Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมกฎหมายยาเสพติดพร้อมด้วยกฎกระทรวง ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

รวมกฎหมายยาเสพติดพร้อมด้วยกฎกระทรวง ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2020-06-16 00:22:36

Description: ผลิตโดย สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)
หนังสือ,เอกสาร,บทความ และภาพถ่ายที่นำมาเผยแพร่นี้
ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

พระราชบญั ญัตปิ ้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๑๙ 139 ข้อ ๒๐ เมอ่ื มกี ารจบั กมุ บคุ คลดังต่อไปนี้ (๑) เจ้าหน้าท่ีของรัฐกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติดในข้อหา ผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรอื มไี วใ้ นครอบครองเพื่อจำหนา่ ยซง่ึ ยาเสพติด (๒) เจ้าหน้าที่ของรัฐครอบครองซ่ึงวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ เกินปริมาณ ทรี่ ัฐมนตรปี ระกาศกำหนดอนั เป็นความผดิ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวัตถทุ อี่ อกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (๓) เจ้าหน้าที่ของรัฐที่เป็นเจ้าพนักงานซ่ึงต้องหาว่ากระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าท่ีราชการหรือ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าท่ีในการยุติธรรมตามประมวลกฎหมายอาญาและความผิดดังกล่าวนั้นเก่ียวเนื่องกับ การกระทำความผดิ เกย่ี วกับยาเสพติดในขอ้ หาตาม (๑) หรอื เกีย่ วเนอื่ งกบั การกระทำความผิดตาม (๒) ให้เจ้าพนักงานผู้จับแจ้งไปยังกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดภายใน ๔๘ ช่ัวโมง นับแต่ เวลาจับกุม หากผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดพิจารณาเห็นว่าควรดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วย มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด ก็ให้แจ้งพนักงานสอบสวนส่งสำนวนการ สอบสวนพร้อมตัวผู้ต้องหาและของกลาง (ถา้ มี) ไปยังกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพตดิ เพ่อื ดำเนนิ คดี ในกรณีท่ีผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดเห็นว่าเป็นคดีสำคัญหรืออาจเกี่ยวพันกับ การดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด จะสง่ นายตำรวจตัง้ แต่ตำแหน่งสารวัตรขึน้ ไปไปตรวจสอบและใหค้ ำแนะนำเกย่ี วกบั การสอบสวนคดีน้ันก็ได้ ในกรณีตามวรรคสาม หากผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดจะให้พนักงานสอบสวน กองบังคับการสอบสวน ดำเนินคดีดังกล่าวฝ่ายเดียวหรือร่วมสอบสวนด้วยก็ให้เสนอสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พิจารณาสง่ั การ ข้อ ๒๑ เมื่อปรากฏผลการสอบสวนตามข้อ ๒๐ ว่า เจ้าหน้าท่ีของรัฐกระทำความผิด ให้ผู้บัญชาการ ตำรวจปราบปรามยาเสพติดแจ้งผลการสอบสวนไปยังเลขาธิการ ป.ป.ส. เพ่ือจะได้สรุปข้อเท็จจริงและรายงาน ต่อ ป.ป.ส. และแจ้งไปยงั ผู้บังคับบัญชาของเจ้าหนา้ ท่ีของรัฐนัน้ ต่อไป ให้ผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งได้รับแจ้งตามวรรคหน่ึง ดำเนินการทางวินัย ตามหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารของกฎหมาย ระเบยี บหรอื ขอ้ บังคับท่ใี ช้แก่เจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐทก่ี ระทำความผิดนัน้ (๘) ขอ้ ๒๒ เมื่อปรากฏผลการสอบสวนตามข้อ ๒๐ ว่า เจ้าหน้าท่ีของรัฐมิได้กระทำความผิดและ พนักงานอัยการมีคำส่ังเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี ให้พนักงานอัยการแจ้งไปยังเลขาธิการ ป.ป.ส. ตามแบบ ป.ป.ส. ๖-๔๕ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประสานงานในคดีความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด เพื่อท่ีจะรายงานต่อ ป.ป.ส. และแจ้งไปยังผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าท่ีของรัฐนั้น เพ่ือดำเนินการตามอำนาจ หน้าทต่ี อ่ ไป ขอ้ ๒๓ ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐตกเป็นผู้ต้องหาตามข้อ ๒๐ และได้ยื่นคำร้องขอให้ปล่อยชั่วคราว ต่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ หรือเมื่อผู้ต้องหานั้นต้องขังตามหมายศาลและยังมิได้ถูกฟ้องต่อศาล และไดย้ ืน่ คำร้องขอให้ปลอ่ ยชวั่ คราวต่อศาล ใหพ้ นกั งานสอบสวนหรอื พนักงานอัยการพจิ ารณาคำรอ้ งดังกล่าว (๘) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการป้องกันเจ้าหน้าที่ของรัฐมิให้เก่ียวข้องกับยาเสพติด (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๔ ขอ้ ๕

140 สำนักงาน ป.ป.ส. ด้วยความรอบคอบ โดยคำนงึ ถงึ สิทธขิ องผ้ตู อ้ งหาตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย และอาศยั หลกั เกณฑ์ ตามมาตรา ๑๐๘ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หากเห็นว่าไม่ควรให้ปล่อยช่ัวคราว ก็ให้ พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการพิจารณาส่ังไม่อนุญาตหรือคัดค้านคำร้องขอปล่อยช่ัวคราวต่อศาล แลว้ แต่กรณี โดยใหแ้ สดงเหตุผลและความจำเป็นทีไ่ มส่ มควรให้ปล่อยชวั่ คราวไวด้ ว้ ย ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐตกเป็นจำเลยตามข้อ ๒๐ และได้ย่ืนคำร้องขอให้ปล่อยชั่วคราว ในชั้นพจิ ารณาคดขี องศาล ใหพ้ นักงานอัยการพิจารณาคดั คา้ นคำร้องขอปล่อยชวั่ คราวนัน้ ตามควรแก่กรณี ขอ้ ๒๔ ในกรณีท่ีกระทรวงการต่างประเทศได้รับแจ้งหรือทราบว่ามีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำความผิด เก่ียวกับยาเสพติดนอกราชอาณาจักร ให้กระทรวงการต่างประเทศแจ้งไปยังเลขาธิการ ป.ป.ส. โดยเร็วเพ่ือให้ เลขาธกิ าร ป.ป.ส. สรุปขอ้ เทจ็ จริงและรายงานต่อ ป.ป.ส. และแจง้ ไปยงั ผู้บังคับบญั ชาของเจ้าหนา้ ที่ของรฐั นั้น ให้สำนักงาน ป.ป.ส. ติดตามผลการดำเนินคดีตามวรรคหน่ึง และเม่ือคดีถึงท่ีสุดเป็นประการใด ให้รายงาน ป.ป.ส. และแจ้งไปยังผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าท่ีของรัฐนั้นและสำนักงานตำรวจแห่งชาต ิ เพือ่ ดำเนนิ การตามอำนาจหน้าทีต่ ่อไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ชวน หลกี ภยั นายกรฐั มนตรี

พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผดิ เกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 141 พระราชบัญญตั ิ มาตรการในการปราบปรามผ้กู ระทำความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๑๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๓๔ เปน็ ปที ่ี ๔๖ ในรัชกาลปจั จุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศวา่ โดยท่ีเป็นการสมควรมีกฎหมายวา่ ดว้ ยมาตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผิดเกี่ยวกบั ยาเสพติด (๑) พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึง มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัย อำนาจตามบทบญั ญตั ิแหง่ กฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบัญญัตขิ ึ้นไวโ้ ดยคำแนะนำและยนิ ยอมของสภานติ บิ ัญญตั ิ แหง่ ชาติ ดงั ตอ่ ไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตนิ ใี้ หใ้ ช้บังคับตัง้ แต่วันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (๒) มาตรา ๓ ในพระราชบัญญตั ินี้ (๑) ขอ้ ความดังกล่าวเพ่มิ เตมิ โดย พระราชบญั ญัติมาตรการในการปราบปรามผ้กู ระทำความผิดเกยี่ วกับยาเสพตดิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ ซึ่งประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๑๗ ตอนท่ี ๓๗ ก ลงวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๔๓ (๒) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพเิ ศษ เลม่ ๑๐๘ ตอนที่ ๑๗๐ ลงวนั ที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๓๔

142 สำนักงาน ป.ป.ส. “ยาเสพติด” หมายความว่า ยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ และยาเสพติด ตามกฎหมายวา่ ด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด ทงั้ นี้ ตามทร่ี ัฐมนตรกี ำหนดในกฎกระทรวง (๓) “กฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด” หมายความว่า กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษและกฎหมายว่าด้วย วตั ถทุ ่ีออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท “ความผิดเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ ” หมายความว่า การผลติ นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไวใ้ นครอบครอง เพ่ือจำหน่ายซ่ึงยาเสพติด และให้หมายความรวมถึง การสมคบ สนับสนุน ช่วยเหลือ หรือพยายามกระทำ ความผดิ ดังกลา่ วด้วย “ทรัพย์สินท่ีเก่ียวเนื่องกับการกระทำความผิด” หมายความว่า เงิน หรือทรัพย์สินที่ได้รับมาเนื่องจาก การกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด และให้หมายความรวมถึง เงินหรือทรัพย์สินท่ีได้มาโดยการใช้เงินหรือ ทรัพย์สินดังกล่าว ซื้อหรือกระทำไม่ว่าด้วยประการใดๆ ให้เงินหรือทรัพย์สินนั้นเปล่ียนสภาพไปจากเดิม ไม่ว่าจะมีการเปล่ียนสภาพก่ีคร้ัง และไม่ว่าเงินหรือทรัพย์สินนั้นจะอยู่ในความครอบครองของบุคคลอ่ืน โอนไปเป็นของบคุ คลอืน่ หรอื ปรากฏตามหลกั ฐานทางทะเบยี นว่าเปน็ ของบุคคลอ่นื ก็ตาม “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการตรวจสอบทรพั ย์สิน “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการตรวจสอบทรัพย์สินและให้หมายความรวมถึงประธานกรรมการ ตรวจสอบทรพั ย์สนิ ดว้ ย “กองทุน” หมายความวา่ กองทุนปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ “พนักงานเจ้าหนา้ ท่”ี หมายความวา่ ผซู้ งึ่ รฐั มนตรีแตง่ ต้งั ใหป้ ฏิบตั กิ ารตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธกิ ารคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด “สำนกั งาน” หมายความวา่ สำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ “รฐั มนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรผี ้รู ักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม(๔) รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจ แต่งตงั้ พนักงานเจ้าหน้าที่ กับออกกฎกระทรวงและระเบยี บเพ่อื ปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัติน ้ี กฎกระทรวงและระเบียบนั้นเมอ่ื ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ ใหใ้ ช้บังคบั ได้ หมวด ๑ บททว่ั ไป มาตรา ๕ ผู้ใดกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด แม้จะกระทำนอกราชอาณาจักรผู้น้ันจะต้อง รบั โทษในราชอาณาจกั ร ถ้าปรากฏว่า (๓) ดกู ฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบญั ญตั มิ าตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ (๔) เปล่ียนแปลงเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม โดยมาตรา ๑๑๓ (๒) แห่งพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและ อำนาจหน้าท่ีของส่วนราชการใหเ้ ป็นไปตามพระราชบญั ญัตปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ และ พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๘๗

พระราชบัญญตั มิ าตรการในการปราบปรามผ้กู ระทำความผิดเกย่ี วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ 143 (๑) ผู้กระทำความผิดหรือผู้ร่วมกระทำความผิดคนใดคนหนึ่งเป็นคนไทย หรือมีถิ่นท่ีอยู่ใน ประเทศไทย หรอื (๒) ผู้กระทำความผิดเป็นคนต่างด้าว และได้กระทำโดยประสงค์ให้ความผิดเกิดข้ึนใน ราชอาณาจกั รหรอื รัฐบาลไทยเปน็ ผเู้ สียหาย หรือ (๓) ผู้กระทำความผิดเป็นคนต่างด้าวและการกระทำนั้นเป็นความผิดตามกฎหมายของรัฐท่ีการ กระทำเกิดข้ึนในเขตอำนาจของรัฐน้ัน หากผู้น้ันได้ปรากฏตัวอยู่ในราชอาณาจักรและมิได้มีการส่งตัวผู้นั้น ออกไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งผ้รู า้ ยขา้ มแดน ทั้งนี้ ให้นำมาตรา ๑๐ แห่งประมวลกฎหมายอาญามาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม มาตรา ๖ ในความผิดเกีย่ วกับยาเสพติด ผใู้ ดกระทำการอยา่ งใดอย่างหน่ึง ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษ เช่นเดยี วกบั ตัวการในความผดิ นน้ั (๑) สนบั สนนุ หรือช่วยเหลือผกู้ ระทำความผิดก่อนหรอื ขณะกระทำความผิด (๒) จัดหาหรือให้เงินหรือทรัพย์สิน ยานพาหนะ สถานท่ีหรือวัตถุใดๆ เพ่ือประโยชน์ หรือให้ความ สะดวกแกก่ ารกระทำความผิด หรอื เพอ่ื มใิ ห้ผกู้ ระทำความผิดถูกลงโทษ (๓) จัดหาหรือให้เงินหรือทรัพย์สิน ที่ประชุม ที่พำนัก หรือที่ซ่อนเร้นเพื่อช่วยเหลือหรือให้ความ สะดวกแกผ่ ู้กระทำความผิด หรอื เพอ่ื ช่วยให้ผู้กระทำความผิดพ้นจากการถูกจบั กมุ (๔) รับเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดจากผู้กระทำความผิดเพ่ือประโยชน์ หรือให้ความสะดวก แก่การกระทำความผดิ หรือเพื่อมใิ ห้ผกู้ ระทำความผดิ ถูกลงโทษ (๕) ปกปิด ซ่อนเร้นหรือเอาไปเสียซึ่งยาเสพติดหรือวัตถุใดๆ ท่ีใช้ในการกระทำความผิดเพื่อช่วยเหลือ ผู้กระทำความผิด (๖) ชแ้ี นะ หรือตดิ ตอ่ บุคคลอืน่ เพื่อประโยชน์ในการกระทำความผิด ผู้ใดจัดหาหรือให้เงินหรือทรัพย์สิน ที่พำนักหรือที่ซ่อนเร้นเพ่ือช่วยบิดา มารดา บุตร สามี หรือ ภริยาของตนให้พ้นจากการถูกจับกุม ศาลจะไม่ลงโทษผู้น้ันหรือลงโทษผู้น้ันน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้ สำหรบั ความผดิ น้ันเพยี งใดกไ็ ด้ มาตรา ๗ ผู้ใดพยายามกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ต้องระวางโทษตามท่ีกำหนดไว้สำหรับ ความผดิ นัน้ เช่นเดียวกับผู้กระทำความผิดสำเร็จ มาตรา ๘ ผู้ใดสมคบโดยการตกลงกันต้ังแต่สองคนข้ึนไปเพื่อกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด ผู้น้นั สมคบกนั กระทำความผิดเกยี่ วกับยาเสพติด ตอ้ งระวางโทษจำคุกไมเ่ กินหา้ ปี หรือปรบั ไม่เกนิ ห้าหมน่ื บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรับ ถ้าได้มีการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติดเพราะเหตุที่ได้มีการสมคบกันตามวรรคหน่ึง ผู้สมคบกัน น้นั ต้องระวางโทษตามทก่ี ำหนดไว้สำหรับความผดิ น้ัน

144 สำนกั งาน ป.ป.ส. มาตรา ๙ ผู้ใดกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติดโดยแต่งเคร่ืองแบบหรือโดยแต่งกายให้เข้าใจว่า เป็นเจ้าพนักงาน ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานองค์การ หรือหน่วยงานของรัฐ หรือพนักงาน รฐั วิสาหกจิ ต้องระวางโทษหนกั กวา่ โทษตามท่กี ำหนดไว้สำหรบั ความผิดนน้ั อกี ก่งึ หนง่ึ มาตรา ๑๐ กรรมการหรืออนุกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายเก่ียวกับยาเสพติด เจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภาเทศบาลหรือสภาท้องถ่ินอื่น ข้าราชการ พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานองค์การหรือหน่วยงานของรัฐหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจผู้ใด กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติดหรือกระทำความผิดตามมาตรา ๔๒ ต้องระวางโทษเป็นสามเท่าของโทษ ทีก่ ำหนดไวส้ ำหรบั ความผดิ นัน้ มาตรา ๑๑ กรรมการหรืออนุกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด เจ้าพนักงานหรือข้าราชการผู้ใดกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าท่ีราชการ หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่ง หน้าที่ในการยุติธรรมตามท่ีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญาอันเกี่ยวเน่ืองกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับ ยาเสพตดิ ต้องระวางโทษเป็นสามเทา่ ของโทษทีก่ ำหนดไวส้ ำหรับความผิดนน้ั มาตรา ๑๒ การกำหนดโทษจำคุกที่จะลงแก่ผู้กระทำความผิดตามมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือ มาตรา ๑๑ ใหก้ ำหนดโทษจำคกุ อย่างสงู ทสี่ ุดไดไ้ ม่เกนิ หา้ สิบปี มาตรา ๑๓ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี ให้กรรมการ อนุกรรมการ เลขาธิการ และ พนักงานเจา้ หน้าทเ่ี ป็นเจา้ พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๔ การจับกุมหรือการแจ้งข้อหาแก่ผู้กระทำความผิดตามมาตรา ๖ หรือตามมาตรา ๘ ต้องได้รับอนุมัติจากเลขาธิการก่อน และเมื่อดำเนินการตามที่ได้รับอนุมัติแล้ว ให้รายงานให้เลขาธิการ ทราบทนั ที การขออนุมัติ การอนุมัติ และการรายงานตามวรรคหน่ึงให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข ที่กำหนดในกฎกระทรวง (๕) หมวด ๒ คณะกรรมการตรวจสอบทรพั ยส์ ิน (๖) มาตรา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินคณะหนึ่งประกอบด้วย ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานกรรมการ อัยการสูงสุดเป็นรองประธานกรรมการ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อธิบดีกรมที่ดิน อธิบดีกรมบังคับคดี อธิบดีกรมศุลกากร อธิบดีกรมสรรพากร และผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยเป็น กรรมการ และเลขาธกิ ารเปน็ กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการจะแต่งต้ังข้าราชการคนใดคนหนง่ึ ในสำนกั งานเปน็ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารก็ได้ ในกรณีที่กรรมการตามวรรคหน่ึงนอกจากประธานกรรมการไม่อาจมาประชุมได้ อาจมอบหมายให ้ ผู้ดำรงตำแหน่งรองหรือเทียบเท่าหรือผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมการมา ประชุมแทนเฉพาะคร้งั นน้ั กไ็ ด้ (๕) ดกู ฎกระทรวง ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรการในการปราบปรามผ้กู ระทำความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ (๖) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๓ และใหใ้ ชข้ ้อความทีพ่ มิ พไ์ วน้ แี้ ทน

พระราชบัญญตั ิมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 145 มาตรา ๑๖ ใหค้ ณะกรรมการมอี ำนาจหนา้ ท่ีดงั ต่อไปน้ี (๑) เสนอแนะต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับการออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ และมาตรา ๓๓ (๒) ตรวจสอบทรัพยส์ ินที่เกยี่ วเนื่องกบั การกระทำความผดิ เก่ยี วกบั ยาเสพติด (๓) วินิจฉัยว่าทรัพย์สินใดของผู้ต้องหาหรือผู้อ่ืนเป็นทรัพย์สินที่เก่ียวเน่ืองกับการกระทำความผิด เกย่ี วกับยาเสพตดิ หรือไม่ (๔) ยึดหรอื อายัดทรัพย์สินตามมาตรา ๒๒ (๕) วางระเบียบเก่ียวกับการเก็บรักษา การนำทรัพย์สินออกขายทอดตลาด และการนำทรัพย์สิน ไปใชป้ ระโยชน์ตามมาตรา ๒๔ และระเบียบเก่ยี วกับกองทุนตามมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ คณะกรรมการอาจมอบหมายให้อนุกรรมการหรือเลขาธิการดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สินตาม (๒) หรือดำเนินการยดึ หรืออายดั ตาม (๔) แล้วรายงานใหท้ ราบกไ็ ด้ มาตรา ๑๗ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าสองในสามของ จำนวนกรรมการท้ังหมดจึงจะเป็นองคป์ ระชุม ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในท่ีประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจ ปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม หากรองประธานไม่มาประชุมหรือไม่อาจ ปฏิบตั หิ นา้ ทไี่ ด้ ให้กรรมการซึง่ มาประชุมเลือกกรรมการคนหน่งึ เป็นประธานในท่ีประชมุ การวินิจฉัยชี้ขาดของท่ีประชุม ให้ถือเสียงสองในสามของกรรมการท่ีมาประชุมกรรมการคนหนึ่ง ใหม้ เี สียงหนงึ่ ในการลงคะแนน มาตรา ๑๘ คณะกรรมการจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นในเรื่องใด เรื่องหนง่ึ หรือปฏิบัติการอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมายก็ได้และใหน้ ำความในมาตรา ๑๗ มาใช้บังคับ โดยอนโุ ลม (๗) มาตรา ๑๙ ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าทรัพย์สินของผู้ต้องหารายใดเป็นทรัพย์สินที่เก่ียวเน่ืองกับ การกระทำความผิดเกยี่ วกับยาเสพติด ใหค้ ณะกรรมการสัง่ ให้มีการตรวจสอบทรัพย์สนิ ของผ้นู ้ัน ในกรณีท่ีมีความจำเป็นเร่งด่วน เลขาธิการอาจสั่งให้มีการตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหาไปก่อนแล้ว รายงานใหค้ ณะกรรมการทราบกไ็ ด ้ ในกรณีท่ีพนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สินแล้วพบว่าการดำเนินการตรวจสอบต่อไปจะ ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทางราชการ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีแจ้งผลการตรวจสอบพร้อมกับความเห็นต่อ คณะกรรมการเพอ่ื พจิ ารณา หากคณะกรรมการเหน็ ดว้ ยกบั ความเหน็ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ทคี่ ณะกรรมการอาจสงั่ ให้ ยตุ ิการตรวจสอบทรพั ยส์ นิ น้นั ก็ได้ ในกรณีทค่ี ณะกรรมการสั่งใหย้ ตุ ิการตรวจสอบทรัพย์สนิ หากคณะกรรมการ เหน็ สมควรจะสง่ั ใหค้ นื ทรพั ยส์ นิ ทมี่ กี ารยดึ หรอื อายดั ไวช้ ว่ั คราวในระหวา่ งการตรวจสอบใหแ้ กเ่ จา้ ของทรพั ยส์ นิ กไ็ ด ้ หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขในการสั่งตรวจสอบทรพั ย์สิน การยตุ กิ ารตรวจสอบทรพั ย์สินหรือการคืน ทรพั ยส์ ินที่ยดึ หรืออายดั ไวช้ ่วั คราว ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการกำหนด (๗) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดย ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๑๖/๒๕๕๗ เรื่อง การแก้ไขเพ่ิมเติม กฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด ลงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ และใหใ้ ช้ความต่อไปน้ีแทน

146 สำนักงาน ป.ป.ส. มาตรา ๒๐ ในการตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหา หากมีหลักฐานเป็นที่เช่ือได้ว่าทรัพย์สินใดของ ผู้อ่ืนเป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวเน่ืองกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดของผู้ต้องหา โดยได้รับทรัพย์สินนั้น มาโดยเสน่หา หรือรู้อยู่ว่าทรัพย์สินนั้นเป็นทรัพย์สินท่ีเก่ียวเน่ืองกับการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด กใ็ หค้ ณะกรรมการมอี ำนาจสงั่ ใหม้ กี ารตรวจสอบทรพั ยส์ นิ ของผนู้ นั้ ดว้ ย และใหน้ ำความในมาตรา ๑๙ วรรคสอง มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม มาตรา ๒๑ คณะกรรมการ หรือเลขาธิการอาจมอบหมายให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีดำเนินการตรวจสอบ ทรัพย์สินแทนแล้วรายงานให้ทราบก็ได้ โดยให้ประกาศเพ่ือให้ผู้ซ่ึงอาจอ้างว่าเป็นเจ้าของทรัพย์สินย่ืนคำร้อง พรอ้ มทง้ั เอกสารหลกั ฐานต่อคณะกรรมการเพอ่ื ขอรบั ทรัพย์สินคืนไดด้ ้วย การตรวจสอบทรัพย์สินและการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขท่ี กำหนดในกฎกระทรวง (๘) มาตรา ๒๒ ในการตรวจสอบทรัพย์สิน ถ้าผู้ถูกตรวจสอบหรือผู้ซึ่งอ้างว่าเป็นเจ้าของทรัพย์สิน ไม่สามารถแสดงหลักฐานได้ว่าทรัพย์สินท่ีถูกตรวจสอบไม่เก่ียวเนื่องกับการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด หรือได้รับโอนทรัพย์สินน้ันมาโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน หรือเป็นทรัพย์สินท่ีได้มาตามสมควรในทาง ศีลธรรมอันดี หรือในทางกุศลสาธารณ ให้คณะกรรมการสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สินนั้นไว้จนกว่าจะมีคำส่ัง เด็ดขาดไม่ฟ้องคดีซ่ึงต้องไม่ช้ากว่าหน่ึงปีนับแต่วันยึดหรืออายัดหรือจนกว่าจะมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้อง ในคดีทตี่ อ้ งหานน้ั เพ่ือประโยชน์ในการตรวจสอบทรัพย์สิน หากมีเหตุอันควรเช่ือได้ว่าทรัพย์สินรายใดอาจมีการโอน ยักย้าย ซุกซ่อน หรือเป็นกรณีท่ีมีเหตุผลและความจำเป็นอย่างอื่น ให้คณะกรรมการมีอำนาจสั่งยึดหรืออายัด ทรัพย์สินรายนั้นไว้ชั่วคราวจนกว่าจะมีการวินิจฉัยตามมาตรา ๑๖(๓) ท้ังนี้ ไม่ตัดสิทธิผู้ถูกตรวจสอบหรือ ผู้ซึ่งอ้างว่าเป็นเจ้าของทรัพย์สินท่ีจะย่ืนคำร้องขอผ่อนผันเพ่ือขอรับทรัพย์สินนั้นไปใช้ประโยชน์โดยไม่ม ี ประกันหรือมีประกันหรือมีประกันและหลักประกันก็ได้ และให้นำความในมาตรา ๑๙ วรรคสองมาใช้บังคับ โดยอนุโลม เม่ือมีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินชั่วคราวแล้ว ให้คณะกรรมการจัดให้มีการพิสูจน์ตามวรรคหนึ่ง โดยเร็ว และในกรณีท่ีผู้ถูกตรวจสอบหรือผู้ซ่ึงอ้างว่าเป็นเจ้าของทรัพย์สินสามารถพิสูจน์ตามวรรคหน่ึงได้ ก็ให้คืนทรัพย์สินให้แก่ผู้น้ัน แต่ถ้าไม่สามารถพิสูจน์ได้ ให้ถือว่าการยึดหรืออายัดตามวรรคสองเป็นการยึด หรอื อายัดตามวรรคหนงึ่ การยื่นคำร้องขอผ่อนผันตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีกำหนดในกฎ กระทรวง (๙) (๘) ดูกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบญั ญตั มิ าตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิด เก่ียวกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ (๙) ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญตั มิ าตรการในการปราบปรามผูก้ ระทำความผิด เก่ียวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔

พระราชบญั ญัติมาตรการในการปราบปรามผ้กู ระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 147 เพื่อประโยชนต์ ามมาตรานี้ คำว่า “ทรพั ยส์ นิ ” ให้หมายความรวมถงึ (๑) ทรัพย์สนิ ที่เปล่ยี นสภาพไป สทิ ธิเรยี กรอ้ ง ผลประโยชน์ และดอกผลจากทรพั ยส์ ินดังกลา่ ว (๒) หน้ีที่บุคคลภายนอกถึงกำหนดชำระแก่ผตู้ ้องหา (๓) ทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติดของผู้ต้องหาท่ีได้รับ ขาย จำหน่าย โอนหรือยักย้ายไปเสียในระหว่างระยะเวลาสิบปีก่อนมีคำส่ังยึดหรืออายัด และภายหลังนั้น เว้นแต่ ผู้รับโอนหรือผู้รับประโยชน์จะพิสูจน์ต่อคณะกรรมการได้ว่าการโอนหรือการกระทำน้ันได้กระทำไปโดยสุจริต และมีค่าตอบแทน มาตรา ๒๓ เม่ือคณะกรรมการหรือเลขาธิการแล้วแต่กรณี ได้มีคำสั่งให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน ใดแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย ดำเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินและประเมินราคาทรัพย์สิน นนั้ โดยเร็วแล้วรายงานให้ทราบ การยึดหรืออายัดทรัพย์สินและการประเมินราคาทรัพย์สินท่ียึดหรืออายัดไว้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ ์ วิธีการและเง่ือนไขท่กี ำหนดในกฎกระทรวง (๑๐) ทัง้ น้ี ใหน้ ำประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพง่ มาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม มาตรา ๒๔ การเก็บรักษาทรัพย์สินที่คณะกรรมการได้มีคำส่ังให้ยึดหรืออายัดไว้ให้เป็นไปตามระเบียบ ทค่ี ณะกรรมการกำหนด ในกรณีท่ีทรัพย์สินตามวรรคหนึ่งไม่เหมาะสมที่จะเก็บรักษาไว้หรือหากเก็บรักษาไว้จะเป็นภาระแก ่ ทางราชการมากกว่าการนำไปใช้ประโยชน์อย่างอ่ืน เลขาธิการอาจสั่งให้นำทรัพย์สินน้ันออกขายทอดตลาด หรือไปใช้เพอื่ ประโยชนข์ องทางราชการแลว้ รายงานใหค้ ณะกรรมการทราบก็ได้ การนำทรัพย์สินออกขายทอดตลาดหรือการนำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ตามวรรคสองให้เป็นไป ตามระเบยี บทีค่ ณะกรรมการกำหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั ถ้าความปรากฏในภายหลังว่าทรัพย์สินที่นำไปใช้ตามวรรคสองมิใช่เป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการ กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ให้คืนทรัพย์สินนั้นพร้อมท้ังชดใช้ค่าเสียหายและค่าเส่ือมสภาพตามจำนวน ทคี่ ณะกรรมการกำหนด โดยใชจ้ ากเงนิ กองทุนใหแ้ กเ่ จา้ ของหรือผ้คู รอบครอง ถ้าไมอ่ าจคืนทรพั ย์สนิ ได้ใหช้ ดใช้ ราคาทรัพย์สินน้ันตามราคาท่ีประเมินได้ในวันที่ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน หรือตามราคาท่ีได้จากการขาย ทอดตลาดทรพั ย์สนิ นั้น แลว้ แตก่ รณี การประเมินค่าเสียหายและคา่ เส่ือมสภาพตามวรรคส่ี ให้เป็นไปตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการกำหนด มาตรา ๒๕ เพ่ือประโยชน์ในการพิจารณาและตรวจสอบทรัพย์สิน ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ ให้กรรมการ อนกุ รรมการและเลขาธกิ าร มีอำนาจดังตอ่ ไปน้ี (๑๐) ดกู ฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญตั มิ าตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิด เกย่ี วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔

148 สำนักงาน ป.ป.ส. (๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกเจ้าหน้าท่ีของส่วนราชการ องค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจมาเพื่อให้ถ้อยคำ ส่งคำชี้แจงเป็นหนังสือ หรือส่งบัญชีเอกสารหรือหลักฐานใดมาเพื่อตรวจสอบ หรอื เพ่อื ประกอบการพจิ ารณา (๒) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดท่ีเก่ียวข้องมาเพ่ือให้ถ้อยคำ ส่งคำช้ีแจงเป็นหนังสือ หรือ ส่งบัญชีเอกสารหรือหลักฐานใดมาเพ่ือตรวจสอบ หรือเพื่อประกอบการพิจารณา ท้ังน้ี รวมถึงการตรวจสอบ จากธนาคาร ตลาดหลักทรพั ยแ์ ละสถาบนั การเงนิ ดว้ ย (๓) เข้าไปในเคหสถาน สถานที่ หรือยานพาหนะใดที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการกระทำความผิด เก่ียวกับยาเสพติด หรือมีทรัพย์สินตามมาตรา ๒๒ ซุกซ่อนอยู่ เพ่ือทำการตรวจค้นหรือเพ่ือประโยชน์ในการ ตรวจสอบ ยึด หรืออายัดทรัพย์สิน ในเวลากลางวันระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก ในกรณีท่ีมี เหตุอันควรเชือ่ ไดว้ ่าหากไม่ดำเนินการในทนั ทีทรัพย์สินนนั้ จะถูกยักย้ายกใ็ หม้ ีอำนาจเขา้ ไปในเวลากลางคนื ในกรณีตาม (๓) ประธานกรรมการ หรือเลขาธิการจะมอบหมายให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติการแทน แล้วรายงานใหท้ ราบกไ็ ด้ ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้ได้รับมอบหมายตามวรรคสอง ต้องแสดงเอกสาร มอบหมายตอ่ บุคคลทีเ่ ก่ยี วข้องทุกคร้งั มาตรา ๒๖ การยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามมาตรา ๒๒ ซึ่งกระทำโดยชอบด้วยกฎหมาย หากก่อ ให้เกดิ ความเสยี หายแกผ่ ู้ใด ผกู้ ระทำไมต่ ้องรับผดิ ใชค้ า่ สินไหมทดแทนเปน็ ส่วนตวั (๑๑) มาตรา ๒๗ เมื่อพนักงานอัยการมีคำสั่งฟ้อง และทรัพย์สินที่คณะกรรมการมีคำสั่งให้ยึดหรืออายัด ตามมาตรา ๒๒ เป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด ก็ให้พนักงานอัยการย่ืน คำร้องเพื่อขอให้ศาลส่ังริบทรัพย์สินนั้น โดยจะย่ืนคำร้องไปพร้อมกับคำฟ้องหรือในเวลาใดๆ ก่อนศาลชั้นต้น มีคำพิพากษาก็ได้ แต่ถ้ามีเหตุอันสมควรแสดงได้ว่าไม่สามารถยื่นคำร้องก่อนศาลชั้นต้นมีคำพิพากษา จะย่ืน คำร้องภายในหนึง่ ปีนับแตว่ นั ที่ศาลช้นั ตน้ มีคำพิพากษาก็ได้ เวน้ แต่มีคำพิพากษาถึงท่ีสดุ ให้ยกฟอ้ ง ในกรณีที่พบว่ามีทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเพ่ิมข้ึนอีก ให้ย่ืนคำร้อง เพ่ือขอให้ศาลสั่งริบทรัพย์สินน้ันภายในหนึ่งปีนับแต่วันท่ีศาลช้ันต้นมีคำพิพากษา เว้นแต่มีคำพิพากษาถึงท่ีสุด ใหย้ กฟ้อง (๑๒) มาตรา ๒๘ เม่ือศาลสั่งรับคำร้องของพนักงานอัยการตามมาตรา ๒๗ แล้ว ให้ศาลส่ังให้ประกาศใน หนังสือพิมพ์ท่ีมีจำหน่ายแพร่หลายในท้องถิ่นสองวันติดต่อกัน เพื่อให้ผู้ซึ่งอาจอ้างเป็นเจ้าของทรัพย์สินมาย่ืน คำร้องขอเข้ามาในคดีก่อนคดีถึงท่ีสุด ในกรณีท่ีมีหลักฐานแสดงว่าผู้ใดอาจอ้างเป็นเจ้าของทรัพย์สินได้ ก็ให้เลขาธิการมีหนังสือแจ้งให้ผู้น้ันทราบเพื่อใช้สิทธิดังกล่าวด้วย โดยแจ้งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ตามทีอ่ ย่คู รง้ั หลงั สุดของผู้นนั้ เท่าทป่ี รากฏหลกั ฐานในสำนวนการสอบสวน คา่ ใชจ้ ่ายในการประกาศและในการแจ้ง ใหจ้ ่ายจากเงนิ ของกองทนุ (๑๑) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๔ และใหใ้ ชข้ อ้ ความที่พิมพ์ไว้นแี้ ทน (๑๒) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๔ และใหใ้ ช้ข้อความท่ีพมิ พ์ไวน้ ีแ้ ทน

พระราชบญั ญัติมาตรการในการปราบปรามผูก้ ระทำความผดิ เก่ยี วกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 149 มาตรา ๒๙ บรรดาทรัพย์สินซ่ึงพนักงานอัยการได้ยื่นคำร้องต่อศาลตามมาตรา ๒๗ วรรคหนึ่งนั้น ใหศ้ าลไต่สวน หากคดีมีมูลว่าเป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวเนือ่ งกบั การกระทำความผิดเกีย่ วกบั ยาเสพติด ให้ศาลส่งั รบิ ทรพั ยส์ นิ นน้ั เวน้ แตบ่ คุ คลซง่ึ อา้ งวา่ เปน็ เจา้ ของทรพั ยส์ นิ ไดย้ น่ื คำรอ้ งขอคนื กอ่ นคดถี งึ ทสี่ ดุ และแสดงใหศ้ าลเหน็ วา่ (๑) ตนเป็นเจ้าของที่แท้จริง และทรัพย์สินนั้นไม่ได้เก่ียวเน่ืองกับการกระทำความผิดเก่ียวกับ ยาเสพตดิ หรือ (๒) ตนเป็นผู้รับโอน หรือผู้รับประโยชน์และได้ทรัพย์สินน้ันมาโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน หรือ ได้มาตามสมควรในทางศีลธรรมอันดี หรือในทางกศุ ลสาธารณ เพื่อประโยชน์แห่งมาตราน้ี ถ้าปรากฏหลักฐานว่าจำเลยหรือผู้ถูกตรวจสอบเป็นผู้เก่ียวข้องหรือ เคยเก่ียวข้องกับการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติดมาก่อน ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าบรรดาเงินหรือทรัพย์สิน ที่ผู้นั้นมีอยู่หรือได้มาเกินกว่าฐานะ หรือความสามารถในการประกอบอาชีพหรือกิจกรรมอย่างอื่นโดยสุจริต เปน็ ทรพั ยส์ ินทเี่ กย่ี วเนอื่ งกบั การกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด (๑๓) มาตรา ๓๐ บรรดาเครื่องมือ เคร่ืองใช้ ยานพาหนะ เครื่องจักรกล หรือทรัพย์สินอ่ืนใดท่ีใช้ในการ กระทำความผิดเกี่ยวกบั ยาเสพติด หรอื ใชเ้ ป็นอุปกรณ์ให้ไดร้ บั ผลในการกระทำความผดิ เกย่ี วกับยาเสพตดิ หรอื มไี ว้เพื่อใช้ในการกระทำความผิดเกยี่ วกับยาเสพติด ให้รบิ เสียทง้ั ส้นิ ไม่ว่าจะมผี ้ถู ูกลงโทษตามคำพพิ ากษาหรือไม่ กต็ าม ให้พนักงานอัยการย่ืนคำร้องต่อศาลที่พิจารณาคดีน้ัน เพื่อขอให้ศาลสั่งริบทรัพย์สินตามวรรคหน่ึง และ เม่ือศาลสั่งรับคำร้องแล้วให้ศาลส่ังให้ประกาศในหนังสือพิมพ์ท่ีมีจำหน่ายแพร่หลายในท้องถ่ินสองวันติดต่อกัน เพ่ือให้บุคคลซ่ึงอาจอ้างว่าเป็นเจ้าของทรัพย์สินมายื่นคำร้องขอเข้ามาในคดีก่อนศาลช้ันต้นมีคำพิพากษาหรือ คำสัง่ ทงั้ น้ี ไม่ว่าในคดดี งั กลา่ วจะปรากฏตวั บคุ คลซงึ่ อาจเช่ือไดว้ ่าเป็นเจ้าของหรือไมก่ ต็ าม ค่าใช้จ่ายในการประกาศ ใหจ้ ่ายจากเงนิ ของกองทนุ ในกรณีที่ไม่มีผู้ใดอ้างตัวเป็นเจ้าของก่อนศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาหรือคำสั่งหรือในกรณีที่ปรากฏเจ้าของ แต่เจ้าของไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าตนไม่มีโอกาสทราบ หรือไม่มีเหตุอันควรสงสัยว่าจะมีการกระทำความผิดและ จะมีการนำทรัพย์สินดังกล่าวไปใช้ในการกระทำความผิด หรือได้ใช้เป็นอุปกรณ์ให้ได้รับผลในการกระทำ ความผิด หรือมีไว้เพ่ือใช้ในการกระทำความผิด ให้ศาลส่ังริบทรัพย์สินดังกล่าวได้เมื่อพ้นกำหนดสามสิบวัน นับแต่วันที่เริ่มประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันตามวรรคสอง และในกรณีน้ีมิให้นำมาตรา ๓๖ แห่งประมวล กฎหมายอาญามาใช้บงั คับ มาตรา ๓๑ ทรัพย์สินทศี่ าลมีคำสัง่ ให้รบิ ตามมาตรา ๒๙ และมาตรา ๓๐ ให้ตกเปน็ ของกองทนุ มาตรา ๓๒ ในกรณีที่มีคำสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี หรือมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้องผู้ต้องหาหรือ จำเลยรายใด ให้การยึดหรืออายัดทรัพย์สินของผู้ต้องหาหรือจำเลยรายน้ัน รวมท้ังทรัพย์สินของผู้อ่ืนท่ีได้ยึด หรอื อายัดไว้เนือ่ งจากเกย่ี วเน่ืองกบั การกระทำความผิดของผ้ตู ้องหาหรือจำเลยรายนน้ั สนิ้ สดุ ลง ส่วนทรัพย์สินที่ (๑๓) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๕ และใหใ้ ชข้ ้อความทพ่ี มิ พ์ไว้นแี้ ทน

150 สำนักงาน ป.ป.ส. ไม่ปรากฏตัวเจ้าของที่ได้ยึดหรืออายัดไว้เนื่องจากการกระทำความผิดของผู้ต้องหาหรือจำเลยรายน้ัน ถ้าไม่ม ี ผู้ใดมาขอรับคืนภายในหน่ึงปีนับแต่วันที่มีคำสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี หรือมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้อง ใหต้ กเป็นของกองทุน ในกรณีที่ไม่อาจดำเนินคดีได้ภายในสองปีนับแต่วันท่ีการกระทำความผิดเกิดและไม่อาจจับตัวผู้ต้องหา หรือจำเลยได้ ให้ทรัพย์สินท่ีได้ยึดหรืออายัดไว้เนื่องจากการกระทำความผิดของผู้ต้องหาหรือจำเลยรายน้ัน ตกเป็นของกองทุน แต่ถ้าไม่อาจดำเนินคดีต่อไปได้เพราะเหตุที่ผู้ต้องหาหรือจำเลยรายใดถึงแก่ความตาย ให้ทรัพย์สินตกเป็นของกองทุนเว้นแต่ภายในสองปีนับแต่วันท่ีผู้ต้องหาหรือจำเลยรายนั้นถึงแก่ความตาย และ ทายาทของผู้ต้องหาหรือจำเลยรายน้ันสามารถพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินน้ันไม่เกี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิด เก่ียวกับยาเสพติด หรือผู้ต้องหาหรือจำเลยรายนั้นได้ทรัพย์สินดังกล่าวมาโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน หรือ ได้มาตามสมควรในทางศีลธรรมอันดี หรือในทางกุศลสาธารณ ก็ให้คืนทรัพย์สินน้ันให้แก่ทายาทของผู้ต้องหา หรือจำเลยรายนัน้ มาตรา ๓๓ การขอรับทรพั ยส์ ินคืนให้ยน่ื คำร้องพรอ้ มท้ังเอกสารหลกั ฐานต่อคณะกรรมการ การขอรับทรัพย์สินคืนและการคืนทรัพย์สินให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขท่ีกำหนด ในกฎกระทรวง (๑๔) หมวด ๓ กองทุนป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด มาตรา ๓๔ ให้จัดตั้งกองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติดขึ้นกองทุนหน่ึงในสำนักงานเพ่ือใช้ ประโยชน์ในการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด มาตรา ๓๕ กองทุนตามมาตรา ๓๔ ประกอบดว้ ยทรพั ยส์ นิ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) ทรพั ย์สนิ ทต่ี กเปน็ ของกองทนุ ตามมาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๒ (๒) ทรัพยส์ นิ ท่มี ีผู้ให้ (๓) ทรัพย์สนิ ที่ได้รับจากรฐั บาล (๔) ผลประโยชนท์ ่ีเกดิ จากทรัพย์สนิ ตาม (๑) (๒) และ (๓) มาตรา ๓๖ กองทนุ ตามมาตรา ๓๕ ให้เป็นของสำนักงานโดยไม่ต้องนำส่งคลงั เปน็ รายไดแ้ ผน่ ดิน มาตรา ๓๗ การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินของกองทุนให้เป็นไปตามระเบียบ ทค่ี ณะกรรมการกำหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั มาตรา ๓๘ การจัดหาผลประโยชน์ การจัดการและการจำหน่ายทรัพย์สินของกองทุน ให้เป็นไป ตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการกำหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั (๑๔) ดกู ฎกระทรวง ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบญั ญัตมิ าตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผิด เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔

พระราชบญั ญตั มิ าตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผดิ เก่ยี วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ 151 มาตรา ๓๙ ภายในหกเดือนนบั แต่วันสนิ้ ปีปฏิทนิ ใหเ้ ลขาธิการเสนองบดุลและรายงานการรับจา่ ยเงิน ของกองทุนในปีที่ล่วงมาแล้วซึ่งสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบรับรองต่อรัฐมนตรีเพื่อเสนอต่อ คณะรฐั มนตรี ในกรณีท่ีคณะรัฐมนตรีเห็นว่าเงินกองทุนมีมากพอสมควร ซึ่งเม่ือนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ ของกองทุนแล้วยังคงมีเงินเหลืออยู่อีกเป็นจำนวนมาก คณะรัฐมนตรีจะมีมติให้ส่งเงินกองทุนจำนวนใด จำนวนหนง่ึ เข้าคลงั เป็นรายไดแ้ ผน่ ดินกไ็ ด้ หมวด ๔ บทกำหนดโทษ มาตรา ๔๐ ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคำ หรือไม่ส่งคำชี้แจงเป็นหนังสือ หรือไม่ส่งบัญชีเอกสารหรือหลักฐาน ตามมาตรา ๒๕(๒) หรอื ขดั ขวาง หรอื ไมใ่ หค้ วามสะดวกตามมาตรา ๒๕(๓) ต้องระวางโทษจำคุกไมเ่ กินหกเดอื น หรอื ปรับไม่เกินหน่งึ หม่นื บาท หรอื ทง้ั จำทงั้ ปรับ มาตรา ๔๑ ผู้ใดรู้หรืออาจรู้ความลับในราชการเกี่ยวกับการดำเนินการตามพระราชบัญญัติน้ ี กระทำด้วยประการใดๆ ให้ผู้อื่นรู้หรืออาจรู้ความลับดังกล่าว เว้นแต่เป็นการปฏิบัติการตามหน้าท่ีหรือ ตามกฎหมาย ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไม่เกนิ หกเดอื น หรอื ปรบั ไม่เกินหนึ่งหม่ืนบาท หรอื ทงั้ จำทัง้ ปรับ มาตรา ๔๒ ผใู้ ดยักย้าย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย ทำใหเ้ สยี หาย ทำลาย ทำใหส้ ูญหายหรือไรป้ ระโยชน์ หรอื รับไว้โดยมิชอบด้วยประการใดซึ่งทรัพย์สินที่มีคำส่ังยึดหรืออายัดหรือที่ตนรู้ว่าจะถูกยึดหรืออายัดตาม พระราชบญั ญัตนิ ี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกนิ สามปี หรือปรับไมเ่ กินหกหมน่ื บาท หรือทงั้ จำทง้ั ปรบั ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ อานนั ท์ ปนั ยารชนุ นายกรฐั มนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เพื่อให้การปราบปรามผู้กระทำความผิด เกยี่ วกับยาเสพติดมีประสทิ ธภิ าพยิง่ ขึน้ จำเป็นตอ้ งมกี ารกำหนดมาตรการต่างๆ เพอื่ ใหพ้ นักงาน เจ้าหน้าที่ดำเนินการปราบปรามผู้กระทำผิดตามกฎหมายดังกล่าวข้ึนโดยเฉพาะ จึงจำเป็น ต้องตราพระราชบัญญัตนิ ้ี

152 สำนักงาน ป.ป.ส. กฎกระทรวง กำหนดชอื่ ยาเสพติดตามกฎหมายวา่ ด้วยมาตรการในการปราบปราม ผ้กู ระทำความผดิ เก่ียวกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๕๙๑ อาศัยอำนาจตามความในบทนิยามคำว่า “ยาเสพติด” ในมาตรา ๓ และมาตรา ๔ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลกิ (๑) กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำ ความผดิ เกยี่ วกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๕ (๒) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๔๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรการในการ ปราบปรามผ้กู ระทำความผดิ เก่ยี วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๕ ขอ้ ๒ ยาเสพติดตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด มีดงั ตอ่ ไป (๑) กัญชา (Cannabis) (๒) คีตามีน (Ketamine) (๓) โคคาอนี (Cocaine) (๔) ซาฟรอล (Safrole) (๕) ซโู ดอีเฟดรีน (Pseudoephedrine) (๖) เดกซ์โตรไลเซอรไ์ ยด์ ((+)-Lysergide) หรือแอลเอสดี (LSD) หรอื แอลเอสด-ี ๒๕ (LSD 25) (๗) เดกซแ์ อมเฟตามีน (Dexamphetamine) (๘) ไดเมทอกซโี บรโมแอมเฟตามีน (Dimethoxybromoamphetamine, DOB) (๙) ไดเมทอกซีแอมเฟตามนี (Dimethoxyamphetamine, DMA) (๑๐) ๒,๕-ไดเมทอกซ-ี ๔-เอทลิ แอมเฟตามีน (2,5-Dimethoxy-4ethytamphetamine, DOET) (๑๑) ไดเมทิลแอมเฟตามนี (Dimethylamphetamine) (๑๒) ไตรเมทอกซแี อมเฟตามีน (Trimethoxyamphetamine, TMA) (๑๓) ไนตราซีแพม (Nitrazepam) (๑๔) ไนเมตาซแี พม (Nimetazepam) (๑) ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓๓ ตอนท่ี ๓๖ ก ลงวนั ท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๕๙

พระราชบญั ญตั ิมาตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 153 (๑๕) ฝนิ่ (๑๖) พาราเมทอกซีแอมเฟตามนี (Paramethoxyamphetamine, PMA) (๑๗) พืชฝ่นิ (๑๘) ฟนี าซแี พม (Phenazepam) (๑๙) เฟนเตอมนี (Phentermine) (๒๐) เฟนนิลโพรพาโนลามีน (Phenylpropanolamine) (๒๑) มอร์ฟีน (Morphine) (๒๒) มิดาโซแลม (Midazolam) (๒๓) เมทแอมเฟตามีน (Methamphetamine) (๒๔) เมทลิ นี ไดออกซไิ พโรวาเลโรน (Methylenedioxypyrovalerone, MDPV) (๒๕) เมทิลลนี ไดออกซีแอมเฟตามีน (Methylenedioxyamphetamine, MDA) (๒๖) ๓,๔-เมทิลลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีน (3,4-methylenedioxymeth amphetamine, MDMA) (๒๗) เมทโิ ลน (Methylone) (๒๘) ๕-เมทอกซี-๓,๔ เมทิลลีนไดออกซีแอมเฟตามีน (5-methoxy-3,4-methylenedoxy amphetamine, MMDA) (๒๙) เมฟโี ดรน (Mephedrone) (๓๐) อาเซตคิ แอนไฮไดรด์ (Acetic Anhydride) (๓๑) อาเซตลิ คลอไรด์ (Acetyl Chloride) (๓๒) อีเฟดรนี (Ephedrine) (๓๓) เอทลิ ิดนี ไดอาเซเตต (Ethylidine Diacetate) (๓๔) แอมเฟตามีน (Amphetamine) (๓๕) ไอโซซาฟรอล (Isosafrole) (๓๖) เฮโรอนี (Heroin) ขอ้ ๓ ยาเสพตดิ ตามขอ้ ๒ ใหร้ วมถงึ วตั ถทุ เี่ รยี กชอื่ เปน็ อยา่ งอน่ื แตม่ สี ตู รโครงสรา้ งทางเคมอี ยา่ งเดยี วกบั ยาเสพติดดงั กลา่ ว ข้อ ๔ ยาเสพตดิ ตามข้อ ๒ ยกเวน้ (๑) (๔) (๑๗) (๓๐) (๓๑) (๓๓) และ (๓๕) ให้รวมถึง (๑) ไอโซเมอรใ์ ด ๆ ของยาเสพตดิ ดงั กลา่ ว ยกเวน้ ไอโซเมอรอ์ น่ื ของยาเสพตดิ ทไ่ี ดร้ ะบตุ วั ไอโซเมอรน์ น้ั ๆ เปน็ ยาเสพตดิ ให้โทษตามกฎหมายวา่ ด้วยยาเสพตดิ ใหโ้ ทษหรือวัตถุออกฤทธ์ิตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวตั ถุ ท่อี อกฤทธิ์ ตอ่ จิตและประสาทไว้แล้วโดยเฉพาะ (๒) เกลือ เอสเทอร์ และอีเทอรใ์ ด ๆ ของยาเสพติดดงั กลา่ ว ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ พลเอก ไพบลู ย ์ คุม้ ฉายา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยตุ ิธรรม

154 สำนกั งาน ป.ป.ส. กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรการในการปราบปราม ผู้กระทำความผดิ เกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔๑ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปราม ผู้กระทำความผิดเกีย่ วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรอี อกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปน้ี ขอ้ ๑ การขออนมุ ตั ิจับกมุ ผูก้ ระทำความผดิ ตามมาตรา ๖ หรอื มาตรา ๘ ใหพ้ นกั งานฝา่ ยปกครองหรอื ตำรวจผู้เป็นหัวหน้าในการสืบสวนซึ่งมียศตั้งแต่นายร้อยตำรวจตรีหรือเทียบเท่านายร้อยตำรวจตรี หรือ เปน็ ขา้ ราชการพลเรือนต้ังแต่ระดับ ๓ ข้ึนไป หรอื หวั หน้าพนักงานสอบสวน ย่ืนคำขออนุมัตจิ ับกมุ ตอ่ เลขาธกิ าร คำขอตามวรรคหน่ึงต้องระบุชื่อผู้กระทำผิดซ่ึงประสงค์จะขอจับกุมรวมท้ังระบุข้อหาให้ชัดแจ้ง และใหย้ นื่ คำขอพร้อมกับเอกสารหลักฐาน ดังตอ่ ไปน้ี (๑) บนั ทึกแสดงรายละเอียดเกีย่ วกบั พฤตกิ ารณแ์ ห่งความผดิ และพยานหลกั ฐานทีเ่ กยี่ วข้อง (๒) รายงานการสืบสวนเกี่ยวกับพฤติการณ์และสถานภาพส่วนบุคคลของผู้กระทำความผิดท่ีขออนุมัติ จบั กุมนนั้ เชน่ ประวัตบิ ุคคลหรือประวัตอิ าชญากร (๓) พยานหลกั ฐานอ่นื ที่ทำให้เช่ือได้ว่าผนู้ ้นั ไดก้ ระทำความผดิ ในขอ้ หาทีข่ ออนุมตั ิจบั กุม ขอ้ ๒ ในกรณีท่ผี ้กู ระทำความผดิ ตามมาตรา ๖ หรอื มาตรา ๘ เปน็ ผูต้ ้องหาซ่งึ ถูกจบั กุมในความผดิ อนื่ ให้พนกั งานสอบสวนผรู้ ับผดิ ชอบในการสอบสวนดำเนนิ คดใี นความผิดอ่ืนนน้ั รายงานหัวหนา้ พนกั งานสอบสวน และให้หัวหน้าพนักงานสอบสวนยื่นคำขออนุมัติแจ้งข้อหาเก่ียวกับการกระทำความผิดตามมาตรา ๖ หรือ มาตรา ๘ แกผ่ ้นู ั้นตอ่ เลขาธกิ ารโดยเรว็ ใหน้ ำความในวรรคสองของขอ้ ๑ มาใชบ้ ังคบั แก่การย่นื คำขออนมุ ัติแจง้ ข้อหาตามวรรคหน่ึง โดยอนโุ ลม ขอ้ ๓ ในการพิจารณาคำขอ เลขาธิการอาจเรียกให้พนักงานฝ่ายปกครอง ตำรวจผู้ทำการสืบสวน พนักงานสอบสวน หรือบุคคลท่ีเกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคำหรือส่งพยานหลักฐานเพิ่มเติมเพ่ือประกอบการ พิจารณาได้ ขอ้ ๔ ให้เลขาธิการพิจารณาคำขออนุมัติตามข้อ ๑ หรือข้อ ๒ ให้แล้วเสร็จภายในห้าวันนับแต่วันท ่ี ได้รับคำขอ เว้นแต่มีเหตุจำเป็นจะขยายเวลาออกไปอีกได้ไม่เกินสองครั้ง ครั้งละไม่เกินห้าวัน โดยต้องบันทึก เหตุจำเปน็ ดงั กล่าวไว้ดว้ ย (๑) ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๐๙ ตอนท่ี ๕๕ ลงวนั ท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๓๕

พระราชบญั ญตั ิมาตรการในการปราบปรามผูก้ ระทำความผดิ เกีย่ วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ 155 เม่ือเลขาธิการได้มคี ำสง่ั ประการใดแลว้ ให้มหี นงั สือแจง้ คำสัง่ ให้ผ้ขู ออนุมตั ิทราบโดยไมช่ กั ชา้ หรือจะให้ ผขู้ ออนมุ ัตลิ งลายมือช่ือรับทราบในคำสัง่ นนั้ ก็ได้ ข้อ ๕ ในกรณีท่ีได้รับอนุมัติจากเลขาธิการ ให้ผู้ขอรับอนุมัติรีบดำเนินการตามท่ีได้รับอนุมัติแล้ว รายงานให้เลขาธิการทราบโดยเร็ว แต่ท้ังน้ีต้องไม่เกินสามวันนับแต่วันที่ได้ดำเนินการตามที่ได้รับอนุมัตินั้น ในกรณีไม่สามารถดำเนินการตามที่ได้รับอนุมัติได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันได้รับแจ้งคำสั่งอนุมัต ิ ก็ให้รายงานเลขาธิการทราบโดยเรว็ แต่ทั้งน้ีต้องไมเ่ กนิ สามวนั นับแต่วนั ทค่ี รบกำหนดดังกล่าว ขอ้ ๖ ในการรายงานตามข้อ ๕ ให้รายงานด้วยว่ามีหรือได้รับข้อมูลหรือหลักฐานเก่ียวกับทรัพย์สิน ของผู้กระทำผิดตามมาตรา ๖ หรือมาตรา ๘ ที่ถูกจับกุมหรือทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิด ของบุคคลดังกล่าวดว้ ยหรือไม่อย่างใด การรายงานข้อมูลหรือหลักฐานเก่ียวกับทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง ให้กระทำได้ทุกขณะที่ได้รับข้อมูล หรอื หลกั ฐาน ข้อ ๗ ในกรณีทม่ี กี ารออกหมายจบั ใหผ้ ขู้ ออนุมตั สิ ง่ สำเนาหมายจับให้เลขาธกิ ารทราบโดยเรว็ ขอ้ ๘ คำขออนุมตั ิ หนังสอื แจ้งคำส่ังอนุมัติ และรายงานตา่ ง ๆ ตามกฎกระทรวงนี้ ใหเ้ ป็นไปตามแบบ ทส่ี ำนกั งานกำหนด ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ อานนั ท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี

156 สำนักงาน ป.ป.ส. กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิมาตรการในการปราบปราม ผูก้ ระทำความผิดเกยี่ วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔๑ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปราม ผู้กระทำความผดิ เกย่ี วกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรีออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ การดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สินตามกฎกระทรวงนี้ พนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้ได้รับมอบหมายจะ ตอ้ งดำเนนิ การภายใต้การกำกับดูแลของคณะอนุกรรมการท่คี ณะกรรมการแตง่ ตัง้ ข้อ ๒ เมื่อได้รับมอบหมายให้ตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหาในคดีเกี่ยวกับยาเสพติด ให้พนักงาน เจ้าหนา้ ที่ดำเนินการตรวจสอบดังนี้ (๑) รวบรวมข้อมูลเพื่อให้ได้ทราบถึงทรัพย์สินท่ีได้มาหรือทรัพย์สินท่ีเก่ียวเน่ืองกับการกระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติด จากข้อมูลเอกสาร หรือหลักฐานท่ีได้รับจากการรายงานการจับกุมตามมาตรา ๑๔ รายงาน ทไ่ี ดร้ บั ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการประสานงานในคดคี วามผดิ เกี่ยวกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๒๗๒ และจากรายงานที่ได้รบั จากการสบื สวนในทางอนื่ (๒) ในการตรวจสอบทรัพย์สินตามท่ีรวบรวมได้ตาม (๑) พนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องตรวจสอบให้ทราบถึง รายละเอียดเก่ียวกับทรัพย์สินนั้นให้ปรากฏว่าทรัพย์สินน้ันเป็นของผู้ใด ผู้เป็นเจ้าของทรัพย์สินได้ทรัพย์สินนั้น มาโดยวธิ ีใดเม่ือใดมหี ลักฐานการไดม้ าอย่างใด และมรี าคาโดยประมาณเทา่ ใด (๓) จัดทำรายละเอียดแสดงรายการทรัพย์สินที่ตรวจสอบรวมท้ังรายละเอียดที่ได้จากการตรวจสอบ ลงไวใ้ นสารบบคดีบนั ทกึ รายละเอียดเกีย่ วกับทรพั ยส์ ินทต่ี รวจสอบตามแบบที่สำนักงานกำหนด ขอ้ ๓ ในกรณีท่ีมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบทรัพย์สินหรือมีเหตุอันสมควรท่ีเชื่อได้ว่า ทรัพย์สินท่ีต้องตรวจสอบ อาจมีการโอน ยักย้าย ซุกซ่อน พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ได้รับมอบหมายอาจร้องขอให้ คณะกรรมการโดยอาศยั อำนาจตามมาตรา ๒๒ สง่ั ยึดหรอื อายัดทรพั ย์สนิ นน้ั ไวช้ ั่วคราวกอ่ นได้ หรอื อาจรอ้ งขอ ให้มอบหมายให้พนกั งานเจ้าหนา้ ทด่ี ำเนนิ การตามมาตรา ๒๕ แทนคณะกรรมการได ้ ข้อ ๔ เพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อเท็จจริงและรายละเอียดต่างๆ อันจะเป็นประโยชน์แก่การรวบรวมข้อมูล เอกสาร และพยานหลักฐานในการตรวจสอบทรพั ย์สินของผ้ทู ่ถี กู ตรวจสอบทรพั ย์สนิ ๑ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๐๙ ตอนท่ี ๕๕ ลงวันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๓๕ ๒ ถกู ยกเลกิ โดย ระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการประสานงานในคดคี วามผดิ ตามกฎหมายเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๗

พระราชบญั ญัตมิ าตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผิดเกีย่ วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ 157 (๑) ในกรณีท่ีเป็นการตรวจสอบอสังหาริมทรัพย์ พนักงานเจ้าหน้าท่ีอาจขอความร่วมมือไปยัง เจ้าพนักงานที่ดินหรือเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง เพื่อขอให้ดำเนินการตรวจสอบใหก้ ็ได ้ (๒) ในกรณที เี่ ป็นการตรวจสอบสังหาริมทรพั ย์ (ก) สำหรับสังหาริมทรัพย์ท่ีต้องมีทะเบียนตามกฎหมาย พนักงานเจ้าหน้าท่ีอาจขอความร่วมมือ ไปยังนายทะเบียนหรือเจ้าหน้าท่ีผู้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการจดทะเบียนสังหาริมทรัพย์ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือขอให้ ดำเนินการตรวจสอบใหก้ ็ได้ (ข) สำหรับสังหาริมทรัพย์อื่น หากพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่าบุคคลใดมีข้อมูล เอกสาร หรือ พยานหลกั ฐานใด ๆ ทเ่ี กยี่ วกบั สงั หารมิ ทรพั ยข์ องผตู้ อ้ งหาทถี่ กู ตรวจสอบทรพั ยส์ นิ พนกั งานเจา้ หนา้ ทอ่ี าจขอให้ บคุ คลดังกลา่ วมาใหถ้ อ้ ยคำ หรือใหแ้ จ้งขอ้ มลู หรอื ใหส้ ง่ เอกสารหรอื พยานหลกั ฐานนั้นก็ได้ (๓) การตรวจสอบการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับทรัพย์สินของผู้ต้องหาท่ีถูกตรวจสอบ ทรัพย์สิน ใหต้ รวจสอบจากการจดทะเบียนท่ไี ด้กระทำภายในระยะเวลาสิบปกี ่อนวนั ทผ่ี ู้ตอ้ งหานั้นถูกจับกุมหรือ ไดร้ ับการแจง้ ข้อกลา่ วหา และทีไ่ ดก้ ระทำภายหลงั วันดงั กลา่ วดว้ ย (๔) การตรวจสอบทรัพยส์ ินประเภทเงนิ ฝากธนาคารหรอื เงินฝากในสถาบนั การเงนิ พนักงานเจา้ หน้าท่ี อาจขอความร่วมมือจากสำนักงานใหญ่ของธนาคารหรือสถาบันการเงินน้ัน เพื่อขอเอกสารหลักฐานเงินฝาก ในชื่อของผู้ถูกตรวจสอบที่มีหรือท่ีเคยมี บุคคลในครอบครัวรวมท้ังที่ใช้นามอ่ืน ซ่ึงผู้ถูกกล่าวหามีอำนาจสั่งจ่าย หรือมอี ำนาจสัง่ จา่ ยรว่ มกบั บุคคลอืน่ ได้ (๕) การตรวจสอบพยานหลักฐานอื่นๆ ให้ตรวจสอบตามหลักเกณฑ์ท่คี ณะกรรมการกำหนด ข้อ ๕ ในกรณีทรัพย์สินท่ีตรวจสอบได้มีหลักฐานของทางราชการหรือหลักฐานอื่นที่ปรากฏแก ่ พนักงานเจ้าหน้าที่ระบุว่าทรัพย์สินดังกล่าวเป็นของบุคคลอ่ืน หรือในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่าบุคคลอ่ืน อาจอ้างตัวเป็นเจ้าของทรัพย์สินนั้นได้ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีหนังสือแจ้งให้บุคคลดังกล่าวทราบถึง การตรวจสอบทรพั ย์สินนนั้ ในกรณีท่ีไม่อาจทราบได้ว่าทรัพย์สินน้ันเป็นของบุคคลใด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปิดประกาศแจ้ง การตรวจสอบทรัพย์สินน้ันไว้ในท่ีเปิดเผย ณ ท่ีทำการของสำนักงานท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และที่ สำนักงานเขตหรือท่ีว่าการอำเภอแห่งท้องท่ีที่ตรวจสอบพบทรัพย์สินน้ัน เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน และ ประกาศในหนงั สอื พมิ พ์รายวันทีม่ ีจำหน่าย ในทอ้ งทน่ี ั้นอยา่ งนอ้ ยสองฉบบั เป็นเวลาอย่างนอ้ ยสองวันตดิ ต่อกนั และในกรณีท่ีเป็นอสังหาริมทรัพย์ ให้ปิดประกาศไว้ ณ สำนักงานที่ดินแห่งท้องที่ท่ีอสังหาริมทรัพย์น้ันตั้งอยู่ และบริเวณทตี่ งั้ ของอสงั หารมิ ทรพั ยน์ ัน้ ด้วย การมีหนังสือแจ้งตามวรรคหน่ึงและการประกาศตามวรรคสองนั้น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ระบุ รายละเอียดของทรัพย์สินให้ชัดเจนเพียงพอท่ีบุคคลทั่วไปจะเข้าใจได้ถึง ประเภท ชนิด ลักษณะ ขนาด หรือ จำนวน และทอ้ งท่ที ่ีตรวจสอบพบหรอื ท่ีเปน็ ทตี่ ้งั ของทรพั ยส์ นิ นัน้

158 สำนักงาน ป.ป.ส. ขอ้ ๖ ในระหว่างที่ยังไม่มีคำส่ังยึดหรืออายัดทรัพย์สิน เจ้าของทรัพย์สินอาจไปแสดงตัวต่อ พนักงานเจ้าหน้าท่ีเพื่อขอรับทรัพย์สินของตนคืนได้ในวันและเวลาทำการของพนักงานเจ้าหน้าที่หากว่า ทรัพย์สินนั้นไม่เก่ียวเนื่องกับการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติดหรือเจ้าของทรัพย์สินได้รับโอนทรัพย์สิน นน้ั มาโดยสจุ รติ และมคี า่ ตอบแทน หรอื ไดม้ าตามสมควรในทางศลี ธรรมอนั ดหี รอื ในทางกศุ ลสาธารณะ โดยใหน้ ำ พยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องไปแสดงด้วย ในการนี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่บันทึกปากคำของบุคคลดังกล่าวและ รายละเอียดแห่งพยานหลกั ฐานน้นั ไวเ้ พือ่ ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการต่อไป ข้อ ๗ เม่ือได้ดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สินเสร็จแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีรายงานผลการ ดำเนินการพร้อมด้วยสารบบคดีบันทึกรายละเอียดเก่ียวกับทรัพย์สินที่ตรวจสอบได้ต่อเลขาธิการ เพ่ือเลขาธิการจะได้นำเสนอต่อคณะกรรมการเพอ่ื พจิ ารณาตอ่ ไป ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ อานนั ท ์ ปนั ยารชนุ นายกรฐั มนตร ี

พระราชบญั ญัตมิ าตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผดิ เก่ยี วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ 159 กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบญั ญตั มิ าตรการในการปราบปราม ผกู้ ระทำความผดิ เกีย่ วกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔๑ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๒๒ วรรคส่ี แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการ ปราบปรามผู้กระทำความผดิ เกยี่ วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรอี อกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ทรัพย์สินท่ีถูกยึดหรืออายัดไว้ช่ัวคราวตามคำส่ังของคณะกรรมการหรือเลขาธิการนั้น ผู้ถูกตรวจสอบทรัพย์สินหรือผู้ซึ่งอ้างว่าเป็นเจ้าของทรัพย์สินอาจยื่นคำร้องขอผ่อนผันต่อเลขาธิการเพื่อขอรับ ทรัพย์สินดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ในเวลาใด ๆ ก็ได้ก่อนท่ีคณะกรรมการจะมีคำส่ังตามมาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ง ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินน้ัน โดยให้แสดงเหตุผลและความจำเป็นในการนำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ รวมท้ัง กำหนดเวลาท่ีจะนำทรัพย์สินนั้นไปใช้ประโยชน์และผู้ซ่ึงจะเป็นผู้ใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินนั้น และในกรณี ท่ีผู้ย่นื คำรอ้ งเปน็ ผซู้ งึ่ อ้างว่าเป็นเจ้าของทรพั ย์สนิ ใหแ้ สดงหลักฐานแห่งการเป็นเจ้าของทรพั ยส์ นิ นน้ั ดว้ ย คำร้องตามวรรคหนงึ่ ให้เป็นไปตามแบบท่สี ำนักงานกำหนด ขอ้ ๒ การพิจารณาอนุญาตให้นำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์น้ัน ให้พิจารณาหลักเกณฑ์ดังต่อไปน้ี ประกอบดว้ ย (๑) เหตผุ ล ความจำเป็น และความเร่งดว่ นท่ีจะตอ้ งนำทรพั ย์สินไปใชป้ ระโยชน์ (๒) ความนา่ เช่ือถือของผ้ทู ่ีจะนำทรพั ย์สนิ นนั้ ไปใชป้ ระโยชน์ (๓) ประเภทและมูลค่าของทรัพย์สินและลักษณะของการนำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ว่าจะม ี ความเส่ยี งภัยหรอื เสี่ยงต่อความเสยี หายหรอื ไม่เพยี งใด (๔) ระยะเวลาทีจ่ ะนำทรัพยส์ นิ ไปใช้ประโยชน์ ขอ้ ๓ คณะกรรมการจะอนุญาตให้ผู้ถูกตรวจสอบหรือผู้ซ่ึงอ้างว่าเป็นเจ้าของทรัพย์สินนำทรัพย์สิน นั้นไปใช้ประโยชน์โดยไม่มีประกัน หรือมีประกัน หรือมีประกันและหลักประกันก็ได้ แต่การจะอนุญาตให้ บุคคลอนื่ นอกจากบุคคลดังกลา่ ว เป็นผนู้ ำทรัพย์สินน้นั ไปใชป้ ระโยชน์ ให้กระทำโดยมีหลกั ประกนั ในกรณีท่ีมีความจำเป็นเร่งด่วน เลขาธิการอาจอนุญาตให้มีการนำทรัพย์สินน้ันไปใช้ประโยชน์ ก่อนโดยมีหลักประกันแล้วรายงานให้คณะกรรมการทราบก็ได้ ในกรณีเช่นน้ีคณะกรรมการจะเปลี่ยนแปลง แกไ้ ขหรอื เพิกถอนการอนญุ าตเสยี ก็ได้ ๑ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๐๙ ตอนที่ ๕๕ ลงวนั ที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๓๕

160 สำนักงาน ป.ป.ส. การอนุญาตตามวรรคหน่ึงและวรรคสองจะกระทำโดยกำหนดเง่ือนไขใดๆ ให้ผู้ได้รับอนุญาต ตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ว้ ยก็ได ้ ข้อ ๔ การผ่อนผันให้นำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์โดยไม่มีประกันน้ัน เม่ือผู้ได้รับอนุญาตได้ทำสัญญา รับมอบทรัพย์สนิ ไปใช้ประโยชน์แลว้ ใหส้ ง่ มอบทรัพย์สินนนั้ แก่ผไู้ ด้รับอนญุ าต การผ่อนผันให้นำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์โดยมีหลักประกันนั้น เมื่อผู้ได้รับอนุญาตได้ทำสัญญา รับมอบทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์พร้อมทั้งส่งมอบหลักประกันแก่สำนักงานแล้ว ให้ส่งมอบทรัพย์สินนั้นแก่ ผไู้ ดร้ บั อนุญาต สัญญาตามวรรคหน่ึงและวรรคสองให้เป็นไปตามแบบท่ีสำนักงานกำหนด และอย่างน้อยต้องระบ ุ รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ได้รับอนุญาต กำหนดเวลาท่ีอนุญาต และข้อความยินยอมชดใช้ค่าเสียหายตาม จำนวนหรืออัตราทีก่ ำหนดในกรณีที่ทรัพยส์ นิ นั้นชำรุดบกพร่องหรือสูญหาย ขอ้ ๕ หลกั ประกันอาจใชอ้ ยา่ งหนึง่ อยา่ งใดหรือหลายอยา่ ง ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เงินสด (๒) พนั ธบตั รรัฐบาลไทย (๓) เช็คธนาคารหรือดรา๊ ฟท์ที่อาจขน้ึ เงนิ ได้ในวันส่งมอบเปน็ หลักประกัน (๔) ห้นุ หรอื ห้นุ กู้ทอ่ี อกโดยนิตบิ ุคคลทม่ี กี ฎหมายเฉพาะจดั ตัง้ ขน้ึ (๕) อสังหาริมทรัพย์ (๖) บุคคลอื่นโดยมีหลักประกันตาม (๑) (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) มอบเปน็ หลักประกนั (๗) หลกั ทรัพย์อ่ืนทค่ี ณะกรรมการเห็นสมควรให้รบั เปน็ หลักประกนั ได้ ข้อ ๖ ในกรณีที่คณะกรรมการมีคำสั่งตามมาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ง ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินท่ีได้มี การอนญุ าตใหน้ ำไปใช้ประโยชน์ ใหถ้ อื ว่าคำสง่ั ดังกลา่ วมผี ลเปน็ การเพกิ ถอนการอนญุ าตนน้ั ข้อ ๗ ในกรณีท่ีผู้ได้รับอนุญาตฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขท่ีกำหนดหรือการนำทรัพย์สินไปใช้ ประโยชน์ไม่เป็นไปตามท่ีได้รับอนุญาต คณะกรรมการอาจมีคำสั่งเพิกถอนการอนุญาตทั้งหมดหรือบางส่วน หรอื จะกำหนดเง่ือนไขใด ๆ เพ่ิมเตมิ ก็ได้ ในกรณีที่เห็นสมควร คณะกรรมการอาจมีคำส่ังให้มีการวางหลักประกันเพิ่มขึ้น หรือดีกว่าเดิมภายใน เวลาท่ีกำหนดก็ได้ ในกรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วน เลขาธิการอาจมีคำส่ังตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสองไปก่อนก็ได้ แล้วรายงานคณะกรรมการในโอกาสแรกท่ีมีการประชมุ ของคณะกรรมการ ข้อ ๘ ให้เลขาธิการแจ้งคำสั่งตามข้อ ๗ ให้ผู้ได้รับอนุญาตทราบและดำเนินการตามคำสั่งโดยเร็ว และในกรณีท่ีผู้ได้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตามคำส่ังนั้นภายในระยะเวลาท่ีกำหนด ให้คณะกรรมการหรือเลขาธิการ เพิกถอนการอนุญาตนั้นท้ังหมดหรือแต่บางสว่ นได้ตามท่ีเหน็ สมควร

พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 161 ขอ้ ๙ ให้ผูไ้ ด้รับอนุญาตรบี สง่ คนื ทรัพย์สนิ ทีน่ ำไปใชป้ ระโยชนใ์ หแ้ กส่ ำนักงานทันทเี มื่อปรากฏว่า (๑) มคี ำส่งั เพิกถอนการอนญุ าต (๒) ครบกำหนดเวลาท่ไี ดร้ ับอนุญาต หรอื (๓) ผู้ท่นี ำทรพั ยส์ นิ น้ันไปใช้ประโยชน์หมดความจำเป็นท่จี ะตอ้ งใช้ประโยชน์ทรพั ยส์ นิ น้นั แลว้ การสง่ คืนทรัพยส์ ิน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทส่ี ำนักงานกำหนด ข้อ ๑๐ หลักประกันนัน้ ถ้ามไิ ดม้ ีการกำหนดไว้เป็นอยา่ งอ่นื ให้จัดการดังตอ่ ไปนี้ (๑) ให้ส่งคืน เมื่อการนำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์เป็นไปโดยถูกต้องตามสัญญาและผู้ได้รับอนุญาต ได้ส่งคืนทรัพย์สินน้ันแล้ว แต่ในกรณีท่ีทรัพย์สินที่ส่งคืนนั้นมีความชำรุดบกพร่องหรือเสียหายอย่างใด ๆ อันเนอื่ งมาแตก่ ารนำไปใชป้ ระโยชน์ ใหห้ กั คา่ เสียหายเอาจากหลักประกนั น้นั ตามสว่ น (๒) ใหร้ บิ เม่อื ผู้ไดร้ บั อนญุ าตไม่ส่งทรัพยส์ ินคนื ตามสัญญา ไมว่ ่าดว้ ยเหตุใด ๆ ใหไ้ ว้ ณ วันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ อานนั ท ์ ปนั ยารชุน นายกรัฐมนตร ี

162 สำนกั งาน ป.ป.ส. กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิมาตรการในการปราบปราม ผกู้ ระทำความผดิ เกี่ยวกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔๑ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๒๓ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการ ปราบปรามผกู้ ระทำความผิดเกย่ี วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปน ้ี หมวด ๑ การยึดและอายัดทรัพย์สนิ ข้อ ๑ เมื่อคณะกรรมการหรือเลขาธิการมีคำสั่งให้ยึดอสังหาริมทรัพย์ใดแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที ่ มีหนังสือแจ้งให้เจ้าพนักงานท่ีดินหรือเจ้าหน้าท่ีผู้มีอำนาจหน้าที่ในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับ อสงั หาริมทรพั ย์น้นั ทราบโดยเร็ว และให้เจา้ พนกั งานทด่ี ินหรอื เจ้าหนา้ ท่ีดงั กล่าวบนั ทึกการสงั่ ยดึ น้นั ไว้ ข้อ ๒ ก่อนทำการยึดทรัพย์สิน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แสดงเอกสารการมอบหมายตามมาตรา ๒๕ และคำส่ังยึดทรัพย์สินต่อผู้ถูกตรวจสอบหรือเจ้าของทรัพย์สิน ถ้าไม่พบตัวผู้นั้นก็ให้แสดงต่อบุคคลผู้ครอบครอง หรอื บคุ คลในครอบครวั ของผคู้ รอบครองทรพั ยส์ นิ หากไมพ่ บตวั บคุ คลใดๆ ณ ทท่ี ำการยดึ นน้ั กใ็ หด้ ำเนนิ การยดึ โดยใหม้ ีเจา้ หน้าทีต่ ำรวจหรอื พนกั งานฝา่ ยปกครองในทอ้ งที่นน้ั มารว่ มเปน็ พยานดว้ ย ขอ้ ๓ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการยึดทรัพย์สินได้ทุกวัน ในระหว่างเวลากลางวัน เว้นแต่ในกรณี ท่ีมีเหตุอันควรเช่ือได้ว่าหากไม่ได้ดำเนินการในทันทีทรัพย์สินนั้นจะสูญหายหรือถูกยักย้าย ก็ให้มีอำนาจ ดำเนินการยึดในเวลากลางคืนได้ ขอ้ ๔ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปิดประกาศการยึดไว้ ณ บริเวณอสังหาริมทรัพย์น้ัน และมีหนังสือแจ้ง การยึดให้ผู้ถูกตรวจสอบ เจ้าของอสังหาริมทรัพย์และเจ้าของร่วมทราบ หากไม่สามารถแจ้งแก่บุคคล ดังกล่าวได้ ให้ปิดประกาศแจ้งการยึดไว้ในท่ีเปิดเผย ณ สำนักงานที่ดินและสำนักงานเขตหรือท่ีว่าการอำเภอ แห่งท้องที่อนั เปน็ ทีต่ ง้ั แห่งอสงั หารมิ ทรพั ยน์ นั้ และทที่ ำการของสำนกั งานท้ังในส่วนกลางและส่วนภมู ิภาค ในกรณีท่ีพนักงานเจ้าหน้าท่ีสามารถนำหนังสือสำคัญสำหรับอสังหาริมทรัพย์มาได้ให้นำหนังสือสำคัญ นั้นมาเกบ็ รกั ษาไว้ ณ ทส่ี ำนักงาน ๑ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๕๕ ลงวนั ท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๓๕

พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผ้กู ระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ 163 ขอ้ ๕ ในการยึดท่ีดินท่ีมีโรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง หรือสิ่งใดๆ ท่ีเป็นของผู้อ่ืนรวมอยู่ด้วย ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่บันทึกถ้อยคำผู้เป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองสิ่งน้ันให้ปรากฏว่ามีสิทธิในท่ีดินนั้นอย่างไร เช่น สทิ ธอิ าศัย สทิ ธิการเชา่ หรอื สทิ ธิเหนือพ้ืนดนิ ขอ้ ๖ การยึดโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีจดแจ้งรายละเอียดของ สิ่งเหล่าน้ันตามที่เหน็ สมควร ข้อ ๗ การยึดสังหาริมทรัพย์ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีหนังสือแจ้งการยึดให้ผู้ถูกตรวจสอบ เจ้าของทรพั ย์สนิ หรือเจ้าของรว่ มทราบ หากไม่สามารถแจ้งแกบ่ ุคคลดังกล่าวได้ ใหป้ ิดประกาศแจ้งการยดึ ไว้ ณ ทท่ี ำการของสำนักงานทั้งในสว่ นกลางและสว่ นภูมิภาค กรณียึดสังหาริมทรัพย์ท่ีมีทะเบียนกรรมสิทธิ์ เช่น เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวางต้ังแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่ห้าตันข้ึนไป แพคนอยู่อาศัย เครื่องจักร อากาศยาน ให้แจ้งการยึด ไปยังนายทะเบยี นแหง่ ทรัพย์สนิ นนั้ และให้นายทะเบยี นบันทึกการยึดนนั้ ไว้ ข้อ ๘ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทำบัญชีทรัพย์สินที่ยึดโดยแสดงรายละเอียด เช่น ชื่อ ประเภท จำนวน ขนาด น้ำหนัก สภาพของทรัพย์สิน ตามลำดับหมายเลขไว้และให้แสดงเคร่ืองหมายไว้ที่ทรัพย์สินนั้น ใหเ้ ห็นโดยประจักษแ์ จง้ ว่าได้มกี ารยึดแล้วตามวิธที ่เี ห็นสมควร ขอ้ ๙ เม่ือได้ยึดทรัพย์สินแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จัดการให้ผู้ถูกตรวจสอบ หรือเจ้าของทรัพย์สิน หรือผู้ท่ีครอบครองหรือผู้ท่ีอยู่ในครอบครัวของผู้ครอบครองทรัพย์สินน้ันลงนามรับรองบัญชีทรัพย์สินท่ียึดไว้ หากผู้น้ันไม่ยินยอมลงลายมือชื่อ หรือในกรณีไม่มีบุคคลดังกล่าว ให้จดแจ้งในบัญชีทรัพย์สินที่ยึดและให้ เจ้าหน้าท่ีตำรวจหรือพนักงานฝา่ ยปกครองในทอ้ งทีน่ ้นั ลงลายมอื ชื่อรบั รองแทน ขอ้ ๑๐ ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าท่ีดำเนินการยึดสังหาริมทรัพย์ใดแล้วไม่สามารถขนย้าย สังหาริมทรัพย์ท่ียึดนั้นมาเก็บรักษาไว้ได้ หรือสังหาริมทรัพย์น้ันมีสภาพไม่เหมาะสมที่จะนำมาเก็บรักษา ให้รายงานเลขาธิการทราบเพ่อื พิจารณาส่งั การตามท่ีเห็นสมควร ในกรณีท่ีเลขาธิการยังไม่มีคำส่ังตามวรรคหน่ึง ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้ดำเนินการยึดน้ันจัดการ เก็บรกั ษาทรัพย์สินไว้ตามท่เี ห็นสมควรไปพลางกอ่ น ข้อ ๑๑ เมื่อคณะกรรมการมีคำส่ังให้อายัดทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องใดแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี แจ้งคำสั่งแก่ผู้ถูกตรวจสอบหรือเจ้าของทรัพย์สินและบุคคลภายนอก ซึ่งต้องรับผิดเพื่อชำระเงินหรือ ส่งมอบสิ่งของน้นั ข้อ ๑๒ ถ้าค่าแห่งสิทธิเรียกร้องซึ่งอายัดไว้น้ันต้องเส่ือมเสียไปเพราะความผิดของบุคคลภายนอก เน่ืองจากการท่ีไม่ปฏิบัติตามคำส่ังอายัดไม่ว่าด้วยประการใด ๆ ให้คณะกรรมการหรือเลขาธิการเรียกให ้ บคุ คลภายนอกนัน้ รับผดิ ใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทนเพื่อความเสยี หายใด ๆ อันเกิดขนึ้ แต่การนัน้ ข้อ ๑๓ คำสั่งอายัดนั้น อาจออกได้ไม่ว่าหนี้ของบุคคลภายนอกน้ันจะมีข้อโต้แย้ง ข้อจำกัด หรือ เงอื่ นไข หรอื วา่ ไดก้ ำหนดจำนวนไวแ้ นน่ อนหรือไม ่

164 สำนักงาน ป.ป.ส. หมวด ๒ การประเมนิ ราคาทรัพย์สิน ข้อ ๑๔ เม่ือมกี ารยดึ หรืออายัดทรพั ยส์ นิ รายใดแลว้ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทผ่ี ไู้ ดร้ บั มอบหมายดำเนนิ การ ประเมนิ ราคาทรัพย์สินดงั กลา่ วโดยเรว็ ข้อ ๑๕ ในการประเมินราคาทรัพย์สินบางประเภท พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ได้รับมอบหมายอาจขอความ รว่ มมือจากผเู้ ช่ยี วชาญหรือผู้มคี วามรเู้ ชีย่ วชาญ เพื่อตรวจสอบประเภท ชนิด และประเมินราคาทรัพยส์ ินนั้นได ้ ขอ้ ๑๖ กรณีท่ีคณะกรรมการหรือเลขาธิการเห็นว่าราคาทรัพย์สินที่พนักงานเจ้าหน้าที่ประเมินต่ำหรือ สูงเกินไป คณะกรรมการหรือเลขาธิการอาจส่ังให้พนักงานเจ้าหน้าที่ช้ีแจงเหตุผลแห่งการประเมิน หรือส่ังให้มี การประเมนิ ราคาทรัพยส์ ินนนั้ ใหมไ่ ด้ ขอ้ ๑๗ การประเมนิ ราคาทรพั ยส์ นิ ใหป้ ระเมินตามหลกั เกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) การประเมินราคาท่ีดินให้ถือหลักเปรียบเทียบกับราคาตลาดหรืออิงราคาท่ีใกล้เคียงกับราคาตลาด ให้มากท่สี ุด แตไ่ ม่ตำ่ กวา่ ราคาประเมนิ ของกรมทดี่ ินซง่ึ ใชใ้ นการจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรม (๒) การประเมินราคาโรงเรอื นหรอื ส่ิงปลูกสรา้ ง (ก) อาคารท่กี อ่ สร้างใหมใ่ หถ้ ือหลักการถอดแบบคำนวณตามวธิ ีการของการกอ่ สรา้ ง (ข) อาคารที่ใช้งานแล้ว ใหค้ ำนวณตามตารางสำเรจ็ ของทางราชการ (๓) การประเมนิ ราคาทรพั ย์สนิ อื่น ๆ (ก) สำหรบั ของใหม่ ให้ถอื ราคาตลาดเป็นเกณฑ์การประเมิน (ข) สำหรับของเก่า ให้ถือตามราคาตลาดหักด้วยค่าเส่ือมราคาตามสภาพความเป็นจริงหรือ ตามวธิ กี ารท่ีกำหนดไว้ (ค) สำหรับราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ ให้ใช้ราคาซ้ือขายครั้งหลังสุด ส่วนราคาหุ้นกู้ ให้ใช้ราคา ที่ตราไว้และราคาหุ้นในบริษัทต่างๆ ให้ประเมินราคาโดยการประเมินฐานะทางการเงินและการดำเนินงาน ของบริษัทน้ัน ข้อ ๑๘ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการยึดหรืออายัด และประเมินราคาทรัพย์สินเสร็จแล้ว ให้ทำรายงานเสนอต่อคณะกรรมการหรือเลขาธิการ แล้วแต่กรณี พร้อมแนบบัญชีทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัด น้ันไปดว้ ย ข้อ ๑๙ ค่าใช้จ่ายในการยึด อายัด เก็บรักษาทรัพย์สินช่ัวคราว และประเมินราคาทรัพย์สินให้เป็นไป ตามทเี่ ลขาธกิ ารกำหนด โดยใช้เงินจากกองทนุ ข้อ ๒๐ เอกสารการยึด อายัด ประเมินราคาทรัพย์สินและรายงานต่างๆ ให้เป็นไปตามแบบ ทีส่ ำนกั งานกำหนด ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ อานนั ท ์ ปนั ยารชุน นายกรฐั มนตร ี

พระราชบญั ญตั ิมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกย่ี วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ 165 กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปราม ผูก้ ระทำความผดิ เกีย่ วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔๑ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๓๓ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการ ปราบปรามผกู้ ระทำความผดิ เกี่ยวกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ในกรณีท่ีต้องคืนทรัพย์สินให้สำนักงานมีหนังสือแจ้งให้ผู้ซึ่งมีสิทธิได้รับทรัพย์สินนั้น คืนตามที่อยู่ คร้ังหลังสุดของผู้นั้นเท่าที่ปรากฏในสำนวนการสอบสวนทราบเพ่ือมารับทรัพย์สินดังกล่าวคืนไป เว้นแต่ ทรพั ย์สนิ นัน้ จะมีผู้มายืน่ คำรอ้ งขอคนื ไว้แลว้ ข้อ ๒ ในกรณีที่ไม่ปรากฏตัวเจ้าของทรัพย์สินท่ีต้องคืนตามข้อ ๑ ให้สำนักงานประกาศในหนังสือพิมพ์ รายวันอย่างน้อยสองฉบับ เป็นเวลาอย่างน้อยสองวันติดต่อกนั เพื่อให้ผู้ซึ่งอ้างว่าเป็นเจา้ ของมายน่ื คำร้องตอ่ เลขาธกิ ารเพ่อื ขอรบั ทรัพยส์ นิ คนื และให้เลขาธิการเสนอคำรอ้ งนั้นตอ่ คณะกรรมการเพอ่ื พจิ ารณาต่อไป คำรอ้ งตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ป็นไปตามแบบท่ีสำนกั งานกำหนด ข้อ ๓ ผู้ซ่ึงอ้างว่าเป็นเจ้าของทรัพย์สินตามท่ีระบุไว้ในมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ อาจยื่นคำร้องต่อ เลขาธิการเพ่ือขอรับทรัพย์สินของตนคืนในเวลาใด ๆ ก็ได้ ก่อนท่ีคณะกรรมการจะมีคำส่ังให้ยึดหรืออายัด ทรัพยส์ นิ นั้น คำรอ้ งตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ป็นไปตามแบบทีส่ ำนักงานกำหนด ขอ้ ๔ คำร้องตามข้อ ๒ และข้อ ๓ อย่างน้อยต้องยื่นพร้อมเอกสารหรือหลักฐานทางทะเบียน ทที่ างราชการออกให้ หรอื เอกสารหรอื หลกั ฐานอนื่ ทแ่ี สดงวา่ ตนเปน็ เจา้ ของหรอื ผมู้ สี ทิ ธคิ รอบครองในทรพั ยส์ นิ นน้ั ในกรณีที่เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินนั้นถึงแก่ความตาย ให้ย่ืนใบมรณบัตรและคำส่ังของศาล ทแ่ี ต่งตั้งผู้จัดการมรดกด้วย ข้อ ๕ เม่ือมีการคืนทรัพย์สินที่มีทะเบียนตามกฎหมาย ให้สำนักงานมีหนังสือแจ้งการถอนการยึด หรืออายัดทรัพย์สินน้ันไปยังนายทะเบียนหรือเจ้าหน้าท่ีซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการจดทะเบียนสำหรับ ทรัพย์สินนั้นโดยเร็ว ๑ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๐๙ ตอนที่ ๕๕ ลงวันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๓๕

166 สำนกั งาน ป.ป.ส. ข้อ ๖ การรับทรัพย์สินคืน ให้เจ้าของมารับคืนได้ ณ สถานที่ที่สำนักงานแจ้งให้ทราบ เว้นแต่ในกรณี จำเปน็ และมเี หตุผลสมควร เลขาธกิ ารอาจสั่งให้พนกั งานเจ้าหนา้ ทีน่ ำทรัพย์สินนนั้ ไปสง่ คืนใหแ้ กเ่ จา้ ของก็ได ้ ขอ้ ๗ ทรัพย์สินใดที่ไม่อาจคืนให้แก่เจ้าของได้หรือไม่มีผู้ใดมาอ้างว่าเป็นเจ้าของเพ่ือขอรับคืน ใหเ้ ลขาธกิ ารรายงานคณะกรรมการเพอ่ื พิจารณาตอ่ ไป ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ อานันท ์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี

พระราชบัญญัตมิ าตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผิดเก่ียวกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 167 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตร ี ว่าดว้ ยคณุ สมบัตขิ องพนักงานเจ้าหนา้ ทต่ี ามกฎหมายว่าดว้ ยมาตรการ ในการปราบปรามผกู้ ระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยที่พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ บัญญัติให้คณะกรรมการ หรือเลขาธิการ มอบหมายให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีดำเนินการตรวจสอบ ยึด หรือ อายัดทรัพย์สิน ที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด หรือดำเนินการอ่ืน ดังนั้น ผู้ที่จะได้รับ การแต่งต้ังเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จะต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีความสุจริตยุติธรรม จึงจำเป็น ต้องกำหนดคณุ สมบัติ ของพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำ ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจึงวาง ระเบียบไว้ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคุณสมบัติของพนักงานเจ้าหน้าท่ี ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกย่ี วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๕” ขอ้ ๒ ระเบยี บนี้ใหใ้ ช้บงั คับต้ังแต่วันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป๑ ข้อ ๓ ผู้ซ่ึงจะได้รับการเสนอช่ือให้นายกรัฐมนตรีพิจารณาแต่งต้ังเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามกฎหมาย ว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผ้กู ระทำความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพติด จะตอ้ งมีคณุ สมบัตดิ งั น้ี (๑) เป็นขา้ ราชการต้ังแต่ระดับสามหรือเทยี บเท่า หรือชัน้ สญั ญาบัตรขนึ้ ไป หรอื (๒) เป็นพนักงานขององค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจซ่ึงเทียบได้ไม่ต่ำกว่า ขา้ ราชการใน (๑) ใหเ้ ลขาธกิ ารเสนอชื่อผมู้ ีคุณสมบตั ติ ามวรรคหนง่ึ ต่อนายกรฐั มนตรี ข้อ ๔ เม่ือได้มีคำสั่งแต่งต้ังผู้ใดเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว ให้เลขาธิการออกบัตรประจำตัว ตามแบบทเี่ ลขาธกิ ารกำหนดใหแ้ กผ่ นู้ ้ัน ข้อ ๕ ให้เลขาธิการจัดทำทะเบียนประวัติ ความประพฤติ ตลอดจนพฤติการณ์ต่างๆ ของพนักงาน เจา้ หนา้ ท่ตี ามทีเ่ หน็ ว่าจำเป็นและสมควร ๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๐๙ ตอนที่ ๑๐๔ ลงวนั ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๓๕

168 สำนักงาน ป.ป.ส. ขอ้ ๖ การเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีส้ินสุดลงเมื่อนายกรัฐมนตรีมีคำส่ังยกเลิกการแต่งตั้งให้เลขาธิการ เสนอต่อนายกรฐั มนตรีเพอื่ ดำเนนิ การตามวรรคหนึ่ง เมอ่ื มีกรณีดังต่อไปนี ้ (๑) ผู้นน้ั ขาดคุณสมบัตติ ามข้อ ๓ (๒) ผู้บงั คบั บัญชาของผู้นนั้ เสนอใหย้ กเลกิ การแตง่ ตัง้ (๓) เลขาธกิ ารเหน็ สมควรใหย้ กเลิกการแตง่ ต้งั ขอ้ ๗ ให้เลขาธิการรักษาการตามระเบียบน้ี และให้มีอำนาจออกระเบียบหรือคำสั่งเพื่อปฏิบัติการ ตามระเบยี บน้ี ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ พลตำรวจเอก เภา สารสิน รองนายกรัฐมนตรี รักษาราชการแทน นายกรฐั มนตร ี

พระราชบัญญตั มิ าตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ยี วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 169 ระเบียบสำนักงาน ป.ป.ส. วา่ ด้วยการแต่งตั้งพนกั งานเจ้าหนา้ ทตี่ ามกฎหมายว่าด้วยมาตรการ ในการปราบปรามผกู้ ระทำความผดิ เก่ียวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๒ อาศัยอำนาจตามความในข้อ ๗ แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคุณสมบัติของพนักงาน เจ้าหน้าท่ีตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๕ เพื่อให้การแต่งตั้งและการออกบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าท่ีเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงกำหนด ระเบียบปฏิบัติไว้ ดังน้ี ขอ้ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสำนักงาน ป.ป.ส. ว่าด้วยการแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าท่ ี ตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๒” หรือ เรียกโดยย่อว่า “ระเบยี บพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ตรวจสอบทรพั ยส์ นิ พ.ศ. ๒๕๔๒” ขอ้ ๒ ระเบยี บนใ้ี ห้ใช้บงั คบั ตง้ั แตว่ นั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เป็นตน้ ไป ข้อ ๓ ให้ยกเลกิ ระเบียบสำนักงาน ป.ป.ส. วา่ ด้วยการแต่งตงั้ พนักงานเจา้ หน้าท่ีตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๕ ระเบียบหรือคำสั่งใดซึง่ ขัดหรอื แยง้ กบั ระเบยี บนใ้ี หใ้ ช้ระเบยี บนี้แทน ข้อ ๔ ในระเบียบน้ี “บัตรประจำตัว” หมายความว่า เอกสารท่ีเลขาธิการออกให้ประจำตัวพนักงาน เจ้าหนา้ ท่ี ตามแบบท่กี ำหนดไวท้ า้ ยระเบียบนี้ ขอ้ ๕ ใหผ้ ูอ้ ำนวยการสำนักตรวจสอบทรพั ยส์ นิ คดยี าเสพตดิ เปน็ ผรู้ ักษาการตามระเบยี บนี้ ขอ้ ๖ การขอแตง่ ต้ังเป็นพนกั งานเจา้ หน้าท่ี ใหส้ ่งหลักฐานตามรายการดังต่อไปนี้ (๑) คำขอแตง่ ต้งั พนักงานเจา้ หนา้ ท่ี (แบบ ป.ป.ส. ๓ - ๑๐๑) (๒) ภาพถ่ายไม่เกนิ ๖ เดอื น หน้าตรงแต่งเครอ่ื งแบบไมส่ วมหมวก ขนาด ๒ นิว้ จำนวน ๒ ภาพ (๓) สำเนาภาพถา่ ยทะเบยี นบ้าน ๑ ฉบับ ข้อ ๗ การขอแตง่ ต้งั เป็นพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ใหผ้ ้ขู อยน่ื คำขอตอ่ บุคคลดังตอ่ ไปนี้ ๑. สำหรบั ขา้ ราชการสำนักงาน ป.ป.ส. ใหย้ นื่ ต่อผู้อำนวยการกองหรือเทียบเทา่ ข้ึนไป ๒. ในสว่ นราชการอื่น ให้ย่ืนต่ออธบิ ดหี รือหวั หนา้ ส่วนราชการเทยี บเท่าอธิบดี ขอ้ ๘ เม่ือผู้รับคำขอตามข้อ ๗ พิจารณาเห็นควรให้แต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีให้ส่งคำขอ ไปยงั สำนกั งาน ป.ป.ส.

170 สำนกั งาน ป.ป.ส. ข้อ ๙ เม่ือสำนักงาน ป.ป.ส. ได้รับคำขอแต่งต้ัง ให้สำนักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติดตรวจสอบ หลักฐานตามข้อ ๖ และตรวจสอบประวตั ิ ตลอดจนพฤตกิ ารณ์อ่นื ๆ ที่เก่ยี วข้อง ใหส้ ำนกั ตรวจสอบทรัพยส์ ินคดียาเสพตดิ เสนอเลขาธกิ าร พรอ้ มความเห็นว่าสมควรแตง่ ตง้ั เป็นพนกั งานเจ้าหนา้ ที่หรอื ไม่ ขอ้ ๑๐ ให้เลขาธิการนำรายชื่อที่เห็นสมควรแต่งตั้ง เสนอต่อนายกรัฐมนตรีเพ่ือแต่งตั้งและเม่ือมี การแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ีแล้ว ให้เลขาธิการนำรายชื่อพนักงานเจ้าหน้าที่รายงานต่อคณะกรรมการ เพอ่ื ทราบต่อไป ขอ้ ๑๑ ให้สำนักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด จัดทำบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ทะเบียนประวัติ ความประพฤติ และพฤตกิ ารณ์ตา่ งๆ ท่เี หน็ วา่ จำเป็น ถา้ ไม่มีการแตง่ ตั้ง ให้สำนกั ตรวจสอบทรัพย์สินคดยี าเสพตดิ แจ้งใหผ้ ขู้ อแตง่ ตั้งทราบ ข้อ ๑๒ บัตรประจำตัวให้ใช้ได้ภายในระยะเวลาตามท่ีกำหนด เมื่อบัตรประจำตัวหมดอายุและ มีความประสงค์จะขอตอ่ ใหย้ ื่นขอตอ่ ไดภ้ ายใน ๓๐ วนั กอ่ นวนั หมดอายุ ทสี่ ำนกั งาน ป.ป.ส. พรอ้ มคำรับรองวา่ บัตรประจำตัวหมดอายุ และมีตำแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบปัจจบุ ันในการปราบปรามยาเสพตดิ การขอต่อบัตรประจำตัว ให้ใช้คำขอตามแบบ ป.ป.ส. ๓ - ๑๐๒ พร้อมภาพถ่ายตามข้อ ๖(๒) โดยย่นื คำขอต่อผู้บังคบั บัญชาตั้งแต่ผอู้ ำนวยการกอง ผ้บู ังคบั การตำรวจ หรอื เทียบเท่าข้ึนไป เม่ือไดร้ บั บตั รประจำตวั ใหมแ่ ลว้ จะต้องมอบบัตรประจำตัวเก่าคืนใหส้ ำนกั งาน ป.ป.ส. ขอ้ ๑๓ ในกรณีท่ีบัตรประจำตัวชำรุด สูญหายหรือถูกทำลายด้วยประการใดๆ ให้ผู้นั้นรีบรายงาน ต่อผู้บังคับบัญชาต้ังแต่ผู้อำนวยการกอง ผู้บังคับการตำรวจ หรือเทียบเท่าขึ้นไป เพ่ือแจ้งสำนักงาน ป.ป.ส. พรอ้ มบัตรประจำตวั และคำรบั รองหรอื หลกั ฐานการแจง้ ความตอ่ เจา้ หน้าทตี่ ำรวจ แลว้ แต่กรณี ถา้ ผูน้ ้นั ประสงคใ์ ห้ออกบตั รประจำตัวใหม่ ให้ใชค้ ำขอตามขอ้ ๑๒ วรรคสอง ข้อ ๑๔ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีเป็นผู้มารับบัตรประจำตัวด้วยตัวเอง ในกรณีท่ีไม่สามารถมารับบัตร ประจำตัวด้วยตนเอง ให้มอบอำนาจแก่ข้าราชการในส่วนราชการเดียวกันมารับแทน โดยทำใบมอบอำนาจ ตามแบบ ป.ป.ส. ๓ - ๑๐๓ ประกาศ ณ วนั ที่ ๗ กรกฎคม พ.ศ. ๒๕๔๒ พยนต์ พันธ์ศรี เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด

พระราชบัญญตั มิ าตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผิดเก่ยี วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 171 คำขอแตง่ ตั้งเปน็ พนกั งานเจา้ หนา้ ท ี่ แบบ ป.ป.ส. ๓ - ๑๐๑ เขยี นท่ี ......................................................... วันท่ี ................ เดอื น ................................ พ.ศ. ................ ด้วยขา้ พเจ้ามีความประสงค์จะขอรับการแตง่ ตั้งเป็นพนกั งานเจา้ หน้าท่ี ตามพระราชบัญญตั ิ มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงขอแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับ ประวตั ขิ องข้าพเจา้ ดงั ต่อไปนี้ ๑. ชอื่ /ยศ ............................................................ ชอื่ สกุล ................................................................................ ชอ่ื รอง ........................................................... ๒. รบั ราชการในตำแหน่ง ............................................................................. ระดับ .......................................... ข้นั .......................................................บาท แผนก ..................................... กอง ........................................ กรม ........................................................................... กระทรวง .................................................................. สถานทที่ ำการ ........................................................... โทรศพั ท์ ................................................................... วนั เข้ารบั ราชการ............................................................................................................................................ ๓. หน้าท่คี วามรับผดิ ชอบปัจจุบนั เกี่ยวข้องกบั การปราบปรามยาเสพตดิ โดยตรงคอื ......................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๔ เชือ้ ชาติ ......................................... สญั ชาติ ...................................... ศาสนา ............................................. ๕. เกดิ วันท่ี ...................... เดอื น .................................................... พ.ศ. .................... อายุ ........................ ป ี ๖. เกิดท่ีบ้านเลขที่ ............................... หมู่ ............. ตรอก/ซอย ..................................................................... ถนน ......................................................................... ตำบล/แขวง ............................................................... อำเภอ/เขต ...................................................................... จงั หวดั ................................................................ ๗. อยู่ทีบ่ ้านเลขท่ี ............................... หมู่ ................ ตรอก/ซอย ................................................................... ถนน ........................................................................ ตำบล/แขวง ................................................................ อำเภอ/เขต ............................................................... จังหวัด ....................................................................... โทรศัพท์ .............................................................. ๘. การศกึ ษา (ขน้ั วิชาชีพ วทิ ยาลยั และมหาวิทยาลัยทุกสถาบัน) .................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ไดร้ บั ประกาศนยี บตั รหรอื อนปุ ริญญาบัตร .................................................................................................... มคี วามรู้ความสามารถพิเศษ ......................................................................................................................... รภู้ าษาต่างประเทศภาษาใดบา้ ง เพียงใด ......................................................................................................

172 สำนกั งาน ป.ป.ส. ๙. ประวตั ิการรบั ราชการหรือการทำงานท่ผี ่านมาแล้วทกุ แห่ง ........................................................................ พ.ศ. .............. ถึง พ.ศ. ............... ตำแหน่ง ............................... ทที่ ำงาน ................................................ พ.ศ. .............. ถงึ พ.ศ. ............... ตำแหนง่ ............................... ท่ีทำงาน ................................................ พ.ศ. .............. ถงึ พ.ศ. .............. ตำแหนง่ ................................ ท่ที ำงาน ................................................ พ.ศ. .............. ถงึ พ.ศ. …............ ตำแหนง่ ............................... ท่ที ำงาน ................................................ พ.ศ. .............. ถึง พ.ศ. ............... ตำแหนง่ ............................... ทท่ี ำงาน ................................................ พ.ศ. …........... ถึง พ.ศ. ............... ตำแหนง่ ............................... ทที่ ำงาน ................................................ ๑๐. เคยได้รับการแตง่ ต้งั เป็นเจ้าพนกั งาน หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายพเิ ศษหรือไม่ เปน็ ........................... ตามกฎหมาย ........................... เมอ่ื ................ ยกเลิกเมอ่ื .................................. เป็น ........................... ตามกฎหมาย ........................... เม่อื ................ ยกเลกิ เมอื่ .................................. เปน็ ........................... ตามกฎหมาย ........................... เมอื่ ................ ยกเลิกเมื่อ .................................. ๑๑. เคยถกู กล่าวหาหรอื ถกู ฟ้องว่ากระทำผดิ วินยั ตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบข้าราชการหรอื ไม่ …..………...... .................................................................................................................................................................... เคย ........................................... ครงั้ เมอ่ื .................................................................................................. ๑๒. ก. เคยถูกกล่าวหาหรือถูกฟอ้ งวา่ กระทำความผดิ อาญาหรือไม่ .................................................................. เคย ...................................... คร้งั เม่อื ....................................................................................................... ข้อหาความผดิ ............................................................................................................................................ ข. เคยต้องคำพพิ ากษาหรอื คำสงั่ ของศาลให้ลงโทษอยา่ งใดหรอื ไม่ ............................................................ เคย ...................................... คร้งั เม่ือ ....................................................................................................... ความผดิ ฐานใด ........................................................................................................................................... กำหนดโทษ ............................................................ จำคุก .............. ปี ................. เดอื น ......................... วนั พน้ โทษเมือ่ ใด ................................................................................. ปรบั ......................................บาท ๑๓. สถานที่ติดต่อข้าพเจ้าได้สะดวก .................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองวา่ ขอ้ ความท่ีกลา่ วขา้ งต้นน้เี ป็นความจริงทกุ ประการ ลงชือ่ .............................................................. ผ้ขู อรบั การแต่งต้ัง

พระราชบญั ญัติมาตรการในการปราบปรามผูก้ ระทำความผดิ เกย่ี วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ 173 คำรับรอง เขียนที่ ................................................................... วนั ที่ ............... เดือน .............................. พ.ศ. ..................... ข้าพเจา้ ....................................................... ตำแหน่ง ............................................................................. ขอรับรองว่า ................................................................... ซ่ึงขอรับการแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีตาม พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็นผู้อยู่ใต้ บังคบั บัญชาของข้าพเจา้ มาเป็นเวลา ........................................ ปี ขา้ พเจา้ ได้ตรวจสอบและพจิ ารณาแล้วเห็นวา่ มีความประพฤติดี ไม่เป็นผู้มีความประพฤติและชื่อเสียงเสื่อมเสีย หรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี และ เป็นผู้มีหน้าท่ีในการปราบปรามยาเสพติดโดยตรง สมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พระราชบัญญตั มิ าตรการในการปราบปรามผ้กู ระทำความผดิ เก่ยี วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ ลงช่ือ ........................................................................... ผูร้ บั รอง หมายเหตุ ผรู้ บั รองจะต้องเปน็ ผูบ้ งั คับบญั ชาตง้ั แตผ่ ูอ้ ำนวยการกอง ผบู้ ังคับการตำรวจ หรอื เทยี บเท่าข้ึนไป

174 สำนกั งาน ป.ป.ส. แบบ ป.ป.ส. ๓ - ๑๐๒ คำขอจัดทำบตั รประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าท่ใี หม ่ เขยี นที่ ................................................................... วนั ท่ี ............... เดอื น .............................. พ.ศ. ..................... ด้วยข้าพเจ้ามีความประสงค์จะขอจัดทำบัตรพนักงานเจ้าหน้าที่ใหม่ เนื่องจากบัตรประจำตัว.......... ............................................. เม่อื วนั ที่ .......................................................... จึงขอแจง้ รายละเอียดดังต่อไปน้ี ๑. ช่ือ/ยศ ........................................................ ชือ่ สกุล .................................................................................. ชื่อรอง ........................................................ ๒. รบั ราชการในตำแหนง่ ................................................................ ระดบั ..................................................... ขั้น ..........................................บาท แผนก ....................................... กอง ................................................. กรม ............................................................ กระทรวง ............................................................................... สถานท่ที ำการ ........................................................... โทรศัพท์ .................................................................. วันเขา้ รับราชการ.......................................................................................................................................... ๓. หนา้ ที่ความรับผิดชอบปัจจุบนั เก่ียวข้องกบั การปราบปรามยาเสพตดิ โดยตรงคอื ....................................... ..................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ๔. อยทู่ ่ีบา้ นเลขที่ ..................... หมู่ .................. ตรอก/ซอย ......................................................................... ถนน ............................................................................... ตำบล/แขวง ....................................................... อำเภอ/เขต ......................................................................... จังหวดั .......................................................... โทรศพั ท์ ............................................................ ๕. ไดร้ บั การแต่งตง้ั เป็นพนกั งานเจา้ หนา้ ทต่ี ามพระราชบญั ญัตมิ าตรการในการปราบปรามผู้กระทำ ความผดิ เกีย่ วกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ บัตรเลขท่ี ..................................................................... ๖. ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบทรพั ย์สนิ ใหด้ ำเนนิ การตรวจสอบ .................... เร่ือง มรี ายละเอียดคอื เร่อื ง ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ๗. สถานที่ติดต่อข้าพเจา้ ไดส้ ะดวก ................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรบั รองว่าขอ้ ความข้างต้นเปน็ ความจริงทกุ ประการ ลงชอ่ื ...................................................... ผขู้ อรบั การแตง่ ตัง้

พระราชบญั ญตั มิ าตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผิดเกยี่ วกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 175 คำรับรอง เขียนที่ ................................................................... วันท่ี ............... เดอื น .............................. พ.ศ. ..................... ข้าพเจา้ ............................................................. ตำแหนง่ ....................................................................... ขอรบั รองวา่ บัตรประจำตวั พนักงานเจา้ หนา้ ทข่ี อง ............................................................................................... ซึ่งขอรับการแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติมาตรการ ในการปราบปรามผู้กระทำความผิด เกยี่ วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ ไม่สามารถใช้การได้เนื่องจาก ............................................................................. และปัจจุบันบุคคลดังกล่าวเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาของข้าพเจ้า และเป็นผู้มีหน้าท่ีในการปราบปรามยาเสพติด โดยตรง สมควรได้รับการออกบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติมาตรการในการ ปราบ ปรามผูก้ ระทำความผดิ เกยี่ วกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ ลงช่อื ......................................................... ผรู้ บั รอง หมายเหตุ ๑. ผู้รับรองจะต้องเป็นผู้บังคับบัญชาต้ังแต่ผู้อำนวยการกอง ผู้บังคับการตำรวจหรือ เทียบเท่าขึน้ ไป ๒. กรณีบัตรสญู หาย ต้องแนบใบแจ้งความมาพร้อมคำขอน้ดี ว้ ย

176 สำนักงาน ป.ป.ส. แบบ ป.ป.ส. ๓ - ๑๐๓ ใบมอบอำนาจรบั บัตรประจำตวั พนกั งานเจ้าหนา้ ท ่ี เขียนท่ี ................................................................... วันท่ี ............... เดอื น ......................... พ.ศ. ..................... ข้าพเจา้ ............................................................ ตำแหน่ง ..................................................... กอง ....................................... กรม ................................... จงั หวดั ..................................................................... ตำบล/แขวง ......................................................อำเภอ/เขต ................................................................................ จังหวัด .................................................. ซ่ึงได้รับแจ้งจากสำนักงานให้มารับบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ของข้าพเจ้าน้ัน เนอื่ งจาก ..................................................................................................................................... จงึ ไมส่ ามารถรับบตั รประจำตวั ดว้ ยตนเองได้ขา้ พเจ้าจงึ ขอมอบอำนาจให้ ........................................................... เป็นผู้มารับบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ของข้าพเจ้าแทน และหากเกิดความเสียหายขึ้นแก่บัตรประจำตัว ของข้าพเจ้าด้วยประการใด ๆ ก็ดี หรือหากเกิดความเสียหายขึ้นโดยการนำบัตรประจำตัวของ ข้าพเจ้าไปใช้ ในทางมชิ อบกด็ ี ข้าพเจ้ากข็ อรบั ผดิ ชอบทุกประการ จงึ ลงลายมอื ช่อื เป็นสำคัญ ช่ือ .................................................................. ผู้มอบอำนาจ คำรบั รองผูร้ บั มอบอำนาจ ข้าพเจ้า ............................................................ ตำแหนง่ ..................................................... กอง ....................................... กรม ................................... จงั หวัด ..................................................................... ตำบล/แขวง ......................................................อำเภอ/เขต ................................................................................ จังหวัด .................................................. ซึ่งได้รับแจ้งจากสำนักงานให้มารับบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าท่ี เพอ่ื กระทำการตามหนังสอื มอบอำนาจฉบับน้ี ลงช่ือ ................................................. ผู้รับมอบอำนาจ ลงชื่อ ................................................. พยาน ลงชือ่ ................................................. พยาน ________________________________________________________________________________ หมายเหตุ ผรู้ ับมอบอำนาจจะต้องนำบตั รประจำตัวมาแสดงดว้ ย

พระราชบญั ญัตมิ าตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกย่ี วกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 177 ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน วา่ ดว้ ยการสั่งตรวจสอบทรัพย์สนิ การยตุ ิการตรวจสอบทรพั ยส์ ิน และการคืนทรพั ยส์ ินที่ยึดหรอื อายัดไวช้ ัว่ คราว พ.ศ. ๒๕๕๗ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๙ วรรคส่ี แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำ ความผิดเก่ียวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๑๖/๒๕๕๗ ลงวันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เร่ือง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบ ปรามผกู้ ระทำความผิดเกย่ี วกับยาเสพติด คณะกรรมการตรวจสอบทรพั ยส์ ินออกระเบยี บไว้ ดังต่อไปน ี้ ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการสั่งตรวจสอบทรัพย์ สนิ การยตุ กิ ารตรวจสอบทรพั ยแ์ ละการคนื ทรัพยส์ ินท่ียดึ หรืออายัดไวช้ ั่วคราว พ.ศ. ๒๕๕๗” ขอ้ ๒ ระเบียบนี้ใหใ้ ช้บังคับตั้งแตว่ ันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นต้นไป ขอ้ ๓ ในระเบยี บน ี้ “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการตรวจสอบทรัพยส์ ิน “เลขาธกิ าร” หมายความวา่ เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด “ทรัพย์สินท่ีมีเหตุอันควรสงสัย” หมายความว่า ทรัพย์สินท่ีสงสัยว่าเป็นทรัพย์สินท่ีเกี่ยวเน่ืองกับ การกระทำความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ และใหห้ มายความรวมถงึ ทรพั ยส์ นิ ทผ่ี ตู้ อ้ งหามอี ยหู่ รอื ไดม้ าเกนิ กวา่ ฐานะ หรือความสามารถในการประกอบอาชีพหรือกิจกรรมอย่างอ่ืนโดยสุจริต เว้นแต่เป็นทรัพย์สินท่ีใช้ในครัวเรือน หรอื ทรัพย์สินทบ่ี ุคคลทว่ั ไปสามารถมไี ดต้ ามฐานานุรูป หรือตามความจำเป็นในการดำรงชพี “ประโยชน์แกท่ างราชการ” หมายความวา่ เกิดประสทิ ธิภาาพตอ่ ทางราชการและเกดิ ความคมุ้ คา่ ในเชงิ ภารกิจของรฐั ในการปราบปรามผู้กระทำความผดิ เกย่ี วกับยาเสพตดิ ตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย ขอ้ ๔ ในการพิจารณาส่ังตรวจสอบทรัพย์สิน ให้สำนักงานดำเนินการตรวจสอบข้อมูลข้อเท็จจริง รายละเอียดหรือพฤตกิ ารณ์ ดงั น้ี (๑) ช่ือ นามสกุล และเลขประจำตัวประชาชนของผู้ต้องหาหรือเลขประจำตัวบุคคลตามเอกสารท่ีทาง ราชการออกให ้ (๒) ขอ้ กลา่ วหา ชนดิ ประเภทและปริมาณยาเสพติดของกลาง (๓) พฤตกิ ารณท์ ีเ่ กยี่ วขอ้ งหรอื ทีเ่ คยเกี่ยวข้องกบั การกระทำความผดิ เก่ยี วกับยาเสพตดิ (๔) รายละเอียดเก่ียวกับทรพั ยส์ นิ ของผูต้ ้องหาท่ีตรวจพบ (๕) รายละเอียดเกี่ยวกบั อาชีพ รายได้และขอ้ เท็จจริงเกย่ี วกบั การได้มาซง่ึ ทรัพยส์ นิ

178 สำนกั งาน ป.ป.ส. (๖) ช่ือหน่วยงานผ้ทู ำการสบื สวนจับกุมและหวั หน้าชุดในการสืบสวนจับกมุ (๗) ชอ่ื หน่วยงานสอบสวนและพนกั งานสอบสวนท่ีรบั ผดิ ชอบ เพ่ือประโยชน์ในการพิจารณาให้หน่วยงานท่ีเสนอเรื่องให้มีการส่ังตรวจสอบทรัพย์สินจัดส่งข้อมูล ข้อ เทจ็ จรงิ ตามวรรคหนึ่ง มายงั สำนักงาน ขอ้ ๕ ในกรณีการดำเนินการตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริง รายละเอียดหรือพฤติการณ์เพื่อประโยชน์ ในการพิจารณาส่ังตรวจสอบทรัพย์สินตามข้อ ๔ หากปรากฏว่าทรัพย์สินของผู้ต้องหารายใดเป็นทรัพย์สินท่ีมี เหตุอันควรสงสัยว่าเก่ียวเน่ืองกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้เลขาธิการเสนอคณะกรรมการ พิจารณาสั่งให้มีการตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหารายนั้น แต่ในกรณีที่มีเหตุอันควรเช่ือได้ว่าทรัพย์สินรายใด อาจมีการโอน ยักย้าย ซุกซ่อน และมีความจำเป็นเร่งด่วนไม่อาจนำเสนอคณะกรรมการได้ทันหรือเป็นกรณีที่มี เหตุผลและความจำเป็นอย่างอื่น เลขาธิการอาจส่ังให้ตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหาไปก่อนแล้วรายงานให้ คณะกรรมการทราบกไ็ ด ้ ขอ้ ๖ กรณีคณะกรรมการหรือเลขาธิการส่ังตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ต้องหารายใดในระหว่างการ ดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สิน หากพนักงานเจ้าหน้าที่พบว่าการดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สินต่อไปจะไม่ก่อ ให้เกิดประโยชน์แก่ทางราชการ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีแจ้งผลการตรวจสอบทรัพย์สินพร้อมความเห็นเสนอต่อ คณะกรรมการเพ่ือพจิารณา หากคณะกรรมการเห็นด้วยกับความเห็นของพนักงานเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ อาจสัง่ ให้ยตุ ิการตรวจสอบทรัพย์สนิ นนั้ กไ็ ด้ การดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สินท่ีไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทางราชการตามวรรคหนึ่งให้หมายความ รวมถึง (๑) ไม่คุ้มค่าในการดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สิน การยึดหรืออายัดและการจัดการทรัพย์สินหรือไม่ เกิดประสิทธิภาพในการปราบปรามยาเสพติดหรือเป็นภาระแก่ทางราชการมากกว่าประโยชน์ที่ทางราชการจะ ไดร้ ับ โดยมีมลู ค่าทรัพยส์ ินตามทีเ่ ลขาธิการประกาศกำหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ (๒) เป็นทรัพย์สินที่หากมีการดำเนินการตามกฎหมายอื่นแล้วจะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการบังคับใช้ กฎหมายยิง่ กวา่ ขอ้ ๗ การแจ้งผลการตรวจสอบทรัพย์สินตามข้อ ๖ ควรให้ปรากฏข้อเท็จจริงประกอบการพิจารณา ดังน้ ี (๑) พฤติการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติดของผู้ต้องหาท่ีถูกตรวจสอบ ทรพั ย์สิน (๒) ผลการดำเนินคดอี าญาหรอื คำพพิ ากษาในคดีทผ่ี ตู้ อ้ งหาถูกจบั กมุ ในความผดิ เกีย่ วกบั ยาเสพติด (๓) รายละเอียดทรพั ยส์ นิ สภาพและราคาประเมนิ ของทรัพย์สนิ แต่ละรายการ (๔) ภาระต่าง ๆ ทจี่ ะตกแกท่ างราชการหากดำเนนิ การตรวจสอบทรพั ยส์ นิ ตอ่ ไป (๕) ประโยชน์ที่จะได้รับเม่ือศาลมีคำส่ังถึงท่ีสุดให้ริบทรัพย์สินตกเป็นของกองทุนป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด (๖) การดำเนินการตามกฎหมายอ่ืนจะเกิดประโยชน์มากกว่าหรือเป็นภาระแก่ทางราชการน้อยกว่า การดำเนนิ การตรวจสอบทรพั ย์สนิ ตามกฎหมายนี้

พระราชบัญญตั มิ าตรการในการปราบปรามผูก้ ระทำความผดิ เกีย่ วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 179 ข้อ ๘ ในกรณีคณะกรรมการได้พิจารณาผลการตรวจสอบทรัพย์สินและความเห็นของพนักงาน เจ้าหน้าท่ีตามข้อ ๖ และข้อ ๗ แล้ว หากคณะกรรมการเห็นสมควรดำเนินการตรวจสอบทรัพย์สินต่อไปให้ พนกั งานเจา้ หนา้ ทดี่ ำเนนิ การตรวจสอบทรพั ยส์ นิ ตอ่ ไป ในกรณที คี่ ณะกรรมการเหน็ ดว้ ยกบั ความเหน็ ของพนกั งาน เจ้าหน้าที่และคณะกรรมการส่ังให้ยุติการตรวจสอบทรัพย์สินน้ัน หากคณะกรรมการเห็นสมควรจะสั่งให้คืน ทรัพย์สินทมี่ กี ารยึดหรืออายัดไว้ช่ัวคราวในระหวา่ งการตรวจสอบให้แก่เจา้ ของทรพั ยส์ นิ กไ็ ด ้ ในกรณีคณะกรรมการส่ังให้คืนทรัพย์สินที่มีการยึดหรืออายัดไว้ช่ัวคราวในระหว่างการตรวจสอบให้แก่ เจ้าของทรัพย์สินตามวรรคหน่ึง ให้สำนักงานคืนทรัพย์สินนั้นให้แก่เจ้าของทรัพย์สิน ในกรณีทรัพย์สินท่ีคืนเป็น ทรัพยส์ นิ ทส่ี ามารถดำเนินการตามกฎหมายอน่ื ได้ก็ให้ดำเนินการกบั ทรัพยส์ ินนน้ั ตอ่ ไปตามกฎหมายดงั กลา่ วนัน้ การขอรับทรพั ยส์ นิ คืนและการคนื ทรพั ยส์ ินตามวรรคหน่งึ ให้นำกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ มาบังคับใชโ้ ดยอนโุ ลม ข้อ ๙ ให้เลขาธิการรักษาการตามระเบียบน้ีและให้มีอำนาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่ง เพ่ือปฏิบตั ิการตามระเบยี บน้ ี ในกรณีท่มี ีปัญหาเก่ียวกบั การปฏิบัตติ ามระเบียบน้ี ให้เลขาธิการเสนอคณะกรรมการวินจิ ฉยั ช้ขี าด ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ชาญเชาวน ์ ไชยานุกิจ รองปลดั กระทรวงยุตธิ รรม รักษาราชการแทนปลดั กระทรวงยตุ ิธรรม ประธานกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน

180 สำนักงาน ป.ป.ส. ระเบยี บคณะกรรมการตรวจสอบทรพั ยส์ นิ ว่าดว้ ยการเก็บรักษาทรพั ย์สนิ ท่ีถกู ยึดอายัด (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขปรับปรุงระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการเก็บ รกั ษาทรพั ยส์ ินท่ถี กู ยึดหรืออายดั พ.ศ. ๒๕๓๕ และระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สนิ ว่าดว้ ยการเกบ็ รักษาทรัพย์สินท่ีถูกยึดหรืออายัด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ เสียใหม่ ให้เหมาะสมย่ิงขึ้น อาศัยอำนาจตาม ความในมาตรา ๑๖ (๕) และมาตรา ๒๔ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำ ความผดิ เกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ คณะกรรมการตรวจสอบทรพั ยส์ ินออกระเบยี บไว้ ดังต่อไปน้ ี ข้อ ๑ ระเบยี บนเ้ี รียกวา่ “ระเบยี บคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สนิ ว่าดว้ ยการเกบ็ รักษา ทรพั ย์สนิ ทีถ่ กู ยดึ หรอื อายดั ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๔๗)” ขอ้ ๒ ระเบยี บนใ้ี หใ้ ชบ้ งั คับตงั้ แต่วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นตน้ ไป๑ ขอ้ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการเก็บรักษาทรัพย์สินท่ีถูกยึด หรอื อายดั พ.ศ. ๒๕๓๕ และระเบยี บคณะกรรมการตรวจสอบทรัพยส์ นิ ว่าดว้ ยการเกบ็ รกั ษาทรัพยส์ ินทถ่ี ูกยดึ หรอื อายัด (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ ขอ้ ๔ ในระเบยี บนี้ “ทรัพย์สิน” หมายความว่า ทรัพย์สินที่เก่ียวเนื่องกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดท่ ี คณะกรรมการได้มีคำส่ังให้ยึดหรืออายัดไว้ และให้หมายความรวมถึง ทรัพย์สินที่คณะกรรมการหรือเลขาธิการ ได้มคี ำส่ังให้ยึดหรอื อายัดไวช้ ั่วคราวดว้ ย ขอ้ ๕ ให้เลขาธิการรักษาการตามระเบียบน้ี และให้มีอำนาจออกระเบียบหรือคำสั่งเพื่อปฏิบัติการ ตามระเบยี บน้ี ในกรณีท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้เลขาธิการเสนอให้คณะกรรมการวินิจฉัย ช้ีขาด

พระราชบญั ญตั ิมาตรการในการปราบปรามผูก้ ระทำความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 181 หมวด ๑ หน้าทเ่ี ก็บรักษาทรพั ยส์ ิน ข้อ ๖ ในกรณีปกติ ให้ผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด หรือผู้อำนวยการ สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดประจำภาค แล้วแต่กรณี มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินท่ียึดหรือ อายัดได้ในพื้นที่ที่ตนรับผิดชอบ แต่ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นและสมควร เลขาธิการจะมีคำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการขึ้นคณะหน่ึงหรือหลายคณะ ประกอบด้วย ข้าราชการในสำนักงานจำนวนไม่น้อยกว่าสามคน หรือจะมีคำสั่งแต่งตั้งผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด หรือผู้อำนวยการสำนักงานป้องกัน และปราบปรามยาเสพตดิ ประจำภาค ใหเ้ ป็นผูม้ หี น้าทเี่ กบ็ รกั ษาทรพั ย์สินของผู้ตอ้ งหารายใดโดยเฉพาะกไ็ ด้ เพ่ือประโยชน์ในการดำเนินการตามระเบียบนี้ ผู้มีหน้าท่ีเก็บรักษาทรัพย์สินอาจมอบหมายให้ผู้หน่ึงผู้ใด ทำการแทนกไ็ ด้ ขอ้ ๗ ให้ผู้มหี น้าที่เกบ็ รกั ษาทรัพย์สนิ ตามขอ้ ๖ มหี นา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ตรวจความถกู ต้องของทรัพย์สินทจ่ี ะตอ้ งเก็บรักษาหรอื สง่ มอบ (๒) จดั ทำบญั ชีทรัพยส์ ินที่เกบ็ รักษา (๓) จัดทำหลักฐานการรับหรือสง่ มอบทรัพย์สนิ (๔) เกบ็ รกั ษากญุ แจและรหสั ของสถานท่เี ก็บรกั ษาทรพั ย์สินตามขอ้ ๙ (๕) ตรวจสอบเก่ียวกับทรัพย์สิน เช่น ความชำรุดบกพร่อง และรายงานความเคลื่อนไหว หรือ ผลการตรวจสอบเก่ียวกบั ทรัพยส์ นิ ทัง้ น้ี ตามทเ่ี ลขาธิการกำหนด (๖) เก็บรักษาทรพั ยส์ นิ ที่ได้รบั มอบไวใ้ ห้ปลอดภัย (๗) สง่ มอบทรพั ยส์ ินแก่บคุ คลท่ีเลขาธกิ ารมีคำส่งั (๘) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายหรือระเบียบท่ีเกี่ยวข้องกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าท่ีของ ผูม้ หี น้าที่เกบ็ รักษาทรพั ยส์ นิ ข้อ ๘ กุญแจและรหัสให้แยกกันเก็บรักษาไว้ โดยให้ผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบทรัพย์สิน คดียาเสพติด ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค หรือประธานกรรมการเก็บรักษา ทรัพย์สินที่เลขาธิการแต่งต้ัง แล้วแต่กรณี เป็นผู้เก็บรักษารหัสและให้ข้าราชการท่ีมีหน้าท่ีเกี่ยวข้อง ตั้งแต่ระดับ ๗ ขึ้นไป หรือยศพันตำรวจโทขึ้นไป หรือเทียบเท่าและข้าราชการท่ีมีหน้าท่ีเก่ียวข้องตั้งแต่ ระดบั ๖ ข้นึ ไป หรือยศพันตำรวจตรขี น้ึ ไป หรอื เทยี บเท่ามหี นา้ ทเ่ี ก็บรกั ษากญุ แจคนละหนึง่ ดอก ข้าราชการที่มีหน้าที่เก่ียวข้องตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับมอบหมายให้มีหน้าท่ีเก็บรักษาทรัพย์สิน จากเลขาธิการ

182 สำนักงาน ป.ป.ส. หมวด ๒ การส่งมอบและรบั มอบทรพั ย์สิน ข้อ ๙ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ซ่ึงดำเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สิน ประเมินราคาทรัพย์สิน และส่งมอบทรัพย์สินพร้อมเอกสารหลักฐานให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สิน เพ่ือเก็บรักษาไว้ ตามหลักเกณฑ์ และวธิ ีการทีก่ ำหนดในระเบียบน้ี กรณีท่ีมีเหตุจำเป็นและสมควร พนักงานเจ้าหน้าที่อาจส่งมอบทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดไปก่อน แล้วประเมนิ ราคาทรัพยส์ ินภายหลงั กไ็ ด้ ในกรณีท่ีทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดไว้เป็นอสังหาริมทรัพย์ หรือเป็นการประกอบกิจการ เช่น อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือเกษตรกรรม ที่มีรายได้จากการประกอบกิจการดังกล่าว ให้พนักงาน เจ้าหนา้ ท่ตี ามวรรคหน่งึ รายงานเลขาธิการทนั ทีเพ่อื พิจารณาส่ังการ หากพนักงานเจ้าหน้าท่ีไม่อาจยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามวรรคหน่ึงได้ ให้รายงานต่อเลขาธิการ เพือ่ พิจารณาสัง่ การ ข้อ ๑๐ ในการยึดและส่งมอบทรัพย์สินที่เป็นอัญมณี เครื่องทองรูปพรรณหรือของมีค่าทำนอง เดียวกัน ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีที่ดำเนินการการยึด ตรวจความถูกต้องของทรัพย์สินที่ยึดต่อหน้าผู้นำยึด แล้วบรรจุทรัพย์สินแยกตามประเภทลงในภาชนะที่เรียบร้อย ปลอดภัย แล้วลงลายมือชื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้ยึดและผู้นำยึด บนฉลากแล้วปิดทับภาชนะบรรจุทรัพย์สินหรือตัวทรัพย์สิน ตามที่เห็นสมควรในลักษณะท่ี หากจะมีการเปิดภาชนะดังกล่าวแล้ว จะต้องทำให้ฉลากหรือภาชนะฉีกขาดหรือไม่อยู่ในสภาพที่ปิดอย่ ู ตามปกติ แลว้ ส่งมอบใหผ้ ้มู หี น้าท่เี กบ็ รักษาทรัพยส์ นิ ในกรณีท่ีฉลากหรือภาชนะฉีกขาดหรือไม่อยู่ในสภาพท่ีปิดอยู่ตามปกติ ผู้มีหน้าท่ีเก็บรักษาทรัพย์สิน อาจไม่รับมอบทรพั ย์สนิ นัน้ ก็ได้ เว้นแต่มีเหตุอันสมควร ข้อ ๑๑ ภายใต้บังคับข้อ ๗ ให้ผู้มีหน้าท่ีเก็บรักษาทรัพย์สินตรวจสอบความถูกต้องของทรัพย์สิน ที่ส่งมอบต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้ส่งมอบ แล้วบรรจุทรัพย์สินแยกตามประเภทลงในภาชนะที่เรียบร้อย ปลอดภัย แล้วลงลายมือชื่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้ส่งมอบและรับมอบ ในแบบฉลากท่ีปิดภาชนะนั้นไว้ เป็นหลกั ฐาน การปิดฉลากท่ีภาชนะบรรจุทรัพย์สินหรือตัวทรัพย์สิน ให้ปิดทับในลักษณะท่ีหากจะมีการเปิด ภาชนะดังกล่าวแล้ว จะต้องทำให้ฉลากหรือภาชนะฉีกขาด หรือไม่อยู่ในสภาพท่ีปิดอยู่ตามปกติ ในกรณีท ี่ ทรพั ยส์ ินมขี นาดใหญไ่ ม่อาจบรรจุในภาชนะได้ ให้ปิดทับบนทรัพยส์ ินน้ันในตำแหน่งท่เี ห็นสมควร แบบฉลากตามวรรคหนง่ึ ให้เป็นไปตามทสี่ ำนักงานกำหนด ข้อ ๑๒ เมื่อมีการส่งมอบสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์ใดแล้ว หากปรากฏว่าทรัพย์สิน ดังกล่าวมีภาระผูกพัน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีหนังสือแจ้งให้คู่สัญญาทราบเก่ียวกับการยึดหรืออายัด ทรัพย์สินนั้น และให้รวบรวมมูลหน้ีและหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องส่งมอบให้ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สิน เพ่ือรายงานเลขาธิการพจิ ารณาส่งั การ

พระราชบญั ญตั ิมาตรการในการปราบปรามผกู้ ระทำความผิดเก่ียวกบั ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔ 183 ข้อ ๑๓ กรณีทรัพย์สินที่ต้องส่งมอบเพ่ือเกบ็ รักษาเป็นเงินสด เพ่ือความสะดวกในการส่งมอบทรัพย์สิน พนักงานเจ้าหน้าท่ีอาจนำทรัพย์สินประเภทเงินสดที่ยึดเข้าฝากสถาบันการเงินตามที่คณะกรรมการ กำหนดไปกอ่ น แลว้ นำหลักฐานการฝากเงนิ ส่งมอบตอ่ คณะกรรมการเกบ็ รักษาทรัพย์สนิ กไ็ ด้ ขอ้ ๑๔ ในการนำทรัพย์สินที่เก็บรักษามาประเมินราคาตามข้อ ๙ วรรคสอง จะต้องได้รับอนุญาต จากผู้มีอำนาจอนุญาตตามข้อ ๒๒ โดยให้ระบุรายละเอียดของทรัพย์สิน และวันเวลาที่จะนำทรัพย์สินน้ัน มาทำการตรวจสอบและประเมนิ ราคา ในการตรวจสอบเพื่อประเมินราคาตามวรรคหน่ึง หากต้องมีการทำลายฉลากที่ปิดทับภาชนะที่เก็บ รกั ษาทรพั ยส์ นิ ใหก้ ระทำตอ่ หนา้ พนกั งานเจา้ หน้าที่ และผมู้ หี นา้ ทเ่ี ก็บรกั ษาทรัพย์สนิ เม่ือดำเนินการประเมินราคาแล้ว ให้ผู้มีหน้าท่ีเก็บรักษาทรัพย์สินบรรจุทรัพย์สินในภาชนะใหม่ ต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่ แล้วลงลายมือช่ือพนักงานเจ้าหน้าท่ีและผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินในแบบ ฉลากท่ีปิดภาชนะน้ันไว้เพื่อเป็นหลักฐาน ท้ังนี้ ให้นำความในข้อ ๑๑ วรรคสองและวรรคสาม มาบังคับใช ้ โดยอนุโลม หมวด ๓ วิธกี ารเก็บรกั ษาทรพั ย์สิน ขอ้ ๑๕ ในการเก็บรกั ษาทรัพยส์ ิน ใหพ้ งึ ปฏบิ ตั ติ ่อไปน้ี (๑) จัดทำบัตรหรือเครื่องหมายติดไว้กับทรัพย์สินน้ันตามบัญชีทรัพย์สินท่ีเก็บรักษาตาม ข้อ ๘ (๒) เพ่ือสะดวกและง่ายตอ่ การค้นหาและอา้ งองิ (๒) เก็บรักษาทรัพย์สินตามประเภท สภาพ และขนาดของทรัพย์สินในสถานท่ีหรือห้องท่ีม่ันคง และแขง็ แรงปลอดภยั ขอ้ ๑๖ ถ้าทรพั ย์สินทต่ี อ้ งเก็บรกั ษาเปน็ อสังหาริมทรพั ย์ หรือสังหารมิ ทรพั ยท์ ีไ่ มส่ ะดวกต่อการขนย้าย ให้ผมู้ หี น้าที่เกบ็ รกั ษาทรพั ยส์ ินดำเนินการตอ่ ไปน้ี (๑) ในกรณีที่เห็นสมควร อาจจัดให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สิน ดูแลทรัพย์สินต่อไปได้ ถ้าเจา้ ของหรอื ผู้ครอบครองทรพั ย์สนิ ยนิ ยอม หรือ (๒) จดั ให้ผอู้ ่นื ดูแลรักษาทรัพย์สิน เช่น จา้ งคนเฝา้ ทรพั ยส์ นิ ขอ้ ๑๗ ถ้าทรัพย์สินที่ต้องการเก็บรักษาเป็นทรัพย์สินตามข้อ ๙ วรรคสาม เลขาธิการจะมีคำสั่ง ต้ังผู้จัดการหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์หรือกิจการดังกล่าว โดยให้ส่งมอบเงินรายได้ทั้งหมดหรือบางส่วน แก่ผู้มีหน้าที่เก็บรักษาทรัพย์สินภายในเวลาและตามเงื่อนไขท่ีกำหนดก็ได้ เพ่ือเก็บรักษาเช่นเดียวกับทรัพย์สิน และเม่ือไดด้ ำเนินการดงั กลา่ วแลว้ ใหร้ ายงานคณะกรรมการในโอกาสแรกทีม่ กี ารประชุม ข้อ ๑๘ ถ้าทรัพย์สินท่ีต้องเก็บรักษาเป็นเงินสด ให้รีบนำเข้าฝากสถาบันการเงินตามที่คณะกรรมการ กำหนด ในวันที่รับทรัพย์สิน หากไม่สามารถนำเข้าฝากได้ทันที เนื่องจากสถาบันการเงินปิดทำการให้รีบนำเข้า ฝากในโอกาสแรกทีส่ ถาบันการเงินเปิดทำการ แล้วรายงานใหเ้ ลขาธกิ ารทราบ

184 สำนักงาน ป.ป.ส. ในกรณีทรัพย์สินที่เก็บรักษาเป็นเงินตราต่างประเทศท่ีอาจแลกเปล่ียนเป็นเงินไทยได้ ให้แลกเปล่ียน เปน็ เงินไทย แล้วเกบ็ รกั ษาตามวรรคหน่งึ ขอ้ ๑๙ ถ้าทรัพย์สินที่ต้องเก็บรักษาเป็นอัญมณี เคร่ืองทองรูปพรรณ หรือของมีค่าอื่นทำนองเดียวกัน ให้ผู้มีหน้าท่ีเก็บรักษาทรัพย์สิน ตามข้อ ๗ เก็บรักษาทรัพย์สินไว้ในที่ปลอดภัยตามท่ีเห็นสมควร โดยในบัญชี ทรัพยส์ ินทเ่ี ก็บรกั ษาตามขอ้ ๘ (๒) ใหม้ ีรายละเอียดเกีย่ วกับทรัพย์สินน้นั ตามสมควรดว้ ย ข้อ ๒๐ ใหผ้ มู้ ีหน้าทเี่ ก็บรกั ษาทรัพยส์ นิ รายงานตอ่ เลขาธิการโดยเรว็ เพ่อื พจิ ารณาส่งั การตามที่สมควร เม่ือปรากฏวา่ (๑) ทรัพย์สินนั้นมีสภาพเป็นของสด ของเสียได้ หรือถ้าหน่วงช้าไว้อาจเป็นการเสี่ยงต่อความเสียหาย หรือค่าใชจ้ ่ายจะเกินสว่ นแหง่ คา่ ของทรพั ยส์ นิ น้นั (๒) ทรัพย์สินน้ันมีลักษณะท่ีอาจทำให้สกปรก เลอะเทอะ หรือมีกล่ิน หรืออาจรบกวน หรือ อาจก่อความรำคาญ (๓) ทรัพย์สินน้ันมีน้ำหนักมาก หรือไม่สะดวกต่อการเคล่ือนย้าย หรือมีขนาดใหญ่มาก หรือ เปลอื งเน้ือทีใ่ นการเกบ็ รกั ษา (๔) ทรัพย์สินนั้นเป็นทรัพย์สินซึ่งโดยสภาพอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย เช่น สารเคมี หรือส่ิงที่ เป็นเชื้อเพลงิ (๕) ทรพั ย์สินที่ตอ้ งเกบ็ รกั ษาไว้ในสถานท่ีโดยเฉพาะเพ่อื รกั ษาคุณภาพของตวั ทรพั ย์ (๖) ทรัพยส์ นิ ท่ีเก็บรกั ษาไวจ้ ะเป็นภาระแกท่ างราชการมากเกินสมควรกวา่ ประโยชนอ์ ันพงึ ได้ ขอ้ ๒๑ ในกรณีท่ีเลขาธิการเห็นว่าทรัพย์สินที่ต้องเก็บรักษาตามข้อ ๒๐ ไม่เหมาะสมท่ีจะเก็บรักษาไว้ เลขาธิการอาจสั่งให้นำทรัพย์สินนั้นออกขายทอดตลาดหรือนำไปใช้ประโยชน์ของทางราชการได้ ท้ังน้ ี ตามระเบียบว่าด้วยการนำทรัพยส์ ินออกขายทอดตลาดหรือนำไปใชป้ ระโยชน์ของทางราชการ ขอ้ ๒๒ การเคลื่อนย้ายทรัพย์สินออกนอกสถานที่เก็บรักษาทรัพย์สินจะกระทำได้เม่ือได้รับ อนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเลขาธิการ หรือผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบทรัพย์สินคดียาเสพติด ผอู้ ำนวยการสำนกั งานปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด หรือประธานกรรมการเก็บรกั ษาทรัพย์สนิ ก่อน ประกาศ ณ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ สมชาย วงศส์ วสั ดิ ์ ปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม ประธานกรรมการตรวจสอบทรัพยส์ ิน

พระราชบญั ญัตมิ าตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ 185 ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรพั ย์สิน วา่ ด้วยการนำทรัพย์สินออกขายทอดตลาด หรือนำไปใช้ประโยชนข์ องทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขปรับปรุงระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการนำทรัพย์สิน ออกขายทอดตลาดหรือนำไปใช้ประโยชน์ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๓๖ ให้เหมาะสมย่งิ ขนึ้ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๖ (๕) และมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติมาตรการในการ ปราบปรามผกู้ ระทำความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ คณะกรรมการตรวจสอบทรพั ยส์ นิ โดยความเหน็ ชอบ ของกระทรวงการคลงั จงึ ออกระเบยี บไว้ ดังนี้ ขอ้ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการนำทรัพย์สิน ออกขายทอดตลาดหรือนำไปใช้ประโยชนข์ องทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘” ขอ้ ๒ ระเบยี บนใี้ หใ้ ชบ้ ังคบั ตัง้ แตว่ นั ที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เปน็ ตน้ ไป * ขอ้ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ว่าด้วยการนำทรัพย์สินออกขาย ทอดตลาดหรอื นำไปใช้ประโยชน์ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๓๖ ข้อ ๔ ให้เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ รกั ษาการตามระเบยี บนี้ และให้มี อำนาจออกระเบียบหรือคำสง่ั เพือ่ ปฏิบัติการตามระเบยี บนี้ ในกรณีทป่ี ญั หาเก่ยี วกับการปฏบิ ตั ิตามระเบียบนี้ ใหเ้ ลขาธกิ ารเสนอให้คณะกรรมการวนิ ิจฉยั ชี้ขาด หมวด ๑ บททัว่ ไป ข้อ ๕ ในระเบียบน้ี “กองทุน” หมายความวา่ กองทุนปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ “ทรัพย์สิน” หมายความว่า ทรัพย์สินที่เก่ียวเนื่องกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดท ่ี คณะกรรมการได้มีคำสั่งให้ยึดหรืออายัดไว้แล้ว และให้หมายความรวมถึง ทรัพย์สินที่คณะกรรมการ หรือ เลขาธกิ ารได้มคี ำสงั่ ให้ยดึ หรอื อายดั ไวช้ ่ัวคราวด้วย “สำนกั งาน” หมายความว่า สำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด * ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๒๒ ตอนท่ี ๖๒ ง ลงวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๔๘

186 สำนักงาน ป.ป.ส. “หัวหน้าหน่วยงานราชการ” หมายความว่า ผู้ซึ่งดำรงตำแหน่งตั้งแต่ผู้อำนวยการ ผู้บังคับการตำรวจ ผบู้ งั คบั การกรม หรือเทียบเท่าขนึ้ ไป ขอ้ ๖ เลขาธิการอาจส่ังให้นำทรัพย์สินออกขายทอดตลาดหรือนำไปใช้ประโยชน์ของทางราชการได้ เมือ่ ปรากฏวา่ (๑) ทรัพย์สินนั้นมีสภาพเป็นของสด ของเสียได้ หรือถ้าหน่วงช้าไว้จะเป็นการเสี่ยงต่อความเสียหาย หรอื ค่าเสยี หายจะเกินส่วนแห่งค่าของทรพั ย์สนิ นนั้ (๒) ทรัพย์สินน้ันมีลักษณะท่ีอาจทำให้สกปรก เลอะเทอะ หรือมีกล่ิน หรืออาจรบกวน หรือ ก่อความรำคาญ (๓) ทรัพย์สินนั้นมีน้ำหนักมาก หรือไม่สะดวกต่อการเคล่ือนย้าย หรือมีขนาดใหญ่มาก หรือ เปลอื งเนอ้ื ทใี่ นการเกบ็ รกั ษา (๔) ทรัพย์สินนั้นเป็นทรัพย์สิน ซ่ึงโดยสภาพอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย เช่น สารเคมีหรือสิ่งที่เป็น เชอ้ื เพลิง (๕) ทรพั ย์สนิ ทตี่ ้องเกบ็ รักษาไว้ในสถานทโี่ ดยเฉพาะเพอื่ รักษาคณุ ภาพของตวั ทรพั ย์ ทรัพย์สินตาม (๑) ถึง (๕) ให้รวมถึง ทรัพย์สินท่ีเลขาธิการเห็นว่าไม่เหมาะสมที่จะเก็บรักษาไว้ หรือ หากเกบ็ รักษาไว้จะเป็นภาระแก่ทางราชการมากกวา่ นำไปใช้ประโยชน์อยา่ งอน่ื หมวด ๒ การขายทอดตลาด ขอ้ ๗ ในการขายทอดตลาด ให้เลขาธิการแต่งต้ังคณะกรรมการขายทอดตลาดข้ึนคณะหน่ึง หรือ หลายคณะมีจำนวนไม่น้อยกว่าสามคน โดยมีข้าราชการในสำนักงานเป็นกรรมการและเลขานุการ มีหน้าท่ี ดำเนินการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ในกรณีที่เห็นสมควร เลขาธิการอาจจัดจ้างหรือมอบหมายหน่วยงานราชการหรือบริษัทเอกชน เป็นผู้ดำเนินการขายทอดตลาดแทนก็ได้ โดยให้คณะกรรมการขายทอดตลาด ตามวรรคหนึ่ง ดำเนินการ ประกวดราคา พิจารณา ควบคุม กำกับดูแลการขายทอดตลาดทรัพย์สินของหน่วยงานราชการหรือ บริษทั เอกชนนั้น รวมทงั้ กำหนดราคาขนั้ ตำ่ ของทรพั ย์สินทจี่ ะขายทอดตลาด กรณีจัดจ้างหรือมอบหมายหน่วยงานราชการ หรือบริษัทเอกชนมาดำเนินการขายทอดตลาด ค่าใช้จ่าย ในการขายทอดตลาดจะตอ้ งไมส่ ูงกวา่ ร้อยละ ๒๕ ของราคาขน้ั ตำ่ ของทรัพยส์ ินนน้ั ข้อ ๘ การดำเนนิ การขายทอดตลาดใหก้ ระทำโดยเปิดเผยตามระเบยี บท่เี ลขาธิการกำหนด ขอ้ ๙ คา่ ใชจ้ า่ ยในการขายทอดตลาดตามระเบยี บน้ี ใหใ้ ช้เงนิ จากกองทุน

พระราชบัญญัตมิ าตรการในการปราบปรามผูก้ ระทำความผดิ เกยี่ วกับยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ 187 หมวด ๓ การนำทรัพย์สนิ ไปใชป้ ระโยชน์ ขอ้ ๑๐ ทรัพย์สินที่จะนำไปใช้ประโยชน์จะต้องเป็นทรัพย์สินที่ไม่เหมาะสมจะนำออกขายทอดตลาด หรอื การนำทรัพย์สินไปใชน้ ้นั จะได้ประโยชน์มากกวา่ การขายทอดตลาด ขอ้ ๑๑ การนำทรัพย์สนิ ไปใชป้ ระโยชน์ให้กระทำไดเ้ ฉพาะหน่วยงานราชการเทา่ น้นั ข้อ ๑๒ การขอนำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ ให้หัวหน้าหน่วยงานราชการมีหนังสือแสดงความจำนง ตอ่ เลขาธิการ โดยมรี ายละเอียดดังต่อไปน้ี (๑) หนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบของหน่วยงานราชการนน้ั โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในส่วนท่ีประสงค์จะขอนำ ทรพั ย์สินนั้นไปใชป้ ระโยชน์ (๒) ประเภทของทรพั ยส์ ินทจ่ี ะขอนำไปใชป้ ระโยชน์ (๓) เหตผุ ลและความจำเป็นท่ีจะขอนำทรพั ย์สินไปใช้ประโยชน์ (๔) ลักษณะและระยะเวลาของการใช้ประโยชน์ (๕) การดแู ลรักษาและความรับผิดชอบในกรณที เ่ี กิดความชำรุดบกพรอ่ ง เสียหายหรือสญู หาย ขอ้ ๑๓ ในกรณีที่เลขาธิการเห็นว่าทรัพย์สินตามข้อ ๖ จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานในสังกดั ของสำนักงาน เลขาธิการอาจอนุญาตให้หน่วยงานนั้นนำทรพั ยส์ นิ นน้ั ไปใชป้ ระโยชน์ได้ ขอ้ ๑๔ การพิจารณาอนุญาตให้นำทรัพย์สินใดไปใช้ประโยชน์ ให้เป็นไปตามระเบียบที่เลขาธิการ กำหนด ทง้ั นี้ ในระเบียบดังกลา่ วอย่างน้อยต้องมีหลกั เกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) หน่วยงานราชการน้ันเป็นหน่วยงานราชการซ่ึงทำหน้าที่ปราบปรามยาเสพติด หรือทำหน้าที่ยึด หรืออายดั ทรัพยส์ ิน ตามกฎหมายวา่ ด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผดิ เกี่ยวกับยาเสพติด (๒) เหตผุ ลและความจำเป็นทจ่ี ะขอนำทรพั ยส์ นิ ไปใช้ประโยชน์ (๓) ภาระตา่ งๆ ทจี่ ะตกแกท่ างราชการ หากไมน่ ำทรัพยส์ นิ น้นั ไปใช้ประโยชน์ (๔) ความเสียหายหรอื ความเสี่ยงทอี่ าจเกดิ จากการนำทรพั ยส์ นิ นน้ั ไปใช้ประโยชน์ (๕) พฤตกิ ารณใ์ นการดำเนนิ คดีเกีย่ วกับทรพั ย์สินน้ัน (๖) พฤตกิ รรมอ่นื ๆ ตามทีเ่ หน็ สมควร การพิจารณาอนุญาตตามวรรคหนึ่ง หากหน่วยราชการได้รับจัดสรรงบประมาณเพ่ือจัดซ้ือทรัพย์สิน ดงั กล่าวแลว้ กไ็ มอ่ นุญาตให้นำทรพั ยส์ ินไปใช้ประโยชน์ ขอ้ ๑๕ การขอนำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงานราชการอ่ืน นอกจากหน่วยงานราชการ ตามข้อ ๑๔ (๑) ใหเ้ ลขาธิการเสนอความเหน็ ตอ่ คณะกรรมการเพื่อพิจารณาเป็นรายๆ ไป

188 สำนกั งาน ป.ป.ส. ขอ้ ๑๖ เมื่อหน่วยงานราชการใดได้รับอนุญาตให้นำทรัพย์สินใดไปใช้ประโยชน์ ให้เลขาธิการจัดให้ มีเอกสารการส่งมอบและรับมอบทรัพย์สินนั้นไว้เป็นหลักฐาน และมีหนังสือแจ้งให้ส่วนราชการต้นสังกัด ของหน่วยงานราชการน้นั และสำนกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ ทราบ ขอ้ ๑๗ หน่วยงานราชการท่ีนำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ มีหน้าท่ีบำรุงรักษาทรัพย์สินนั้น ถ้าม ี ความเสียหายหรือทรัพย์สินนั้นสูญหาย ให้รีบดำเนินการตามระเบียบของทางราชการและแจ้งให้เลขาธิการ ทราบทันที ขอ้ ๑๘ เม่ือหมดความจำเป็นที่จะใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินนั้นต่อไป หรือเมื่อครบกำหนดเวลา ได้รับอนุญาตแล้ว หรือเม่ือคณะกรรมการหรือเลขาธิการเพิกถอนการอนุญาต ให้หน่วยงานราชการท ่ี นำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์จัดส่งทรัพย์สินนั้นคืน พร้อมหลักฐานการส่งคืนเป็นหนังสือภายในเวลาท่ีกำหนด ทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง ให้ส่งคืนในสภาพที่เป็นอยู่ในขณะท่ีได้รับมอบทรัพย์สินนั้นไป เว้นแต่ จะเสื่อมไปโดยสภาพแห่งทรัพย์สินน้ันเอง ในกรณีที่ไม่อาจส่งคืนในสภาพดังกล่าวได้ ให้เลขาธิการพิจารณา ดำเนินการตามทเี่ ห็นสมควร ข้อ ๑๙ ก่อนครบกำหนดเวลาที่ได้รับอนุญาตให้นำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ ถ้าหน่วยราชการที่นำ ทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ เห็นว่ามีความจำเป็นที่จะต้องนำทรัพย์สินไปใช้ประโยชน์ต่อไปอีก ให้หัวหน้า หน่วยราชการนั้นมีหนังสือถึงเลขาธิการก่อนครบกำหนดเวลาดังกล่าวไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน แจ้งถึงเหตุผล และ ความจำเปน็ ท่ตี อ้ งนำทรัพย์สนิ ไปใช้ประโยชนต์ ่อไป ให้เลขาธิการพิจารณาถึงเหตุผลและความจำเป็นตามวรรคหนึ่ง โดยคำนึงถึงหลักเกณฑ์ตามข้อ ๑๔ และในกรณีที่เลขาธิการไม่อนุญาตให้นำทรัพย์สินน้ันไปใช้ประโยชน์ต่อไป ให้หน่วยงานราชการนั้นคืนทรัพย์สิน พรอ้ มหลกั ฐานการส่งคนื เป็นหนังสอื ภายในเวลาท่กี ำหนด และให้นำความในข้อ ๑๘ วรรคสอง มาใช้บงั คับ ประกาศ ณ วนั ที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ สมชาย วงศ์สวัสด์ ิ ปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม ประธานกรรมการตรวจสอบทรพั ยส์ ิน