๑ จดหมายฉบบั ที่ ๑ บา้ นกาญจนรชั ต์ นครราชสีมา พิชญา ศษิ ยร์ กั น้ ีเป็ นจดหมายฉบับแรก ท่ีอาจารยเ์ ขียนถึงเธอตามท่ีอาจารยไ์ ดส้ ัญญาไว้ ก่อนอ่ืน อาจารยข์ อแสดงความช่ืนชมยินดีกับเธอที่สามารถสอบเขา้ เรียนที่คณะ พุทธศาสตร์ ท่ีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้ โดยต้ังใจจะเรียน วชิ าเอกภาษาบาลีพุทธศาสตร์ ซ่ึงนอ้ ยคนที่จะเลือกเรยี นทางดา้ นน้ ี ยิ่งเป็ นหญิงสาว ดว้ ยแลว้ หายากมาก ที่เป็ นเชน่ น้ ี ก็อยา่ เขา้ ใจวา่ เราไมเ่ หมือนคนอ่ืน หรือคนอื่นไม่ เหมือนเรา เพราะทุกคนมีทางเลือกเฉพาะตน การท่ีจะเลือกทางใดก็แลว้ แต่วา่ คน คนน้ันมพี ้ ืนฐานชวี ติ มีความโน้มเอียง ความสนใจในทางใด การที่เธอตดั สินใจเลือก เรียนทางดา้ นน้ ีก็เป็ นความสมคั รใจ ความสนใจ ประกอบกับพ้ ืนฐานครอบครวั ก็ เป็ นผูส้ นใจในพระพุทธศาสนา นอกจากน้ ี ชีวิตครอบครัวของเธอเองก็ไม่ตอ้ ง เดือดรอ้ นอะไรมาก เพราะมีธุรกิจท่ีจะตอ้ งดูแลมากมาย ชีวิตไม่ตอ้ งขวนขวายเพ่ือ หางานที่มนั่ คงทา เม่อื ไมต่ อ้ งกงั วลเรื่องงานท่ีจะตอ้ งไปหาหลงั จากเรียนจบแลว้ การ มาเรียนก็เพื่อหาความรูใ้ นสิ่งท่ีเราอยากรู้ ซ่ึงอาจารยท์ ราบมาวา่ ทางครอบครวั ของ เธอก็ไม่ว่าอะไร จะเรียนอะไร ท่ีไหน ก็ตามสะดวก ไม่คัดคา้ น ขอเพียงใหอ้ ยู่กับ ครอบครวั ไมต่ อ้ งไปอยทู่ ี่ไกลหู ไกลตาใหเ้ ป็ นหว่ ง การเรียนที่มหาจุฬา ฯ ในช้ันปี ที่ ๑-๒ ทุกคณะจะตอ้ งเรียนวิชาพ้ ืนฐาน ทัว่ ไป และวิชาแกนพระพุทธศาสนา เม่ือเรียนจบ ๒ ปี แลว้ ปี ๓ กับ ๔ จึงเรียนใน สว่ นของวชิ าเอก นิสิตบางคนพอข้ ึนปี ๓ ก็ขอเปล่ียนเอกก็มี กรณีของเธอ หากเรียน ไป ๒ ปี แลว้ อยากจะเปล่ียนเอกก็สามารถทาได้ ยกเวน้ คณะครุศาสตร์ ในฐานะท่ี อาจารยส์ อนอยทู่ ่ี มหาจุฬา ฯ ก็ขอกลา่ วตอ้ นรบั เธอในฐานะนิสิตใหมด่ ว้ ยคนหน่ึง อาจารยเ์ คยสญั ญากบั เธอไวว้ า่ จะเขียนเร่ืองพระพุทธศาสนาใหเ้ ธอไดอ้ ่าน นับว่าเป็ นโอกาสเหมาะเม่ือเธอได้มาเรียนท่ี มหาจุฬา ฯ ซ่ึงจะต้องเรียนเรื่อง พระพุทธศาสนา เน่ืองจากอาจารยส์ อนท่ีมหาจุฬา ฯ ในส่วนวทิ ยาเขต จึงไมม่ ีโอกาส ไดพ้ บกับเธอ อาจารย์จึงเขียนแลว้ ก็ส่งใหอ้ ่านในรูปของจดหมายไฟฟ้า (E-mail)
๒ โดยจะเขียนใหไ้ ดส้ ปั ดาหล์ ะฉบบั เรื่องราวท่ีเขียนก็จะเกี่ยวกบั พระพุทธศาสนา หาก มเี วลาก็จะเขียนเร่อื งภาษาองั กฤษ ภาษาบาลีต่อไป การศึกษาพระพทุ ธศาสนา สามารถศึกษาไดห้ ลายแง่มุมหรือหลายประเด็น ตามความสนใจของผูศ้ ึกษา เช่น ศึกษาในส่วนหลักธรรม ประวตั ิความเป็ นมา ประวตั ิบุคคลสาคัญที่เกี่ยวขอ้ งกับพระพุทธศาสนา รวมถึงศาสนสถานต่าง ๆ ใน จดหมายฉบบั น้ ี จะไม่แยกประเด็นดงั กล่าว แต่จะกล่าวรวม ๆ ไป ท้งั ในส่วนประวตั ิ รวมไปถึงหลกั ธรรม เม่อื กลา่ วถึงภาพรวมโดยสรุปของพระพทุ ธศาสนา จะเหน็ ไดว้ า่ ศาสนาพทุ ธ หรือท่ีราชบณั ฑิตยสถานและราชการไทยเรียกวา่ พระพุทธศาสนา เป็ นศาสนาที่มี พระพุทธเจา้ เป็ นศาสดา มีพระธรรมท่ีพระพุทธองค์ตรัสสอนไวเ้ ป็ นหลักคาสอน สาคัญ มีพุทธบริษัทเป็ นชุมชนของผูน้ ับถือศาสนาและศึกษาปฏิบัติตนตามคาสัง่ สอนของพระศาสดา และเพ่ือสืบทอดพระธรรมแห่งพุทธศาสนา ศาสนาพุทธเป็ น ศาสนาอเทวนิยม และเช่ือในศกั ยภาพของมนุษยว์ า่ ทุกคนสามารถพฒั นาจิตใจไปสู่ ความเป็ นมนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ไดด้ ว้ ยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธสอนให้ มนุษยบ์ ันดาลชีวิตของตนเองดว้ ยผลแห่งการกระทาของตน มิไดม้ าจากการออ้ น วอนขอจากพระเป็ นเจา้ และสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ินอกกายคือ ใหพ้ ่ึงตนเอง เพ่ือพาตวั เองออก จากกองทุกข์ มีจุดมุ่งหมายคือการสอนใหม้ นุษยห์ ลุดพน้ จากความทุกข์ท้ังปวงใน โลกดว้ ยวิธีการสรา้ ง \"ปัญญา\" ในการอยู่กบั ความทุกขอ์ ยา่ งรูเ้ ท่าทนั ตามความเป็ น จริง วัตถุประสงค์สูงสุดของศาสนา คือ การหลุดพ้นจากความทุกข์ท้ังปวง เช่นเดียวกับท่ีพระศาสดาทรงหลุดพน้ ไดด้ ว้ ยกาลังสติปัญญาและความเพียรของ พระองค์เอง ในฐานะที่พระองค์ก็ทรงเป็ นมนุษย์ มิใช่เทพเจา้ หรือทูตของพระเจา้ องคใ์ ด ศาสดาของศาสนาพุทธคือพระโคตมพุทธเจา้ พระนามเดิมว่าเจา้ ชาย สิทธัตถะ ไดท้ รงเริ่มออกเผยแผ่คาสอนในชมพูทวีป ต้ังแต่สมัยพุทธกาล แต่หลัง ปรนิ ิพพานของพระพุทธเจา้ พระธรรมวนิ ัยที่พระองคท์ รงสงั่ สอน ไดถ้ ูกรวบรวมเป็ น หมวดหมู่ด้วยการสังคายนาพระธรรมวินัยคร้ังแรก จนมีการรวบรวมข้ ึนเป็ น พระไตรปิ ฎก ซ่ึงเป็ นหลักการสาคัญท่ีไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาตลอดของนิกาย เถรวาท ท่ียึดหลักไม่ยอมเปลี่ยนแปลงคาสัง่ สอนของพระพุทธเจา้ แต่ในการ
๓ สังคายนาพระธรรมวินัยคร้งั ท่ีสอง ไดเ้ กิดแนวคิดที่เห็นต่างออกไป วา่ ธรรมวินัย สามารถปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงไดต้ ามเวลาและสถานการณ์เพ่ือความอยู่รอดของ พุทธศาสนา แนวคิดดงั กล่าวจึงไดเ้ ร่ิมก่อตวั และแตกสายออกเป็ นนิกายใหม่ในช่ือ ของ นิกายมหายาน ท้ังสองนิกายไดแ้ ตกนิกายย่อยไปอีกและเผยแพร่ออกไปทัว่ ดินแดนเอเชยี และใกลเ้ คียง ปัจจุบนั ศาสนาพทุ ธไดเ้ ผยแผไ่ ปทวั่ โลก โดยมจี านวนผนู้ ับถือส่วนใหญ่อยใู่ น ทวีปเอเชีย ท้ังในเอเชียกลาง เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในประเทศไทย ซง่ึ ประชากรส่วนใหญเ่ ป็ นพุทธศาสนิกชน ปัจจุบนั ศาสนา พุทธไดม้ ีผูน้ ับถือกระจายไปทัว่ โลก หากนับจานวนรวมกันแลว้ อาจมากกวา่ ๕๐๐ ล้านคน การแพร่กระจายของพุทธศาสนาเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์เข้าสู่เอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใตห้ ลังจากพระพุทธเจา้ เสด็จดับขันธปรินิพพานได้ ๓ เดือน พระ สาวกผูไ้ ดเ้ คยสดบั สงั่ สอนของพระองคจ์ านวน ๕๐๐ รูป ก็ประชุมทาสงั คายนาคร้งั แรก ณ ถ้าสัตบรรณคูหา ใกลเ้ มือง ราชคฤห์ แควน้ มคธ ใชเ้ วลาสอบทานอยู่ ๗ เดือน จึงประมวลคาสอนของพระพุทธเจา้ ไดส้ าเร็จเป็ นคร้งั แรก นับเป็ นบ่อเกิดของ คมั ภีรพ์ ระไตรปิ ฎก คาสอนที่ลงมติกนั ไวใ้ นคร้งั ปฐมสงั คายนาและไดน้ ับถือกนั สืบ มา เรียกวา่ เถรวาท แปลวา่ คาสอนท่ีวางไวเ้ ป็ นหลักการโดยพระเถระ คาว่า เถระ ในที่น้ ี หมายถึงพระเถระผูป้ ระชุมทาสังคายนาคร้งั แรก และพระพุทธศาสนาซ่ึงถือ ตามหลักท่ีไดส้ งั คายนาคร้งั แรกดังกล่าว เรียกว่า นิกายเถรวาท อนั หมายถึง คณะ สงฆก์ ลุ่มที่ยดึ คาสงั่ สอนของพระพุทธเจา้ ท้ังถอ้ ยคา และเน้ ือความท่ีท่านสงั คายนา ไวโ้ ดยเครง่ ครดั ตลอดจนรกั ษาแมแ้ ตต่ วั ภาษาด้งั เดิมคือภาษาบาลี ลกั ษณะเดน่ ของพระพทุ ธศาสนา เม่ื อกล่าวถึ งลักษณ ะเด่นของพระพุ ทธศาสนาแล้ว จะเห็ นได้ว่า พระพุทธศาสนามีลักษณะเด่นหลายประการ ไมว่ า่ จะมองโดยมุมไหนก็แลว้ แต่ก็จะ พบลกั ษณะเด่นของพระพุทธศาสนา แต่เพื่อใหม้ องเห็นลกั ษณะเด่น ๆ ที่ชดั เจน จึง จะกล่าวถึงโดยลาดบั ลกั ษณะเดน่ ของพุทธศาสนาที่สาคญั คือ
๔ ๑. ไม่มีเรอ่ื งการออ้ นวอน พระพุทธศาสนาไม่มีพระผูเ้ ป็ นเจา้ และไม่มีการบังคับศรัทธา บางคนไม่ เขา้ ใจในพระพุทธศาสนาอยา่ งถ่องแท้ เอาแต่ออ้ นวอนส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิศาสนาพทุ ธ เป็ น ศาสนาที่เกิดในยุคที่สังคมอินเดียมีสภาพการณ์หลายอย่างท่ีวุ่นวาย เช่น มีการ แบ่งแยกกดขี่ทางชนช้นั วรรณะของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีความเหลื่อมล้าทาง สังคมที่ชัดเจน ถือช้ันวรรณะอย่างเขม้ งวด มีความแตกต่างกันทางฐานะอย่าง มากมาย (มีท้ังเศรษฐีมหาศาลและคนยากขาดแคลน) และลทั ธิ ความเช่ือ ศาสดา อาจารยเ์ กิดข้ ึนมากมาย ที่สอนหลักการยึดถือปฏิบัติอย่างผิดพลาด หรือสุดโต่ง เช่น การใชส้ ัตวเ์ ป็ นจานวนมากเพ่ือบวงสรวงบูชายญั การบาเพ็ญทุกรกิริยาของ นักบวชบางพวก การปลอ่ ยชีวติ ใหเ้ ป็ นไปโดยไมแ่ กไ้ ขถือวา่ เป็ นพระประสงคข์ องพระ เจา้ รวมถึงการกีดกนั ไมใ่ หค้ นบางพวก บางกลุ่มเขา้ ถึงหลกั การ หลกั คาสอนของตน ได้ เนื่องจากขอ้ จากดั ของชาติกาเนิด ฐานะ เพศ เป็ นตน้ แต่พุทธศาสนาเปิ ดโอกาส ใหท้ ุกคนเขา้ ถึงเป้าหมายสูงสุดไดเ้ สมอกนั โดยไมแ่ บง่ แยกตามช้นั วรรณะ จึงเสมอื น น้าทิพย์ชโลมสังคมอินเดียโบราณใหข้ าวสะอาดมากกว่าเดิม คาสอนของพุทธ ศาสนาทาใหส้ งั คมโดยทวั่ ไปสงบรม่ เยน็ ๒. เป็ นศาสนาแห่งเหตผุ ล พุทธศาสนาเป็ นศาสนาแห่งความรู้ เพราะเป็ นศาสนาท่ีเกิดจากพระ อัจฉริยะภาพของพระพุทธองค์เอง จากปัญญาของพระองค์ ใหเ้ สรีภาพในการ พิจารณา ใหใ้ ชป้ ัญญาเหนือศรทั ธา ในขณะท่ีบางศาสนาสอนว่าศาสนิกชนตอ้ งมี ศรทั ธามาก่อนปัญญาเสมอ และตอ้ งมีความภกั ดีต่อพระผูเ้ ป็ นเจา้ สูงสุด ผูน้ ับถือจะ สงสยั ในพระเจา้ ไมไ่ ด้ ศาสนาพุทธเป็ นศาสนาแห่งการศึกษา และการแสวงหาความ จริง และส่งเสริมทา้ ทายใหศ้ าสนิก พิสูจน์ หลักธรรมน้ันดว้ ยปัญญาของตนเอง ไม่ สอนใหเ้ ชอ่ื งา่ ยโดยไมไ่ ตรต่ รองใหร้ อบคอบกอ่ น เชน่ หลกั กาลามสูตร ๓. เป็ นศาสนาแหง่ อิสรภาพและเสรีภาพ พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาแหง่ อิสรภาพและเสรีภาพไม่มีการบงั คบั ใหค้ น ศรัทธา หรือเช่ือ แต่ท้าทายใหเ้ ขา้ มาเรียนรู้ และพิสูจน์หลักธรรม ดว้ ยตนเอง ศาสนาของพระพุทธเจา้ คือคาสอน ซึ่งทรงสอนใหผ้ ูฟ้ ังใชป้ ัญญาพิจารณาอย่างถ่อง
๕ แทก้ ่อนจะปลงใจเช่ือ ไม่ใชเ่ ทวโองการ (Gospel) จากพระเจา้ ซึ่งแยง้ ไม่ได้ พระสงฆ์ หรือพุทธสาวกก็มิใช่มิชชนั นารี ซึ่งมีภารกิจหลกั คือจาริกไปช้ ีชวนใหใ้ ครต่อใครมา นับถือพระศาสนา พระสงฆ์หรือพุทธสาวกมีหน้าท่ีเพียงอธิบายคาสอนของ พระพุทธเจา้ ให้ คนที่สนใจฟังเท่าน้ัน ใครไม่สนใจฟัง ชาวพุทธก็ไมเ่ คยใชก้ ฎหมาย หรือรัฐธรรมนูญบังคับใหน้ ับถือ ไม่เคยต้ังกฎใหค้ ู่รักศาสนิกของตนตอ้ งเปลี่ยน ศาสนายา้ ยมานับถือก่อนจึงจะใหแ้ ต่งงานได้ ไมเ่ คยต้งั กองทุนใหก้ ารศึกษาฟรี แลว้ สรา้ งเงื่อนไขใหผ้ ูร้ บั ทุนเปล่ียนมาเป็ นชาวพุทธ ไม่เคยสรา้ งท่ีพกั อาศยั ใหห้ รือแจก ทานใหอ้ าหารฟรีๆ แลว้ วางเง่ือนไขใหค้ นมาขออาศยั ตนตอ้ งหนั มานับถือศาสนาใน ภาวะจายอม ความใจกวา้ งและมีหลกั คาสอนที่เป็ นสัจธรรม เชิญชวนใหม้ าพิสูจน์ ดว้ ยการปฏิบัติเองและเน้นใหใ้ ชป้ ัญญาไตร่ตรองใหร้ อบคอบก่อนนับถือ ทาให้ ศาสนาพุทธไดร้ บั การยอมรบั จากวิญญูชนไปทวั่ โลก นักปราชญท์ ้งั หลายท้งั ในอดีต และปัจจุบันจึงกล่าวยกย่องว่าเป็ นศาสนาท่ีประกาศความเป็ นอิสระของมนุษยใ์ ห้ ปรากฏแก่โลกย่ิงกวา่ ศาสนาใดๆท่ีมีมา ท้ังจุดมุ่งหมายเป็ นอิสระจากกิเลสตัณหา และมายาสิ่งสมมุติท้งั ปวง อีกนัยหนึ่ง พุทธศาสนา สอนวา่ ทุกคนมีอิสระ และเสรีที่จะเลือกทา เลือก เป็ น เลือกสรา้ ง โลก ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ีดว้ ยตนเอง โดยการสรา้ งเหตุ และเตรียมปัจจยั ใหพ้ รอ้ ม ท่ีจะทาใหเ้ กิดผลอย่างท่ีต้องการ (เม่ือเหตุและปัจจัยพรอ้ ม ผลก็จะ เกิดข้ ึน) ซงึ่ ไมข่ ้ ึนอยกู่ บั การดลบนั ดาลของใคร หรอื กรรมเกา่ (ท่ีเป็ นเพยี งแคป่ ัจจยั หน่ึง หรอื เง่อื นไขหนึ่งเท่าน้ัน) ๔. เป็ นศาสนาอเทวนิยม พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาอเทวนิยม เพราะเหตุว่าศาสนาพุทธไม่เช่ือวา่ มี พระเจา้ ไม่ยอมรบั ในอานาจการดลบันดาลของพระเจา้ จึงจดั อยู่ในศาสนาประเภท อเทวนิยม ในความหมายที่วา่ ไม่เชื่อวา่ พระเจา้ บันดาลทุกสรรพส่ิง ไม่เช่ือวา่ พระ เจา้ สรา้ งโลก พุทธศาสนาเป็ นศาสนาท่ีไม่ผูกติดกับพระผูด้ ลบันดาล หรือพระเจา้ ไม่ได้ผูกมัดตนเองไวก้ ับพระเจ้า ไม่พ่ึงพาอานาจของพระผู้เป็ นเจ้า เช่ือใน ความสามารถของมนุษยว์ า่ มีศกั ยภาพเพียงพอ โดยไม่ตอ้ งพึ่งอานาจใดๆภายนอก เช่ือว่ามนุษยเ์ องสามารถปลดเปล้ ืองความทุกข์ไดโ้ ดยไม่รอการดลบันดาล และ
๖ พระพุทธเจา้ ทรงตรสั รูโ้ ดยไมม่ ีใครสงั่ สอน และไมอ่ า้ งวา่ เป็ นทูตของพระเจา้ แตห่ าก จะเปรียบเทียบกับศาสนาอื่นท่ีมีพระเจา้ ชาวพุทธทุกคนคือพระเจา้ ของตัวเอง เน่ืองจากตัวเองเป็ นคนกาหนดชะตาชีวิตของตัวเอง ว่าจะมีความเจริญรุ่งเรืองใน ชีวิตหรือมีความตกตา่ ในชีวิต จากการประพฤติปฏิบัติของตวั เอง ดังคาพุทธพจน์ ท่ีว่า ตนแลเป็ นที่พ่ึงแห่งตน ซึ่ง ต่างกับศาสนาท่ีมีพระเจา้ ผูเ้ ป็ นใหญ่ ที่ชะตาชีวิต ท้ังหมดลว้ นเป็ นสิ่งท่ีพระเจา้ กาหนดมาแลว้ เปล่ียนแปลงไม่ได้ ไม่ว่าจะเจอเรื่องดี หรือรา้ ยก็ตอ้ งทนรบั ชะตากรรมอยา่ งหลีกเล่ียงไม่ได้ ๕. เป็ นศาสนาแห่งสนั ตภิ าพ พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาแห่งสันติภาพในกระบวนการนักคิดของโลก ศาสนาพุทธไดร้ บั การยกย่องจากทัว่ โลกวา่ เป็ นศาสนาแห่งสนั ติภาพอยา่ งแทจ้ ริง เพราะไม่ปรากฏว่ามีสงครามศาสนาเกิดข้ ึนในนามของพุทธศาสนา หรือเผยแผ่ ศาสนาโดยการบังคับผูอ้ ่ืนใหม้ านับถือ สอนใหม้ ีความรกั ต่อสรรพชีวิตใดๆไม่ใช่ เพียงแค่มนุษยร์ วมถึงสรรพสัตวท์ ้ังหมด ที่ร่วม เกิด แก่ เจ็บ ตาย รกั สุข-เกลียด ทุกขเ์ ชน่ เดียวกบั เรา สอนใหเ้ มตตาท้งั ผูอ้ ื่นและตวั เอง สอนใหร้ กั ษาปกป้องสิทธิของ ตนเองและไม่ใหล้ ะเมิดสิทธิของผูอ้ ื่น สหประชาชาติจึงยกย่องใหว้ นั วิสาขบูชาเป็ น วนั สนั ติภาพโลก นิกายในพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาแบ่งนิกายออกเป็ นนิกายใหญ่ได้ ๒ นิกายคือ เถรวาท และ มหายาน นอกจากน้ ีแลว้ ยงั มีการแบ่งที่แตกต่างออกไปแบ่งเป็ น ๓ นิกาย เนื่องจาก วชั รยานไม่ยอมรบั ว่าตนคือมหายาน เนื่องจาก มหายานมีตน้ เคา้ มาจากท่านโพธิ ธรรม (ปรมาจารยต์ ๊กั มอ้ ) ส่วนวชริ ยานมีตน้ เคา้ มาจากท่านคุรุปัทสมั ภวะ เถรวาท (เดิมเรียกอีกชื่อวา่ 'หนิ ยาน' แปลวา่ ยานเล็ก) หมายถึง คาสงั่ สอน ของพระพุทธเจา้ ซ่ึงคาสัง่ สอน และ หลักปฏิบัติ จะเป็ นไปตามพระไตรปิ ฎก แพรห่ ลายอยใู่ นประเทศไทย ศรีลงั กา พม่า ลาว กมั พูชา และ บางส่วนของประเทศ เวยี ดนามส่วนมากเป็ นชาวเขมร บงั กลาเทศ และ มาเลเซยี ส่วนมากเป็ นชาวไทย มหายาน (ยานใหญ่) หรือ อาจาริยวาท แพร่หลายใน จีน ญี่ป่ ุน มองโกเลีย ภูฏาน ไต้หวัน เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้และ สิงคโปร์ และบางส่วนของ อินเดีย
๗ อินโดนี เซีย มาเลเซียส่วนมากเป็ นชาวจีน เนปาล บรูไนส่วนมากเป็ นชาวจีน ฟิ ลิปปิ นส์ส่วนมากเป็ นชาวจีน อุซเบกิสถาน และ ทาจิกิสถาน วัชรยาน หรือ มหายานพิเศษ ปัจจุบันมีใน อินเดียบริเวณลาดักในรัฐชัมมูและกัษมีร์ และในรัฐ สิกขิม ประเทศเนปาล ภูฏาน ปากีสถาน มองโกเลีย ในจดหมายน้ ี จะกล่าวประเด็นเฉพาะพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเท่าน้ัน ซ่ึงประเด็นสาคัญของพระพุทธศาสนาเถรวาทก็คือสภาพสังคมของอินเดียในยุค ก่อนท่ีพระพุทธศาสนาจะอุบตั ิข้ ึน ชว่ งพระพุทธศาสนาอุบัติข้ ึน หลงั พุทธกาล รวม ไปถึงการท่ีพระพุทธศาสนาแผ่ไปยงั ประเทศต่าง ๆ ท้ังทางซีกโลกตะวนั ตกและซีก โลกตะวนั ออก ซง่ึ จะกล่าวถึงในฉบบั ตอ่ ๆ ไป ฉบบั น้ ีขอจบเพียงเท่าน้ ี ขอใหพ้ ระรตั นตรยั คุม้ ครอง อาจารย์
๘ จดหมายฉบบั ที่ ๒ บา้ นกาญจนรชั ต์ นครราชสีมา พิชญา ศษิ ยร์ กั ฉบบั น้ ี อาจารยจ์ ะไดก้ ล่าวถึงสภาพสงั คมอินเดียยุคก่อนที่พระพุทธศาสนา จะอุบัติข้ ึน โดยมีประเด็นสาคัญใหญ่ ๆ ๒ ประเด็นคือ ๑) ภู มิหลังทาง ประวตั ิศาสตรแ์ ละประวตั ิศาสตรอ์ ินเดีย และ ๒) กาเนิดและพัฒนาการทางความ เชอ่ื ของศาสนาพราหมณ์ ซง่ึ อาจารยจ์ ะไดก้ ล่าวโดยลาดบั ดงั น้ ี ๑. ภมู ิหลงั ทางภมู ิศาสตรแ์ ละประวตั ิศาสตรอ์ ินเดีย อินเดียเป็ นประเทศสาคัญในภูมิภาคเอเชีย ท่ีมีประวตั ิศาสตรอ์ ันยาวนาน หลายพนั ปี ที่สาคญั อินเดียเป็ นแหลง่ กาเนิดอารยธรรมท่ีเก่าแกแ่ ละเจรญิ รุง่ เรอื งมา แต่คร้ังโบราณกาล เม่ือกล่าวถึงอินเดีย มิใช่เฉพาะประเทศในซีกโลกตะวนั ออก เท่าน้ันท่ีรูจ้ กั โดยทวั่ กนั แมแ้ ต่ประเทศในซีกโลกตะวนั ตก ต่างก็รูจ้ กั ดินแดนแห่งน้ ี เป็ นอยา่ งดี ดังจะเห็นไดจ้ ากเรื่องราวของพระเจา้ อเล็กซานเดอร์มหาราช (๓๕๖- ๓๒๓ B.C.) แห่งมาซิโดเนีย คร้งั หน่ึงพระองค์ไดเ้ คยยาตราทัพมายงั ดินแดนแถบน้ ี โดยมุ่งหมายจะยึดครองอินเดียใหจ้ งได้ ตามขอ้ สันนิษฐานของนักโบราณคดี ส่วน ใหญ่ลงความเห็นวา่ ภาคเหนือของอินเดียไดเ้ คยมีการติดต่อกับอารยธรรมเมโสโป เตเมียในลุม่ แมน่ ้าไทกรสิ และยเู ฟรติสมากอ่ นแลว้ ๑.๑ ลกั ษณะทางภมู ิศาสตรข์ องอินเดีย อินเดียในยุคโบราณมีอาณาบริเวณกวา้ งใหญ่ไพศาล ครอบคลุม ๕ ประเทศ ในปัจจุบัน คือ ประเทศอินเดีย ปากีสถาน เนปาล บังกลาเทศ และอัฟกานิสถาน อินเดียเป็ นอนุทวีป (Subcontinent) ท่ีอยู่ทางใตข้ องทวีปเอเชีย เป็ นดินเเดนรูป สามเหลี่ยมหวั กลบั ขนาดใหญ่ มีเน้ ือที่ใหญ่พอๆ กบั ทวีปยุโรปและมีพรมแดนท่ีถูก ปิ ดทุกดา้ น โดยปลายยอดอยู่ทางดา้ นใตย้ ่ืนไปในมหาสมุทรอินเดีย แผ่นดินส่วน ใหญ่จึงแวดลอ้ มดว้ ยทะเล ส่วนแผ่นดินที่เหลือท้ังหมดจะแวดลอ้ มไปดว้ ยเทือกเขา สูงท้ังส้ ิน โดยฝั่งตะวนั ออกติดเทือกเขาของพม่า ฝั่งตะวนั ตกติดเทือกเขาฮินดูกูช
๙ ส่วนตอนเหนื อซ่ึงเป็ นเหมือนฐานของสามเหลี่ยม ตลอดอาณาเขตมีเทือกเขา หิมาลยั พาดเป็ นแนวยาวสูงตระหงา่ น อาณาบริเวณของอินเดียโบราณน้ัน แบ่งไดเ้ ป็ น ๓ เขต ไดแ้ ก่ เขตเทือกเขา หิมาลัย เขตลุ่มแม่น้าสายใหญ่ และเขตที่ราบสูงทางตอนใต้ ดา้ นเหนือสุดของดิน เเดน สลับสลา้ งไปดว้ ยพืดเขาสูงลิบล่ิวซ่ึงปกคลุมขาวโพลนดว้ ยหิมะตลอดปี เป็ น แนวกาแพงภูเขามหึมาที่ทอดตวั โคง้ เหมือนกบั ดาบโงง้ แบ่งอนุทวปี อินเดียออกจาก ส่วนอื่นของทวีปเอเชีย ยอดเขาหิมาลัยและทิวเขาการาโกรมั (Karakoram) ดา้ นท่ี ประชิดกนั เป็ นส่วนสูงท่ีสุดในโลกและยาวเรื่อยมาจนถึงปลายดา้ นทิศตะวนั ตกเฉียง เหนือดา้ นแนวเทือกเขาฮินดูกูช (Hindukush) ยามที่ตอ้ งแสงพระอาทิตยแ์ ลประดุจ เอาทองมาทาบทา บางเวลากลับแลดูสลัวดว้ ยเมฆหมอกท่ีสลับซับซอ้ นไปจนสุด สายตา ถัดมาเป็ นที่ราบลุ่มแม่น้าอันกวา้ งใหญ่ไพศาล มีทุ่งโล่งสาลีเกษตรท่ีไดร้ บั ความสมบูรณ์จากแม่น้าท้ังหลาย อันมีแม่น้าสายสาคัญ ๓ สาย เรียงจากตะวนั ตก ไปหาตะวนั ออก คือ แม่น้าสินธุ แม่น้าคงคาและแม่น้าพรหมบุตร ซ่ึงรบั น้าที่เกิด จากการละลายลงของหิมะที่ปกคลุมยอดเขาหิมาลัยในฤดูรอ้ น นาความอุดม สมบูรณ์มาใหอ้ ินเดีย จนกระทงั่ ก่อกาเนิดเป็ นแหล่งอารยธรรมที่สาคัญของอินเดีย มาแตส่ มยั โบราณ ต่อจากเทือกเขาวินธัย (Vindhyas) ลงมา เป็ นท่ีราบสูงทางตอนใต้คือ บริเวณที่เป็ นคาบสมุทรของอินเดียซ่ึงเรียกว่า ที่ราบสูงเดคคาน (Deccan) และ ทะเลทรายธาร์ (Thar) ท่ีท้ังรอ้ นและแหง้ แลง้ บางคราวดินแดนแห่งน้ ีก็หนาวเหน็บ จนหิมะจบั ขาวโพลน บางคราวแผ่นดินก็รอ้ นระอุดูเว้ งิ วา้ งปราศจากพืชพนั ธุ์เพราะ แทบจะไม่มีฝนตกเลย ส่วนที่ราบตา่ สาหรบั ปลูกพืชผลตามลุ่มน้า บางปี ก็มีน้าเอ่อ ลน้ ฝั่งจนเกิดอุทกภัยคร่าชีวิตมนุ ษย์ไปคร้ังละนับรอ้ ยนับพันคน แต่บางปี ใน หนา้ แลง้ แมน่ ้าสายใหญ่ๆ ก็กลบั กลายเป็ นดุจทะเลทรายท่ีแหง้ ผาก ดว้ ยสภาพทางภูมิศาสตรท์ ี่ถูกแบ่งดว้ ยภูเขา แมน่ ้า และทะเลทรายออกเป็ น เขตๆ จึงกลายเป็ นอุปสรรคต่อการเดินทางไปมาติดต่อระหวา่ งกนั ทาใหอ้ ินเดียแบ่ง ออกเป็ นหลากหลายเผ่าพันธุ์ จานวนภาษาที่ใชก้ ็มีมากกว่ารอ้ ยภาษา ยิ่งอินเดีย ภาคเหนือกับอินเดียภาคใตด้ ว้ ยแลว้ จะแตกต่างกันโดยส้ ินเชิงราวกับเป็ นคนละ
๑๐ ประเทศ ไม่ว่าจะเป็ นสีผิว ภาษา หรือพันธุ์พืช พันธุ์สัตวล์ ว้ นต่างกัน จนยากที่จะ กล่าววา่ เป็ นผืนดินเดียวกัน ดังน้ันความมีเอกภาพของดินแดนแห่งน้ ีจึงเกิดข้ ึนได้ ยาก จะมีก็แต่สมยั ของพระเจา้ อโศกมหาราชเท่าน้ัน ที่ทรงแผ่พระราชอานาจเหนือ อาณาจกั รอนั ไพศาล กวา้ งไกลไปจนครอบคลุมอนุทวปี เกือบท้งั หมด ๑.๒ แหลง่ กาเนิดอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ แต่เดิมนักโบราณคดีสนั นิษฐานวา่ ประวตั ิศาสตรข์ องอินเดียเร่ิมตน้ ก่อนยุค พทุ ธกาลประมาณพนั ปี แต่เมือ่ มีการขุดพบเมืองหลายเมืองบริเวณลุม่ แม่น้าสินธุซ่ึง เป็ นตน้ กาเนิดอารยธรรมของอินเดียในกาลต่อมาประวตั ิศาสตร์ความเป็ นมาของ อินเดียจึงตอ้ งยอ้ นไปอีกนับพนั ปี จนสนั นิษฐานวา่ ชุมชนแหง่ แรกท่ีมีขีดความเจริญ ของความเป็ นอารยธรรม เริ่มตน้ ข้ ึนในราว ๒,๘๐๐ ปี ก่อนพุทธกาลในยุคสาริด (Bronze Age) และชุมชนแห่งน้ ีเองท่ีเรียกว่า \"อารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ\" (Indus Civilization) ซ่ึงคาดวา่ เป็ นอารยธรรมยุคเดียวกนั กบั อารยธรรมเมโสโปเตเมียในลุ่ม แมน่ ้าไทกรสิ และยเู ฟรติส และอารยธรรมอียปิ ตใ์ นลุม่ แมน่ ้าไนล์ คาวา่ \"สินธุ\" หรอื \"สินธู\" ในภาษาสนั สกฤตหมายถึง สายน้าหรือแม่น้า ช่ือ ของแม่น้าสินธุถ้าเขียนเป็ นตัวอักษรโรมันคือ Sindhu ส่วนชาวเปอร์เซียซ่ึงเป็ น เพื่อนบา้ นทางตะวนั ตก ของอินเดียออกเสียง S ไม่ได้ จึงแทนเสียง S ดว้ ยเสียง H ช่ือของแม่น้าน้ ีจึงกลายเป็ น ฮินดู (Hindu) ต่อมาชาวองั กฤษเขา้ มาปกครองอินเดีย จึงเรียกว่า Indus เป็ นการเรียกตามชาวกรีกโบราณ ซ่ึงยืมรูปภาษาที่มีพ้ ืนฐานการ ใชม้ าจากชาวเปอรเ์ ซีย โดยมีการตัดตวั H ในคาวา่ ฮินดู (Hindu) ท้ ิง แลว้ สรา้ งคา ข้ ึนมาเป็ นคาว่า \"อินดุส\" (Indus) และ \"อินเดีย\" (India) โดยคาแรกใชเ้ รียกช่ือของ แม่น้า ส่วนคาหลงั ใชเ้ รียกชื่อประเทศ ท้ังที่แต่เดิมประเทศอินเดียมีช่อื ที่เรียกกนั จน คุ้นเคยว่า \"ภารตวรรษ\" (Bharatavarsa) ซ่ึงเป็ นพระนามของปฐมกษัตริย์แห่ง อินเดียตามคัมภีร์มหาภารตะ (Mahabharata) ท่ีชาวอินเดียนับถือ นอกจากจะ เรียกวา่ ภารตวรรษแลว้ อินเดียยงั มีอีกช่ือหนึ่งวา่ \"ฮินดูสถาน\" (Hindustan) มาจาก ภาษาที่ชาวเปอรเ์ ซยี เรียกขานดินแดนแหง่ น้ ี อารยธรรมลุ่มแมน่ ้าสินธุหรือที่รจู้ กั กนั ในแวดวงของนักโบราณคดีวา่ \"อารย ธรรมฮารัปปา\" (Harappa Civilization) ถูกค้นพบโดยบังเอิญเม่ือปี คศ.๑๘๕๖ ระหว่างการสารวจเสน้ ทางเพ่ือสรา้ งทางรถไฟสายละฮอร์-มุลตานในปากีสถาน
๑๑ จากน้ันเซอรจ์ อหน์ มารแ์ ชลล์ (Sir John Marshall) นักโบราณคดีชาวองั กฤษจึงเขา้ มาทาการสารวจอยา่ งจริงจงั จนกระทงั่ ขุดพบซากเมืองโบราณสองแหง่ ที่ซอ่ นตวั อยู่ ในเนิ นดินมหึมาริมแม่น้ าสินธุ คือ เมืองฮารัปปา (Harappa) ในรัฐปั ญจาบ (Panjap) และเมืองโมเฮนโจ ดาโร (Mohenjo Daro) ในรฐั สินธ์ (Sind) สันนิษฐาน วา่ เมืองท้งั สองเป็ นเมืองศูนยก์ ลาง หรือเป็ นอู่อารยธรรมลุม่ แม่น้าสินธุ แมว้ า่ ต่อมา ยงั มกี ารคน้ พบท่ีต้งั ของเมืองตา่ งๆ อีกกวา่ ๒,๕๐๐ แหง่ จากการขุดสารวจเมืองท่ีทากนั ซ้าแลว้ ซ้าอีกลึกถึงสิบเมตร เป็ นที่น่าแปลก ใจว่าบริเวณเมืองดังกล่าวเป็ นนครโบราณอันรุ่งเรือง เป็ นอารยธรรมเมืองที่มี ลักษณะเฉพาะตัว คือมีการวางผังเมืองเหมือนกัน การตัดถนนที่เป็ นรูปแบบ เดียวกัน บา้ นเรือนก่ออิฐท่ีมีขนาดและรูปร่างของกอ้ นอิฐเหมือนกัน กาแพงเมือง และป้อมปราการที่แข็งแรง มียุง้ ฉาง อ่างน้า ระบบท่อระบายน้า ถนนน้อยใหญ่ลว้ น ปอู ิฐเช่อื มตอ่ กนั อยา่ งดีประดุจตาข่าย นักโบราณคดีจึงลงความเห็นว่า เมืองแรกสุดในอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ สรา้ งข้ ึนเมื่อประมาณ ๕,๐๐๐ ปี มาแลว้ และเชื่อวา่ เมืองเหล่าน้ัน คงมีรฐั บาลกลางที่ รวมอานาจอยู่ท่ีศูนยก์ ลาง และมีศิลปวิทยาการที่เจริญกา้ วหน้าในระดับหน่ึงแลว้ แต่ไม่พบหลักฐานที่เป็ นตัวเขียนหรือ ตัวอักษรจารึกใดๆ ทาใหก้ ารกาหนดอายุ ของอารยธรรมลุ่มแมน่ ้าสินธุทาไดย้ ากยงิ่ แต่ก็พอจะอนุมานเทียบเคียงไดจ้ ากซาก ส่ิงก่อสรา้ งและวตั ถุที่ขุดคน้ พบตามวธิ ีการของนักโบราณคดีเท่าน้ัน อารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุจะส้ ินสุดลงเมื่อไรไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชดั นัก โบราณคดีจึงอนุมานว่า อารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุแห่งน้ ีคงเจริญรุ่งเรืองอยู่นาน ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี ก่อนท่ีจะเส่ือมสลายลงอยา่ งรวดเร็วโดยไม่ทราบสาเหตุ บา้ งก็ สนั นิษฐานวา่ อาจมสี าเหตุมาจากแมน่ ้าสรสั วดีทางตอนเหนือที่แหง้ เหือดไปจนกลาย สภาพเป็ นทะเลทรายท่ีแหง้ แลง้ ทาใหผ้ ูค้ นจาตอ้ งละท้ ิงถิ่นฐานเดิมแลว้ อพยพไปหา แหลง่ ทากินแหง่ ใหม่ ๑.๓ การเขา้ มาของชนเผา่ อารยนั นักประวัติศาสตร์เช่ือกันว่า ชนพ้ ืนเมืองเผ่าพันธุ์ด้ังเดิมท่ีอาศัยอยู่ ณ ดินแดนลุ่มแมน่ ้าสินธุ และที่กระจายอยู่ทวั่ อินเดียต้งั แต่ก่อนยุคอารยธรรม คือพวก เงาะเช้ ือสาย นีกรอยด์ (Nigroid) หรือนิโกร มีลักษณะผิวดา ผมหยิก ล่าสัตว์
๑๒ เล้ ียงชีวิต มีลูกดอกชุบยางน่องเป็ นอาวุธ ต่อมาพวกเงาะซึ่งเป็ นชนพ้ ืนเมืองเหล่าน้ ี ได้ผสมกลมกลืนกับชนเช้ ือสายมองโกลอยด์ (Mongoloid) ท่ีอพยพมาจาก ตะวนั ออกเฉียงเหนือ จนในท่ีสุดกลายเป็ นชนเผ่าพันธุ์ผสม เรียกว่า พวกนิษาท (Proto-Australoid) ในเวลาต่อมา มีอีกเผ่าพนั ธุ์หนึ่ง มีผิวสีคล้า ผมหยิก นัยน์ตาพอง รา่ งกาย ไม่สูงนัก พากันอพยพมาจากแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เขา้ มาอยู่แถบเปอรเ์ ซีย จากน้ันจึงเขา้ มาต้ังรกรากและเริ่มสรา้ งอารยธรรมข้ ึนตรงบริเวณลุ่มแม่น้าสินธุ ชน เหล่าน้ ีรูจ้ ักกันโดยทัว่ ไปว่า \"ดราวิเดียน\" (Dravidian) หรือท่ีในภาษาสันสกฤต เรยี กวา่ \"ทราวฑิ \" ปัจจุบนั นักประวตั ิศาสตรท์ วั่ โลกยอมรบั กนั วา่ ชนชาติดราวเิ ดียนถือวา่ เป็ น เจา้ ของอารยธรรมโบราณ เป็ นชนชาติแรกท่ีต้งั รกรากสรา้ งรฐั และบา้ นเมืองอยตู่ าม ลุ่มแม่น้าสาคัญของโลก เช่น ลุ่มแม่น้าไนล์ ลุ่มแม่น้าไทกริส-ยูเฟรตีส ลุ่มแม่น้า สินธุ และรอบทะเลเมดิเตอรเ์ รเนียน เป็ นตน้ ดว้ ยเหตุน้ ี อารยธรรมอียปิ ตก์ ็ดี อารย ธรรมเมโสโปเตเมยี ก็ดี อารยธรรมลุม่ น้าสินธุก็ดี ลว้ นเป็ นอารยธรรมของชนผิวดาท่ี เรยี กวา่ ดราวเิ ดียนท้งั ส้ ิน เม่ือชาวดราวเิ ดียนหรือทราวฑิ ทวจี านวนมากข้ ึน จึงเขา้ ไปปะปนอยกู่ บั พวก นิษาทซ่ึงอาศัยอยู่ก่อนหน้าน้ันและเพราะเหตุที่มีลักษณะคลา้ ยคลึงกัน คือ ผิวดา คล้า ผมหยิก จมูกกวา้ ง ริมฝีปากหนา จึงผสมปนเปกันจนกลายเป็ นพวกเดียวกัน และเรยี กกนั เองในหมชู่ นพ้ ืนเมอื งวา่ \"มิลกั ขะ\" ต่อมาราว ๑,๐๐๐-๑,๕๐๐ ปี ก่อนพุทธศักราช การเปล่ียนแปลงคร้งั สาคัญ ในประวตั ิศาสตร์ก็ไดเ้ กิดข้ ึน เมื่อชาวทราวิฑหรือมิลักขะพ่ายแพแ้ ก่ชาว \"อารยนั \" (Aryans) ท่ีรุกมาจากตะวนั ตกเฉียงเหนือของอนุทวีป ขา้ มเขาฮินดูกูช ผ่านชอ่ งแคบ ไคเบอร์ (Khyber) เขา้ สู่อินเดียทางแควน้ อฟั กานิสถาน แลว้ เขา้ แย่งชิงดินแดนของ พวกทราวิฑ จนสามารถครอบครองอินเดียตอนเหนือ ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือส่วน ใหญ่ และตอนกลางไวไ้ ดท้ ้ังหมด ขณะเดียวกนั ก็ผลักดนั ชาวทราวิฑซึ่งไม่ชา่ ชองใน การสูร้ บ ใหถ้ อยร่นหนีไปหลายทิศทาง คือ ทางตะวนั ออกไปสู่ลุ่มแม่น้าคงคาและ ถูกขบั เลยไปทางดินแดนอสั สมั ทราวฑิ อีกพวกหนึ่งหนีลงมาทางตอนใตข้ องอินเดีย ปัจจุบัน กระทัง่ ขา้ มไปสู่ลังกา หลังจากมีชยั ชนะเหนือชาวทราวิฑหรือมิลักขะแลว้
๑๓ ชาวอารยนั จึงเรียกผูพ้ า่ ยแพอ้ ยา่ งเหยยี ดหยามวา่ \"ทาสะ\" หรือ \"ทัสยุ\" (Dasyus) ซ่ึง เป็ นภาษาสนั สกฤต มคี วามหมายวา่ ทาส คนใช้ หรือคนช้นั ตา่ พวกอารยนั เป็ นชนสายพันธุ์คอเคซอยด์ (Caucasoid) มีถ่ินเดิมอยู่บริเวณ ทุ่งหญา้ ทางตอนใตข้ องรสั เซีย มีลกั ษณะผิวขาว รา่ งกายสูงโปร่ง มีรูปหน้ายาวและ จมูกโด่ง ชนเผ่าอารยันเรียกชื่อเผ่าของตนว่า อารยัน มีความหมายว่า ผูเ้ จริญ เพราะถือว่าเป็ นชนชาติท่ีมีอารยธรรมแลว้ ความเจริญท่ีสาคัญของชาวอารยนั คือ สามารถจับมา้ ป่ าที่มีอยู่มากมายในทุ่งหญา้ มาฝึกหัดจนเชื่องเพ่ือเทียมรถสองลอ้ และนอกจากจะมีมา้ ที่ช่วยใหเ้ คล่ือนท่ีเร็วแลว้ ยงั สามารถประดิษฐ์รถรบเทียมดว้ ย มา้ สองตัวที่มีน้าหนักเบาเคล่ือนไหวไดค้ ล่องตัว ลอ้ รถท้ังสองทาจากไมด้ ัดเป็ น วงกลม ติดกับเพลา มีดุมตรงกลางและมีซ่ีลอ้ โดยรอบ ซึ่งนับว่าเป็ นเทคโนโลยีที่ กา้ วหนา้ กวา่ อารยธรรมสุเมเรียนท่ียงั ใชข้ อนไมต้ นั ทาเป็ นลอ้ และลากดว้ ยลา ชาวอารยันเป็ นพวกโนแมด (Nomads) ท่ีชอบเคล่ือนยา้ ยท่ี ไม่ถึงกับจะ เรียกวา่ เป็ นพวกเร่ร่อน แต่ก็อยไู่ ม่ติดที่ โดยจะท่องเที่ยวตามฝูงสตั วท์ ่ีตนเล้ ียงไวไ้ ป บนที่ราบอันกวา้ งใหญ่ ไม่ชานาญในการเพาะปลูก การทากสิกรรมจึงมีเพียง เล็กน้อยและค่อนขา้ งจากดั แต่มหี วั ในการต่อสูร้ ุกรบอยเู่ สมอ และยกยอ่ งชายผูเ้ ป็ น นักรบ การอพยพเคล่ือนยา้ ยของชาวอารยนั แบ่งออกเป็ นสองสาย คือสายหนึ่งมุ่ง ไปทางตะวนั ตกตอนใต้ ซ่ึงต่อมากลายเป็ นบรรพบุรุษของชาวยุโรป และอีกสายหน่ึง อพยพไปทางทิศตะวนั ออกเฉียงใต้ จากน้ันจึงเขา้ สู่เปอรเ์ ซียและอินเดียตามท่ีกล่าว มาขา้ งตน้ ท้ังน้ ีพวกอารยันที่เขา้ มาใหม่น้ันค่อยๆ ทยอยเขา้ มาในอินเดียเป็ น ระลอกๆ อยนู่ านเป็ นรอ้ ยปี จนกระทงั่ หยดุ การอพยพเม่ือราว ๘๐๐ ปี กอ่ นพทุ ธกาล หลังจากท่ีชาวอารยนั ต้ังหลักแหล่งในอินเดียแลว้ ก็มิไดส้ รา้ งอารยธรรม เมืองซอ้ นทับอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุที่ถูกทาลายลงไปแต่อย่างใด กลับยึดป่ า แม่น้าและทะเลเป็ นของตวั เอง เล้ ียงชีพดว้ ยการเล้ ียงสัตวโ์ ดยไม่จาเป็ นตอ้ งยา้ ยถิ่น อีกต่อไป จากน้ันก็เริ่มตน้ ต้งั หลักปักฐานสรา้ งสังคมท่ีผสมผสานความเป็ นอารยนั ของพวกตนและสังคมเกษตรกรรมของชาวพ้ ืนถิ่นเดิมคือพวกทราวิฑ รวมท้ังผสม กลมกลืนเอาวฒั นธรรมด้งั เดิมของพวกทราวิฑไว้ และสรา้ งอารยธรรมใหม่ของตน ข้ ึนอยา่ งแข็งแกรง่ สืบต่อมา ในท่ีสุดจึงเกิดเป็ นอารยธรรม ๓ สาย คือ
๑๔ ๑) อารยธรรมดราวเิ ดียนแท้ ๒) อารยธรรมอารยนั ๓) อารยธรรมผสมระหวา่ งดราวเิ ดียนกบั อารยนั นักประวตั ิศาสตร์ศาสนาช้ ีว่า อารยธรรมท่ีเจริญรุ่งเรืองและคงอยู่ต่อมาก็ คืออารยธรรมสายที่ ๓ ที่มีการผสมผสานกันระหว่างอารยธรรมดราวิเวียนแทก้ ับ อารยธรรมใหมใ่ นอตั ราส่วนที่เหมาะสม ๒. กาเนิดและพฒั นาการทางความเช่ือของศาสนาพราหมณ์ ในประวตั ิศาสตรข์ องอินเดีย ถือวา่ ศาสนาพราหมณ์เป็ นแหล่งกาเนิดลัทธิ ประเพณีของตน วฒั นธรรมพราหมณ์รวมท้ังขนบธรรมเนียมประเพณีและปรชั ญา พราหมณ์น้ัน เช่ือว่าเกิดจากการผสมผสานวฒั นธรรมอารยันเขา้ กับวัฒนธรรม ทราวฑิ ท่ีสูงกวา่ การผสมผสานน้ ีเกิดข้ ึนเป็ นระยะๆ ตามการบุกรุกของพวกอารยนั ดงั จะกล่าวต่อไปน้ ี ๒.๑ ยุคพระเวท (Vedic Period) ประมาณ ๘๐๐ - ๓๐๐ ปี ก่อนพทุ ธศกั ราช ท่ีมาของการแบง่ วรรณะในระบบ สงั คมด้งั เดิม เมื่อชาวอารยนั เขา้ มาสู่อินเดียแลว้ ก็ไดม้ าต้งั ถ่ินฐานอยทู่ างตะวนั ตก เฉียงเหนือบริเวณเหนือแมน่ ้าสินธุข้ ึนไป ชาวอารยนั น้ันไมใ่ ชพ่ วกป่ าเถ่ือน แต่จดั วา่ มีวฒั นธรรมในระดบั หนึ่งแลว้ แมค้ วามเจริญยงั ไม่ถึงขนาดสามารถสรา้ งบา้ นสรา้ ง เมอื ง และยงั ไมม่ ีการรวมตวั กนั ภายใตร้ ะบอบกษัตริยเ์ ป็ นใหญ่เหมือนอยา่ งพวกทรา วฑิ ท่ีเป็ นเจา้ ของอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ แต่ถึงกระน้ันก็มีการรวมตวั กนั เป็ นกลุ่ม และปกครองกันในระดับเผ่า (tribe) โดยมีหัวหน้าควบคุมดูแลเรียกวา่ ราชา (raja) และมกั สืบต่อกนั ตามตระกูล แต่ราชาของเผ่าอารยนั มิใชก่ ษัตรยิ ท์ ่ีมอี านาจสิทธ์ิขาด เพราะอานาจการปกครองส่วนใหญ่ข้ ึนอยกู่ บั สภาของเผา่ ก่อนท่ีพวกอารยนั จะเขา้ มาในอินเดีย พวกอารยนั คงมีการแบ่งระดบั ช้นั ของ คนในเผ่าดว้ ยกนั เองอยู่แลว้ อย่างน้อยที่สุดก็ระหวา่ งคนช้นั สูงที่เป็ นผูป้ กครองกับ คนธรรมดาสามัญซ่ึงอยู่ภายใตก้ ารปกครอง และที่ขาดมิไดค้ ือกลุ่มนักบวชที่ทา หน้าท่ีประกอบพิธีกรรมบูชา เพราะชาวอารยนั นับถือธรรมชาติบูชาเทพเจา้ ลมฟ้า อากาศมากมาย
๑๕ คร้นั พวกอารยนั มาถึงอินเดียแลว้ พบวา่ คนพ้ ืนเมืองมีสีผิวคล้ากวา่ พวกตน มาก จึงหวัน่ เกรงว่าจะมีการผสมปนเปกันจนแยกสายเลือดไม่ออก จึงเกิดการ เหยียดสีผิวข้ ึน โดยเฉพาะ การที่ชาวอารยนั ไปสมสู่กับคนต่างเผ่า เท่ากบั เป็ นการ ลดเกียรติภูมิของชาวอารยนั อยา่ งยิง่ จากปัญหาทางเช้ ือชาติและการปฏิบตั ิตอ่ กนั ระหวา่ งชนท้ังสองกลุ่มดงั กล่าว การแบ่งวรรณะจึงเริ่มปรากฏข้ ึน โดยมีจุดประสงค์เพื่อจดั ระบบระเบียบของคนใน สงั คมเสียใหมต่ ามฐานะและหนา้ ท่ีของบุคคล คือ ๑) พราหมณ์ (ฺBrahmana) เป็ นผนู้ าประกอบพิธีบชู าเทพเจา้ ๒) กษัตริย์ (Kshatriya) เป็ นนักรบ นักปกครอง และเป็ นเจา้ ของท่ีดิน ๓) แพศย์ (Vaishya) เป็ นชาวบ้านชาวเมืองที่ทาไร่ไถนา ค้าขาย และ ชา่ งฝีมือ ๔) ศูทร (Sudra) เป็ นทาสหรอื กรรมกร จะเหน็ วา่ พวกศทู รเป็ นชนกลุ่มใหมท่ ่ีถูกแบง่ แยกออกไปอยา่ งชดั เจน และ พวกศูทรก็มิใชใ่ ครอ่ืน คือพวกทราวิฑและนิษาทที่เป็ นเจา้ ถิ่นนัน่ เอง แตห่ ลงั จาก พา่ ยแพต้ ่อพวกอารยนั แลว้ ก็ถูกชาวอารยนั ลดทอนฐานะใหเ้ ป็ นเพยี งทาสรบั ใช้ และ ยงั เรียกอยา่ งดูหมนิ่ วา่ พวกทาส ทสั ยุ หรือคนช้นั ตา่ การจดั ระบบทางสงั คมในข้นั แรก ถือวา่ ยงั ไมร่ ุนแรงเท่าใดและหากมองในแง่ ของการปกครองก็ยังนับว่าเป็ นประโยชน์มาก แต่ต่อมาเมื่อระบบวรรณะถูกแปร ความหมายไปในทางอ่ืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อผลประโยชน์ของพราหมณ์ซ่ึงถือ เป็ นวรรณะสูงสุด การแบ่งช้ันวรรณะจึงทวีความรุนแรงข้ ึน จนกลายเป็ นความ เหยียดหยามและลิดรอนสิทธิของผูม้ ีวรรณะตา่ กวา่ ซ่ึงรายละเอียดน้ันจะไดศ้ ึกษา กนั ตอ่ ไปในหวั ขอ้ ยคุ พราหมณะ คมั ภรี พ์ ระเวท ก่อนท่ีชาวอารยนั จะเขา้ มาครอบครองอินเดีย ชาวอารยนั มีความเช่ือด้งั เดิม ในทางศาสนาเก่ียวโยงกบั เทพเจา้ แห่งดินฟ้าอากาศอยกู่ ่อนแลว้ เชน่ เทพเจา้ ผูส้ รา้ ง โลกคือ พระอินทร์ (Indra) ซึ่งชาวอารยนั นับถือว่าเป็ นเทพท่ีมีอานาจสูงสุด เพราะ เชื่อว่าพระอินทรเ์ ป็ นเทพเจา้ แห่งสงครามซ่ึงนาทัพของอารยนั เขา้ ห้าหนั่ ท่ีมนั่ ของ พวกทาส นอกจากพระอินทร์แลว้ ยงั มีเทพเจา้ องค์สาคัญอีกมากมาย ไดแ้ ก่ เทพ
๑๖ แห่งไฟคืออัคนี (Agni) เทพแห่งดวงอาทิตยค์ ือสุริยะ (Surya) เทพแห่งพระจันทร์ คือโสมา (Soma) เทพแห่งน้าและฝนคือวรุณ (Varuna) และเทพแห่งความตายและ การทาลายคือยม (Yama) เป็ นตน้ เหตุที่ชาวอารยนั ยกเอาธรรมชาติข้ ึนเป็ นเทพเจา้ หรือเทวะ (Devas) เพราะ มีความเชื่อ วา่ ธรรมชาติเหล่าน้ ีทรงไวซ้ ึ่งมหิทธานุภาพ ท่ีสามารถจะบันดาลใหเ้ กิด ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่งนาความฉิบหายและคุณประโยชน์มาใหแ้ ก่มนุษยไ์ ด้ ฉะน้ันจึงพากันยึดถือธรรมชาติเหล่าน้ันเป็ นที่พึ่ง และยงั เชื่อต่อไปอีกว่า เทวะและ วญิ ญาณของบรรพบุรุษท่ีตายไปแลว้ น้ัน มีภพอยเู่ บ้ ืองบน การที่จะส่งเคร่ืองบูชาให้ ไปถึงวิญญาณเหล่าน้ันได้ ก็ดว้ ยการเผาไฟเพ่ือบวงสรวงบูชา โดยเช่ือวา่ ควนั ไฟจะ ลอยข้ ึนไปและนาคาขอพรต่างๆ ไปถึงเทพเจา้ ใหไ้ ดร้ ับทราบ ในท่ีสุดจึงทาใหเ้ กิด พิธีกรรมท่ีจะสื่อสารกบั เทพเจา้ คือการบูชาเทพเจา้ ดว้ ยไฟ หรือที่เรียกว่า การบูชา ยญั เพือ่ ใหเ้ ทพเจา้ พอใจ จะไดป้ ระทานความสุขความสาเรจ็ ใหต้ ามความปรารถนา ต่อมาเมื่อชาวอารยนั เขา้ มาสู่อินเดียแลว้ จึงไดน้ าเอาความนึกคิดทางดา้ น ศาสนาของพวกตน ซึ่งประกอบดว้ ยลัทธิพิธีที่เก่ียวกับการใชไ้ ฟในการประกอบพิธี พลีกรรม รวมถึงวหิ ารหรือเทวาลัยสาหรบั เป็ นที่สิงสถิตของเทพเจา้ เขา้ ผสมผสาน กบั ความเชื่อทางศาสนาของชาวทราวิฑพ้ ืนเมืองท่ีนับถือธรรมชาติเชน่ เดียวกนั แต่ มุง่ เน้นธรรมชาติท้งั ๔ คือดิน น้า ลม และไฟท่ีมอบความอุดมสมบูรณ์ใหก้ บั มนุษย์ มากกว่า ในที่สุดลัทธิประเพณีทางศาสนาของอารยนั ก็ไดผ้ สมกลมกลืนกับความ เชื่อของชนพ้ ืนเมืองเดิมจนแยกกันไม่ออก ก่อตัวเป็ นลัทธิศาสนาใหม่ที่พฒั นาจน กลายมาเป็ นศาสนาพราหมณ์ (Brahmana) ท่ีแพร่หลายไปทัว่ แผ่นดินอินเดียมา จนถึงปัจจุบนั เหตุท่ีเรียกกันว่า \"ศาสนาพราหมณ์\" เนื่องจากมีวรรณะพราหมณ์เป็ นผู้ ศึกษาและสืบทอดความรูเ้ หล่าน้ัน ฉะน้ันพราหมณ์จึงเป็ นกลุ่มผูร้ ูท้ ี่วรรณะอ่ืนตอ้ ง นับถือ ไม่เวน้ แมแ้ ต่วรรณะกษัตริยท์ ่ีตอ้ งเชื่อฟัง เนื่องจากพราหมณ์สามารถติดต่อ กับเทพเจา้ ไดโ้ ดยตรงและยงั มีความรูค้ วามสามารถในการประกอบพิธีกรรมเพ่ือ บูชาเทพเจา้ เหล่าน้ันอีกดว้ ย การบูชายญั จึงเป็ นส่ิงที่ถือปฏิบตั ิกนั เร่ือยมาโดยมีพราหมณ์เป็ นผูป้ ระกอบ พิธีกรรม ซึ่งแต่เดิมน้ัน การบูชายญั ในยุคแรกๆ จะใชเ้ นยใส เนยขน้ น้ามนั น้าผ้ ึง
๑๗ น้าออ้ ยเท่าน้ัน ยงั ไม่ปรากฏวา่ มีการฆ่าชีวิตเพ่ือบูชายญั แต่อยา่ งใด แต่ต่อมาเม่ือ พิธีกรรมเปล่ียนแปลงไป มีการนาเอาสตั วแ์ ละมนุษยม์ าฆ่าเพ่ือบูชายญั เพราะคน อินเดียในสมัยน้ันเช่ือว่าการประกอบพิธีบูชายัญดังกล่าวจะช่วยใหช้ ีวิตยืนยาว มนั่ คงดว้ ยธนสารสมบตั ิ เพยี บพรอ้ มดว้ ยทายาทและเกียรติยศชอ่ื เสียง ศาสนาพราหมณ์ท่ีพวกอารยันได้พัฒนาข้ ึนน้ัน เต็มไปด้วยบทโศลก สรรเสริญบูชาเทพเจา้ รวมถึงตาราเก่ียวกับพิธีกรรมและเรื่องราวทางดา้ นปรชั ญา อื่นๆ ท่ีเช่อื กนั วา่ เป็ นคาทิพยท์ ่ีไดย้ นิ มาจากเทพเจา้ โดยมีพราหมณ์เป็ นผรู้ บั มาจาก พระโอษฐ์ของพระพรหม (ฺBrahma) ซ่ึงเป็ นพระผูส้ รา้ งโลกและสรรพสัตวโ์ ดยตรง ตอ่ มาไดม้ ีการจดั รวบรวมบทสวดเหล่าน้ันข้ ึนเป็ นหมวดหมู่ และบนั ทึกไวด้ ว้ ยภาษา สนั สกฤตโบราณซงึ่ เป็ นภาษาเกา่ แกช่ น้ั สูง เรียกวา่ คมั ภีรพ์ ระเวท (Veda) นับแต่น้ันมาศาสนาพราหมณ์ถือว่า พระเวทเป็ นตัวคัมภีร์ท่ีเป็ นนิรันดร เกิดจากการดลใจของเทพเจา้ จึงพากันยอมรบั นับถือไวใ้ นฐานะสจั ธรรมท่ีเป็ นแก่น แทข้ องศาสนาพราหมณ์ แมแ้ ต่ตัวหนังสือที่จดคัมภีรพ์ ระเวทก็ยงั ไดร้ บั การนับถือ อย่างยิง่ ราวกบั เป็ นเทพเจา้ องคห์ นึ่ง โดยเฉพาะพยางคต์ อนข้ ึนตน้ โศลกที่ออกเสียง วา่ โอม (Om) ถือวา่ เป็ นส่ิงที่ประจุพลงั อานาจและความลึกลบั ของคัมภีรพ์ ระเวทไว้ อยา่ งเหลือเชอื่ ที่มาของพระเวทเร่ิมตน้ ดว้ ย ฤคเวท (Rigveda) ซึ่งเป็ นบทสวดสรรเสริญและ ออ้ นวอนเทพเจา้ จานวน ๑,๐๒๘ บท และคาดวา่ มีอายุอยรู่ าว ๕๐๐ ปี กอ่ น พุทธศกั ราช เลา่ ถึงเรอื่ งราวของเทพเจา้ ของเผ่าอารยนั คือ พระอินทรซ์ ่ึงชว่ ยใหพ้ วก อารยนั ไดร้ บพุง่ มชี ยั ต่อพวกทสั ยุ และกล่าวเหยยี ดหยามพวกทสั ยวุ า่ เป็ นพวกอสูรท่ี เป็ นอรกิ บั เทพเจา้ คมั ภีรฤ์ คเวทน้ ีถือวา่ เป็ นคมั ภีรท์ ี่สาคญั และเกา่ แก่ท่ีสุดในโลกที่ ทาใหท้ ราบความคิดความเชื่อของชาวอารยนั ในสมยั น้ัน ต่อมาในหมู่พวกพราหมณ์ที่ประกอบพิธีทางศาสนา ไดพ้ ยายามคัดเลือก เฉพาะบทสวดขบั บางบทในคมั ภีรพ์ ระเวทมาเรียงใหมแ่ ละใชข้ บั สาธยายมนตรบ์ ูชา เทวดา (โสมเทพ) ดว้ ยน้าโสมท่ีค้นั มาจากตน้ โสมบนเขามูชวตั ในเทือกเขาหิมาลัย คมั ภีรท์ ี่ใชใ้ นการบรรยายการบูชาเทวดาดว้ ยน้าโสมน้ ีเรียกวา่ สามเวท (Samveda) เป็ นคมั ภีรท์ ่ีแตกออกมาจากฤคเวท แต่ภายหลงั มีเน้ ือหามากข้ ึนก็เลยกลายเป็ นอีก คมั ภีรห์ น่ึง แยกไวเ้ ป็ นเพลงขบั สาธยายมนตรโ์ ดยเฉพาะ
๑๘ ต่อเมื่อพวกอารยนั แผ่อานาจไปทางตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ถบเเควน้ อมั พาล กุรุ เกษตร ตลอดจนแควน้ ปั ญจาบในลุ่มน้าคงคาและยมุนาตอนบน ระหว่างน้ัน พราหมณ์ก็ไดค้ ดั เอามนตรโ์ ศลกในคมั ภีรฤ์ คเวทมาดดั แปลงเรียบเรียงดว้ ยรอ้ ยแกว้ และจดั เขา้ คู่ไวเ้ ป็ นชุดๆ เพื่อสะดวกในการปฏิบตั ิพิธีกรรมทางศาสนา จึงเกิดเป็ น คมั ภีรย์ ชุรเวท (Yajurveda) ใชอ้ ธิบายการประกอบพธิ ีบวงสรวงบูชา คัมภีรพ์ ระเวทท้ัง ๓ คัมภีรค์ ือ ฤคเวท สามเวท ยชุรเวท รวมเรียกวา่ \"ไตร เวท\" หรือไตรเพท ในยุคที่พราหมณ์เรืองอานาจอยู่ คัมภีรไ์ ตรเพทถือเป็ นเสมือน อาญาสิทธ์ิของพราหมณท์ ี่ทุกคนตอ้ งเคารพ ใครจะไดช้ ื่อวา่ เป็ นนักปราชญก์ ็จะตอ้ ง เจนจบไตรเพทท้งั ส้ ิน ดงั น้ันไตรเพทจึงเป็ นท้ังคมั ภีรอ์ นั ศกั ด์ิสิทธ์ิและเป็ นหลกั สูตร การศึกษาของเหล่า พราหมณาจารยท์ ้งั หลายอีกดว้ ย คร้ันมาถึงสมัยมหาภารตยุทธ์ในปลายยุคพระเวท ศาสนาพราหมณ์ถูก สัน่ คลอนดว้ ยลัทธิความเช่ืออ่ืนที่เริ่มตน้ เกิดข้ ึนติดตามมา พวกพราหมณ์จึงได้ รวบรวมไสยศาสตรต์ ่างๆ เขา้ ไว้ เพ่ือเรียกศรทั ธาใหศ้ าสนาพราหมณ์กลบั มาเป็ นที่ ยึดเหนี่ยวเหมือนเดิม กลายเป็ นพระเวทที่ ๔ ของพราหมณ์ที่เรียกว่า อาถรรพเวท (Atharveda) ประกอบดว้ ยมนตรโ์ ศลกของเก่าซึ่งโดยมากเป็ นมนตร์เสกเป่ าเพ่ือ ทาลายส่ิงอัปมงคลต่างๆ แกค้ วามเจ็บป่ วย อยูย่ งคงกระพนั ไล่ผี สกั ยนั ต์ ฝังรูปฝัง รอย ทาเสน่ ห์ยาแฝด สะเดาะเคราะห์ แก้เสนี ยดจัญไร และภยันตรายต่างๆ นอกจากน้ ียงั มีความรทู้ ี่เก่ียวขอ้ งกบั เมถุนศาสตรอ์ ีกดว้ ย คมั ภีรพ์ ระเวทเป็ นคัมภีรศ์ กั ด์ิสิทธ์ิและสาคัญสูงสุด ที่เป็ นท้ังหลักศาสนา และหลักการดาเนินชีวิตที่เคร่งครดั ของชาวอารยัน แมว้ ่าในสมัยน้ันจะมีการขีด เขียนตัวหนังสือเป็ นลายลักษณ์อักษรแล้วก็ตาม แต่พวกพราหมณ์ก็ยังนิ ยม การศึกษาและท่องจาดว้ ยวิธีที่เรียกวา่ มุขปาฐะอยดู่ ี ท้ังน้ ีเพื่อใหค้ วามเคารพนับถือ ในความศกั ด์ิสิทธ์ิของคมั ภีรพ์ ระเวท และในการสวดสาธยายพระเวทน้ัน จะตอ้ งสวด ใหถ้ ูกตอ้ งอักขระ พยญั ชนะ ใหถ้ ูกวรรคตอนและชัดเจน เพราะหากสวดผิดพลาด คลาดเคลื่อนไป ก็ถือว่าเป็ นขอ้ เสียหายท่ีจะมีผลต่อผูท้ าพิธีกรรมหรืออาจทาให้ ไมไ่ ดร้ บั ผลตามที่ปรารถนา
๑๙ ๒.๒ ยคุ พราหมณะ (Brahmana Period) ประมาณ ๓๐๐-๑๐๐ ปี ก่อนพุทธศักราช กาเนิดพระพรหมและความเชื่อ เรื่องตรีมูรติ เม่ือสารวจวรรณคดีเก่าแก่ของอินเดีย เช่น คัมภีรฤ์ คเวทหรือคัมภีร์ พระเวทอื่นๆ นักศึกษาจะไม่มีทางไดพ้ บเรื่องราวของเทพเจา้ ที่เรียกว่า \"พระ พรหม\" น้ ีเลย นัน่ แสดงวา่ ในสมยั พระเวทยุคตน้ ยงั ไม่มีการกล่าวถึงพระพรหมแต่ อยา่ งใด เท่าท่ีทราบคาว่า \"พรหมา\" หรือ \"พระพรหม\" ปรากฏในวรรณคดีอินเดีย เป็ นครง้ั แรก เม่ือปลายสมยั พระเวท ในคมั ภีรศ์ ตปถพราหมณะ ซึ่งเป็ นคมั ภีรเ์ ก่าแก่ ในยุค พราหมณะ (ประมาณ ๒,๖๐๐ ถึง ๒,๘๐๐ ปี มาแลว้ ) ไดก้ ล่าวถึงพระพรหมวา่ เป็ นพระผูส้ รา้ งไฟและสรรพส่ิงท้ังหลาย เป็ นเทวะในอุดมคติที่เป็ นนามธรรมท่ีไม่มี ตัวตนและไม่มีเพศ และท่ีสาคญั คือยกฐานะใหส้ ูงส่งยิ่งกวา่ พระอินทร์ ท่ีพราหมณ์ เคยนับถือกันว่าเป็ นเทพสูงสุด แต่ภายหลังพระอินทร์กลับเริ่มเส่ือมความนิยม เพราะเมาน้าโสมบา้ ง เจา้ ชูบ้ า้ ง รบแพอ้ สูรบา้ ง พวกพราหมณจ์ ึงตอ้ งสรา้ งพระพรหม ที่ไมม่ ีแมต้ วั ตนและอยเู่ หนือโลกข้ ึนมาทดแทนและเพอื่ แกป้ ัญหาดงั กล่าว เม่อื สรา้ งพระพรหมข้ ึนเป็ นเทพสูงสุดแทนพระอินทรแ์ ลว้ พวกพราหมณก์ ็ยงั ไดส้ รา้ งนิยายเรื่องพระเจา้ สรา้ งโลกไวด้ ว้ ยวา่ ก่อนน้ันโลกยงั เป็ นสภาวะที่วา่ งเปล่า เมื่อกาลผ่านไปก็มีสภาวะอย่างหน่ึงมารวมประชุมกันเขา้ เป็ นกอ้ นกลมเหมือนไข่ และพระพรหมก็ถืออุบัติข้ ึนในไข่ฟองน้ัน บนั ดาลใหไ้ ข่แตกออกเป็ นสองซีก ซีกบน เป็ นสวรรค์ ซีกล่างเป็ นโลกมนุษย์ พระพรหม สถิตอยู่ในโลกสวรรค์ จากน้ันพระ พรหมจึงไดส้ รา้ งพระอาทิตย์ พระจนั ทร์ ดาว ฝน พายุ ไฟและสรรพสัตวต์ ่างๆ จน เต็มโลก แลว้ บันดาลใหส้ ัตวเ์ หล่าน้ันเป็ นไปตามอานาจของพระพรหม เรียกว่า พรหมลิขิต ดังน้ันชะตาชีวิตของคนเราจะเป็ นเช่นไรน้ัน พระพรหมไดข้ ีดเสน้ ชะตา ชวี ติ ไวเ้ สร็จสรรพแลว้ นับแต่เกิดมาทีเดียว กล่าวกนั วา่ แต่ละคนมีพรหมลิขิตปรากฏ อยู่บนหน้าผาก ต้ังแต่เกิดได้ ๖ วนั ซึ่งรอยน้ันพระพรหมเป็ นผูเ้ ขียนข้ ึนดว้ ยพระ หัตถ์ของพระองค์เอง ฉะน้ันจึงไม่มีใครอยู่นอกเหนืออานาจของพระพรหมไปได้ ฐานะของพระพรหมจึงยิ่งใหญ่ คือ เป็ นท้ังองค์ธาดาหรือผูส้ รา้ งโลกและสรรพส่ิง และเป็ นเทพบิดรคือบิดาของทวยเทพท้งั หลาย
๒๐ ในตอนแรก ผูค้ นต่างเห็นดว้ ยท่ีพระพรหมไมม่ ีตวั ตน แต่ต่อมาจึงเกิดความ ไม่แน่ใจวา่ เราจะรบั รูว้ า่ มีพระพรหมจริงๆ ไดอ้ ย่างไร ในเมื่อมองก็ไม่เห็น จะกราบ ไหวก้ ็กราบไม่ได้ ดังน้ันพราหมณ์จึงมีความจาเป็ นที่จะตอ้ งแกไ้ ขหลักการเสียใหม่ โดยสรา้ งใหพ้ ระพรหมมีตัวตน แต่ว่าอยูเ่ หนือโลก มี ๔ หน้า นัง่ อยู่ตลอดกาล หัน หน้าออก ๔ ทิศ เพื่อดูแลโลก ๔ ด้าน แต่ก็เป็ นผูบ้ ริสุทธ์ิคือไม่มีเพศ ไม่มีเร่ือง กามารมณ์ จึงเป็ นผสู้ งบและมีความสุขอนั เป็ นยอด จงึ เกิดมีพรหมส่ีหน้าข้ ึน ครน้ั ต่อมาไมน่ านนัก พระพรหมก็ถูกเสริมเติมแต่งใหม้ ีลกั ษณะใกลเ้ คียงคน ธรรมดามากข้ ึนอีก แมว้ า่ ยงั ทรงไวซ้ ึ่งอานาจแห่งเทวะท่ีอยู่เหนือมนุษย์ แต่ก็เริ่มมี ตัวตน มีรูปร่างลักษณะ มีหน้า ๗ หน้า เป็ นชาย มีความรูส้ ึก มีความรักและ ความชอบเหมือนมนุษยท์ ้งั หลาย พระพรหมจึงไม่เป็ นที่พอใจของบรรดาผูเ้ คารพอีก เช่นเดียวกับกรณีของพระอินทร์ ดังน้ันพวกพราหมณ์จึงไดส้ รา้ งเทพเจา้ ผูย้ ิ่งใหญ่ ข้ ึนมาให้เสมอกับพระพรหมอีก ๒ องค์ รวมเป็ น ๓ องค์เรียกว่า \"ตรีมูรติ\" (Trimurati) ซ่ึงถือกันว่าเทพเจา้ ท้ังสามเป็ นเทพเจา้ ผูศ้ ักด์ิสิทธ์ิ เป็ นมหาเทพผู้ ยิ่งใหญ่ท่ีสุดและเป็ นนิรันดร์ พรอ้ มกันน้ันก็ได้กาหนดหน้าท่ีของพระเป็ นเจา้ เหล่าน้ันไวต้ ่างๆ กนั คือ ๑) พระพรหม เป็ นผสู้ รา้ ง (Creator) สถิตอยชู่ น้ั บนเหนือพ้ ืนพภิ พ ๒) พระวิษณุ หรือนารายณ์ เป็ นผรู้ กั ษา (Preserver) สถิตอยทู่ างทิศใต้ ประจาอยทู่ างทะเล ๓) พระศิวะ หรืออิศวร เป็ นผทู้ าลาย (Destroyer) สถิตอยทู่ างเหนือของ ภูเขาหมิ าลยั ท้งั พระวษิ ณุและพระศิวะ ก็ลว้ นอวตารมาจากพระเจา้ องคเ์ ดิมคือพระพรหม การที่มีเทพเคารพถึงสามองค์ภายใตค้ วามเช่ือท่ีวา่ \"สรรพส่ิงเกิดจากหนึ่ง เดียวหรือธาตุเดียวคือพรหมันท่ีสามารถเจริญเติบโตและขยายตัวได้ แต่ทว่าสิ่ง สูงสุดหรือเทพสูงสุดมีเพียงหนึ่งเดียวเท่าน้ัน\" ความเช่ือน้ ีไดก้ ่อใหเ้ กิดปัญหาการ แตกแยกนิกายในยุคตอ่ ๆ มา คือ กลุ่มท่ีบูชาพระวษิ ณุก็มุง่ มนั่ ภกั ดีในองคพ์ ระวษิ ณุ จนเกิดเป็ นไวษณพนิกาย (Vaishnavism) ส่วนกลุ่มที่บูชาพระศิวะก็มุ่งมนั่ ภักดีต่อ พระศิวะเกิดเป็ นไศวนิกาย (Saivism)
๒๑ การเกิดข้ ึนของท้ังสองนิกายน้ ี ทาใหพ้ ระเป็ นเจา้ ท้ังสองโดดเด่นและมี ความหมายในฐานะเทพเจา้ สูงสุดเพียงองคเ์ ดียว และในขณะเดียวกนั ฐานะของพระ พรหมก็ค่อยๆ เสื่อมความนิยมลง ในปัจจุบนั เทวาลยั ในอินเดียท่ีประดิษฐานรูปป้ัน พระพรหมน้ันแทบจะหาไมไ่ ดเ้ ลย บางเทวาลยั มีแต่รูปป้ันของพระศิวะและพระวษิ ณุ ประดิษฐานโดดเด่นเป็ นสงา่ แต่ในคูหาหรอื ชอ่ งเล็กๆ ของผนังเทวาลยั กลบั มีรปู ป้ัน พระพรหมองคเ์ ล็กๆ ประดิษฐานรวมอยดู่ ว้ ยเท่าน้ันเอง เราจะเห็นว่า การสรา้ งเทพเจา้ ข้ ึนมาเรื่อยๆ ไม่หยุดหย่อนเช่นน้ ี เป็ น ลกั ษณะสาคัญของศาสนาพราหมณ์ท่ีต่างจากศาสนาอื่นๆ สมยั พราหมณะจึงเป็ น สมยั ท่ีมนุษยส์ รา้ งพระเจา้ มิใช่พระเจา้ สรา้ งมนุษยอ์ ยา่ งท่ีเคยเชื่อถือมาแต่เดิม ใน ยุคน้ ีท้ังผูน้ าทางศาสนาพราหมณ์และผูเ้ คารพบูชาต่างก็มุ่งเน้นไปท่ีความฉาบฉวย ของเปลือกนอกแห่งศาสนา จนละเลยคาสอนในคมั ภีรไ์ ตรเพท กลบั เน้นหนักไปกับ เร่ืองราวอิทธิปาฏิหาริย์และเวทมนตร์มายาคุณไสยต่างๆ ท่ีเก็บไวใ้ นคัมภีรท์ ่ี ๔ หรอื อาถรรพเวทเป็ นหลกั แมแ้ ต่แนวคิดเร่ืองตรีมูรติก็เป็ นเชน่ น้ัน คือเกิดข้ ึนดว้ ยความตอ้ งการใหเ้ กิด การรวมปาฏิหาริยอ์ นั ยิ่งใหญ่แห่งองค์เทพท้ังสามเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั ซึ่งเท่ากบั องคเ์ ทพ องคเ์ ดียวกนั น้ ีมีพลงั อานาจ ท้งั การสรา้ งโลกโดยพระพรหม บารุงรกั ษาโลกโดยพระ วิษณุ และท าลายโลกโดยพระศิ วะ จะเห็ นว่าแนวทางน้ ี ก็ ยังมุ่งเน้ นไปที่ อิทธิปาฏิหาริยแ์ ห่งองคเ์ ทพเป็ นหลกั แทนท่ีจะมุ่งศึกษา คาสอนด้งั เดิมในคัมภีร์ พระเวท ส่ิงเหล่าน้ ีก็คือสัญญาณแห่งความเส่ือมของศาสนาพราหมณ์ ในชว่ งเวลา ตอ่ มาและเป็ นเหตุใหต้ อ้ งมีการปรบั เปล่ียนคาสอนเสียใหม่ กระทงั่ กลายเป็ นศาสนา ฮินดูที่พยายามในทุกวถิ ีทางท่ีจะเรียกศรทั ธากลบั คืนมาใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด พฒั นาการของระบบวรรณะ ๔ สู่ระบบชนช้นั ในยุคพระเวท แมจ้ ะมีการแบ่งเป็ นวรรณะแลว้ แต่ยงั ไม่เด่นชดั นัก ระบบ วรรณะเร่ิมก่อตัวเป็ นรูปร่างข้ ึนเม่ือสงครามระหวา่ งอารยนั กบั ดราวิเดียนส้ ินสุดลง การตีความความหมายของวรรณะตามคมั ภีรพ์ ระเวทเป็ นสิ่งท่ีเกิดจากความจาเป็ น ทางสงั คมหรือความตอ้ งการของผูม้ ีอานาจในสังคมเป็ นหลัก เช่นในระยะแรกของ การมีระบบวรรณะ วรรณะจะถูกตีความไปตามความตอ้ งการของผูช้ นะสงครามคือ อารยนั ซึ่งเป็ นกลุ่มผูม้ ีอานาจในสังคมที่ตอ้ งการจะแบ่งแยกกลุ่มชนท่ีมีชาติพนั ธุ์
๒๒ ตา่ งกนั ออกจากกนั อยา่ งชดั เจนระหวา่ งอารยนั กบั ดราวิเดียน เพ่ือความบริสุทธ์ิของ เช้ ือชาติและเผ่าพันธุ์ของตน กล่าวคือ พราหมณ์ กษัตริย์ ไวศยะ ถือเป็ นอารย วรรณะซงึ่ มผี ิวขาว เป็ นนายเหนือชนพ้ ืนเมอื งเดิมซง่ึ ผิวคล้ากวา่ เรียกวา่ ทาสวรรณะ หรือศทู ร มหี นา้ ท่ีรบั ใชผ้ เู้ ป็ นนายคือพวกอารยนั สมัยต่อมาวรรณะไดถ้ ูกตีความไปตามความจาเป็ นทางสังคม ท่ีตอ้ งการ แรงงานและความเชี่ยวชาญในวชิ าชีพตา่ งๆ ซ่ึงเป็ นแต่เพียงการแบ่งหน้าที่และอาชีพ ใหแ้ กค่ นในสงั คมเท่าน้ัน ไดแ้ ก่ พราหมณม์ ีหนา้ ท่ีสงั่ สอนเยยี่ งครูอาจารย์ กษัตริยม์ ี หน้าท่ีเป็ นนักรบป้องกันชาติบ้านเมือง แพศย์หรือไวศยะมีอาชีพค้าขายสรา้ ง เศรษฐกิจใหส้ งั คม และศูทรมหี น้าท่ีทาไรไ่ ถนาและใชแ้ รงงาน ต่อมาภายหลงั เมื่อมีความเจริญทางสงั คมและเศรษฐกิจอนั เป็ นมูลเหตุให้ สงั คมมีความสลบั ซบั ซอ้ นและแสวงหาความเช่ียวชาญในวชิ าชีพแขนงต่างๆ มากข้ ึน จึงมีการแบ่งแยกออกเป็ นชนช้ันใหม่ๆ ซึ่งเป็ นกลุ่มชนท่ีมีอาชีพการงานและ กฎเกณฑ์ทางวรรณะคลา้ ยกัน กลายเป็ นวรรณะย่อยๆ ไป โดยวรรณะท่ีสูงกว่า เหยยี ดหยามและเอาเปรยี บวรรณะตา่ ดว้ ยเหตุทางผลประโยชน์เป็ นสาคญั กล่าวคือ ในยุคแรกทาสซ่ึงเป็ นวรรณะตา่ ท่ียงั มีฐานะดีและเป็ นท่ียอมรบั ของสังคม สามารถ แต่งงานกบั วรรณะอื่นได้ แต่ภายหลังเม่ือระบบวรรณะขมวดเกลียวแน่นข้ ึน ฐานะ ของทาสก็ลดตา่ ลงตามลาดับ กลายเป็ นพวกเลวทราม (Untouchable) และหา้ ม พวกทาสทาพิธีต่างๆ เช่น การเผาศพอย่างท่ีพวกอารยนั ทา หา้ มอ่านหา้ มจบั พระ เวท ถา้ ฝ่ าฝืนจะถูกตดั มอื ตดั หู ความรุนแรงของการแบ่งช้นั วรรณะดังกล่าวปรากฏชดั ในช่วงปลายยุคพระ เวท โดยพวกพราหมณไ์ ดอ้ า้ งคมั ภีรศ์ กั ด์ิสิทธ์ิคือบทสวดฤคเวทตอนทา้ ยที่มีใจความ วา่ พระพรหมสรา้ งมนุษยใ์ หเ้ กิดข้ ึนมาบนโลกดว้ ยฐานะท่ีต่างกัน และมนุษยก์ ็ถือ กาเนิดมาจากอวยั วะท่ีต่างกนั ของพระพรหมดว้ ย คนในวรรณะพราหมณ์ถือกาเนิด มาจากพระเศียรของพระพรหม คนวรรณะกษัตริยถ์ ือกาเนิดมาจากพระองั สา (บ่า) คนในวรรณะแพศย์ถือกาเนิดมาจากพระอุทร (ท้อง) ส่วนคนในวรรณะศูทรถือ กาเนิดมาจากพระบาท (เทา้ ) บางแห่งกล่าวต่างไปจากน้ ีว่า วรรณะพราหมณ์มา จากปากของพระพรหม วรรณะกษัตริยม์ าจากแขน วรรณะแพศยซ์ ึ่งเก่ียวขอ้ งกบั เร่อื ง
๒๓ ของการทามาหาเล้ ียงชีพหรือเป็ นหน่วยเศรษฐกิจของชุมชนมาจากทอ้ ง และวรรณะ ศทู รซงึ่ เป็ นพวกใชแ้ รงงานมาจากเทา้ ของพระพรหม การที่มนุษยถ์ ือกาเนิดมาจากอวยั วะที่ต่างกันดังน้ ี จึงไม่มีความเสมอภาค กนั ต้งั แต่เกิดแต่เพราะนัน่ เป็ นพระประสงคข์ องพระผูเ้ ป็ นเจา้ ท่ีไดก้ าหนดไวแ้ ลว้ จึง ตอ้ งถือปฏบิ ตั ิตามอยา่ งเครง่ ครดั ดงั น้ันผูท้ ี่เกิดในวรรณะใดก็ตอ้ งดารงอยใู่ นวรรณะ น้ันตลอดไปและการประกอบอาชีพก็ตอ้ งใหเ้ ป็ นไปตามหน้าที่ของตนๆ จะกา้ วก่าย กนั ไม่ได้ และหา้ มมิใหค้ นต่างช้นั วรรณะกนั ทาการสมรสขา้ มวรรณะ ตอ้ งสมรสกบั คนภายในวรรณะเดียวกนั เท่าน้ัน หากมีการสมรสขา้ มวรรณะกนั บุตรที่เกิดมาก็จะ ไมอ่ าจเขา้ ช้นั วรรณะใดไดอ้ ีก และจะถูกเรียกวา่ จณั ฑาล กลายเป็ นบุคคลที่ถูกสงั คม เหยยี ดหยามดูถูก ท้ังน้ ีก็เพราะตอ้ งการปกป้องสายเลือดและชนช้นั ของเผ่าอารยนั เป็ นหลกั หากใครฝ่ าฝืนนอกจากจะถือวา่ เป็ นการทรยศต่อวรรณะตนเองแลว้ ยงั ถือ วา่ เป็ นการขดั บญั ชาของพระผเู้ ป็ นเจา้ ยอ่ มจะถูกพระเจา้ ลงโทษ เรยี กวา่ \"เทวทณั ฑ\"์ บา้ ง หรือ \"พรหมทัณฑ\"์ บา้ ง ผูท้ ่ีเกิดในวรรณะตา่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงพวกศูทรและ จณั ฑาล ตอ้ งยอมรบั ปฏิบตั ิตามคาสงั่ ของพราหมณ์โดยไม่มีขอ้ แมใ้ ดๆ พวกศูทรจึง เป็ นพวกท่ีไดร้ ับชะตากรรมมาก ที่สุดและน่าสงสารมากที่สุด แมท้ ุกวนั น้ ีก็ยงั มี ความเชอ่ื เชน่ น้ ีหลงเหลืออยใู่ นอินเดียอีกมาก ๒.๓ ยคุ อปุ นิษทั (Upanishad Period) ประมาณ ๑๕๐-๑๐๐ ปี ก่อนพุทธศักราช \"พรหมัน\" ในคัมภีร์อุปนิษัท ศาสนาพราหมณ์ไดว้ ิวฒั นาการจากยุคพราหมณะเขา้ สู่ยุคที่ ๓ คือยุคอุปนิษัท ซ่ึง เป็ นชว่ งท่ีชาวอินเดียสรา้ งรากฐานทางสงั คมท่ีมนั่ คงแข็งแกรง่ แลว้ แต่ในทางศาสนา ผูค้ นกลับเริ่มฉุกคิดว่า \"ลาพงั การบูชายญั อยา่ งท่ีเคยประพฤติมาน้ัน ไม่สูจ้ ะไดผ้ ล อะไรเลย ยงั ไม่เห็นเลยว่าจะสามารถเอาชนะทุกข์ไดอ้ ย่างแทจ้ ริง นอกจากจะเป็ น การปลอบใจชวั่ คร้งั ชวั่ คราวเท่าน้ัน ดงั น้ันตอ่ มาจึงเกิดมีนักปรชั ญาท่ีพยายามคน้ หา เหตุผลในเร่ืองความจริงของชีวิตวา่ \"ชีวิตคืออะไร เราเกิดมาทาไม ตายแลว้ จะไป ไหน\" ความสงสยั และความขดั แยง้ ดังกล่าวเร่ิมรุนแรงมากข้ ึน จนถึงขนาดท่ีวา่ มี การรวมกลุ่มอภิปรายปัญหาต่างๆ เพื่อคัดคา้ นพราหมณ์เลยทีเดียว โดยมีวรรณะ กษัตริยเ์ ป็ นแกนนาสรา้ งปรชั ญาใหม่ๆ วนั ดีคืนดีก็ต้งั ปัญหาถามพวกพราหมณ์ว่า
๒๔ \"อะไรคือปฐมเหตุของโลกและชีวติ พรหมคืออะไร เราเกิดมาจากไหน เราอยไู่ ดด้ ว้ ย อะไร เราถูกสรา้ งข้ ึนมาบนพ้ ืนฐานแหง่ อะไร\" เม่ือต่างคนต่างพยายามใชป้ ัญญาของตนขบคิดหาเหตุผล จึงพบขอ้ สรุปบาง ประการที่น่าสนใจ ซึ่งไดร้ วบรวมข้ ึนมาใหม่เป็ นอีกคัมภีร์หนึ่ง ใหช้ ื่อว่า \"คัมภีร์ อุปนิ ษัท\" (Upanishads) ซึ่งเป็ นบทสรุปของคัมภี ร์พระเวท ถือเป็ นตัวแทน พฒั นาการดา้ นความคิดตามคมั ภีรพ์ ระเวทข้นั สุดทา้ ย และเป็ นลกั ษณะสุดทา้ ยของ ศาสนาพราหมณ์ ดงั น้ันคมั ภีรอ์ ุปนิษัทจึงเป็ นอวสานของพระเวท และสานักปรชั ญา ลทั ธิฮินดูในสมยั ต่อมา ก็ลว้ นวางหลักคาสอนของตนไวก้ บั คัมภีร์ อุปนิษัทที่ขยาย ความออกไปท่ีเรยี กวา่ \"เวทานตะ\" (Vedanta) นัน่ เอง คัมภีร์อุปนิษัทเกิดข้ ึนคร้ังแรกเมื่อใดน้ันยงั หาขอ้ สรุปไดย้ า ท้ังน้ ีเพราะ คัมภีรอ์ ุปนิษัท มีอยู่นับรอ้ ยเล่ม และแต่ละเล่มก็ไม่ตรงกันหรือท่ีขดั แยง้ กนั เองก็มี นักปราชญ์ฝ่ ายฮินดูกล่าวว่าอุปนิษัทตอ้ งเกิดก่อนพุทธศาสนาอยา่ งแน่นอน ส่วน บางท่านมีความเห็นแยง้ กันว่าคัมภีร์อุปนิษัทอาจเกิดข้ ึนหลังพุทธกาล คือเป็ น ผลงานของพวกฮินดูซง่ึ หาทางจะดารงไวซ้ ง่ึ ศาสนาพราหมณใ์ นยุคที่พุทธศาสนาและ ศาสนาเชนกาลงั รุง่ เรือง คาสอนในคมั ภีรอ์ ุปนิษัทเป็ นปรชั ญาที่ลึกซ้ ึงและเป็ นเรื่องยากท่ีจะเขา้ ใจได้ ที่เห็นไดช้ ดั คือคาสอนเร่ืองความจริงสูงสุดท่ีเรียกวา่ \"พรหมนั \" (Brahman) ซ่ึงเป็ น คาสอนใหมท่ ่ีไมม่ ปี รากฏอยใู่ นคมั ภีรพ์ ระเวท คมั ภีรอ์ ุปนิษัทกล่าววา่ แมพ้ ระเวทจะถือกนั วา่ เป็ นพระวจนะของพระผูเ้ ป็ น เจา้ โดยตรง (ศรุติ) แต่ที่แทจ้ ริงก็เป็ นส่ิงที่เกิดมาจากพรหมัน ออกมากบั ลมหายใจ ของพรหมนั นัน่ เอง ดงั น้ัน พรหมนั ในคมั ภีรอ์ ุปนิษัทจงึ มีความสาคญั เหนือกวา่ พระ เวทมากนัก ดงั จะเห็นไดจ้ ากประโยคที่วา่ \"ผูท้ ่ีรจู้ กั พระเวทที่ดีที่สุด ก็ยงั ไม่อาจหลุด พน้ จากทุกขไ์ ด้ ถา้ เขายงั ไม่รูจ้ กั พรหมนั ตรงขา้ มถา้ รูจ้ กั พรหมนั แต่ไม่รูพ้ ระเวทเลย กลบั สามารถหลุดพน้ จากทุกขไ์ ด\"้ ในคัมภีร์อุปนิษัทกล่าวถึงพรหมันว่า \"มีพระผูเ้ ป็ นเจา้ สูงสุดอยู่เพียงหน่ึง เดียวคือพรหมนั (Brahman) ทุกส่ิงแยกตวั มาจากพรหมนั และจะกลบั ไปรวมกบั พร มนั อีก บุคคลคือชีวาตมันหรืออาตมนั (Atman) ซึ่งมีธรรมชาติเหมือนพรหมันแต่ แยกมาอยู่ในตัวบุคคล บุคคลจะตอ้ งพยายามดว้ ยการประกอบพิธีกรรมจนถึงข้ัน
๒๕ บรรลุโมกษะ (Moksha) หรือความหลุดพน้ ก็จะกลบั ไปรวมกบั พรหมนั ขณะเม่ือยงั รวมกบั พรหมนั ไมไ่ ด้ ก็จะเวียนวา่ ยตายเกิดไปจนกวา่ จะกลบั ไปรวมกบั พรหมนั ได้ ชี วาตมนั ท่ีจะกลบั ไปสูพ่ รหมนั ไดน้ ้ันจึงตอ้ งเลือกกระทาแต่กรรมท่ีไมผ่ กู พนั กบั โลก คาสอนเร่ือง \"พรหมนั \" น้ ีถือเป็ นหลกั การสาคญั ของคมั ภีรอ์ ุปนิษัทท่ีเชือ่ ม ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั พรหมนั มนุษยก์ บั เทพเจา้ และมนุษยก์ บั มนุษย์ ดว้ ยกนั ตลอดจนมนุษยก์ บั สรรพสิ่งในจกั รวาล โดยยืนยนั วา่ \"เป็ นไปไมไ่ ดเ้ ลยที่ ชีวติ มนุษยจ์ ะอยแู่ ยกไปอยา่ งเด็ดขาดจากความเป็ นไปของจกั รวาล เพราะมนุษยก์ ็ คือสว่ นหน่ึงของจกั รวาลนัน่ เอง\" ปรชั ญาการดาเนินชีวิตตามหลกั อาศรม ๔ ยอ้ นไปในยุคพราหมณะซึ่งพิธีบูชายญั ไดร้ บั ความนิยมกันอย่างแพร่หลาย ในยคุ น้ันพราหมณ์ซ่ึงเป็ นผูม้ ีอานาจในการประกอบพิธีกรรม จึงไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เป็ นที่พึ่งทางจิตใจของประชาชน เมื่อประชาชนเกิดความเดือดรอ้ นก็พากันไปหา พราหมณ์เพ่ือให้ช่วยเปล้ ืองทุกข์ และไถ่บาปให้ เพราะถือว่าพราหมณ์เป็ นผู้ ศักด์ิสิทธ์ิท่ีเป็ นเสมือนตัวแทนของพระผูเ้ ป็ นเจา้ หน้าท่ีของพราหมณ์จึงอยู่ท่ีการ ประพฤติเคร่งครัดอยู่ในพิธีกรรมและกระทาตนให้เป็ นที่พึ่งของประชาชนใน ทางดา้ นจิตใจเท่าน้ัน คัมภีร์พระเวทในส่วนที่เรียกว่า อรัณยกะ (บทเรียนในป่ า) ไดก้ ล่าวถึง หลักการดาเนิ นชีวิตของพราหมณ์ผู้บาเพ็ญตนเพ่ือให้บรรลุประโยชน์หรือ จุดมุ่งหมายของชีวิตมนุษย์ ซึ่งเป็ นข้ันเป็ นตอนไปตามลาดับ เรียกว่าอาศรม ๔ (Four Ashrams) ดงั น้ ี ๑) พรหมจารี (Brahmacharya :Student) แปลวา่ ผูป้ ระพฤติพรหมจรรย์ เป็ นวยั ที่ตอ้ งศึกษาเล่าเรียน จะเริ่มทาพิธีเล่าเรียนเรียกวา่ \"อุปานยนั \" แปลวา่ นา ชีวิตเขา้ สู่ความรูต้ ้ังแต่อายุ ๘ ขวบ เบ้ ืองแรกจะตอ้ งใหพ้ ราหมณ์ผูเ้ ป็ นครูอาจารย์ เป็ นผูส้ วมคลอ้ งดา้ ยสายศักด์ิสิทธ์ิเรียกว่ายชั โญปวีต เท่ากับเป็ นการประกาศและ ปฏิญาณตนว่าเป็ นพรหมจารีท่ีจะตอ้ งเช่ือฟังครูบาอาจารย์ ตอ้ งมีความประพฤติ เรียบรอ้ ย ตอ้ งเคารพต่ออาจารยท์ ุกโอกาส และตอ้ งเรียนอยู่ในสานักของอาจารย์ อยา่ งนอ้ ย ๑๒ ปี จงึ สาเร็จการศึกษา
๒๖ ๒) คฤหัสถ์ (Grihastha : Householder) แปลว่า ผูค้ รองเรือน เป็ นวยั ท่ี แสวงหาความสุขทางโลกตามฆราวาสวิสัย ตอ้ งแต่งงานและมีบุตรอยา่ งน้อย ๑ คน เพอื่ ใชห้ น้ ีบรรพบุรุษและเป็ นการป้องกนั มใิ หบ้ ิดามารดาตกนรกขุม \"ปุตตะ\" จะตอ้ ง ประกอบอาชีพใหม้ ีฐานะมัน่ คงในทางฆราวาส ปฏิบัติตามกฎของผูค้ รองเรือน ตลอดจนเอาใจใสใ่ นการประกอบยญั พิธี ๓) วนปรัสถ์ (Vanaprastha : Hermit) แปลว่า ผูอ้ ยู่ป่ า หลังจากสรา้ ง ฐานะในเพศคฤหัสถ์ไดแ้ ลว้ มีบุตรธิดาสืบสกุลแลว้ ก็ยกทรัพยส์ มบัติใหบ้ ุตรธิดา แลว้ ออกไปอยูใ่ นป่ าเพื่อแสวงหาความสุขสงบจากวิเวก บาเพ็ญเพียรทางใจและขอ้ ปฏิบัติอื่นๆทางศาสนาอย่างเคร่งครัด ยังมีภรรยาเหมือนกับบุคคลทัว่ ไป แต่มุ่ง บาเพญ็ ความดีเพอื่ สมั ปรายภพใหม้ ากยงิ่ ข้ ึน ๔) สนั ยาสี (Sannyasa : Ascetic) แปลวา่ ผูแ้ สวงหาธรรม พิธีบวชเป็ นสนั ยาสี คุรุ (ครู) จะทาพิธีสวดมนตบ์ ูชาพระเจา้ แลว้ สอนใหผ้ ูบ้ วชวา่ ตาม เสรจ็ แลว้ คุรุ จะอบรมใหผ้ ูถ้ ือบวชทราบทางปฏิบตั ิ การถือบวชเป็ นสนั ยาสีนับเป็ นชว่ งสุดทา้ ยของ ชีวิตของผูท้ ่ีหวงั ประโยชน์สูงสุด ฉะน้ันจึงตอ้ งสละโลกและบุตรภรรยา ความวุน่ วาย ออกบาเพญ็ พรตอยใู่ นป่ าตลอดชวี ติ เพอื่ จุดหมายปลายทางของชวี ติ คือโมกษะ อาศรม ๔ จึงเป็ นลาดบั ข้นั แหง่ วถิ ีชีวิต (Stages of Life) เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ ของผูบ้ าเพ็ญตนไปสู่ธรรมข้นั สูงสุดในศาสนาพราหมณ์คือโมกษะ ซ่ึงมีอิทธิพลต่อ ชีวิตสังคมของประชาชนและเป็ นพ้ ืนฐานท่ีนาไปสู่การพัฒนาทางศีลธรรมข้ันสูง ต่อไป แต่บุคคลที่จะปฏบิ ตั ิตามอาศรม ๔ ได้ จะตอ้ งอยใู่ นวรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ แพศยเ์ ท่าน้ัน ระบบอาศรม ๔ ที่พัฒนาข้ ึนยุคพราหมณะน้ ี นับว่ายังไม่เขม้ งวดหรือ เคร่งครดั เท่าใดนัก เพราะยุคพราหมณะยงั คงเน้นในเร่ืองการบูชายญั มีบุตรและ บาเพ็ญทานของพราหมณ์ผูน้ ับถือพระเวท ดังน้ันช่วงคฤหัสถ์จึงเป็ นช่วงชีวิตท่ี พราหมณ์ยกย่องและใหค้ วามสาคัญ ท้ังน้ ีเพราะพราหมณ์ส่วนใหญ่เป็ นคฤหบดี พราหมณ์ ซึ่งยังคงมีบุตรภรรยาและสามารถประกอบอาชีพอยู่เป็ นครอบครัวได้ ตามปกติ ส่วนช่วงสันยาสี (ผูแ้ สวงหาโมกษะ) น้ัน เป็ นช่วงชีวิตที่ใครจะเลือกจะ เลือกหรือไมเ่ ลือกก็ไม่มีผลต่อความพน้ ทุกข์เพราะความพน้ ทุกขข์ ้ ึนอยูก่ บั การบูชา ยญั เป็ นหลกั
๒๗ แต่คร้นั มาถึงยุคอุปนิษัท ระบบโครงสรา้ งทางศาสนาอันไดแ้ ก่คาสอนและ การปฏิบัติของศาสนาพราหมณ์ไดเ้ ปล่ียนแปลงไปจากเดิมท่ีเคยมุ่งเน้นการเขา้ ถึง เป้าหมายสูงสุดจากภายนอกโดยอาศัยการประกอบพิธีบูชายญั เป็ นหลัก ก็เปล่ียน มาเป็ นการเขา้ ถึงพรหมนั ตามหลกั ปรชั ญาในคมั ภีรอ์ ุปนิษัท อาศัยการบาเพ็ญตบะ หรือบาเพ็ญโยคะอย่างยิ่งยวด ละท้ ิงทุกอย่างเพ่ือใหเ้ ขา้ ถึงพรหมัน เพราะเห็นว่า การบูชายญั น้ันเพียงช่วยใหไ้ ปสวรรค์ได้ แต่ก็ยงั ไม่อาจช่วยใหบ้ รรลุโมกษะเขา้ ถึง พรหมมนั ไดเ้ ลย ดงั น้ัน ในยุคอุปนิษัท ความสาคญั ของพราหมณ์ในฐานะผปู้ ระกอบพธิ ีกรรม เร่ิมลดลง ชว่ งสนั ยาสีหรือชว่ งชีวิตสุดทา้ ยที่มุ่งแสวงหาโมกษะกลบั ไดร้ บั การยกยอ่ ง มากเป็ นพิเศษ และยงั เชื่ออีกวา่ การเขา้ สู่ชว่ งสนั ยาสีน้ันจะเริ่มตน้ เมื่อใดก็ได้ โดยไม่ จาเป็ นตอ้ งรอใหม้ ีอายุมากหรือมีลูกหลานก่อนตามแบบเดิม แนวคิดดังกล่าวน้ ี ก่อใหเ้ กิดการเติบโตและแผ่ขยายของลัทธิถือพรตอยู่ป่ า ปลีกตัวจากโลกภายนอก ไมม่ ีชนช้นั วรรณะและมุง่ ความสนั โดษและแสวงหาความสุขทางจิตวญิ ญาณ แนวคิดและระบบปรชั ญาอินเดีย ๒ สาย สมยั ที่ปรชั ญาอุปนิษัทเกิดข้ ึน เป็ นยุคที่ใกลก้ บั พุทธกาลมากแลว้ เป็ นยุคท่ี นักคิดชาวอินเดียเร่ิมเป็ นตวั ของตวั เองมากข้ ึน ไม่ผกู พนั กบั ระบบประเพณีด้งั เดิมซึ่ง ถ่ายทอดกนั มาแต่สมยั พระเวท เพราะฉะน้ันจึงมีนักคิดอิสระท่ีมีความคิดแหวกแนว ออกไปจากระบบประเพณีด้งั เดิมของพระเวทออกไป พวกนั กคิดอิสระที่พากันปฏิเสธคัมภีร์พระเวทมีอยู่หลายกลุ่ม ใน พระไตรปิ ฎกไดก้ ล่าวถึงชื่อ อาชีวก ปริพาชก นิครนถ์ ลทั ธิครทู ้งั ๖ ท่านเหล่าน้ ีลว้ น แต่เป็ นนักคิดอิสระท่ีแยกตวั ออกมาจากพราหมณผ์ นู้ ับถือพระเวทท้งั ส้ ิน ดังน้ัน ยุคน้ ีจึงเป็ นเสมือนจุดเช่ือมต่อระหว่างลัทธิความเช่ือสองสาย คือ ลัทธิศาสนาพราหมณ์ท่ียงั คงยึดมนั่ อยู่ในคัมภีรพ์ ระเวท กับลัทธิศาสนาใหม่ๆ ที่ ปฏเิ สธคมั ภีรพ์ ระเวท ฉะน้ัน ลทั ธิศาสนาของอินเดยี ในยคุ น้ ี จึงสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็ น ๒ พวก คือ ๑. พวกอไวทิกวาทะ (Avaidika) หรือนาสติกะ (Nastika) คือพวกที่ ปฏิเสธความศกั ด์ิสิทธ์ิของพระเวท ปฏิเสธความยิ่งใหญ่ของพระเจา้ และไม่ยอมรบั
๒๘ ประเพณีของพราหมณ์ ซึ่งหลักๆ ก็ได้แก่ ลัทธิของครูท้ัง ๖ ศาสนาเชน และ พระพุทธศาสนา ซ่ึงหากจะแยกใหช้ ดั เจน ก็แบง่ ไดเ้ ป็ น ๒ กลุม่ คือ ๑) กลุ่มเหตุผลนิยม (Rationalist) ท่ีเน้นการแสวงหาความรู้ โดยการใช้ เหตุผลและการต้งั ขอ้ สมมุติฐาน ซ่ึงถือวา่ เป็ นการเก็งความจริง นักคิดกลุ่มน้ ียืนยนั ว่าความรูท้ ่ีไดม้ าน้ันเกิดจากการใชเ้ หตุผลของมนุษยล์ ว้ นๆ ไม่อา้ งอานาจวิเศษ เหนือธรรมชาติใดๆ ท้ังมิไดอ้ า้ งวา่ เป็ นความรูท้ ี่เกิดจากญาณหยงั่ รูพ้ ิเศษอนั เกิดมา จากการบาเพ็ญเพียงทางจิตจนบรรลุ แต่เป็ นความคิดความเห็นที่เกิดจากการ คาดคะเนและทานายตามหลักเหตุผลลว้ นๆ นักคิดกลุ่มน้ ี ประกอบดว้ ยนักปรชั ญา อุปนิษัทยคุ แรก นักปรชั ญาสายอาชวี กะ และปรพิ าชกะ ๒) กลุ่มประสบการณน์ ิยมหรือปฏิบัตินิยม (Experientialist) ที่ยืนยนั วา่ ความรูท้ ี่แทจ้ ริง ย่อมเป็ นผลที่เกิดมาจากการปฏิบัติ การทดลองพิสูจน์จนไดร้ ู้ แจง้ เองดว้ ยประสบการณ์ของตน นักคิดกลุ่มน้ ีประกอบดว้ ย นักปรชั ญาอุปนิษัทยุค ปลาย นักปรัชญาเชน เป็ นตน้ ในแง่มุมการแสวงหาความรู้ นักปฏิบัติกลุ่มน้ ีมี แนวทางใกลเ้ คียงกบั พระพทุ ธศาสนา ๒.พวกไวทิกวาทะ (Vaidika) หรืออาสติกะ (Astika) คือพวกท่ียงั คงนับถือ พระเวทเป็ นปทัฏฐาน คือยอมรับประเพณีของพราหมณ์และไม่ปฏิเสธความ ศักด์ิ สิทธ์ิ ของพระเวท พวกไวทิ กวาทะน้ ี จึงจัดอยู่ในประเภทจารีตนิ ยม (Traditionalist) เพราะเชื่อว่าความรูท้ ุกชนิดเกิดมาจากแหล่งเดียวกัน โดยการ เปิ ดเผยของเทพเจา้ เรียกวา่ \"พระเวท\" (Vedas) ซ่ึงพราหมณ์ยดึ ถือกนั วา่ เป็ นคมั ภีร์ หลักที่สาคัญและศกั ด์ิสิทธ์ิ เพราะเป็ นโองการของสวรรค์ เป็ นขุมทรพั ยท์ างปัญญา อนั ย่งิ ใหญ่และสูงสง่ ของมวลมนุษย์ ดงั น้ันเมื่อมีการศึกษาและสืบทอดก็ตอ้ งยดึ ตาม แบบแผนและปฏิบตั ิตามประเพณีธรรมเนียมเก่า ตอ้ งอนุรกั ษ์และอนุวตั รตามส่ิงที่ กลา่ วในคมั ภีรพ์ ระเวท โดยไมม่ ขี อ้ โตแ้ ยง้ วจิ ารณ์ หรอื แสวงหาเหตุผลใดๆ พวกไวทิกวาทะน้ ีต่อมาภายหลังก่อเกิดเป็ น ๖ ลัทธิใหญ่ เรียกว่า หลัก ทรรศนะ ๖ (Six Darshanas) ประกอบดว้ ยลัทธิเวทานตะ นยายะ ไวเศษิกะ สางขยะ โยคะ และ มิมางสา ทรรศนะเหลา่ น้ ีมรี ายละเอียดคาสอนตา่ งกนั ดงั น้ ี ๑) ลทั ธิเวทานตะ (Vedanta) กอ่ ต้งั โดยฤาษีพาทรายณะ
๒๙ ลทั ธิน้ ีสืบทอดมาจากการแตกยอดบทอุปนิษัทบทสุดทา้ ยของคมั ภีรพ์ ระเวท ที่กล่าวถึงจุดสูงสุดแห่งการศึกษาหรือท่ีเรียกวา่ เวทานตะ ต้ังปรชั ญาความเช่ือว่า ความจริงแท้ (สัจธรรม) หรือความจริงอันสูงสุด หรืออันติมสัจจะ (Ultimate Reality) ของโลกและจกั รวาล มีเพียงสิ่งเดียวเท่าน้ัน คือ พรหมัน หรือปรมาตมัน และชีวาตมนั หรืออาตมนั แต่เพราะเหตุท่ีเราไม่รูเ้ ท่าทันความจริงที่วา่ จิตของเรา แต่ละคนเป็ นอาตมัน เป็ นอย่างเดียวกับจิตของพรหม คือ ปรมาตมัน คนเราจึง กระทากรรมและถือกรรมต่างๆ เป็ นตวั ตนของเขา ดังน้ันจึงเวียนว่ายตายเกิดอยูใ่ น โลกน้ ี เมื่อใดกาจัดอวิชชาหรือความไม่รูไ้ ดแ้ ลว้ อาตมันก็จะเขา้ ร่วมสถิตอยู่กับ ปรมาตมนั คนท่ีสาเร็จถึงข้นั น้ันก็จะกลายเป็ นพรหม ๒) ลทั ธินยายะ (Nyaya) กอ่ ต้งั โดยท่านฤาษีโคตมะ ลัทธิน้ ีเน้นหนักไปในเร่ืองการพิจารณาหาความจริงแบบตรรกะ (Logical Realism) ใชค้ วามคิดวพิ ากษ์วจิ ารณแ์ ละวเิ คราะหค์ วามจรงิ ในรปู แบบต่างๆ โดยเช่ือ วา่ ความจริงท่ียอมรบั ไดจ้ ะตอ้ งอธิบายไดด้ ว้ ยหลักของเหตุผล สอนใหพ้ ิจารณาถึง ความทุกข์ ความเกิด ความเคล่ือนไหวในระหวา่ งมีชีวิตอยแู่ ละความสานึกผิด สอน ใหบ้ ุคคลเลิกละอกุศล ใหม้ ีเมตตาต่อกัน มีสัจจะบาเพ็ญประโยชน์ต่อกนั ในท่ีสุดก็ จะบรรลุความหลุดพน้ จากความทุกข์และเคร่ืองผูกพันอันเกิดจากการสมาคม ระหวา่ งชีวาตมนั กบั สสาร เพราะการสมาคมกนั ของชวี าตมนั กบั สสารทาใหช้ วี าตมนั หลงลืมภาวะด้งั เดิมของตัวเอง แลว้ ไปทากรรมดีกรรมชวั่ ผลของการทากรรมดีและ ชวั่ จงึ ทาใหช้ ีวาตมนั เวียนเกิดเวยี นตายในสงั สารวฏั ไม่รจู้ บ เม่ือคลี่คลายชีวาตมนั อ อกจากสสารได้ ก็จะเป็ นอิสระอย่างแทจ้ ริง เป็ นอิสรภาพสูงสุด เพราะหลุดพน้ จาก การเกิดการตาย และพน้ ไปจากความทุกขแ์ ละความสุขตลอดกาล ๓) ลทั ธิไวเศษิกะ (Vaisesika) กอ่ ต้งั โดยฤาษีกณาท ลทั ธิน้ ีสอนวา่ โลกเกิดจากพลังอนั มองไม่เห็นท่ีสืบมาจากกรรมในภพก่อน แต่ก็มีจิตอนั ยิง่ ใหญ่ที่สุดคือปรมาตมนั เป็ นใหญ่อยใู่ นสากลโลก เป็ นอมตะ ไม่มีตน้ ไม่มีปลาย ไม่มีการทาลายแตกดับ แผ่ซ่านทัว่ ไปโดยปราศจากรูปร่าง และเป็ น ผูส้ รา้ งสากลโลกข้ ึน จิตอันยิ่งใหญ่น้ ีไดแ้ ยกส่วนเป็ นวิญญาณส่วนบุคคลที่เรียกว่า ชีวาตมนั โมกษะหรือความหลุดพน้ จากทุกข์ของชีวาตมนั จึงสามารถเขา้ ถึงไดด้ ว้ ย การขจดั อวิชชา (อวทิ ยา) ใหห้ มดไปและทาความรูแ้ จง้ ในสจั ธรรมใหเ้ กิดข้ ึน เมอ่ื น้ัน
๓๐ ชีวาตมันก็จะไม่ยึดมัน่ ในใจและกาย ทาใหม้ องเห็นธรรมชาติที่แท้จริงของตนว่า เป็ นวิญญาณบริสุทธ์ิหรือจิตสสารบริสุทธ์ิที่ดารงอยูโ่ ดยปราศจากสมั ปชญั ญะ ไม่มี ความรู้ ไมม่ คี วามสุข ไมม่ คี วามทุกข์ เป็ นภาวะนิรนั ดร์ ๔) ลทั ธิสางขยะ (Sankhya) กอ่ ต้งั โดยกบิลมหามุนี ลทั ธิน้ ีมุ่งแสวงหาความรูท้ ่ีถูกตอ้ งเกี่ยวกับสจั ภาพโดยการจาแนกวตั ถุแห่ง การรบั รูอ้ อกเป็ น \"ตัตตวะ\" หรือความจริงแท้ ๒๕ ประการ ซึ่งอาจย่อลงเป็ น ๒ คือ ปุรุษะ และประกฤติ ปุรุษะ ไดแ้ ก่ อาตมนั หรือวญิ ญาณสากล ส่วนประกฤติ คือ ส่ิงที่ เป็ นตน้ เหตุหรือตน้ กาเนิดของส่ิงท้งั หลายท้งั ปวง ลทั ธิน้ ีจึงจดั อยใู่ นประเภทสจั นิยม เชิงทวิ (Dualistic Realism) เพราะมีความเห็นว่าปุรุษะและประกฤติท้ังสองส่วน เป็ นสัจภาพและเป็ นมูลการณะของสรรพสิ่ง โดยช้ ีใหเ้ ห็นว่าปุรุษะถูกขังอยู่ใน ประกฤติ จึงได้ประกอบกรรมอันนามาซ่ึงความทุกข์ เมื่อทราบดังน้ ีแลว้ จึงตอ้ ง พยายามหาทางถอนวญิ ญาณของตนออกจากวตั ถุธาตุท้ังมวล ดังน้ันการหลุดพน้ ก็ คือการกลับไปสู่ภาวะเดิมของปุรุษะ กล่าวคือกลับคืนสู่วิญญาณบริสุทธ์ิเหมือน ก่อนที่จะมาสัมพันธ์กับประกฤติ เม่ือหลุดพน้ แลว้ ก็จะได้เขา้ ร่วมเป็ นอันหน่ึงอัน เดียวกบั วญิ ญาณสากล หรอื ปรมาตมนั ต่อไป ๕) ลทั ธิโยคะ (Yoga) ก่อต้งั โดยปตญั ชลีมหาฤาษี เชื่อว่ามีเทพเจา้ ผูท้ รงอานาจเหนือมนุษย์ คือพระพรหมผูย้ ิ่งใหญ่ หรือ ปรมาตมนั อนั เป็ นปฐมวิญญาณของสตั วท์ ้งั หลาย ในยุคตน้ ฝึกบาเพ็ญตบะโดยหวงั ไปทางโลกิยสุข ต่อมาฝึกเน้นหนักไปในทางทาจิตใหส้ ะอาดเพื่อจะไดร้ วมกับพระ พรหม โดยกาหนดใหต้ ้ังสมาธิ คือการเพ่งจิตใหม้ ีอารมณ์เดียวเป็ นเอกัคคตา เพอ่ื ใหว้ ญิ ญาณเล็กน้อยท้งั หลายเขา้ รว่ มอยใู่ นวญิ ญาณอนั เป็ นปฐม (คือ ใหอ้ าตมนั เขา้ ไปอยู่ในปรมาตมนั ) วิธีการของโยคะ คือ บงั คับการระบายและต้งั ลมหายใจเขา้ ออก เพง่ บางส่วนของรา่ งกายใหเ้ กิดสมาธิ ตอ้ งมีความข่มการด้ ินรนใหห้ มดไป โดย ต้ังใจเพ่งพระอิศวรเป็ นใหญ่ ซึ่งเป็ นบุรุษหรืออาตมัน อันพน้ แลว้ จากกรรมหรือ ความเส่ือมเสียท้ังปวง มีทางเขา้ ถึงโยคะ ๘ สาย การปฏิบัติโยคะน้ ีตอ้ งปฏิบตั ิเป็ น ข้นั ๆ ไป และจะเกิดความสาเร็จเป็ นข้นั ๆ เช่นกนั บางคร้งั อาจเกิดอิทธิปาฏิหาริย์ ข้ ึนมาเป็ นผลพลอยได้ แต่เป้าหมายท่ีแทจ้ รงิ ก็เพ่อื ดบั พฤติกรรมของจิต ๖) ลทั ธิมิมางสา (Mimamsa) กอ่ ต้งั โดยฤาษีไชมนิ ิ
๓๑ เช่ือวา่ วิญญาณเป็ นส่ิงท่ีมีอยู่จริง เช่ือวา่ โลกน้ ีและวิญญาณต่างๆ ลว้ นเป็ น อมตะ และเชื่อความศักด์ิสิทธ์ิของคัมภีรพ์ ระเวท แต่มิไดก้ ล่าวถึงเทพเจา้ ว่าเป็ น ผสู้ รา้ งโลก โดยถือวา่ พระเจา้ สูงสุดไมม่ ี โลกน้ ีไม่มีใครสรา้ ง และจะไม่มีวนั สูญสลาย โลกจะดารงอยู่อย่างน้ ีตลอดไปท้ังสากลโลกและจกั รวาล ไม่มีกาลไหนๆ ท่ีสากล จกั รวาลจะมีลักษณะผิดแผกแตกต่างไปจากที่มนั เป็ นอยูใ่ นเวลาน้ ี ถึงอย่างไรสากล จกั รวาลก็จะยงั คงสถานะและสภาวะท่ีเป็ นอยเู่ ชน่ น้ ีตลอดไป จากรายละเอียดขา้ งตน้ เราจะเห็นวา่ ชาวอินเดียเป็ นนักคิดนักแสวงหาที่มี แนวคิดในเชิงศาสนาและปรชั ญาท่ีละเอียดซับซอ้ น มีหลากหลายระบบ ซึ่งแต่ละ ระบบก็มีคาสอนท่ีมีรายละเอียดต่างกนั ไป ท้งั น้ ีส่วนหน่ึงเป็ นผลจากสภาพแวดลอ้ ม ทางธรรมชาติ อีกส่วนหนึ่งเกิดจากความหลากหลาย และเหล่ือมล้าตา่ สูงแห่งวิถี ชีวติ ของผคู้ น อย่างไรก็ตาม คาสอนท่ีเป็ นศาสนาหรือปรชั ญาเหล่าน้ัน แมจ้ ะต่างกันใน รายละเอียด แต่ท้งั หมดลว้ นมีลักษณะร่วมอย่างเดียวกัน คือการแสวงหาความเป็ น จรงิ สูงสุดที่เป็ นฐานรองรบั ความมีอยขู่ องชีวติ โลกและจกั รวาล และพยายามอธิบาย แนวความคิดเก่ียวกับความเป็ นจริงน้ันๆ สะท้อนออกมาเป็ นปรัชญาชีวิต เพ่ือ ประโยชน์แก่การบรรลุโมกษะหรือการหลุดพน้ ซ่ึงถือว่าเป็ นเป้าหมายสูงสุดของ ทุกๆ ชวี ติ จากจดหมายฉบับท่ี ๒ ที่อาจารย์เขียนถึงเธออย่างยาวน้ ี พอจะสรุป สาระสาคัญได้ว่า อินเดียเป็ นแหล่งกาเนิดอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุที่เก่าแก่ มี ประวตั ิศาสตรย์ าวนานกวา่ หา้ พนั ปี อินเดียในยุคโบราณเป็ นอนุทวปี รูปสามเหลี่ยม หวั กลบั อยู่ทางใตข้ องทวีปเอเชีย เพราะเหตุที่อินเดียมีภูมิประเทศและภูมิอากาศที่ แตกต่างหลากหลาย อินเดียจึงกลายเป็ นดินแดนแห่งความแตกต่าง ท้ังในดา้ นวิถี ชวี ติ ผคู้ น แบบแผนทางสงั คม รวมถึงมติ ิในทางศาสนา ประวตั ิศาสตรอ์ ินเดียเร่ิมตน้ ในยุคอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ เมื่อราว ๒-๓ พนั ปี ก่อนพุทธศกั ราช โดยมีเมืองฮารปั ปาและโมเฮนโจ ดาโร เป็ นแหล่งศูนยก์ ลาง อารยธรรมที่สาคญั ซึ่งสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเจริญของสงั คมเมืองในยุคน้ัน ก่อนท่ี จะล่มสลายลงเมื่อชนเผ่าอารยันเข้ามา โดยชาวอารยันได้ผสมกลมกลืนเอา วฒั นธรรมด้งั เดิมไว้ แลว้ สรา้ งอารยธรรมใหมข่ องตนข้ ึนมาอยา่ งแข็งแกรง่
๓๒ หลงั จากชาวอารยนั เขา้ มาสู่อินเดียแลว้ ไดจ้ ดั ระบบระเบียบของคนในสงั คม เสียใหม่ดว้ ยระบบวรรณะ ๔ ตามฐานะและหน้าท่ี เพราะเกรงวา่ จะผสมปนเปกบั ชน พ้ ืนเมืองซึ่งถือเป็ นชนช้นั ตา่ ซึ่งเป็ นจุดเร่ิมตน้ ของการแบง่ ชนช้นั วรรณะอยา่ งรุนแรง ในเวลาต่อมา โดยมีพราหมณ์เป็ นกลุ่มวรรณะสูงสุดที่เช่ือวา่ สามารถติดต่อกบั เทพ เจา้ ไดโ้ ดยตรง และยงั ป็ นผูน้ าประกอบพิธีบูชายัญเทพเจา้ ซึ่งลว้ นเกี่ยวเนื่องกับ ธรรมชาติ ภายหลงั ต่อมาจึงพฒั นาไปเป็ นศาสนาพราหมณ์ ยดึ มนั่ อยู่ในคมั ภีรพ์ ระ เวท และนับถือพระพรหมว่าเป็ นเทพเจา้ สูงสุด รวมท้ังดาเนินชีวิตตามหลักอาศรม ๔ เพอ่ื ใหบ้ รรลุโมกษะ (ความหลุดพน้ ) อาจารยข์ อจบจดหมายฉบบั น้ ีไวเ้ พียงเท่าน้ ี ขอใหพ้ ระรตั นตรยั คุม้ ครอง อาจารย์
๓๓ จดหมายฉบบั ท่ี ๓ บา้ นกาญจนรชั ต์ นครราชสีมา พชิ ญา ศษิ ยร์ กั จดหมายฉบับท่ีแลว้ อาจารยไ์ ดก้ ล่าวถึงสังคมอินเดียยุคก่อนพุทธกาล ซึ่ง เป็ นยุคก่อนที่พระพุทธศาสนาจะอุบัติข้ ึน จดหมายฉบับน้ ีจะไดก้ ล่าวต่อเน่ืองถึง สังคมอินเดียยุคพุทธกาล ซ่ึงมีประเด็นสาคัญในเร่ืองสภาพเศรษฐกิจและการ ปกครอง ลทั ธิของครูท้ัง ๖ รว่ มสมยั ยุคพุทธกาล เร่ืองราวของพระพุทธเจา้ รวมถึง การเกิดข้ ึนของพระพุทธศาสนากับการเปล่ียนแปลงความเชื่อและวัฒนธรรมใน สงั คมอินเดีย ซ่งึ จะกลา่ วไปโดยลาดบั ดงั น้ ี ๑. สภาพเศรษฐกิจและการปกครอง การท่ีเราจะเขา้ ใจประวตั ิศาสตรพ์ ระพุทธศาสนาไดอ้ ยา่ งลึกซ้ ึง จาเป็ นอยา่ ง ย่ิงที่จะตอ้ งศึกษาส่ิงแวดลอ้ มในถิ่นกาเนิดของพระพุทธศาสนาเสียก่อน ท้ังน้ ีเพราะ ส่ิงแวดลอ้ มมีความสาคญั อยา่ งยงิ่ ต่อการกาหนดท่าที บทบาท ลกั ษณะ รูปแบบของ องค์กรพระพุทธศาสนาจะทาใหเ้ ราทราบท่ีมาที่ไปวา่ เหตุการณ์แต่ละเหตุการณ์ท่ี เรียงรอ้ ยกนั เป็ นประวตั ิศาสตรพ์ ระพุทธศาสนาน้ัน เกิดข้ ึนเพราะอะไร สิ่งแวดลอ้ ม ท่ีสาคัญท่ีจะตอ้ งศึกษานอกจากพ้ ืนฐานความเชื่อในสังคมอินเดียแลว้ ในที่น้ ีจะ กล่าวถึงสภาพเศรษฐกิจและการเมืองการปกครองในสมัยพุทธกาลดว้ ย เพราะ ส่ิงแวดลอ้ มท้งั สองน้ ีส่งผลกระทบต่อชวี ติ ของผคู้ นโดยตรง ซึง่ ตอ้ งคานึงถึงอยทู่ ุกวนั ๑.๑ การเมืองการปกครอง ประเทศอินเดียในยุคพุทธกาลสามารถแบ่งพ้ ืนท่ีออกเป็ น ๒ ส่วน คือ ส่วนกลางหรือเขตช้นั ใน เรียกว่า \"มชั ฌิมประเทศ\" และส่วนรอบนอกหรือหวั เมือง ชายแดน เรียกวา่ \"ปัจจนั ตประเทศ\" มชั ฌิมประเทศเป็ นเขตที่มีประชาชนอาศัยอยู่ มาก มีความเจริญ เป็ นศูนย์กลางธุรกิจการคา้ และการศึกษา มีนักปราชญ์ราช บณั ฑิตมาก แบ่งการปกครองออกเป็ น ๑๖ แควน้ ใหญ่ๆ ดังที่ปรากฏในอุโปสถสูตร ฉบับบาลี คือ \"อังคะ มคธ กาสี โกสล วชั ชี มัลละ เจตี วงั สะ กุรุ ปัญจาละ มจั ฉะ
๓๔ สุรเสนะ อสั สกะ อวนั ตี คนั ธาระ และกมั โพชะ\" และมีแควน้ เล็กอีก ๕ แควน้ รวมเป็ น ๒๑ แควน้ คือ สกั กะ โกลิยะ ภคั คะ วเิ ทหะ และองั คุตตราปะ รูปแบบการปกครองของแต่ละแควน้ แตกต่างกันอยู่บา้ ง พอจะแบ่งรูปแบบ การปกครองในสมยั พุทธกาลไว้ ๓ รปู แบบ คือ ๑) แบบจักรวรรดินิยม คือแควน้ ที่มีแสนยานุภาพมาก มีอานาจเหนือ แควน้ อื่น ใชอ้ านาจยดึ ครองแควน้ อ่ืนมาเป็ นเมืองข้ ึนของตน ประมุขของแควน้ แบบ น้ ีเรียกว่า \"มหาราชา\" เช่น แควน้ มคธยึดครองแควน้ อังคะ แควน้ โกศลยึดครอง แควน้ สกั กะและแควน้ กาสี เป็ นตน้ ๒) แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ไดแ้ ก่ แควน้ ที่ใหอ้ านาจสิทธ์ิขาดในการ ปกครองบา้ นเมืองข้ ึนอยกู่ บั พระมหากษัตริยโ์ ดยตรง แต่อาจทรงมอบหมายอานาจ น้ันใหพ้ ระบรมวงศานุวงศ์หรือปุโรหิต ขา้ ราชบริพารไปปฏิบัติแทนได้ ประมุขของ แควน้ เรยี กวา่ \"ราชา\" แควน้ ต่างๆโดยมากในสมยั น้ันปกครองดว้ ยรปู แบบน้ ี ๓) แบบประชาธิปไตย ไดแ้ ก่ แควน้ ที่อานาจสิทธ์ิขาดในการปกครองมิได้ ข้ ึนอยกู่ บั ประมุขแหง่ แควน้ แต่เพยี งผเู้ ดียว แต่จะมี \"สภา\" เป็ นผูก้ าหนดนโยบายและ มีอานาจตดั สินใจเกี่ยวกับกิจการบา้ นเมือง สภาจะทาหน้าที่เลือกสมาชิกข้ ึนมาคน หนึ่งทาหน้าท่ีเป็ นหวั หน้าฝ่ ายบริหารเรียกวา่ \"ราชา\" ในสมยั โน้นเรียกการปกครอง แบบน้ ีวา่ สามคั คีธรรม เชน่ แควน้ มลั ละและแควน้ วชั ชี การปกครองโดยแบ่งเป็ นแควน้ และมีพระราชาเป็ นผูป้ กครอง ไดส้ ืบต่อกัน มาจนกระทงั่ อินเดียไดร้ บั เอกราชในปี พ.ศ.๒๔๙๐ เมื่อรา่ งรฐั ธรรมนูญเสร็จแลว้ จึง ยกเลิกระบบการปกครองแบบเดิมและรวมทุกแควน้ เขา้ ดว้ ยกนั เป็ นประเทศอินเดีย แควน้ เหล่าน้ ีต่างก็เป็ นอิสระมีอธิปไตยเป็ นของตนเอง บางคร้งั บางคราว แควน้ ที่มีความอ่อนแออาจถูกแควน้ ท่ีมีความเขม้ แข็งกวา่ เขา้ ยึดครองทาใหส้ ูญเสีย อธิปไตยไปดังไดก้ ล่าวแลว้ ขา้ งตน้ แควน้ ท่ีมีความเขม้ แข็งท้ังในดา้ นเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร จดั อยใู่ นประเภทมหาอานาจ มีอยู่ ๕ แควน้ คือ มคธ โกศล อวนั ตี วชั ชี และวงั สะ โดยแควน้ มคธของพระเจา้ พิมพสิ ารเป็ นมหาอานาจสูงสุด
๓๕ ๑.๒ สภาพเศรษฐกิจในสมยั พทุ ธกาล สภ าพ เศรษ ฐกิ จใน อิ น เดี ยส มั ยพุ ท ธก าลตามที่ ปรากฏ ห ลั ก ฐาน ใน พระไตรปิ ฎกและอรรถกถาน้ัน กล่าวว่า มีเศรษฐกิจดีมาก การผลิตและการคา้ เจริญรุ่งเรือง มีกองเกวยี นเดินทางขนสินคา้ ไปขายระหวา่ งเมืองจานวนมาก มีมหา เศรษฐีที่มีสมบัติมากมหาศาลหลายท่าน เช่น โชติกเศรษฐี ชฎิลเศรษฐี เมณฑก เศรษฐี อนาถบิณฑกิ เศรษฐี มหาอุบาสิกาวสิ าขา เป็ นตน้ การประกอบอาชีพ อาชีพของคนอินเดียในสมยั พุทธกาลข้ ึนอยู่กับวรรณะที่ตนเกิด ผูท้ ี่เกิดใน วรรณะใดก็จะมอี าชพี ประจาวรรณะน้ันดงั น้ ี ๑) วรรณะกษัตริย์ เป็ นชนช้ันสูงมีหน้าท่ีในการปกครองบ้านเมือง ปราบปรามโจรผูร้ า้ ยและทาการรบพุ่งกับขา้ ศึกภายนอก ประกอบดว้ ยพระราชา มหากษัตริย์ เช้ ือพระวงศ์ต่างๆ รวมถึงพวกท่ีรบั ราชการในระดับสูง เช่น ปุโรหิต เสนาบดี เป็ นตน้ ๒) วรรณะพราหมณ์ เป็ นผูท้ ี่มีอาชีพสงั่ สอนคนในสงั คมและทาพิธีตามลทั ธิ ศาสนา มที ้งั ท่ีเป็ นนักบวชและคฤหสั ถ์ เชน่ ครูท้งั ๖ ก็จดั เป็ นชนช้นั สูงเชน่ กนั ๓) วรรณะแพทย์ เป็ นพลเมืองทั่วไป มีอาชีพทาการเกษตร เล้ ียงสัตว์ ชา่ งฝีมอื คา้ ขาย ซงึ่ จดั เป็ นชนช้นั สามญั ๔) วรรณะศูทร เป็ นพวกกรรมกรหรือคนใชซ้ ่ึงทางานหนัก ไดแ้ ก่พวกทาส ๔ จาพวก คือ ทาสท่ีเกิดภายในเรอื น ทาสที่ซ้ อื มาดว้ ยทรพั ย์ ผทู้ ่ีสมคั รเขา้ มาเป็ นทาส เชลยที่เขา้ ถึงความเป็ นทาส พวกน้ ีจดั เป็ นชนช้นั ตา่ มีอาชีพในการรบั จา้ งดว้ ยแรง ตลอดถึงทาการงานอ่ืนๆ ท่ีชนช้นั สูง รงั เกียจวา่ เป็ นการงานชน้ั ตา่ ๒. ครูท้งั ๖ ลทั ธริ ่วมสมยั ยุคพุทธกาล ในสมยั พุทธกาลมีสมณพราหมณ์เจา้ ลทั ธิต่างๆ จานวนมาก แต่ที่มีชื่อเสียง เป็ นท่ียอมรับของมหาชนมีอยู่ ๖ ท่าน คือ ปูรณกัสสปะ มักขลิโคสาล อชิตเกส- กัมพล ปกุธกัจจายนะ สัญชัยเวลัฏฐบุตร และนิครนถนาฏบุตร เจา้ ลัทธิเหล่าน้ ี แมแ้ ต่พระราชามหากษัตริย์ เช่น พระเจา้ อชาตศัตรู พระเจา้ ปเสนทิโกศล ก็ยงั หา โอกาสไปสนทนาสอบถามปัญหาทางปรชั ญาดว้ ย ครูแต่ละท่านมีบริษัทบริวารคน
๓๖ ละหลายรอ้ ยและท้ัง ๖ ท่านน้ ีต่างก็กล่าวว่าตนเป็ นพระอรหันต์ผูม้ ีฤทธ์ิ แต่ถึง กระน้ันเมอ่ื ถูกถามปัญหายากๆ และไมส่ ามารถแกป้ ัญหาไดค้ รูท้งั ๖ ท่านก็ยงั แสดง ความโกรธ ความขดั เคืองและความไมพ่ อใจใหป้ รากฏอยู่ สาหรบั ประวตั ิและคาสอน ของครูท้งั ๖ มีดงั ตอ่ ไปน้ ี ๒.๑ ปูรณกสั สปะ พระพุทธโฆษาจารยก์ ล่าววา่ ปรู ณกสั สปะเกิดในวรรณะพราหมณ์ วยั เด็กได้ เป็ นคนรบั ใชใ้ นตระกูลหนึ่งซ่ึงมีคนรบั ใชอ้ ยู่ ๙๙ คน รวมปูรณกัสสปะอีกคนหน่ึง เป็ น ๑๐๐ คน ดว้ ยเหตุน้ ีจึงทาใหเ้ ขาไดช้ ่ือวา่ ปูรโณ เพราะทาใหท้ าสในเรือนครบ ๑๐๐ คน วนั หน่ึงเขาหนีออกจากเรือน ระหวา่ งทางพวกโจรชิงเอาผา้ ของเขาไป เขา เดินเขา้ ไปในบา้ นตาบลหน่ึงท้งั ๆ ท่ีเปลือยกาย พวกมนุษยเ์ ห็นเขาแลว้ คิดวา่ สมณะ น้ ีเป็ นพระอรหนั ต์ ผมู้ กั นอ้ ย ผทู้ ี่จะเสมอเหมือนกบั สมณะน้ ีไมม่ ี จงึ นาของหวานและ ของคาวเขา้ ไปสักการะ ปูรณกัสสปะคิดวา่ เรื่องน้ ีเกิดข้ ึนเพราะเราไม่นุ่งผา้ ต้ังแต่ น้ันมาแมไ้ ดผ้ า้ มาก็ไม่นุ่ง เขาถือเอาการไม่นุ่งผา้ นั่นแหละเป็ นบรรพชา ต่อมามี กุลบุตรมาเป็ นศิษยจ์ านวนมาก ลทั ธิของปูรณกสั สปะจดั อยใู่ นประเภท \"อกิริยวาทะ\" หมายถึง ลทั ธิท่ีถือวา่ ทาแลว้ ไม่เป็ นอนั ทา ดงั ที่ครูปูรณกสั สปะกล่าวกบั พระเจา้ อชาตศัตรูในสามญั ญผล สูตรว่า บุคคลทาบาปเอง หรือใชใ้ หผ้ ูอ้ ื่นทาบาป เบียดเบียนเอง หรือใชใ้ หผ้ ูอ้ ่ืน เบียดเบียน ฆ่าสตั ว์ ลักทรพั ย์ ทาชูก้ ับภริยาเขา พูดเท็จ ผูท้ าไม่ชื่อวา่ ทาบาป การ ทาเช่นน้ันเป็ นเหตุยอ่ มไมม่ ีบาปมาถึงเขา แมก้ ารทาบุญก็เหมือนกัน การใหท้ าน การฝึกอินทรีย์ การสารวมศีล การกล่าวคาสัตย์ การทาเช่นน้ันเป็ นเหตุยอ่ มไม่มี บุญมาถึงเขา คาสอนในลทั ธิน้ ีจึงต่างกบั หลกั กฎแหง่ กรรมในพระพทุ ธศาสนา ๒.๒ มกั ขลิโคสาล มักขลิโคสาลเป็ นบุตรพราหมณ์ชื่อ มักขลิ มารดาช่ือ ภัททา อาศัยอยู่ หมู่บ้านสาลวัน ใกล้เมืองสาวัตถี พระพุทธโฆษาจารย์กล่าวว่า คาว่า โคสาละ แปลวา่ ผูเ้ กิดในโรงโค วยั เด็กเป็ น คนรบั ใชใ้ นตระกูลหนึ่ง วนั หนึ่งเขาถือหมอ้ น้ามนั เดินไปบนพ้ ืนดินที่มีโคลน นายบอกวา่ อยา่ ล่ืนนะพ่อ เขาล่ืนลม้ ลงดว้ ยความเผอเรอ แลว้ ว่งิ หนีไปเพราะกลวั นาย แต่นายว่งิ ไปจบั ชายผา้ ไวท้ นั เขาจึงสลดั ผา้ ท้ ิงแลว้ หนีไป
๓๗ ขณะเดินเขา้ ไปในบา้ นตาบลหนึ่งท้ังๆ ท่ีเปลือยกาย พวกมนุษยเ์ ห็นเขาแลว้ ก็มีจิต ศรทั ธาเช่นเดียวกับกรณีของท่านปูรณกัสสปะ ภายหลงั มกั ขลิโคสาลจึงต้งั ลทั ธิข้ ึน และมลี กู ศิษยจ์ านวนมากเชน่ กนั ลทั ธิน้ ีไม่ยอมรบั อาหารท่ีเขาเจาะจงถวาย ไม่รบั อาหารขณะมีสุนัขอยูข่ า้ งๆ หรือแมลงวนั ตอมอยู่ เพราะถือวา่ เป็ นการแยง่ ความสุขของผูอ้ ื่น ไมร่ บั ประทานปลา เน้ ือ ไมด่ ่ืมสุราและของมึนเมา ไม่สะสมขา้ วปลาอาหารยามขา้ วยากหมากแพง ลทั ธิ ของมักขลิโคสาลจัดอยู่ในประเภท \"นัตถิกวาทะ\" คือ ลัทธิที่ถือว่าไม่มีเหตุไม่มี ปัจจยั ดังท่ีครูมักขลิโคสาลกล่าวกับพระเจา้ อชาตศัตรูในสามัญญผลสูตรวา่ ไม่มี เหตุไม่มีปัจจยั เพ่ือความเศรา้ หมองของสัตวท์ ้ังหลาย สัตวท์ ้ังหลายหาเหตุมิไดห้ า ปัจจยั มิไดย้ อ่ มเศรา้ หมอง ย่อมไม่มีเหตุย่อมไม่มีปัจจยั เพื่อความบริสุทธ์ิแห่งสัตว์ ท้ังหลาย สัตวท์ ้ังหลายหาเหตุมิไดห้ าปัจจยั มิไดย้ ่อมบริสุทธ์ิ ไม่มีการกระทาของ ตนเองไม่มีการกระทาของผูอ้ ื่น สัตวท์ ้ังปวง ปาณะท้ังปวง ภูตท้ังปวง ชีวะท้ังปวง ล้วนไม่มีอานาจ ไม่มีกาลัง ไม่มีความเพียร แปรไปตามเคราะห์ดีเคราะห์รา้ ย เรร่ ่อน ท่องเที่ยวไป แลว้ จกั ทาที่สุดทุกข์ได้ ความสมหวงั วา่ เราจกั อบรมกรรมที่ยงั ไมอ่ านวยผลใหอ้ านวยผลหรือเราสมั ผสั ถูกตอ้ งกรรมที่อานวยผลแลว้ จกั ทาใหส้ ุดส้ ิน ดว้ ยศีล ดว้ ยพรตดว้ ยตบะ หรือดว้ ยพรหมจรรยน์ ้ ีไมม่ ีในที่น้ัน สุขทุกขท์ าใหส้ ้ ินสุด ไดเ้ หมือนตวงของใหห้ มดดว้ ยทะนานยอ่ มไมม่ ีในสงสารดว้ ยอาการอยา่ งน้ ีเลย ไม่มี ความเสื่อมความเจริญ ไมม่ ีการเล่ือนข้ ึนเลื่อนลง พาลและบัณฑิต เรร่ ่อน ท่องเท่ียว ไป จักทาที่สุดทุกข์ไดเ้ หมือนกลุ่มดา้ ยที่บุคคลขวา้ งไปยอ่ มคล่ีขยายไปเอง แนวคา สอนน้ ี พระพุทธองคต์ รสั วา่ ไรป้ ระโยชน์ท่ีสุดในบรรดาลทั ธิท้ังหลาย ลัทธิน้ ีสืบต่อ กนั มาไมน่ านก็ขาดหายไป ๒.๓ อชิตเกสกมั พล อชิตเกสกัมพลเป็ นผูม้ ีช่ือเสียงก่อนพุทธกาลเล็กน้อย คาว่า เกสกัมพล แปลว่า ผูม้ ีผา้ นุ่งผา้ ห่มท่ีทาดว้ ยผม เป็ นผา้ ที่หยาบและน่าเกลียด มีแนวความคิด หนักไปในวตั ถุนิยมย่ิงกว่าลัทธิใด มีแนวคิดรุนแรงคดั คา้ นคาสอนทุกลัทธิรวมท้ัง พระพุทธศาสนาดว้ ย ลัทธิของอชิตเกสกัมพลจัดอยู่ในประเภท \"อุจเฉทวาทะ\" คือ ลัทธิท่ีถือว่า ตายแลว้ ขาดสูญ ดังท่ีครูอชิตเกสกัมพลกล่าวกบั พระเจา้ อชาตศตั รูในสามญั ญผล-
๓๘ สูตรวา่ ทานไม่มีผล การบูชาไมม่ ีผล การเซน่ สรวงไมม่ ีผล ผลวบิ ากแหง่ กรรมท่ีทาดี ทาชวั่ ไม่มี โลกน้ ีไมม่ ี โลกอ่ืนไมม่ ี มารดาบิดาไมม่ ีคุณ สตั วผ์ ูเ้ กิดแบบโอปปาติกะไม่ มี สมณพราหมณ์ผูป้ ฏิบัติชอบซ่ึงกระทาโลกน้ ีและโลกอื่นใหแ้ จง้ ดว้ ยปัญญาอันย่ิง เองแลว้ สอนผูอ้ ื่นใหร้ ูแ้ จง้ ไมม่ ีในโลก คนเราน้ ีเป็ นแต่ประชุม มหาภูตท้งั ๔ เมื่อตาย ธาตุดินก็จะไปตามธาตุดิน ธาตุน้าก็จะไปตามธาตุน้า ธาตุไฟก็จะไปตามธาตุไฟ ธาตุลมก็จะไปตามธาตุลม อินทรียท์ ้งั หลายยอ่ มเล่ือนลอยไปในอากาศ คนท้ังหลาย จะหามเขาไปยงั ป่ าชา้ กลายเป็ นกระดูกมีสีดุจสีนกพิราบ ส่ิงท่ีไดจ้ ากการเซ่นสรวง คือข้ ีเถา้ เท่าน้ัน ทานน้ ีคนเขลาบญั ญตั ิไว้ คาของคนบางพวกพูดวา่ มีผล ลว้ นเป็ นคา เปล่า คาเท็จ คาเพอ้ เพราะเม่ือกายสลาย ท้ังพาลท้ังบณั ฑิตย่อมขาดสูญพินาศส้ ิน ตายแลว้ เป็ นอนั ดบั สนิทไมม่ ีการเกิดอีก ๒.๔. ปกุธกจั จายนะ เล่ากนั วา่ ปกุธกจั จายนะเกิดในตระกูลพราหมณ์ ในวยั เด็กมีความสนใจทาง ศาสนาเป็ นอย่างยิ่ง เมื่อโตข้ ึนจึงออกบวชแสวงหาโมกขธรรม เม่ือคิดว่าตนบรรลุ ธรรมแลว้ ก็ต้งั ตวั เป็ นอาจารยส์ งั่ สอนประชาชน ปกุธกจั จายนะเป็ นผูห้ า้ มน้าเย็น แมจ้ ะถ่ายอุจจาระก็ไมใ่ ชน้ ้าเย็นลา้ ง เขาใช้ เฉพาะน้ารอ้ น หรือน้าขา้ วเท่าน้ัน การเดินผ่านแมน่ ้าหรือเดินลุยแอ่งน้าบนถนนถือ วา่ ศีลขาด เม่ือศีลขาด เขาจะก่อทรายทาเป็ นสถูปแลว้ อธิษฐานศีล จากน้ันจึงค่อย เดินต่อไป ลทั ธิของปกุธกจั จายนะจดั อยูใ่ นประเภท \"นัตถิกวาทะ\" หมายถึง ลทั ธิท่ีถือ วา่ ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจยั เชน่ เดียวกับลทั ธิของมกั ขลิโคสาล ดังท่ีปกุธกจั จายนะกล่าว กบั พระเจา้ อชาตศตั รูในสามญั ญผลสูตรวา่ สภาวะ ๗ กอง คือ กองดิน กองน้า กอง ไฟ กองลม สุข ทุกข์ และชีวะ สภาวะเหล่าน้ ี ไม่มีใครทา ไม่มีแบบอยา่ งอันใครทา ไม่มีใครเนรมิต เป็ นสภาพยัง่ ยืน ต้ังมัน่ ดุจยอดภูเขา ต้ังมัน่ ดุจเสาระเนียด ไม่ หวนั่ ไหว ไม่แปรปรวน ไมเ่ บียดเบียนกันและกัน ไม่อาจใหเ้ กิดสุขหรือทุกข์ หรือท้ัง สุขและทุกขแ์ ก่กนั และกนั ผูฆ้ ่าเองก็ดี ผูใ้ ชใ้ หฆ้ ่าก็ดี ผูไ้ ดย้ ินก็ดี ผูก้ ล่าวใหไ้ ดย้ นิ ก็ดี ผูเ้ ขา้ ใจความก็ดี ผูท้ าใหเ้ ขา้ ใจความก็ดีไม่มีในสภาวะ ๗ กองน้ัน บุคคลจะเอา ศาสตราอยา่ งคมตดั ศีรษะกนั ไมช่ ื่อวา่ ใครๆ ปลงชวี ิตใครๆ เป็ นแตศ่ าสตราสอดเขา้ ไปตามช่องแห่งสภาวะ ๗ กองเหล่าน้ ีเท่าน้ัน คาสอนของปกุธกัจจายนะเรียกอีก
๓๙ อยา่ งหนึ่งวา่ สสั สตทิฏฐิ คือ เห็นวา่ โลกเท่ียงซ่ึงเป็ นคาสอนที่ตรงขา้ มกบั \"อุจเฉทวา ทะ\" คือ ลทั ธิที่ถือวา่ ตายแลว้ ขาดสูญของอชิตเกสกมั พล และตรงขา้ มกับคาสอนใน พระพุทธศาสนาดว้ ย ๒.๕ สญั ชยั เวลฏั ฐบุตร สญั ชยั เวลฏั ฐบุตรเป็ นคณาจารยท์ ี่มีช่ือเสียงท่านหนึ่งในสมยั พุทธกาล พระ มหาโมคคัลลานะและพระสารีบุตรเมื่อคร้งั ยงั เป็ นอุปติสสะและโกลิตมานพก็เคย ศึกษาอยู่กบั ท่าน ซึ่งเป็ นเจา้ ลทั ธิของพวกปริพาชก ต้งั สานักเผยแพร่อยูท่ ี่เมืองรา ชคฤห์ แควน้ มคธ ชาวมคธเป็ นจานวนมากต่างนับถือในเจา้ ลทั ธิน้ ี แต่เม่ืออุปติสสะ และโกลิตมานพพรอ้ มบริวารจานวนมากออกจากสานักไปขอบวชกบั พระพุทธเจา้ สญั ชยั เวลฏั ฐบุตรจึงกระอกั เลือดจนถึงแก่มรณกรรม ลทั ธิของสัญชัยเวลฏั ฐบุตรจดั อยู่ในประเภท \"อมราวิกเขปวาทะ\" คือ เป็ น ลัทธิที่หลบเลี่ยงไม่แน่นอน ดังท่ีสัญชัยเวลัฏฐบุตรกล่าวกับพระเจา้ อชาตศัตรูใน สามญั ญผลสูตรวา่ ถา้ มหาบพิตรตรสั ถามอาตมภาพว่า โลกอ่ืนมีอยู่หรือ ถา้ อาตม ภาพมีความเห็นวา่ มี ก็จะพึงทูลตอบวา่ มี ความเห็นของอาตมภาพว่าอยา่ งน้ ีก็มิใช่ อย่างน้ันก็มิใช่ อย่างอ่ืนก็มิใช่ ไม่ใช่ก็มิใช่ มิใช่ไม่ใช่ก็มิใช่ ถา้ มหาบพิตรตรสั ถาม อาตมภาพวา่ ผลวิบากแหง่ กรรมท่ีทาดีทาชวั่ มีอยหู่ รอื ถา้ อาตมภาพมีความเห็นวา่ มี ก็จะพึงทูลตอบวา่ มี ความเห็นของอาตมภาพวา่ อยา่ งน้ ีก็มิใชอ่ ยา่ งน้ันก็มใิ ช่ อยา่ ง อ่ืนก็มิใช่ ไม่ใช่ก็มิใช่ มิใช่ไม่ใช่ก็มิใช่ ถา้ มหาบพิตรตรสั ถามวา่ สตั วเ์ บ้ ืองหน้า แต่ ตายเกิดอีกหรือ ถ้าอาตมภาพมีความเห็นว่า เกิดอีก ก็จะพึงทูลตอบว่าเกิดอีก ความเห็นของอาตมภาพวา่ อยา่ งน้ ีก็มิใช่ อยา่ งน้ันก็มิใช่ อยา่ งอื่นก็มิใช่ ไมใ่ ช่ก็มิใช่ มิใชไ่ มใ่ ชก่ ็มิใช.่ .. พระเจา้ อชาตศตั รูทรงดาริวา่ บรรดาสมณพราหมณ์เหล่าน้ ี สัญชยั เวลฏั ฐ- บุตรน้ ี โง่กว่าเขาท้ังหมด งมงายกวา่ เขาท้ังหมด เพราะแนวคาสอนกลบั กลอก เอา แน่นอนไม่ได้ ไม่สามารถบญั ญัติอะไรตายตัวได้ เพราะกลวั ผิดบา้ ง ไม่รูบ้ า้ ง พูดซดั ส่ายเหมือนปลาไหลในกรตังคสูตร กล่าวประณามว่า เป็ นลัทธิคนตาบอด ไม่ สามารถนาตนและผอู้ ่ืนใหเ้ ขา้ ถึงความจริงได้ มีปัญญาทราม โงเ่ ขลาไมก่ ลา้ ตดั สินใจ ใดๆ ไดอ้ ยา่ งเด็ดขาด เนื่องจากไมร่ จู้ ริงอยา่ งถ่องแท้
๔๐ ๒.๖ นิครนถนาฏบุตร นิครนถนาฏบุตร หรือศาสดามหาวีระ เกิดท่ีกุณฑคาม เมืองไวสาลี แควน้ วชั ชีของพวกเจา้ ลิจฉวี มหาวรี ะเป็ นศิษยข์ องท่านปารศ์ วา ซึ่งเป็ นศาสดาองคท์ ี่ ๒๓ ในศาสนาเชนผูม้ ีอายุหา่ งจากท่านมหาวรี ะถึง ๒๕๐ ปี ท่านมหาวรี ะเป็ นศาสดาองค์ ท่ี ๒๔ ไดส้ งั่ สอนอยู่ ๓๐ ปี จึงมรณภาพ ภายหลังเมื่อพระสมั มาสมั พุทธเจา้ อุบัติข้ ึน สาวกของนิครนถนาฏบุตรจานวนมากไดเ้ ปลี่ยนมาเป็ นพทุ ธสาวก ลัทธิของนิครนถนาฏบุตรปัจจุบันเรียกว่า ศาสนาเชน ลัทธิน้ ีจัดอยู่ใน ประเภท \"อัตตกิลมถานุโยค\" คือ เป็ นลัทธิที่ถือว่าการทรมานตนเองเป็ นการเผา กิเลส เป็ นทางนาไปสู่การบรรลุธรรมที่เรียกว่า โมกษะ ผูท้ ี่ฝึกฝนดีแลว้ ย่อมไม่ หวนั่ ไหวต่อทุกสิ่งทุกอย่างท่ีเกิดทางกาย วาจา ใจ ศาสนาเชนสอนวา่ แกว้ ๓ ดวง คือ มีความเห็นชอบ มีความรูช้ อบ มีความประพฤติชอบ จะนาไปสู่โมกษะได้ พระ เจา้ เป็ นเร่ืองเหลวไหล พระเจา้ ไม่สามารถบันดาลทุกขส์ ุขใหใ้ ครได้ ทุกขส์ ุขเป็ นผล มาจากกรรม การออ้ นวอนเป็ นสิ่งไรป้ ระโยชน์ไมม่ ีสาระ นักบวชเชนตอ้ งรกั ษาศีล ๕ อย่างเคร่งครดั คือ เวน้ จากการฆ่าส่ิงที่มีชีวิต รวมท้งั พืชดว้ ย เวน้ จากการพดู เท็จ เวน้ จากการถือเอาสิ่งของที่เจา้ ของไมไ่ ดใ้ ห้ เวน้ จากการประพฤติผิดในกาม และไม่ยินดีในกามวตั ถุ ส่วนศาสนิกชนเชนตอ้ งรกั ษา ศีล ๑๒ อยา่ งเคร่งครดั คือ เวน้ จากการทาลายส่ิงท่ีมีชีวติ เวน้ จากการประพฤติผิด ในกาม เวน้ จากการถือเอาสิ่งของที่เจา้ ของไม่ไดใ้ ห้ มีความพอใจในส่ิงท่ีตนมี เวน้ จากอารมณ์ท่ีก่อใหเ้ กิดความชัว่ เช่น การเท่ียวเตร่ รูจ้ กั ประมาณในการใชส้ อย เครื่องอุปโภคบริโภค เวน้ จากทางที่ก่อใหเ้ กิดอาชญาใหร้ า้ ย ไม่ออกพน้ เขตไมว่ า่ ทิศ ใดทิศหน่ึงยามบาเพญ็ พรต บาเพ็ญพรตทุกเทศกาล อยจู่ าอุโบสถศีล ใหท้ านแก่พระ และตอ้ นรบั แขกผมู้ าเยอื น เชนนับเป็ นศาสนาท่ีถือหลกั การไม่เบียดเบียนหรืออหิงสาอยา่ งเอกอุ เป็ น ศาสนาที่มีแนวคิดใกลเ้ คียงกนั กับพระพุทธศาสนา แมแ้ ต่การสรา้ งพระพุทธรูป ถา้ ดูอย่างผิวเผินก็ไม่เห็นความแตกต่างกันมากนัก ยกเวน้ จะเปลือยกายและมี ดอกจนั ทน์ที่หนา้ อกเท่าน้ัน ปัจจุบนั มีเชนศาสนิกชนประมาณ ๖ ลา้ นคนทวั่ อินเดีย โดยมากจะมีฐานะดี เพราะเป็ นพ่อคา้ เสียส่วนใหญ่ เนื่องจากทาการเกษตรไม่ไดจ้ ะ เป็ นการผิดศีล เพราะเชนถือว่าพืชก็มีชีวิต การเกี่ยวขา้ วตัดหญา้ เป็ นบาปท้ังส้ ิน
๔๑ ต่อมาหลังพุทธปรินิพพาน ๒๔๐ ปี ศาสนาเชนก็แตกออกเป็ น ๒ นิกายคือ นิกาย ทิฆมั พร ซึ่งเป็ นนิกายด้งั เดิมท่ีเคร่งครดั ไม่นุ่งห่มผา้ และนิกายเสวตมั พร จะนุ่งขาว ห่มขาว ไวผ้ มยาว แต่งตัวสะอาดและคบหากับผูค้ นมากกว่านิกายเดิมที่เน้นการ ปลีกตวั อยตู่ า่ งหาก ๓. พุทธประวตั ิ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ เป็ นพระราชโอรสแห่งกรุงกบิลพัสดุ์ พระบิดาพระ นามวา่ พระเจา้ สุทโธทนะ พระมารดาพระนามวา่ พระนางสิริมหามายา ซึ่งเป็ นเจา้ หญิงแห่งโกลิยวงศ์ จากกรุงเทวทหะ เมื่อพระนางสิริมหามายาทรงครรภ์ครบทศ มาส ทรงขอลาพระสวามีเพื่อกลับไปมีพระประสูติกาลท่ีกรุงเทวทหะเมืองประสูติ ของพระองคต์ ามธรรมเนียมในคร้งั น้ัน คร้นั เดินทางมาไดค้ ร่ึงทางถึงสวนสาธารณะ ใหญ่ชื่อ \"ลุมพินี\" พระนางเกิดประชวรพระครรภแ์ ละประสูติพระโอรส ณ ใตต้ น้ รงั ใหญ่ ในวนั เพ็ญเดือน ๖ เวลาใกลเ้ ที่ยง กอ่ นพทุ ธศกั ราช ๘๐ ปี หลงั จากประสูติได้ ๕ วนั พระเจา้ สุทโธทนราชาเชิญพราหมณาจารยผ์ ูเ้ ช่ียวชาญในไตรเวท จานวน ๑๐๘ ท่าน มาฉันโภชนาหารและใหเ้ ลือกเหลือเพียง ๘ ท่านเฉพาะผูเ้ ช่ียวชาญ ใน วิชาลกั ษณะพยากรณ์เพ่ือทาหน้าที่พิจารณาทานายลกั ษณ์ของพระโอรสและขนาน พระนาม พราหมณ์ท้ัง ๘ ท่านที่ไดร้ ับเลือก คือ รามพราหมณ์ ลักษณพราหมณ์ ยญั ญพราหมณ์ ธุชพราหมณ์ โภชพราหมณ์ สุทัตตพราหมณ์ สุยามพราหมณ์และ โกญทญั ญพราหมณ์ พราหมณ์ ๗ ท่านแรก เห็นลกั ษณะของพระโอรสแลว้ ไดท้ านาย เป็ น ๒ นัย คือ ถา้ พระโอรสอยู่เรือนจะไดเ้ ป็ นพระจักรพรรดิผูย้ ิ่งใหญ่ หากออก ผนวชจะได้ตรัสรูเ้ ป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ศาสดาเอกของโลก ส่วนโกญทัญญ พราหมณ์ซ่ึงมีอายุน้อยท่ีสุดในพราหมณ์ ๘ ท่านน้ัน ทานายช้ ีชดั ลงไปวา่ พระโอรส น้ ีจะออกผนวชและตรสั รูเ้ ป็ นพระสมั มาสมั พุทธเจา้ อยา่ งแน่นอน จากน้ันพราหมณ์ ท้ังหมดก็มีความเห็นตรงกันท่ีจะขนานพระนามพระโอรสว่า \"สิทธัตถะ\" หรือ \"สิทธารถ\" ซง่ึ แปลวา่ สาเร็จดงั ปรารถนา หลงั จากวนั ขนานพระนาม ๒ วนั เมื่อพระโอรสมีพระชนมายุได้ ๗ วนั พระ นางสิริมหามายาก็ส้ ินพระชนม์ เจา้ ชายสิทธัตถะจึงอยู่ในการเล้ ียงดูของพระนาง มหาปชาบดี ซึ่งเป็ นพระน้านางของพระองค์และเป็ นมเหสีองค์ท่ี ๒ ของพระเจา้ สุ ทโธทนะ เจา้ ชายสิทธัตถะมีพระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมพระชนกที่ประสูติจาก
๔๒ พระนางมหาปชาบดี ๒ พระองค์คือ พระนันทะ และพระนางรูปนันทา และยังมี ลูกพ่ีลูกน้องในศากยวงศ์รุ่นราวคราวเดียวกันอีกหลายพระองค์ คือ เจา้ มหานามะ เจา้ อนุรุทธะ ซ่ึงเป็ นโอรสของพระเจา้ อาสุกโกทนะ เจา้ อานนท์ โอรสพระเจา้ อมิโตท นะและเจา้ เทวทัต โอรสของอาหญิงอมิตาศากยะ กุมารท่ีมีอายุมากกว่าเจา้ ชาย สิทธตั ถะมเี พยี งองคเ์ ดียว คือ เจา้ มหานามะ คร้นั เมื่อเจา้ ชายสิทธัตถะมีพระชันษาได้ ๗ พรรษา ก็ไดร้ บั การศึกษาวิชา ศิลปศาสตร์จากพราหมณ์ในราชสานักจนจบส้ ินวิชาการ พระชนกเห็นว่ากุมาร ฉลาดปราดเปรื่องจึงส่งไปศึกษาต่อยงั สานักของอาจารยว์ ิศวามิตร ผูม้ ีช่ือเสียงว่า เป็ นปราชญ์ที่ไม่มีใครทัดเทียมในสมยั น้ัน เจา้ ชายสิทธัตถะไดศ้ ึกษาวิชาพระเวท เวทางคศาสตร์ จิตศาสตร์ และคมั ภีรอ์ ุปนิษัท จนแตกฉานเชี่ยวชาญในวิชาต่างๆ อย่างรวดเร็วกระทัง่ ส้ ินความรูข้ องอาจารย์ มีความรูพ้ รงั่ พรอ้ มท่ีจะไดร้ บั ตาแหน่ง เป็ นราชาและเป็ นจกั รพรรดิปกครองชมพทู วปี ในอนาคต เม่อื เจา้ ชายสิทธตั ถะมพี ระชนั ษาได้ ๑๖ พรรษา พระชนกเห็นวา่ สมควรจะมี ชายาไดแ้ ลว้ จึงไปสูข่ อเจา้ หญิงยโสธรา หรือพมิ พา พระธิดาของพระเจา้ สุปปพุทธะ ท่ีประสูติจากพระนางอมิตา มาอภิเษกเป็ นชายา และต่อมาไดม้ ีพระโอรสดว้ ยกัน พระองค์หน่ึงนามว่า ราหุล ชีวิตการครองเรือนของเจา้ ชายสิทธัตถะไดร้ ับการ ปรนเปรอจากพระชนกและพระประยูรญาติอย่างดีที่สุด ส่ิงใดที่คิดว่าจะทาให้ เจา้ ชายพอใจ พระชนกจะตอ้ งรีบจดั หามาใหโ้ ดยหวงั วา่ จะใหเ้ จา้ ชายอยูค่ รองเรือน ไปตลอดชีวติ และหมายมนั่ จะใหไ้ ดเ้ ป็ นพระราชาและพระเจา้ จกั รพรรดิในอนาคต จะเห็นไดว้ ่า ในวยั หนุ่มเจา้ ชายสิทธัตถะทรงศึกษาวิชาการแขนงต่างๆ จน เจนจบและออกบวชเม่ือทรงพระชนมายุ ๒๙ พรรษา ทรงมีประสบการณ์ทางการ ปกครองอยา่ งดี แต่ดว้ ยบุญบารมีที่ทรงสัง่ สมมาอย่างดีแลว้ บันดาลใหท้ รงพบเทว ทูตท้ัง ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตายและบรรพชิต เป็ นเหตุใหพ้ ระองค์มองเห็น ความทุกข์ของการอยู่ครองเรือนและปรารถนาจะหาทางพ้นทุ กข์ดว้ ยการออก บรรพชา โดยเสด็จออกในเวลากลางคืน ทรงมา้ กัณฐกะและมีมหาดเล็กชื่อฉันนะ ตามเสด็จ เม่ือไปถึงฝั่งแม่น้าอโนมาทรงตัดพระเกศาสละเพศฆราวาสผนวชเป็ น บรรพชติ แลว้ ใหน้ ายฉนั นะกลบั ไปแจง้ ใหพ้ ระชนกและประยรู ญาติทราบ
๔๓ จากน้ันพระองคเ์ สด็จไปยงั สานักอาฬารดาบสและอุทกดาบส ทรงศึกษาวชิ า ความรูจ้ นเจนจบทุกอยา่ งเท่าท่ีอาจารยท์ ้งั สองสามารถสอนได้ แต่พระองค์ทรงเห็น วา่ ความรเู้ ท่าน้ ี ไมส่ ามารถตรสั รไู้ ด้ จึงปลีกตวั ไปบาเพ็ญเพียรตามลาพงั ดว้ ยวิธีการ ต่างๆ ที่เช่ือกันในยุคน้ันว่าจะเป็ นทางแห่งการตรสั รู้ เช่น การทรมานพระวรกาย เป็ นตน้ แมป้ ฏิบตั ิอยถู่ ึง ๖ ปี ดว้ ยความวริ ิยอุตสาหะอยา่ งยิ่งยวด เมื่อทาจนถึงท่ีสุด แลว้ แต่ก็ไม่นาไปสู่การตรสั รูธ้ รรม พระองคจ์ ึงหนั มาบาเพ็ญเพียรดว้ ยการทาสมาธิ ดาเนินจิตไปตามหนทางสายกลาง ในท่ีสุดก็ไดบ้ รรลุพระธรรมกาย ตรสั รูเ้ ป็ นพระ อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ในวนั เพ็ญเดือน ๖ กอ่ นพุทธศกั ราช ๔๕ ปี เมื่อตรัสรูแ้ ลว้ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ทรงสัง่ สอนเวไนยสัตว์ท้ังกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร ตลอดจนพวกนอกวรรณะใหต้ รสั รูธ้ รรมตามพระองคแ์ ละเขา้ มาขออุปสมบทเป็ นพุทธสาวกมากมาย บางพวกก็ประกาศตนเป็ นพุทธมามกะขอถึง พระรตั นตรยั วา่ เป็ นท่ีพ่ึงกันจานวนมาก พุทธวธิ ีการสอนของพระองคม์ ีหลากหลาย ท้ังน้ ีเพ่ือใหเ้ หมาะสมกับฐานะและอุปนิสัยของแต่ละบุคคล จึงทาใหผ้ ูฟ้ ังมีความรู้ ความเขา้ ใจและตรสั รูต้ ามไดโ้ ดยง่าย พระองคท์ รงใชเ้ วลา ๔๕ ปี เผยแผ่พุทธธรรม ปักหลักพระศาสนาในชมพูทวีป ละเสด็จขันธปรินิพพานในวนั เพ็ญเดือน ๖ เม่ือ พระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา ๔. การเกิดข้ ึนของพระพุทธศาสนากับการเปลี่ยนแปลงความเช่ือ และวฒั นธรรมในสงั คมอนิ เดีย การบังเกิดข้ ึนของพระสัมมาสัมพุทธเจา้ เป็ นเหตุการณ์อันยิ่งใหญ่ ซึ่ง เปล่ียนแปลงประวตั ิศาสตร์ ความเช่ือและวฒั นธรรมของชาวอินเดียในยุคน้ันอยา่ ง ใหญ่หลวง จากที่กล่าวแลว้ ในบทที่ ๒ วา่ สังคมอินเดียก่อนยุคพุทธกาลและในยุค พุทธกาลตกอยใู่ นอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ ซ่ึงหยงั่ รากฝังลึกลงในสงั คมและสืบ ทอดกันมากหลายพันปี โดยเฉพาะการแบ่งคนออกเป็ น ๔ วรรณะน้ัน เป็ น วฒั นธรรมท่ีเหนียวแน่นมาก พราหมณท์ ้งั หลายเช่ือวา่ วรรณะพราหมณเ์ ท่าน้ันเป็ น วรรณะที่ประเสริฐที่สุด วรรณะอื่นเลวทรามและทุกๆ คนจะตอ้ งเคารพพราหมณ์ ดงั ที่ปรากฏในอคั คัญสูตร พราหมณ์ท้งั หลายไดด้ ่าบริภาษวาเสฏฐะและภารทวาชะ ผอู้ อกจากตระกูลพราหมณ์ไปบวชเป็ นสามเณรในพระพุทธศาสนาวา่
๔๔ \"พราหมณ์เท่าน้ันเป็ นวรรณะประเสริฐท่ีสุด วรรณะอื่นเลวทราม พราหมณ์ เท่าน้ันเป็ นวรรณะขาว วรรณะอ่ืนดา พวกพราหมณ์ท้ังหลายเท่าน้ันบริสุทธ์ิ คนท่ี ไม่ใช่พราหมณ์หาบริสุทธ์ิไม่ พวกพราหมณ์ท้ังหลายเป็ นบุตรเกิดจากอุระ เกิดจาก ปากของพระพรหม พวกท่านมาละเสียจากวรรณะที่ประเสริฐที่สุด เขา้ ไปอยู่ใน วรรณะที่เลวทรามคือพวกสมณะโลน้ เป็ นพวกคหบดี เป็ นพวกดา เกิดจากเทา้ ของ พระพรหม การที่พวกท่านมาละเสียจากวรรณะประเสริฐสุดเช่นน้ ี ไม่เป็ นการดี ไม่ เป็ นการสมควรเลย\" แมแ้ ต่ผทู้ ี่เกิดในวรรณะกษัตริยก์ ็ยงั ตอ้ งเคารพพราหมณ์ เชน่ เม่ือครง้ั ท่ีพระ เจา้ สุทโธทนะทรงประสงคจ์ ะขนานพระนามพระโพธิสัตว์ พระประยูรญาติท้ังหลาย ไดเ้ ชิญพราหมณ์มาในวนั น้ันถึง ๑๐๘ ท่าน โดยคัดเลือกเหลือ ๘ ท่านเพ่ือใหท้ า หน้าที่ขนานพระนามพระโพธิสตั ว์ เมื่อพระโพธิสัตวอ์ อกบวชและไดต้ รสั รูเ้ ป็ นพระ สมั มาสมั พุทธเจา้ แลว้ ในเวลาที่พระพุทธองค์เสด็จจาริกไปเผยแผ่น้ัน มีปรากฏอยู่ บ่อยครง้ั ท่ีไดร้ บั การต่อตา้ น ถูกลบหลู่ดูหม่ิน เชน่ ในอุทปานสูตร \"สมยั หน่ึง พระผู้ มีพระภาคเจา้ เสด็จจาริกไปในมลั ลชนบทพรอ้ มดว้ ยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จถึงพ ราหมณคามหรือหมู่บา้ นพราหมณ์ชื่อถูนะของมลั ลกษัตริย์ คร้งั น้ันพราหมณ์และ คฤหบดีท้ังหลายเอาหญา้ และแกลบถมบ่อน้าจนเต็มถึงปากบ่อ ดว้ ยต้งั ใจวา่ สมณะ โลน้ ท้งั หลายอยา่ ไดด้ ่ืมน้า\" หรือดงั ท่ีปรากฏในธนัญชานีสูตร นางพราหมณีช่ือธนัญชานีแหง่ พราหมณ์ ผูภ้ ารทวาชโคตรคนหน่ึง เป็ นผูเ้ ลื่อมใสยิ่งในพระสัมมาสมั พุทธเจา้ พระธรรมและ พระสงฆ์ วันหนึ่งขณะท่ีนางกาลังนาภัตเขา้ ไปเพื่อพราหมณ์ผูส้ ามี นางกา้ วเท้า พลาดจึงเปล่งอุทาน ๓ คร้งั วา่ ขอนอบน้อมแด่พระผูม้ พี ระภาคพระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคน์ ้ัน เมื่อนางพราหมณีกล่าวอยา่ งน้ ีแลว้ พราหมณผ์ ูส้ ามีไดก้ ล่าวกะ นางวา่ \"ก็หญิงถ่อยน้ ีกล่าวคุณของสมณะโลน้ อยา่ งน้ ีอยา่ งน้ ีไม่วา่ ท่ีไหนๆ แน่ะหญิง ถ่อย บดั น้ ีเราจกั ยกวาทะตอ่ พระศาสดาน้ันของเจา้ \" ในอรรถกถากล่าวถึงธนัญชานีสูตรเพิ่มเติมว่า วนั หนึ่งพราหมณ์ผูส้ ามีได้ ปรึกษากบั พราหมณีวา่ แน่ะแมจ่ าเริญ พรุ่งน้ ีพราหมณ์ ๕๐๐ คน จกั บริโภคในเรือน ของเรานะ นางถามวา่ ฉันจะชว่ ยอะไรไดบ้ า้ งละพราหมณ์ พราหมณก์ ล่าววา่ ไมม่ กี ิจ อะไรอ่ืนท่ีเจา้ จะตอ้ งช่วยดอก คนเหล่าอื่นจกั กระทาการหุงตม้ และองั คาสท้ังหมด
๔๕ ขอ้ ที่เจา้ ยืนก็ดี นั่งก็ดี จามก็ดี ไอก็ดี ทาการนอบน้อมแก่สมณะโลน้ น้ันว่า นโม พทุ ธสส น้ัน พรุง่ น้ ี เจา้ อยา่ ทาส่ิงน้ันสกั วนั หน่ึงเถิด ดว้ ยวา่ พราหมณท์ ้งั หลายไดย้ นิ ดงั น้ันแลว้ จะไมพ่ อใจ เจา้ อยา่ ทาเราใหแ้ ตกจากพราหมณท์ ้งั หลายเลย นางพราหมณีกล่าววา่ ท่านจะแตกจากพราหมณก์ ็ดี จากเทวดาก็ดี ส่วนฉัน ระลึกถึงพระศาสดา ไม่นอบน้อม ไม่สามารถที่จะอดกล้ันอยู่ได้ พราหมณ์กล่าววา่ แน่ะแมม่ หาจาเริญ ก่อนอื่นเจา้ ตอ้ งพยายามปิ ดประตูบา้ นในบา้ น ๑๐๐ ตระกูล เม่ือ ไม่สามารถจะปิ ดปากท่ีจะพึงปิ ดด้วยน้ ิวท้ัง ๒ ชัว่ เวลาท่ีพวกพราหมณ์บริโภค พราหมณน์ ้ันแมพ้ ดู ซา้ ซากอยา่ งน้ ีก็ไมอ่ าจหา้ มไดด้ ว้ ยความรกั จงึ ถือเอาพระขรรคท์ ี่ วางไวบ้ นหวั นอนกล่าววา่ \"แม่มหาจาเริญ เมื่อพราหมณ์นัง่ ประชุมกนั พรุ่งน้ ี ถา้ เจา้ นมัสการสมณะโลน้ น้ันไซร้ เราจะเอาพระขรรค์เล่มน้ ีสับเจา้ ต้ังแต่พ้ ืนเทา้ จนถึง ปลายผมทาใหเ้ ป็ นกองเหมอื นหน่อไม\"้ แมศ้ าสนาพราหมณ์จะหยงั่ รากฝังลึกในสังคมอินเดียมานานหลายพันปี ดังกล่าวแลว้ แต่ดว้ ยระยะเวลาเพียง ๔๕ ปี แห่งการบังเกิดข้ ึนของพระสัมมาสัม พุทธเจา้ พระองค์เสด็จออกเผยแผ่พระธรรมคาสอนนาพามหาชนใหเ้ ปลี่ยนความ เช่อื และวฒั นธรรมด้งั เดิม มานับถือพระรตั นตรยั เป็ นที่พึ่งที่ระลึกไดจ้ านวนมาก ชน ทุกช้นั ทุกวรรณะหนั มานับถือพระพุทธศาสนา ต้งั แต่พระราชามหากษัตริย์ เศรษฐี มหาเศรษฐี พ่อค้าประชาชนทัว่ ไป และแมแ้ ต่พราหมณ์ผูเ้ ป็ นเจา้ ลัทธิเองและ พราหมณ์ชาวบา้ นทัว่ ไปก็ละท้ ิงคาสอนเดิมมานับถือพระพุทธศาสนาจานวนมาก เมื่อพระพุทธองค์ทรงจาริกไปเทศน์สอนในพราหมณคามหรือหมู่บา้ นพราหมณ์ เช่น สาละ ศาลา โอปาสาทะ เวฬุทวาร เวนาคปุระ อิจฉานังคละ และขานุมัตตะ เป็ นตน้ พราหมณแ์ ละคฤหบดีในหมบู่ า้ นเหล่าน้ันไดส้ ดบั วา่ พระสมณโคดมศากยบุตร... เสด็จถึงบา้ นขานุมตั ตะประทับอยู่ในสวนอมั พ ลฏั ฐิกา... เกียรติศพั ท์อนั งามของพระสมณโคดมพระองค์น้ันขจรไปแลว้ อยา่ งน้ ีวา่ ... พระผูม้ ีพระภาคเจา้ พระองค์น้ัน เป็ นพระอรหันต์ตรัสรูช้ อบดว้ ยพระองค์เอง ถึง พรอ้ มดว้ ยวชิ ชาและจรณะ เสด็จไปดีแลว้ ทรงรแู้ จง้ โลก เป็ นสารถีฝึกคนท่ีควรฝึก ไม่ มีผูอ้ ื่นยิ่งกวา่ ... ก็การเห็นพระอรหนั ตท์ ้ังหลาย เห็นปานน้ันยอ่ มเป็ นการดีแลดงั น้ ี. คร้งั น้ันพราหมณ์และคฤหบดีชาวบา้ นขานุมตั ตะออกจากบา้ นขานุมตั ตะเป็ นหมู่ๆ พากนั ไปยงั สวนอมั พลฏั ฐิกา
๔๖ เม่ือไปถึงแลว้ ก็ไดฟ้ ังธรรมจากพระสมั มาสมั พุทธเจา้ บางพวกก็บรรลุธรรม และไดข้ อถึง พระรตั นตรยั เป็ นท่ีพึ่งท่ีระลึกกันจานวนมาก ในการแสดงธรรมของ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ แต่ละคร้งั จะมีผูต้ รัสรูธ้ รรมกันมากมาย ซึ่งจะยกตัวอย่าง กษัตริย์ พราหมณ์ผูป้ กครองเมืองและพราหมณ์เจา้ ลัทธิต่างๆ ในยุคน้ันที่หันมา เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา นอกจากน้ ียงั มเี ศรษฐีมหาเศรษฐีจานวนมากท่ีเล่ือมใสและเป็ นกาลงั สาคญั ในพระพุทธศาสนา เช่น โชติกเศรษฐี เมณฑกเศรษฐี ชฎิลเศรษฐี อนาถบิณฑิก- เศรษฐี มหาอุบาสิกาวิสาขา เป็ นตน้ และยงั มีประชาชนพลเมืองทัว่ ไปอีกมากมาย เฉพาะในแควน้ มคธเพียงแควน้ เดียวก็มีราษฎรจานวนมากใน ๘๐,๐๐๐ ตาบล ที่ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา โดยคร้งั หนึ่งพระเจา้ พิมพิสารเรียกประชุมราษฎรท้ัง ๘๐,๐๐๐ ตาบล ซึ่งอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของพระองค์ จากน้ันก็ใหร้ าษฎรท้ังหมด ไปฟังธรรมจากพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ในครง้ั น้ันมผี ไู้ ดต้ รสั รธู้ รรมกนั จานวนมาก จากตัวอย่างที่ยกมาน้ ีจึงกล่าวได้ว่าเวลาเพียง ๔๕ ปี แห่งการประกาศ พระพุทธศาสนาของพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ความเช่ือและวฒั นธรรมในสงั คมอินเดีย ไดเ้ ปล่ียนแปลงไปอยา่ งมากมาย ศาสนาพราหมณ์ไดเ้ ส่ือมความนับถือลงและตอ้ ง ปรบั ตวั ขนานใหญจ่ นกลายเป็ นศาสนาฮินดูในเวลาต่อมา ท้งั น้ ีเพราะแควน้ ใหญ่ๆ ในอินเดียสมยั พุทธกาลมีท้งั หมด ๑๖ แควน้ ตามท่ี ปรากฏในพระไตรปิ ฎก ดังตารางท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ จะเห็นวา่ มีกษัตริย์พราหมณ์ ผูป้ กครองและพราหมณ์เจา้ ลัทธิรวมท้ังมหาเศรษฐีในแควน้ ต่างๆ จานวนมากที่ เล่ือมใสในพระพุทธศาสนา เมื่อชนช้ันผูป้ กครองศรัทธาในพระพุทธศาสนาแลว้ ประชาชนทวั่ ไปก็จะศรทั ธาตามดว้ ย สาเหตุแหง่ ความเปล่ียนแปลงความเช่ือและวฒั นธรรมในสงั คมอินเดียอยา่ ง รวดเร็วใน คร้งั น้ันมีสาเหตุหลายประการท่ีสาคญั ที่สุดคือ คาสอนของพระสัมมา- สัมพุทธเจา้ เป็ นสัจธรรมอันจริงแทแ้ น่นอนที่ผูป้ ฏิบตั ิสามารถพิสูจน์ไดด้ ว้ ยตนเอง และมีผปู้ ฏิบตั ิจนเขา้ ถึงธรรม บรรลุธรรมเป็ นพระอรหนั ต์ พระอริยบุคคลเป็ นพยาน ใหพ้ ระพุทธศาสนามากมาย เขาเหล่าน้ันมีท้ังพระราชามหากษัตริย์ มหาเศรษฐี เสนาบดี มหาอามาตย์ แมแ้ ต่เจา้ ลัทธิใหญ่ที่มีศิษยจ์ านวนมากก็หนั มานับถือและ เป็ นพยานใหพ้ ระพทุ ธศาสนาดว้ ย
๔๗ นอกจากน้ ี พราหมณ์โดยทัว่ ไปใหก้ ารยอมรับพระสัมมาสัมพุทธเจา้ มาก เพราะพระองค์ทรงได้ลักษณะกายมหาบุรุษ ท้ังน้ ี เพราะมีกล่าวไวใ้ นมนต์ของ พราหมณ์มาต้ังแต่ยุคโบราณวา่ ผูท้ ่ีไดก้ ายมหาบุรุษหากอยู่เป็ นฆราวาสจะไดเ้ ป็ น พระเจา้ จกั รพรรดิ แต่ถา้ ออกบวชจะไดต้ รัสรูธ้ รรมเป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจา้ เป็ น ศาสดาเอกในโลก แมอ้ สิตดาบสผูเ้ ป็ นอาจารยข์ องพระเจา้ สุทโธทนะยงั ประนมหตั ถ์ กม้ กราบแทบเท้าของพระโพธิสัตวซ์ ่ึงประสูติไดไ้ ม่ก่ีวนั เพราะตนทราบดีถึงคา ทานายในตารามหาปุรสิ ลกั ษณะของพราหมณด์ งั กลา่ วแลว้ อีกประการหน่ึงคาสอนของพราหมณก์ ็มคี วามขดั แยง้ กนั เอง ผูท้ ่ีมีปัญญาจึง พยายามหาคาตอบที่ถูกต้อง เม่ือเหล่าพราหมณ์ตอบไม่ได้จึงมาทูลถามพระ สมั มาสมั พุทธเจา้ ซึ่งพระพุทธองคก์ ็ทรงเทศน์สอนช้ ีหนทางสวา่ งให้ เขาเหล่าน้ันจึง ออกบวชตามบา้ ง ขอถึงพระรตั นตรัยเป็ นท่ีพ่ึงท่ีระลึกบา้ ง เช่น กรณีของวาเสฏฐะ และภารทวาชะ เป็ นตน้ โดยคร้งั หนึ่งวาเสฏฐมาณพและภารทวาชมาณพไดพ้ ูดกัน ถึงเรอื่ งทางและมิใชท่ าง วาเสฏฐมาณพพดู อยา่ งน้ ีวา่ ทางที่ท่านโปกขรสาติพราหมณ์บอกไวน้ ้ ีเท่าน้ันเป็ นทางตรง เป็ นเสน้ ทาง เดิน เป็ นทางนาออก ย่อมนาผูด้ าเนินไปตามทางน้ันเพ่ือความอยู่ร่วมกับพรหม ฝ่ ายภารทวาชมาณพพูดอยา่ งน้ ีวา่ ทางท่ีท่านตารุกขพราหมณ์บอกไวน้ ้ ีเท่าน้ันเป็ น ทางตรง เป็ นเสน้ ทางเดิน เป็ นทางนาออก ย่อมนาผูด้ าเนินไปตามทางน้ัน เพ่ือ ความอยูร่ ่วมกบั พรหมได้ วาเสฏฐมาณพไม่อาจใหภ้ ารทวาชมาณพยินยอมได้ ฝ่ าย ภารทวาชมาณพก็ไมอ่ าจใหว้ าเสฏฐมาณพยนิ ยอมได้ เมื่อมานพท้ังสองคนไม่อาจจะยงั อีกฝ่ ายหนึ่งใหย้ ินยอมได้ จึงไปกราบทูล ถามพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ในคร้งั น้ันพระพุทธองค์ตรสั ถามว่า วาเสฏฐะ บรรดา พราหมณ์ผูจ้ บไตรเพท พราหมณ์แมค้ นหน่ึง ท่ีเห็นพรหมมีเป็ นพยานอยู่หรือ วา เสฏฐะตอบวา่ ขา้ แต่พระโคดมผูเ้ จริญ ไม่มีพระเจา้ ขา้ วาเสฏฐะ อาจารยท์ ่ีสืบเน่ือง มาเจ็ดชวั่ อาจารยข์ องพราหมณ์ผูจ้ บไตรเพทที่เห็นพรหมเป็ นพยานไม่มีเลยหรือ วา เสฏฐะตอบวา่ ไมม่ ีเลยพระเจา้ ขา้ จากน้ันพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จึงตรสั วา่ วาเสฏฐะ ดีละ พวกพราหมณ์ผูจ้ บไตรเพท ไม่รูจ้ กั พรหม ไม่เห็นพรหม แต่ แสดงหนทางเพ่ือความอยู่ร่วมกับพรหมว่าหนทางน้ ีแหละเป็ นทางตรง เป็ นสาย ทางเดิน เป็ นทางนาออก นาผูด้ าเนินไปตามทางน้ันเพ่ือความอยู่ร่วมกบั พรหมได้
๔๘ ขอ้ น้ ีไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ วาเสฏฐะ เหมือนแถวคนตาบอดเกาะหลงั กนั และกัน คน ตน้ ก็ไมเ่ หน็ คนกลางก็ไมเ่ หน็ แมค้ นหลงั ก็ไมเ่ ห็น ภาษิตของพราหมณผ์ ูจ้ บไตรเพท เหลา่ น้ัน จงึ เป็ นคาน่าหวั เราะทีเดียว เป็ นคาตา่ ชา้ เป็ นคาวา่ ง เป็ นคาเปลา่ ... เมื่อวาเสฏฐมาณพและภารทวาชมาณพฟังพระธรรมเทศนาจบแลว้ ไดก้ ราบ ทูลว่า ขา้ แต่พระโคดมผูเ้ จริญ ภาษิตของพระองค์ไพเราะยิ่งนัก เปรียบเหมือน บุคคลหงายของท่ีควา่ เปิ ดของท่ีปิ ด บอกทางแก่คนหลงทางหรือส่องประทีปในที่มืด ดว้ ยคิดว่า ผูม้ ีจกั ษุจักเห็นรูป ดังน้ ี ฉันใด พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงประกาศพระ ธรรมโดยอเนกปริยายก็ฉันน้ันเหมือนกนั ขา้ พระองคท์ ้งั สองน้ ี ขอถึงพระองคก์ บั ท้ัง พระธรรมและพระสงฆว์ า่ เป็ นสรณะ ขอพระองค์จง ทรงจาขา้ พระองคท์ ้งั สองวา่ เป็ น อุบาสกผถู้ ึงสรณะอยา่ งมอบกายถวายชีวิตต้งั แตว่ นั น้ ีเป็ นตน้ ไป นอกจากพราหมณ์ท้ังหลายจะใหก้ ารยอมรบั พระสัมมาสัมพุทธเจา้ เพราะ พระองคท์ รงมีกายมหาบุรุษและเพราะคาสอนพราหมณ์ขดั แยง้ กนั เอง เป็ นคาสอน ไม่เป็ นเหตุเป็ นผลแลว้ พุทธวิธีการสอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ก็มีส่วนเป็ นอยา่ ง มาก ทรงเทศน์สอนโดยยดึ ตามจริตผูฟ้ ัง ทรงยดึ ผเู้ รียนเป็ นสาคญั หรอื ในปัจจุบนั ใช้ ศัพท์ว่า Child Center จึงเป็ นเหตุใหพ้ ราหมณ์ท้ังหลาย มีความรูค้ วามเขา้ ใจ มี ความเล่ือมใส จนกระทงั่ ยอมละท้ ิงความเชื่อด้งั เดิมที่นับถือกนั มาหลายพนั ปี มาขอ ถึงพระรตั นตรยั เป็ นที่พ่ึงที่ระลึกและยอมละท้ ิงวฒั นธรรมเก่าๆ ทุกอยา่ ง โดยเฉพาะ ระบบวรรณะ ท้ังน้ ีเพราะผูท้ ี่เขา้ มาบวชในพระพุทธศาสนา จะมีความเสมอภาคกัน ไมว่ ่าจะมาจากวรรณะกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ หรือศูทรก็ตาม ดงั ท่ีพระพุทธองค์ ตรสั ไวใ้ นปหาราทสูตรวา่ ดูก่อนปหาราทะ แม่น้าสายใหญ่ๆ บางสาย คือ แมน่ ้าคงคา ยมุนา อจิรวดี สรภูมหี แม่น้าเหล่าน้ันไหลไปถึงมหาสมุทรแลว้ ยอ่ มละนามและโคตรเดิมหมด ถึง ความนับว่ามหาสมุทรนั่นเอง ฉันใด...วรรณะ ๔ เหล่าน้ ี คือกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ และศูทร ออกบวชเป็ นบรรพชิตในธรรมวินัยท่ีตถาคตประกาศแลว้ ยอ่ มละ นามและโคตรเดิมเสีย ถึงความนับวา่ ศากยบุตรท้งั น้ัน จากที่กลา่ วมาท้งั หมดในจดหมายฉบบั น้ ี พอจะสรุปความไดว้ า่ การปกครอง ในสมยั พุทธกาล แบ่งออกเป็ นแควน้ ใหญ่ได้ ๑๖ แควน้ และแควน้ เล็กอีก ๕ แควน้ รวมเป็ น ๒๑ แควน้ โดยรูปแบบการปกครองมี ๓ แบบคือ แบบจกั รวรรดินิยมแบบ
๔๙ สมบูรณาญาสิทธิราชย์และแบบประชาธิปไตย ส่วนเศรษฐกิจโดยรวมในสมัย พุทธกาลมีสภาพดีมาก เพราะมีมหาเศรษฐีท่ีมีทรพั ยส์ มบตั ิมหาศาลมากมายหลาย ท่าน ในสมยั พุทธกาลมีสมณพราหมณ์เจา้ ลทั ธิต่างๆ จานวนมาก แต่ที่มีชื่อเสียง เป็ นที่ยอมรับของมหาชนมีอยู่ ๖ ท่าน คือ ปูรณกัสสปะ มักขลิโคสาล อชิตเกส กัมพล ปกุธกัจจายนะ สัญชัยเวลัฏฐบุตร และนิครนถนาฏบุตร ในเจา้ ลัทธิท้ัง ๖ ท่านน้ ี มีเพียงนิ ครนถนาฎบุตรเท่าน้ั นท่ี มีคาสอนบางอย่างใกล้เคียงกับ พระพุทธศาสนา ส่วนอีก ๕ ท่าน มีคาสอนต่างจากพระสมั มาสมั พุทธเจา้ โดยส้ ินเชิง โดยเฉพาะสัญชัยเวลัฏฐบุตร มีคาสอนกลับกลอกเอาแน่นอนไม่ได้ ไม่สามารถ บญั ญตั ิอะไรตายตวั ได้ พดู ซดั ส่ายเหมอื นปลาไหล ก่อนเจา้ ชายสิทธัตถโพธิสัตวจ์ ะเสด็จออกผนวช ทรงมีความรูใ้ นศาสตร์ ต่างๆ มากมายซ่ึงเป็ นประโยชน์มากต่อการนามาประยุกตก์ ับธรรมะท่ีพระองคต์ รสั รู้ เพื่อการปกครองคณะสงฆ์และสัง่ สอนเวไนยสัตว์ สาเหตุสาคัญท่ีพราหมณ์ ท้งั หลายในสมยั พุทธกาลละท้ ิงความเชื่อเดิมท่ีสืบทอดกนั มาหลายพนั ปี แลว้ หนั มา นับถือพระพุทธศาสนามีหลายประการท่ีสาคัญที่สุดคือ คาสอนของพระสัมมาสัม พุทธเจา้ เป็ นสจั ธรรมอนั จริงแทแ้ น่นอนท่ีผปู้ ฏิบตั ิสามารถพสิ ูจน์ไดด้ ว้ ยตนเองในยุค น้ันมีผูป้ ฏิบัติจนเขา้ ถึงธรรมเป็ นพระอริยบุคคลมากมาย ซึ่งสามารถเป็ นพยาน ยนื ยนั คาสอนไดเ้ ป็ นอยา่ งดี นอกจากน้ ีเหล่าพราหมณ์ใหก้ ารยอมรบั ในบุคลิกของ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ ในฐานะท่ีทรงมีกายมหาบุรุษจึงต้งั ใจฟังคาสอนของพระองค์ พุทธวิธีสอนธรรมก็มีส่วนอยา่ งมากในการเปล่ียนแปลงความเช่ือของคนในสังคม อินเดีย พระองคท์ รงสอนโดยยึดตามจริตผูเ้ รียนหรือในปัจจุบันเรียกวา่ สอนโดยยึด ผูเ้ รียนเป็ นศูนยก์ ลาง (Child Center) อีกประการหน่ึง คาสอนของเหล่าพราหมณ์ อาจารยม์ ีความขดั แยง้ กันเอง จึงทาใหพ้ ราหมณ์จานวนไม่น้อยเสื่อมศรทั ธาหนั มา นับถือพระพุทธศาสนา อาจารยข์ อจบจดหมายฉบบั น้ ีไวเ้ พียงเท่าน้ ี ขอใหพ้ ระรตั นตรยั คุม้ ครอง อาจารย์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208