กล่มุ เป้าหมาย ๑. สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลนาป่าแซง จ�ำนวน ๒๓ คน ๒. แกนน�ำชมุ ชน จ�ำนวน ๓๐ คน ๓. ปราชญ์ขาวบ้านจำ� นวน ๔ คน รปู ธรรมการด�ำเนินงาน ๑. สร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่า โดยจัดตั้งคณะกรรมการป่าชุมชนคนเมืองค�ำและ ขบั เคล่อื นงานโดยกลมุ่ สามวยั ใสใ่ จรกั ป่า ประกอบด้วย ผู้นำ� ชมุ ชน คณะกรรมการหมบู่ า้ น คณะกรรมการ ดูแลรักษาป่าชมุ ชน โรงเรียน สภาเดก็ วดั วทิ ยาลยั ผสู้ ูงวัยไทนาป่าแซงบถ่ ิ่มกนั ทต.นาปา่ แซง ชรบ. อปพร. ๒. กำ� หนด กฎ กติกาชมุ ชนการใช้ประโยชนจ์ าก ร่วมถงึ จดั ท�ำฐานข้อมูลทรพั ยากรป่าในชุมชน โดยคณะท�ำงานคนสามวัยใส่ใจรักป่าร่วมกับ สภานักเรียน นักเรียนโรงเรียนบ้านค�ำย่านาง ผู้น�ำชุมชน คณะกรรมการดแู ลรกั ษาปา่ ชุมชน ปราชญด์ า้ นสมนุ ไพร สภาเด็กแลเยาวชน ๓. ป้องกันและเฝา้ ระวงั การบกุ รุกป่า ร่วมถงึ การสรา้ งแนวกน้ั ไฟ ๔. สนับสนุนใหม้ ีกิจกรรมสง่ เสริมและบำ� รุงปา่ เช่น กจิ กรรมปลกู ปา่ เฉลิมพระเกยี รติ โครงการ อนรุ กั ษ์พันธกุ รรมพชื และการบวชป่าเพือ่ ฟืน้ ฟพู ันธุ์ไมแ้ ละพนั ธพุ์ ชื ๕. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ ผา่ นหอกระจายขา่ วในการรกั ษาทรพั ยากรป่าไมใ้ นชุมชน ผลการดำ� เนินงาน ๑. ประชาชนทุกคนมสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรปา่ ชุมชน ร่วมคิด รว่ มเฝ้าระวงั รว่ มกัน ใช้ประโยชน์ ๒. เพิ่มความหนาแนน่ ให้พ้นื ท่ีปา่ ชมุ ชน ปลี ะ ๒ ไร่ ๓. ประชาชนในชมุ ชนปฏบิ ตั ติ ามกฎ กติกา หมูบ่ ้าน อย่างเคร่งครัด ๔. จดั เวรยามเฝ้าระวังไฟไหม้ปา่ และผบู้ ุกรกุ ทกุ วัน อย่างนอ้ ย ๒ คน ๕. เกิดเปน็ ศนู ยเ์ รียนรู้ป่าชมุ ชนคนเมอื งค�ำ ๔ ฐานการเรยี นรู้ 174 เทศบาลตำ� บลนาป่าแซง อำ� เภอปทุมราชวงศา จังหวดั อำ� นาจเจริญ
ประเด็น การจัดการระบบนเิ วศชุมชนและลดโลกรอ้ นโดยชมุ ชนท้องถน่ิ การจัดการป่าชมุ ชนดงคำ� เดอื ย หมบู่ ้านในเขตพ้นื ท่ี ประชากร พื้นท่ปี า่ ๓๐๓ ไร่ จ�ำนวน ๑๓ หมู่บา้ น จ�ำนวน ๘,๔๕๐ คน แหลง่ นำ�้ ๖ แหลง่ จ�ำนวน ๒,๒๒๒ ครัวเรือน หญงิ ๔,๑๘๐ คน การจดั การขยะ ๑๖๖๘ ครวั เรอื น ชาย ๔,๒๗๐ คน การจดั การน�้ำ ๑,๖๔๗ ครวั เรือน ครวั เรือนใช้สารเคมี ๒๙๒ ครวั เรือน ทนุ ทางสงั คม กลมุ่ อนรุ กั ษด์ นิ / หมอดนิ / อาสาสมคั รเกษตรประจำ� หมบู่ า้ น / องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลปา่ กอ่ / ครวั เรอื น ทำ� เกษตรอินทรีย์ / ครัวเรือนผลิตปุย๋ ใชเ้ อง ข้อมลู และเคร่อื งมือในการด�ำเนินงาน • โครงการอนรุ กั ษพ์ ันธกุ รรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ ฯ • คณะกรรมการบรหิ ารป่าชุมชนดงค�ำเดอื ยบ้านหนองแมงดา • กฎระเบียบ ขอ้ บงั คับ การใช้ประโยชนจ์ ากป่าชุมชน Key Actors: คณะกรรมการปา่ ชมุ ชนดงค�ำเดอื ยบา้ นหนองแมงดา พนื้ ที:่ องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลป่าก่อ อ�ำเภอชานุมาน จังหวัดอำ� นาจเจรญิ วทิ ยากร: นายบวั กัน บญุ ชยั ตำ� แหนง่ : ประธานกลุม่ ปา่ ชุมชนดงคำ� เดอื ยบ้านหนองแมงดา เบอร์โทรศพั ท์: ๐๘๗-๒๔๒๒๘๘๖ ความเป็นมา เนอื่ งจากปา่ ชมุ ชนดงคำ� เดอื ยบา้ นหนองแมงดา หมู่ ๓ ตำ� บลปา่ กอ่ อำ� เภอชานมุ าน จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ เป็นป่าท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยอาหารป่าที่มีตามฤดูกาล เช่น หน่อไม้ ข่า เห็ด มะกอกป่า ย่านาง ผกั เมก็ ผกั กระโดน ผกั ตวิ้ และมสี ตั วป์ ่าหลายชนดิ ทอี่ าศยั อยู่ เชน่ กระรอก กระแต บา่ ง อเี หน็ หนู กระตา่ ย และนกชนิดต่างๆ ซึ่งเป็นป่าท่ีเลี้ยงชีวิตคนในชุมชนมาตลอดระยะเวลาหลายปีจนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการ รักษาป่าชุมชนบ้านหนองแมงดาให้มีความอุดมสมบูรณ์ โดยให้ราษฎรในพื้นท่ีมีส่วนร่วมในการรักษาป่า ซง่ึ มคี วามสำ� คญั ตอ่ ความเปน็ อยขู่ องประชาชนโดยรอบพนื้ ที่ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละยง่ั ยนื คลู่ กู คหู่ ลานตอ่ ไป จึงได้มกี ารจัดต้ังกลุ่มปา่ ชุมชนดงคำ� เดือยบา้ นหนองแมงดา ขนึ้ เม่อื วนั ท่ี ๙ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๔๒ องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบลปา่ ก่อ อำ� เภอชานุมาน จังหวดั อ�ำนาจเจริญ 175
กล่มุ เป้าหมาย ๑. ประชาชนในพื้นทตี่ ำ� บลป่าก่อท้งั ๑๓ หมูบ่ า้ น ๒. นักเรยี น นกั ศึกษา ๓. บคุ คลทวั่ ไปท่สี นใจ รปู ธรรมการด�ำเนนิ งาน กลุ่มป่าชุมชนดงค�ำเดือยบ้านหนองแมงดา ได้มีการประชุมและจัดตั้งคณะกรรมการท�ำงานฝ่าย ตา่ งๆในการดแู ลรกั ษาปา่ เชน่ คณะกรรมการดแู ลรกั ษาปา่ คณะทำ� งานฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์ คณะทำ� งานฝา่ ย ป้องกัน คณะท�ำงานฝ่ายพัฒนาและฟ้ืนฟู และทีป่ รกึ ษา อีกทง้ั ยังมีระเบยี บปา่ ชุมชนทใ่ี ช้ถือปฏิบัติมาจนถึง ปัจจุบัน โดยได้มกี จิ กรรม (๑) จดั ท�ำแนวกนั ไฟ เพือ่ ป้องกนั การเกิดไฟปา่ เป็นประจำ� ทกุ ปี (๒) มีการจดั เวร ยามลาดตระเวนและเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั การลกั ลอบตดั ไมใ้ นพน้ื ทป่ี า่ ชมุ ชน (๓) การประกาศประชาสมั พนั ธแ์ ละ รณรงค์ให้ประชาชนชว่ ยกนั รกั ษาปา่ ชุมชน และ (๔) การกำ� หนดระเบียบป่าชมุ ชนวา่ ดว้ ยการดูแลรกั ษาปา่ ชมุ ชน เพ่ือเปน็ การรกั ษาเนือ้ ทปี่ ่าชุมชน ให้มคี วามอดุ มสมบรู ณ์โดยให้ราษฎรส่วนรว่ มในการรักษาป่า ซึ่งมี ความสำ� คัญต่อความเปน็ อยขู่ องประชาชนโดยรอบเพื่อให้เกดิ ประโยชน์และความยงั่ ยนื อยคู่ ลู่ ูกหลานตอ่ ไป (๕)โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริฯ ร่วมกับโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล จังหวดั อำ� นาจเจริญ ผลการด�ำเนนิ งาน จากการดำ� เนนิ งานจดั ตง้ั คณะกรรมการดแู ลปา่ ดงคำ� เดอื ย สง่ ผลใหท้ รพั ยากรปา่ ไมไ้ ดร้ บั การดแู ล รกั ษาใหค้ งอยใู่ นสภาพทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ และคนในชมุ ชนบา้ นหนองแมงดาไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ ในป่าชมุ ชนได้อย่างยัง่ ยืน เกดิ ความร่วมมอื กนั ระหวา่ งรัฐและประชาชน 176 องค์การบรหิ ารส่วนตำ� บลป่าก่อ อ�ำเภอชานมุ าน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ
ประเด็น การจัดการระบบนเิ วศชมุ ชนและลดโลกร้อนโดยชมุ ชนทอ้ งถนิ่ หมบู่ า้ นต้นแบบการจัดการขยะ พื้นทต่ี ำ� บลส�ำโรง ประชากรตำ� บลสำ� โรง ครวั เรือนจดั การขยะ ๑๐ หมู่บา้ น จ�ำนวน ๓,๐๕๕ คน ๗๕๘ ครัวเรือน จ�ำนวน ๗๕๘ ครัวเรอื น หญงิ ๑,๔๘๘ คน คดั แยกขยะรไี ซเคิล ชาย ๑,๕๖๗ คน ๗๐๘ ครวั เรือน การฝังกลบ ๕๐ ครัวเรอื น ทุนทางสงั คม กลุ่ม อสม. / ทีมสารนเิ ทศชุมชน อบต.ส�ำโรง / จิตอาสา / ผนู้ �ำทอ้ งที่ วดั ๖ แห่ง / โรงเรียนทง้ั ๓ แหง่ / ศพด. ๒ แหง่ ข้อมูลและเครื่องมือในการดำ� เนนิ งาน • ความรูเ้ รอื่ งการคดั แยกขยะจากต้นทาง ตามหลกั ๓R (Reduce Reuse Recycle) • แบบสำ� รวจขอ้ มลู ขยะชมุ ชน จดั เกบ็ ขอ้ มลู ลงในระบบ INFO ของกรมสง่ เสรมิ การปกครองสว่ น ทอ้ งถ่นิ เพอ่ื น�ำขอ้ มูลทไี่ ด้มาใช้ประโยชน์ในการด�ำเนนิ งานและวางแผนงานลำ� ดับต่อไป • ระบบขอ้ มลู ต�ำบล (TCNAP) Key Actors : องคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบลส�ำโรง พื้นท่ี: องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลสำ� โรง อำ� เภอปักธงชัย จงั หวดั นครราชสีมา วิทยากร: นายประเทอื ง ภักเกษม ตำ� แหนง่ : นายกองคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลส�ำโรง เบอรโ์ ทรศพั ท:์ ๐๘๙-๗๑๖๘๓๐๓ ความเป็นมา สถานะขอ้ มลู ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม จากระบบขอ้ มลู ตำ� บล (TCNAP) ปี พ.ศ.๒๕๖๐ พบปญั หาการกำ� จดั ขยะโดยไม่ถูกวิธี ได้แก่ การน�ำไปเผา ร้อยละ ๙๓.๖๓ องค์การบริหารส่วนต�ำบลส�ำโรงจึงได้จัดโครงการ “ส�ำโรงสะอาดตา นา่ อยู่ ไร้โรคตดิ ต่อ” เกดิ ขึน้ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๖๐ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื มุ่งเนน้ การลดและ คัดแยกขยะมูลฝอย ณ แหล่งก�ำเนิด ด้วยการคัดแยกขยะจากต้นทางและจัดทำ� ระบบการเก็บและขนขยะ มลู ฝอยขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ภายใตห้ ลกั การ ๓Rs และหลกั การประชารฐั เพอื่ เป็นการสนองนโยบายของรัฐบาลตามแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวดั สะอาด” องคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลส�ำโรง อ�ำเภอปักธงชัย จงั หวัดนครราชสมี า 177
กลมุ่ เป้าหมาย ๑. ครวั เรอื นในเขตพ้นื ที่ต�ำบลสำ� โรงจ�ำนวน ๗๕๘ ครวั เรือน ๒. หมูบ่ า้ นในเขตพนื้ ท่ตี ำ� บลส�ำโรงจำ� นวน ๑๐ หมู่บา้ น รปู ธรรมการดำ� เนินงาน ๑. ดำ� เนนิ การรณรงคใ์ หค้ ดั แยกขยะจากตน้ ทางท้งั ๑๐ หมูบ่ ้าน ๒. จดั เก็บขอ้ มลู ขยะมลู ฝอยชมุ ชนลงในระบบ INFO ของกรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เพ่อื นำ� ข้อมลู ท่ไี ด้มาใชป้ ระโยชน์ในการดำ� เนินงานและวางแผนงานล�ำดบั ต่อไป ๓. การทำ� MOU โครงการปลี ะคร้ังอยา่ งต่อเนื่อง ๔. การประกวดหมู่บ้านตน้ แบบการบรหิ ารจดั การขยะในระดับต�ำบลเป็นประจำ� ทกุ ปี ส่งผลให้ บา้ นขุนละคร หมู่ที่ ๒ ได้รับรางวลั ท่ี ๑ ในการประกวดหม่บู า้ นต้นแบบการจัดการขยะในระดับตำ� บล และ ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ อบั ดบั ท่ี ๒ ในระดบั อำ� เภอ จากการประกวดหมบู่ า้ นตน้ แบบการจดั การขยะ อำ� เภอ ปักธงชัย จงั หวดั นครราชสีมา ผลการด�ำเนนิ งาน ๑. เกดิ การเปลยี่ นแปลงในดา้ นความคดิ จากเมอ่ื กอ่ นเวลาขายขยะกจ็ ะขายรวมไมม่ กี ารคดั แยก ขยะทำ� ใหไ้ ดร้ าคาคอ่ นขา้ งตำ่� ภายหลงั จากดำ� เนนิ กจิ กรรมแลว้ ประชาชนกห็ นั มาคดั แยกขยะกอ่ นขายทำ� ให้ ขายขยะได้ในราคาทสี่ งู ขึ้น ๒. สรา้ งรายไดใ้ ห้เกิดขึ้นในชุมชน ๓. ลดปัญหาการเกดิ โรคติดต่อทีม่ าจากขยะ และปญั หาสิง่ แวดล้อมในชมุ ชน ๔. เกิดการสรา้ งจิตสำ� นึกทด่ี ีให้แกค่ นในชมุ ชนต่อไป 178 องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลสำ� โรง อำ� เภอปกั ธงชัย จังหวดั นครราชสมี า
ประเด็น การจดั การระบบนิเวศชุมชนและลดโลกร้อนโดยชมุ ชนท้องถิ่น ธนาคารขยะออมบญุ คุ้มครองชีวติ ลดปัญหาสิง่ แวดล้อม หมบู่ า้ นท่ดี �ำเนินการ ประชากร การจัดการสง่ิ แวดล้อม จำ� นวน ๖ หม่บู า้ น จ�ำนวน ๔,๖๘๓ คน ปรมิ าณขยะ ๔ ตนั ต่อเดอื น หญิง ๒,๓๒๔ คน จำ� นวน ๙๘๑ ครัวเรอื น ชาย ๒,๓๔๙ คน ครวั เรอื นจดั การขยะ ๓๘๗ ครัวเรือน ทุนทางสงั คม ผู้น�ำชุมชน ผู้น�ำท้องถ่ิน อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) ผู้สูงอายุ เทศบาลต�ำบลโนนสูง ผู้ประกอบการรับซ้ือขยะในชุมชน โรงเรียนทั้ง ๓ แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลหนองบัว และ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำ� บลกันตรวจ ข้อมูลและเครือ่ งมอื ในการดำ� เนนิ งาน • แบบส�ำรวจและบนั ทึกขอ้ มูลและการจดั การขยะของชุมชนธนาคารขยะ • แนวทางการจัดการขยะ โดยจดั ต้ังธนาคารขยะ และการรักษาความสะอาดแบบ ๕ส. Key Actors: เทศบาลตำ� บลโนนสงู พื้นที่: ๖ หม่บู ้าน ในพน้ื ทเี่ ทศบาลตำ� บลโนนสงู อำ� เภอขนุ หาญ จงั หวัดศรสี ะเกษ วิทยากร: นางยพุ า พิมมาศ ตำ� แหน่ง: ปลดั เทศบาลต�ำบลโนนสงู เบอรโ์ ทรศัพท์: ๐๙๑-๘๓๑-๘๖๗๘ ความเป็นมา ในปีท่ีผ่านมาเทศบาลต�ำบลโนนสูงมีปริมาณขยะ ๕๐ ตัน เฉลี่ย ๔.๑ ตันต่อเดือน ส�ำหรับการ จัดการขยะในครวั เรอื นนั้น พบว่า ประชาชนส่วนใหญม่ วี ิธีการจัดการขยะโดย คัดแยกขยะจากต้นทางขยะ รไี ชเคลิ น�ำมาขาย วัสดเุ หลอื ใช้นำ� มาสรา้ งอาชพี เช่นผลิตกระเป๋าจากซองกาแฟ ขยะเปียกนำ� มาท�ำปุ๋ยหมัก แตก่ ย็ งั มคี รวั เรอื นทม่ี ปี ญั หาการจดั การขยะ จำ� นวน๑๔๖ ครวั เรอื น และจากการขบั เคลอื่ นนโยบายสาธารณะ ของเทศบาลต�ำบลโนนสูง และนโยบายของจังหวัดศรีสะเกษที่ต้องการให้จังหวัดปลอดขยะ ได้ด�ำเนินการ อบรมใหค้ วามรแู้ กช่ มุ ชนไดต้ ระหนกั ถงึ ปญั หาของขยะและใหร้ จู้ กั การบรหิ ารจดั การขยะดว้ ยตนเองมาอยา่ ง ตอ่ เน่ืองต้งั แต่ ปีพศ. ๒๕๕๖ ซึ่งและได้น�ำผู้นำ� ชมุ ชนไปแลกเปลีย่ นเรียนรนู้ อกพื้นทจ่ี นเกิดหมู่บา้ นต้นแบบ ในการจดั ตงั้ กองทนุ ขยะออมบญุ เพอื่ สรา้ งสวสั ดกิ ารชว่ ยเหลอื กนั เองในชมุ ชนทบี่ า้ นกระเบา หมทู่ ี่ ๔ เทศบาล ตำ� บลโนนสงู จงึ ไดต้ อ่ ยอดเกดิ เปน็ นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การขยะแบบมสี ว่ นรว่ ม ขยายผลเปน็ ธนาคารขยะ มีสมาชกิ ครอบคลุมทง้ั ๖ หมบู่ า้ นเม่ือเดอื นพฤษภาคม ๒๕๖๑ มีการประชมุ ช้ีแจง และจัดต้ังคณะกรรมการ ๑ คณะ และมกี ารเปิดทำ� การครัง้ แรกเมอื่ เดือนมถิ นุ ายน ๒๕๖๑ เทศบาลตำ� บลโนนสูง อ�ำเภอขุนหาญ จังหวดั ศรสี ะเกษ 179
กล่มุ เป้าหมาย ประชาชนทส่ี นใจเขา้ ร่วมโครงการ หมู่ที่ ๓-๘ ในเขตเทศบาลต�ำบลโนนสงู รับสมัครทกุ ครวั เรอื น โดยมีเทศบาลต�ำบลโนนสูงเป็นผู้ด�ำเนินโครงการ ตัวแทนจากผู้น�ำท้องถ่ิน รพสต.หนอบัว รพสต.กันตรวจ ร.ร.บา้ นกระเบา,กระเจา,หนองบัว ร่วมเป็นคณะกรรมการท�ำงาน รปู ธรรมการด�ำเนินงาน ประชุมช้ีแจงสร้างความรู้ความเข้าใจกับคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ และแต่งต้ังคณะ กรรมการโดยมที กุ ภาครี ว่ มทกุ ภาคสว่ นในเขตเทศบาลตำ� บลโนนสงู รวม ๓๘ คน จากนนั้ เปดิ รบั สมคั รสมาชกิ เมือ่ เดือน พฤษภาคม ๒๕๖๑ ปัจจบุ ันมสี มาชิก ๕๘๗ ครวั เรือน สมาชิกในครัวเรือนได้รับความคมุ้ ครองเมอ่ื มเี งนิ ฝากจากการขายขยะครบ ๖ เดือน และจะได้รบั สวสั ดกิ ารกรณเี สยี ชวี ิตครอบครวั ละ ๒๐ บาทตอ่ ศพ ทุก ๆเดอื นจะมีพ่อค้าในชุมชนออกมารบั ซอ้ื ขยะจากสมาชิก ณ ศาลาประชาคมเดือนละ ๑ คร้งั และมคี ณะ กรรมการธนาคารขยะมารับฝากเงนิ จากการขายขยะ ณ จุดรบั ซื้อเพ่อื อำ� นวยความสะดวกใหก้ ับสมาชกิ ผลการด�ำเนินงาน เกิดธนาคารขยะ ๑ แห่ง มีสมาชิก ๓๘๗ ครวั เรือน มีเงินฝาก ๗,๑๘๕๐.๔๔ บาท ลดแหล่งเพาะ พันธเ์ ชือ้ โรค ส่งผลให้ชมุ ชนสะอาดน่าอยู่ มีกิจกรรม big cleaning day (อ.อาสาสรา้ งเมอื ง) ประชาชนมี สวสั ดกิ ารทเ่ี กดิ จากการชว่ ยเหลอื กนั เอง สวสั ดกิ ารนย้ี งั เออ้ื ไปยงั ทายาทของสมาชกิ ซง่ึ จะไดร้ บั เงนิ ชว่ ยเหลอื จำ� นวน ๒๐ บาทต่อสมาชกิ ๑ ครวั เรือน 180 เทศบาลต�ำบลโนนสงู อำ� เภอขุนหาญ จงั หวดั ศรีสะเกษ
ประเดน็ การจัดการระบบนิเวศชมุ ชนและลดโลกรอ้ นโดยชมุ ชนทอ้ งถ่นิ การจดั การขยะตน้ ทาง ๑๐ หมู่บ้าน ประชากร ปรมิ าณขยะ/ ๑,๘๑๐ ครัวเรอื น ๕,๘๗๖ คน หญงิ ๒,๙๐๕ คน ปี ๓๒.๘๐๘ ตัน ชาย ๒,๙๗๑ คน ขยะเปยี ก ๑๓.๓๒ ตัน/ปี ขยะรีไซเคิล ๖.๖๖ ตัน/ปี ขยะอนั ตราย ๐.๒๔ ตัน/ปี ขยะท่วั ไป ๗.๔๔ ตัน/ปี ทุนทางสงั คม เทศบาลต�ำบลนาป่าแซง ผูท้ ้องท่ี ๑๐ หมู่บ้าน รพ.สต.นาป่าแซง โรงเรยี น ๕ แหง่ ในตำ� บลนาป่าแซง กล่มุ อนรุ ักษด์ นิ หมอดนิ หมบู่ ้านต้นแบบการจัดการขยะ ม.๒ ม.๙ วัดอุดรมงคล ข้อมลู และเครอ่ื งมอื ในการดำ� เนินงาน • บันทึกข้อตกลง (MOU) ๑๐ หมบู่ า้ น และประกาศเปน็ นโยบายหมูบ่ ้านไรถ้ ังขยะ • ธรรมนญู สุขภาวะชุมชนตำ� บลนาป่าแซง • ระบบข้อมลู ต�ำบล (TCNAP) และระบบรายงานการจัดการขอ้ มลู ขยะมูลฝอย (มฝ๒) Key Actors: เทศบาลต�ำบลนาปา่ แซง อำ� เภอปทุมราชวงศา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ พนื้ ท่:ี เทศบาลตำ� บลนาปา่ แซง อำ� เภอปทมุ ราชวงศา จงั หวดั อ�ำนาจเจริญ วทิ ยากร: จา่ เอกธนภัทร ปะตะสังค์ เทศบาลต�ำบลนาปา่ แซง ตำ� แหน่ง: นกั บรหิ ารงานทวั่ ไป ระดับต้น เบอรโ์ ทรศัพท:์ ๑๘๑-๓๘๙๗๔๖๔ ความเป็นมา จากระบบรายงานการจัดการข้อมูลขยะมูลฝอย (มฝ๒) ปี ๒๕๖๐ พบว่า ครัวเรือนท่ีประสบ ปญั หาด้านการจดั การขยะจำ� นวน ๑๙๐ ครวั เรือน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐.๔๙ ของครวั เรือนทัง้ หมด โดยพบว่า หม่บู า้ นทป่ี ระสบปัญหา ๓ อันดับคือ (๑) บ้านโคกเจรญิ หม่ทู ่ี ๙ จำ� นวน ๗๒ ครัวเรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ ๔๗.๐๕ (๒) บ้านสามัคคี หมู่ ๒ จำ� นวน ๖๗ ครัวเรอื น คดิ เปน็ ร้อยละ ๔๔.๓๗ (๓) บา้ นโคกพระ หมู่ ๓ จ�ำนวน ๕๑ ครัวเรอื น คดิ เป็นร้อยละ ๑๙.๒๔ เทศบาลตำ� บลนาปา่ แซงจึงได้ขับเคลอ่ื นตามนโยบายภาครฐั โดยใชพ้ ้นื ทที่ ่ปี ระสบปัญหาทง้ั ๓ หมู่ เปน็ หมบู่ า้ นตน้ แบบการจดั การขยะและร่วมบันทกึ ลงนามความร่วม มอื (MOU) กบั ผู้น�ำทอ้ งที่ ๑๐ หม่ ู สถานศกึ ษา หน่วยงานในพ้ืนท่ี รว่ มกนั ตง้ั กฎ กติกา และประกาศเปน็ นโยบายสาธารณะขับการจัดการขยะต้นทาง โดยท้ัง ๓ หมบู่ ้าน ไดร้ บั งบประมาณสนบั สนุนในการดำ� เนนิ กจิ กรรม หมู่ ๙ ไดร้ ับงบประมาณ สนับสนุนจากกองทนุ สง่ิ แวดล้อม จำ� นวน ๔๐๐,๐๐๐ บาท หมู่ ๒ ไดร้ ับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุน หลกั ประกนั สขุ ภาพตำ� บลนาปา่ แซง จ�ำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท และ หมู่ ๓ ไดร้ ับงบประมาณสนับสนุนจากงบ ประมาณเทศบัญญัติ จ�ำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท เทศบาลตำ� บลนาป่าแซง อ�ำเภอปทมุ ราชวงศา จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ 181
กลุม่ เป้าหมาย ๑. ครัวเรอื นต้นแบบการจัดการขยะ ม.๙ บ้านโคกเจริญ จำ� นวน ๑๕๓ ครวั เรือน ๒. ครัวเรอื นต้นแบบการจดั การขยะ ม.๒ บา้ นสามคั คี จำ� นวน ๑๕๑ ครวั เรอื น ๓. ขยายผลครวั เรอื นต้นแบบการจดั การขยะ จำ� นวน ๘ หมู่บ้าน ๑,๕๐๖ ครัวเรอื น รปู ธรรมการด�ำเนินงาน ๑. เทศบาลตำ� บลนาปา่ แซง ทำ� บนั ทกึ ขอ้ ตกลงรว่ มมอื กนั (MOU) รว่ มกบั กำ� นนั ตำ� บลนาปา่ แซง ผู้ใหญ่บา้ นทงั้ ๑๐ หมูบ่ า้ น โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำ� บลนาป่าแซง วัด โรงเรยี นในเขตพ้นื ทีต่ ำ� บลนาปา่ แซงท้ัง ๕ แห่ง และองค์กรเอกชนในตำ� บลนาปา่ แซงรว่ มประกาศเป็นนโยบายขบั เคลอ่ื นระดบั จงั หวดั ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการขยะต้นทางทุกหมู่บ้าน เพ่ือเป็นผู้น�ำการขับเคล่ือนการจัดการ ขยะต้นทาง ๓. ใช้งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพต�ำบลนาป่าแซงจัดโครงการบ้านน่าอยู่ น่าดู น่า มอง ขับเคล่ือนในระดบั ครัวเรอื น สร้างครอบครวั ต้นแบบ ๔. จดั อบรมการบรหิ ารจัดการขยะในระดบั ครัวเรอื น ตวั แทนครัวเรอื นเขา้ ร่วมอบรม จ�ำนวน ๑๕๓ ครัวเรอื น ใหค้ วามรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแยกประเภทของขยะให้ถกู ต้องในแตล่ ะครัวเรอื น ผลการด�ำเนินงาน ๑. เกดิ ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารจดั การขยะตน้ ทาง หมู่ ๙ บา้ นโคกเจรญิ รบั ซอื้ ขยะทกุ วนั ที่ ๒๐ ของเดอื น และมีธนาคารขยะเพื่อออมเงิน ปจั จบุ ันมสี มาชกิ ท้งั หมด ๑๔๓ ครัวเรือน จาการขายขยะ จำ� นวน ๕ คร้งั ทางธนาคารขยะมีเงนิ เกบ็ จากการขายขยะ จำ� นวน ๑๒,๑๑๐ บาท ๒. เกดิ กลมุ่ จดั การขยะทต่ี น้ ทางและมกี ารรบั ซอ้ื ขยะจากชมุ ชน เพมิ่ ๑ หมบู่ า้ น คอื หมทู่ ี่ ๒ บา้ น สามคั คี จ�ำนวน ๑๕๑ ครัวเรอื น จากการขายขยะ จำ� นวน ๓ ครัง้ ธนาคารขยะมีเงนิ เกบ็ ๕,๒๑๐ บาท ๓. เกิดครอบครัวตน้ แบบการจดั การขยะจ�ำนวน ๓๐๔ ครัวเรือน 182 เทศบาลต�ำบลนาป่าแซง อำ� เภอปทมุ ราชวงศา จังหวดั อ�ำนาจเจริญ
ประเดน็ สร้างภูมิคมุ้ นิเวศ ธนาคารขยะ หม่บู า้ นทีด่ ำ� เนินการ นกั เรียน ปรมิ าณขยะ จำ� นวน ๔ หม่บู ้าน จ�ำนวน ๑๖๗ คน ๑๔๐ กโิ ลกรมั ตอ่ เดอื น หญิง ๘๑ คน ชาย ๘๖ คน ทุนทางสังคม คณะกรรมการสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านโนนดู่ ค์ ข้อมูลและเคร่ืองมอื ในการด�ำเนนิ งาน • ขอ้ มลู ปรมิ าณขยะโรงเรยี นบา้ นโนนดู่ • ระเบียบหลกั เกณฑก์ ารจดั ตั้งธนาคารขยะ Key Actors: คณะครูโรงเรียนบ้านโนนดู่ พื้นท:ี่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบลสำ� โรงตาเจ็น อำ� เภอขขุ นั ธ์ จังหวดั ศรีสะเกษ วิทยากร: นางพยอม แก่นอาสา ต�ำแหนง่ : ครูชำ� นาญการพิเศษ เบอรโ์ ทรศัพท์: ๐๘๗๒๖๐๔๕๖๐ ความเป็นมา โรงเรยี นบา้ นโนนดู่ มจี ำ� นวนนกั เรยี น จำ� นวน ๑๖๗ คน มปี รมิ าณขยะทเี่ กดิ ขน้ึ ในโรงเรยี น ประมาณ ๑๔๐ กโิ ลกรมั ตอ่ เดอื น โดยเกดิ ขน้ึ จากการบรโิ ภคขนม การทำ� กจิ กรรมการเรยี นการสอน ของครแู ละนกั เรยี น และไมม่ ีการคัดแยกขยะ ทำ� ใหป้ รมิ าณขยะทตี่ อ้ งนำ� ไปก�ำจัดมีปรมิ าณมากขึ้น ส่งผลต่อสภาพแวดล้อมใน โรงเรยี น มกี ลน่ิ เนา่ เหมน็ โรงเรยี นสกปรก เปน็ แหลง่ เพาะพนั ธเ์ุ ชอ้ื โรค สามารถสง่ ผลเสยี ทงั้ ทางรา่ งกายและ จติ ใจ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ จงึ ไดจ้ ดั ตงั้ จดั ทำ� ธนาคารขยะในโรงเรยี นบา้ นโนนดู่ เพอื่ เปน็ การปลกุ จติ สำ� นกึ ใหก้ บั นกั เรยี น ไดต้ ระหนกั และเหน็ ถงึ ความสำ� คญั การเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปญั หาขยะ ในปี ๒๕๖๐ องคก์ าร บรหิ ารสว่ นตำ� บลสำ� โรงตาเจน็ ไดเ้ ขา้ มาสนบั สนนุ งบประมาณ เพอื่ จดั อบรมใหน้ กั เรยี นและบคุ ลากรทางการ ศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นโนนดเู่ พอ่ื รจู้ กั การคดั แยกขยะและสรา้ งจติ สำ� นกึ ในการจดั การขยะและรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ในโรงเรยี น องค์การบริหารสว่ นตำ� บลสำ� โรงตาเจน็ อำ� เภอขุขนั ธ์ จังหวัดศรีสะเกษ 183
กลมุ่ เปา้ หมาย ครวั เรือนของเดก็ นักเรียนโรงเรยี นบา้ นโนนดู่ จ�ำนวน ๑๖๗ ครวั เรือน รปู ธรรมการด�ำเนินงาน ๑) การอบรมเพอื่ ใหค้ วามรแู้ กเ่ ดก็ เกย่ี วกบั การจดั การขยะและการบรหิ ารจดั การโครงการธนาคาร ขยะ ๒) การแต่งต้งั คณะกรรมการเพอื่ บริหารจดั การ ๓) การพัฒนาสภาพแวดล้อมในโรงเรียนใหถ้ กู สุขลกั ษณะนา่ อยู่ ๔) มีการน�ำเอาขยะได้จากการคัดแยกมาเปล่ียนเป็นคะแนนโดยมีเกณฑ์ในการให้คะแนนตาม จำ� นวนขยะที่เดก็ นักเรยี นน�ำมาเขา้ กองทนุ ธนาคารขยะ ๕) การน�ำองค์ความรู้ในการคัดแยกขยะไปใช้ในครอบครัวและชุมชนโดยการรณรงค์ประชาชน ให้ครัวเรอื นของนักเรยี นเข้ารว่ มโครงการ ผลการด�ำเนนิ งาน ๑) ปรมิ าณขยะในโรงเรยี นลดลง สภาพแวดลอ้ มนา่ อย่แู ละถกู สุขลักษณะเพิม่ มากข้นึ ๒) เด็กนกั เรียนมีวนิ ยั ในการออม ๓) เดก็ มวี นิ ยั ในการจดั การขยะไดถ้ กู วธิ ี สามารถประดษิ ฐส์ ง่ิ ของและใชเ้ ปน็ สอ่ื การเรยี นการสอนได้ ๔) ผปู้ กครองและนักเรยี นรู้จักวิธีการคัดแยกขยะ 184 องค์การบรหิ ารส่วนตำ� บลสำ� โรงตาเจ็น อ�ำเภอขขุ ันธ์ จงั หวัดศรีสะเกษ
ประเดน็ การจัดการระบบนิเวศชุมชนและลดโลกร้อนโดยชมุ ชนทอ้ งถน่ิ หมู่บ้านจัดการตนเอง ประชาร่วมใจใสใ่ จความสะอาด จำ� นวน ๑ หม่บู ้าน ประชากร ถนนในหม่บู า้ น บ้านยางนอ้ ย หมู่ ๑๓ จ�ำนวน ๒๘๖ คน ๗๘ ครัวเรือน หญงิ ๑๕๕ คน ๔ สาย รางระบายน�ำ้ ๑๐ ราง ชาย ๑๓๑ คน ถังขยะ ๑ จดุ (ไมม่ ถี ังขยะหน้าบา้ น) ทนุ ทางสังคม กล่มุ เยาวชนจติ อาสา, กลุ่มประชาร่วมใจ, คณะกรรมการหมูบ่ า้ น, กองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพระดับต�ำบลศรีณรงค์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดบั ตำ� บลศรณี รงค์ ขอ้ มลู และเคร่ืองมือในการด�ำเนนิ งาน • ข้อมลู TCNAP และ RECAP • แผนพฒั นาหมบู่ า้ น และ แผนพัฒนาต�ำบล Key Actors: คณะกรรมการหมู่บ้าน พื้นท่ี: องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลศรณี รงค์ อ�ำเภอชุมพลบรุ ี จังหวัดสุรินทร์ วิทยากร: นายบญุ ศรี คอนเพชร ต�ำแหน่ง: ผู้ใหญบ่ ้าน เบอร์โทรศัพท:์ ๐๘๙๘๖๕๒๗๒๙ ความเปน็ มา บ้านยางน้อยแยกตัวออกจากบ้านส�ำโรงหมู่ท่ี ๑๐ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๐ บ้านยางน้อยเป็นหมู่บ้าน ขนาดเลก็ ทสี่ ุดในตำ� บล จำ� นวน ๗๘ ครัวเรอื น มีจำ� นวนประชากรทัง้ หมด ๒๘๖ คน แยกเป็นชาย ๑๓๑ คน หญิง ๑๕๕ คน โดยบ้านยางน้อยเติบโตด้วยพื้นฐานการมีส่วนร่วม ขับเคล่ือนด้วยพลังของการรวมกลุ่ม ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน โดยท่ีมีการประชุมประชาคมหมู่บ้านทุก เดอื น สดั สว่ นในการเขา้ รว่ มสงู ถงึ รอ้ ยละ๘๐ กจิ กรรมทงั้ หมดลว้ นตงั้ ไขค่ วามคดิ จากเวทแี หง่ น้ี รวมถงึ ปญั หา ทกุ อยา่ ง หรอื ขอ้ พพิ าททช่ี วนใหข้ นุ่ ขอ้ งหมองใจ ทงั้ หมดลว้ นไดร้ บั การแกไ้ ข โดยผา่ นคณะกรรมการหมบู่ า้ น ที่ช่วยไกล่เกลี่ยประนีประนอม นอกจากนี้ยังให้ความส�ำคัญในการจัดการตนเองในเรื่องของความสะอาด ภายในชุมชน และในปี ๒๕๕๓ กองทุนหลักประกันสุขภาพได้สนับสนุนงบประมาณเพื่อมาพัฒนาหมู่บ้าน โดยได้งบประมาณมาด�ำเนินกินกรรมในเรื่องของการท�ำความสะอาดอีกท้ังได้มีกลุ่มเยาวชนจิตอาสาที่มีใจ รกั ในชมุ ชนมารวมตวั กนั เพ่ือเกบ็ ขยะในทุกวันอาทิตย์ ซ่งึ เปน็ การสร้างจิตสำ� นึกท่ดี ีต่อสังคม องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลศรณี รงค์ อ�ำเภอชุมพลบรุ ี จังหวัดสรุ นิ ทร์ 185
กลุ่มเปา้ หมาย ประชาชนในบา้ นยางน้อย ๗๘ ครัวเรอื น จำ� นวนประชากร ๒๘๖ คน รปู ธรรมการดำ� เนินงาน ๑. มกี ารประชมุ ประชาคมหมบู่ า้ นเพอ่ื ระดมความคดิ และหาแนวทางในการพฒั นาชมุ ชนใหเ้ ปน็ ชุมชนท่ีมกี ารจัดการตนเอง ดา้ นความสะอาดโดยมีการจัดกิจกรรม ทุกๆ ๓ เดอื นคร้งั โดยท�ำความสะอาด ตัดหญ้า ลอกคลองระบายนำ้� ในหมูบ่ ้านปรบั ภมู ิทัศน์สภาพแวดลอ้ มในชมุ ชน ๒. แต่งต้ังคณะกรรมหมู่บ้านและการจัดระบบและใช้ข้อมูลของชุมชนด้านต่าง ๆ เช่น ด้าน สง่ิ แวดลอ้ ม ดา้ นความสงบเรยี บรอ้ ย ดา้ นการเกษตร ดา้ นวฒั นธรรม ดา้ นสงั คม ดา้ นการศกึ ษา ดา้ นการคมนาคม เพ่อื หาสาเหตขุ องปัญหา สิง่ ทช่ี ุมชนอยากให้เกิดข้นึ และเป้าหมายท่ตี ้องการ ๓. มีกระบวนการวางแผนของชุมชน ด้านกิจกรรมและโครงการในการพัฒนาหมู่บ้าน ๔. มกี ารนำ� แผนพฒั นาชมุ ชนไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ดว้ ยการดำ� เนนิ กจิ กรรม /โครงการตามแผนชมุ ชน ท่ีก�ำหนดไว้ ๕. มีการติดตามและประเมินผลใหเ้ ปน็ ไปตามแผนงานของชุมชน ๖. สร้างกล่มุ เยาวชนจติ อาสารว่ มทำ� กิจกรรมโดยการเกบ็ ขยะในชมุ ชนทกั วนั อาทิตย์ ๗. ชมุ ชนมีการสนับสนนุ เพื่อเป็นค่าใชจ้ ่ายในการพฒั นาหมู่บา้ น ผลการด�ำเนินงาน ๑. เกิดการมสี ่วนร่วมของคนในชมุ ชน ๒. สร้างความสามคั คี ปลูกจติ สำ� นกึ และสรา้ งจิตอาสาของคนในชุมชน ๓. ชุมชนมีความช่วยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ขนึ้ ในชุมชน ๔. เป็นหมู่บ้านต้นแบบในเรือ่ งของการบรหิ ารจัดการตนเอง ๕. เกิดการพัฒนาทงั้ ทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพและทรพั ยากรส่งิ แวดล้อม ๖. เยาวชนจิตอาสามสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจดั การชมุ ชน ๗. ผนู้ �ำ/กลมุ่ องคก์ รในชมุ ชนมีศกั ยภาพ ๘. ชมุ ชนมีความซอ่ื สตั ย์ ไวว้ างใจซ่งึ กนั ในการด�ำเนินงานของหมบู่ า้ นจดั การตนเองโดยใชห้ ลกั คณุ ธรรม ๕ประการมาใช้ในการบริการจัดการ ซ่ึงไดแ้ ก่ ซอ่ื สัตย์ เสยี สละ มีความรับผิดชอบ มีความเหน็ อกเหน็ ใจ มคี วามไว้วางใจกนั ๙. เปน็ แหล่งเรียนรูแ้ ละศึกษาดงู านของผู้สนใจทงั้ ในและนอกพื้นท่ี 186 องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลศรณี รงค์ อำ� เภอชมุ พลบรุ ี จงั หวัดสรุ ินทร์
ประเดน็ การจดั การระบบนิเวศชุมชนและลดโลกรอ้ นโดยชมุ ชนทอ้ งถิน่ ธนาคารขยะรีไซเคลิ หมบู่ า้ นในเขตบรกิ าร ประชากร ครวั เรอื นสมาชกิ จำ� นวน ๓ หมู่บ้าน จ�ำนวน ๔,๒๙๐ คน จ�ำนวน ๙๐ ครวั เรอื น หมู่ ๓ หมู่ ๒ หมู่ ๑๑ หญิง ๒,๐๗๖ คน สมาชิกท้ังหมด ๙๑ คน ชาย ๒,๒๓๓ คน ชาย ๑๘ คน หญิง ๗๓ คน สมาชิกทเ่ี ป็นผูส้ ูงอายุ ๓๐ คน ทุนทางสงั คม ชุมชนหนองสิมสามัคคี, ชุมชนแสนสมบูรณ์,ชุมชนบึงนคร,เทศบาลต�ำบลสนม, ส�ำนักงานสิ่ง แวดลอ้ มจังหวดั สรุ ินทร์,โรงพยาบาลสนม,ชมรมผสู้ งู อายสุ ิริมงคล ข้อมลู และเครอื่ งมือในการด�ำเนนิ งาน • ข้อมลู พ้นื ฐานชมุ ชน (TCNAP) • ข้อมลู ทุนและศักยภาพแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน (RECAP) • ขอ้ มูลสำ� รวจปริมาณขยะเทศบาลตำ� บลสนม • ข้อมูลชมุ ชนนา่ อยอู่ ำ� เภอสนม Key Actors : ธนาคารขยะรโี ซเคิลชุมชนหนองสิมสามคั คี พนื้ ท่ี: เทศบาลตำ� บลสนม อ�ำเภอสนม จังหวัดสรุ นิ ทร์ วิทยากร: นางขวัญใจ ขมุ ทรพั ย์ ตำ� แหน่ง: ประธานธนาคารขยะ รีไซเคิล เบอร์โทรศพั ท:์ ๐๙๘-๑๕๘-๗๔๘๔ ความเป็นมา ปัญหาขยะเปน็ อกี ปญั หาหนง่ึ มที ้ังขยะอันตราย ขยะท่ีนำ� กลับมาใชใ้ หม่ และแปรสภาพประดษิ ฐ์ ศิลปะงานหัตกรรมต่างๆได้และน�ำมาคัดแยกเพ่ือจ�ำหน่าย เป็นการสร้างอาชีพก่อให้เกิดรายได้อีกทางหน่ึง ของคนในชุมชน ปจั จุบันชุมชนหนองสิม ถงึ แม้ไมม่ ีปัญหาด้านการจัดการขยะแต่ปริมาณขยะที่ต้องจัดเก็บ โดยเทศบาลยงั มอี ยู่ เทศบาลตำ� บลสนมจงึ ไดจ้ ดั เวทปี ระชาคมเพอื่ หาทางออกโดยกำ� หนดแนวทางใหม้ ชี มุ ชน ต้นแบบในเรื่องการจัดการขยะต้นทาง และประสานหน่วยงานสิ่งแวดล้อมจังหวัดสุรินทร์ ที่มีความรู้ความ ชำ� นาญเฉพาะเรอ่ื ง มาช่วยประชาสมั พันธ์ท�ำความเข้าใจ ชมุ ชนหนองสิมสามัคคี หม่ทู ี่ ๓ บา้ นสนม จึงรับ อาสาเป็นชมุ ชนตน้ แบบต้ังแตร่ ะดบั ครัวเรอื น และต่อยอดการจดั ตั้งธนาคารขยะรไี ซเคิล โดยเริม่ กอ่ ต้ังเมือ่ กลางปี ๒๕๕๙ จากกล่มุ อาสาสมัครสาธารณสุขชมุ ชน (อสม.) จำ� นวน ๑๐ คนเขา้ รับการอบรม และเร่ิม การดำ� เนนิ การรบั สมคั รสมาชกิ จากคนในชมุ ชนเพอื่ เขา้ รว่ มโครงการ สรา้ งขอ้ ตกลงในการเขา้ เปน็ สมาชกิ คอื การลงหนุ้ คนละ๕๐-๑๐๐ บาท ปจั จบุ นั มคี รวั เรอื นเขา้ รว่ มโครงการคดิ เปน็ ๑๐๐% นอกจากนย้ี งั รบั สมาชกิ ครวั เรือนทีเ่ ข้ารว่ มโครงการจากหมทู่ ี่ ๒ และหมูท่ ี่ ๑๑ จำ� นวน ๙๐ ครวั เรือน เทศบาลต�ำบลสนม อ�ำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ 187
กลมุ่ เปา้ หมาย กลมุ่ ประชาชนชมุ ชนหนองสมิ สามคั คีชมุ ชนแสนมสมบรู ณ์ชมุ ชนบงึ นครจำ� นวน๙๑คน๙๐ครวั เรอื น รูปธรรมการดำ� เนินงาน ๑. การณรงค์การคัดแยกขยะคัดตั้งแต่ต้นทางโดยเร่ิมจากครัวเรือน และมีการอบรมให้ความรู้ ด้านการคดั แยกขยะ เชน่ ขยะเปียก ขยะท่ัวไป ขยะรไี ชเคลิ และขยะอนั ตราย ๒. แกนน�ำของกลุ่มสมาชิกได้จัดด�ำเนินการจัดตั้งธนาคารรับซ้ือขยะในราคาท่ีอ้างอิงตามท้อง ตลาด โดยก�ำหนดการรับซ้ือขยะทุกวนั เสารข์ องต้นเดอื น ๓. การสง่ เสรมิ การออมโดยกำ� หนดใหส้ มาชกิ นำ� เงนิ ทไี่ ดจ้ ากการขายขยะมาฝาก ปจั จบุ นั สมาชกิ มยี อดเงินฝากจากการขายขยะเฉลีย่ ประมาณ คนละ ๕๐๐-๑,๐๐๐ บาทตอ่ เดือน สมาชิกสามารถถอนได้ ถ้ามีความจ�ำเปน็ นอกจากนี้ยงั จะได้รบั เงนิ ปันผลเม่อื ครบรอบปี ปจั จบุ นั มียอดเงนิ กองทุนจากขยะจำ� นวน ๒๒,๙๘๑ บาท ๔. การนำ� ขยะมาประดษิ ฐเ์ ปน็ งานหตั กรรม สมาชกิ กลมุ่ โดยเฉพาะสงู อายทุ เ่ี ปน็ นกั เรยี นโรงเรยี น สูงวยั ไดจ้ ัดทำ� หลักสูตรงานประดษิ ฐห์ ตั ถกรรมจากวัสดุเหลือใช้ เชน่ การทำ� หมวก ท�ำตะกรา้ โคมไฟ ผลการดำ� เนนิ งาน ชุมชนสามารถคัดแยกขยะมูลฝอยโดยเร่ิมต้นท่ีครัวเรือน ซึ่งเกิดการบริหารจัดการขยะอย่างเป็น ระบบ สามารถลดปรมิ าณขยะมลู ฝอยในครวั เรือน และการนำ� ใชป้ ระโยชนจ์ ากขยะ จนก่อเกิดรายไดใ้ หก้ ับ ครัวเรือนและสมาชกิ กลุม่ เชน่ การนำ� มาประดษิ ฐ์เปน็ งานหตั กรรมต่างๆ สรา้ งผลกระทบแต่ละด้านดังนี้ ๑. ดา้ นสังคม เกดิ การเกอื้ กูลในชมุ ชน เกดิ สวัสดกิ ารของคนในชมุ ชน เกิดอาสาสมัครช่วยเหลือ สงั คมสร้างการเรยี นรู้การพัฒนาศกั ยภาพการของคนในชุมชน ๒. ด้านเศรษฐกิจ เกิดรายได้จากการขายขยะ สร้างหลักประกันให้ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมใน ทรัพยากรทางเศรษฐกจิ ความเป็นเจ้าของอยา่ งเท่าเทียมกัน ๓. ดา้ นสขุ ภาพ ประชาชนรวู้ ธิ กี ารเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคและภยั จากการคดั แยกขยะและ ขยะรีไซเคิลขยะ จึงทำ� ใหเ้ กิดผลดตี อ่ สขุ ภาพในเบ้อื งต้น ๔. ด้านสิง่ แวดลอ้ ม ลดปรมิ าณขยะลดต้นทุนในการจัดการขยะ แกไ้ ขปัญหาสิง่ แวดลอ้ มชมุ ชน ๕. ดา้ นการเมอื ง เกดิ การรว่ มมอื รว่ มใจจดั การขยะในชมุ ชน ผา่ นกลไกทเี่ ปน็ กตกิ า ขอ้ ตกลง และ อาสาสมคั รของคนในชุมชน 188 เทศบาลตำ� บลสนม อ�ำเภอสนม จังหวดั สรุ นิ ทร์
ประเด็น การจดั การระบบนิเวศชุมชนและลดโลกร้อนโดยชมุ ชนท้องถน่ิ พลังงานทดแทนจากแกส๊ ชีวภาพ หมบู่ ้านในเขตพ้นื ที่ ประชากร จำ� นวนครวั เรือน จำ� นวน ๗ หมูบ่ ้าน จำ� นวน ๔,๘๒๓ คน ทีใ่ ช้แกส๊ ชีวภาพ จำ� นวน ๑,๒๕๖ ครวั เรอื น หญงิ ๒,๕๖๑ คน ชาย ๒.๒๖๒ คน ๖๔ ครวั เรอื น ทนุ ทางสังคม • สมาชกิ ในกลุม่ ศนู ยเ์ รียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียงบา้ นหว้ ยทมนอ้ ยหมู่ ๑๑ • ชาวบา้ นท้งั ๗ หมบู่ ้าน • ส�ำนกั งานเกษตรอ�ำเภอชานมุ าน ขอ้ มูลและเครื่องมือในการดำ� เนนิ งาน • ข้อตกลงของคณะกรรมการภายในกล่มุ • คู่มือประกอบการทำ� แก๊สชวี ภาพ Key Actors: ศูนยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งบา้ นห้วยทมน้อยหมู่ พ้นื ท่:ี องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลปา่ กอ่ อำ� เภอชานุมาน จงั หวดั อำ� นาจเจริญ วิทยากร: นายไสว ทงุ่ ฤทธิ์ ต�ำแหน่ง: ประธานศูนยเ์ รียนร้เู ศรษฐกิจพอเพยี ง เบอร์โทรศัพท:์ ๐๘๒-๑๒๕๙๕๒๑ ความเป็นมา ศนู ยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งบา้ นหว้ ยทมนอ้ ยหมู่ ๑๑ จดั ตง้ั เมอื่ ปี ๒๕๕๔ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก ส�ำนักงานการเกษตรจงั หวดั อำ� นาจเจริญ ในด้านวสั ดุอปุ กรณ์การสร้างโรงเรอื น ปุ๋ย ศนู ย์เรียนรู้ ไดร้ ับการ สนับสนุนจาก ปตท. ในด้านพลังงานการท�ำปุ๋ยชีวภาพ ได้รับการสนับสนุนจากกรมพัฒนาที่ดินจังหวัด อำ� นาจเจรญิ ในดา้ นวสั ดอุ ปุ กรณ์ และไดร้ บั สนบั สนนุ จากองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลปา่ กอ่ ในดา้ นวสั ดอุ ปุ กรณ์ การทำ� บ่อแก๊สชวี ภาพ เน่อื งจากในพืน้ ที่ตำ� บลป่ากอ่ มกี ารเลย้ี งววั ควาย และหมู อยู่หลายครัวเรอื น จึงท�ำใหศ้ นู ย์เรียนรู้ เศรษฐกจิ พอเพียง มีแนวคิดเกดิ ขึ้นว่าจะแกไ้ ขปัญหากล่ินท่ีไมพ่ ึงประสงคท์ เี่ กิดขึ้นจากการเล้ยี งสัตวเ์ หลา่ น้ี ได้อย่างไร โดยไดร้ บั แนวทางจาก ปตท. และองคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลป่ากอ่ เข้ามาให้การสนบั สนุนในดา้ น อุปกรณ์การท�ำบ่อแก๊สชีวภาพเพื่อใช้ประโยชน์ในการหุงต้ม จึงเป็นจุดเริ่มต้นของศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอ เพียงได้ด�ำเนินการท�ำแก๊สชีวภาพข้ึนมา และนอกจากใช้ในการหุงต้มแล้วยังสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ใน การปรบั ปรุงดนิ เพ่อื เพิ่มผลผลิตพชื ในสวนได้อีกด้วย องค์การบริหารส่วนตำ� บลป่ากอ่ อำ� เภอชานมุ าน จังหวัดอำ� นาจเจริญ 189
กลมุ่ เปา้ หมาย ๑. ชาวบา้ นทง้ั ๗ หมบู่ า้ นและเกษตรกรและคนในชมุ ชนทสี่ นใจศกึ ษาเรยี นรใู้ นการทำ� แกส๊ ชวี ภาพ ๒. นกั เรยี นนักศึกษาทีส่ นใจในเร่อื งของพลงั งานทดแทนจากแกส๊ ชีวภาพ รปู ธรรมการดำ� เนนิ งาน มีการด�ำเนินการในการจดั ท�ำแก๊สชีวภาพโดยเริม่ จากการเลอื กพ้นื ท่ไี ม่หา่ งจากคอกสัตวท์ เ่ี ราจะ ใชม้ ลู สตั วใ์ นการทำ� แกส๊ ชวี ภาพมากเกนิ ไป โดยใหม้ รี ะยะหา่ งจากสถานทที่ เี่ ราจะนำ� แกส๊ ชวี ภาพไปใชไ้ มเ่ กนิ ๕๐ เมตร นำ้� ไมท่ ว่ มขงั แลว้ วางแผนในการวางพนื้ ทข่ี ดุ บอ่ โดยใชเ้ ตาวางแบบแนวนอน ขนาดของเตา ๒๐๐ ลติ ร จากน้นั น�ำมลู สตั วแ์ หง้ หรือเปียกผสมกบั นำ�้ แลว้ เทใส่ลงไปในถังหมักปริมาตร ๒๕% ของตวั ถงั แล้วก็กวน ดว้ ยเคร่อื งกวนอินทรยี ์สาร ใช้ท่อพวี ซี หี รือไมก้ ระทุ้งใหม้ ูลสตั วก์ ระจายตวั ให้ทว่ั ถงั หมกั ท้งิ ไว้ ๑๐-๑๕ วัน จงึ จะสามารถน�ำแกส๊ ไปใชง้ านได้ ผลการดำ� เนินงาน หลังจากทม่ี กี ารด�ำเนนิ การทำ� แกส๊ ชีวภาพ ท�ำให้ครอบครัวสามารถลดตน้ ทนุ การซ้ือแก๊สถังมาใช้ ในชวี ิตประจำ� วนั ซ่งึ มีราคาท่ีแพงข้ึนเลอื่ ยๆ จากเดมิ เคยซ้อื แกส๊ ถังเพือ่ ใช้ในการประกอบอาหาร ภายใน ๑ เดอื นตอ้ งเปลี่ยน จ�ำนวน ๑ ถงั มีราคาถังละ ๔๐๐ บาท/ถัง เม่อื มีการดำ� เนินการท�ำแก๊สชีวภาพใช้เองผล ปรากฏวา่ ลดรายจา่ ยอย่างเหน็ ได้ชัด 190 องค์การบริหารสว่ นต�ำบลป่ากอ่ อำ� เภอชานุมาน จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ
ประเด็น การจัดการระบบนิเวศชุมชนและลดโลกร้อนโดยชุมชนท้องถิน่ พลงั งานทางเลอื กเพื่อการเกษตร จำ� นวน ๔ หมูบ่ ้าน ประชากร พ้ืนท่แี ปลงเกษตร ๑๑๕ ไร ๕๒๔ ครวั เรอื น ๒,๐๖๓ คน แหลง่ นำ้� ๔ แหล่ง หญงิ ๑,๐๘๒ คน ความจุน้ำ� ๑,๓๖๗,๑๗๓ ลบม. ชาย ๙๘๑ คน เกษตรผ้ใู ชน้ �ำ้ จากพลังงาน แสงอาทิตย์ ๒๐๓ คร. ทุนทางสังคม อบต.ทุ่งสว่าง, พ้ืนท่ีสาธารณะประโยชน์บริเวณรอบ แก้มลิงเริงไม้งาม, กลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น�้ำ, กล่มุ ปลูกผักปลอดภัย, กลมุ่ โคกล่ามฟารม์ เกษตร, กรมทรัพยากรน้ำ� ภาค ๕ จังหวดั นครราชสมี า ขอ้ มลู และเครือ่ งมอื ในการดำ� เนนิ งาน • ข้อมูล จปฐ. • ทะเบียนรายช่ือผใู้ ชน้ �ำ้ • แผนการด�ำเนินงาน Key Actors : กลุม่ ผู้ใชน้ ้�ำ พน้ื ท่:ี องค์การบริหารส่วนตำ� บลทงุ่ สว่าง อำ� เภอประทาย จงั หวัดนครราชสมี า วทิ ยากร: นายเอกสรรค์ บญุ ฮวด ตำ� แหน่ง: คณะกรรมการกลมุ่ ผูใ้ ช้น้ำ� เบอรโ์ ทรศพั ท์: ๐๙๔-๒๙๐๓๔๕๓ ความเปน็ มา จากการแกป้ ญั หาภยั แลง้ และนำ้� ทว่ มในพนื้ ทต่ี ำ� บลทงุ่ สวา่ ง จงึ ไดจ้ ดั ทำ� โครงการอนรุ กั ษฟ์ น้ื ฟแู หลง่ น้ำ� เริงไมง้ าม สรา้ งพื้นที่รับนำ้� หรอื การทำ� แก้มลงิ และขยายการท�ำแก้มลิงไปอกี ๒ จดุ ในพื้นที่บา้ นทงุ่ สว่าง บ้านวังม่วงและบ้านเย้ยตะแบก ปรับถมพ้ืนท่ีบริเวณรอบแก้มลิงรวมจ�ำนวน ท้ัง ๓ จุด มีพ้ืนที่สาธารณะ ประโยชนม์ ากกวา่ จำ� นวน ๑๑๕ ไร่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลทงุ่ สวา่ งจงึ ไดเ้ ปลยี่ นทดี่ นิ สาธารณะใหเ้ ปน็ พนื้ ท่ี ส�ำหรับเพาะปลูกพืชระยะสั้น โดยมีประชาชนยื่นความประสงค์ขอใช้ท่ีดินเพื่อการประกอบอาชีพมากกว่า ๓๐๐ ครวั เรอื น โดยกรมทรพั ยากรนำ้� ไดว้ างแนวทางการจดั วางทอ่ ระบบประปาเขา้ สแู่ ปลงเกษตรและระบบ กระจายน�้ำด้วยพลังงานแสงอาทิตย์(โซ่ล่าเซลล์) ซ่ึงสามารถสูบน�้ำได้วันละ ๑๐๐ ลบ.ม ครอบคลุมพ้ืนท่ี การเกษตร ๑๑๕ ไร่ โดยมีการเกบ็ เงินคา่ บ�ำรุงรายเดือนๆละ ๒๐ บาท/แปลง เพอื่ ไว้เป็นทุนส�ำรองของกลมุ่ ในการดูแลอุปกรณ์พลังแสงอาทิตย์ รวมถึงส่งเสริมให้เกษตรกรลดการใช้สารเคมีในผลผลิตทางการเกษตร ตามโครงการผลผลติ สนิ คา้ เกษตรปลอดภยั (GAP) ยกระดบั มาตรฐานการผลติ สนิ คา้ เกษตรใหเ้ ปน็ ทยี่ อมรบั แตป่ จั จยั การผลติ มรี าคาสงู การเลอื กใชพ้ ลงั งานทดแทนจงึ เปน็ ทางเลอื กทจ่ี ะสามารถตน้ ทนุ การผลติ รว่ มถงึ สร้างความมน่ั คงทางด้านอาชีพดว้ ย องค์การบรหิ ารส่วนตำ� บลท่งุ สว่าง อำ� เภอประทาย จงั หวดั นครราชสีมา 191
กลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มผ้ใู ช้นำ�้ เพอื่ การเกษตรจ�ำนวน ๓๖๐ ครัวเรือน โดยครอบคุลมทง้ั ๔ หมู่บ้าน ไดแ้ ก่ บ้านโคกลา่ ม บ้านทุ่งสวา่ ง บา้ นเยย้ ตะแบก และบ้านวงั มว่ ง รปู ธรรมการดำ� เนนิ งาน ๑. กรมทรัพยากรน้ำ� ที่ ๕ นครราชสมี าส�ำรวจแหล่งน้�ำทเ่ี หมาะสมส�ำหรับท�ำแกม้ ลงิ ขยายผล อกี ๒ จดุ ในพนื้ ท่ีบา้ นเย้ยตะแบก บา้ นวังม่วง และบา้ นทุ่งสว่าง โดยใช้โมเดลตน้ แบบบ้าน โคกล่าม พ้ืนทแี่ กม้ เรงิ ไมง้ าม ๒. ฝ่ายท้องที่ ท้องถิ่น คณะกรรมการหมู่บ้าน และประชาชน ประชาคมรายงานสถานการณ์ ปญั หาใหป้ ระชาชนรบั ทราบ รวมถงึ วางแผนและออกแบบการวางระบบทอ่ ประปาและระบบ การกระจายน�้ำด้วยพลังงานงานแสงอาทิตย์ด้วยการติดตั้งแผงโซ่ล่าเซลล์ร่วมกับกรม ทรพั ยากรน�้ำ ๓. จดั ตงั้ คณะกรรมการกลมุ่ ผใู้ ชน้ ำ�้ จากตวั แทนคณะกรรมการหมบู่ า้ น รวมจำ� นวน ๑๖ คน ออก กฎระเบยี บ กติกา การใช้น�ำ้ ร่วมกนั และวางแนวทางการบริหารจัดการเพื่อดูแลระบบการก ระจายน้ำ� ดว้ ยพลังงานแสงอาทติ ย์ ๔. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลทงุ่ สวา่ ง เปดิ รบั สมคั รครวั เรอื นทตี่ อ้ งการพน้ื ทใ่ี นการประกอบอาชพี รวมถงึ สง่ เสรมิ ใหผ้ ทู้ ไ่ี มม่ ที ด่ี นิ ทำ� กนิ มกี รรมสทิ ธค์ิ รอบครองทด่ี นิ สาธารณะประโยชนเ์ พอ่ื การ ประกอบอาชีพ ๕. สง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรปลกู ผกั ปลอดสารเคมี ตามโครงการผลผลติ สนิ คา้ เกษตรปลอดภยั (GAP) ยกระดบั มาตรฐานการผลิตสนิ คา้ เกษตรให้เป็นท่ียอมรับ ผลการด�ำเนนิ งาน ๑. เกดิ การบรหิ ารจดั การนำ้� เกษตรกร ลดรายจา่ ย สรา้ งรายได้ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ชมุ ชน ๒. ลดต้นทุนการผลิต เดิมเกษตรกรต้องค่าน�้ำประปาถึงหน่วยละ ๗ บาท เมื่อเปลี่ยนมาใช้ พลังงานทดแทน สามารถประหยดั ค่าใช้จา่ ยถึงหนว่ ยละ ๓ บาท ๓. มีอาหารปลอดภยั สำ� หรับบริโภคในครัวเรือนและชุมชน ๔. ประชาชนที่ไม่มีที่ดินท�ำกิน มีกรรมสิทธ์ิในการครอบครองท่ีดิน เพ่ือใช้ในการประกอบชีพ ทำ� ใหค้ ุณภาพชีวิตดีข้นึ 192 องค์การบริหารสว่ นต�ำบลทุง่ สวา่ ง อำ� เภอประทาย จังหวดั นครราชสมี า
193
194
ประเดน็ การพฒั นาระบบอาหารชมุ ชน ขา้ วอินทรีย์ หมู่บา้ นในพืน้ ที่ ประชากรท้ังสน้ิ ข้อมูลโภชนาการ จ�ำนวน ๓,๐๕๕ คน ผอม รอ้ ยละ ๐.๗ ตำ� บล หญิง ๑,๔๘๘ คน ค่อนขา้ งผอม ร้อยละ ๐.๕ จำ� นวน ๗๕๘ ครวั เรอื น ชาย ๑,๕๖๗ คน สมส่วน ร้อยละ ๙๘.๔๔ อ้วน รอ้ ยละ ๐.๒ ทนุ ทางสังคม กลุ่มเกษตรอินทรยี ์ตำ� บลส�ำโรง / เกษตรกรต�ำบลส�ำโรง / กรมการข้าว ส�ำนกั งานเกษตรอ�ำเภอ / องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ� บลส�ำโรง ข้อมลู และเคร่อื งมือในการดำ� เนินงาน • ระบบขอ้ มลู ต�ำบล (TCNAP) • ระบบขอ้ มูลสขุ ภาพโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพต�ำบลส�ำโรง Key Actors : กลุม่ เกษตรอินทรีย์ต�ำบลสำ� โรง พน้ื ท:่ี องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลสำ� โรง อำ� เภอปกั ธงชยั จังหวัดนครราชสมี า วทิ ยากร: นายบุญเลิศ ฉมิ พลี ต�ำแหน่ง: ประธานกลุม่ เกษตรอินทรยี ์ ตำ� บลสำ� โรง เบอร์โทรศพั ท์: ๐๙๓-๐๙๓๕๘๓๕ ความเป็นมา กลมุ่ เกษตรอนิ ทรยี ต์ ำ� บลสำ� โรง เกดิ จากการเขา้ รว่ มกลมุ่ ปกั ธงชยั ไรซเ์ บอร่ี โดยมนี ายบญุ เลศิ ฉมิ พลี เพอ่ื ตอ้ งการลดปญั หาตน้ ทนุ ในการผลติ ทสี่ งู ปญั หาการเจบ็ ปว่ ยจากการใชส้ ารเคมี เขา้ รว่ มในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ซ่ึงมีเง่ือนไขท่ีสมาชิกกลุ่มปักธงชัยไรซ์เบอรี่จะต้องปลูกข้าวแบบปลอดสารพิษเท่าน้ัน หลังจากการเข้าร่วม กลุ่มกไ็ ด้นำ� มาตอ่ ยอดใหก้ ับเกษตรกรในตำ� บลส�ำโรงซ่งึ มอี าชีพหลักคือการท�ำนา มจี �ำนวน ๗๕๘ ครัวเรือน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ (อ้างอิงขอ้ มูลจากระบบข้อมูลต�ำบล TCNAP ปี ๒๕๖๐) ท่มี ีความสนใจในการท�ำการ เกษตรอินทรีย์ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๕๙ จึงเกิดการรวมกลุ่มกันในนาม “กลุ่มเกษตรอินทรีย์ต�ำบลส�ำโรง” มสี มาชกิ กลมุ่ จำ� นวน ๔๓ คน เปน็ การรวมกลมุ่ เพอื่ ปลกู ขา้ วปลอดสารโดยพนั ธข์ุ า้ วทปี่ ลกู ไดแ้ ก่ ขา้ วไรซเ์ บอร่ี ข้าวเหนยี ว ข้าวสงั ขห์ ยด ขา้ วหอมมะลิ เปน็ ตน้ องค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลสำ� โรง อ�ำเภอปักธงชยั จงั หวัดนครราชสีมา 195
กลุ่มเป้าหมาย ๑. เกษตรกรในพน้ื ที่ตำ� บลสำ� โรงจ�ำนวน ๗๕๘ ครวั เรอื น ๒. ผู้บรโิ ภคในจังหวัดนครราชสมี า รูปธรรมการด�ำเนนิ งาน หลังจากการรวมกลุ่มได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการประจ�ำกลุ่มเกษตรอินทรีย์ต�ำบลส�ำโรง โดยสมาชิกกลุ่มได้เข้ารับการอบรมการปลูกข้าวอินทรีย์จากกรมการข้าว ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ นอกจากการ ปลกู ขา้ วปลอดสารแลว้ ภายในกลมุ่ ยงั มกี ารแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรดว้ ยการทำ� เสน้ หมจี่ ากขา้ วไรซเ์ บอรี่ การจัดตง้ั โรงสีข้าวชุมชน การเลี้ยงหมหู ลมุ โดยกลมุ่ เกษตรอินทรยี ์มกี ารจัดท�ำบันทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือ (MOU) ระหว่างสมาชิกกลุ่มและโรงสีเจียเม้ง เพื่อจ�ำหน่ายข้าวในราคาท่ีสูงกว่าข้าวที่ผลิตจากระบบปกติ (ใชส้ ารเคม)ี ซง่ึ จะรวบรวมข้าวเปลือกจากสมาชกิ กลุ่มและส่งโรงสเี จยี เมง้ และน�ำไปแปรรูปเป็นเสน้ หมี่ เพ่ือ นำ� ไปสูก่ ารจ�ำหนา่ ยและนำ� เงนิ ที่ได้จากการจ�ำหน่ายมาปนั ผลใหก้ ับสมาชิกกลุ่มทำ� เส้นหมเ่ี พ่ือใชเ้ ปน็ ต้นทุน ตอ่ ไป ผลการด�ำเนินงาน ๑. ลดตน้ ทุนการผลติ สรา้ งรายได้เพ่มิ ๒. สขุ ภาพที่ดีจากการบริโภคข้าวปลอดสารเคมี ๓. การรกั ษาสมดุลของระบบนิเวศนใ์ นชุมชน ๔. การสรา้ งการมสี ่วนรว่ ม ๕. การพฒั นาเป็นแหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชน 196 องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลสำ� โรง อำ� เภอปกั ธงชัย จงั หวดั นครราชสีมา
ประเดน็ การพัฒนาระบบอาหารชมุ ชน กลมุ่ ขา้ วกล้องงอกจากข้าวอนิ ทรยี ์ หม่บู า้ นท่ดี ำ� เนนิ งาน ประชากร ข้อมูลทางการเกษตร จ�ำนวน ๑๒ หมู่บา้ น จ�ำนวน ๔,๐๐๐ คน ท�ำนา ๑๓,๕๐๐ไร่ จำ� นวน ๗๙๔ ครวั เรือน หญิง ๑,๙๙๕คน ท�ำนาข้าวคณุ ภาพ ชาย ๒,๐๐๕ คน พืน้ ที่ ๒,๕๐๐ ไร่ พนื้ ทป่ี ลอดยาฆ่าหญา้ ๑๒,๕๐๐ ไร่ ทุนทางสังคม เทศบาลต�ำบลหนองใหญ,่ เกษตรอำ� เภอเมอื งจนั ทร,์ กลุม่ ข้าวอินทรีย์ ๙๔ ครัวเรือน กลมุ่ ปยุ๋ อินทรยี ,์ โรงสขี ้าวชมุ ชน บ้านแกงเลีย้ ว หมู่ที่ ๖ ข้อมูลและเครือ่ งมอื ในการดำ� เนนิ งาน • ขอ้ มลู จากการวจิ ยั ชมุ ชน RECAP เพอื่ คน้ หาทนุ ทางสงั คมทมี่ คี วามชำ� นาญดา้ นการผลติ ขา้ วอนิ ทรยี ์ • กลุม่ ทางสงั คมและบุคคลจิตอาสาเขา้ มาถา่ ยทอดความรดู้ า้ นการผลิตข้าวอนิ ทรยี ์ • ขอ้ มูลการสง่ เสรมิ พฒั นาการปลกู ขา้ วอินทรีย์ Key Actors: กลมุ่ ขา้ วกลอ้ งงอก (กล่มองคก์ ร) พื้นท:่ี วทิ ยากร: เทศบาลต�ำบลหนองใหญ่ เกษตรอำ� เภอเมอื งจนั ทร์ บา้ นหนองใหญ่ หมทู ี่ ๑๐ ตำ� แหนง่ : นางสาวออ่ นศรี สัมโย เบอร์โทรศัพท์: ประธานกลมุ่ ขา้ วกล้องงอก ๐๙๕-๘๒๗-๖๙๑๙ ความเปน็ มา กลมุ่ ข้าวกล้องงอก ก่อต้งั ขนึ้ เมอื่ พ.ศ.๒๕๕๑ โดยเป็นกลุ่มระดบั ตำ� บล มคี ณะกรรมการรวม ๓๐ คน กอ่ นจดั ตง้ั กลมุ่ สมาชกิ เหน็ วา่ ขา้ วกลอ้ งงอกเปน็ ขา้ วทม่ี ปี ระโยชนท์ างโภชนาการสงู เปน็ ทส่ี นใจในกลมุ่ คน ที่รักสุขภาพจึงได้รวมกลุ่มขึ้น และได้รับการสนับสนุนจากเกษตรอ�ำเภอเมืองจันทร์ สนับสนุนเคร่ืองซีล สญุ ญากาศ และจดั อบรมใหก้ บั สมาชกิ ในกลมุ่ เพอ่ื พฒั นาและผลติ ขา้ วกลอ้ งทมี่ คี ณุ ภาพสามารถเปน็ ทยี่ อมรบั ในชุมชนได้ ท�ำให้สมาชิกสามารถน�ำไปปฏบิ ัตแิ ละพฒั นาตนเองและชมุ ชนมากขน้ึ อย่างตอ่ เนอื่ งและย่งั ยนื เทศบาลตำ� บลหนองใหญ่ อำ� เภอเมอื งจันทร์ จังหวดั ศรสี ะเกษ 197
กลุม่ เป้าหมาย ๑. กลมุ่ ปลูกข้าวอินทรีย์ นาแปลงใหญ่ ๙๔ ครัวเรือน ๒. กลุ่มปุ๋ยอนิ ทรยี ์ ๑๒ หม่บู า้ น รปู ธรรมการดำ� เนินงาน ๑. ได้มีการแต่ต้ังคณะกรรมการกลุ่มข้าวกล้องงอกจากข้าวอินทรีย์ ภายในกลุ่มท้ังสิ้น จ�ำนวน ๓๐ คน คณะกรรมการมีบทบาทในการตรวจสอบการผลิตขา้ วกล้องรวมถึงการพฒั นาบรรจภุ ณั ฑ์ และหา ชอ่ งทางการจัดจ�ำหน่าย ๒. เกษตรอำ� เภอจัดอบรมให้กับสมาชกิ ในกลุ่ม จ�ำนวน ๓๐ คน ใหค้ วามรูเ้ ก่ียวกับกระบวนการ ผลติ ข้าวกลอ้ งและประโยชน์ของขา้ วกลอ้ งงอก ๓. อบรมสัมมนาดา้ นบรรจภุ ัณฑ์ ใหก้ ับด้านการตลาด ๔. การอบรมการขายสินค้าออนไลน์ โดยศนู ย์ ICTตำ� บลหนองใหญ่ จากการขายออนไลน์ทำ� ให้ ขา้ วกลอ้ งงอกเปน็ ทีร่ จู้ กั มากยง่ิ ขึ้น ๕. จากนนั้ มีการประเมินผลและตดิ ตามผลการดำ� เนินงาน ในทุกๆเดอื น โดยเกษตรอ�ำเภอเมอื ง จนั ทร์ ผลการด�ำเนนิ งาน ๑. ชุมชนมรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ จากการขายข้าวกล้องงอกจากเดิมที่ข้าวหอมมะลิธรรมดา ๒. สามารถเป็นแหล่งเรยี นรู้ในการผลติ ข้าวกลอ้ งงอกใหก้ ับเยาวชนและบคุ คลทส่ี นใจ ๓. ประชาชนทบ่ี รโิ ภคเขา้ กลอ้ งงอกมสี ขุ ภาพทดี่ เี นอื่ งจากขา้ วกลอ้ งงอกมสี ารอาหารทางโภชนาการสงู 198 เทศบาลตำ� บลหนองใหญ่ อำ� เภอเมอื งจันทร์ จังหวัดศรีสะเกษ
ประเด็น การพัฒนาระบบอาหารชมุ ชน การผลติ ขา้ วอินทรยี บ์ า้ นหนองแมงดา หมู่บา้ นในเขตบริการ ประชากร พนื้ ทผ่ี ลติ จ�ำนวน ๑ หมู่บ้าน จำ� นวน ๑,๑๑๖ คน มีพ้นื ทั้งหมด ๘๐ ไร่ จำ� นวน ๒๘๔ ครัวเรือน หญงิ ๕๔๐ คน ชาย ๕๗๖ คน ทนุ ทางสังคม กลุ่มผู้ผลิตขา้ วอนิ ทรีย์ / หมอดิน / อาสาสมคั รเกษตรประจ�ำหมูบ่ า้ นองค์การบริหารสว่ นต�ำบลป่ากอ่ / ครวั เรอื นท�ำเกษตรอินทรยี ์ / ครวั เรอื นผลิตปยุ๋ ใช้ ข้อมลู และเครือ่ งมอื ในการด�ำเนินงาน • คมู่ ือการตรวจและรบั รองฟารม์ เกษตรอินทรียแ์ บบกลุ่ม • วิทยากรประจำ� กลุ่มผู้ผลิตขา้ วอินทรยี ์ Key Actors: กลุ่มผลิตข้าวอินทรยี บ์ ้านหนองแมงดา (กลมุ่ องคก์ ร) พน้ื ที:่ องคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลปา่ ก่อ อ�ำเภอชานุมาน จงั หวดั อำ� นาจเจรญิ วิทยากร: นางนิม่ นวล มีชยั ต�ำแหนง่ : ประธานกล่มุ เบอรโ์ ทรศพั ท:์ ๐๙๑-๐๑๖๙๐๔๕ ความเปน็ มา เนื่องจากเม่อื ปี พ.ศ.๒๕๕๕ มีสมาชิกในครอบครัวนางนิม่ นวล มชี ยั ประสบปัญหาเจ็บปว่ ยและ สภาพรา่ งกายไมแ่ ขง็ แรง มภี าวะตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ด สาเหตเุ นอื่ งมาจากการใชส้ ารเคมใี นการทำ� การเกษตร จึงมีแนวคิดว่าจะท�ำอย่างไรให้คนในครอบครัวมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น จึงคิดและรวมกลุ่มกับเครือข่าย ผู้ที่สนใจผลิตข้าวอินทรีย์ท�ำการปลูกข้าวข้ึนที่บ้านหนองแมงดา หมู่ท่ี ๓ ในพื้นที่ท�ำการเกษตรในจ�ำนวน ๘๐ ไร่ เพ่ือท่ีจะให้คนในครอบครัวและคนในชุมชนต�ำบลป่าก่อ ได้รับประทานข้าวที่มีคุณภาพและปลอด สารเคมี เป็นการลดต้นทุนในการผลิตข้าวอินทรีย์ท�ำให้ประชาชนในครอบครัวและคนในชุมชนอยู่ดีกินดี และถือเป็นการด�ำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพ่อหลวง ท�ำนาปลูกพืชที่ปลอดภัย ไร้สารพิษ พึ่งตนเองได้ และพงึ่ พากันและกนั ในกลุ่ม องค์การบริหารส่วนตำ� บลปา่ กอ่ อำ� เภอชานุมาน จังหวัดอำ� นาจเจริญ 199
กลมุ่ เป้าหมาย ๑. กลมุ่ เกษตรกร ๒. ประชาชนบา้ นหนองแมงดา หม่ทู ี่ ๓ ๓. ผูบ้ รโิ ภคในพน้ื ทีแ่ ละผบู้ รโิ ภคในประเทศ รูปธรรมการดำ� เนินงาน ๑. พฒั นากระบวนการผลติ โดยกอ่ นถงึ ฤดกู าลทำ� นาสมาชกิ จะทำ� การเตรยี มดนิ และทำ� ปยุ๋ หมกั เพือ่ ใชใ้ นแปลงนา ๒. จัดอบรมให้ความรู้กับสมาชิก โดยมีวิทยากรจากส�ำนักงานเกษตรจังหวัดอ�ำนาจเจริญและ หนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง ๓. ตรวจคุณภาพการผลิตเกษตรอินทรีย์จากระบบควบคุมคุณภาพภายในกลุ่มข้าวสัจธรรม อ�ำนาจเจรญิ ๔. การจดั การตลาด มกี ารจำ� หนา่ ยผลผลติ ขา้ วอนิ ทรยี ใ์ หก้ บั ประชาชนผบู้ รโิ ภคในพน้ื ท่ี และรว่ ม กบั เครือข่ายข้าวสัจธรรมอ�ำนาจเจรญิ ตามโครงการผกู ป่ินโตขา้ วอำ� นาจเจรญิ ผลการด�ำเนนิ งาน เกษตรกรหนั มาใสใ่ จในการทำ� เกษตรอนิ ทรยี ม์ ากขนึ้ ตามวถิ ชี วี ติ เศรษฐกจิ พอเพยี ง พฒั นาตนเอง สู่ความย่ังยืนของเกษตรกร กลุ่มเครือข่าย และเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน มีสุขภาพดีขึ้น มีกิจกรรมร่วมกันใน ครอบครัว ญาติพี่น้องและในกลมุ่ เชน่ ลงแขกด�ำนา เกี่ยวข้าว โดยมเี ปา้ หมายให้เกษตรกรหนั มาทำ� เกษตร อนิ ทรีย์มากขึ้น พฒั นาตนเองพฒั นากลมุ่ เครอื ข่ายให้เขม้ แข็ง เป็นอนิ ทรียค์ รบวงจร เปน็ รูปธรรมทีช่ ดั เจน มากขึน้ ใหเ้ ป็นแหลง่ อาหาร เป็นแหล่งเรยี นรู้ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชิงสขุ ภาพ เพ่อื สุขภาพของเกษตรผ้ผู ลิตและ ผู้บริโภค สืบสานวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม เช่นการลงแขก ด�ำนา เกี่ยวข้าว มีการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม รักษาความสมดลุ ของธรรมชาตเิ พื่อลูกหลานท่เี กดิ ขนึ้ ในอนาคตสืบไปอยา่ งยั่งยืน 200 องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบลปา่ กอ่ อ�ำเภอชานมุ าน จงั หวัดอ�ำนาจเจริญ
ประเดน็ การพัฒนาระบบอาหารชุมชน การปลกู หอมแดง GAP ต�ำบลดวนใหญ่ ด�ำเนินงานทัง้ หมด ประชากรอายุ ผู้ทท่ี ำ� จ�ำนวน ๑๘ หมู่บ้าน จำ� นวน ๗,๑๗๗ คน เกษตรอนิ ทรยี ์ ๑,๘๑๔ ครวั เรอื น ชาย ๓,๕๙๕ คน ๗๕ คน หญงิ ๓,๕๘๒ คน ทุนทางสงั คม กล่มุ เกษตรกรผูป้ ลูกหอมแดงตำ� บลดวนใหญ,่ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพต�ำบลดวนใหญ,่ ส�ำนกั งานเกษตรอำ� เภอวงั หิน ข้อมูลและเครื่องมือในการด�ำเนินงาน ส�ำนกั งานเกษตรอ�ำเภอวงั หนิ ขอข้อมูลพน้ื ที่การเกษตร และข้อมลู พื้นทีเ่ พาะปลูก รพ.สต.ดวนใหญ่ ข้อข้อมูลด้านสุขภาพในกลุม่ เกษตรที่มสี ารเคมีตกคา้ งในร่างกาย ศนู ยพ์ ฒั นาการเกษตรอำ� เภอภสู งิ หอ์ นั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ ขอขอ้ มลู เกย่ี วกบั การปรบั ปรงุ ดนิ เพื่อการเพาะปลูก Key Actors: กลมุ่ หอมแดง GAP ต�ำบลดวนใหญ่ พืน้ ท:ี่ องคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลดวนใหญ่ อ�ำเภอวงั หนิ จงั หวดั ศรสี ะเกษ วิทยากร: นายชนาสิน พิมสอน ต�ำแหน่ง: ประธานกล่มุ หอมแดง GAP ตำ� บลดวนใหญ่ เบอรโ์ ทรศพั ท์: ๐๙๐-๖๐๕๑๕๑๖ ความเปน็ มา เนื่องจากกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกหอมแดงได้เล็งเห็นถึงผลเสียท่ีตามมาจากการใช้สารเคมีในพืช ผัก ไมว่ า่ จะเปน็ ปญั หาเรอื่ งคา่ ใชจ้ า่ ยทางการเกษตร ปญั หาสารเคมตี กคา้ งในดนิ ทำ� ใหผ้ ลผลติ ไมไ่ ดต้ ามทต่ี อ้ งการ และยังมีปัญหาสารเคมีที่เข้าสู่ร่างกายเกษตรกรเองส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ เนื่องจากการบริโภค อาหารทม่ี สี ารพิษตกคา้ ง และเพื่อยกระดับคุณภาพหอมแดงให้ได้มาตรฐานและเพม่ิ คุณภาพในการตอ่ รอง ราคากับพ่อค้าคนกลาง กลุ่มเกษตรกรต�ำบลดวนใหญ่จึงได้มีความคิดริเริ่มจัดต้ังกลุ่มผู้ปลูกหอมแดง GAPข้ึนในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยมนี ายชนาสิน พิมสอน เป็นประธานกล่มุ ซึง่ เป็นแกนนำ� ในการขับเคลอื่ นงาน และท�ำใหเ้ กดิ กลมุ่ หอมแดง GAP ต�ำบลดวนใหญ่ มีสมาชิกจ�ำนวน ๑๘ หมูบ่ ้าน ๒๙๐ ครัวเรือน ด�ำเนนิ การ ภายใต้แนวคิดการส่งเสริมการปลูกหอมแดงโดยปราศจากสารเคมี และลดต้นทุนการผลิต โดยการรับรอง มาตรฐาน GAP เป็นพืชปลอดภัย และปลอดสารพิษด้วยวิธกี ารปลูกแบบควบคุมการใช้สารเคมี โดยมกี รม วิชาการเกษตร อ.ภูสิงห์ เข้ามาให้ค�ำแนะน�ำและลงพ้ืนที่ตรวจแปลงผลผลิตของกลุ่มผู้ปลูกหอมแดง GAP ตำ� บลดวนใหญ่ องค์การบริหารส่วนตำ� บลดวนใหญ่ อ�ำเภอวงั หิน จงั หวดั ศรสี ะเกษ 201
กลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกหอมแดงในพ้นื ท่ตี �ำบลดวนใหญ่ ๑๘ หมู่บา้ น จ�ำนวน ๒๐๐ คน รปู ธรรมการด�ำเนนิ งาน ๑. จดั ตงั้ คณะกรรมการกลมุ่ และสมาชิกของกลุม่ ปลกู หอมแดง GAP ต�ำบลดวนใหญ่ ๒. จดั อบรมวธิ กี ารปลกู หอมแดง GAP ตำ� บลดวนใหญ่ โดยเชญิ วทิ ยากรจากกรมวชิ าการเกษตร อ.ภู ๓. จัดใหม้ กี ารศึกษาวิเคราะห์ดินท่เี หมาะสมกบั การปลูกหอมแดง และปลูกปยุ๋ พืชสด ๔. เตรยี มดนิ ในการเพาะปลกู มกี ารทำ� นำ้� หมกั ชวี ภาพ เตรยี มพนั ธห์ุ อมแดงทปี่ ลอดสารพษิ และ แปลงปลูก เพอ่ื การปลูกหอมแดง GAP ๕. ลงพ้นื ท่ปี ลกู หอมแดงในแปลงของเกษตรกรทเี่ ตรยี มไว้ ๖. คณะกรรมการลงพน้ื ทตี่ รวจแปลงหอมของกลมุ่ เกษตรกรเพอ่ื ตรวจการใชส้ ารสารเคมใี นพนื้ ที่ ๗. จัดเก็บผลผลิตตามฤดูกาลให้ได้มาตรฐานคุณภาพ เพ่ือการต่อรองราคากับพ่อค้าคนกลาง เกษตรกรมีก�ำไรเพ่ิมมากขึ้น ประชาชนผู้บริโภคหอมแดงปลอดจากสารพิษ มีการจัดท�ำระบบข้อมูลผู้ปลูก หอมแดงคณุ ภาพใหเ้ ป็นมาตรฐาน ผลการด�ำเนนิ งาน ๑. หอมแดง GAP ตำ� บลดวนใหญ่มคี ุณภาพดไี ดร้ บั มาตรฐาน ปลอดสารพษิ ๒. ลดจ�ำนวนเกษตรท่เี สี่ยงต่อการมสี ารพิษตกคา้ งในเลือด (ข้อมลู จาก รพ.สต.ดวนใหญ)่ ๓. มหี อมแดงทป่ี ลอดสารเคมี ไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ รา่ งกาย มอี ำ� นาจตอ่ รองราคากบั พอ่ คา้ คนกลาง ส่งผลใหม้ ีราคาแพงขึ้น 202 องค์การบริหารสว่ นตำ� บลดวนใหญ่ อำ� เภอวงั หิน จงั หวัดศรีสะเกษ
ประเด็น การพัฒนาระบบอาหารชมุ ชน เกษตรผสมผสาน อาหารปลอดภยั จ�ำนวน ๒๐ หมู่บา้ น ประชากรท้งั ส้ิน ผู้ประกอบอาชีพ จ�ำนวน ๕.๒๐๗ ครัว จำ� นวน.๑๒,๓๔๒ คน เกษตรกรรม ๒,๐๗๙ ครวั เรอื น เรือน หญิง ๖,๐๓๔ คน ชาย ๖,๓๐๘ คน ทุนทางสงั คม กลุม่ ปลูกผกั อนิ ทรยี ์, กลุ่มโรงสชี ุมชน ๓ แหง่ , ศนู ยว์ ิจัยและพฒั นาการเกษตรสุรินทร์ ชมรมคนรักในหลวงจังหวดั สุรนิ ทร์, สำ� นกั งานเกษตรอ�ำเภอพนมดงรกั ศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามแนวชายแดน ข้อมูลและเครอ่ื งมอื ในการด�ำเนินงาน • บัญชีครวั เรอื น • แผนชุมชน • แผนความตอ้ งการด้านการเกษตร Key Actors : วสิ าหกจิ ชมุ ชนเกษตรผสมผสานตน้ แบบพง่ึ พาตนเองบา้ นโคกสงู หมู่ ๘ (กลมุ่ /องคก์ ร) พื้นที่: องค์การบรหิ ารส่วนตำ� บลบักได อำ� เภอพนมดงรกั จังหวัดสุรนิ ทร์ วิทยากร: นายวนิ ัน สขุ ประสพ ตำ� แหนง่ : วทิ ยากรชุมชน เบอรโ์ ทรศพั ท:์ ๐๙๓-๑๒๔-๑๔๒๔ ความเปน็ มา เกษตรกรบ้านโคกสูงประสบปญั หาราคาสนิ คา้ การเกษตรตกตำ่� ไม่มีความม่ันคงดา้ นรายได้ นาย วินัน สุขประสพ แกนน�ำกลุ่มได้มีโอกาสเข้าร่วมฝึกอบรมท่ีศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามแนวชายแดน อ�ำเภอ กาบเชงิ และเขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ ชมรมคนรกั ในหลวงมโี อกาสรว่ มเรยี นรปู้ ระสบการณม์ ากขนึ้ จงึ ไดร้ วมกลมุ่ สมาชิกทีส่ นใจ เม่อื ปี ๒๕๕๘ จ�ำนวนเรมิ่ ต้น ๔ คน น�ำหลกั การทำ� เกษตรผสมผสานตามศาสตร์พระราชา เป็นการท�ำเกษตรกรรมแบบผสมผสานโดยใช้พน้ื ท่ี ๔ ไร่ ด้วยการนำ� หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้ในครวั เรอื น สามารถลดรายจา่ ย เพิ่มรายได้ใหก้ ับครอบครวั ไดอ้ ย่างดี จึงไดม้ ีเกษตรกรร่วมเปน็ สมาชกิ กลมุ่ เพิม่ ขน้ึ ปัจจบุ ันมสี มาชกิ ๒๕ ราย จดทะเบยี นเปน็ กล่มุ วสิ าหกิจชมุ ชน ไดร้ ับการสนับสนุนจากศูนยฝ์ กึ อาชีพราษฎรตามแนวชายแดนและส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอพนมดงรักพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้เกษตรผสม ผสานพง่ึ พาตนเองบ้านโคกสูง มฐี านเรยี นร้ทู ั้งด้านการทำ� ปยุ๋ หมกั การบำ� รุงดิน การปลูกพืช การเลย้ี งสัตว์ ทีม่ ีการบริหารจดั การพืน้ ท่ใี หเ้ กิดประโยชนม์ ากทีส่ ุด องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลบกั ได อำ� เภอพนมดงรัก จงั หวัดสุรินทร์ 203
กลุ่มเปา้ หมาย ๑. สมาชกิ กลมุ่ ๒๕ ราย ๒. สมาชิกศนู ยส์ าธติ การตลาดบา้ นอ�ำปลึ ตลาดบ้านรนุ และลานค้าชมุ ชนบ้านโคกสงู ๓. กล่มุ เกษตรกรทเี่ ปน็ สมาชกิ ของสำ� นักงานเกษตรอำ� เภอพนมดงรักและศนู ย์ฝึกอาชพี ฯ ๔. ผทู้ ี่สนใจทีจ่ ะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปธรรมการด�ำเนินงาน ๑. มีการจัดท�ำฐานเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดการความรู้ท้ังในพื้นท่ีและข้ามพ้ืนที่ เช่น ฐานเรียนรู้การท�ำปุ๋ยหมัก การเลี้ยงหมูหลุม การปลูกผักปลอดสาร การจัดการน้�ำ การปลูกฝั่งกิมจู การปลกู หญา้ เนเปยี ร์ การเลยี้ งโคขนุ การทำ� นาอนิ ทรยี ์ การปลกู ไมผ้ ลอนิ ทรยี ฯ์ ลฯ ไดร้ บั มาตรฐาน GAP (พชื ) ๒. เป็นสถานที่จัดฝึกอบรมของศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรตามแนวชายแดนและส�ำนักงานเกษตร อำ� เภอพนมดงรักทเ่ี ข้ารว่ มโครงการนาแปลงใหญ่ มนั ส�ำปะหลังแปลงใหญ่ กลมุ่ เกษตรทฤษฎใี หมฯ่ ลฯ ผลการด�ำเนินงาน ๑. มสี มาชิกกล่มุ ๒๕ คน จดทะเบยี นเป็นวิสาหกจิ ชุมชนเมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๕๙ ๒. จดทะเบียนเป็นสหกรณ์โคเน้อื และขา้ วอินทรยี พ์ นมดงรักจ�ำกดั ๓. เปน็ แหลง่ เรยี นร้เู กษตรผสมผสานพงึ่ ตนเอง 204 องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลบักได อำ� เภอพนมดงรกั จังหวดั สุรินทร์
ประเด็น การพัฒนาระบบอาหารชุมชน เกษตรอินทรยี ์ อาหารปลอดภยั หมบู่ ้านท่ดี ำ� เนินการ ประชากร การประกอบอาชพี จ�ำนวน ๙ หมบู่ ้าน จ�ำนวน ๖,๗๙๐ คน เกษตรกรรม ๓,๔๕๐ คน ๑,๖๐๐ ครัวเรือน ชาย ๓,๓๘๐ คน หญิง ๓,๔๑๐ คน ชาย ๑,๓๘๐ คน หญิง ๒,๐๗๐ คน ทำ� เกษตรอนิ ทรีย์ ๙๐ คน ทนุ ทางสังคม ครัวเรอื นต้นแบบด้านการเกษตรอนิ ทรีย์ ๕๐ ครวั เรอื น กลุ่มเกษตรอนิ ทรีย์ป๋ยุ ชวี ภาพ ๒ กลุ่ม ครวั เรอื นปลกู ผกั สวนครวั ในกลมุ่ ผสู้ งู อายุ ๑๐ ครวั เรอื น สมาชกิ ๖๐ คน กลมุ่ อนรุ กั ธรรมชาติ ๑ กลมุ่ สมาชกิ ๒๐๐ คน ขอ้ มูลและเคร่อื งมือในการด�ำเนนิ งาน • ข้อมูลดา้ นการประกอบอาชพี ของคนในชมุ ชน • แผนพฒั นาการเกษตรและการผลติ ของตำ� บล • จดั ตงั้ คณะกรรมการบรหิ ารกลมุ่ กำ� หนดกฎระเบยี บ การระดมทนุ การออมเงนิ สจั จะ และการปนั ผล Key Actors: กลมุ่ เกษตรอนิ ทรยี ป์ ยุ๋ ชีวภาพ (กลุม่ / องค์กร) พืน้ ท่ี: องค์การบริหารสว่ นต�ำบลศรีฐาน อำ� เภอป่าต้วิ จังหวดั ยโสธร วทิ ยากร: นางนฤดี ราชอาษา ต�ำแหนง่ : แกนนำ� กลุ่มเกษตรอนิ ทรยี ป์ ุ๋ยชวี ภาพ เบอร์โทรศัพท์: ๐๘๙ ๖๐๔๐๗๐๓ ความเปน็ มา เดมิ ชาวศรฐี านมอี าชพี เกษตรกรรม ทำ� นาเปน็ หลกั จนเมอื่ มกี ารพฒั นาอาชพี หมอนขดิ ทำ� ใหม้ รี าย ได้เพม่ิ ข้ึนพรอ้ มกบั การใช้เวลาท้งั ปีในการรับจา้ งท�ำหมอน ซึ่งต้องลดเวลาการทำ� นาแบบดง้ั เดมิ ลงมาก ชว่ ง ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ –๒๕๔๑ มกี ารใชย้ าฆา่ แมลง ยาฆา่ หญา้ ฆา่ ปหู รอื ศตั รพู ชื ปยุ๋ เคมกี นั อยา่ งกวา้ งขวาง ชาวนา เสยี ชวี ติ จากการสดู ดมสารพษิ ในขณะทำ� นา และเจบ็ ปว่ ยดว้ ยโรคอาการแพย้ า บางรายมอี าการเนอื้ หนงั เนา่ ร่วมด้วย อีกทั้งสภาพแวดล้อมเส่ือมโทรม ไม่มีสัตว์น้�ำในนาข้าว ไม่ว่าจะเป็นปู ปลา กบ เป็นต้น จาก สถานการณ์ดังกล่าว ชาวบ้านบางกลุ่ม จึงรวมกันต้ังกลุ่มอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ในปี ๒๕๔๒ โดยมี สมาชกิ ในเรมิ่ ตน้ ๓๕ ครวั เรอื น ซงึ่ มเี ปา้ หมาย “เฮด็ อยเู่ ฮด็ กนิ รกั ษาดนิ กนิ ขา้ วอนิ ทรยี ”์ รกั ษาสภาพแวดลอ้ ม ในดนิ โดยเนน้ การสง่ เสรมิ อาชพี การเกษตร เพอ่ื สรา้ งรายไดโ้ ดยผลติ อาหารปลอดภยั เพอื่ ลดตน้ ทนุ การผลติ โดยสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาตามนโยบายหรือตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการ เพาะปลกู การท�ำเกษตร ตลอดจนการใชช้ ีวติ บนความพอเพียง ปัจจบุ ันมสี มาชกิ ๕๐ ครัวเรือน องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบลศรฐี าน อำ� เภอปา่ ตว้ิ จังหวดั ยโสธร 205
กลุ่มเป้าหมาย ครัวเรอื นเกษตรกรท่ีทำ� เกษตรอนิ ทรีย์ จำ� นวน ๕๐ ครวั เรือน จาก ๙ หมบู่ า้ น ในต�ำบลศรีฐาน รปู ธรรมการดำ� เนนิ งาน • รวบรวมสมาชิก ระดมห้นุ จากสมาชิก หุน้ ละ ๑๐ บาท จดั ต้งั คณะกรรมการ ๑ คณะ จ�ำนวน ๒๐ คน เพอื่ ทำ� หนา้ ทบ่ี รหิ ารจดั การกลมุ่ และกำ� หนดกตกิ ากลมุ่ พรอ้ มจดั ประชมุ รว่ มกนั ทกุ เดอื น • ศกึ ษาดงู าน ด้านการบรหิ ารจดั การกล่มุ ศึกษาการดำ� เนนิ งานในพน้ื ท่ตี น้ แบบ • ดำ� เนนิ กจิ กรรม (ทำ� นาขา้ วอนิ ทรยี ,์ ทำ� ปยุ๋ ชวี ภาพคณุ ภาพสงู ,โรงเรยี นชาวนา/คดั พนั ธข์ุ า้ ว,รา้ น ค้าหรอื สหกรณร์ ้านดิน, โรงส,ี ปมั๊ นำ�้ มนั และปลูกผักนอกฤดูท�ำนาหรอื ผักฤดแู ลง้ ) • ประสานความรว่ มมอื กบั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลศรฐี าน เพอื่ ขอรบั การสนบั สนนุ การพฒั นา พื้นที่สาธารณะและสนับสนุนวัสดุเพื่อพัฒนากิจกรรมและก่อสร้างโรงเรียนชาวนา,รับการ พัฒนาเป็นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรจากกระทรวงเกษตรและร่วมงานวิจัยกับ เครอื ข่ายภายนอก คือ สถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ว.ว.) โดยมกี ิจกรรมพัฒนา ความรู้และทักษะด้านการผลิตปุ๋ยคุณภาพสูงแก่สมาชิก สนับสนุนให้เป็นศูนย์การผลิตปุ๋ย ระดับจงั หวดั • ควบคุมหรือตรวจสอบตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไทย (มกท.) ซงึ่ ท�ำรว่ มกบั เครือขา่ ยรกั ษ์ ธรรมชาติ ตำ� ลนาโส่ อ�ำเภอกดุ ชุม จงั ยโสธร โดยมีคณะกรรมการของกลมุ่ รว่ มตรวจสอบ • จัดปนั ผลก�ำไรและปนั ผลห้นุ ใหก้ บั สมาชกิ ทกุ ปี ผลการด�ำเนนิ งาน • จากการรวมกลุ่มเพื่อท�ำเกษตรอินทรีย์ ท�ำให้ต้นทุนการผลิตลดลงซึ่งเมื่อก่อนมีต้นทุนอยู่ท่ี ประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาทต่อไร่ ลดเหลือ ๒,๐๐๐ บาทต่อไร่ต่อฤดูกาลผลติ • มกี ารบรหิ ารจดั การกลมุ่ การจดั การตนเองโดยตงั้ คณะทำ� งานบรหิ ารกจิ การ รา้ นคา้ สหกรณ์ กจิ การป๊ัมนำ�้ มนั และโรงสี • เกิดผู้นำ� การเปลี่ยนแปลงและวทิ ยากร ๓๐ คน • เกดิ แหลง่ เรียนรู้ รวม ๙ แหลง่ ไดแ้ ก่ กลุม่ เกษตรอนิ ทรีย์ปยุ๋ ชีวภาพ,ศนู ย์คัดพนั ธุ์ข้าว,นาพอ เพยี ง,สวนพอเพยี ง,เกษตรทฤษฎใี หม,่ เกษตรผสมผสาน,วสิ าหกจิ โรงสแี ละปม๊ั นำ้� มนั ,กลมุ่ แกส๊ ขว้ี วั เปน็ ต้น 206 องคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบลศรฐี าน อ�ำเภอปา่ ต้ิว จงั หวดั ยโสธร
ประเดน็ การพัฒนาระบบอาหารชุมชน หมบู่ า้ นปลูกผักสวนครวั รว้ั กินได้ หมูบ่ ้านขุนทะเล ประชากร ผูป้ ระกอบอาชีพ มีจำ� นวนครัวเรอื น ๔๒๑ คน เกษตรกรรมในหมู่บา้ น ๑๐๖ หลังคาเรอื น ชาย ๒๑๘ คน หญงิ ๒๐๓ คน ๑๐๖ ครวั เรอื น ร้อยละ ๑๐๐ ทนุ ทางสังคม รา้ นคา้ ชมุ ชน / คณะกรรมการหมู่บา้ น / องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลส�ำโรง ข้อมลู และเคร่ืองมอื ในการดำ� เนนิ งาน • ระบบข้อมูลตำ� บล (TCNAP) • แผนพัฒนาการประกอบอาชีพต�ำบลส�ำโรง • ปฏทิ ินการปลูกพชื ตามฤดูกาล Key Actors : ผู้ใหญ่บ้านและคณะกรรมการหมู่บา้ น พ้นื ท:่ี องค์การบริหารส่วนตำ� บลส�ำโรง อำ� เภอปักธงชยั จังหวดั นครราชสีมา วิทยากร: นางสาวรินดา หมุ่ กระโทก ต�ำแหน่ง: ผใู้ หญ่บา้ นขุนละคร เบอรโ์ ทรศัพท:์ ๐๙๓-๖๔๙๖๑๔๒ ความเปน็ มา ปี ๒๕๕๘ โดยฝ่ายปกครองของอ�ำเภอปักธงชัย ได้คัดเลือกหมู่บ้านเข้าร่วมศึกษาดูงานในพ้ืนที่ น�ำร่องศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในเขตพ้ืนท่ีอ�ำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ต�ำบลละ ๒ หมบู่ ้าน องค์การบริหารส่วนต�ำบลส�ำโรงไดค้ ดั เลือกให้หมู่บ้านขุนละคร หมทู่ ี่ ๒ เข้ารว่ มศึกษาดงู านจำ� นวน ๑๐ คน สว่ นใหญป่ ระกอบดว้ ยคณะกรรมการหมบู่ า้ น และไดม้ กี ารนำ� มาปรบั ใชใ้ นพนื้ ทขี่ องตนเอง จนทำ� ให้ สามารถเปน็ ตน้ แบบของคนในชุมชนได้ จงึ ได้มีการขยายแนวคดิ การทำ� เศรษฐกจิ พอเพียงสชู่ ุมชนด้วยหลกั การเน้นการบรโิ ภคในครัวเรอื น แลกเปลยี่ น และเหลอื ขาย เพ่อื ลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรอื น องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลสำ� โรง อ�ำเภอปกั ธงชยั จงั หวดั นครราชสมี า 207
กลุม่ เปา้ หมาย ครวั เรอื นในหมู่บ้านขุนละคร จ�ำนวน ๑๐๖ ครัวเรือน รปู ธรรมการดำ� เนนิ งาน ๑. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบลสำ� โรงสนับสนนุ เมล็ดพนั ธุ์ในระยะเรม่ิ ตน้ ๒. คณะกรรมการหม่บู ้านเชญิ ชวนประชาชนในชมุ ชนปลกู ผักสวนครวั รว่ั กินได้ ๓. การจดั การแปลงผัก โดยการน�ำวสั ดเุ หลอื ใช้ เชน่ ยางรถยนต์ ขวดพลาสตกิ ทอ่ ปนู ซีเมนท์ มาปลกู ผกั สวนครวั ภายในบรเิ วณครวั เรอื น และการขดุ บอ่ นำ้� เพอื่ ใชอ้ ปุ โภค ชว่ ยแกป้ ญั หาการขาดแคลนนำ้� ในฤดูแลง้ ๔. ผลผลิตท่ีเหลือจากการบริโภคจะมีการแลกเปลี่ยนระหว่างครัวเรือนด้วยกันเอง หรือฝาก จ�ำหน่ายในร้านค้าชมุ ชน โดยไมม่ ีค่าใช้จา่ ยเพ่มิ เตมิ ผลการด�ำเนนิ งาน ๑. ชว่ ยลดรายจ่ายในครัวเรอื น ๒. สร้างการมสี ่วนร่วมในชมุ ชน ๓. เกดิ การช่วยเหลอื เกือ้ กลู ในชมุ ชน ๔. สรา้ งระบบอาหารปลอดภัยในชุมชน 208 องค์การบริหารสว่ นตำ� บลส�ำโรง อำ� เภอปักธงชยั จังหวดั นครราชสีมา
ประเดน็ การพฒั นาระบบอาหารชมุ ชน ผักหนา้ บา้ น อาหารขา้ งรัว้ ครวั เรือนสะอาด หมบู่ า้ นในเขตบรกิ าร ประชากร ผ้ใู ชส้ ารเคมีไมป่ ลอดภัย จำ� นวน ๑๗ หมบู่ ้าน จำ� นวน ๕,๘๑๖ คน จำ� นวน ๔๓๖ คน จำ� นวนครัวเรือน หญงิ ๒,๘๖๘ คน ๑,๒๒๑ ครัวเรอื น ชาย ๒,๕๔๘ คน ทนุ ทางสงั คม • กองทุนหลกั ประกนั สขุ ภาพ (สปสช.) • กองทุนอาหารปลอดภยั อบต.ส�ำโรงตาเจ็น,อบต.สำ� โรงตาเจน็ • รพ.สต. ,สนง.เกษตร อ.ขขุ ันธ์ กศน. ขอ้ มลู และเครอ่ื งมอื ในการดำ� เนนิ งาน • ขอ้ มลู ต�ำบล TCNAP, รายงานการวิจยั ชุมชน RECAP • จิตอาสา,กำ� นัน ผ้ใู หญบ่ า้ น,ท้องถนิ่ ,ทอ้ งท่,ี วัด Key Actors : ผู้ใหญ่บา้ นและคณะกรรมการหมู่บา้ น พน้ื ท่:ี องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบลยางขน้ี ก อ�ำเภอสำ� โรงตาเจ็น จังหวดั ศรสี ะเกษ วทิ ยากร: นางกานดา สงิ ห์ศก ตำ� แหนง่ : ผใู้ หญ่บ้าน หม่ทู ่ี ๑๒ บา้ นสนวน ต�ำบลส�ำโรงตาเจ็น อำ� เภอขขุ นั ธ์ จังหวัดศรสี ะเกษ เบอร์โทรศัพท์: ๐๙๐-๓๕๙-๖๗๑๐ ความเป็นมา กอ่ ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๕๘ เรม่ิ จากราษฎรมสี ขุ ภาพไมแ่ ขง็ แรง เจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยบอ่ ย เพราะมกี ารบรโิ ภค อาหารที่ไม่ปลอดภัย มีความเส่ียงต่อการใช้สารเคมีในการเกษตรค่อนข้างมาก อีกทั้งปี ๒๕๕๙ องค์การ บริหารส่วนต�ำบลส�ำโรงตาเจ็น ได้จัดฝึกอบรมและให้ความรู้ตามโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการคดั แยกขยะตน้ ทาง โดยมงุ่ เนน้ ให้ ครวั เรอื นมกี ารจดั สภาพแวดลอ้ มใหส้ ะอาดนา่ อยแู่ ละนำ� วสั ดทุ เี่ หลอื ใชม้ าประดิษฐ์ เปน็ ของใช้ และนำ� มาเป็นวสั ดุในการปลูกผกั สวนครวั คณะกรรมการหมบู่ ้าน จึงจดั ประชมุ ปรกึ ษาลกู บา้ น จดั ทำ� โครงการผกั หน้าบ้านอาหารขา้ งรั้ว ครัวเรอื นสะอาดขนึ้ โดยปลกู ผกั ปลอดสารพษิ ใช้ บรโิ ภคในครัวเรือนตามหนา้ บา้ น ริมร้ัว มีการจัดท�ำสถานทท่ี ิ้งขยะในบ้าน จดั สภาพแวดล้อมในครัวเรือนให้ สะอาดน่าอยู่ เพอื่ สขุ ภาพทดี่ ีข้นึ และสภาพแวดลอ้ มท่นี ่าอยุ่ เรม่ิ แรกมีสมาชกิ เข้ารว่ มโครงการจ�ำนวน ๔๐ ครวั เรอื น ปจั จบุ นั มสี มาชกิ เขา้ รว่ ม ๖๗ ครวั เรอื น จำ� นวน ๓๐๕ คน ไดง้ บสนบั สนนุ งบประมาณจากโครงการ กองทุนหลักประกนั สุขภาพ จากองค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบลส�ำโรงตาเจ็น เป็นเงนิ ๑๕,๐๐๐ บาท และยงั มี แนวคดิ จะให้เป็นต้นแบบเพือ่ ใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งในระดบั ตำ� บลต่อไป องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลส�ำโรงตาเจน็ อำ� เภอขุขนั ธ์ จงั หวดั ศรีสะเกษ 209
กลุ่มเป้าหมาย ครวั เรือนในหมูบ่ า้ นสนวน จำ� นวน ๗๑ ครัวเรือน รปู ธรรมการดำ� เนินงาน ๑) การประชุมประชาคมและคณะกรรมการเพือ่ ประชุมท�ำความเขา้ ใจ ในการเขา้ ร่วมโครงการ ๒) มกี ารส่งตวั แทนเขา้ รว่ มศึกษาดงู านเรยี นรนู้ อกพน้ื ที่ ๓) อบรมการประดษิ ฐข์ องใช้จากเศษวัสดุการนำ� วสั ดุเหลอื ใช้เป็นวสั ดุในการปลกู ผกั สวนครัว ๔) รณรงค์ให้ครัวเรือนในพ้ืนที่ จัดสภาพแวดล้อมในบ้านเรือนและค้นหาครัวเรือนต้นแบบเพื่อ เป็นแบบอยา่ งใหแ้ กค่ รัวเรอื นอน่ื ๕) และมีการประชาสมั พันธแ์ ละขยายเครือขา่ ยให้แกช่ มุ ชนอน่ื ๖) มีกิจกรรมน�ำผักสวนครัวที่ปลูกช่วยเหลือชุมชนเม่ือจัดกิจกรรมงานบุญและงานประเพณี งานลงแขกท�ำงานตา่ งๆ ผลการด�ำเนนิ งาน ๑) ชาวบา้ นสามารถประหยดั คา่ ใช้จ่าย เพม่ิ รายได้ อย่างยั่งยืน ๒) ลดต้นทนุ ในการซื้อยาฆ่าแมลง ๓) ชาวบ้านสุขภาพดขี ้นึ ๔) ในบริเวณหมูบ่ ้านสะอาด ๕) สามารถชว่ ยเหลือสังคมไดโ้ ดยการน�ำผักไปบรจิ าคตามงานบุญภายในหมู่บา้ น ๖) วสั ดเุ หลอื ใชถ้ ูกนำ� มารไี ซเคิล 210 องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลส�ำโรงตาเจน็ อ�ำเภอขุขันธ์ จงั หวดั ศรีสะเกษ
ประเดน็ การพัฒนาระบบอาหารชุมชน ศูนย์อนุรักษพ์ นั ธุ์ข้าวพื้นบ้าน หมบู่ า้ นในเขตบรกิ าร ประชากร ขอ้ มลู สขุ ภาพ จ�ำนวน ๕ หมู่บ้าน จำ� นวน ๑,๘๑๙ คน • สารเคมีตกค้างในรา่ งกาย ปกติ ร้อยละ ๕.๒๕ • ปลอดภยั รอ้ ยละ ๑๐.๒๔ • มคี วามเส่ียง ร้อยละ ๖๐.๑๖ • ไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๒๔.๓๕ ทุนทางสงั คม บคุ คลต้นแบบดา้ นการอนุรกั ษพ์ นั ธ์ขุ ้าว ๔๓ ครวั เรือน กล่มุ ปลูกผกั อินทรีย์ ๑ กลมุ่ ธนาคารข้าว ๑ แห่ง โรงสชี ุมชน ๑ แหง่ ข้อมูลและเคร่อื งมือในการดำ� เนนิ งาน • ขอ้ มลู พื้นฐานชมุ ชน (TCNAP) • ขอ้ มูลทนุ และแหลง่ ศักยภาพแหล่งเรยี นรู้ (RECAP) Key Actors : คณะกรรมการ หมู่ ๓ พนื้ ท่:ี เทศบาลต�ำบลนาเยยี อ�ำเภอนาเยีย จังหวดั อบุ ลราชธานี วิทยากร: นายนิยม เจรญิ ตำ� แหนง่ : ผู้ใหญ่บ้าน เบอรโ์ ทรศพั ท:์ ๐๘๔-๙๕๘๕๗๘๕ ความเป็นมา ศนู ยก์ ารเรียนรู้การอนุรักษ์พันธขุ์ ้าวพื้นบ้าน เกดิ ขนึ้ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ผู้ใหญบ่ ้าน นายนยิ ม เจริญ ไดเ้ ขา้ ร่วมอบรมโครงการอบุ ลเมอื งสะอาด ราชธานอี สี าน ซึ่งมีหัวขอ้ เรอื่ ง ข้าวพนั ธพุ์ ้นื บา้ น เกดิ ความสนใจ อยากให้ชุมชนมกี ารอนรุ กั ษ์ขา้ วพันธุ์พ้ืนบ้านเอาไว้ จึงไดป้ ระสานทีมวทิ ยากรจากองค์กรทเ่ี ก่ยี วข้องเพื่อมา ใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชน พ.ศ. ๒๕๕๓ เครอื ขา่ ยขา้ วปลาอาหาร อสิ านมน่ั ยนื ม.อบุ ลราชธานี ไดม้ าเปน็ วทิ ยากร ในเรอื่ งการอนรุ กั ษพ์ นั ธข์ุ า้ วพน้ื เมอื ง และพาแกนนำ� ไปศกึ ษาดงู านในทน่ี าเครอื ขา่ ยตา่ งอำ� เภออยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนกระทัง่ ปัจจุบันได้จัดต้งั เป็นกลมุ่ อนุรกั ษ์ข้าวพนั ธพ์ุ ื้นบา้ นและการเกษตรอนิ ทรีย์ ชมุ ชนเขอ่ื นยางข้นึ โดยเรม่ิ ปลกู ขา้ วพนั ธพ์ุ นื้ บา้ นเพอ่ื บรโิ ภคในครวั เรอื นเทา่ นน้ั จาดนน้ั เรมิ่ มกี ารปลกู เพอ่ื การพาณชิ ย์ แปรรูปเป็นสินค้าและต่อมาเริ่มมีการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ ในด้านการเกษตรอินทรีย์ เป็น แหลง่ เรียนรู้ในชุมชนทีส่ ามารถให้ความรู้กบั หนว่ ยงานต่างๆ ในพน้ื ที่และนอกพ้ืนท่ไี ด้ เทศบาลตำ� บลนาเยยี อ�ำเภอนาเยีย จังหวัดอบุ ลราชธานี 211
กลุ่มเปา้ หมาย ประชาชนในหมู่ ๓ จ�ำนวน ๔๓ ครัวเรือนและในเขตเทศบาลต�ำบลนาเยีย รูปธรรมการด�ำเนินงาน ๑. การบริหารจัดการศนู ย์เรยี นรู้ จัดต้ังศนู ยก์ ารเรียนรู้ ๑ ศนู ย์ เพราะพันธุ์ข้าวพ้ืนบ้านเพอื่ นำ� ไปเปน็ พนั ธข์ุ า้ วในการเพาะปลกู ในปถี ดั ไป สรา้ งการรบั รู้ ประชาสมั พนั ธศ์ นู ยผ์ า่ นชอ่ งทางสอื่ ตา่ งๆ ถา่ ยทอด ความรู้แก่คณะศึกษาดูงานจากต่างถ่ิน สร้างเป็นต้นแบบของการผลิตอาหารปลอดสารในชุมชนและจัดต้ัง ให้มโี รงสขี ้าวของศนู ย์ ๑ แห่ง ๒. จัดให้มีโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การให้ความรู้ประชาชนจากวิทยากรหน่วยงานในท้องที่ ปราชญ์ชาวบา้ น (ในชมุ ชนหมู่ ๓) อบรมให้ความรแู้ ก่ประชาชน เรอ่ื งการท�ำป๋ยุ อินทรีย์ เพอื่ ใช้แทนการใช้ ปยุ๋ เคมแี ละไดร้ ับการสนบั สนนุ วัสดุ อปุ กรณ์การเกษตร (เกษตรอ�ำเภอ,กรมพฒั นาที่ดนิ ) ๓. สมาชิกไดร้ ับส่งเสริมการปลกู ขา้ วพันธพ์ุ ้ืนเมอื งตามฤดูกาล 1 คร้ัง/ปี เช่นไรซ์เบอร่ี โสมมาลี ขา้ วหอมสามกอและมกี ารรบั ซอื้ ขา้ ว ผลติ และจดั จำ� หนว่ ยตามชอ่ งทางทไ่ี ดจ้ ดั หาไว้ สำ� หรบั บรโิ ภคในชมุ ชน และผลติ เปน็ ของฝากต่างๆในงานกิจกรรมท่ีเกีย่ วขอ้ งเพอ่ื ให้ประชาชนได้บรโิ ภค ๔.. ในการตรวจสอบ ไดร้ บั การประสานจากกระทรวงเกษตรและสหกรณใ์ นการดำ� เนนิ การตรวจ สอบสารเคมีในพืช และมีการตรวจสารเคมีในร่างกายโดย รพสต.นาเยีย คณะพยาบาลศาสตร์จาก มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี ผลการดำ� เนนิ งาน ๑. เปน็ ชุมชนท่ีมขี า้ วปลอดสาร อาหารปลอดภยั ไว้บรโิ ภค ๒. คนในชมุ ชนมอี าหารเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการในพนื้ ทแี่ ละสามารถนำ� ไปจำ� หนา่ ย เพม่ิ รายได้ ให้ครอบครัว เป็นของฝากของทอ้ งถน่ิ ๓. ประชาชนรกั และหวงแหนในภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ การเรม่ิ สนใจอนุรักษพ์ ันธุข์ ้าวพ้ืนเมอื ง ๔. มกี ารซอ้ื ขาย แลกเปลย่ี นกนั ดว้ ยราคายตุ ธิ รรมผ่านตลาดสเี ขยี วท่ปี ระชาชนรว่ มกันสรา้ งข้นึ ในชมุ ชน ๕. ประชนชนและหนว่ ยงานมคี วามสัมพนั ธ์ทดี่ ีผา่ นการเรียนรรู้ ่วมกนั จากสงิ่ แวดล้อมในชุมชน 212 เทศบาลตำ� บลนาเยีย อ�ำเภอนาเยยี จังหวดั อบุ ลราชธานี
ประเด็น การพฒั นาระบบอาหารชมุ ชน หมูบ่ า้ นปลูกผกั สวนครวั รว้ั กินได้ หมู่บา้ นที่ดำ� เนนิ การ ประชากร ผู้สงู อายุ ๖๐ ปี ขึน้ ไป จ�ำนวน ๔ หมู่บา้ น จำ� นวน ๒,๓๔๗ คน สารพษิ ตกคา้ ง รอ้ ยละ ๓ ๗๐๐ ครวั เรอื น หญิง ๑,๑๘๕ คน รับประทานอาหาร ชาย ๑,๑๖๒ คน ไมถ่ กู สุขลกั ษณะ รอ้ ยละ ๕ เจ็บปว่ ยเรอื้ รังรอ้ ยละ ๑๐ โรคอ้วน รอ้ ยละ ๕ ทนุ ทางสังคม บคุ คลต้นแบบดา้ นการเกษตร ๑๐ คน กล่มุ ปลูกผักอนิ ทรยี ์ ๔ กลมุ่ โรงสีชมุ ชน ๓ แหง่ ขอ้ มลู และเครอ่ื งมอื ในการดำ� เนนิ งาน • ปฏิทินปลูกผักสวนครวั ตามฤดูกาล • กจิ กรรมรณรงคก์ ารบริโภคอาหารปลอดภยั Key Actors: ชมรมผู้สงู อายุตำ� บลสร้างถอ่ (กลุ่ม/ องค์กร) พืน้ ที:่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสร้างถอ่ อำ� เภอเขื่องใน จังหวดั อุบลราชธานี วทิ ยากร: นางป่ินแกว้ ครองยตุ ิ ต�ำแหน่ง: ประธานชมรมผูส้ งู อายตุ ำ� บลสร้างถ่อ เบอร์โทรศัพท:์ ๐๘๔-๙๔๘-๔๘๔๖ ความเป็นมา จากการสงั เกตเหน็ พบวา่ ชาวบา้ นนยิ มซอ้ื ผกั และอาหารจากรถทเี่ ขา้ มาขายในหมบู่ า้ น หรอื ทช่ี าว บ้านเรียกวา่ “รถพุม่ พวง” ซึ่งเข้ามาขายทกุ วนั มีทง้ั รถจักรยานยนตแ์ ละรถยนต์ ผกั และอาหารดังกล่าวอาจ มสี ารปนเปอื้ นหรอื สารเคมีที่ไมป่ ลอดภัย และน�ำไปสูก่ ารป่วยเปน็ โรคตา่ ง ๆ ได้ ชมรมผูส้ งู อายุ โดยการนำ� ของนางปิ่นแก้ว ครองยุติ ประธานชมรมผู้สูงอายุ จึงเป็นแกนน�ำชวนให้สมาชิกปลูกผัก ปลูกสมุนไพรไว้ บรโิ ภคในครวั เรอื น จากนนั้ ขยายผลไปยงั หมบู่ า้ นโดยชกั ชวนใหช้ าวบา้ นหนั มาปลกู ผกั ไวบ้ รโิ ภคในครวั เรอื น หรือแบ่งปันกันในหมู่เครือ ญาติ และเพ่ือนบ้าน ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของโครงการหมู่บ้านปลูกผักสวนครัวร้ัว กนิ ไดใ้ นปี พ.ศ.๒๕๕๖ และจากการสำ� รวจขอ้ มลู ตำ� บลดา้ นสภาพปญั หา ความตอ้ งการดา้ นเกษตรและอาหาร พบวา่ ประชาชนมปี ญั หาสุขภาพเร่อื งสารพษิ ตกค้างในร่างกาย ๕ คน พฤติกรรมการรบั ประทานอาหารไม่ ถกู สุขลักษณะ คือรบั ประทานอาหารจำ� พวกแป้ง เชน่ ขนมปงั ,และอาหารที่มนี �ำ้ ตาลเยอะ เชน่ เครื่องดืม่ น้�ำ อดั ลม ชา กาแฟ เป็นต้น และรายไดข้ องเกษตรกรตกต�่ำทำ� ใหม้ ีปญั หาภาระหนสี้ นิ รวมถึงการใชจ้ ่ายในการ ด�ำรงชวี ติ ประจำ� วนั ท่คี ่อนข้างจะมากกวา่ รายได้ เช่น รายได้ ตอ่ ครวั เรือน ๖,๐๐๐ บาท คา่ ใช้จา่ ย อยู่ที่ ๑๐,๐๐๐ บาท ซงึ่ ทำ� ให้เกดิ หน้ีสนิ ทเ่ี พ่มิ ข้ึนและสะสมขึ้นเรือ่ ย ๆ ดังนน้ั การขับเคลอื่ นโครงการโครงการ หมบู่ า้ นปลกู ผกั สวนครวั รวั้ กนิ ได้ จงึ เปน็ โครงการทส่ี อดคลอ้ งตอ่ ความตอ้ งการของชมุ ชนในเรอ่ื งการบรโิ ภค อาหารปลอดภยั ซึง่ ผลติ โดยชมุ ชนเพ่ือชมุ ชน องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบลสร้างถอ่ อำ� เภอเข่อื งใน จงั หวัดอุบลราชธานี 213
กลุม่ เปา้ หมาย หมบู่ า้ นเปา้ หมายโดยการคดั เลอื กหมบู่ า้ นทม่ี คี วามสมคั รใจเขา้ รว่ มโครงการ ไดก้ ลมุ่ เปา้ หมาย คอื หมู่ ๑,๒,๑๕,๑๖ รวม ๗๐๐ ครวั เรอื น รปู ธรรมการด�ำเนินงาน ๑) จัดประชมุ ร่วมกบั แกนน�ำ (ก�ำนนั ผู้ใหญบ่ ้าน ส.อบต. ) เพ่อื ให้ทราบถงึ วัตถปุ ระสงค์ในการ ดำ� เนนิ กิจกรรม การรณรงค์ปลกู ผักสวนครวั ตามหม่บู า้ น,การปลกู ผักปลอดสารพิษ เปน็ ต้น ๒) สง่ เสรมิ ความรใู้ หป้ ระชาชนไดท้ ราบถงึ ขอ้ ดขี อ้ เสยี ของการปลกู ผกั สวนครวั รวั้ กนิ ได้ มกี จิ กรรม การคัดเลอื กบคุ คลตน้ แบบในการ ปลกู ผกั สวนครัวทปี่ ลอดสารพษิ ๓) ดำ� เนนิ โครงการ ปลกู ผกั ทดี่ ำ� เนนิ การโดยครวั เรอื น ปลกู ไวบ้ รเิ วณหนา้ บา้ นหรอื พน้ื ทว่ี า่ ง และ เนน้ ให้นำ� วัสดุเหลือใชม้ าใชเ้ ปน็ กระถางในการปลูกผัก ได้แก่ ยางรถยนต์ กาละมงั เปน็ ตน้ ผักที่ปลูก ไดแ้ ก่ สะระแหน,่ โหรพา,กระเพรา,ขา่ ,ตะไคร้,พรกิ โดยผกั ทป่ี ลูกเปน็ ผกั ท่ีปลอดสารพิษ ๔) รณรงค์การปลูกผักสวนครัว ร้ัวกินได้ที่หน้าบ้าน โดยการปลูกผักท่ีมีอายุส้ัน ได้แก่ หอม กระเทยี ม แมงลกั โหระพา ตะไคร้ ผกั ชี เปน็ ตน้ ในพน้ื ทวี่ า่ งในบรเิ วณบา้ นหรอื หนา้ บา้ นของแตล่ ะครวั เรอื น โดยมแี กนน�ำจากท้องถิ่นและท้องทรี่ ่วมด�ำเนนิ การ ๕) ประกวดหมู่บ้านต้นแบบในการปลูกผักปลอดสารพิษ โดยการคัดเลือก และออกตรวจดูผล งานการปลกู ของแต่ละหมูบ่ า้ น ทไ่ี ดส้ ่งรายช่ือเขา้ มา เป็นต้น ผลการดำ� เนนิ งาน ๑) ด้านสังคม เกิดการรวมกลุ่มในการประกอบอาชีพและแหล่งเรียนรู้ในหมู่บ้าน ต�ำบล ได้แก่ กลุ่มเมล็ดพันธุ์ข้าว กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ กลุ่มนาแปลงใหญ่ขึ้น สร้างความรัก ความสามัคคีของคนในกลุ่ม ในหมบู่ ้านและในตำ� บล ๒) ด้านเศรษฐกิจ ลดค่าใช้จ่ายในการประกอบท�ำนา ประมาณ ๓,๐๐๐ บาทต่อฤดู จากการ คดั เลือกเมลด็ พนั ธุ์ขา้ ว การท�ำปุ๋ยอินทรยี ์ การผลติ สารไลแ่ มลงจากพืชและสัตว์ ๓) ด้านสภาพแวดล้อม ลดการใช้สารเคมีในการท�ำนา ลดปัญหาขยะในพ้ืนที่หมู่บ้าน ต�ำบล จากการดำ� เนินกจิ กรรมการทำ� ปุ๋ยหมัก การท�ำสารไล่แมลงจากพืชและสตั ว์ ๔) ดา้ นสขุ ภาพ เกดิ ผนู้ ำ� หรอื บคุ คลตน้ แบบในการทำ� นา การปลกู ผกั ดว้ ยเกษตรอนิ ทรยี ์ และนำ� ไปสู่การผลิตอาหารปลอดภยั การรบั ประทานอาหารทปี่ ลอดสารเคมี ๕) ด้านการเมืองการปกครอง เกิดการมีส่วนร่วมในการ ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมแก้ไขปัญหาของ คนในชมุ ชนในการดแู ลและปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมดา้ นสขุ ภาพ การผลติ อาหารทป่ี ลอดภยั มกี ารนำ� ภมู ปิ ญั ญา ทอ้ งถนิ่ มาใชใ้ นการประกอบอาชพี (การทำ� สม้ ควนั ไม,้ การทำ� สารไลแ่ มลง,การทำ� ปยุ๋ หมกั ) มผี นู้ ำ� ในการปฏบิ ตั ิ งานอยา่ งเขม็ แขง็ ทมี ีภูมปิ ญั ญาในการผลติ อาหารปลอดภัย 214 องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลสรา้ งถอ่ อ�ำเภอเขอ่ื งใน จงั หวัดอุบลราชธานี
ประเด็น การพฒั นาระบบอาหารชุมชน สวนผกั สรา้ งสุข หม่บู ้านท่ดี �ำเนนิ การ ประชากร ข้อมลู ดา้ นสุขภาพ จำ� นวน ๙ หมูบ่ า้ น จำ� นวน ๖,๗๙๐ คน สารพิษตกค้าง ร้อยละ ๔๕ ๑,๖๐๐ ครวั เรอื น ชาย ๓,๓๘๐ คน หญงิ ๓,๔๑๐ คน เจ็บป่วยเรอื้ รงั รอ้ ยละ ๑๓.๖๙ โรคอ้วน รอ้ ยละ ๔๐ ทุนทางสังคม ครัวเรือนตน้ แบบดา้ นการเกษตรอนิ ทรีย์ ๕๐ ครวั เรือน / กลมุ่ เกษตรอนิ ทรีย์ปุย๋ ชีวภาพ ๑ กลุ่ม / ครวั เรือนปลูกผักสวนครัวในกลุม่ ผ้สู งู อายุ ๑๐ ครัวเรือน สมาชิก ๖๐ คน ขอ้ มูลและเครือ่ งมอื ในการดำ� เนินงาน ขอ้ มูลอาชพี ผู้สงู อายุ การรวมกลุ่มเพอื่ รบั การสนับสนุนกิจกรรมสรา้ งสรรค์ แผนท่ตี �ำบลเพ่ือส�ำรวจและพฒั นาทวี่ า่ ง เพอื่ สร้างแหลง่ ผลิตอาหารในชมุ ชน Key Actors: ชมรมสูงวัยสรา้ งสขุ พ้ืนท่ี: วทิ ยากร: องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลศรฐี าน อำ� เภอปา่ ตว้ิ จังหวัดยโสธร ตำ� แหนง่ : นางวณษิ ฐา ธงไชย เบอร์โทรศพั ท:์ ประธานชมรมสูงวัยสร้างสขุ ๐๘๖ ๘๗๔๙๕๔๓ ความเป็นมา เรม่ิ ตน้ จดั สถานที่ภายในสวนผัก เมื่อปลายปี ๒๕๕๙ เพื่อเป็นสถานทีร่ วมสมาชิกชมรมสูงวัยสร้าง สขุ ในการฝกึ ซ้อมการออกก�ำลงั กายและจดั กิจกรรมออกก�ำลงั กายประจำ� วนั ในสวน ตง้ั แตต่ ้นปี ๒๕๖๐ ต่อ มาเมอื่ พฒั นาระบบการดแู ลผสู้ งู อายุ ดา้ น อ.อาหาร จากการเขา้ รว่ มโครงการพฒั นาระบบการดแู ลผสู้ งู อายุ ต�ำบลศรีฐาน จึงน�ำผลการด�ำเนินงานขยายต่อยอดพัฒนาเป็นสวนผักเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ซ่ึงมีฐานแหล่ง เรียนรู้ ดงั น้ี มฐี านการทำ� ปุ๋ยหมัก ๑ แหง่ ,จดุ สาธติ ท�ำน้�ำหมกั ชีวภาพ ๑ แหง่ ,มแี ปลงสาธติ การห่มดนิ และ สาธติ การปลกู ผกั ในสวน เพอื่ ใหส้ มาชกิ ชมรมสงู วยั สรา้ งสขุ ไดฝ้ กึ ทกั ษะการผลติ อาหารปลอดภยั กลบั ไปปรบั หรอื พฒั นาทว่ี า่ งสรา้ งอาหารในครวั เรอื น มเี ครอื ขา่ ยในพน้ื ทคี่ อื กลมุ่ เกษตรอนิ ทรยี ต์ ำ� บลศรฐี าน ทม่ี เี ปา้ หมาย “เฮ็ดอยเู่ ฮ็ดกิน รกั ษาดินกินข้าวอนิ ทรยี ์” รกั ษาสภาพแวดล้อม สง่ เสริมอาชพี การเกษตร เพอื่ สร้างรายได้ ลดต้นทุนการผลิตโดยสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาตามนโยบายหรือตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียง องค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอป่าตว้ิ จงั หวัดยโสธร 215
กลุ่มเป้าหมาย สมาชกิ ชมรม คนสูงวัยสร้างสขุ ,ชมรมผสู้ ูงอายแุ ละกลุ่มผูส้ งู อายปุ ลูกผัก จ�ำนวน ๕๐ คน รปู ธรรมการด�ำเนินงาน รวบรวมสมาชิก ฝึกอบรมทักษะการผลิตอาหารท่ีปลอดภัยในครัวเรือนได้แก่การบ�ำรุงรักษาดิน การเตรยี มดนิ ปลกู ทำ� นำ้� หมกั ชวี ภาพ ปยุ๋ หมกั การพฒั นาสวนผกั เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ การแปรรปู /ถนอมอาหาร ผลติ ของใชใ้ นครวั เรอื นและแลกเปลย่ี นเรยี นร,ู้ ดงู าน,สรปุ บทเรยี น ใหส้ ามารถจดั การพนื้ ทว่ี า่ งในบรเิ วณบา้ น หรอื พ้นื ที่สาธารณะในชมุ ชน เป็นแหลง่ ปลูกผกั หรอื ท�ำสวนครัวไวป้ รโิ ภคและจำ� หน่ายเปน็ อาชพี เสริมได้ ผลการด�ำเนินงาน ๑. มีแผนปฏบิ ตั ิงานจดั การทีว่ า่ งสร้างอาหาร โดยมีแผนพัฒนาท่วี ่างในครวั เรอื น ๕๐ ครวั เรอื น และแผนพัฒนาทว่ี ่างในชุมชน ๒ แหง่ ๒. ไดฝ้ กึ อบรมทักษะการใช้พ้นื ท่วี ่างสร้างอาหารปลอดภยั ในครัวเรือนและชุมชน ๓. สมาชิกไดพ้ ฒั นาท่วี ่างสร้างอาหารปลอดภยั ในครวั เรือนของตน ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ๔. ไดฝ้ ึกอบรม การแปรรูปอาหาร,การถนอมอาหารและการผลิตของใช้ในครัวเรือนใช้เอง ๕. เกิดแหลง่ เรยี นรู้ ๒ แหง่ คือ สวนครวั ผ้สู งู อายแุ ละสวนผกั สร้างสขุ มีกจิ กรรมดงู าน สรุปบท เรียน และแลกเปลยี่ นเรยี นร้อู ยา่ งนอ้ ย ๔ ครง้ั 216 องค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลศรีฐาน อ�ำเภอป่าติว้ จังหวดั ยโสธร
ประเดน็ การพัฒนาระบบอาหารชุมชน สวนครวั ผู้สงู อายุ หมบู่ า้ นทีด่ ำ� เนนิ การ ประชากร ข้อมลู ด้านสุขภาพ จ�ำนวน ๙ หมบู่ ้าน จำ� นวน ๖,๗๙๐ คน สารพษิ ตกคา้ ง ร้อยละ ๔๕ ๑,๖๐๐ ครัวเรอื น ชาย ๓,๓๘๐ คน หญงิ ๓,๔๑๐ คน เจบ็ ป่วยเรอื้ รงั ร้อยละ ๑๓.๖๙ โรคอว้ น รอ้ ยละ ๔๐ ทุนทางสังคม ครัวเรือนตน้ แบบดา้ นการเกษตรอินทรยี ์ ๕๐ ครัวเรอื น กลมุ่ เกษตรอินทรีย์ปุ๋ยชีวภาพ ๑ กลมุ่ ครวั เรือนปลกู ผกั สวนครัวในกลมุ่ ผูส้ งู อายุ ๑๐ ครวั เรอื น สมาชิก ๖๐ คน ขอ้ มลู และเครื่องมอื ในการดำ� เนินงาน • ขอ้ มลู อาชีพผสู้ งู อายุ การรวมกลมุ่ เพ่ือรบั การสนบั สนุนกิจกรรมสรา้ งสรรค์ • การสำ� รวจสภาพปญั หาและความต้องการพฒั นาดา้ นอาชีพในโรงเรยี นผสู้ ูงอายุ • การส�ำรวจและพฒั นาที่ว่าง เพ่อื สร้างแหล่งผลิตอาหารในชุมชน Key Actors: องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลศรฐี าน พ้ืนท่:ี วทิ ยากร: องค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีฐาน อ�ำเภอปา่ ติว้ จงั หวัดยโสธร ต�ำแหน่ง: นายไสว จันทรเ์ หลอื ง เบอรโ์ ทรศัพท์: นายกองค์การบริหารสว่ นตำ� บล ๐๘๑ ๔๗๐๔๕๒๐ ความเปน็ มา จากโครงการขบั เคลอื่ นเกษตรกรรมยงั่ ยนื สอู่ าหารเพอื่ สขุ ภาวะต�ำบลศรฐี าน ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ซ่ึงมี กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความรู้และทักษะกระบวนการผลิตด้วยเทคนิคเกษตรปลอดภยั การผลติ ๑ ไร่ ๑ ความ สุข การเสริมสร้างความรู้และทักษะด้านอาหารจัดการโรคในกลุ่ม อสม.และญาติผู้ป่วย การจัดการตลาด อาหารปลอดภยั ในชมุ ชน เพอื่ รณรงคป์ ระชาสมั พนั ธใ์ หผ้ ลติ อาหารทปี่ ลอดภยั ในครวั เรอื นนนั้ จงึ นำ� ไปสกู่ าร สนบั สนนุ กจิ กรรมการผลติ อาหารทป่ี ลอดภยั ในครวั เรอื นตอ่ เนอ่ื ง โดยสง่ เสรมิ ตลาดอาหารปลอดภยั ในชมุ ชน ส่งเสริมอาชพี ผูส้ ูงอายใุ นโรงเรียนผู้สงู อายุตำ� บลศรีฐาน ซึง่ มที ้งั หมด ๑๒๕ คน และเป็นการเสรมิ สรา้ งความ รดู้ า้ นอาหารจดั การโรคในกลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ม่ี ปี ญั หาโรคเรอ้ื รงั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จากขอ้ มลู สขุ ภาพพบวา่ มผี สู้ งู อายุ ทป่ี ่วยดว้ ยโรคเร้ือรัง ๕๓๐ คน เป็นเบาหวาน ๒๒๐ คน ความดัน ๓๐๒ คน และอนื่ ๆ (เชน่ หอบหดื ) ๘ คน ส่วนแหล่งที่มาของผักท่ีจ�ำหน่ายในชุมชยนั้นมาจากกลุ่มเกษตรอินทรีย์ จากสวนครัวผู้สูงอายุและจากชาว บา้ นทวั่ ไป ทนี่ ำ� มาจำ� หนา่ ยในตลาดชมุ ชนทกุ วนั เพอื่ ใหม้ กี ารซอื้ ขายหรอื เขา้ ถงึ อาหารไดส้ ะดวกเพม่ิ ขนึ้ โดย จดั เปน็ ตลาดวฒั นธรรมและตลาดประชารัฐทุกวันศุกร์ องคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลศรฐี าน อ�ำเภอป่าต้วิ จังหวัดยโสธร 217
กลุม่ เป้าหมาย ผสู้ งู อายจุ ากโรงเรยี นผสู้ งู อายทุ สี่ มคั รและมขี อ้ จำ� กดั ดา้ นสถานทปี่ ลกู ผกั สวนครวั ในบา้ น รวมกลมุ่ ๑๐ คน โดยรบั การสนบั สนนุ จาก อบต.ศรฐี านและชมรมผู้สงู อายุ รูปธรรมการดำ� เนนิ งาน เรม่ิ ตน้ จากการพฒั นาพน้ื ทสี่ าธารณะใหเ้ ปน็ สถานทผ่ี ลติ อาหารปลอดภยั โดยสำ� รวจพน้ื ทสี่ าธารณะ ข้างสนามกฬี าชมุ ชน อบต.ศรฐี าน ขนาด ๑ งาน แบง่ เป็น ๑๐ แปลง ในระยะเริ่มต้น ได้จดั เตรียมและปรับ ดนิ ทำ� แปลงปลกู ผกั ลอ้ มรว้ั สวนครวั เตรยี มตอ่ ทอ่ นำ้� ประปาใหพ้ รอ้ ม และมกี ารปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมเปน็ ระยะ เพอ่ื ใหผ้ สู้ งู อายไุ ดป้ ลกู ผกั ตลอดปี หมนุ เวยี นตามชนดิ ของผกั ตามฤดกู าล ไดแ้ กพ่ ชื ผกั สวนครวั และสมนุ ไพร ส�ำหรบั ปรงุ อาหารประจ�ำวนั ปลูกดอกไมเ้ พอื่ จำ� หน่ายในวนั พระ และทำ� ปยุ๋ หมกั ใบไม้แบบไม่พลกิ กองไว้ใช้ ในสวน จนสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ,ท�ำให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งอาหารได้และเป็นการส่งเสริม กิจกรรมสร้างสรรค์ พฒั นาสุขภาวะในกลมุ่ ผสู้ งู อายุ ผลการดำ� เนินงาน • เกดิ การพัฒนาพน้ื ทสี่ าธารณะใหเ้ ป็นสถานทผ่ี ลิตอาหารปลอดภยั สามารถเป็นแหลง่ เรียนรู้ ต้นแบบในชุมชน และมีกิจกรรมจิตอาสาในกลุ่มโดยร่วมกันเก็บผักในสวนท�ำโรงทานต�ำ สมนุ ไพรในงานบุญงานวดั ทั้งในและนอกพนื้ ที่ • ส่งเสริมสุขภาวะในกลุ่มผู้สูงอายุ คือได้ออกแรงเคลื่อนไหวร่างกาย มีผักปลอดภัยไว้บริโภค ในครัวเรอื น สขุ ภาพจติ ดีมคี วามสขุ ในการท�ำงานเปน็ กลุ่ม มีสัมพนั ธภาพท่ีดใี นกลุ่ม • ผ้สู ูงอายุมรี ายได้จากการขายผักในสวน ประมาณ ๑,๕๐๐ บาทตอ่ คนตอ่ เดอื น และลดราย จา่ ยคา่ ปุ๋ยในครัวเรือนได้ 218 องค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลศรีฐาน อำ� เภอปา่ ติว้ จงั หวัดยโสธร
ประเดน็ การพัฒนาระบบอาหารชุมชน โครงการ ๓๖๕ วนั ศรสี ะเกษพฒั นาตามปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง หมบู่ า้ นทีด่ ำ� เนินงาน ประชากร การประกอบอาชีพ จำ� นวน ๓ หมบู่ ้าน จำ� นวน ๑,๓๘๗ คน อาชพี ดา้ นการเกษตร หญงิ ๑,๔๒๒ คน ชาย ๑,๓๘๗ คน ๑,๑๘๘ คน ทำ� เกษตรอินทรีย์ ๙๐ คน ทุนทางสงั คม บคุ คลตน้ แบบดา้ นการเกษตร, กลมุ่ บรหิ ารจดั การนำ�้ , โรงสชี มุ ชน, เทศบาลตำ� บลโนนสงู , โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพต�ำบลหนองบัว โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำ� บลกันตรวจ, ส�ำนักงานพฒั นาชมุ ชนอ�ำเภอขนุ หาญ, ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ�ำเภอขุนหาญ, ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร สาขาขุนหาญ ขอ้ มลู และเคร่ืองมือในการด�ำเนินงาน • กำ� หนดเปา้ หมายและ Road Map เพ่ือขบั เคลอื่ นโครงการ • แผนพัฒนาการเกษตรของตำ� บล ๔ ปี • ปฏิทินการเพาะปลูกพชื Key Actors: เทศบาลตำ� บลโนนสงู พ้นื ที่: เทศบาลตำ� บลโนนสูง อ�ำเภอขุนหาญ จงั หวัดศรสี ะเกษ วิทยากร: นายสุพรรณ ไสว ต�ำแหน่ง: รองนายกเทศมนตรีตำ� บลโนนสงู เบอรโ์ ทรศัพท์: ๐๙๕-๖๐๙-๐๖๔๗ ความเป็นมา จากนโยบายการขับเคล่ือนการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ให้ทุกหมู่บ้านต้องมีการน้อมน�ำหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นแนวทางในการด�ำเนนิ ชีวติ และพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ใหป้ ระชาชนได้รบั รแู้ ละเขา้ ใจปรัชญาเศรษฐกิจ อย่างลึกซง้ึ และนำ� ไปปฏิบตั ใิ นชวี ิตประจำ� วัน สามารถเปน็ ตน้ แบบใหก้ ับชุมชนอ่ืนได้ และจากบริบทพนื้ ทขี่ องเทศบาลตำ� บล โนนสูงมีพนื้ ทีเ่ ปน็ ทรี่ าบลุ่มเหมาะแก่การท�ำเกษตร มปี ระชากรทีป่ ระกอบอาชพี ท�ำนา ๑,๑๘๘ คน ดงั นั้น หลายคร้ังประสบ ภาวะภยั แลง้ นำ้� ท่วม และความผนั ผวนของสภาพอากาศและความไม่แน่นอนของธรรมชาติ อกี ท้งั กระแสโลกาภวิ ตั น์ที่ส่งผล ให้วิถชี ีวิต ความเป็นอยูต่ อ้ งแปรเปล่ียนไปท�ำให้เกิดปญั หาสังคมตามมา เทศบาลต�ำบลโนนสูงเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีอ�ำนาจหน้าท่ีในการส่งเสริม สนับสนุน สร้างความเข้ม แขง็ ของชมุ ชน จงึ ได้ดำ� เนินโครงการ ศรสี ะเกษพฒั นา ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ประจ�ำปงี บประมาณ ๒๕๖๐ เพ่อื ใหเ้ ปน็ หมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบไดน้ ำ� หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปปฏบิ ตั กิ ารพง่ึ ตนเองทง้ั ในระดบั ตนเอง ครวั เรอื น และชมุ ชน น�ำไปสคู่ ณุ ภาพชวี ติ ดี มีความสขุ และชมุ ชน เปน็ ชุมชน “อยเู่ ย็น เป็นสุข” โดยการบรหิ ารจัดการชมุ ชนของ ผนู้ ำ� ชมุ ชนและการดำ� เนนิ กจิ กรรมของครอบครวั พฒั นาทเี่ ขม้ แขง็ อยา่ งยง่ั ยนื โดยเทศบาลดำ� เนนิ การมาแลว้ ๓ หมบู่ า้ น คอื หมู่ ท่ี ๖ เมือ่ ปี ๒๕๕๙ หมทู่ ี่ ๔ เมอ่ื ปี ๒๕๖๐ หมู่ท่ี ๓ เมอ่ื ปี ๒๕๖๑ และจะขยายพื้นทีก่ ารด�ำเนนิ งานตอ่ ไป เทศบาลต�ำบลโนนสูง อำ� เภอขุนหาญ จงั หวัดศรีสะเกษ 219
กลุม่ เป้าหมาย ครัวเรอื นเกษตรกรและประชาชนทัว่ ไปทสี่ มัครใจเข้าร่วม ใน ๓ หมู่บ้าน รูปธรรมการด�ำเนนิ งาน • ขับเคล่ือนโครงการโดยท�ำตาม Road Map ของจงั หวัดศรสี ะเกษ อ�ำเภอขุนหาญทม่ี ีระยะ การท�ำงานเป็น๓ ระยะ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการระดบั อ�ำเภอและมหี น่วยงานภาครฐั ในอ�ำเภอ ทุกภาคส่วนมาร่วมขับเคล่ือน พรอ้ มดว้ ยท้องถ่ิน ทอ้ งที่ และหนว่ ยงานในตำ� บลโนนสูง • ก�ำหนดเป้าหมายในการร่วมกันคือ ชุมชนน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิต ประจ�ำวัน ชุมชนมีสุขอนามัยส่ิงแวดล้อมดี และชุมชนมีเศรษฐกิจดี มีการออมในครัวเรือน เนน้ การทำ� เกษตรอินทรีย์ • ประสานขอความรว่ มมือไปยงั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ เช่น สนง.พัฒนาชมุ ชนอ�ำเภอ ธกส.ขุนหาญ รพ.สต.กนั ตรวจ กศน.อำ� เภอขนุ หาญ รว่ มเปน็ วทิ ยากรเสรมิ เตมิ เตม็ ความรใู้ หต้ ามความถนดั ความชำ� นาญของแตล่ ะหน่วยงาน ชุมชนศรีสะอโศก อ.กนั ทรลักษณ์ จงั หวัดศรสี ะเกษ • จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและศึกษาดูงานหมู่บ้านต้นแบบ กจิ กรรมถอดบทเรยี น สง่ เสรมิ การทำ� เกษตรอนิ ทรยี ์ สง่ เสรมิ ครวั เรอื นตน้ แบบผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ ใช้เองในครวั เรอื น เปน็ แบบอยา่ งในการคดั แยกขยะ รณรงค์รกั ษาความสะอาดและปลกู ผัก สวนครัวรัวกินได้ • พาครวั เรอื นตน้ แบบเขา้ อบรมแนวทางการทำ� ปยุ๋ หมกั ชวี ภาพและเรยี นรวู้ ถิ ชี วี ติ แบบพอเพยี ง ตามแนวทางของชุมชนศรีสะอโศก ที่บ้านกระแซง อ�ำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นการเพม่ิ ศกั ยภาพใหก้ ับครัวเรอื นตน้ แบบไดน้ �ำมาปรับใช้ในชุมชน ผลการด�ำเนินงาน เกดิ ครวั เรอื นตน้ แบบในการใชช้ วี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไดป้ ลี ะไมน่ อ้ ยกวา่ ๓๐ ครวั เรือน บา้ นหนองบวั เกดิ อาชีพเสริมเกิดกลมุ่ ทอเสือ่ กก จ�ำนวน ๑ กลุม่ ชุมชนมอี าหารปลอดภัยไวบ้ ริโภคใน ครัวเรือน ลดปริมาณการใช้สารเคมีในภาคเกษตรกรรมได้เพราะครัวเรือนมีการผลิตปุ๋ยชีวภาพไว้ใช้เองใน ครัวเรือน จ�ำนวน ๑ หมู่บ้าน คือบ้านกระเบาหมู่ท่ี ๔ เกิดการรวมกลุ่มกันท�ำปุ๋ยชีวภาพอัดเม็ด จ�ำนวน ๑ กลุ่ม มีบุคคลต้นแบบสามารถถ่ายทอดความรู้ด้านการท�ำเกษตรอินทรีย์ได้ มีแปลงนาเกษตรอินทรีย์ใน พน้ื ท่ี จ�ำนวน ๒ คน 220 เทศบาลตำ� บลโนนสงู อ�ำเภอขุนหาญ จงั หวัดศรสี ะเกษ
ประเด็น การพัฒนาระบบอาหารชมุ ชน ศูนย์บริการและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตร ประจำ� ตำ� บลมะเกลอื ใหม่ หมู่บา้ นในเขตพ้นื ท่ี เกษตรกร พ้นื ท่กี ารเกษตร ๑๒ หมบู่ ้าน ๖๙๙ ครวั เรือน พืน้ ทท่ี งั้ หมด ๕๘,๓๕๘ ไร่ รอ้ ยละ ๒๙.๓๙ รายไดใ้ นภาคเกษตรเฉล่ยี นาขา้ ว ๑,๑๔๕ ไร่ ๑๒๕,๘๖๗ บาท/ปี มันส�ำปะหลงั ๒๐,๓๙๗ ไร่ ขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ ๗,๖๖๒ ไร่ อื่นๆ ๑๙,๖๙๔ ไร่ ทุนทางสังคม • คณะกรรมการศนู ย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจ�ำตำ� บลมะเกลือใหม่ จำ� นวน ๑๖ คน • เกษตรกรในพนื้ ทีเ่ ปน็ สมาชิก และมศี นู ย์เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการผลิตสินคา้ เกษตร จำ� นวน ๑ แหง่ • ศนู ย์เรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง จ�ำนวน ๑ แหง่ • มีกลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชนโรงสีข้าวชมุ ชน จำ� นวน ๑ แหง่ , ศูนย์ข้าวชุมชนต�ำบลมะเกลอื ใหม่, มกี ลุม่ แปรรูป ผลผลิตทางการเกษตร, กลมุ่ ผเู้ พาะเลี้ยงสตั ว์น้ำ� จืด เปน็ ต้น ข้อมูลและเคร่ืองมอื ในการด�ำเนนิ งาน • แบบค�ำรอ้ งทะเบยี นเกษตรกร (สำ� หรับครัวเรือนเกษตรกร) • ปฏิทินปลูกพชื ผักตามฤดูกาล • แบบคำ� ร้องทะเบยี นผู้เพาะเลีย้ งสตั ว์น�้ำ • แบบสอบถามและแบบประเมิน Key Actors : ศูนยบ์ ริการและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรประจำ� ต�ำบลมะเกลือใหม่ พน้ื ท่ี: องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบลมะเกลือใหม่ อ�ำเภอสูงเนนิ จังหวัดนครราชสมี า วิทยากร: นายไวพจน์ บรรจง ตำ� แหนง่ : ผ้อู �ำนวยการกองสง่ เสรมิ การเกษตร องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลมะเกลอื ใหม่ เบอร์โทรศพั ท์: ๐๘๙-๘๔๗๘๗๔๑ ความเป็นมา สืบเนือ่ งมาจากการถา่ ยโอนภารกิจของกรมสง่ เสรมิ การเกษตร ให้กับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ตามพระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ และประกาศคณะกรรมการ การกระจายอ�ำนาจให้แกอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ พ.ศ.๒๕๔๓ เป็นต้นมา มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งข้อมูลความรู้จากวิทยาการเกษตรด้านต่างๆ ให้ ครอบคลมุ ทุกพ้ืนทีต่ ำ� บล เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ลดต้นทุนการผลิต ให้เกษตรกรได้รบั ความรู้ท่ถี ูกต้องตรง ตามหลักวิชาการ ช่วยให้ผลผลิตด้านการเกษตรมีคุณภาพมากยิ่งข้ึน โดยปัจจุบันต�ำบลมะเกลือใหม่ มีเกษตรกรในพน้ื ท่จี ำ� นวน ๑,๓๐๑ ครวั เรือน ไดร้ บั ถา่ ยทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรอยา่ งต่อเนอื่ ง องค์การบรหิ ารส่วนตำ� บลมะเกลอื ใหม่ อ�ำเภอสงู เนนิ จงั หวดั นครราชสีมา 221
กลุ่มเปา้ หมาย • เกษตรกรในพนื้ ท่ตี ำ� บลมะเกลือใหม่ จ�ำนวน ๖๙๙ คน เพศชาย ๓๐๑ คน เพศหญิง ๓๙๘ คน รูปธรรมการดำ� เนินงาน การขับเคลื่อนการท�ำงานโดยระบบการท�ำงานรูปแบบคณะกรรมการศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตรประจ�ำต�ำบล คณะกรรมการได้รับการคัดเลือกจากตัวแทนเกษตรกรจิตอาสาในพ้ืนที่ จ�ำนวน ๑๖ ราย เกษตรกรในพ้ืนที่ร่วมเป็นสมาชิกท้ังหมด ซ่ึงกลไกขับเคล่ือนการท�ำงานประสานงานกับ ทอ้ งถนิ่ ทอ้ งท่ี หนว่ ยงาน และแกนนำ� ภาคประชาชน ดา้ นการเกษตร เปน็ หลกั มหี นา้ ทค่ี อยชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กัน ในดา้ นการใหบ้ ริการ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีดา้ นการเกษตร มพี ัฒนาการของกลมุ่ เกษตรกรตามลำ� ดบั สืบเนื่องมาจากการเรียนรู้ตามรูปแบบโรงเรียนเกษตรกร สามารถต่อยอดเป็นศูนย์ข้าวชุมชนและโรงสีข้าว ชมุ ชน ตลอดจนกลมุ่ อาชพี ดา้ นการเกษตรตา่ งๆ ในพนื้ ที่ ลว้ นแลว้ แตก่ อ่ เกดิ มาจากการเรยี นรจู้ ากศนู ยบ์ รกิ าร และถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรประจำ� ต�ำบลมะเกลือใหมท่ ง้ั สน้ิ ผลการด�ำเนนิ งาน ผลกระทบจากการดำ� เนนิ งานโดยการถา่ ยทอดเทคโนโลยดี า้ นการเกษตร ในปจั จบุ นั มอี าสาสมคั ร เกษตรประจำ� หมบู่ ้านทกุ หมบู่ ้านของตำ� บลมะเกลือใหมเ่ ขา้ มามบี ทบาทมากย่ิงขนึ้ เกษตรกรและประชาชน ในพน้ื ที่ ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการลดตน้ ทนุ การผลติ และการปลกู พชื อาหารปลอดภยั มากยง่ิ ขนึ้ การ ถา่ ยทอดความรู้โดยผู้น�ำตัวแทนเกษตรกรไปสู่เกษตรกรรายยอ่ ยทั่วถึงมากย่ิงขน้ึ เกิดการสร้างอาชีพเกษตร ทางเลือก การลดต้นทุนการผลิต ลดการใช้สารเคมี การปลูกพืชผสมผสาน ส่งผลให้เกษตรกรในพื้นท่ีมี คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ยี ง่ิ ขน้ึ เกษตรกรไดน้ ำ� ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการฝกึ อบรมตามโครงการตา่ งๆ เกดิ การรวมกลมุ่ องคก์ ร ในชมุ ชนสรา้ งอาชีพและรายได้จากการเกษตร สืบเนือ่ งมาจนถงึ ปจั จุบัน 222 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลมะเกลือใหม่ อ�ำเภอสูงเนนิ จงั หวัดนครราชสีมา
ประเด็น การพัฒนาระบบอาหารชุมชน ศนู ย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเกษตร ต�ำบลป่าก่อ หม่บู ้านในเขตพนื้ ที่ ประชากรทัง้ สิ้น ข้อมูลการ จ�ำนวน ๑๓ หม่บู ้าน จำ� นวน ๘,๔๕๐ คน จ�ำนวน ๒,๒๒๒ ครวั เรือน หญิง ๔,๒๗๐ คน ประกอบอาชพี ชาย ๔,๑๘๐ คน ทางการเกษตร ๒,๖๕๒ คน ทนุ ทางสงั คม หมอดนิ / วิทยากรประจำ� ศนู ยเ์ รียนรู้ / เกษตรกร / อาสาสมคั รเกษตรประจ�ำหม่บู ้าน ข้อมลู และเคร่ืองมือในการดำ� เนินงาน • ขอ้ มลู และเคร่อื งมอื ในการด�ำเนนิ งาน • โครงการจดั ตั้งศนู ย์บรกิ ารและถา่ ยทอดเทคโนโลยีการเกษตรตำ� บล • วิทยากรและอาสาสมคั รเกษตรประจ�ำหมบู่ ้าน • คณะกรรมการบรหิ ารศนู ยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยี • แผนการด�ำเนินงานการเกษตร • โครงการปลกู สับปะรดพนั ธป์ุ ัตตาเวีย Key Actors: ศูนยบ์ ริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรต�ำบล พื้นท่:ี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบลปา่ กอ่ อำ� เภอชานุมาน จงั หวดั อ�ำนาจเจรญิ วทิ ยากร: นางสาวรรณภา ชินแสง ต�ำแหนง่ : นักวชิ าการการเกษตรปฏบิ ัติการ เบอร์โทรศพั ท:์ ๐๙๐-๙๕๒๘๕๑๑ ความเปน็ มา ศนู ยบ์ รกิ ารและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรประจำ� ตำ� บล จดั ตงั้ ขนึ้ ภายใตโ้ ครงการศนู ยบ์ รกิ าร และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรชุมชน ตามมติคณะรัฐมนตรีในวนั ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๓ หลงั จากที่นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าก่อได้น�ำทีมพนักงานส่วนต�ำบลไปศึกษาดูงานตามโครงการศูนย์ ศึกษาพัฒนาเขาหินซ้อนอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา จึงได้มีแนวคิดในการจัดต้ังศูนย์ บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจ�ำต�ำบลขึ้น เพ่ือให้ประชาชนต�ำบลป่าก่อ อ�ำเภอชานุมาน จงั หวัดอ�ำนาจเจริญ ไดม้ ีศนู ย์เรยี นร้ดู า้ นการเกษตรในพื้นต�ำบลข้นึ โดยที่ประชาชนไมต่ อ้ งเสยี เวลาและค่า ใช้จ่ายในการเดินทางไปศึกษาดูงานในต่างจังหวัด ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีจึงได้แต่งตั้งคณะ กรรมการ วิทยากรผู้ที่มีความรู้ความสามารถและมีประสบการณ์จริงประจ�ำศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีประจ�ำต�ำบล เพ่ือให้บริการและให้ค�ำแนะน�ำให้กับประชาชนท่ีสนใจเข้ามาศึกษาดูงานในศูนย์ เรียนรู้ และนำ� ไปปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ ในชีวติ ประจำ� วนั องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบลปา่ ก่อ อ�ำเภอชานมุ าน จังหวดั อำ� นาจเจริญ 223
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263