Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-07-20 04:11:13

Description: สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
(สำนักงาน กปร.)
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

แนวคิดและทฤษฎกี ารพัฒนาอนั เน่อื งมาจากพระราชดา� ริ ใน พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว



คา� น�า ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน นับแต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จข้ึน ครองสริ ิราชสมบัติ พระองคท์ รงงานอยา่ งตอ่ เนอื่ งเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ และสภาพความเปน็ อยขู่ องพสกนกิ ร ทกุ หมเู่ หลา่ ใหด้ ขี น้ึ ในทกุ ดา้ น โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ผยู้ ากไรด้ อ้ ยโอกาสในพน้ื ทช่ี นบทหา่ งไกล พระมหากรณุ าธคิ ณุ อนั ยิ่งใหญ่น้ีตระหนักกันดีว่า ได้ก่อคุณูปการอเนกอนันต์แก่ประเทศชาติเป็นส่วนรวม จากผลของการพัฒนา ในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดา� รซิ ง่ึ กระจายอยู่ทวั่ ทกุ ภูมิภาคของประเทศ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ารติ ่าง ๆ เหล่านี้มีแนวคิดทฤษฎีอันเกิดจากพระปรชี าสามารถ ตลอดจนพระวสิ ัยทศั นอ์ ันกวา้ งไกล เปน็ หลกั ในการด�าเนนิ งานอยใู่ นทกุ โครงการฯ แนวคดิ และทฤษฎหี ลากหลาย เหลา่ นี้ ยังไมเ่ คยมบี คุ คล คณะบคุ คล องคก์ ร หรือสถาบนั ใดไดร้ วบรวมเรียบเรยี ง ศกึ ษาวเิ คราะห์ หรือเขยี นไวใ้ ห้ ปรากฏเป็นหลกั ฐานอา้ งองิ ได้ ด้วยเหตผุ ลและความจา� เปน็ ดงั กลา่ ว สา� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสาน งานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดา� ริ (สา� นกั งาน กปร.) ซงึ่ ไดร้ บั พระมหากรุณาธคิ ณุ โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ให้ทา� หนา้ ทใี่ นการประสานการดา� เนนิ งานสนองพระราชดา� รมิ าตง้ั แต่ปี พ.ศ.๒๕๒๔ จงึ ไดร้ วบรวมและเรยี บเรยี ง แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขึ้นเป็นคร้งั แรกในประวัติศาสตร์ของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ เพื่อเฉลิมพระเกียรติในโอกาส อันเป็นมหามง่ิ มงคลปีกาญจนาภเิ ษก ทท่ี รงครองสิริราชสมบัตเิ ป็นปีทห่ี ้าสบิ “แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�าริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” เล่มน้ี ถอื เป็นการเร่มิ ต้นอย่างแท้จรงิ ของการบันทึกหลกั ฐานและข้อเท็จจริงของงานพัฒนาในโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดา� รใิ นเชงิ วเิ คราะห์ โดยการอธบิ ายและชใ้ี หเ้ หน็ หลักการ แนวคดิ และทฤษฎที อ่ี ยเู่ บอ้ื งหลงั การด�าเนนิ งาน ในโครงการนั้น ๆ มิใช่เป็นแค่เพยี งการบนั ทึกล�าดับเร่ืองราวตามปกติ และด้วยความยากลา� บากในการศึกษา วิเคราะห์ และท�าความเข้าใจกบั สาระส�าคัญในแต่ละเร่ือง เพื่อให้ถูกต้องสมบูรณ์ตามแนวพระราชด�าริ ให้มากที่สดุ ดังน้ัน หนังสือแนวคิดและทฤษฎีฯ เล่มนี้ จึงถือเป็นหนังสือเล่มแรกที่ยังมีความจ�าเป็นที่จะต้อง ไดร้ บั การแกไ้ ข ปรบั ปรงุ และเพมิ่ เตมิ ใหค้ รบถว้ นและมคี วามสมบรู ณย์ ง่ิ ขน้ึ ในล�าดบั ตอ่ ไป เมอ่ื ไดร้ บั พระราชทาน พระราชวินิจฉัยและพระราชด�ารเิ พ่ิมเติม หรอื เมื่อบางโครงการให้มีการเพิ่มเติม ปรบั ปรุงแนวทาง วิธีการ เมอ่ื สภาพปัญหาเปล่ียนแปลงไป ในวาระท่สี มควรต่อไปในอนาคต 3

อย่างไรกด็ ี ถึงแม้ว่าสา� นักงาน กปร. และคณะผู้จัดท�าจะมีความมุ่งมั่น ทุ่มเท และมานะพยายาม อย่างท่ีสดุ ในการจัดท�าหนังสือฉบับนี้ให้สมบูรณ์สมเจตนารมณ์ท่ีตั้งไว้เพียงใดกต็ าม แต่ก็ต้องยอมรับ โดยดุษฎีว่างานชิ้นน้ีเป็นงานท้าทายท่ียากลา� บากและซับซ้อนเป็นอย่างย่ิง เน่ืองเพราะยงั ไม่ปรากฏให้มีบันทึก และหลักฐานที่รวบรวมไว้อย่างเป็นระบบมาก่อน อีกทั้งลักษณะอันหลากหลายของโครงการ รวมท้ังหลักการ และแนวคิดท่ีแตกต่างกนั โดยส้นิ เชิง ย่งิ มีส่วนท�าให้มีความยากล�าบากมากขึ้น แต่ด้วยเหตุนี้คณะผู้จัดท�าจึงมี ความจ�าเป็นอย่างหลีกเล่ียงมิได้ ท่ีจะต้องเขียนและบันทึกไว้ให้ปรากฏเป็นหลักฐานไว้ในแผ่นดิน เพ่ือเป็นการ เรยี นรู้และเพื่อเป็นเคร่อื งเตือนใจให้ตระหนัก ส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณอันย่งิ ใหญ่ไพศาลหาท่ีสุดมิได้ของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช อันเป็นท่รี กั และเคารพบชู ายิง่ ของปวงชนชาวไทยพระองค์น้ี โดยในปี ๒๕๖๐ สา� นักงาน กปร. ได้จัดพิมพ์หนังสอื “แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเน่ืองมาจาก พระราชดา� ริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” อีกครั้งเป็นครั้งท่ี ๕ จ�านวน ๕,๐๐๐ เล่ม นับต้งั แต่การจัดพมิ พ์ ครง้ั แรกเมือ่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๔๐ พมิ พ์ครัง้ ที่ ๒ เมอ่ื ปี ๒๕๔๒ พิมพ์ครัง้ ท่ี ๓ เมื่อปี ๒๕๔๘ เนื่องในโอกาส พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชเถลงิ ถวลั ยราชสมบตั คิ รบ ๖๐ ปี ในวนั ท่ี ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙ และพมิ พ์ครัง้ ท่ี ๔ เมือ่ ปี ๒๕๕๙ รวมจา� นวนพมิ พ์ทัง้ สิน้ ๑๘,๐๐๐ เล่ม ซ่งึ การจัดพิมพ์ครงั้ ที่ ๕ นี้ เน่ืองจาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ จึงเห็นควร นอ้ มนา� องคค์ วามรตู้ ามแนวพระราชดา� ริตา่ ง ๆ ทที่ รงคณุ คา่ เผยแพรไ่ ปสสู่ าธารณชน เพอื่ นา� ไปศกึ ษา คน้ ควา้ อา้ งองิ และน�าองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ นับเป็นพระมหากรณุ าธิคุณอันยิ่งใหญ่ อย่างหาทส่ี ดุ มิได้ต่อเหล่าพสกนิกรไทยทง้ั แผ่นดิน ส�ำนกั งำน กปร. เมษำยน ๒๕๖๐ 4

สารบัญ ๘ - ส่วนท่ีหนงึ่ ๔๒ ๕๔ แนวคิดและทฤษฎีการพฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา� ริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๗๖ ๙๖ - ส่วนทสี่ อง ๑๐๐ ทฤษฎี “แกล้งดิน” อนั เน่อื งมาจากพระราชดา� ริ ๑๐๘ ทฤษฎีการป้องกันการเส่อื มโทรมและพงั ทลายของดิน โดย หญ้าแฝก พืชจากพระราชดา� ริ ๑๑๖ ก�าแพงทมี่ ชี ีวติ ในการอนุรักษ์และคนื ธรรมชาตสิ ู่แผ่นดนิ ทฤษฎีว่าด้วยการพัฒนาทรัพยากรแหล่งน�า้ ในบรรยากาศ “ฝนหลวง” ๑๒๒ แนวคดิ การพฒั นาทรพั ยากรแหล่งนา้� ในบรรยากาศ “เครอื่ งดักหมอก” ๑๓๔ เพอ่ื น�ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร หลักการบ�าบัดน้า� เสยี โดยการทา� ให้เจือจาง (Dilution) ตามแนวทฤษฎีการพัฒนา อันเน่อื งมาจาก พระราชดา� ริ “น�้ำดีไล่นำ�้ เสีย” โดยใช้หลกั การตามธรรมชาติแห่งแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) หลักการบ�าบดั น้�าเสียโดยการกรองน�า้ เสยี ดว้ ยผักตบชวำ (Filtration) ตามแนวทฤษฎีการพฒั นา อนั เนื่องมาจากพระราชด�าริ “บึงมกั กะสัน” ทฤษฎกี ารบา� บดั น�้าเสยี โดยใช้กระบวนการทางชวี วิทยาผสมผสานกบั เครือ่ งกลเตมิ อากาศแบบ “สระเตมิ อำกำศชวี ภำพบำ� บดั ” (Biological Treatment Aerated Lagoon) ตามแนวพระราชด�าริ “บงึ พระรำม ๙” ทฤษฎีการบ�าบัดน้�าเสยี ด้วยการผสมผสานระหว่างพชื น�า้ กบั ระบบการเตมิ อากาศ (Constructed Wetland and Air Transfer for Waste Water Treatment) ณ บรเิ วณหนองสนม-หนองหาน ทฤษฎีการบา� บดั น้า� เสียด้วยระบบบ่อบ�าบัดน้�าเสยี และวชั พชื บา� บัด (Lagoon Treatment and Grass Filtration) ณ แหลมผักเบ้ยี 5

ทฤษฎบี า� บดั นา้� เสียด้วยวธิ กี ารเติมอากาศ โดยใช้วธิ ที า� ให้อากาศสามารถละลายลงไปในนา้� (Air Transfer) เพ่อื เร่งการเจรญิ เตบิ โต และการเพาะตวั อย่างรวดเร็วของแบคทีเรยี จนมจี �านวนมากพอ ท่ีจะทา� ลายสิง่ สกปรกในน้�าให้หมดส้ินไปโดยเร็ว ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดา� ริ “กังหนั น�้ำชัยพฒั นำ” ๑๔๘ ทฤษฎกี ารบ�าบัดนา้� เสยี โดยกระบวนการทางฟิสกิ ส์เคมี (Physical-Chemical Process) ๑๖๐ ด้วยการท�าให้ตกตะกอน (Sedimentation) ตามพระราชดา� ริ “สำรเร่งตกตะกอน” PAC (Poly Aluminum Chloride) ทฤษฎกี ารแก้ไขปัญหานา้� ท่วม อนั เนื่องมาจากพระราชดา� ริ ตามแนวทางการบริหารจดั การด้านนา�้ ท่วมล้น (Flood Management) ๑๖๖ ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้อนั เน่ืองมาจากพระราชด�าริ ๑๗๘ ทฤษฎีใหม่ : การบริหารจดั การทีด่ ินเพอื่ การเกษตร อนั เน่อื งมาจากพระราชด�าริ ๒๒๖ แนวคดิ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน “เสน้ ทำงเกลือ” อันเนือ่ งมาจากพระราชดา� ริ ๒๔๖ ตามหลักสังคมวิทยาการแพทย์ (Medical Sociology) แนวคิดการพฒั นาเพ่ือพึ่งตนเองของเกษตรกร อันเนอ่ื งมาจากพระราชด�าริ ๒๕๒ (Self Reliance) บรรณานกุ รม ๒๙๒ 6

สว่ นที่หน่งึ 7

แนวคดิ และทฤษฎกี ารพฒั นา อนั เนื่องมาจากพระราชด�าริ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ข้อความน�า ในรัชกาลปัจจุบันข้ึนอย่างมากมายนับจ�านวน ไม่ถ้วน ท้ังในรปู ของหนังสือเล่ม บทความ สารคดี ๑. ตลอดระยะเวลาอันยาวนานถึง ๕๐ ปี บทวิเคราะห์ บทสดุดีเฉลมิ พระเกียรติ บทกวี และ นับแต่ที่ได้ทรงครองสิริราชสมบตั ิจนกระทั่งถึงวาระ อื่นๆ ต่างกรรมต่างวาระสืบเนื่องกันมาโดยล�าดับ อนั เปน็ มหามง่ิ มงคล ปแี หง่ พระราชพิธีกาญจนาภเิ ษก ตลอดห้าทศวรรษท่ีผ่านมาอย่างต่อเน่ือง และ ในพุทธศักราชสองพันห้าร้อยสามสิบเก้า ณ บัดนี้ ถึงแม้ว่าจะมีข้อเขียนอันหลากหลายนับจ�านวน ได้มีบคุ คล คณะบุคคล องค์กร สถาบันต่างๆ มิได้ดังกล่าวแล้วก็ตาม แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นการ ท้ังในและนอกประเทศ เขียนและเรียบเรียงเร่ืองราว เขียนในเชิงราชสดุดี พระราชประวัติ หรือพระราช ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเร่ืองราว กรณียกิจในแต่ละเร่อื ง แต่ละประเภทแทบท้ังส้ิน อนั เก่ยี วเนื่องกับองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 8

ซ่ึงก็นับว่าเป็นเอกสารท่ีมีคุณค่าในเชิงบันทึก ประวัติศาสตร์ ในเชิงวรรณกรรม และอ่นื ๆ แต่ก็ยัง ไมเ่ คยปรากฏมผี ใู้ ด คณะบุคคลใด องคก์ ร หรอื สถาบนั ใด เขียนหรอื เรียบเรียงแนวคดิ และทฤษฎีต่างๆ ทอ่ี ยู่ เบอื้ งหลงั การกอ่ กา� เนดิ ของโครงการและงานอนั เนอ่ื ง มาจากพระราชด�ารกิ ว่าสองพนั โครงการ อนั เป็นการ รวบรวมหลักการ แนวคดิ ตลอดจนทฤษฎี ซง่ึ เกิดจาก พระอจั ฉรยิ ภาพและพระปรีชาญาณอันย่ิงใหญ่หา ทเ่ี ปรียบมไิ ด้ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาล ปัจจุบัน ซึ่งได้ทรงตรากตรา� พระวรกายและพระราช สติปัญญา ทรงงานหนักเพอื่ พสกนกิ รถึงห้าทศวรรษ ๒. ส�านักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือ ประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริ (ส�านักงาน กปร.) ส�านักนายกรัฐมนตรี ซ่ึงได้ทรงมี พระมหากรณุ าธคิ ุณโปรดเกล้าฯ ให้ท�าหน้าท่ีเป็น 9

ส�านักงานเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนาในพระองค์ด้วย มาจากพระราชดา� ริ โดยเป็นผู้ทีไ่ ด้รับทราบ ได้รับฟัง นั้น มีหน้าท่ีรับผิดชอบโดยตรงกับการรับสนองและ ได้รบั การเรียนรู้ และได้รับสนองพระราชด�าริตามท่ี ถวายงานในโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริ พระราชทานให้ประสานการด�าเนินงานในโครงการ ทงั้ ปวง จงึ นับว่าเป็นหน่วยงานทไี่ ด้รบั ใช้ใกล้ชดิ ทีส่ ุด ต่างๆ มาต้ังแต่ต้นจนจบส้ินโครงการ ดังน้ัน จึงมี ในส่วนของงานที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาอันเนื่อง โอกาสไดร้ บั ทราบแนวคดิ อนั หลากหลายตง้ั แตเ่ รม่ิ แรก ของการพัฒนาในด้านต่างๆ อันมีจุดมุ่งหมายสรุป สดุ ท้ายคอื ความเป็นอยู่และคณุ ภาพชีวิตที่ดีขึ้นของ พสกนิกรของพระองค์ ตลอดจนความม่ันคง มั่งคั่ง และยง่ั ยืนของประเทศชาตเิ ป็นส่วนรวมด้วย 10

จากภาระหน้าที่สา� คัญท่ีมีอยู่โดยตรง และ จากการที่มีโอกาสได้รับพระมหากรุณาธคิ ุณ โดยท่ี ได้ทรงสอนและแนะน�าให้เข้าใจหลกั การ แนวคิด และทฤษฎีเชิงพัฒนาหลากหลายประการ เพ่ือให้ โครงการพฒั นาต่างๆ ของพระองค์ประสบผลสา� เร็จ และถกู ตอ้ งตามพระราชดา� รอิ ยา่ งสมบูรณ์ สา� นกั งาน คณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการ อนั เน่ืองมาจากพระราชด�าริ จึงได้พิจารณาเห็นว่า ควรที่จะได้เขียน ได้รวบรวมและเรียบเรียงแนวคิด และทฤษฎีการพฒั นาอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งยังไม่เคยมี ผู้กระท�ามาก่อนข้ึน เพ่ือเป็นการร่วมเฉลมิ ฉลอง ในโอกาสอนั เป็นมหามิ่งมงคลปีกาญจนาภิเษกท่ีได้ ทรงครองสริ ริ าชสมบัติเป็นปีที่ห้าสบิ และงานน้ี จะเป็นการเขยี นในเชิงวิเคราะห์ รวบรวมแนวคิดและ ทฤษฎใี นพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ขน้ึ เปน็ ครงั้ แรก ในประวตั ศิ าสตรข์ องการพฒั นาและโครงการอันเนอื่ ง มาจากพระราชดา� ริ ๓. อย่างไรกต็ าม แม้ว่าสา� นักงาน กปร. จะมี ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวลดน้อยถอยลงไป ความมุ่งม่ันและต้ังใจจรงิ ท่ีจะท�างานเขียนฉบบั นี้ ไม่ แต่กลับมีความเห็นว่าย่ิงมีความจ�าเป็นอย่าง ใหด้ ที ส่ี ดุ เพอื่ ถวายเป็นราชบรรณาการเพียงใดก็ตาม หลกี เลยี่ งมไิ ดท้ จ่ี ะตอ้ งบนั ทกึ รวบรวมไว้เปน็ หลักฐาน แต่งานน้ีก็นับได้ว่าเป็นงานที่ยากและมีความสลบั แม้ในระยะเร่ิมต้นครั้งแรกอาจจะท�าได้ไม่สมบูรณ์ ซับซ้อนอยู่ค่อนข้างมาก ท้ังในลักษณะธรรมชาติ นักก็ตาม แต่อย่างน้อยการบนั ทกึ แนวคิดและทฤษฎี ของโครงการพัฒนาที่แตกต่างหลากหลายกนั โดย ในงานพฒั นาอนั เกดิ จากพระอจั ฉรยิ ภาพของพระมหา ส้ินเชิงในแต่ละโครงการ อีกท้ังหลกั การและแนวคิด กษตั รยิ ์ ผทู้ รงมพี ระเมตตาและผทู้ รงคณุ อนั ประเสรฐิ น้ี กม็ อี ย่เู ปน็ อนั มาก และประการส�าคญั ทส่ี ุดคอื ไม่เคย กเ็ ป็นความจ�าเป็นและเป็นส่งิ ส�าคัญย่งิ ยวดท่ีจะต้อง มีการบนั ทึกรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบแบบแผน มีบันทึกไว้ให้ปรากฏในแผ่นดิน เพื่อเป็นการเรียนรู้ ในระยะแรกๆ ทีไ่ ด้ทรงงาน อย่างไรก็ดีข้อจ�ากดั และ และเพ่ือการตระหนักสา� นึกในพระมหากรณุ าธิคุณ ความยากลา� บากของงานน้ีแม้จะมีอยู่ไม่น้อย แต่ก็ อนั ยงิ่ ใหญไ่ พศาลอนั หาทสี่ ดุ มไิ ดข้ องพระบาทสมเดจ็ หาได้ท�าให้เจตนาท่ีจะรวบรวมและเรียบเรยี งแนวคิด พระเจ้าอยู่หัว อันเป็นท่ีรักและเคารพยิ่งของปวงชน และทฤษฎีการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริ ชาวไทยพระองค์นี้ 11

ลักษณะพิเศษของแนวคดิ และทฤษฎี ท�าส่ิงท่ียากให้กลายเป็นง่าย ทา� ส่งิ ท่ีสลับซับซ้อนให้ การพัฒนาอนั เน่อื งมาจากพระราชดา� ริ เข้าใจง่าย อันเป็นการแก้ไขปัญหาด้วยการใช้ภววสิ ัย แห่งธรรมชาตนิ น่ั เองเป็นแนวทาง การท�าสงิ่ ที่ยากให้ ๔. ดงั ได้กล่าวแล้วในเบ้ืองต้นว่า แนวคิดและ กลายเป็นง่ายนั้นเป็นของยาก เช่นเดียวกับการท�า ทฤษฎีในการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�าริน้ัน ส่งิ ท่ีง่ายให้เป็นเร่อื งยากนั้นเป็นของง่าย มีพระราช เกดิ จากพระอจั ฉรยิ ภาพและพระปรชี าสามารถในการ กระแสอยู่เนืองๆ ถึงค�าว่า “ท�ำให้ง่ำย” ซึ่งน่าจะ ท่ีได้ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรงุ และแก้ไขให้การ ตรงกบั ภาษาองั กฤษว่า ซมิ พลิซติ ี้ (Simplicity) ซึ่งเป็น พฒั นาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ารเิ ป็นงาน ที่ด�าเนินการไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และ สอดคล้องกบั สภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศโดย ส่วนรวมของธรรมชาติ ตลอดจนสภาพทางสงั คมของ ชมุ ชนนัน้ ๆ หลายต่อหลายงานและโครงการ เมอ่ื ทรง คดิ พจิ ารณาและศกึ ษาจนมพี ระราชวนิ จิ ฉัยออกมาใน ท้ายที่สดุ แล้วนักวิชาการและผู้เช่ียวชาญเฉพาะเร่ือง นั้นๆ ก็มักจะพบว่าเป็นเร่ืองง่ายและธรรมดา จนไม่ เคยมีผู้ใดคาดคิดมาก่อน ยอมรับกันโดยทัว่ ไปในหมู่ นักพัฒนาและนักวิชาการว่า พระองค์ทรงโปรดที่จะ 12

13

หลักคิดส�าคัญในทุกเรื่อง และการพัฒนาเกือบทุก หมายว่า ทั้งน้�าเน่าเสยี และผักตบชวาล้วนแต่เป็นส่ิง โครงการของพระองค์ ไม่พงึ ปรารถนาและต้องก�าจดั ไป แต่ก็สามารถน�ามา ใช้หกั ล้างกนั ใหม้ ผี ลออกมาเปน็ “ธรรม” ได้ นนั่ กค็ อื นอกเหนือไปจากการท�าทุกอย่าง “ให้ง่ำย” น้�าดีที่พึงปรารถนานั่นเอง แนวคิดและปรชั ญาการ และไม่สลับซับซ้อนอันเป็นหลักและหัวใจส�าคัญของ ท�างานในลกั ษณะนี้ จะเห็นได้ว่าเป็นการใช้ “สติ” การดา� เนนิ งานแลว้ การนา� ความรจู้ ริงในความเปน็ ไป และ “ปัญญำ” ผสมผสานกบั ความรู้เข้าดา� เนินการ แห่งธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาใช้ “จัดกำร” กับสภาวะและปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นบวก ในการแก้ไขปัญหา และปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงสภาวะ หรือลบท่ีอยู่แวดล้อมมนุษย์ตามธรรมชาติ ให้ก่อ ทไี่ มป่ รกตใิ หเ้ ขา้ สรู่ ะบบปรกตนิ นั้ กน็ บั วา่ เปน็ หลักการ ประโยชน์ให้ได้ในที่สุดน้ัน น่าจะถือว่า เป็นสุดยอด และแนวปฏิบัติท่ีสา� คัญย่งิ อีกส่วนหน่ึงในการ ของการ “จัดกำร” ทเี ดยี ว ทรงงานของพระองค์ เช่น การน�าน�ำ้ ดขี ับไล่น�้ำเสยี หรือเจือจางน�้าเสยี ให้กลับเป็นน้�าดี ตามจังหวะการ ๕. แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่อง ข้ึนลงของน้�าตามธรรมชาติ หรอื ดังอีกตัวอย่างหนึ่ง มาจากพระราชดา� ริ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว เช่น การบ�าบัดน�้าเน่าเสยี โดยการใช้ผักตบชวำ ท่ีถือว่าเป็นลกั ษณะพิเศษท่ีน่าสนใจอีกประการหน่ึง ซึ่งมีอยู่ตามธรรมชาติให้ดูดซับส่ิงสกปรกปนเปื้อน กค็ ือ การมุ่งเน้นให้ผลของการด�าเนินงานนั้นตกถึง ในน�้าให้บรรเทาลง ดังที่มีพระราชกระแสในเร่อื งน้ี มอื ประชาชนโดยตรงเปน็ เบอื้ งแรก เพอ่ื บรรเทาปญั หา ว่าเป็นการ “ใช้อธรรมปรำบอธรรม” อันมีความ 14

เฉพาะหน้าคือ “กำรพออยู่ พอกนิ ” ขณะเดียวกบั บรรลุผลส�าเร็จได้อย่างสมบรู ณ์เต็มที่ ที่ปพู ้นื ฐานไว้ส�าหรบั ความ “อยู่ดี กนิ ดี” ต่อไปใน แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจาก อนาคตดว้ ย ดงั นนั้ จงึ มลี ักษณะของการมองผลสา� เร็จ ท่เี ป็นการ “คมุ้ ค่ำ” มากกว่าการ “คมุ้ ทุน” ดังทเี่ คย พระราชดา� ริทเ่ี หน็ สมควรยกขน้ึ มากลา่ วไวอ้ กี ประการ มพี ระราชกระแสว่า “ขำดทนุ คอื กำ� ไร” (our loss is หนึง่ ก็คอื กำรสร้ำงควำมรู้ รกั สำมัคค ี และกำร our gain) กา� ไรนนั้ คือความอยู่ดมี สี ุขของประชาชนที่ ร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกันท�ำ โดยปรับลดอัตวิสัย จ�าเป็นต้องลงทนุ แต่ก็เป็นการลงทนุ ที่ “คุ้มค่ำ” แม้ ของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ท่มี ักจะต่างคนต่างทา� และ จะไม่กลับมาเป็นตัวเงนิ คอื “ก�ำไร” ในนัยธรรมดา ยดึ ติดการเป็นเจ้าของเป็นสา� คัญ ให้เป็นการร่วมกัน ในตอนแรก เป็นต้น โดยไม่มเี จ้าของ และสามารถอา� นวยประโยชน์สูงสุด ให้กับประชาชนและเกษตรกรดงั เช่นในกรณขี องศนู ย์ น อ ก ไ ป จ า ก น้ี แ น ว ค ว า ม คิ ด แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดา� ริ ท่ีเป็น ดังกล่าวยงั มีลกั ษณะของการ “ไม่ตดิ ต�ำรำ” คือ รูปแบบใหม่ของการบริหารท่ีเป็นการ “บริกำร เปน็ การพัฒนาทอ่ี นโุ ลมและรอมชอมกับสภาพแห่ง รวมจุดเดียว” และ “กำรบริกำรเบ็ดเสร็จ” หรือ ธรรมชาติและสภาพของสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน “one stop service for the farmers” ที่เกิดขึ้น และต้องไม่ผกู มัดติดอยู่กับวิชาการและเทคโนโลยีท่ี เป็นคร้ังแรกในระบบบริหารราชการแผ่นดินของ แข็งตัว และไม่เหมาะกบั สภาพท่ีแท้จริงของคนไทย ประเทศไทยอย่างแท้จรงิ อนั จะท�าให้การด�าเนินงานในโครงการไม่สามารถ 15

16

สาระสา� คัญในแนวคดิ และทฤษฎี การพฒั นาอนั เน่อื งมาจากพระราชด�าริ ๖. โครงการพฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดา� ริ น้ัน มีอยู่มากมายหลากหลายประเภทแตกต่างกนั ไป ตามลักษณะและวัตถุประสงค์ของโครงการนั้นๆ ซึ่ง ส่วนมากจะเป็นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านการ ทา� มาหากินของประชาชนเป็นส�าคัญ และดังทที่ ราบ กนั ดวี า่ ส่วนใหญ่ของประชากรของประเทศไทยยงั ชพี อยู่ด้วยการท�าเกษตรกรรม ดังนั้นโครงการพัฒนา อันเน่ืองมาจากพระราชด�าริจึงเก่ียวข้องอยู่กับเรื่อง ของการพัฒนาปัจจัยการผลิตต่างๆ เช่น ดิน น�้า ที่ทา� กนิ ทนุ และความรู้ด้านเกษตรกรรม การอนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ฯลฯ เปน็ ตน้ และ ดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ในเบอื้ งตน้ ไมว่ า่ จะเปน็ แนวคดิ และ ทฤษฎีในงานสาขาใดท่ีได้พระราชทานพระราชด�าริ เพื่อการแก้ไข ปรับปรงุ และพัฒนาไว้ หลักส�าคัญ ของทุกเรื่องก็คือ ความเรียบง่ายดังท่ีได้ทรงใช้ค�าว่า “Simplify” หรือ “Simplicity” จะต้องเรียบง่าย ไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อนทั้งในแนวความคิดและด้าน เทคนคิ วชิ าการจะตอ้ งสมเหตสุ มผล ทา� ไดร้ วดเรว็ และ สามารถแก้ไขปัญหาให้ก่อประโยชน์ได้จรงิ ตลอดจน ต้องมุ่งไปสู่วถิ แี ห่ง กำรพฒั นำย่ังยนื (Sustainability) อีกด้วย แนวคิดและทฤษฎใี นเร่อื งต่างๆ ทไี่ ด้ทรงคิด พิจารณาอย่างถ่องแท้ และได้พระราชทานให้เป็น แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านนน้ั จะเปน็ ประโยคงา่ ยๆ แต่ ไดผ้ า่ นการกลัน่ กรองมาแลว้ เปน็ อยา่ งดี เปน็ ขอ้ ความ งา่ ยๆ ทมี่ คี วามหมายลึกซงึ้ และบางครัง้ บง่ บอกถงึ วธิ ี ดา� เนนิ การไวด้ ว้ ยอยา่ งเบด็ เสร็จในตวั เองเชน่ หลักของ 17

“นำ้� ดไี ล่นำ้� เสยี ” ตามโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดา� รขิ องพระองค์ “๔ นำ�้ ๓ รส” โดยจะแยกออกตามลักษณะและประเภทของ “แกลง้ ดิน” กลมุ่ งานใหญๆ่ เชน่ เรือ่ งทเ่ี กีย่ วกบั ดนิ นา�้ การพฒั นา “ป่ำสำมอยำ่ ง ประโยชน์สีอ่ ยำ่ ง” และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม “ปลูกป่ำแบบไม่ปลูก” การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ “ขำดทนุ เป็นก�ำไร” ประชาชน ฯลฯ เป็นการปูพ้ืนฐานให้ติดตามความ “ทฤษฎใี หม”่ ละเอยี ดไดใ้ นสว่ นทสี่ อง ซง่ึ ไดแ้ ยกแยะรายละเอยี ดไว้ “โครงกำรแกม้ ลงิ ” เป็นการเฉพาะในแต่ละเรอื่ งตามล�าดับต่อไป ส�าหรับ “เสน้ ทำงเกลือ” ความสงั เขปในแต่ละกลุ่มงานดังกล่าว มีดงั น้ี ฯลฯ แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ยี วกบั เรื่อง “น�า้ ” ๗. แนวคิดและทฤษฎีของการพัฒนา อันเนอ่ื งมาจากพระราชด�าริ ซงึ่ จะน�าเสนอใหเ้ หน็ เปน็ ๘. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นท่ี ตวั อย่างพอสงั เขป ในส่วนที่หน่งึ นี้ มุ่งประสงค์พอให้ ยอมรบั นับถือกันโดยทั่วไปว่าพระองค์คือ ปราชญ์ สามารถมองเห็นภาพรวมของส่ิงที่เป็น “แนวคิด” ในเร่อื งน้�าของแผ่นดินอย่างแท้จริง ตลอดระยะเวลา และ “ทฤษฎ”ี พืน้ ฐานเบือ้ งหลังในการทรงงานพฒั นา อันยาวนานของการทรงงานหนักตรากตรา� อย่างไม่ 18

ทรงเคยหยดุ หย่อนน้ัน งานพฒั นาที่ส�าคัญย่ิงของ ระบายนา�้ สแู่ มน่ า�้ เจา้ พระยาในระยะนา�้ ลง ผลกค็ อื นา้� พระองค์คือ งานทเี่ กยี่ วข้องกบั “น�ำ้ ” ศาสตร์ท้ังปวง ตามลา� คลองต่างๆ มีโอกาสไหลถ่ายเทหมนุ เวยี นกัน ทเ่ี กีย่ วกับนา้� ไม่ว่าจะเป็นการพฒั นาและจดั หาแหลง่ มากขนึ้ นา้� ทมี่ สี ภาพทรงอยกู่ บั ทแี่ ละเนา่ เสยี กจ็ ะกลบั นา้� การเกบ็ กกั การระบาย การควบคมุ การทา� นา้� เสยี กลายเป็นนา�้ ท่มี ีคุณภาพดขี ้นึ ด้วยวิธีธรรมชาติง่ายๆ ให้เป็นน้�าดี ตลอดจนการแก้ไขปัญหาน�้าท่วมน้ัน อย่างท่ีไม่มีผู้ใดคิดมาก่อนเช่นน้ี ได้มีส่วนท�าให้น้�า ย่อมประจักษ์ชัดและได้พิสจู น์ให้เห็นแล้วว่าพระ เนา่ เสยี ตามคคู ลองตา่ งๆ ในกรุงเทพมหานคร มสี ภาพ อัจฉรยิ ภาพและพระปรีชาสามารถของพระองค์น้ัน ดขี ึน้ อย่างเห็นได้ชดั ในปัจจบุ นั วธิ ีการง่ายๆ เช่นนค้ี อื หาผู้เสมอเหมือนได้ยากย่งิ ในส่วนที่เก่ียวกับน�้านี้ การน�าระบบการเคล่อื นไหวของน�้าตามธรรมชาติ ใคร่ขอหยบิ ยกแนวคิดและทฤษฎีที่ทรงด�าเนินการ มาจัดระเบียบแบบแผนขึ้นใหม่ เป็นการ “จัดกำร เก่ยี วกับน้�าในลกั ษณะต่างๆ กัน มาแสดงให้เห็น ทรัพยำกรธรรมชำติในเชิงอนุรักษ์ควบคู่ไปกับ พอสังเขป ณ ทน่ี เ้ี พยี ง ๒ - ๓ ประการ เชน่ แนวคดิ เรอื่ ง กำรพัฒนำทีเ่ รียบง่ำย” ไม่ขัดกบั หลกั ธรรมชาติ “น�้ำดไี ลน่ �ำ้ เสยี ” ในการแก้ไขมลพษิ ทางนา้� น้นั ทรง แต่สอดคล้องและนา� ไปสู่ประโยชน์ทตี่ ้องการได้ แนะนา� ใหใ้ ชห้ ลักการแกไ้ ขโดยใชน้ า�้ ทมี่ คี ณุ ภาพดจี าก แมน่ า�้ เจา้ พระยา ใหช้ ว่ ยผลักดนั และเจอื จางนา�้ เนา่ เสยี ๙. “ไตธรรมชำติ” ของกรุงเทพมหานคร ใหอ้ อกจากแหลง่ นา�้ ของชมุ ชนภายในเมอื งตามคลอง ท่ีบึงมักกะสนั กเ็ ป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของแนวความ ตา่ งๆ เชน่ คลองบางเขน คลองบางซอื่ คลองแสนแสบ คิดในเร่ืองการบ�าบัดน�้าเสียของพระบาทสมเด็จ คลองเทเวศร์ และคลองบางล�าพู เป็นต้น วิธีน้ี พระเจ้าอยู่หัว โดยได้ทรงวางแนวพระราชด�าริ จะกระท�าได้ด้วยการเปิด-ปิดประตูอาคารควบคุมน�้า พระราชทานไว้ว่า เมืองใหญ่ทุกแห่งต้องมี “ปอด” รับน�้าจากแม่น้�าเจ้าพระยาในช่วงจังหวะน้�าข้ึน และ คอื สวนสาธารณะไว้หายใจหรือฟอกอากาศ ในขณะ 19

เดยี วกันกค็ วรมแี หลง่ นา้� ไวส้ า� หรบั กลัน่ กรองสิง่ โสโครก ท่ีได้ทรงคิดค้นประดิษฐ์ข้ึนเอง โดยเน้นวิธีการที่ เนา่ เสยี ทา� หนา้ ทเี่ สมอื นเปน็ “ไตธรรมชำต”ิ จงึ ไดท้ รง เรียบง่าย ประหยดั และไม่สร้างความเดือดร้อน ใช้ “บงึ มกั กะสัน” เป็นแหล่งนา�้ ท่ีรองรับน�้าเสยี จาก ร�าคาญแก่ประชาชนในพ้ืนท่ีนั้น มีพระราชกระแส ชุมชนในเขตปริมณฑลและในกรุงเทพมหานคร โดย ในเรอื่ งนว้ี า่ “...สวนสำธำรณะ ถือวำ่ เปน็ ปอด แตน่ ่ ี ทรงเปรยี บเทียบว่า “บงึ มักกะสัน” เป็นเสมือนดัง (บึงมักกะสัน) เป็นเสมือนไตฟอกเลือด ถ้ำไต “ไตธรรมชำติ” ของกรงุ เทพมหานครท่ีเก็บกัก ท�ำงำนไม่ดี เรำก็ตำย อยำกให้เข้ำใจหลักกำร และฟอกน�้าเสียตลอดจนเป็นแหล่งเกบ็ กัก ของควำมคิดนี้...” บึงมักกะสันในปัจจุบันได้ท�า และระบายน้�าในฤดูฝน และที่บึงแห่งนี้เองก็ได้ หน้าท่ี “ไตธรรมชำติ” ของกรงุ เทพมหานคร โปรดให้มีการทดลองใช้ผกั ตบชวา ซ่ึงเป็นวัชพืช อย่างมีประสิทธิภาพ ได้มีส่วนช่วยบรรเทามลพิษ ท่ีต้องการก�าจัดอยู่แล้วมาช่วยดูดซับความสกปรก ทางน้�า และเป็นแหล่งศึกษาทดลองด้านการแก้ไข ปนเปื้อน รวมตลอดทงั้ สารพษิ ต่างๆ จากน้�าเน่าเสีย ปัญหาส่ิงแวดล้อม การส่งเสรมิ อาชีพ และการน�า ประกอบเข้ากับเคร่ืองกลบ�าบัดน�้าเสยี แบบต่างๆ ของเสียมาใช้ให้ก่อประโยชน์ได้อย่างดียิ่ง 20

หลากหลายดงั ได้กล่าวไว้แล้วเป็นปฐม โดยนบั ต้ังแต่ แนวความคิดในโครงการเก็บกักน�้าขนาดใหญ่ของ ประเทศ เชน่ โครงการพฒั นาลมุ่ นา้� ปา่ สัก อนั เกดิ จาก นา�้ พระราชหฤทยั ที่ทรงห่วงใยถงึ ปัญหาวิกฤตการณ์ น้�าท่ีจะเกิดขึ้นแก่ประเทศไทยในอนาคต คือปัญหา น�้าท่วมกบั ปัญหาน้า� แล้ง ซึ่งเกดิ ขึน้ สลบั กันอยู่ตลอด เวลา สร้างความสูญเสยี อันย่งิ ใหญ่แก่เกษตรกร และประชาชนโดยท่ัวไปอยู่เป็นประจ�า จึงจ�าเป็น ที่จะต้องด�าเนินการจัดสร้างโดยเร่งด่วน เพ่ือเป็น แหล่งต้นทุนน้�าชลประทานในการเกษตรกรรมใน ฤดแู ลง้ เพอ่ื ปอ้ งกนั และบรรเทาอทุ กภยั ในบรเิ วณลมุ่ นา้� ป่าสกั และลุ่มน้�าเจ้าพระยาตอนล่างในฤดูน้�าหลาก เพื่อบรรเทาปัญหาน�้าเน่าเสียในเขตกรงุ เทพมหานคร และเมืองใหญ่ในภาคกลาง และเพื่อผลประโยชน์ ทางอ้อมนานัปการท่ีจะบังเกิดข้ึน ส�าหรับในเร่ืองนี้ ได้เคยมพี ระราชกระแสไว้ด้วยความห่วงใยว่า ๑๐. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับเร่ืองน�้า “...หำกประวงิ เวลำตอ่ ไปไมไ่ ดท้ ำ� เรำกต็ อ้ ง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้นมีอยู่มากและ อดน้ำ� แน ่ จะกลำยเปน็ ทะเลทรำย และเรำกจ็ ะอพยพ 21

ไปไหนไมไ่ ด ้ โครงกำรน้คี อื สรำ้ งอำ่ งเกบ็ นำ้� ๒ แหง่ แม่น�้าปา่ สักมีปริมาณน้�าไหลเฉลี่ยทั้งปีประมาณ แหง่ หนง่ึ คอื ทแ่ี มน่ ำ้� ปำ่ สกั อกี แหง่ หน่งึ คอื ทแ่ี มน่ ำ้� ๒,๔๐๐ ล้านลูกบาศก์เมตร เฉพาะปริมาณน�้าท่า นครนำยก ๒ แห่ง รวมกันจะเก็บน�ำ้ เหมำะสม เฉล่ยี ในเดือนกันยายนและตลุ าคม จะมถี ึงประมาณ พอเพยี งสำ� หรบั กำรบรโิ ภค กำรใชน้ ำ้� ในเขตกรงุ เทพฯ ๑,๖๐๐ ล้านลูกบาศก์เมตร เนอ่ื งจากเป็นฤดฝู น แต่ และเขตใกลเ้ คยี งในท่รี ำบลมุ่ ของประเทศไทย...” กเ็ ป็นท่ีน่าเสียดายว่าปริมาณน�้าเหล่านี้ถูกปล่อยท้ิง ลงทะเลโดยเปล่าประโยชน์ แทนท่ีจะได้เกบ็ กักไว้ใช้ แนวความคิดหลกั ในเร่อื งท่ีจะต้องมีแหล่ง เพ่ือการเกษตรกรรม การอุปโภคบริโภค และอ่ืนๆ เก็บกักน�้าไว้ใช้ในฤดูแล้งและป้องกันบรรเทาน้�าท่วม ในฤดูแล้งและช่วยลดความสญู เสยี จากอุทกภัย ในฤดูน�้าหลากน้ัน ก็เน่ืองมาจากข้อเท็จจริงที่ว่า : ซ่ึงเกิดข้ึนเป็นประจ�าได้ ท้ังน้ี เน่ืองจากไม่มีระบบ เก็บกกั น้�าทสี่ มบรู ณ์นน่ั เอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นย�้า หลายคร้ังและให้ความส�าคัญแก่โครงการน้ีเป็นอย่าง มาก ท้ังนี้ เน่ืองจากหากดา� เนินการได้สา� เร็จโดยเร็ว ปัญหาและวิกฤตการณ์เก่ยี วกับนา้� ในทุกรูปแบบของ ประเทศไทยก็จะบรรเทาเบาบางลงได้แน่นอน นอกเหนือไปจากโครงการพัฒนาลุ่มน้�า ป่าสักแล้ว ทางภาคใต้ของประเทศไทยกป็ ระสบกับ ปญั หาของนา้� ทว่ ม นา้� จดื นา�้ เปรยี้ ว นา้� เคม็ อนั เปน็ ผล ท�าให้การเกษตรกรรมไม่ได้ผลดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 22

บริเวณพ้นื ท่ีโดยรอบเขตพรุและท่ีใกล้กบั เขต แนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ที่เก่ียวกับดินนั้น ดินพรุ เช่น บรเิ วณพ้ืนท่ีลุ่มน้�าปากพนังและบริเวณ ท่ีสมควรยกมาเป็นตัวอย่างพอสังเขปในส่วนนี้มี ลุ่มน้�าบางนรา เป็นต้น โดยมีหลักการส�าคัญให้วาง ดงั ต่อไปนค้ี อื โครงการและก่อสร้างระบบแยกน้�า ๓ รส ออกจาก กันคือ สร้างระบบป้องกนั น้�าเปร้ยี วจากพรุท่ีท�าให้ วธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาดนิ เปรย้ี วดว้ ย “กำรแกลง้ ดนิ ” พน้ื ทเี่ กษตรกรรมเป็นกรด ระบบป้องกนั น้�าเค็มบกุ รุก ดังได้กล่าวแล้วในตอนต้นว่า สภาพพื้นที่ดิน และระบบส่งน�้าจืดช่วยเหลือพ้ืนที่เกษตรกรรม และ ทางภาคใตม้ สี ภาพเปน็ ดนิ เปรีย้ วจดั ทา� การเพาะปลกู เพ่ือการอปุ โภคบรโิ ภค เก่ียวกบั โครงการฯ นี้ได้ ไม่ได้เน่ืองจากมีกรดก�ามะถันอันเป็นสาเหตุของ ทรงวางแนวคิดและวิธีการในเร่ืองการแยกน�้าแต่ละ ประเภทในพ้นื ที่เดียวกันให้แยกออกจากกันด้วย วธิ กี ารทแ่ี ยบยล อนั แสดงถงึ พระอจั ฉรยิ ภาพในศาสตร์ ของนา้� อย่างแท้จริง แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกบั เรอ่ื ง “ดนิ ” ๑๑. โดยลกั ษณะเดียวกันกับเร่ือง “น�้า” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวคิด และทฤษฎีที่เก่ยี วข้องกบั การอนุรกั ษ์และปรบั ปรุง บ�ารุงดนิ เพ่ือการเกษตรกรรมไว้หลายประการ ท้งั น้ี รวมถงึ “กำรใช้หญำ้ แฝก” เพ่ืออนุรกั ษ์และป้องกนั การพงั ทลายของหน้าดิน จนประเทศไทยกลายเป็น ศูนย์กลางของการใช้เทคนิคและวิชาการหญ้าแฝกที่ ประสบผลสา� เรจ็ และมคี วามกา้ วหนา้ มากทส่ี ุดในโลก ปัจจุบันนดี้ ้วย 23

ดนิ เปรย้ี วอยเู่ ปน็ อนั มาก วธิ กี ารแกไ้ ขกค็ อื ใชก้ รรมวธิ ี กรดจัดมากขึ้นจนถงึ ท่ีสุด จากน้ันจึงมีการปรับปรุง การ “แกล้งดินให้เปรีย้ ว” ด้วยการท�าให้ดินแห้ง ดนิ เปร้ยี วโดยวิธีการต่างๆ เช่น โดยการควบคุมระบบ และเปยี กสลับกนั เพือ่ เรง่ ปฏกิ ิริยาทางเคมขี องดนิ ใหม้ ี นา�้ ใตด้ นิ เพอ่ื ปอ้ งกันการเกดิ กรดกา� มะถนั การใชว้ สั ดุ 24

ปนู ผสมประมาณ ๑ - ๔ ตันต่อไร่ การใช้น้�าชะล้าง ขวางตามความลาดของเขา การปลูกหญ้าแฝกเพ่ือ จนถึงการเลือกใช้พืชท่ีจะเพาะปลกู ในบริเวณน้ัน แก้ปัญหาการพังทลายของดินท่ีเป็นร่องน้�าลึก การ “กำรแกล้งดนิ ” โดยวิธีการท่ีได้พระราชทานไว้นั้น ปลูกในพื้นท่ีลาดชัน และการปลูกเพ่ือการอนุรักษ์ สามารถท�าให้บริเวณพ้ืนท่ีดินที่เปล่าประโยชน์และ ความชมุ่ ชนื้ ในดนิ ซง่ึ ผลสา� เรจ็ จากการนสี้ ว่ นหนง่ึ เปน็ ไม่สามารถท�าอะไรได้ กลับฟื้นคืนสภาพท่ีสามารถ ทยี่ อมรับนบั ถือจากนานาประเทศ จนกระท่ังสมาคม ทา� การเพาะปลกู ไดอ้ ีกครัง้ หนง่ึ ดว้ ยวธิ กี ารอันเกิดจาก ด้านการป้องกันการพังทลายของดินระหว่างประเทศ พระปรีชาสามารถโดยแท้ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลอันทรงเกยี รติแด่พระองค์ ในฐานะที่ทรงเป็นนักอนุรกั ษ์ดินและสภาพแวดล้อม การใช้หญ้าแฝกเพ่ือการอนุรกั ษ์และปรับปรงุ ที่มีผลงานยอดเย่ียม ในเร่ืองเกี่ยวกับการอนุรักษ์ บ�ารงุ ดิน ก็เป็นอกี วิธีการหน่ึงท่ีพระบาทสมเด็จ ปรับปรุงบ�ารงุ ดินน้ันได้พระราชทานแนวคิดว่า พระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้นวิธีการใช้และดัดแปลงจาก “...กำรปรบั ปรงุ พฒั นำท่ดี นิ ท่สี ำ� คญั คอื ตอ้ งอนรุ กั ษ ์ วธิ กี ารสมยั เกา่ ทใ่ี ชก้ นั มาแตค่ รง้ั โบราณ โดยพระราชทาน ผิวดินซึง่ มีควำมอุดมสมบูรณ์ไว้ให้ได้ ไม่ลอก แนวคิดและทฤษฎีการใช้หญ้าแฝกให้มีประสิทธิภาพ หน้ำดินทิง้ ไป ต้องสงวนไม้ยืนต้นที่ยังเหลืออย ู่ สงู สุดตามลักษณะและสภาพภูมิประเทศท่ีแตกต่าง เพ่ือรกั ษำควำมช่มุ ชน้ื ของผืนดินไว้...” กัน เช่น การปลกู หญ้าแฝกเป็นแถวตามแนวระดับ 25

แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกบั การพฒั นาและ อนุรักษ์สภาพแวดล้อมในด้านต่างๆ ซึ่งในส่วนแรกนี้ อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ตัวอย่างท่ีพอจะแสดงให้เหน็ เป็นสังเขปคอื ๑๒. นอกเหนือไปจากการให้ความส�าคัญ ปำ่ ๓ อย่ำง ป่าไม้ ๓ อย่างเป็นแนวคดิ อย่างย่ิงยวดกบั เร่ืองของดินและนา�้ แล้ว แนวคิดและ ของการผสมผสานความต้องการในการอนุรกั ษ์และ ทฤษฎีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในโครงการ ฟื้นฟูทรพั ยากรป่าไม้ ควบคู่ไปกบั ความต้องการ พัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�ารินั้น ยังค�านึงถึง ด้านเศรษฐกิจและสังคม กล่าวคือ เพ่ือป้องกันมิให้ ความสอดคล้องเก้ือกูลกนั ระหว่างการพัฒนาและ เกษตรกรเขา้ บกุ รุกทา� ลายปา่ ไมเ้ พอื่ นา� มาใชป้ ระโยชน์ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงควรให้ดา� เนนิ การปลกู ป่า ๓ อย่ำง เพอ่ื ประโยชน์ อย่างเคร่งครดั มาโดยตลอด ความเข้าใจถ่องแท้ถึง ๔ อยำ่ ง คอื ปา่ สา� หรบั ไมใ้ ชส้ อย ปา่ สา� หรบั เปน็ ไมผ้ ล ธรรมชาติและสภาวะตามธรรมชาติ ตลอดจนความ และป่าส�าหรบั เป็นเชื้อเพลิง ป่าหรือสวนป่าเหล่าน้ี สัมพนั ธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติของพระองค์ นอกจากเป็นการเก้ือกูลและอ�านวยประโยชน์ใน น้ันท�าให้เกิดแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการอนุรักษ์ ๓ อยา่ งนน้ั แลว้ ปา่ ไมไ้ มว่ า่ จะเปน็ ชนดิ ใดกจ็ ะอ�านวย ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมหลากหลาย ประโยชนใ์ นการอนรุ กั ษด์ นิ และนา�้ และคงความชมุ่ ชน้ื ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งของทรัพยากรปา่ ไม้ และเรอื่ งของการ เอาไว้ อันเป็นการอา� นวยประโยชน์อย่างที่ ๔ ซ่ึงเป็น ผลพลอยได้ 26

27

“ปลกู ปำ่ โดยไมต่ อ้ งปลกู ” ก็เปน็ อกี ตวั อยา่ ง อันย่ิงใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีได้ หน่ึงที่สะท้อนให้เห็นความเข้าพระทัยอย่างลึกซึ้งถงึ ทรงคิดค้นขึ้นเพ่ือเป็นวิธีการในการสร้างความชุ่มชื้น วิถแี ห่งธรรมชาติ โดยท่ีได้พระราชทานแนวคิดว่า ให้กบั พ้ืนที่ป่าไม้ด้วยวิธีง่ายๆ ประหยัด และได้ผลดี บางคร้งั ป่าไม้ก็เจริญเติบโตขึ้นเองตามธรรมชาติ น่ันคือการสร้างฝายเล็กๆ ให้สอดคล้องไปกับสภาพ ขอเพียงอย่าเข้าไปรบกวนและท�าลายโดยรู้เท่า ธรรมชาติ โดยการใช้วัสดุธรรมชาติท่ีหาได้ง่ายใน ไมถ่ ึงการณ์ หากปลอ่ ยไวต้ ามสภาพธรรมชาตชิ ว่ั ระยะ ท้องถ่ิน ฝายชะลอความชุ่มชื้น (Check dam) มีอยู่ เวลาหนึง่ ป่าไม้ก็จะข้นึ สมบรู ณ์เอง การระดมปลูกป่า ๒ ประเภท คือ ฝายต้นน้�าล�าธาร ส�าหรบั กกั กระแส ดว้ ยความไมเ่ ขา้ ใจ เชน่ ปอกเปลอื กหนา้ ดนิ ซง่ึ มคี ณุ คา่ น้�าไว้ให้ไหลช้าลง และสามารถซึมลงใต้ผิวดินเพ่ือ มากออกไป และปลูกพันธไุ์ มซ้ งึ่ ไมเ่ หมาะสมกบั สภาพ สร้างความชุ่มช้ืนในบรเิ วณนั้น และอีกประเภทหนึ่ง ท้องถ่นิ และระบบนิเวศบริเวณนั้น นอกจากต้นไม้ คือ ฝายดักตะกอนดินและทรายมิให้ไหลลงสู่แหล่ง ท่ีปลกู ไว้จะตายโดยไม่ได้ประโยชน์แล้ว ยังท�าลาย น้�าเบ้ืองล่าง ฝายทั้ง ๒ ประเภท สามารถสร้างความ สภาพแวดลอ้ มอีกดว้ ย แนวความคดิ ทลี่ กึ ซงึ้ น้ี จงึ เปน็ ชุ่มชื้นและชะลอความชุ่มชื้นและระบบวงจรน�้าที่ ท่ีมาของคา� ว่า “ปลูกป่ำโดยไมต่ อ้ งปลูก” ซึง่ เป็นท่ี อ�านวยประโยชน์แก่การฟื้นฟูและอนุรักษ์ปา่ ไม้ ยดึ ถือกันในหมู่ผู้รู้ทวั่ ไป ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพดยี ิ่ง ดังตัวอย่างท่ศี นู ย์ศกึ ษา การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อ�าเภอดอยสะเกด็ จังหวัด “ฝำยชะลอควำมชุ่มชืน้ ” (Check Dam) เชยี งใหม่ เป็นต้น กเ็ ป็นอกี แนวคิดหนึ่งที่เกิดจากพระปรชี าสามารถ 28

๑๓. แนวคิดและทฤษฎีท่ีส�าคัญในด้าน สระน้า� ๓ ไร่ (ลึกประมาณ ๔ เมตร) จุน้�าได้ประมาณ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ๑๙,๐๐๐ ลกู บาศก์เมตร หรือสตู ร ๓๐-๓๐-๓๐-๑๐ อีกประการหน่งึ กค็ อื ทฤษฎีในการแก้ไขปัญหาความ แห้งแล้งและการขาดแคลนน�้าเพ่ือเกษตรกรรม ในท่ีน้ีใคร่ขอน�าแนวคิดเร่ืองทฤษฎีใหม่ท่ีได้ โดยการดา� เนนิ การตามแนว “ทฤษฎใี หม”่ อันเปน็ การ พระราชทานรายละเอียดเมอื่ วันที่ ๕ มนี าคม ๒๕๓๗ ใช้ประโยชน์จากพ้ืนที่ซ่ึงมีอยู่จ�ากัดให้ก่อประโยชน์ มาเพ่อื เป็นการอธบิ ายความให้ชดั เจน ดงั นี้ สูงสดุ ขณะเดียวกนั ก็มีน�้าไว้ใช้ตลอดปี เป็นการ อ�านวยประโยชน์ต่อทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และการ พัฒนาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมโดยท่ัวไปด้วย “ทฤษฎีใหม่” อนั เกิดจากพระปรีชาสามารถ และพระอจั ฉรยิ ภาพของพระองคน์ นั้ มหี ลกั สา� คญั งา่ ยๆ ไม่สลับซบั ซ้อน สรปุ ได้ว่า พืน้ ทถี่ อื ครองโดยถัวเฉลย่ี ของเกษตรกรไทยอนมุ านวา่ จะมเี นอ้ื ทปี่ ระมาณ ๑๕ ไร่ แบ่งพ้ืนท่ีตามวิธกี ารทฤษฎีใหม่จะเป็นนาข้าว ๕ ไร่ พืชไร่ พชื สวน ๕ ไร่ ทอี่ ยู่อาศัยและอืน่ ๆ ๒ ไร่ 29

(๑) ถ้าพูดอย่างสรุปที่สุด เป็นวิธีปฏิบัติของ เกษตรกรท่ีเป็นเจ้าของท่ีดินจ�านวนน้อย แปลงเล็ก (ประมาณ ๑๕ ไร่) ซ่ึงเป็นอัตราถอื ครองโดยเฉลี่ยของ เกษตรกรโดยทว่ั ๆ ไป (๒) หลกั สา� คัญ : ให้เกษตรกรมคี วามพอเพยี ง โดยเล้ียงตัวเองได้ (Self Sufficiency) ในระดับท่ี ประหยดั ก่อน ท้งั นี้ ต้องมีความสามคั คีในท้องถ่ิน (๓) มีการผลิตข้าวบริโภคพอเพียงประจ�าปี โดยถือว่าครอบครวั หนึ่งท�านา ๕ ไร่ จะมีข้าวพอกิน ตลอดปี ข้อนี้เป็นหลกั สา� คญั ของทฤษฎีนี้ (๔) เพื่อการน้ี จะต้องใช้หลักเกณฑ์เฉล่ียว่า ต้องมีน�้าใช้ระหว่างช่วงฤดูแล้งประมาณ ๑,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ๑ ไร่ หากแตล่ ะแปลงเกษตรมเี นอื้ ที่ ๕ ไร่ และแบง่ ตามสดั สว่ น ๓๐-๓๐-๓๐-๑๐ จะมพี น้ื ท่ี การเกษตรทต่ี ้องการน�า้ อยู่ ๒ ส่วนใหญ่ๆ คือ 30

นาข้าว ๕ ไร่ จงึ ต้องมีน้�า (๕) อุปสรรคสา� คญั ทส่ี ดุ คือ อ่างเก็บน�้า หรอื ๕ x ๑,๐๐๐ = ๕,๐๐๐ ม.๓ สระทมี่ ีน�า้ เต็ม และได้รับน�้าให้เต็มเพียงปีละหน่ึงครง้ั พชื ไร่ หรอื ไม้ผล ๕ ไร่ ในหน้าฝน และจะมีการระเหยวันละ ๑ เซนติเมตร จงึ ต้องมีน้�า ๕ x ๑,๐๐๐ = ๕,๐๐๐ ม.๓ โดยเฉลย่ี ในวนั ทไี่ ม่มีฝนตก หมายความว่า ในปีหนึง่ รวม ๑๐,๐๐๐ ม.๓ ถา้ นบั วา่ ฝนไมต่ ก ๓๐๐ วนั ระดบั ของสระจะลดลง ๓ ฉะน้ันจึงมีความจ�าเป็นต้องมีน�้าส�ารองไว้ เมตร (ในกรณนี ี้ ๓/๔ ของ ๑๙,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร หน้าแล้ง โดยเฉลย่ี ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ม.๓ จึงได้ต้ัง น้�าทใ่ี ช้จะเหลอื ๔,๗๕๐ ลกู บาศก์เมตร) จงึ ต้องมกี าร สูตรคร่าวๆ ว่า แต่ละแปลงประกอบด้วย เตมิ นา�้ เพอื่ ให้เพียงพอ สระนา้� เนือ้ ท่ี ๓ ไร่ ขุดลึก ๔ เมตร (๖) ด้วยเหตุน้ี หากจะให้ทฤษฎีสมบูรณ์ จะมนี ้า� จุได้ประมาณ ๑๙,๐๐๐ ม.๓ สระน้�าท�าหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพและเต็มความ ทอ่ี ยู่อาศยั และอ่นื ๆ ๒ ไร่ สามารถ กม็ ีความจ�าเป็นต้องมแี หล่งน้า� ใหญ่มาคอย นาข้าว ๕ ไร่ เติม เปรียบเสมือนมีแทงก์น้�าใหญ่มาคอยเติมตุ่มน้�า พชื ไร่ พชื สวน ๕ ไร่ เล็กให้เต็มอยู่เสมอ ในกรณีของโครงการวัดมงคล รวมท้ังแปลงเนือ้ ท่ี ๑๕ ไร่ ชัยพัฒนา จังหวัดสระบุรี จึงมีการสร้างอ่างเก็บน�้า 31

ห้วยหินขาว โดยมคี วามจุ ๘๐๐,๐๐๐ ลกู บาศก์เมตร อีก ๖.๒๕ ไร่ จะต้องอาศยั เทวดาเลี้ยง แต่ถ้าคา� นึง ซงึ่ ถา้ ใชว้ ธิ จี า่ ยนา้� เขา้ แปลงตามแบบเดมิ จะเลยี้ งพน้ื ท่ี ว่าในระยะท่ีไม่มีความจ�าเป็นที่จะใช้น�้าหรือมีฝนตก การเกษตรได้เพียง ๖๐๐ - ๘๐๐ ไร่ แต่ถ้าใช้ทฤษฎี น�้าฝนที่ตกมาจะเก็บไว้ได้ในอ่างและสระ ส�ารองไว้ ใหม่จะเลย้ี งพื้นท่ีได้ถึง ๓,๐๐๐ ไร่ หรอื ๕ เท่า ส�าหรบั เมอ่ื ต้องการ อา่ งและสระน้�าจะท�าหน้าทเี่ ฉลย่ี น�้าฝน (Regulator) จึงเข้าใจว่าในระบบนีน้ ้�าจะพอ (๗) ลา� พงั อ่างเกบ็ น�้า ๘๐๐,๐๐๐ ลูกบาศก์ เมตร จะเล้ียงได้ ๘๐๐ ไร่ (โครงการวัดมงคลฯ (๘) ปัญหาใหญ่อีกข้อหนง่ึ คอื ราคาการลงทุน มีพน้ื ท่ี ๓,๐๐๐ ไร่ แบ่งเป็น ๒๐๐ แปลง) คอ่ นขา้ งสงู เกษตรกรจะตอ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จาก ภายนอก (ทางราชการ ทางมลู นธิ ิ และเอกชน) แต่ค่า อ่างนีจ้ ึงเลี้ยงได้ ๔ ไร่ต่อแปลง ดา� เนินการไม่สิน้ เปลอื งส�าหรับเกษตรกร ล�าพงั สระในแปลงเล้ียงได้ ๔.๗๕ ไร่ (๔.๗๕ + ๔ ไร่ = ๘.๗๕ ไร่) สา� หรบั ขัน้ ตอนการด�าเนนิ งานตามทฤษฎใี หม่ โดยละเอยี ดนนั้ จะไดก้ ลา่ วไวโ้ ดยเฉพาะในสว่ นทส่ี อง จึงเห็นได้ว่าหมิ่นเหม่มาก แต่ถ้าค�านึง ว่าด้วยทฤษฎีใหม่ต่อไป ว่า ๘.๗๕ ไร่น้ัน จะท�าเกษตรกรรมอย่างสมบูรณ์ได้ 32

การพัฒนาสังคมและการส่งเสรมิ คุณภาพ ในหมู่นักพัฒนาตามโครงการอันเน่ืองมาจาก ชีวติ ของประชาชน พระราชดา� ริ เนอ่ื งจากทรงเรยี กกระบวนการนวี้ า่ เปน็ การ “ระเบดิ จำกข้ำงใน” คือประชาชนผู้มีส่วนได้เสยี ๑๔. นอกเหนือไปจากการพัฒนาอาชีพเพ่ือ น้ันเองเป็นผู้ก�าหนดวิถที างของตนเอง เพื่อเลอื ก เพ่ิมพูนรายได้ ซึ่งเป็นเร่ืองเศรษฐกิจในครวั เรือน แนวทางการพัฒนา และพร้อมท่ีจะรับกระแสของ อนั มีผลต่อเศรษฐกจิ มหภาคแล้ว โครงการอนั เนื่อง การพัฒนาจากข้างนอกท่ีจะมีเข้ามาในอนาคต มาจากพระราชด�ารทิ ุกโครงการจะผนวกเร่ืองของ หากวิเคราะห์ถึงการด�าเนินงานในโครงการอันเน่ือง การพฒั นาสงั คมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ มาจากพระราชด�ารอิ ย่างเจาะลึกแล้ว จะเห็นได้ชัด ประชาชนเข้าไว้ด้วยเป็นสา� คัญ โดยถือหลักให้ ว่าพระองค์ทรงใช้หลกั ของการประชาพจิ ารณ์ (Public ประชาชนท่ีมีส่วนได้เสียในชุมชนนั่นเอง ได้เข้ามา Hearing) มานานนับเป็นเวลาหลายสิบปีก่อนจะเป็น ร่วมมีส่วนในการตัดสนิ ใจด้วยตนเอง (People Par- ทร่ี จู้ กั กันแพรห่ ลาย และเรม่ิ กระทา� กนั อยา่ งกวา้ งขวาง ticipation) ต้งั แต่เร่ิมโครงการ วธิ ีการนี้เป็นที่รู้จักกันดี ในขณะนี้ วิธีการท�าประชาพิจารณ์ของพระองค์นั้น 33

เป็นวิธีที่เรียบง่ายและตรงไปตรงมาโดยที่จะทรง อธบิ ายถงึ วตั ถปุ ระสงคแ์ ละผลทจ่ี ะไดร้ ับจากโครงการ พฒั นากบั พสกนกิ รทมี่ าเฝา้ แหนลอ้ มรอบอยู่ หลงั จากนน้ั จะทรงถามถงึ ความสมัครใจและให้ตกลงกันเอง ในกลมุ่ ทจ่ี ะไดร้ ับประโยชนแ์ ละกลมุ่ ทจี่ ะตอ้ งเสยี สละ ในขณะนน้ั เลย หลงั จากไดม้ กี ารตกลงใจโดยเสยี งเปน็ เอกฉนั ท์แล้ว ก็จะทรงเรียกผู้น�าท้องถ่ิน เช่น ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน จนกระทัง่ ถงึ นายอา� เภอ และผู้ว่าราชการ จังหวัด ให้มารับทราบและด�าเนินการในข้ันต้น เช่น การจดั การในปัญหาเร่อื งกรรมสทิ ธิ์ในท่ดี ิน ก่อนทจ่ี ะ พระราชทานใหห้ นว่ ยงานปฏบิ ตั ทิ เี่ กยี่ วขอ้ งดา� เนนิ การ ในเชงิ บรหิ ารและวิชาการต่อไปจนเสรจ็ สิ้นโครงการ ๑๕. การเข้ามามีส่วนร่วมในทุกระดับของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องนั้น จะมีท้ังในส่วนของประชาชน และในภาครัฐ จะเห็นได้ชัดเจนในอีกตัวอย่างหนึ่ง คือ โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก 34

พระราชดา� ริ ซงึ่ ถอื เสมอื นเปน็ “พพิ ธิ ภณั ฑธ์ รรมชำติ ต้องการความรู้และความช่วยเหลือต้องเสยี เวลามาก ท่ีมีชีวิต” ซ่ึงมีอยู่ท่ัวทุกภาคของประเทศไทย ศูนย์ ในการไปรบั บรกิ ารในแตล่ ะองค์กร ซง่ึ แยกยา้ ยกนั อยู่ ศึกษาการพัฒนาฯ นน้ั นบั ได้ว่าเป็นรูปแบบใหม่ของ ดงั ที่เป็นอยู่ในปัจจุบนั การบรหิ ารจดั การในระบบราชการไทย ซงึ่ เกดิ ขน้ึ เป็น คร้ังแรกในประวัติศาสตร์นั่นกค็ ือการลดขั้นตอนของ การประสานการจัดการท่ีเคยชินอยู่กบั การด�าเนิน งานระบบ “เอกเทศ” มาเป็นการร่วมกันทา� ในคราว เดยี วกันในทุกสาขา เพอื่ ให้บรกิ ารแก่ประชาชน ณ ท่ี แห่งเดยี ว เป็น “ศูนย์บริกำรเบ็ดเสร็จ” หรอื “one stop services” ท่ีหน่วยราชการหลายหน่วยร่วมกัน ท�างาน โดยมีศนู ย์ฯ เป็นศนู ย์รวม ทงั้ นี้ เพื่อมใิ ห้ผู้ท่ี ๑๖. กล่าวสา� หรับโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�าริ โดยทั่วไปแล้ว บ่อยครัง้ ท่เี หน็ ได้ชัดว่าใน แต่ละโครงการนั้นได้ผสานวัตถุประสงค์หลากหลาย เข้าไว้ด้วยกนั กล่าวคือ นอกจากเร่ืองทางเศรษฐกิจ และการยกระดับรายได้ของพสกนิกรแล้ว ยังปรากฏ เรื่องของการพัฒนาสังคม การสร้างความเข้มแข็ง 35

ม่ันคงให้กบั ชุมชน การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในแง่ ข้ึนมาใหม่ด้วย โดยได้พระราชทานพระราชด�าริให้ ขององค์รวม ตลอดจนเร่ืองของสงั คมจิตวิทยา วิถี จดั สรา้ งศาลาอเนกประสงคเ์ พอื่ ใหพ้ ระสงฆ์ ชาวบ้าน ชวี ติ ไทยและวฒั นธรรมอีกดว้ ย ในพืน้ ทพ่ี ฒั นาบรเิ วณ และส่วนราชการได้พบปะแลกเปล่ียนความรู้และแก้ วัดมงคลชัยพฒั นา อ�าเภอเมือง จังหวัดสระบุรนี ั้น ปัญหาของชมุ ชนร่วมกนั ไม่วา่ จะเป็นปัญหาดา้ นการ นอกไปจากการนา� ทฤษฎใี หมต่ ามทไ่ี ดก้ ลา่ วไวเ้ บอื้ งตน้ ท�ามาหากิน และปัญหาในชีวิตอืน่ ๆ ในลกั ษณะของ ไปศึกษาทดลองเพ่อื เป็นต้นแบบแล้ว ยังผนวก สามประสานหรือบ-ว-ร บำ้ น วดั และรำชกำรอกี ดว้ ย รวมถึงเร่ืองการน�าวิถีชีวิตไทยที่ดีงามในอดีตรื้อฟื้น ซึ่งวิถีชีวิตไทยในลักษณะนี้น่าจะคงและรักษาไว้ให้ 36

ด�ารงอยู่ต่อไปในสังคมไทย แนวความคิดเหล่าน้ี เวลา ๕๐ ปี ที่ทรงครองสิรริ าชสมบัติ แนวคิดและ ได้สะท้อนให้เห็นพระวิสัยทัศน์และพระสติปัญญา ทฤษฎีที่ทรงคิดค้นข้ึนเองด้วยพระอัจฉริยภาพและ ทล่ี ึกซึง้ กว้างไกลยิง่ นัก พระปรีชาสามารถที่ล�้าลึกน้ันไม่จ�ากดั ลงเฉพาะเร่ือง ของการเกษตรกรรม เช่น นา�้ ดนิ อากาศ และการ ๑๗. สรุป แนวคิดและทฤษฎีกำรพัฒนำ เพาะปลูกเท่าน้ัน หากแต่ยงั มีเร่ืองของการบริหาร อันเนื่องมำจำกพระรำชด�ำริในพระบำทสมเด็จ จัดการ เร่อื งของการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ พระเจ้ำอยู่หัวนัน้ มีอยู่กว้างขวางและหลากหลาย และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนด้านการพัฒนาสงั คมและ ครอบคลมุ และเก่ียวพันกบั กระบวนการพัฒนาหลาย การส่งเสรมิ คุณภาพชีวิตของประชาชนอีกด้วย การ สาขา แม้กระนั้นก็ดี แต่ละแนวคิดและทฤษฎีที่ได้ สงเคราะห์ช่วยเหลือพสกนิกรโดยเฉพาะผู้ยากไร้ พระราชทานไว้นั้น ได้ก่อคุณูปการอันย่ิงใหญ่แก่ การสงเคราะห์ช่วยเหลอื และยกระดับคุณภาพชีวิต ของพสกนิกรเป็นอเนกอนันต์มาโดยตลอดระยะ 37

38

ในถนิ่ ทรุ กันดารนน้ั ไดเ้ สรมิ สรา้ งความมนั่ คงทง้ั ในดา้ น เป็นท่ีปลื้มปีติแก่พสกนกิ รท้งั ปวง ดงั นั้น เพอื่ จดจาร เศรษฐกิจและสังคมแก่ประเทศชาติเป็นส่วนรวม บนั ทกึ ไวเ้ ปน็ เอกสารประวตั ศิ าสตร์ แนวคดิ และทฤษฎี เป็นการแบ่งเบาภาระ อดุ ช่องว่าง และเสริมงาน การพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริในพระองค์ ด้านการพฒั นาประเทศของรฐั บาลอย่างประสาน จึงสมควรที่จะได้รบั การศึกษาวิเคราะห์และรวบรวม สอดคล้องกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไวเ้ ปน็ ครงั้ แรกดว้ ยความสา� นกึ ในพระมหากรุณาธคิ ณุ ทรงงานหนกั ตรากตร�ามาจนถึงบัดนี้ นบั เป็น ๕๐ ปี อันล้นพ้นหาท่ีสุดมิได้ และเพื่อถวายเป็นพระราช จวบจนกระทั่งเวลาถึงพระราชพิธีกาญจนาภิเษก อนั สกั การะเนื่องในมหาวโรกาสทย่ี ่ิงใหญ่น้ี 39

เขอ่ื นแควน้อยบำ� รงุ แดน 40

สว่ นท่สี อง 41

ทฤษฎี “แกลง้ ดนิ ” อันเน่ืองมาจากพระราชดา� ริ “...ที่ท่ีน้�ำท่วมน่ีหำประโยชน์ไม่ได้ ถ้ำเรำจะท�ำให้มันโผล่พ้นน�้ำขึ้นมำ มีกำรระบำยน�้ำออกไปก็จะเกดิ ประโยชน์กบั ประชำชน ในเรอ่ื งกำรท�ำมำหำกนิ อย่ำงมหำศำล...” 42

“...ท่ีเรำทดลองที่น่ีจะไปเป็นประโยชน์ส�ำหรบั ท่ีอ่ืน อย่ำงท่ีจังหวัด จำกกำรที่ได้เสด็จพระรำชด�ำเนินไปทรงเย่ียม นครนำยก แห้งแล้งแล้วกเ็ ปร้ียว...เมื่อเปร้ียวแล้วเอำปนู มำใส่ รำษฎรในภำคใต้อย่ำงสม่�ำเสมอ ท�ำให้ควำมทรำบ ก็ยงั ไม่ด.ี ..” ฝำ่ ละอองธลุ พี ระบำทวำ่ รำษฎรในพน้ื ทแี่ ถบนมี้ คี วำม เดอื ดร้อนจำกปัญหำนำนปั กำร โดยเฉพำะกำรทำ� มำ หำกินที่ฝืดเคืองในหลำยจังหวัด ทั้งน้ีสบื เน่ืองจำก ชว่ งระยะเวลำหลงั จำกวนั ท่ี ๑ สงิ หำคม พ.ศ. ๒๕๑๖ ได้เสด็จพระรำชด�ำเนินแปรพระรำชฐำนไปยัง พระต�ำหนักทักษิณรำชนิเวศน์ จังหวัดนรำธิวำส เป็นประจ�ำทุกปีเป็นต้นมำ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ รำษฎรหลำยแห่ง ในจงั หวดั นรำธวิ ำสไดก้ รำบบงั คมทลู รอ้ งทกุ ขถ์ งึ ควำม เดือดร้อนที่ต้องประสบปัญหำท่ีในฤดูฝนจะเกิด น�้ำท่วมไหลบ่ำจำกป่ำพรุ จนมิอำจท�ำมำหำกนิ ได้ รวมทั้งยังมีเกษตรกรอีกเป็นจ�ำนวนมำกขำดแคลน ที่ท�ำกนิ หลำยรำย “...งำนปรับปรงุ ดินเปร้ยี วควรด�ำเนินกำรต่อไปทง้ั ในแง่กำรศึกษำทดลองและกำรขยำยผล...” 43

“...กำรใช้นำ้� จืดชะล้ำงกรดออกจำกดินนัน้ แสดงว่ำน�้ำจดื สำมำรถช่วยปรบั ปรงุ ฟื้นฟดู นิ ให้มคี ณุ ภำพดขี น้ึ จนใช้ปลูกข้ำวได้ สมควรขยำยผล น�ำไปแนะนำ� เกษตรกร...” พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ทรงตระหนัก ค�ำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดต่อระบบนิเวศของป่ำพรุ ถงึ ปัญหำดังกล่ำวว่ำมีควำมจ�ำเป็นเร่งด่วนที่จะต้อง เป็นหลักสำ� คญั ย่ิง พ ร ะ ร ำ ช ท ำ น ค ว ำ ม ช ่ ว ย เ ห ล ือ ใ ห ้ พ ้ น ภั ย พิ บั ติ นี้ ดังพระรำชดำ� รสั ว่ำ ในระหวำ่ งเดอื นสงิ หำคมถงึ เดอื นตลุ ำคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ในขณะท่ีเสด็จพระรำชด�ำเนินไปทรงเย่ียม “...ทีท่ ีน่ �้ำท่วมนี่หำประโยชน์ไม่ได้ ถ้ำเรำ รำษฎรน้ัน ทรงพบว่ำหลังจำกมีกำรชักน�้ำออกจำก จะท�ำให้มันโผล่พ้นน�ำ้ ขนึ้ มำ มีกำรระบำยน้�ำ พ้ืนท่ีพรุเพื่อจะได้มีพ้ืนที่ที่จะใช้ท�ำกำรเกษตรและ ออกไปกจ็ ะเกดิ ประโยชน์กับประชำชนในเรื่อง เป็นกำรบรรเทำอุทกภัยท่ีเกิดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปีนั้น ของกำรท�ำมำหำกนิ อยำ่ งมหำศำล...” ปรำกฏว่ำดินในพ้ืนท่ีพรแุ ปรสภำพเป็นดินเปรี้ยวจัด รำษฎรทำ� กำรเพำะปลูกไม่ได้ผล พระรำชด�ำริข้ันต้นเร่มิ ด้วยกำรให้ทุกส่วน รำชกำรร่วมกันพิจำรณำแนวทำงในกำรปรับปรุง สำเหตทุ ด่ี นิ ในพน้ื ทพ่ี รแุ ปรสภำพเปน็ ดนิ เปรยี้ ว พ้ืนที่พรทุ ่ีมีน้�ำแช่ขังอยู่ตลอดปีนี้ ให้น�ำมำใช้ให้เกิด จัด สืบเน่ืองมำจำกดินในพ้ืนท่ีพรมุ ีลักษณะเป็น ประโยชน์ในทำงเกษตรกรรมมำกที่สดุ โดยทรงให้ อินทรียวัตถุ หรือซำกพืชที่เน่ำเปื่อยอยู่ข้ำงบน 44

“...กำรขยำยผลในกรณีกำรแก้ไขดินเปร้ียวท่ีทดลองได้ผลในเขตพ้ืนท่ีศูนย์ฯ พิกุลทอง โดยใช้น�้ำจืดชะล้ำงกรดออกจำกดินน้ัน แสดงว่ำ น้�ำจืดสำมำรถช่วยปรับปรงุ ฟื้นฟดู ินให้มคี ณุ ภำพดขี ึ้นจนใช้ปลูกข้ำวได้...” และชว่ งระดบั ควำมลึกประมำณ ๑ - ๒ เมตร มลี ักษณะ ดินพรุปฏิกิริยำก็จะไม่เกิด ดังนั้นเมื่อพระองค์มี เปน็ ดนิ เลนสเี ทำปนนำ้� เงนิ ซง่ึ มสี ำรประกอบก�ำมะถนั พระรำชประสงค์ท่ีจะให้พ้ืนท่ีที่น้�ำท่วมไร้ประโยชน์ ดทงั่เี รนียนั้ กวเม่ำ่อื สดำินรแปหร้งะกสอำบรปไพระไรกทอ์ บ(Pไyพriไtรeท:์จFะeทSำ�2)ปอฏยกิ ู่มริ ำยิ กำ นี้แห้งและท�ำกนิ ได้ ก็ต้องทรงหำทำงเอำชนะกับ กบั อำกำศ ปลดปล่อยกรดกำ� มะถันออกมำ ทำ� ให้ดนิ ควำมเปรี้ยวของดินให้ได้ ดงั กล่ำวแปรสภำพเป็นกรดจัดหรอื เปรีย้ วจดั พระรำชด�ำริ “แกล้งดิน” จึงก�ำเนิดข้ึนเมื่อ ดว้ ยเหตดุ งั กลำ่ ว กำรพฒั นำดนิ ในพืน้ ทพ่ี รเุ ปน็ วันที่ ๑๖ กนั ยำยน พ.ศ. ๒๕๒๗ พระบำทสมเด็จ สิง่ ยำกล�ำบำกยิ่ง เพรำะเม่อื นำ�้ ออกจำกดินพรเุ มอื่ ใด พระเจำ้ อยหู่ วั พระรำชทำนพระรำชดำ� ริ ณ ศนู ยศ์ กึ ษำ อำกำศก็จะลงไปทำ� ปฏกิ ิริยำในดนิ เกดิ เป็นกรดขนึ้ มำ กำรพฒั นำพกิ ุลทองฯ ควำมว่ำ ท�ำให้เกดิ ดนิ เปรยี้ ว “...ให้มีกำรทดลองท�ำดินให้เปรีย้ วจัดโดย แนวทฤษฎีกำรแก้ไขปัญหำดินเปร้ยี วใน กำรระบำยนำ้� ใหแ้ หง้ และศึกษำวธิ กี ำรแกด้ นิ เปร้ยี ว พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวจึงอยู่ที่ว่ำ ถ้ำน้�ำท่วม เพื่อน�ำผลไปแก้ปัญหำดนิ เปรีย้ วให้แก่รำษฎรที่มี ปัญหำในเรือ่ งนี้ ในเขตจังหวัดนรำธิวำส โดยให้ 45

“...ต่อไปดินก็จะไม่เปรีย้ วแล้ว เพรำะว่ำทำ� ให้เปรีย้ วเตม็ ที่แล้ว โดยท่ีขดุ อะไรๆ ท�ำให้เปร้ียวแล้วกร็ ะบำยรู้สึกนบั วันเขำจะดีขึ้น...” “...น่ีเป็นเหตุผลอย่ำงหนง่ึ ทีพ่ ดู มำ ๓ ปีแล้ว หรือ ๔ ปีกว่ำ ต้องกำรน�ำ้ สำ� หรบั มำให้ดนิ ทำ� งำน ดนิ ท�ำงำนแล้วดินจะหำยโกรธ อันนี้ไม่มีใคร เชื่อแล้วกม็ ำทำ� ที่น่ีแล้วมนั ได้ผล...” 46