หม่ ๓๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ กบั ประชาชน แสวงหาความร่วมมือจากภายนอกต้องกระท�าเม่ือ ชาวไทยท้งั หลายว่า จา� เป็นจริงๆ ดงั พระราชดา� รัสตอนหน่งึ ที่ว่า “...ภาระในการบริหารนัน้ จะประสบผล “...คนทุกคน ไมว่ ่าชาวกรงุ หรอื ชาวชนบท ด้วยดีย่อมต้องอาศัยความรักชาติ ความ ไม่ว่ามีการศกึ ษามากหรือน้อยอย่างไร ย่อมมี ซือ่ สัตย์สุจริต ความสมัครสมานกลมเกลียวกัน จิตใจเป็นอิสระ มีความคิดเห็น มีความพอใจ ประกอบกับการร่วมมือของประชาชนพลเมือง เป็นของตนเอง ไม่ชอบการบงั คับ นอกจากนัน้ ทั่วไป ข้าพเจ้าจึงหวังว่าท่านทัง้ หลายคง ยังมีขนบธรรมเนียม มีแบบแผนเฉพาะเหล่า จ ะ พ ย า ย า ม ป ฏิ บั ติ ก ร ณี ย กิ จ ใ น ส ่ ว น ข อ ง กนั อกี ด้วย...” แต่ละท่านด้วยใจบริสุทธิ์ โดยค�านึงถึง ประโยชน์ส่วนรวม ทัง้ นีเ้ พื่อได้มาซึ่งความ ๓. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ร่มเย็นเป็นสุขของประชาชนทัว่ ไปอันเป็น ใช้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน (People ยอดปรารถนาด้วยกันทัง้ สิน้ ...” Participation) เป็นจุดหลักส�าคัญในการพัฒนา 254

๔. หลักส�าคัญอีกประการหนึง่ ในการ ในสังคมวิทยา ภูมิประเทศทางสังคมวิทยาคือ แนะน�าประชาชนเกีย่ วกับโครงการอันเนื่อง นสิ ยั ใจคอของคนเราจะไปบงั คบั ใหค้ นคดิ อยา่ งอ่นื มาจากพระราชดา� ริ คอื ทรงใชห้ ลกั ประชาธปิ ไตย ไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้วเราเข้าไปดูว่า เขา ในการดา� เนินการ เห็นได้ชัดเจนในทุกคราที่เสด็จ ต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจ พระราชด�าเนินไปทรงเย่ียมเยยี นประชาชนและ หลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์ เกษตรกรร้องทุกข์เก่ียวกับปัญหาท่ีเกดิ ข้ึน หาก อยา่ งย่ิง...” เจ้าหน้าที่ทักท้วงส่ิงใดทางวิชาการ กราบบังคมทูล แล้วกท็ รงรบั ฟังข้อสรุปอย่างเป็นกลาง หากสิ่งใดที่ ๖. พระราชด�าริท่ีส�าคัญประการหนึง่ คือ เจ้าหน้าที่กราบบงั คมทูลว่าปฏิบตั ิได้ แต่ผลลพั ธ์ การสร้างความแข็งแรงให้ชุมชน ด้วยการสร้าง อาจไม่คุ้มค่ากับเงินท่ีลงไป พระบาทสมเด็จ โครงสร้างพื้นฐานหลักที่จ�าเป็นต่อการผลิต อัน พระเจ้าอยู่หัวกท็ รงให้เปล่ยี นแปลงโครงการได้เสมอ จะเป็นรากฐานน�าไปสู่การพ่ึงตนเองได้ในระยะยาว เหน็ ไดช้ ดั เจนจากพระราชดา� รสั ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนา โครงสร้างพ้ืนฐานทส่ี า� คัญ คือ แหล่งน้�า เพราะเป็น อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�าริว่า ปจั จยั สา� คญั ทจี่ ะทา� ใหเ้ กษตรกรสว่ นใหญท่ ต่ี อ้ งพงึ่ พา อาศัยน้�าฝนจักได้มีโอกาสที่จะมีผลิตผลได้ตลอดปี “...เปน็ สถานทที่ ผ่ี ทู้ า� งานในดา้ นพฒั นาจะ ซงึ่ เปน็ เงอ่ื นไขปจั จยั สา� คญั ยงิ่ ทจี่ ะทา� ใหช้ มุ ชนพง่ึ ตนเอง ไปท�าอะไรอย่างทีเ่ รียกว่า “ทดลอง” ก็ได้ และ ได้ในเร่ืองอาหารได้ระดบั หน่ึง และเมอ่ื ชมุ ชนแขง็ แรง เมือ่ ทดลองแล้วจะท�าให้ผู้อื่นทีไ่ ม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ พร้อมดีแล้ว ก็อาจจะมีการสร้างโครงสร้างพ้ืนฐาน ในวิชานัน้ สามารถเข้าใจว่าเขาท�ากนั อย่างไร อ่ืนๆ ที่จ�าเป็นต่อการยกระดับรายได้ของชุมชน เช่น เขาทา� อะไรกัน...” เส้นทางคมนาคม ฯลฯ ซึ่งการพัฒนาในลักษณะที่ เปน็ การมงุ่ เตรยี มชมุ ชนใหพ้ รอ้ มตอ่ การตดิ ตอ่ สัมพนั ธ์ ได้พระราชทานพระราชาธบิ ายเพิม่ เตมิ อีกว่า กบั โลกภายนอกอย่างเป็นข้ันตอนนี้ ทรงเรียกว่า “...ฉะนั้นศูนย์ศึกษาการพัฒนานี้ ถ้าท�า “การระเบดิ จากข้างใน” ซ่ึงเร่อื งนี้พระองค์ทรง อะไรลม้ เหลวตอ้ งไมถ่ อื วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี อ้ งถกู ลงโทษ อธิบายว่า แต่เป็นส่งิ ท่ีแสดงวา่ ท�าอย่างนน้ั ไม่เกิดผล...” ๕. ทรงยดึ หลักสภาพของท้องถิน่ เป็น แนวทางในการดา� เนนิ งานตามโครงการอนั เนอ่ื ง มาจากพระราชด�าริ ท้ังด้านสภาพแวดล้อม ทาง ภูมศิ าสตร์ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนยี มประเพณี ของแตล่ ะทอ้ งถนิ่ ในแตล่ ะภมู ภิ าคของประเทศ เพราะ ทรงตระหนักดีว่าการเปล่ยี นแปลงใดท่ีด�าเนินการ โดยฉับพลนั อาจกอ่ ผลกระทบตอ่ คา่ นยิ ม ความคนุ้ เคย และการด�ารงชีพในวิถปี ระชาเหล่าน้ันเป็นอย่างมาก ดงั นน้ั จึงพระราชทานแนวคดิ เรอื่ งนว้ี ่า “...การพฒั นาจะตอ้ งเปน็ ไปตามภมู ปิ ระเทศ ของภมู ศิ าสตร์ และภมู ปิ ระเทศทางสงั คมศาสตร์ 255

“...เมอื่ เขามงี านท�า เขากม็ ีเงินตอบแทน เศรษฐกิจของคนเหล่านน้ั ก็จะดีข้นึ เขากท็ �างานด้วยความตง้ั ใจมากขน้ึ มอี าหารใส่ท้อง กแ็ ข็งแรง...” “...การพัฒนาประเทศจ�าเป็นต้องท�าตาม “...ในการสร้างความเจริญก้าวหน้านี้ ควร ล�าดบั ขั้นตอน ตอ้ งสรา้ งพืน้ ฐาน คอื ความพอมี อยา่ งยิ่งท่จี ะคอ่ ยสรา้ งค่อยเสรมิ ทลี ะเลก็ ละน้อย พอกนิ พอใช้ ของประชาชนสว่ นใหญเ่ ปน็ เบ้อื งตน้ ให้เปน็ ลา� ดับ ใหเ้ ป็นการทา� ไปพจิ ารณาไป และ ก่อน โดยใช้วิธกี ารและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ ปรับปรุงไป ไม่ท�าด้วยอาการเร่งรีบตามความ ถกู ต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานมั่นคง กระหายทีจ่ ะสร้างของใหม่เพ่ือความแปลกใหม่ พรอ้ มพอควรและปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ลว้ จงึ คอ่ ยสรา้ งคอ่ ย เพราะความจริงสิ่งที่ใหม่แท้ๆ นั้นไม่มี สิง่ ใหม่ เสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจชั้นทีส่ ูงขึ้น ทั้งปวงย่อมสืบเนื่องมาจากสิง่ เก่าและต่อไป โดยลา� ดบั ...” ย่อมจะต้องกลายเปน็ สง่ิ เกา่ ...” วิธีการพัฒนาเพ่ือให้เกิดการพ่ึงตนเองได้นี้ พร้อมกันน้ีในเร่ืองเดียวกัน ทรงมีรับส่ัง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงชแี้ นะวา่ ควรจะตอ้ ง กบั บัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในวันท่ี ๒๖ ค่อยๆ กระทา� ตามล�าดับขัน้ ตอนต่อไป ไม่ควรกระท�า กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๗ ว่า ด้วยความเร่งรบี ซึ่งอาจจะเกดิ ความเสียหายได้ดังที่ รบั สง่ั กบั นิสติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เมือ่ วันที่ ๑๑ “...เมือ่ มีพืน้ ฐานหนาแน่นบริบรู ณ์พร้อม กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๓ ว่า แล้วก็ตั้งตนพัฒนางานต่อไปให้เป็นการท�าไป พฒั นาไปและปรบั ปรุงไป...” 256

๗. การส่งเสริมหรือสร้างเสริมสิง่ ทีช่ าว ๘. ทรงน�าความรู้ในด้านเทคโนโลยี ชนบทขาดแคลน และเป็นความต้องการอย่าง การเกษตรทีเ่ หมาะสมเข้าไปถงึ มือชาวชนบท สา� คัญ คอื “ความร”ู้ ด้านต่างๆ พระบาทสมเดจ็ อย่างเป็นระบบและต่อเนือ่ ง โดยทรงมุ่งให้เป็น พระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักว่า ชาวชนบทควรจะมี ขบวนการเดยี วกับทเ่ี ปน็ เทคโนโลยที างการผลติ ทชี่ าว ความรู้ในเรอ่ื งของการทา� มาหากนิ การทา� การเกษตร บา้ นสามารถรบั ไปและสามารถนา� ไปปฏบิ ตั ไิ ดผ้ ลจรงิ โดยใชเ้ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสมโดยทรงเนน้ ถงึ ความจ�าเปน็ ที่จะต้องมี “ตวั อย่างแหง่ ความส�าเรจ็ ” ในเรอื่ งการ ในทางปฏิบัติเร่อื งนี้ พระบาทสมเด็จ พ่งึ ตนเอง ซ่ึงทรงมีพระราชประสงค์ที่จะให้ราษฎร พระเจ้าอยู่หัวทรงเลือกใช้เทคนิควิธีการต่างๆ หลาย ในชนบทได้มีโอกาสได้รู้ได้เห็นถงึ ตัวอย่างของความ ประการเพื่อบรรลถุ งึ เป้าหมายท่ีทรงมุ่งหวังดังกล่าว ส�าเรจ็ นี้ และน�าไปปฏิบตั ิได้เองซึ่งทรงมีพระราช นัน้ มหี ลายแนวทาง เช่น ประสงค์ที่จะให้ตัวอย่างของความส�าเร็จทั้งหลาย ได้กระจายไปสู่ท้องถ่ินต่างๆ ท่ัวประเทศ วิธีการให้ ก. การรวมกลุ่มประชาชนเพือ่ แก้ไข ความรแู้ กป่ ระชาชนนน้ั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ปญั หาหลกั ของชมุ ชนชนบท ซง่ึ เปน็ รากฐานสา� คญั มีพระราชด�าริท่ีเก่ยี วข้องกบั การใช้เทคโนโลยี ประการหนึ่งของการพัฒนาพ่ึงตนเอง โดยเฉพาะ ท่ีทันสมัยในการพฒั นาว่า การรวมตัวกนั ในรูปของสหกรณ์ ดังนน้ั ในทุกพน้ื ทีท่ ่ี เสด็จพระราชด�าเนิน และมีโครงการอันเน่ืองมาจาก “...การใช้เทคโนโลยีอันทันสมัยในงาน พระราชดา� ริขนึ้ มา ไม่ว่าลักษณะใด จะทรงเน้นเสมอ ต่างๆ นน้ั วา่ โดยหลกั การควรจะให้ผลมาก ใน ถึงความจ�าเป็นที่จะต้องกระตุ้นให้เกิดการรวมตัวกัน เรื่องประสิทธิภาพ การประหยัดและการทุ่น ในรปู แบบตา่ งๆ เพอื่ แกไ้ ขปญั หาทชี่ มุ ชนเผชญิ อยรู่ ว่ มกนั แรงงาน แต่อยา่ งไรก็ตามก็คงยังจะต้องคา� นึงถงึ หรอื เพอื่ ใหก้ ารทา� มาหากินของชมุ ชนโดยสว่ นรวมเปน็ สิ่งอืน่ อันเป็นพืน้ ฐานและส่วนประกอบของงาน ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพและประหยดั จนเห็นได้ว่า ที่ท�าด้วย อย่างในประเทศของเราประชาชนท�า กลุ่มสหกรณ์ในโครงการพระราชด�าริที่ประสบความ มาหาเลีย้ งตวั ด้วยการกสิกรรมและการลงแรง ส�าเร็จหลายโครงการนั้นพัฒนาข้ึนมาจากการรวมตัว ทา� งานเปน็ พ้นื การใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งใหญโ่ ตเตม็ รูปหรือเตม็ ขนาดในงานอาชีพหลักของประเทศ ย่อมจะมีปัญหา เช่น อาจท�าให้ต้องลงทุน มากมายสิ้นเปลืองเกนิ กว่าเหตุ หรืออาจก่อให้ เกดิ การวา่ งงานอยา่ งรนุ แรงข้ึน เปน็ ตน้ ผลท่เี กดิ ก็จะพลาดเป้าหมายไปห่างไกล และกลับกลาย เปน็ ผลเสยี ดงั นัน้ จงึ ต้องมีความระมดั ระวังมาก ในการใชเ้ ทคโนโลยที ป่ี ฏบิ ัตงิ านคอื ควรพยายาม ใชใ้ หพ้ อเหมาะพอดีแกส่ ภาวะของบา้ นเมอื งและ การทา� กินของราษฎรเพ่อื ใหเ้ กิดประสทิ ธิผลดว้ ย เกดิ ความประหยัดอยา่ งแท้จริงดว้ ย...” 257

“...เมอื งไทยนี้มคี วามหวังที่จะพัฒนาอยู่ให้อยู่ได้ แต่ว่าจะต้องใช้คา� ว่าเสยี สละ ต้องรู้จกั ค�าว่าสามคั คี...” กันของราษฎรกลุ่มเล็กๆ เช่น สหกรณ์หบุ กระพงเกดิ “...ในการท�างานทั้งปวงนัน้ ทุกคนจะต้อง จากกลุ่มเกษตรกรทท่ี �าสวนผักในย่านน้ันเป็นต้น ตัง้ ใจจริง อดทนและขยันหมัน่ เพียร ซือ่ ตรง เหน็ อกเหน็ ใจกนั ถอ้ ยทถี อ้ ยอาศัยกนั มเี มตตามงุ่ ดี ข. การส่งเสริมโดยกระตุ้นผู้น�าชุมชนให้ มงุ่ เจรญิ ตอ่ กนั ยดึ มน่ั ในสามคั คธี รรม ความสจุ รติ เป็นผู้น�าในการพัฒนาก็เป็นอกี วิธีหน่ึงที่ทรงใช้ ทงั้ ในความคิดและการกระท�า ถือเอาความมัน่ คง ในบางพ้ืนที่ตามความเหมาะสม ทรงพิจารณาผู้น�า และประโยชน์รว่ มกันเป็นจดุ หมายส�าคญั ...” โดยเน้นในด้านคุณธรรม ความโอบอ้อมอารี ความ เป็นคนในท้องถ่นิ และรักท้องถ่นิ จากน้ันทรงอาศัย ค. การส่งเสริมการพัฒนาเพื่อพึ่งตนเอง โครงสร้างสังคมไทย โดยเฉพาะระบบอุปถมั ภ์กระตุ้น น้นั จะตอ้ งทา� อยา่ งคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป ไมร่ บี รอ้ นทจี่ ะ ให้ผู้น�าชุมชนท่ีมักจะมีฐานะดี ให้เป็นผู้น�าในการ ให้เกดิ ผลในทางความเจริญอย่างรวดเร็ว สิ่งส�าคัญ สร้างสรรค์ความเจรญิ ให้กับท้องถ่ิน โดยชาวบ้าน ที่มีพระราชดา� รอิ ยู่เสมอ คอื ชุมชนจะต้องพ่ึงตนเอง ท่ียากจนให้ความสนับสนุนร่วมมือ ซ่ึงในท่ีสดุ แล้ว ได้ในเร่ืองอาหารก่อนเป็นล�าดับแรก จากนั้นจึง ผลแหง่ ความเจริญทเ่ี กดิ ขน้ึ จะตกแกช่ าวบา้ นในชมุ ชน ค่อยก้าวไปสู่การพัฒนาในเร่อื งอื่นๆ การขยายการ น้นั ทกุ คน ดังพระราชด�ารทิ ี่ว่า ผลติ เพ่ือการค้าใดๆ กต็ าม ทรงมีข้อสงั เกตเก่ียวกับ 258

“...ชาวบ้านปัจจุบันน้ีเป็นคนท่ีรู้จักการเสยี สละที่เพ่ือพัฒนาท้องที่ของตัวแล้วเขากไ็ ม่ได้มีข้อแม้อะไร ไม่ได้บอกว่าถ้าทา� ส�าเรจ็ แล้ว จะขออย่างนั้นอย่างนี้ ขอให้ตามอธั ยาศยั ...” ความพรอ้ มในดา้ นการตลาด โดยเฉพาะในดา้ นความรู้ “...ในด้านหนึง่ ที่ไม่เคยคิดกัน ในด้าน เบ้ืองต้นเก่ียวกบั การจัดท�าบัญชีธุรกจิ การเกษตร การพฒั นา เชน่ เจา้ หนา้ ทบ่ี ญั ชี ถา้ หากวา่ ทา� การ ของชาวบ้านอย่างง่ายๆ อีกด้วย ซึ่งในเร่ืองนี้ เพาะปลกู ชาวบา้ นทา� การเพาะปลกู เม่อื มผี ลแลว้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน เขาบรโิ ภคเองสว่ นหน่งึ อกี สว่ นหนง่ึ กข็ ายเพอ่ื ใหไ้ ด้ พระราชด�ารแิ ก่กรรมการ กปร. และคณะเจ้าหน้าท่ี มรี ายได้ แลว้ กเ็ ม่อื มรี ายไดแ้ ลว้ กไ็ ปซอ้ื ของทจ่ี า� เปน็ ท่ีเก่ยี วข้องกับการด�าเนินงานศูนย์ศึกษาการพัฒนา และสิง่ ทีจ่ ะมาเกือ้ กูลการอาชีพของตัว อย่างนี้ อนั เน่ืองมาจากพระราชดา� ริ เมือ่ วนั ที่ ๒๖ สงิ หาคม ไม่ค่อยมีการศกึ ษากัน เมือ่ ผลิตอะไรแล้วก็ พ.ศ. ๒๕๓๑ ณ ศาลาดสุ ิดาลัย ความตอนหน่ึงว่า จา� หนา่ ยไปกม็ รี ายไดก้ ต็ อ้ งทา� บญั ชี ชาวบา้ นทา� บญั ชี บางทไ่ี มค่ อ่ ยถกู ...” 259

“...ถ้าโครงการดี ในไม่ช้าประชาชนก็จะได้กา� ไร จะได้ผล ราษฎรจะอยู่ดกี นิ ดีข้นึ จะได้ประโยชน์ไป...” ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอนั เนือ่ งมาจาก ๑. ศนู ย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชด�าริ : มรรควิธีทชี่ ่วยเหลอื ให้ พระราชดา� ริ : ความหมายและแนวพระราชด�าริ เกษตรกรไดบ้ รรลุผลในการพึง่ ตนเอง ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ด้วยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวที่ทรงมุ่งหวังจะพัฒนาประชาชน ในชนบทให้สามารถมีความเป็นอยู่ที่ดีข้ึนในระดับ “พออยู่พอกิน” เสยี ก่อน จากน้ันก็จะเพ่ิมระดับ การพึง่ ตนเองได้เป็นลา� ดบั แนวพระราชด�ารเิ พื่อจัดตั้งศูนย์ศึกษา การพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริท้ังหลายน้ี อาจกล่าวได้ว่าเพื่อสนองพระราโชบายในการ เสรมิ สร้างการเรยี นรู้แก่ประชาชนในชนบท เพื่อจกั ได้ พึง่ ตนเองได้โดยแท้ กล่าวคือ 260

“...คนท่ีเป็นชาวบ้านจรงิ ๆ เขารู้ว่าจะต้องทดลอง ต้องใช้ความคิดแล้วมกี ารทดลองเสยี กเ็ สยี ไปแต่ว่าน่าจะได้...” ๑.๑ ในส่วนที่เก่ียวข้องกับพระราชประสงค์ ๒ ทาง คอื ทางหน่งึ กค็ อื เปน็ การสาธติ การพฒั นา ในการจัดต้ังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมี เบ็ดเสร็จ หมายถึงว่าทุกสิ่งทุกอย่างทุกด้านของ พระราชาธิบายวา่ “ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาอนั เน่อื ง ชีวิตประชาชน ทีจ่ ะหาเลีย้ งชีพในท้องทีจ่ ะท�า มาจากพระราชดา� ริ” มีลกั ษณะดงั น้ี อยา่ งไรและไดเ้ หน็ วทิ ยาการแผนใหมจ่ ะสามารถ ทจ่ี ะหาดวู ธิ กี ารจะทา� มาหากนิ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ...” “...เป็นศนู ย์ หรือเป็นทีแ่ ห่งหนึ่งที่รวม การศกึ ษาเพอ่ื ดวู า่ ทา� อยา่ งไร จะพฒั นาไดผ้ ล...” นอกจากนี้ได้พระราชทานพระราชด�ารัส เพิม่ เติมว่า “...ศนู ย์ศกึ ษานีเ้ ป็นคล้ายๆ พิพิธภัณฑ์ ใหญท่ ม่ี ชี ีวติ ท่ใี ครๆ จะมาดวู ่าท�าอะไรกนั ...” ๑.๒ สา� หรับวัตถุประสงค์ของการจัดต้ังน้ัน มีพระราชดา� รสั ว่า ก. เพอ่ื เป็นแหล่งสาธิตให้เกษตรกรได้เรยี นรู้ “...ที่ตัง้ ศูนย์ศกึ ษานี้เพือ่ ประสงค์ส�าคัญยิ่ง 261

“...ถ้าเรามีการบริหารแบบท่ีเรยี กว่า แบบ “คนจน” แบบที่ไม่ติดตา� รามากเกนิ ไป ท�างานอย่างมีความสามัคคี น่ีแหละคือเมตตากัน กจ็ ะอยู่ได้ตลอดไป...” ข. เป็นแหล่งค้นคว้าวจิ ัยทดลอง ทัง้ ในด้านเกษตรหรือในด้านสังคม ทั้งในด้าน “...จดุ ประสงคข์ องศนู ยศ์ กึ ษาฯ กเ็ ปน็ สถานท่ี หางานการส่งเสริมการศึกษามาอยู่ด้วยกัน สา� หรบั คน้ ควา้ วจิ ยั ในทอ้ งท่ี เพราะวา่ แตล่ ะทอ้ งท่ี ก็หมายความว่า ประชาชนซึ่งจะต้องใช้วิชาการ สภาพฝนฟา้ อากาศและประชาชนในทอ้ งท่ตี า่ งๆ กนั ทงั้ หลายกส็ ามารถทีจ่ ะมาดู ส่วนเจา้ หนา้ ทีจ่ ะให้ ก็มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั มากเหมอื นกนั ...” ความอนุเคราะห์แก่ประชาชนก็มาอยู่พร้อมกัน ค. เป็นแหล่งแลกเปล่ียนทัศนะความคิดเห็น ในท่เี ดยี วกนั ซ่งึ เปน็ สองดา้ นกห็ มายถงึ วา่ ทส่ี า� คญั ในการพัฒนา ปลายทางคือ ประชาชนจะได้รับประโยชน.์ ..” “...กรมกองต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวิต ป ร ะ ช า ช น ทุ ก ด ้ า น ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ชี วิ ต ข อ ง จึงอาจกล่าวได้ว่าศูนย์ศึกษาการพัฒนา คือ ประชาชนไดส้ ามารถมาแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ แหล่งค้นคว้าหาความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ของ ปรองดองกัน ประสานงานกนั ...” เกษตรกร ง. เป็นศูนย์รวมบริการประชาชนทางด้าน ความรู้และวชิ าการ สบื เนื่องจากพระราชประสงค์ของพระบาท “...ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาเป็นศูนย์ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทที่ รงมงุ่ หวงั พฒั นาความเปน็ อยู่ ท่รี วบรวมกา� ลงั ทง้ั หมดของเจา้ หนา้ ท่ที กุ กรมกอง ของราษฎรให้สามารถช่วยเหลือพึ่งตนเองได้ โดย วิธีการหน่ึงท่ีทรงเห็นว่าการได้เรียนรู้และพบเห็น ดว้ ยประสบการณข์ องตนเองนนั้ เปน็ การสรา้ งการเรยี นรู้ 262

“...ท�าอะไรกไ็ ด้ให้ประชาชนมคี วามรู้ ให้มวี ธิ ที ี่จะหากินโดยสุจริตให้มากข้นึ ...” ในการพฒั นาชนบท ด้วยเหตุน้ีพระบาทสมเด็จ ๒.๑ การแกไ้ ขปญั หาตามสภาพความเปน็ จรงิ พระเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทานพระราชด�ารใิ ห้มีศูนย์ ทแ่ี ตกตา่ งกนั การพัฒนาจะต้องเร่มิ ต้นจากสภาพ ศึกษาการพฒั นาอนั เน่ืองมาจากพระราชด�าริโดย ความเป็นจริง ศึกษาว่าปัญหาของพื้นท่ีน้ันคืออะไร ท�าหน้าที่เสมือน “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาตทิ ีม่ ีชีวิต” และเลอื กใช้วิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ แปรเปล่ยี นไป เพื่อเป็นศนู ย์รวมของการศกึ ษาค้นคว้า ทดลอง วิจยั ตามสภาพพ้ืนทแี่ ละสภาพแวดล้อมทแี่ ตกต่างกนั และแสวงหาแนวทางและวิธกี ารพัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพแวดล้อมและการ ๒.๒ การแลกเปลีย่ นสือ่ สารระหว่าง ประกอบอาชีพของราษฎรท่ีอาศัยอยู่ในภูมิประเทศ นักวิชาการ นักปฏิบัติ และประชาชน การศึกษา นั้นๆ และเม่อื ค้นพบพิสจู น์ได้ผลแล้ว กจ็ ะน�าผลท่ไี ด้ คน้ ควา้ ทดลอง วจิ ยั ตา่ งๆ ทไ่ี ดผ้ ลแลว้ ควรจะนา� ไปใช้ ไป “พัฒนา” สู่ราษฎรในหมู่บ้านใกล้เคียงจนกระท่งั ประโยชนใ์ นพน้ื ทจี่ รงิ ได้ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาจงึ ควร ขยายผลแผ่กระจายวงกว้างออกไปเร่ือยๆ เพ่ือให้ เปน็ แหลง่ ผสมผสานวชิ าการและการปฏบิ ตั เิ ปน็ แหลง่ ส�าเรจ็ สงู สุดสู่ราษฎรต่อไป ความรู้ของราษฎร เป็นแหล่งศึกษาทดลองของ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน และเป็นแหล่งแลกเปล่ียน ๒. แนวทางและวัตถุประสงค์ของศูนย์ ถ่ายทอดประสบการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหา ศึกษาการพัฒนาอันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริ ระหวา่ งคน ๓ กลมุ่ คอื ราษฎร เจา้ หนา้ ที่ซงึ่ ท�าหนา้ ท่ี ทส่ี า� คัญมีดังน้ี พฒั นาส่งเสรมิ และนกั วชิ าการ 263

“...ท�าให้ผู้เชี่ยวชาญ ผู้รู้จริงได้มาร่วมกัน หันหน้าหากัน ท�าให้เขาท�างานได้เต็มที่เพ่อื วิชาการ และเพ่อื ประชาชน...” ๒.๓ การพฒั นาแบบผสมผสาน ศูนย์ศึกษา ๒.๔ การประสานงานระหวา่ งหนว่ ยราชการ การพฒั นาแต่ละแห่งจะเป็นแบบจ�าลองของพ้ืนท่ี แนวทางการด�าเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนา และรปู แบบการพฒั นาท่ีควรจะเป็น ในพนื้ ทล่ี ักษณะ ทกุ แห่ง เน้นการประสานงาน การประสานแผน และ หน่ึงๆ นั้น จะสามารถใช้ประโยชน์อย่างเต็มท่ีได้ การจัดการระหว่าง กรม กอง และส่วนราชการต่างๆ โดยวธิ ีใดบ้าง มใิ ช่การพัฒนาเฉพาะด้านใดด้านหนง่ึ ให้เกดิ เป็นจริงขึน้ แต่พยายามใช้ความรู้หลายสาขาที่สดุ โดยให้ แต่ละสาขาเป็นประโยชน์เก้ือหนุนกับการพัฒนา ๒.๕ เป็นศูนย์รวมในการให้บริการแก่ สาขาอน่ื ๆ ด้วย ประชาชน เพอื่ ใหไ้ ดร้ บั ความสะดวกและประสทิ ธภิ าพ ในการนา� ความรทู้ ไี่ ดร้ บั ไปใชป้ ระโยชนส์ งู สดุ ตลอดจน “...ถ้าเฉล่ยี ความมัง่ มขี องประชาชนแล้ว เมอื งไทยไม่มีล่มจม...” ได้รับบริการจากทางราชการของส่วนราชการต่างๆ ทา� ใหป้ ระชาชนสามารถด�าเนนิ การไดร้ วดเรว็ ประหยดั ค่าใช้จ่ายในการติดต่อราชการนับเป็นการปฏิรูป มติ ใิ หมข่ องระบบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในการบรกิ าร ของทางราชการแบบใหม่ที่สิ้นสุดตรงจุดเดียว One Stop Service หรอื ที่เรียกกนั ว่า “การบรกิ าร แบบเบ็ดเสรจ็ ” น่นั เอง ๓. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดา� ริ : ความเปน็ มาและผลการดา� เนนิ การ ในปัจจบุ ันมี ๖ ศูนย์ กระจายอยู่ในภาคต่างๆ ท้งั ๔ ภาค คอื 264

“...ถ้าคิดให้รอบคอบ ถ้าคดิ ให้กว้างขวาง ถ้าคิดให้ครบถ้วนกส็ ามารถท่ีจะพัฒนาประเทศให้มีความเจริญ ให้มคี วามปลอดภยั ได้...” ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาเขาหินซ้อน พน้ื ทนี่ ี้ จดั ทา� เปน็ ศนู ยก์ ารศกึ ษาดา้ นเกษตรกรรมและ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา� ริ ต�าบลเขาหินซ้อน งานศลิ ปาชพี เพอ่ื เปน็ แหลง่ ใหเ้ กษตรกรและผสู้ นใจได้ เขา้ ชม ศกึ ษา คน้ ควา้ และทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ อา� เภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ประวัติความเป็นมา เม่ือวันที่ ๘ สิงหาคม “...เราให้ความรู้แก่ประชาชนเล็กน้อยกจ็ ะทา� ให้ฐานะเขาดขี ้นึ มงี านทา� มากข้นึ ...” รายได้ต้องเข้ามาถึงเขามากขนึ้ ...” พ.ศ. ๒๕๒๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ พระราชดา� เนนิ ไปเปดิ ศาลบวรราชานสุ าวรยี พ์ ระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ต�าบลเขาหินซ้อน อ�าเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ราษฎรได้ น้อมเกล้าฯ ถวายทด่ี นิ จา� นวน ๒๖๔ ไร่ เมื่อเสด็จฯ ทอดพระเนตรที่ดินดังกล่าว ซ่ึงมีสภาพเป็นดินทราย ขาดความอดุ มสมบูรณ์ไม่สามารถเพาะปลูกพืชได้ และถา้ ปลูกไดก้ ็เจรญิ เตบิ โตไมด่ ไี มส่ ามารถใหผ้ ลผลติ ทม่ี คี ณุ ภาพได้ จงึ ไดม้ พี ระราชดา� ริกับเจา้ หนา้ ทอี่ �าเภอ จังหวัด และหน่วยราชการต่างๆ ให้ร่วมกันพฒั นา 265

ให้ช่ือว่า “ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาเขาหินซ้อน ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา นับเป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนา อ�าเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา” กล่าว อนั เน่อื งมาจากพระราชดา� ริ เป็นแห่งแรก ได้ว่าศูนย์ศึกษาการพฒั นาเขาหินซ้อนท่ีได้ถือก�าเนิด พื้นที่ด�าเนินการ ในปัจจุบันศูนย์ศึกษาการ พัฒนาเขาหินซ้อนฯ มีพ้ืนท่ีซ่ึงราษฎรได้น้อมเกล้าฯ ถวาย ประมาณ ๑,๒๒๗ ไร่ และพื้นทสี่ ่วนพระองค์ท่ี อยู่ตดิ กับศนู ย์ฯ ซง่ึ ได้พระราชทานให้เป็นพนื้ ท่ศี กึ ษา วิจัย และทดสอบการพัฒนาด้านการเกษตรเป็นการ สนบั สนุนศนู ย์ฯ อีกทางหนง่ึ มเี น้อื ท่ีประมาณ ๖๔๒ ไร่ รวมพ้นื ท่ี ๑,๘๖๙ ไร่ นอกจากน้ยี ังมีศูนย์สาชา ประกอบด้วย ๑. ศูนย์บริการพัฒนาบ้านสร้าง อ�าเภอ บ้านสร้าง จังหวดั ปราจนี บุรี ๒. โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีบริเวณเขาชะโงก จังหวัดนครนายก 266

การดา� เนินงานของศนู ย์ฯ ศูนย์ศึกษา แจกจ่ายพันธุ์ปลา ฝึกอบรมด้านศิลปาชีพ แนะน�า การพัฒนาเขาหินซ้อนฯ ด�าเนินกจิ กรรมในการ ส่งเสรมิ เผยแพร่หลกั การและวิธกี ารสหกรณ์ เป็นต้น ปรับปรุงและฟื้นฟูทรพั ยากรธรรมชาติพื้นฐาน เพื่อ ให้สามารถน�ามาใช้ในการประกอบอาชีพการเกษตร “...ประเทศไทยน้ัน มีการท�าอะไรกต็ ามกย็ งั ร่วมมือกนั ดีอยู่ จึงท�าให้ประเทศไทย ได้อย่างย่ังยืน ได้แก่ การพฒั นาปรับปรงุ ดิน การใช้ คงอยู่...” วิธีธรรมชาติในการป้องกันศัตรพู ืช การศึกษาความ เหมาะสมของการใช้ประโยชน์ที่ดินในการปลูก ไม้ผลต่างๆ การสร้างพนั ธ์ุลกู ผสมสองช้ันในพชื ผกั รับประทาน การปลูกและบ�ารุงรกั ษาป่าเพ่ืออนุรักษ์ ส่งิ แวดล้อม การส่งเสรมิ และสาธิตการปลกู ไม้ผล และขยายพนั ธไ์ุ มผ้ ล สง่ เสริมการทา� ทงุ่ หญา้ เลย้ี งสตั ว์ ปรบั ปรงุ บ�ารงุ พนั ธ์ุสัตว์ ตลอดจนการจัดตั้งธนาคาร โค-กระบอื สาธิตการเล้ียงปลา ผลติ พันธุ์ปลา และ 267

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย ประวัติความเป็นมา ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อันเนือ่ งมาจากพระราชดา� ริ ต�าบล ห้วยทรายฯ ต้ังอยู่ในเขตพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน สามพระยา อา� เภอชะอา� จงั หวดั เพชรบรุ ี อันเป็นพ้ืนท่ีซ่ึงพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้า อยู่หัวได้มีพระราชโองการประกาศให้เป็นที่หลวง เม่อื พ.ศ. ๒๔๖๖ และ พ.ศ. ๒๔๖๗ เดมิ พนื้ ทีแ่ ห่งนี้ มีสภาพป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์ มีสตั ว์ป่าประเภท เนอ้ื ทรายอยเู่ ปน็ จา� นวนมาก จงึ ไดช้ อื่ วา่ “หว้ ยทราย” ต่อมาราษฎรได้เข้ามาอาศยั ท�ากนิ บุกรกุ แผ้วถางปา่ ประกอบอาชีพตามยถากรรม ภายในเวลา ๔๐ ปี ป่าไม้ได้ถูกท�าลายเป็นจ�านวนมากท�าให้ฝนไม่ตก ต้องตามฤดูกาลและมีปริมาณน้อยลง จนมีลักษณะ เป็นพืน้ ทอี่ ับฝน ดินขาดการบ�ารงุ รกั ษา จนเกดิ ความ ไม่สมดุลตามธรรมชาติ การพังทลายของผวิ ดินค่อน ข้างสงู ประกอบกับราษฎรส่วนใหญ่ปลูกสบั ปะรดซึ่ง 268

ต้องใช้สารเคมีมาก ท�าให้คุณภาพของดินตกต่�าลง “...สา� หรับชาวบ้าน...เมือ่ มรี ายได้เพม่ิ ขนึ้ แล้ว เขากท็ า� การพัฒนาอย่างนไ้ี ปมากขึ้น ไปอีก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�าริ ทุกที ตอนเร่มิ ต้นทางราชการต้องช่วย เขาไม่มีเงินพอส�าหรบั มาท�าการพฒั นา ว่า “...หากปล่อยทิง้ ไว้ จะกลายเป็นทะเลทราย แบบน้ี เราท�าการพฒั นาแบบน้ีให้ทีหลัง ไม่ต้องส่งเสรมิ หมายความว่า รายได้ ในที่สุด...” และเมือ่ วันท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๖ ของเขามีมากขึน้ ยิง่ มากข้ึนทุกปี แต่ถ้าทิง้ ไว้อย่างนกี้ ย็ งั จนลงทุกปี...” ได้พระราชทานพระราชด�าริกับหม่อมเจ้าจักรพันธ์ เพ็ญศริ ิ จกั รพนั ธุ์ องคมนตรี และนายสุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ ทเ่ี ข้ามาท�ากนิ โดยมชิ อบเข้าร่วมกิจกรรม เพอ่ื ทจ่ี ะได้ ผู้อ�านวยการส�านักงานเลขานุการคณะกรรมการ พระราชทานที่ดนิ ทา� กินต่อไป พิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดา� ริ ใหพ้ ัฒนาเปน็ ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาดา้ น ป่าไม้อเนกประสงค์ จดั ให้ราษฎรทที่ า� กนิ อยู่เดมิ ได้มี ส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ ได้ประโยชน์จากป่า ไม้ และไม่ทา� ลายป่าไม้อกี ต่อไป มุ่งหมายที่จะศกึ ษา รปู แบบการพฒั นาเกษตรควบคไู่ ปกบั การปลกู ปา่ จดั หา แหล่งน้�า ศกึ ษาระบบป้องกันไฟไหม้ป่าแบบ “ระบบ ป่าเปียก” ให้ราษฎรสร้างรายได้จากผลิตผลป่าไม้ และปลกู พืชชนดิ ต่างๆ ควบคู่ไปด้วย และให้ราษฎร “...การพฒั นาชนบทต้องคา� นึงถงึ การอนุรักษ์ทรพั ยากรอื่น เช่น ป่าไม้ด้วย...” 269

“...ควรท่จี ะให้นักวชิ าการและประชาชนเข้ามาศึกษาดงู าน และขยายผลต่อไป...” “...การขยายผลไปสู่ราษฎรในพน้ื ท่ีใกล้เคยี งนั้น ควรขยายในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป โดยการจดั ต้งั เป็นกลุ่มย่อยๆ และด้วยความสมคั รใจ ไม่มีการบังคับ เมือ่ ราษฎรเห็นตัวอย่างทด่ี ีแล้วกจ็ ะเข้ามาร่วมเองในภายหลงั ...” 270

“...การอนุรกั ษ์พนั ธุ์สัตว์ป่าให้เร่งขยายพนั ธุ์สตั ว์ป่าโดยเฉพาะเน้ือทราย ซึ่งเป็นสัตว์พ้ืนเพดั้งเดิม ให้สามารถนา� ไปปล่อยให้ใช้ชีวิต กลับคนื สู่สภาพป่าดัง้ เดิมต่อไป...” เมอื่ ไดพ้ ระราชทานพระราชดา� รแิ ลว้ ศนู ยศ์ กึ ษา ด้านการฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรม เร่งสร้างความ การพัฒนาห้วยทรายอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริ สมดุลทางธรรมชาติให้กลบั สู่สภาพเดิมโดยการปลูก จึงได้ถอื ก�าเนิด เร่ิมด�าเนินการต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๒๖ ป่าไม้ ๓ อย่าง คอื ไม้โตเรว็ ไม้ผล และไม้มีค่าทาง เป็นต้นมา เศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอ่ืนๆ อีก ได้แก่ การสร้างแนวป้องกันไฟป่าแบบเปียก ศึกษาวจิ ัยการ พื้นท่ีด�าเนินการ พ้ืนที่นี้เป็นส่วนหนึ่งของ ทา� เกษตรแบบผสมผสาน การท�าการเกษตรในระบบ พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ขอบเขตพ้ืนที่โครงการ วนเกษตร ระบบเกษตรธรรมชาติ การเพาะเลย้ี งและ ประมาณ ๑๕,๘๘๐ ไร่ โดยมศี ูนย์สาขาคอื โครงการ ขยายพันธุ์สตั ว์ป่าหลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเส่ือมโทรมเขาชะงุ้ม อา� เภอ เนือ้ ทราย ซึง่ ในขณะนไ้ี ด้ทดลองปล่อยเนอ้ื ทราย เก้ง โพธาราม จังหวัดราชบุรี ละอง ละม่ัง กลบั คนื สู่สภาพป่าธรรมชาติ เป็นต้น การดา� เนนิ งานของศูนยฯ์ ไดด้ า� เนนิ กจิ กรรม 271

ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาอา่ วคงุ้ กระเบน ประวัติความเป็นมา ในโอกาสที่พระบาท อนั เน่อื งมาจากพระราชด�าริ ตา� บลสนามไชย สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เสด็จพระราชดา� เนนิ ไปประกอบ อ�าเภอทา่ ใหม่ จงั หวดั จันทบรุ ี พิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสิน ท่จี งั หวัดจนั ทบุรี เมอ่ื วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ไดพ้ ระราชทานพระราชดา� ริแกน่ ายบญุ นาค สายสวา่ ง ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั จนั ทบรุ ี สรปุ ไดว้ า่ “...ใหพ้ จิ ารณา พืน้ ทีท่ ีเ่ หมาะสมจัดท�าโครงการการพัฒนาด้าน อาชีพการประมงและการเกษตรในเขตพื้นที่ ชายฝั่งตะวันออกของจังหวัดจันทบุรี...” โดย พระราชทานเงินท่ีราษฎรได้ร่วมทูลเกล้าฯ ถวาย ในโอกาสดังกล่าวเป็นทุนเริ่มด�าเนินการ และใน วันท่ี ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้พระราชทาน พระราชดา� ริเพ่ิมเติม ณ พระต�าหนกั จติ รลดารโหฐาน เก่ียวกบั โครงการที่จะจัดท�าขึ้นในเขตจังหวัดจันทบุรี 272

สรุปสาระส�าคัญได้ว่า “...ให้พิจารณาจัดหาพืน้ ที่ น้�าเสียจากบ่อกุ้งกุลาด�า ส่งเสรมิ การอนุรักษ์สภาพ ป่าสงวนเสื่อมโทรมหรือพื้นที่สาธารณประโยชน์ แวดล้อมและรักษาดุลยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ เพ่อื จดั ต้งั เปน็ ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาเชน่ เดยี วกบั โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย ่ า ง ยิ่ ง ก า ร อ นุ รั ก ษ ์ แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ ให้เป็นศูนย์ ศกึ ษาเก่ยี วกบั การพฒั นาในเขตท่ดี นิ ชายทะเล...” จังหวัดจันทบรุ จี ึงได้ร่วมหารือกับหน่วยงานต่างๆ เพือ่ พิจารณาความเหมาะสมและก�าหนดพืน้ ทบี่ รเิ วณ อ่าวคุ้งกระเบน ต�าบลสนามไชย อ�าเภอท่าใหม่ จงั หวัดจันทบรุ ี เป็นพ้ืนท่จี ัดตงั้ ศนู ย์ศกึ ษาฯ พื้นที่ด�าเนินการ ศูนย์ศึกษาการพฒั นาอ่าว คุ้งกระเบนฯ มพี นื้ ทโี่ ครงการประมาณ ๓๔,๒๙๙ ไร่ การดา� เนินงานของศนู ย์ฯ ด�าเนินกจิ กรรม ในการค้นคว้า ทดลอง และสาธิตการพฒั นาปรับปรงุ สภาพแวดล้อมชายฝั่ง ได้แก่ การศึกษาวิจัยวธิ ีบ�าบัด 273

พนั ธไ์ุ มป้ า่ ชายเลน นอกจากนย้ี งั มกี จิ กรรมอน่ื ๆ อกี เชน่ การวิจัยและทดสอบระบบการเกษตรผสมผสาน การส่งเสรมิ ความรู้ในเร่ืองของสหกรณ์ จัดอบรม ด้านการปศุสัตว์ เป็นต้น 274

ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาภพู านอนั เน่อื ง มาจากพระราชด�าริ บา้ นนานกเคา้ ตา� บล หว้ ยยาง อา� เภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร ประวัตคิ วามเป็นมา สืบเนื่องจากเม่ือวันท่ี ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๕ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพญ็ ศริ ิ จกั รพนั ธ์ุ องคมนตรี และ อธิบดกี รมชลประทาน เข้าเฝ้าทลู ละอองธลุ ีพระบาท ณ กรมราชองครกั ษ์ สวนจิตรลดา ในการนี้ได้ พระราชทานพระราชดา� รใิ หก้ รมชลประทานพิจารณา วางโครงการจัดหาน�้าสนับสนุนโครงการศูนย์ศึกษา 275

การพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ เพ่ือ น�าไปปฏิบัติต่อไป เมอื่ วันท่ี ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๖ ให้มีการศึกษาทดลองงานพัฒนาการเกษตรต่างๆ คณะรฐั มนตรีได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ตามความเหมาะสม ส�าหรบั เป็นตัวอย่างให้ราษฎร โครงการศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาภพู านฯ โดยมหี มอ่ มเจา้ จักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ เป็นประธาน และวันท่ี ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๖ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชด�าเนินทอดพระเนตร ศูนย์ศึกษาฯ แห่งน้อี ีก และได้มีพระราชด�ารเิ พม่ิ เติม ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ จึงได้เริ่มด�าเนินการ ตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๒๗ เป็นต้นไป พื้นท่ีด�าเนินการ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ภพู านฯ มพี น้ื ทโ่ี ครงการประมาณ ๒,๓๐๐ ไร่ และเขต ปรมิ ณฑลเพอื่ การพฒั นาปา่ ไมป้ ระมาณ ๑๑,๐๐๐ ไร่ 276

การดา� เนนิ งานของศูนยฯ์ ดา� เนนิ การพัฒนา ระบบชลประทาน พัฒนาระบบการปลูกพืชเศรษฐกจิ ที่มีผลต่อการเพ่ิมรายได้ของเกษตรกร เช่น การ ศึกษาทดสอบพันธุ์ข้าวไร่ท่ีเหมาะสมต่อสภาพพ้ืนที่ การศึกษาเก่ียวกบั ผลของสารเคมีป้องกนั และก�าจัด แมลง การจัดระบบเกษตรแบบผสมผสาน เป็นต้น การศึกษาระบบนิเวศวิทยาของป่า การพัฒนาและ ปรบั ปรงุ คุณภาพดิน การส่งเสริมและพัฒนาด้าน ปศุสตั ว์และประมง 277

ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ล�าธารของภาคเหนือ และเผยแพร่ให้ราษฎรน�าไป อันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริ อ�าเภอ ปฏบิ ตั ติ อ่ ไป โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การพฒั นาพนื้ ทตี่ น้ นา้� ดอยสะเกด็ จังหวัดเชียงใหม่ ลา� ธาร โดยการใชร้ ะบบชลประทานเขา้ เสริมการปลกู ป่าไม้ ๓ อย่าง และการใช้ลุ่มน้�าให้เกิดประโยชน์ ประวตั คิ วามเปน็ มา เม่ือวนั ท่ี ๑๑ ธนั วาคม ทางเศรษฐกิจ ในวันที่ ๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๒๗ พ.ศ. ๒๕๒๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชด�าเนนิ พระราชทานพระราชด�ารใิ ห้พิจารณาพ้นื ท่ีบริเวณป่า ไปยังพื้นที่โครงการและได้พระราชทานพระราชด�าริ ขุนแม่กวง อา� เภอดอยสะเกด็ จังหวัดเชยี งใหม่ จดั ตั้ง เพ่ิมเติม ให้ศูนย์ฯ ท�าการศึกษาพัฒนาป่าไม้พ้ืนท่ี เปน็ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮอ่ งไครอ้ นั เนอื่ งมาจาก ต้นน้�าล�าธารให้ได้ผลอย่างสมบูรณ์เป็นหลกั โดยให้ พระราชดา� ริ โดยมพี ระราชประสงคท์ จ่ี ะใชเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลาง ต้นทางเป็นป่าไม้และปลายทางเป็นการศึกษาการ ในการศกึ ษา ทดลองเพื่อหารปู แบบการพฒั นาต่างๆ ทา� ประมงตามอา่ งเกบ็ นา้� ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั ในบรเิ วณพนื้ ทต่ี น้ นา้� ทเี่ หมาะสมกบั พนื้ ทบ่ี ริเวณตน้ นา้� ราษฎรอย่างแท้จริง 278

พ้นื ท่ดี า� เนนิ การ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วย ๒. โครงการพฒั นาเบด็ เสร็จลมุ่ นา้� สาขาแมน่ า้� ฮ่องไคร้ฯ มีพ้นื ที่ด�าเนินการอยู่ในเขตป่าสงวนแห่ง ปิงอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ อ�าเภอฮอด อ�าเภอ ชาติ “ปา่ ขนุ แม่กวง” ซงึ่ มพี นื้ ที่ประมาณ ๘,๘๐๐ ไร่ จอมทอง จงั หวดั เชยี งใหม่ และอา� เภอบา้ นโฮง่ จงั หวดั ภูมิประเทศท่ัวไปเป็นป่าเขา ทิศเหนือเป็นปา่ ไม้ ลา� พนู เบญจพรรณ พ้ืนที่ตอนกลางและตอนใต้เป็นป่าท่ีมี สภาพคอ่ นขา้ งเสือ่ มโทรม ซง่ึ ใชเ้ ปน็ พนื้ ทใี่ นการศกึ ษา ๓. โครงการพฒั นาพน้ื ทปี่ า่ ขนุ แมก่ วงอนั เนอ่ื ง การพัฒนาเกษตรกรรมด้านต่างๆ มาจากพระราชด�าริ อ�าเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่ นอกจากน้ีแล้วศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วย ฮ่องไคร้ฯ ยังมศี ูนย์สาขา ประกอบด้วย ๔. โครงการพัฒนาดอยตุงอันเน่ืองมาจาก พระราชดา� ริ จงั หวัดเชียงราย ๑. โครงการศูนย์บรกิ ารพัฒนาและขยาย พันธุ์ไม้ดอกไม้ผลอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริ การดา� เนนิ งานของศูนยฯ์ ไดด้ า� เนนิ กจิ กรรม อา� เภอหางดง จังหวดั เชียงใหม่ ด้านการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับรูปแบบท่ีเหมาะสมใน การพฒั นาพื้นท่ีต้นนา�้ ลา� ธาร มีการปลูกป่า ๓ อย่าง 279

“...การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาตทิ มี่ อี ยใู่ หเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ ในท�านองสรา้ งสรรค์ ไมใ่ ชท่ า� ลาย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ แหลง่ น้�า เพราะราษฎร ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรซึ่งต้องพึง่ น�า้ ทง้ั ในการท�ากนิ และอปุ โภคบริโภค...” 280

(ไม้เศรษฐกจิ ไม้ผล และไม้ใช้สอย) ๓ วธิ ี (โดยการ ใชน้ า�้ จากชลประทาน นา�้ ฝน และฝายเก็บกกั นา�้ ขนาด เล็กตามแนวร่องหุบเขา ซง่ึ เรียกว่า Check Dam เพ่อื รักษาความชุ่มชื้น) ศึกษาการพัฒนาระบบเกษตร ปา่ ไม้ ศึกษาวิจัยต้นน�้าล�าธาร นิเวศวิทยาป่าไม้ การป้องกันไฟป่าแบบเปียก การศึกษาการเพาะเลยี้ ง สตั ว์ป่าในพ้นื ท่ตี ้นน�า้ ลา� ธาร จดั ท�าระบบอนรุ กั ษ์และ พฒั นาดิน รวมทั้งการศึกษาและพัฒนาเกษตรกรรม ต่างๆ การท�าปศุสตั ว์โคนม สัตว์ปีก และการเกษตร อตุ สาหกรรม 281

ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนือ่ ง ประวัติความเป็นมา เนื่องในโอกาสที่ มาจากพระราชดา� ริ ตา� บลกะลุวอเหนอื อา� เภอเมอื ง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ จังหวัดนราธวิ าส พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ อัครราชกมุ ารี เสด็จ พระราชด�าเนินแปรพระราชฐานประทับแรม ณ พระต�าหนักทักษิณราชนิเวศน์ จังหวัดนราธิวาส เม่ือวนั ท่ี ๑๘ สงิ หาคม - ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ไดเ้ สดจ็ ฯ เยยี่ มราษฎรและทอดพระเนตรพนื้ ทจ่ี งั หวดั นราธิวาส ท�าให้ทรงทราบถึงปัญหาว่าสภาพพ้ืนที่ ในบริเวณจงั หวดั นราธวิ าสเปน็ ทลี่ มุ่ ตา่� มนี า�้ ขงั ตลอดปี และมีสภาพเป็นดินพรุ เมื่อระบายน้�าออกแล้ว จะแปรสภาพเป็นกรดจัด ท�าการเพาะปลูกไม่ได้ผล จึงได้พระราชทานพระราชด�าริกับหม่อมเจ้าจักรพันธ์ 282

เพญ็ ศริ ิ จักรพนั ธุ์ องคมนตรี และผู้ว่าราชการจังหวดั “...งานทคี่ วรทา� บางทงี านแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ กต็ อ้ งท�า แตบ่ างที นราธวิ าสว่า ควรมีศูนย์ศึกษาการพัฒนาในการ กจ็ ะต้องทา� เป็นโครงการหรือหลกั การท�างานทก่ี ว้างๆ ออกไป...” ศึกษาวิจัยดินพรุ น�าผลส�าเรจ็ ของโครงการไปเป็น แบบอย่างในการพัฒนาพื้นท่ีพรอุ ่ืนๆ ต่อไป ต่อมา จึงได้มีการประชุมร่วมกันระหว่างจังหวัดนราธิวาส และส�านักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่อื ประสานงาน โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดา� ริ (สา� นกั งาน กปร.) เพ่ือก�าหนดนโยบายเก่ียวกบั การจัดตั้งศูนย์ศึกษา การพฒั นา โดยใช้ช่ือว่า “ศูนย์ศึกษาการพัฒนา พิกลุ ทอง” พืน้ ท่ีด�าเนินการ บรเิ วณทีต่ ั้งศนู ย์ศึกษาการ พัฒนาพิกุลทอง มีเนื้อท่ีประมาณ ๕๑๐ ไร่ แบ่ง ออกเป็นอาคารส�านักงานและแปลงสาธติ บนท่ีดิน ๒๐๒ ไร่ และแปลงวจิ ัยทดลองในพื้นที่พรุ ๓๐๘ ไร่ อกี ทั้งยังมีพ้นื ที่พรุจังหวัดนราธวิ าสเน้ือที่ประมาณ ๒๖๑,๘๖๐ ไร่ 283

นอกจากนยี้ งั มศี นู ย์สาขาอกี ประกอบด้วย ๒. โครงการพัฒนาหมู่บ้านปิแนมูดอ อ�าเภอ ๑. โครงการสวนยางเขาตนั หยง อ�าเภอเมอื ง ระแงะ จังหวดั นราธิวาส จังหวัดนราธวิ าส ๓. โครงการหมู่บ้านเกษตรปศุสัตว์มูโนะ อ�าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส การด�าเนินงานของศูนย์ฯ กิจกรรมที่ศูนย์ฯ ได้ด�าเนินการ คอื การศกึ ษาวจิ ยั และปรับปรุงดนิ ท่ีมี ปัญหาให้สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ได้อีก เช่น การพัฒนาดินอินทรยี ์และดินเปรี้ยวจัด การใชน้ า�้ จดื ชะลา้ งกรดออกจากดนิ ทดลองเลย้ี งปลา น้�ากร่อยซึ่งในขณะน้ีน้�าเปร้ียวสามารถปรบั ปรุงเพื่อ ใช้เลี้ยงปลาได้แล้ว การศึกษาการปลูกไม้โตเร็ว ในพื้นที่พรุเพื่อประโยชน์ทางอุตสาหกรรม เป็นต้น การพฒั นาระบบปลกู พชื การคดั เลอื กพนั ธไ์ุ มท้ มี่ คี วาม เหมาะสมในสงั คมพชื ปา่ พรุ การทา� สวนยางครบวงจร 284

การปรบั ปรงุ และบา� รงุ รักษาปา่ การพฒั นาอาชพี การ สามารถอันสงู เลิศท่ีบ่งบอกถึงพระอัจฉริยภาพเป็นท่ี พฒั นาและส่งเสริมการเล้ียงสัตว์ โครงการผลติ พืช ยิง่ ว่า ทรงเปน็ นกั พฒั นาชนบททยี่ ่ิงใหญพ่ ระองค์ สวนประดบั เพอื่ การศกึ ษาหาพนั ธไุ์ มด้ อกและวธิ ีปลกู หนึง่ ในโลกน้ที เี ดียว ที่เหมาะสมในภาคใต้เพ่ือแนะน�าให้เกษตรกรปลกู ตอ่ ไป เชน่ สรอ้ ยทอง แกลดโิ อลัส เบญจมาศ เฮลโิ กเนยี ปทุมมา ซ่อนกล่ิน หน้าวัว ดาวเรอื ง บานชื่น และ แอสเตอร์ ศู น ย ์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พระราชด�าริท้งั ๖ แห่ง ได้กระท�าหน้าที่ “พพิ ิธภณั ฑ์ ธรรมชาติทม่ี ชี วี ติ ” ดจุ ดงั ฟนั เฟอื งจกั รกลสา� คญั ของ การพัฒนาชนบทในประเทศไทยท่ีได้รับการยอมรับ กนั อย่างกว้างขวาง จะเห็นได้ว่าแนวพระราชด�าริใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้นแสดงถงึ พระปรีชา 285

“...ถ้าท�าด้วยความซ่ือสตั ย์สุจรติ ด้วยความรู้ในทางหลกั วิชาและทา� ด้วยความตง้ั ใจจริง งานกจ็ ะส�าเร็จด้วยด.ี ..” แนวพระราชดา� รเิ พอ่ื พ่งึ ตนเองของเกษตรกร บรรดานักวิชาการด้านการพัฒนาชนบทและ ในชนบทตามหลกั การแหง่ ทฤษฎกี ารยอมรบั ผู้ปฏิบัติด้านการพัฒนามักฉงนอยู่เสมอว่าพระบาท นวตั กรรม (lnnovation Adoption Theory) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้กุลยุทธ์ใดในการแนะน�า เผยแพร่ประชาชนให้ยอมรับแนวพระราชด�าริของ พระองค์ เพราะในการพัฒนาชนบทตามแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติของไทยน้ัน จ�าต้อง ยอมรบั ดว้ ยความจรงิ วา่ ยงั ไมบ่ รรลุเปา้ หมายสมบรู ณ์ ดงั ทไี่ ดว้ างไว้ ปญั หาสา� คญั ทยี่ งั ตอ้ งคาอยเู่ หนยี วแนน่ คือ การยอมรบั การพัฒนาจากผู้น�าการเปลีย่ นแปลง (Change Agent) เมอ่ื วเิ คราะหจ์ ากแนวคดิ ของ Everett M. Rogers เก่ียวกับทฤษฎีการแปรกระจายนวัตกรรม (The Diffusion of lnnovation Theory) มีสาระส�าคญั ว่า การ ท่ีบุคคลจะยอมรับแนวคิดการพัฒนาได้น้ัน จะต้อง 286

“...ใครมีความคิดอะไรกส็ นบั สนุนให้ทดลองได้ ในวิชาใดก็ตามซงึ่ เก่ยี วข้องกบั การพฒั นา...” มีปัจจัยเก่ียวข้องมากมายขึ้นอยู่กบั ตัวบคุ คล ระบบ ได้รบั ทราบถึงส่ิงที่ควรรับรู้ เช่น การปลูกหญ้าแฝก สงั คม ระบบสอื่ สารของนวตั กรรม และระยะเวลาการ จะช่วยป้องกันดินพังทลาย และใช้ปุ๋ยธรรมชาติจะ ด�าเนินการด้วย ซ่ึงเม่ือวิเคราะห์ข้ันตอนการยอมรบั ชว่ ย ประหยดั และบา� รงุ ดนิ การแกไ้ ขดนิ เปรยี้ วในภาค ของประชาชนในแนวพระราชดา� รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวแล้วพบว่าทรงเป็นนักพัฒนาชนบท ทปี่ ระสบความส�าเร็จดงั รายละเอยี ดดงั นี้ คอื พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปลูกฝังแนว พระราชด�าริให้ประชาชนยอมรับไปปฏิบตั ิอย่าง ตอ่ เนอื่ ง โดยใหว้ งจรการพฒั นาดา� เนนิ ไปตามครรลอง ธรรมชาติ กล่าวคือ ๑. ทรงสร้างความตระหนักแก่ประชาชน ให้รับรู้ (Awareness) ในทุกคราเมื่อเสด็จ พระราชด�าเนินไปทรงเย่ียมประชาชนในทุกภูมิภาค ต่างๆ จะทรงมีพระราชปฏิสันถารให้ประชาชน 287

“...พยายามทีจ่ ะทา� อะไรที่ง่ายๆ แล้วในทีส่ ดุ กท็ า� ง่ายๆ แล้วได้ผล ใต้สามารถกระท�าได้ การตัดไม้ท�าลายป่าจะท�าให้ กจ็ ะเป็นหลกั วชิ าโดยอัตโนมตั ิ...” ฝนแล้ง เป็นต้น ตวั อย่างพระราชด�ารัสท่เี กย่ี วกบั การ สร้างความตระหนักให้แก่ประชาชน ได้แก่ “...ประเทศไทยนี้เป็นที่ทีเ่ หมาะมาก ในการตัง้ ถนิ่ ฐาน แต่ว่าต้องรักษาไว้ ไม่ท�าให้ ประเทศไทยเปน็ สวนเปน็ นากลายเปน็ ทะเลทราย กป็ อ้ งกันทา� ได.้ ..” ๒. ทรงสรา้ งความสนใจแกป่ ระชาชน (lnterest) หลายทา่ นคงไดย้ นิ หรอื รบั ฟงั โครงการอนั เนอ่ื งมาจาก พระราชด�าริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีมีนาม เรียกขานแปลกหู ชวนฉงน น่าสนใจตดิ ตามอยู่เสมอ เช่น โครงการแก้มลิง โครงการแกล้งดิน โครงการ เส้นทางเกลือ โครงการนา�้ ดีไล่น้�าเสยี หรือโครงการ น้�าสามรส ฯลฯ เหล่าน้ี เป็นต้น ล้วนชวนเชิญให้ ตดิ ตามอยา่ งใกลช้ ดิ แตพ่ ระองคก์ ็จะมพี ระราชาธบิ าย “...การทดลองตา่ งๆ นี้ ทา� เปน็ สว่ นนอ้ ยคอื ทา� เปน็ สว่ นเลก็ ๆ สามารถทจ่ี ะเกบ็ ไวใ้ หค้ นดวู า่ ตรงนท้ี �าอยา่ งนม้ี นั ไมค่ อ่ ยดใี ชไ้ มไ่ ด.้ ..กเ็ ปน็ หลกั วชิ า...” 288

แตล่ ะโครงการอยา่ งละเอียด เป็นทเ่ี ขา้ ใจง่าย รวดเร็ว “...ถ้าราษฎร “รู้รกั สามคั ค”ี เขาจะเข้าใจว่าเมือ่ เขามีรายได้ เขาก็ แก่ประชาชนท้งั ประเทศ จะยินดีเสียภาษี เพ่ือช่วยราชการให้สามารถท�าโครงการต่อไป เพื่อความก้าวหน้าของประเทศชาติ...” ๓. ในประการต่อมา ทรงให้เวลาในการ ประเมินค่าหรือประเมินผล (Evaluate) ด้วยการ ศึกษาหาข้อมูลต่างๆ ว่าโครงการอนั เน่ืองมาจาก พระราชดา� รขิ องพระองคน์ น้ั เปน็ อยา่ งไร สามารถนา� ไป ปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นสว่ นของตนเองหรอื ไม่ ซงึ่ ยงั คงยดึ แนวทาง ทใี่ ห้ประชาชนเลือกการพัฒนาด้วยตนเองที่ว่า “...ขอให้ถือว่าการงานที่จะท�านัน้ ต้องการ เวลาเป็นงานที่มีผู้ด�าเนินมาก่อนแล้ว ท่านเป็น ผทู้ ่จี ะเขา้ ไปเสรมิ ก�าลงั จงึ ตอ้ งมคี วามอดทนท่จี ะ เขา้ ไปรว่ มมอื กับผอู้ ่นื ตอ้ งปรองดองกับเขาใหไ้ ด้ แม้เห็นว่ามีจุดหนึ่งจุดใดจะต้องแก้ไขปรับปรุงก็ ต้องคอ่ ยพยายามแกไ้ ขไปตามทถี่ กู ที่ควร...” “...ราษฎรทย่ี ากจนน้ี เขาไม่มกี า� ลังท่จี ะตอบแทนอะไรได้เลย แม้จะทา� งานกไ็ ม่ค่อยได้ เพราะความยากจน แต่ถ้าเราสามารถทจ่ี ะท�าให้เขา อยู่ดกี นิ ดีข้นึ หน่อยเขากจ็ ะสามารถท�ารายได้ได้มากขน้ึ เรากจ็ ะลดการสงเคราะห์ลงได้...” 289

๔. ในขั้นทดลอง (Trial) เพอ่ื ทดสอบว่างาน ในพระราชด�าริท่ีทรงแนะน�าน้ันจะได้ผลหรือไม่ ซึ่ง ในบางกรณีหากมีการทดลองไม่แน่ชัดก็ทรงมักจะ มใิ หเ้ ผยแพร่แก่ประชาชน หากมผี ลการทดลองจนแน่ พระราชหฤทยั แล้วจึงจะออกไปสู่สาธารณชนได้ เช่น ทดลองปลูกหญ้าแฝกเพื่ออนุรักษ์ดินและน�้าน้ันได้มี การค้นคว้าหาความเหมาะสมและความเป็นไปได้จน ท่ัวท้งั ประเทศว่าดียิ่ง จึงนา� ออกเผยแพร่แก่ประชาชน เป็นต้น ๕. ข้นั ยอมรบั (Adoption) โครงการอนั เนอ่ื ง มาจากพระราชดา� รนิ ัน้ เมื่อผ่านกระบวนการมาหลาย ขั้นตอน บ่มเวลาการทดลองมาเป็นเวลานานตลอด จนทรงให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระ ราชดา� ริและสถานท่อี ืน่ ๆ เป็นแหล่งสาธติ ท่ีประชาชน สามารถเข้าไปศึกษาดูได้ถึงตัวอย่างแห่งความส�าเร็จ ดงั นน้ั แนวพระราชดา� รขิ องพระองคจ์ งึ เปน็ สงิ่ ทรี่ าษฎร สามารถพิสูจน์ได้ว่าจะได้รับผลดีต่อชีวิตและความ เป็นอยู่ของตนได้อย่างไร “...ถา้ ราษฎร “รจู้ กั สามคั ค”ี และรวู้ า่ “การเสยี คอื การได”้ ประเทศชาตกิ ็จะกา้ วหนา้ แนวพระราชด�ารทิ ้ังหลายดังกล่าวข้างต้นน้ี เพราะว่าการท่ีคนอยู่ดีมีความสขุ น้ันเป็นก�าไรอีกอย่างหนึ่งซ่ึงนับเป็นมูลค่าเงิน แสดงถงึ พระวิรยิ อุตสาหะท่ีพระบาทสมเด็จ ไม่ได้...” พระเจ้าอยู่หัวทรงทุ่มเทพระสติปัญญา ตรากตร�า พระวรกายเพ่ือค้นคว้าหาแนวทางการพัฒนาให้พสก นิกรท้ังหลายได้มีความร่มเยน็ เป็นสุขสถาพรยั่งยืน นาน นับเป็นพระมหากรณุ าธิคุณอันใหญ่หลวงท่ีได้ พระราชทานแก่ปวงไทยตลอดเวลา ๕๐ ปี จงึ กล่าว ไดว้ า่ พระราชกรณยี กจิ ของพระองคน์ น้ั สมควรอยา่ งยงิ่ ที่ทวยราษฎรจักได้เจรญิ รอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท ตามทที่ รงแนะน�าส่ังสอน อบรม และวางแนวทางไว้ เพือ่ ให้เกดิ การอยู่ดีมีสขุ โดยถ้วนเช่นกนั 290

สรปุ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระเมตตา พระราชทานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริแก่ อาณาประชาราษฎร์ ตั้งแต่เสด็จเถลิงถวัลย์สิริราช สมบตั ิในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ จวบจนปัจจุบันนับเป็น เวลาถึง ๕๐ ปี พระองค์ได้เสดจ็ พระราชด�าเนินไปยงั พ้ืนท่ีต่างๆ ท่ัวประเทศ ท�าให้ทรงเป็นนักวิจัยชนบท ด้วยพระองค์เอง เร่ิมจากการรวบรวมข้อมูลที่ทรง ค้นพบและผลจากการศกึ ษาค้นคว้าวิจยั ซง่ึ ส่งิ น้ีทรง น�ามาใช้เป็นแนวทางการพัฒนาในเวลาต่อมา ทรง เน้นหนักที่จะให้ประชาชนพึ่งตนเองได้อย่าง คอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป เครือ่ งมอื ทท่ี รงใช้ในการเสริมสร้าง การเรยี นรู้เพ่ือพ่ึงตนเองได้ในชนบท คือการที่ได้ พระราชทานพระราชด�าริให้จัดต้ังศูนย์ศึกษาการ พัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�ารขิ ึ้น ๖ แห่ง ทั่วประเทศ ท�าการศึกษาค้นคว้าหาความเหมาะสม ด้านการพฒั นาของแต่ละภูมิภาคซึ่งที่นี่เองทรงเลอื ก ไว้ใช้เป็นแหล่งทป่ี ระชาชนสามารถเข้ามาศกึ ษา และ ใช้บริการจากเจ้าหน้าที่ของรัฐในระบบ One Stop Service อนั กลายเป็นมิติใหม่ของการพัฒนาเพื่อพึ่ง ตนเองไดใ้ นปจั จบุ นั ซงึ่ การคน้ ควา้ หาแนวทางพฒั นา ทรพั ยากรบุคคลของประเทศใหพ้ งึ่ ตนเองไดน้ ้ี เปน็ งาน ท่ีหนักและท้าทายความสามารถย่งิ นักด้วยใช้ระยะ เวลาอันยาวนานยงิ่ แตพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ที่รักย่ิงของปวงไทยทรงบรรลุผลส�าเรจ็ น้ันแล้ว อย่างแท้จรงิ 291

บรรณานกุ รม กรมชลประทาน. ๘๔ ปี ชลประทาน กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์บรษิ ทั สารมวลชน, ๒๕๒๙. ____. แนวคิดในการออกแบบและก่อสรา้ งระบบบ�าบดั น้�าเสยี ด้วยพืชน้�า (Constructed Wetland) ที่ หนองหาน อา� เภอเมือง จังหวดั สกลนคร (เอกสารโรเนยี ว) ____. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวกบั งานพัฒนาแหล่งน้า� , กรุงเทพฯ : อมรินทร์พร้ินต้ิงกรุ๊ฟ, ๒๕๓๐. ____. รายงานผลการศกึ ษาและวจิ ยั ระบบบ�าบดั นา้� เสยี อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา� รทิ ห่ี นองสนม อา� เภอเมอื ง จังหวดั สกลนคร. (เอกสารเยบ็ เล่ม, มนี าคม ๒๕๓๔.) กรมป่าไม้. ๑๐๐ ปี กรมปา่ ไม้. กรงุ เทพฯ : กรมป่าไม้. กรมวชิ าการ. ปา่ ไมก้ บั การพฒั นาท่ีดนิ กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๓๐. กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม. ทรงเปน็ พระบดิ าแหง่ การอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม (๑) “ตน้ น้�าลา� ธาร” กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๓๖. กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละการพลงั งาน การศกึ ษาผลกระทบจากการเผาไหมใ้ นพ้ืนทพี่ รุ จังหวัดนราธวิ าส. กรุงเทพฯ, ๒๕๓๔. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาผลกระทบตอ่ สภาวะแวดลอ้ มเพือ่ การพัฒนาพนื้ ทพ่ี รุโตะ๊ แดง จังหวัดนราธวิ าส กรงุ เทพฯ ๒๕๓๓. กระทรวงวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและการพลังงาน. ทรงเปน็ บดิ าแหง่ การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา ๒๕๓๔. ____. ในหลวงกบั วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยพี ลงั งานและส่ิงแวดล้อม. กรงุ เทพฯ : พนั น่ี พบั ลิชชง่ิ , ๒๕๒๙ กลุ่มพฒั นาป่าชายเลนและป่าพรุ. เอกสารวจิ ยั ศูนย์วจิ ัยป่าชายเลน. กรุงเทพฯ : กรมป่าไม้. กษตั ริย์เกษตร โครงการตามพระราชดา� ริ, กรงุ เทพฯ : ศรีสงิ หรา คณะกรรมการจัดงาน ๕ ธันวามหาราช คร้งั ที่ ๑๘ พุทธศักราช ๒๕๓๗. น�้า...น�า้ พระทัยจากในหลวง. กรุงเทพฯ : ฐานเศรษฐกิจ ๒๕๓๒. คณะกรรมการจัดท�าแผนแม่บทโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริ. เขตการใช้ทดี่ นิ ในพ้นื ท่พี รุ จังหวัดนราธิวาส กรุงเทพฯ, ๒๕๒๙. คนื ผืนปา่ ใหแ้ ผน่ ดิน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์โอเอส พริ้นติ้ง, ๒๕๒๖. คา� สมั ภาษณ์ นายปราโมทย์ ไม้กลัด. วนั ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๙. ค�าสมั ภาษณน์ ายสรุ พล ปัตตาน.ี วันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๙. ค�าสัมภาษณ์ นายเอนก กา้ นสังวอน. วันท่ี ๒ ตุลาคม ๒๕๓๙. โครงการบา� บัดนา�้ เสียพระราม ๙. เอกสารรายงาน. 292

โครงการศนู ย์ศึกษาการพัฒนาพิกลุ ทอง. คู่มือการปรบั ปรงุ ดินเปรี้ยวจัดเพอ่ื การเกษตร, ๒๕๓๖. จา� นง อศิวฒั นสทิ ธ์ิ และคณะ สงั คมวทิ ยา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๓๘. ฉลองสิรริ าชสมบัติ ครบ ๕๐ ปี สหกรณไ์ ทยเทอดไว้เหนือเกลา้ . กรุงเทพฯ : ศลิ ปะสนองการพมิ พ์. ชรินทร์ สมาธ.ิ การพฒั นาปา่ พรใุ นจงั หวดั นราธิวาส. เอกสารประกอบการสมั มนา “เรอ่ื งการอนรุ กั ษท์ รพั ยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของประเทศไทย คร้ังท่ี ๒” วนั ที่ ๑๕ - ๑๖ มิถนุ ายน ๒๕๓๔. ทวยราษฎรร์ ักบาทแม้ ย่ิงดว้ ยปติ ุรงค.์ กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ดอกเบ้ีย. บรรจบ อศิ ดุลย์, พ.อ. การเมอื งเปรยี บเทยี บ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๑. บญุ ชนะ กลนิ่ คา� สวน และนายวชั ระ รงั สรรคส์ ฤษด.ิ์ รายงานสถานการณป์ า่ ชายเลน ในพ้นื ท่จี งั หวดั ปตั ตานี สา� นกั งานปา่ ไม้เขตปัตตาน.ี ๒๕๓๗. ผลการด�าเนนิ งานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดา� ริ พ.ศ. ๒๕๓๗. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทร์พร้นิ ตงิ้ แอนด์ พับลชิ ชิ่ง, ๒๕๓๗. ผลการศกึ ษาทดลองศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาภพู าน ๒๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๓. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พบ์ รกิ ารงานพมิ พ.์ พระราชดา� รสั วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔. กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทร์พริน้ ตง้ิ กรุ๊ฟ. พระราชดา� รสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานแกค่ ณะกรรมการ กปร. และคณะ เจา้ หนา้ ท่ที ่ี เกยี่ วขอ้ งกบั การดา� เนนิ งานศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาอนั เน่อื งมาจากพระราชดา� ริ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๓๑ ณ ศาลาดุสิดาลยั . กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทร์พรนิ้ ติ้งแอนด์พับลิชชง่ิ , ๒๕๓๑. พระราชดา� รสั พระราชทานแกบ่ คุ คลตา่ งๆ ท่เี ขา้ เฝา้ ฯ ถวายชยั มงคล ในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ติ วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๐. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ รนิ้ ตง้ิ แอนด์พับลิชชง่ิ , ๒๕๓๐. พระราชดา� รสั พระราชทานแกบ่ คุ คลตา่ งๆ ท่เี ขา้ เฝา้ ฯ ถวายชยั มงคล ในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ติ วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๓. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ รนิ้ ตง้ิ แอนด์พับลิชชงิ่ , ๒๕๓๓. พระราชด�ารสั พระราชทานแกค่ ณะบคุ คลตา่ งๆ ท่เี ขา้ เฝา้ ถวายชยั มงคลในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจิตรลดา พระราชวังสวนดุสติ วนั อาทิตย์ที่ ๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๗. กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทร์พร้ินต้ิงแอนด์พับลชิ ช่ิง, ๒๕๓๗. พระราชด�ารสั ในโอกาสท่คี ณะทา� งานฝา่ ยวชิ าการและคณะทา� งานฝา่ ยปฏบิ ัตกิ าร คณะกรรมการโครงการ ปรับปรุงบึงมักกะสัน กับคณะกรรมการระบายน�า้ หนองหาน เพือ่ ปรับปรุงสภาพสิ่งแวดล้อม เฝา้ ทลู ละอองธุลพี ระบาทณ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาภพู านอนั เน่อื งมาจากพระราชดา� ริ จงั หวดั สกลนคร วันศุกร์ท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทร์พริ้นต้งิ แอนด์พับลิชชิง่ , ๒๕๒๘. พระราชดา� รัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วโรกาสทีท่ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เอกอัครราชทูต และกงสลุ ใหญไ่ ทยท่ปี ระจา� ในตา่ งประเทศ ๗๗ ราย เขา้ เฝา้ ทลู ละอองธุลพี ระบาท วนั ท่ี ๑๗ สงิ หาคม ๒๕๓๘ ณ พระตา� หนักจิตรลดารโหฐาน. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พบั ลชิ ช่ิง, ๒๕๓๘. รสริน สมิตะพนิ ทุ. โครงการเก่ยี วกับการเกษตรสวนจิตรลดา. เอกสารการประชุมทางวิชาการเรื่อง “โครงการ 293

อนั เน่ืองมาจากพระราชดา� รแิ ละเทคโนโลยีพัฒนา” วนั ที่ ๓ สงิ หาคม ๒๕๓๘ ณ ห้องประชมุ สารนเิ ทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโดยสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชนบทจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยความร่วมมอื ของส�านกั งาน กปร. โลกใบใหม่. โครงการพระราชด�าริ “แกม้ ลิง” ของขวัญปีใหม่จากในหลวง. ๒๕๓๙. วารสารมลู นธิ ชิ ยั พัฒนา. การพลกิ ฟน้ื คนื แผน่ ดนิ เขาชะงมุ้ ผลสา� เรจ็ แหง่ ทฤษฎกี ารปลกู ปา่ โดยไมต่ อ้ งปลกู (สิงหาคม ๒๕๓๙.) ____. สทิ ธบิ ัตรในพระปรมาภไิ ธยของพระมหากษตั รยิ พ์ ระองคแ์ รกในประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทยและครงั้ แรก ของโลก. กันยายน ๒๕๓๖. ____. เสน้ ทางเกลอื เอกสารการศึกษาระบบการผลติ และจา� หนา่ ยเกลอื เพอ่ื หาทางเสรมิ ไอโอดนี เขา้ ใน เกลือบริโภค กรณศี ึกษาที่อา� เภอสะเมิง จังหวัดเชยี งใหม่. (กนั ยายน ๒๕๓๖.) วารสาร ส.ม.ท. โครงการพระราชด�ารนิ น้ั กค็ อื ใหร้ ถแลน่ พอแลน่ ไดไ้ มค่ ง่ั ไมศ่ นู ยก์ โิ ลเมตรตอ่ ชว่ั โมง. ๒๕๓๓ วิทยาลัยเทคนคิ สกลนคร. เครอื่ งผสมเกลือไอโอดนี แบบฉดี พน่ ผสม (เอกสารรายงาน) วทิ ยาลยั เทคนคิ เชียงใหม่. เครื่องผสมเกลอื ไอโอดนี (lodine Salt Mixer) (เอกสารแจกจ่าย) ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพกิ ุลทองอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ. พระราชด�ารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อเสด็จพระราชด�าเนินโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๓๖. เอกสารโรเนียว. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริ. ๑๐ ปี พระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดุลยเดช ในโครงการศนู ยศ์ กึ ษาพฒั นาหว้ ยทรายอนั เน่อื งมาจากพระราชดา� ร,ิ ประจวบคีรีขนั ธ์ : ส�านกั งาน น.ส.พ. หวั หินสาร. สถาบันทรพั ยากรชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์. โครงการพัฒนาและฟื้นฟูป่าชายเลนในเขตพ้ืนที่ เปา้ หมายของจังหวัดสงขลาและจงั หวดั ปตั ตานี. (เอกสารรายงาน) สญั ญา สัญญาวิวัฒน์. ทฤษฎีสงั คมวทิ ยา. กรงุ เทพฯ : ส�านักพมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ๒๕๓๖. สภุ าวดี ศิริรตั นากร. “ลกั ษณะโครงสร้างของปา่ พรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส. (วทิ ยานพิ นธ์ วทิ ยาศาสตร์ มหาบัณฑติ สาขาวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์), ๒๕๓๗. ส�านักการระบายน�้ากรงุ เทพมหานคร. โครงการปรับปรุงบึงมักกะสันอันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริ. (เอกสารโรเนียว) ____. โครงการพระราชดา� รใิ นปตี ่างๆ พรอ้ มคณะการด�าเนินการ. (เอกสารรายงาน) ____. ในหลวงกับการป้องกนั น้�าท่วมกรุงเทพมหานคร. สา� นักงานคณะกรรมการทรพั ยากรน�้าแห่งชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั กบั งานจดั การทรพั ยากรน�า้ . กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริน้ ติ้งกรุ๊พ, ๒๕๓๙. ส�านักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริ. ๕๐ ปี แห่งการพัฒนา ตามโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา� ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั . กรงุ เทพฯ : โอ.เอส. พริน้ ติง้ เฮ้าส์. 294

____. ประมวลพระราชดา� ริ เก่ยี วกับการอนรุ กั ษด์ นิ โดยการปลกู หญา้ แฝก. กรเุ ทพฯ : โรงพมิ พ์ ๒๑ เซน็ จรู .ี่ ____. สมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ ๒๑ เซ็นจูร่,ี ๒๕๓๙. สา� นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาต.ิ สองมหาราชนกั พฒั นา. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ์ ริน้ ตง้ิ กรฟุ๊ , ๒๕๓๑. สา� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาต.ิ รางวลั สภาวจิ ยั แหง่ ชาติ ประจา� ปี ๒๕๓๖ ผลงานคดิ คน้ หรอื สง่ิ ประดษิ ฐ์ เครอ่ื งกลเติมอากาศท่ีผิวน�า้ หมุนช้าแบบทุ่นลอย หรอื “เคร่ืองกังหันน้�าชยั พฒั นา”. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๓๖. ส�านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โครงการพระราชดา� ริ “ฝนหลวง” กรงุ เทพฯ : ส�านักงานปฏิบตั ิ การฝนหลวง, ๒๕๓๕. ____. ในหลวงของเรากบั ฝนหลวง. กรุงเทพฯ : สา� นกั งานปฏิบตั กิ ารฝนหลวง, ๒๕๓๕. สา� นักงานภูมภิ าคเอเชียและแปซิฟิค องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาต.ิ ศรีสวสั ดแิ์ หง่ ปฐพี. ส�านักพระราชวัง ๓๐ ปี นาขา้ วทดลองในสวนจติ รลดา. กรุงเทพฯ : เดอะแคมเปน. ____. ๓๐ ปี ป่ายางในสวนจติ รลดา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นตง้ิ กรุ๊ฟ, ๒๕๓๔. สา� นกั ราชเลขาธกิ าร. ประมวลพระราชดา� รสั และพระบรมราโชวาท ท่พี ระราชทานในโอกาสตา่ งๆ ตง้ั แต่ ปีพุทธศกั ราช ๒๔๙๘ - ๒๕๐๘. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจนั ทร์, ๒๕๑๖. ____. ประมวลพระราชด�ารสั และพระบรมราโชวาท พุทธศักราช ๒๕๓๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพฯ, ๒๕๑๒. ____. ประมวลพระราชดา� รสั และพระบรมราโชวาททพ่ี ระราชทานในโอกาสตา่ งๆ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๓๕. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์กรุงเทพฯ, ๒๕๓๖. ____. พระราชกรณียกิจระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๒๗ - เดือนกันยายน ๒๕๒๘. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ ไทยวัฒนพานิช, ๒๕๓๓. ____. พระราชกรณียกิจระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๓๑ - เดือนกันยายน ๒๕๓๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๓๓. ส�านักอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กรมป่าไม้. ฝายต้นนา้� ลา� ธาร. (เอกสารทางวชิ าการ) เอนก ก้านสังวอน. เครือ่ งบ�าบดั น�า้ เสยี อนั เนือ่ งมาจากพระราชด�าริ (TRX-1) (เอกสารโรเนียว) ____. ระบบบ�าบัดน้า� เสยี โดยใช้สารเรง่ ตกตะกอน. (เอกสารโรเนียว) 295

แนวคดิ และทฤษฎกี ารพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว คณะผู้จัดท�า นายสุเมธ ตันตเิ วชกุล นายมนูญ มุกข์ประดษิ ฐ์ นายพมิ ลศกั ด์ิ สุวรรณทตั นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ นายเฉลิมเกียรติ แสนวเิ ศษ นายปกรณ์ สัตยวณชิ นายสมพล พันธ์ุมณี นายโกวิทย์ เพ่งวาณิชย์ นายสุวฒั น์ เทพอารกั ษ์ นางสาวกานตี พรหมศิริ นายสางศรนี ิตย์ บุญทอง หม่อมหลวงจริ พันธุ์ ทววี งศ์ นางสาวสุนทรี ศรีปรชั ญากลุ นายไพโรจน์ บญุ ผูก นายลลติ ถนอมสงิ ห์ นายสายเมือง วริ ยศิริ นางสุวรรณา พาศิริ หม่อมราชวงศ์เพ็ญศริ ิ กรัยวิเชยี ร นายอนนั ต์ ทองประชมุ นางศศิพร ปาณิกบตุ ร ว่าที่ ร.ต.มนตรี เฉียบแหลม นายครรชติ ชยะไพบลู ย์ นางอรอนนั ต์ วฒุ ิเสน นายสทุ ัศน์ โพธศิ ริ กิ ลุ และเจ้าหน้าท่ีส�านักงานคณะกรรมการพิเศษ เพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดา� ริ 296