พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 339 ลำดับที่ ช่ือยาเสพติดใหโ้ ทษ ช่ือทางเคมี เงอื่ นไข ๔๘ เอ็มพีพีพี (MPPP) 1-methyl-4-phenylpiperidin-4-yl propanoate ๔๙ เอ็มที-๔๕ (MT-45) 1-cyclohexyl-4-(1,2- diphenylethyl)piperazine ๕๐ ๔-เอ็มทีเอ (4-MTA) 1-(4-(methylthio)phenyl)propan-2- amine ๕๑ พารา-ฟลูโอโรเฟนทานิล N-(4-fluorophenyl)-N-(1-(2-phenyl (para-fluorofentanyl) ethyl)piperidin-4-yl)propanamide ๕๒ พาราเมทอกซีแอมเฟตามนี 1-(4-methoxyphenyl)propan-2-amine (paramethoxyamphetamine หรือ para-methoxyamfetamine หรือ 1-(4-methoxyphenyl)-Nmethylpropan-2-amine PMA) ๕๓ พาราเมทอกซีเมทแอมเฟตามนี 4-phenyl-1-(2-phenylethyl)piperidin- (paramethoxymethamphetamine 4-yl acetate หรอื PMMA) 1-(2,5-dimethoxy-4- ๕๔ พอี ีพเี อพี (PEPAP) methylphenyl)propan-2-amine N-phenyl-N-(1-(2-thiophen-2- ๕๕ เอสทีพี หรอื ดีโอเอม็ ylethyl)piperidin-4-yl)propanamide (STP หรอื DOM) 1-(3-(trifluoromethyl)phenyl) ๕๖ ไทโอเฟนทานลิ piperazine (thiofentanyl) ๕๗ ไทรฟลอู อโรเมทลิ ฟีนลิ พเิ พอราซีน 1-(3,4,5-trimethoxphneyl)propan-2- (trifluoromethylphenylpiperazine TMA) หรอื 3-trifluoromethyl phenylpiperazine หรือ TFMPP) N-phenyl-N-[1-(2-phenylethyl) ๕๘ ไตรเมทอกซแี อมเฟตามนี piperidin-4-yl]butanamide (trimethoxyamphetamine หรือ 1-(1,3-benzodioxol-5-yl)-2- 3,4,5-trimethoxyamfetamine หรือ TMA (ethylamino)propan-1-one N-methyl-1-thiophen-2-ylpropan-2-amine (๒)๕๙ บิวไทร์เฟนทำนลิ (butyrfentanyl) 2-(methylamino)-1-phenylpentan-1-one 3,4-dichloro-N-[2-(dimethylamino) cyclohexyl]-N-methylbenzamide ๖๐ เอทโิ ลน (ethylone) ๖๑ เมทิโอโพรพำมนี (methiopropamine หรือ MPA) ๖๒ เพนทีโดรน (pentedrone) ๖๓ ยู-๔๗๗๐๐ (U-47700) (๒) ลำดบั ท่ี ๕๙ - ๖๓ เพมิ่ เตมิ โดยประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง ระบชุ อื่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
340 สำนักงาน ป.ป.ส. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง ระบุช่อื ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๒ พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนงึ่ มาตรา ๘ (๑) และ (๒) แหง่ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ให้ยาเสพตดิ ให้โทษทรี่ ะบุช่อื ในบญั ชที า้ ยประกาศนีเ้ ปน็ ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๒ ตามพระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ทง้ั น้ี ใหร้ วมถงึ (๑) วัตถุท่ีเรียกชื่อเป็นอยา่ งอน่ื แต่มโี ครงสร้างทางเคมีอย่างเดยี วกันกบั ยาเสพติดให้โทษดังกล่าว (๒) สเตอรโิ อไอโซเมอร์ (stereoisomer) ใด ๆ ของยาเสพติดใหโ้ ทษดังกล่าว (๓) เกลือ เอสเทอร์ และอีเทอรใ์ ด ๆ ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษดังกลา่ ว ทัง้ น้ี ไม่วา่ จะมคี วามเข้มข้นใด หรือนำไปใชเ้ พ่อื การใด เวน้ แตจ่ ะมีการระบคุ วามเขม้ ข้นหรือ เง่อื นไขไว้เปน็ การเฉพาะ หรอื เป็นกรณีทน่ี ำไปใช้เพอื่ เปน็ สารควบคุมคณุ ภาพในการตรวจวิเคราะห์และ ควบคุมคุณภาพของการตรวจสารเสพติดในร่างกาย ซ่ึงเป็นเครื่องมือแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วยเครื่องมือแพทย์ และตอ้ งใชต้ ามวัตถุประสงค์ของเครื่องมอื แพทยน์ นั้ ข้อ ๒ ประกาศนใี้ หใ้ ชบ้ งั คบั เมอื่ พน้ กำหนดสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปน็ ตน้ ไป(๑) ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ปยิ ะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข (๑) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๐๕ ง ลงวันท่ี ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๑
พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 341 บัญชที ้ายประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง ระบุช่ือยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๒ พ.ศ. ๒๕๖๑ ลำดบั ท่ี ช่ือยาเสพติดใหโ้ ทษ ชอื่ ทางเคมี เงอ่ื นไข ๑ อาเซตลิ ไดไฮโดรโคเดอีน (5R,6S)-4,5-epoxy-3-methoxy-17- (acetyldihydrocodeine) methylmorphinan-6-yl acetate ๒ อาเซติลเมทาดอล 6-(dimethylamino)-4,4- (acetylmethadol) diphenylheptan-3-yl acetate ๓ อลั เฟนทานิล (alfentanil) N-(1-(2-(4-ethyl-5-oxotetrazol-1-yl)ethyl)-4- (methoxymethyl)piperidin-4-yl)- N-phenylpropanamide ๔ อลั ลลิ โพรดีน (allylprodine) 1-methyl-4-phenyl-3-(prop-2-en-1- yl)piperidin-4-yl propanoate ๕ อลั ฟาเซตลิ เมทาดอล (3R,6R)-6-(dimethylamino)-4,4- (alphacetylmethadol) diphenylheptan-3-yl acetate ๖ อลั ฟาเมโพรดนี (3S,4R)-3-ethyl-1-methyl-4- (alphameprodine) phenylpiperidin-4-yl propanoate ๗ อลั ฟาเมทาดอล (3R,6R)-6-(dimethylamino)-4,4- (alphamethadol) diphenylheptan-3-ol ๘ อัลฟาโพรดนี (alphaprodine) (3R,4S)-1,3-dimethyl-4- phenylpiperidin-4-yl propanoate ๙ อานเิ ลอริดีน (anileridine) ethyl 1-(2-(4-aminophenyl)ethyl)-4- phenylpiperidine-4-carboxylate ๑๐ เบนเซทดิ ีน (benzethidine) ethyl 4-phenyl-1-(2- (phenylmethoxy)ethyl)piperidine-4-carboxylate ๑๑ เบนซิลมอรฟ์ ีน (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-17-methyl-3- (benzylmorphine) phenylmethoxymorphinan-6-ol ๑๒ เบตาเซติลเมทาดอล (3S,6R)-6-(dimethylamino)-4,4- (betacetylmethadol) diphenylheptan-3-yl acetate ๑๓ เบตาเมโพรดนี (betameprodine) (3R,4R)-3-ethyl-1-methyl-4- phenylpiperidin-4-yl propanoate ๑๔ เบตาเมทาดอล (betamethadol) (3S,6R)-6-(dimethylamino)-4,4-diphenylheptan-3-ol ๑๕ เบตาโพรดีน (betaprodine) (3R,4R)-1,3-dimethyl-4- phenylpiperidin-4-yl propanoate ๑๖ เบซติ ราไมด์ (bezitramide) 4-(4-(2-oxo-3-propanoylbenzo[d]imidazol-1-yl) piperidin-1yl)-2,2-diphenylbutanenitrile ๑๗ โคลนิทาซีน (clonitazene) 2-(2-(4-chlorophenylmethyl)-5- nitrobenzo[d]imidazol-1-yl)-N,Ndiethylethanamine ๑๘ พืชโคคา (coca bush) - ซ่งึ มชี ือ่ พฤกษศาสตร์ว่า Erythroxylon spp. ทง้ั นีใ้ หห้ มายความรวมถงึ ทกุ ส่วนของพืชโคคา เชน่ ลาต้น ใบ ดอก ผล เมลด็ ราก
342 สำนกั งาน ป.ป.ส. ลำดับที่ ช่อื ยาเสพตดิ ให้โทษ ชอื่ ทางเคมี เง่อื นไข ๑๙ โคคาอีน (cocaine) methyl (1R,2R,3S,5S)-3-(benzoyloxy)-8-methyl-8- azabicyclo[3.2.1]octane-2carboxylate ๒๐ โคเดอีน (codeine) (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-3- methoxy-17-methylmorphinan-6-ol ๒๑ โคดอกซมิ (codoxime) (5R)-(((4,5-epoxy-3-methoxy-17-methylmorphinan-6- ylidene)amino)oxy)acetic acid ๒๒ ยาสกดั เขม้ ข้นของต้นฝิ่นแหง้ - (concentrate of poppy straw) ๒๓ เดกซโ์ ตรโมราไมด์ (S)-3-methyl-4-(morpholin-4-yl)-2,2- (dextromoramide) diphenyl-1-(pyrrolidin-1-yl)butan-1-one ๒๔ เดกซโ์ ตรโพรพอไซฟนี (2S,3R)-4-(dimethylamino)-3- (dextropropoxyphene) methyl-1,2-diphenylbutan-2-ylpropanoate ๒๕ ไดแอมโพรไมด์ (diampromide) N-(2-(methyl-(2phenylethyl)amino)propyl)-N- phenylpropanamide ๒๖ ไดเอทลิ ไทแอมบวิ ทนี (diethylthiambutene) N,N-diethyl-4,4-di(thiophen-2-yl)but-3-en-2-amine ๒๗ ไดเฟนอกซิน (difenoxin) 1-(3-cyano-3,3-diphenylpropyl)-4- phenylpiperidine-4-carboxylic acid ๒๘ ไดไฮโดรโคเดอีน (5R,6S)-4,5-epoxy-3-methoxy-17- (dihydrocodeine) methylmorphinan-6-ol ๒๙ ไดไฮโดรมอรฟ์ ีน (5R,6S)-4,5-epoxy-17-methylmorphinan-3,6-diol (dihydromorphine) ๓๐ ไดเมนอกซาดอล (dimenoxadol) 2-(dimethylamino)ethyl 2-ethoxy- 2,2-diphenylacetate ๓๑ ไดเมปเฮปทานอล 6-(dimethylamino)-4,4-diphenylheptan-3-ol (dimepheptanol) ๓๒ ไดเมทลิ ไทแอมบวิ ทนี N,N-dimethyl-4,4-di(thiophen-2-yl)but-3-en-2-amine (dimethylthiambutene) ๓๓ ไดออกซาเฟทิลบวิ ไทเรท ethyl 4-(morpholin-4-yl)-2,2-diphenylbutanoate (dioxaphetylbutyrate) ๓๔ ไดเฟนอกไซเลต (diphenoxylate) ethyl 1-(3-cyano-3,3-diphenylpropyl)-4- phenylpiperidine-4-carboxylate ๓๕ ไดพิพาโนน (dipipanone) 4,4-diphenyl-6-(piperidin-1yl)heptan-3-one ๓๖ โดรเทบานอล (drotebanol) (6R,14S)-3,4-dimethoxy-17-methylmorphinan-6,- 14-diol ๓๗ เอคโกนนี (ecgonine) (1R,2R,3S,5S)-3-hydroxy-8-methyl-8- รวมท้งั อนพุ นั ธต์ า่ งๆ azabicyclo[3.2.1]octane-2carboxylic acid ของเอคโกนีน ซง่ึ อาจ แปรสภาพไปเป็น เอคโกนนี และโคคาอีนได ้ ๓๘ เอทลิ เมทิลไทแอมบวิ ทนี N-ethyl-N-methyl-4,4-di(thiophen-2-yl) (ethylmethylthiambutene) but-3-en-2-amine ๓๙ เอทลิ มอรฟ์ ีน (ethylmorphine) (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-3- ethoxy-17-methylmorphinan-6-ol
พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 343 ลำดบั ท่ี ชอื่ ยาเสพตดิ ให้โทษ ช่ือทางเคมี เงอ่ื นไข ๔๐ เอโทนทิ าซนี (etonitazene) 2-(2-(4-ethoxyphenylmethyl)-5- nitrobenzo[d]imidazol-1-yl)-N,Ndiethylethanamine ๔๑ เอทอกเซอริดนี (etoxeridine) ethyl 1-(2-(2-hydroxyethoxy)ethyl)- 4-phenylpiperidine-4-carboxylate ๔๒ เฟนทานลิ (fentanyl) N-phenyl-N-(1-(2-phenylethyl)piperidin-4- yl)propanamide ๔๓ ฟูเรทิดนี (furethidine) ethyl 4-phenyl-1-(2-(oxolan-2- ylmethoxy)ethyl)piperidine-4-carboxylate ๔๔ ไฮโดรโคโดน (hydrocodone) (5R)-4,5-epoxy-3-methoxy-17- methylmorphinan-6-one ๔๕ ไฮโดรมอร์ฟีนอล (5R,6S,14S)-4,5-epoxy-17- (hydromorphinol) methylmorphinan-3,6,14-triol ๔๖ ไฮโดรมอร์โฟน (5R)-4,5-epoxy-3-hydroxy-17methylmorphinan-6-one (hydromorphone) ๔๗ ไฮดรอกซีเพทดิ นี (hydroxypethidine) ethyl 4-(3-hydroxyphenyl)-1- methylpiperidine-4-carboxylate ๔๘ ไอโซเมทาโดน (isomethadone) 6-(dimethylamino)-5-methyl-4,4- diphenylhexan-3-one ๔๙ เลโวเมทอร์ฟาน (levomethorphan) (9R,13R,14R)-3-methoxy-17methylmorphinan ๕๐ เลโวโมราไมด์ (levomoramide) (R)-3-methyl-4-(morpholin-4-yl)-2,2- diphenyl-1-(pyrrolidin-1-yl)butan-1one ๕๑ เลโวเฟนาซีลมอรฟ์ าน (9R,13R,14R)-17-(2-oxo-2 phenylethyl)morphinan-3-ol (levophenacylmorphan) ๕๒ เลวอรฟ์ านอล (levorphanol) (9R,13R,14R)-17-methylmorphinan-3-ol ๕๓ ฝนิ่ ยา (medicinal opium) - ๕๔ เมทาโซซนี (metazocine) (2R,6R,11R)-1,2,3,4,5,6-hexahydro- ๕๕ เมทาโดน (methadone) 2,6-methano-3,6,11-trimethylbenzo[d]azocin-8-ol ๕๖ เมทาโดน-อนิ เตอรม์ ีเดยี ต 6-(dimethylamino)-4,4diphenylheptan-3-one (methadone intermediate) 4-(dimethylamino)-2,2 diphenylpentanenitrile ๕๗ เมทลิ เดซอรฟ์ ีน (methyldesorphine) (5S)-6,7-didehydro-4,5-epoxy-6,17- ๕๘ เมทิลไดไฮโดรมอรฟ์ นี dimethylmorphinan-3-ol (methyldihydromorphine) (5R,6S)-4,5-epoxy-6,17 dimethylmorphinan-3,6-diol ๕๙ เมทอพอน (metopon) (5R)-4,5-epoxy-3-hydroxy-5,17- ๖๐ โมราไมด-์ อินเตอรม์ เี ดยี ต dimethylmorphinan-6-one (moramide intermediate) 3-methyl-4-(morpholin-4yl)-2,2- ๖๑ มอรเ์ ฟอรดิ ีน (morpheridine) diphenylbutanoic acid ethyl 1-(2-(morpholin-4-yl)ethyl)-4- ๖๒ มอรฟ์ ีน (morphine) phenylpiperidine-4-carboxylate (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-17- methylmorphinan-3,6-diol
344 สำนกั งาน ป.ป.ส. ลำดับท่ี ชอื่ ยาเสพตดิ ให้โทษ ชอื่ ทางเคมี เงื่อนไข ๖๓ มอร์ฟีน เมโทโบรไมด์ (4R,4aR,7S,7aR,12bS)-3,3-dimethyl-2,4,4a,7,7a, รวมถงึ อนุพันธอ์ ่ืนของ (morphine methobromide) 13-hexahydro-1H-4,12-methanobenzofuro[3,2- มอรฟ์ นี ซง่ึ มีไนโตรเจน e]isoquinoline-3-ium-7,9-diol;bromide ทเี่ ป็นเพนตะวาเลนท์ (pentavalent nitrogen morphine derivatives) ๖๔ มอร์ฟีน-เอ็น-ออกไซด์ (morphine-N-oxide) (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-17- รวมทั้งอนพุ ันธข์ อง methyl-17-oxide-morphinan-3,6-diol มอร์ฟนี -เอ็น-ออกไซด์ (morphine-N-oxide) เชน่ โคเดอีน-เอ็น-ออกไซด ์ (codeine-N-oxide) ๖๕ ไมโรฟนี (myrophine) (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-17-methyl-3- (phenylmethoxy)morphinan-6-yltetradecanoate ๖๖ นโิ คโคดนี (nicocodine) (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-3- methoxy-17-methylmorphinan-6-ylnicotinate ๖๗ นิโคไดโคดนี (nicodicodine) (5R,6S)-4,5-epoxy-3-methoxy-17- methylmorphinan-6-yl nicotinate ๖๘ นโิ คมอร์ฟีน (nicomorphine) (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-17- methylmorphinan-3,6-dinicotinate ๖๙ นอราซีเมทาดอล (noracymethadol) 6-(methylamino)-4,4- diphenylheptan-3-yl acetate ๗๐ นอรโ์ คเดอีน (norcodeine) (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-3- methoxymorphinan-6-ol ๗๑ นอรเ์ ลวอรฟ์ านอล (norlevorphanol) (9R,13R,14R)-morphinan-3-ol ๗๒ นอร์เมทาโดน (normethadone) 6-(dimethylamino)-4,4-diphenylhexan-3-one ๗๓ นอรม์ อร์ฟีน (normorphine) (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxymorphinan-3,6-diol ๗๔ นอร์พพิ าโนน (norpipanone) 4,4-diphenyl-6-(piperidin-1-yl)hexan-3-one ๗๕ ออรพิ าวีน (oripavine) (5R)-6,7,8,14-tetradehydro-4,5-epoxy-6-methoxy-17- methylmorphinan-3-ol ๗๖ ออกซิโคโดน (oxycodone) (5R,14S)-4,5-epoxy-14-hydroxy-3- methoxy-17-methylmorphinan-6one ๗๗ ออกซิมอรโ์ ฟน (oxymorphone) (5R,14S)-4,5-epoxy-3,14-dihydroxy- 17-methylmorphinan-6-one ๗๘ เพทิดีน (pethidine) ethyl 1-methyl-4-phenylpiperidine-4-carboxylate ๗๙ เพทิดนี -อินเตอร์มเี ดยี ต-เอ 1-methyl-4-phenylpiperidine-4-carbonitrile (pethidine-intermediate-A) ๘๐ เพทดิ ีน-อนิ เตอร์มีเดียต-บ ี ethyl 4-phenylpiperidine-4-carboxylate (pethidine-intermediate-B) ๘๑ เพทิดนี -อินเตอร์มีเดยี ต-ซ ี 1-methyl-4-phenylpiperidine-4-carboxylic acid (pethidine-intermediate-C) ๘๒ เฟนาดอกโซน (phenadoxone) 6-(morpholin-4-yl)-4,4-diphenylheptan-3-one ๘๓ เฟแนมโพรไมด์ (phenampromide) N-phenyl-N-(1-(piperidin-1-yl) propan-2-yl)propanamide
พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 345 ลำดบั ที่ ช่ือยาเสพตดิ ให้โทษ ช่อื ทางเคมี เง่อื นไข ๘๔ เฟนาโซซีน (phenazocine) (2R,6R,11R)-1,2,3,4,5,6-hexahydro- 2,6-methano-6,11-dimethyl-3-(2- phenylethyl)benzo[d]azocin-8-ol ๘๕ เฟโนมอร์ฟาน (phenomorphan) (9R,13R,14R)-17-(2phenylethyl)morphinan-3-ol ๘๖ เฟโนเพอรดิ ีน (phenoperidine) ethyl 1-(3-hydroxy-3-phenylpropyl)- 4-phenylpiperidine-4-carboxylate ๘๗ ฟอลโคดีน (pholcodine) (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-17- methyl-3-(2-(morpholin-4yl)ethoxy)morphinan-6-ol ๘๘ พิมโิ นดีน (piminodine) ethyl 4-phenyl-1-(3(phenylamino)propyl)- piperidine-4carboxylate ๘๙ พริ ทิ ราไมด์ (piritramide) 1-(3-cyano-3,3-diphenylpropyl)-4- (piperidin-1-yl)piperidine-4carboxamide ๙๐ โพรเฮพทาซนี (proheptazine) 1,3-dimethyl-4-phenylazepan-4-ylpropionate ๙๑ โพรเพอริดีน (properidine) propan-2-yl 1-methyl-4- phenylpiperidine-4-carboxylate ๙๒ โพรพิแรม (propiram) N-(1-(piperidin-1-yl)propan-2-yl)-N- (pyridin-2-yl)propanamide ๙๓ ราเซเมทอร์ฟาน (racemethorphan) (±)-3-methoxy-N-methylmorphinan ๙๔ ราเซโมราไมด์ (racemoramide) 3-methyl-4-(morpholin-4-yl)-2,2- diphenyl-1-(pyrrolidin-1-yl)butan-1one ๙๕ ราเซมอร์ฟาน (racemorphan) (±)-3-hydroxy-N-methylmorphinan ๙๖ เรมเิ ฟนทานิล (remifentanil) methyl 1-(3-methoxy-3-oxopropyl)- 4-(phenylpropanoylamino)piperidine4-carboxylate ๙๗ ซเู ฟนทานลิ (sufentanil) N-(4-(methoxymethyl)-1-(2-(thiophen-2-yl)ethyl)- piperidin-4-yl)-N-phenylpropanamide ๙๘ ทาเพนทาดอล (tapentadol) 3-[(2R,3R)-1-(dimethylamino)-2-methylpentan-3-yl] phenol ๙๙ เทบาคอน (thebacon) (5R)-6,7-didehydro-4,5-epoxy-3-methoxy-17- methylmorphinan-6-ylacetate ๑๐๐ เทบาอีน (thebaine) (5R)-6,7,8,14-tetradehydro-4,5-epoxy-3,6-dimethoxy- 17-methylmorphinan ๑๐๑ ไทลิดนี (tilidine) (±)-ethyl 2-(dimethylamino)-1- phenylcyclohex-3-ene-1-carboxylate ๑๐๒ ไทรเมเพอรดิ นี (trimeperidine) (2S,5R)-1,2,5-trimethyl-4-phenylpiperidin-4-yl- propanoate ๑๐๓ ฝน่ิ - ซึง่ หมายถงึ ฝน่ิ ดิบ ฝนิ่ สกุ หรือมลู ฝน่ิ
346 สำนักงาน ป.ป.ส. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง ระบุช่ือยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๔ พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนึง่ มาตรา ๘ (๑) และ (๒) แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติด ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ให้สารเคมีท่ีใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ หรือประเภท ๒ ที่ระบุชื่อใน บัญชที า้ ยประกาศนเี้ ป็นยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๔ ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ทัง้ นี้ ให้รวมถงึ วัตถุทีเ่ รยี กช่ือเปน็ อยา่ งอน่ื แต่มีโครงสรา้ งทางเคมอี ย่างเดยี วกันกบั ยาเสพติดให้โทษดงั กลา่ ว ไม่วา่ จะมี ความเข้มขน้ ใด หรอื นำไปใชเ้ พือ่ การใด เว้นแตจ่ ะมีการระบุความเข้มข้นหรอื เงอ่ื นไขไวเ้ ปน็ การเฉพาะ หรอื เป็น กรณีที่นำไปใช้เพื่อเป็นสารควบคุมคุณภาพในการตรวจวิเคราะห์และควบคุมคุณภาพของการตรวจสารเสพติด ในร่างกาย ซ่ึงเป็นเครื่องมือแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วยเครื่องมือแพทย์ และต้องใช้ตามวัตถุประสงค ์ ของเคร่ืองมอื แพทย์น้ัน ขอ้ ๒ ประกาศนใ้ี หใ้ ชบ้ งั คบั เมอื่ พน้ กำหนดสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปน็ ตน้ ไป(๑) ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ปิยะสกล สกลสตั ยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (๑) ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๐๕ ง ลงวันท่ี ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๑
พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 347 บญั ชีท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ พ.ศ. ๒๕๖๑ ลำดบั ที่ ชือ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ชอ่ื ทางเคมี เงื่อนไข ๑ อาเซตคิ แอนไฮไดรด์ (acetic anhydride) ethanoyl ethanoate ๒ อาเซตลิ คลอไรด์ (acetyl chloride) ethanoyl chloride ๓ แอนทรานลิ ิค อาซดิ (anthranilic acid) 2-aminobenzoic acid ๔ อีลโี มคลาวนี (elymoclavine) (6aR,10aR)-7-methyl-4,6,6a,7,8,10ahexahydroindolo[ รวมท้งั อนุพนั ธ์ตา่ งๆ เกลอื 4,3-fg]quinolin-9-ylmethanol เอสเทอร์ และอเี ทอร์ใดๆ ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ดังกลา่ ว เวน้ แต่อลี ีโมคลาวนี (elymoclavine) ซึ่งเปน็ ส่วนผสมในตารบั ทไ่ี ด้ข้ึนทะเบยี นเปน็ ยา ตามกฎหมายวา่ ด้วยยาหรอื ข้ึนทะเบียนเปน็ วตั ถุตารบั ตามกฎหมายวา่ ด้วยวัตถุ ทอ่ี อกฤทธิ์ต่อจติ และประสาท ๕ เออร์โกคอร์นนี (ergocornine) (6aR,9R)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-10bhydroxy- รวมทัง้ อนพุ ันธ์ต่างๆ เกลือ 2,5-bis(propan-2-yl)-3,6-dioxooctahydro-2H- เอสเทอร์ และอีเทอร์ใดๆ oxazolo[3,2-a]pyrrolo[2,1-c]pyrazin-2-yl)-7- ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษดงั กลา่ ว methyl-4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3-fg] เวน้ แต่เออร์โกคอรน์ ีน quinoline-9-carboxamide (ergocornine) ซ่ึงเปน็ สว่ นผสมในตารบั ท่ีไดข้ ้นึ ทะเบยี นเปน็ ยา ตามกฎหมายว่าด้วยยาหรือ ขน้ึ ทะเบียนเป็นวตั ถตุ ารับ ตามกฎหมายว่าด้วยวตั ถ ุ ทอ่ี อกฤทธิ์ต่อจติ และประสาท ๖ เออร์โกคอรน์ ินีน (ergocorninine) (6aR,9S)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-10bhydroxy-2,5- รวมทง้ั อนพุ นั ธ์ต่างๆ เกลือ bis(propan-2-yl)-3,6-dioxooctahydro-2H-oxazolo[3,2- เอสเทอร์ และอีเทอรใ์ ดๆ a]pyrrolo[2,1-c]pyrazin-2-yl)-7-methyl-4,6,6a,7,8,9- ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษดงั กลา่ ว hexahydroindolo[4,3-fg]quinoline-9-carboxamide เวน้ แต่เออรโ์ กคอรน์ ินนี (ergocorninine) ซึ่งเปน็ สว่ นผสมในตารับ ทไี่ ดข้ ้นึ ทะเบียนเป็นยา ตามกฎหมายวา่ ด้วยยาหรือ ข้ึนทะเบียนเป็นวัตถุตารบั ตามกฎหมายว่าดว้ ยวัตถุท ี่ ออกฤทธ์ติ อ่ จิตและ ประสาท
348 สำนักงาน ป.ป.ส. ลำดับที่ ชื่อยาเสพติดให้โทษ ชอื่ ทางเคมี เง่อื นไข ๗ เออร์โกครสิ ทีน (ergocristine) (6aR,9R)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-10bhydroxy- รวมทั้งอนพุ ันธ์ต่างๆ เกลอื 5-phenylmethyl-2-(propan-2-yl)-3,6-dioxooctahydro- เอสเทอร์ และอีเทอร์ใดๆ 2Hoxazolo[3,2-a]pyrrolo[2,1-c]pyrazin- ของยาเสพตดิ ให้โทษดังกล่าว 2-yl)-7-methyl-4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo เวน้ แต่เออรโ์ กครสิ ทนี [4,3-fg]quinoline-9-carboxamide (ergocristine) ซง่ึ เปน็ ส่วนผสมในตารบั ทไี่ ดข้ ้ึนทะเบยี นเป็นยา ตามกฎหมายว่าด้วยยาหรือ ขน้ึ ทะเบียนเปน็ วตั ถตุ ารบั ตามกฎหมายวา่ ด้วยวตั ถทุ ่ี ออกฤทธต์ิ ่อจิตและ ประสาท ๘ เออรโ์ กครสิ ทนิ นี (ergocristinine) (6aR,9S)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-10bhydroxy- รวมทง้ั อนพุ ันธ์ตา่ งๆ เกลือ 5-phenylmethyl-2-(propan-2-yl)-3,6-dioxooctahydro- เอสเทอร์ และอเี ทอรใ์ ดๆ 2Hoxazolo[3,2-a]pyrrolo[2,1-c]pyrazin-2-yl)-7-methyl- ของยาเสพติดใหโ้ ทษดังกลา่ ว 4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3-fg]quinoline-9- เวน้ แตเ่ ออรโ์ กครสิ ทินนี carboxamide (ergocristinine) ซ่งึ เปน็ สว่ นผสมในตารับ ท่ีได้ขนึ้ ทะเบียนเป็นยา ตามกฎหมายวา่ ด้วยยาหรอื ขน้ึ ทะเบียนเป็นวัตถตุ ารบั ตามกฎหมายว่าด้วยวตั ถุท่ี ออกฤทธต์ิ ่อจิตและ ประสาท ๙ อลั ฟาเออรโ์ กคริพทีน (α-ergocryptine ) (6aR,9R)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-10bhydroxy- รวมทัง้ อนพุ ันธ์ตา่ งๆ เกลอื 5-(2-methylpropyl)-2-(propan-2-yl)-3,6- เอสเทอร์ และอีเทอรใ์ ดๆ dioxooctahydro-2H-oxazolo[3,2-a]pyrrolo[2,1- ของยาเสพติดใหโ้ ทษดงั กล่าว c]pyrazin-2-yl)-7-methyl-4,6,6a,7,8,9- เวน้ แตอ่ ัลฟาเออร์โกคริพทีน hexahydroindolo[4,3-fg]quinoline-9-carboxamide (α-ergocryptine) ซึ่งเป็น สว่ นผสมในตารบั ที่ไดข้ ึน้ ทะเบียนเปน็ ยาตามกฎหมาย ว่าด้วยยาหรอื ขน้ึ ทะเบยี น เป็นวัตถุตารับตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยวัตถุทอ่ี อกฤทธต์ิ อ่ จิต และประสาท
พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 349 ลำดบั ที่ ช่ือยาเสพติดใหโ้ ทษ ช่ือทางเคมี เง่อื นไข ๑๐ เบต้าเออร์โกครพิ ทีน (β–ergocryptine) (6aR,9R)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-5-(butan-2-yl)- รวมทง้ั อนุพันธ์ตา่ งๆ เกลือ 10b-hydroxy-2-(propan-2-yl)-3,6-dioxooctahydro- เอสเทอร์ และอีเทอร์ใดๆ 2Hoxazolo[3,2-a]pyrrolo[2,1-c]pyrazin-2-yl)-7-methyl- ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษดงั กล่าว 4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3-fg]quinoline-9- เว้นแตเ่ บตา้ เออร์โกครพิ ทีน carboxamide (β-ergocryptine) ซง่ึ เปน็ สว่ นผสมในตารบั ที่ไดข้ น้ึ ทะเบยี นเปน็ ยา ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาหรือ ขนึ้ ทะเบยี นเป็นวัตถตุ ารบั ตามกฎหมายวา่ ด้วยวตั ถทุ ี่ ออกฤทธติ์ ่อจติ และประสาท ๑๑ อลั ฟาเออรโ์ กคริพทนิ นี (α–ergocryptinine) (6aR,9S)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-10bhydroxy- รวมท้งั อนุพันธ์ตา่ งๆ เกลอื 5-(2-methylpropyl)-2-(propan-2-yl)-3,6- เอสเทอร์ และอเี ทอร์ใดๆ dioxooctahydro-2H-oxazolo[3,2-a]pyrrolo[2,1- ของยาเสพติดให้โทษ c]pyrazin-2-yl)-7-methyl-4,6,6a,7,8,9- ดงั กล่าว เว้นแต ่ hexahydroindolo[4,3-fg]quinoline-9-carboxamide อัลฟาเออรโ์ กครพิ ทินีน (α-ergocryptinine) ซง่ึ เป็นส่วนผสมในตารับท่ี ไดข้ นึ้ ทะเบียนเปน็ ยาตาม กฎหมายวา่ ด้วยยาหรอื ขึ้น ทะเบยี นเปน็ วัตถุตารับตาม กฎหมายว่าด้วยวตั ถุที ่ ออกฤทธติ์ อ่ จิตและ ประสาท ๑๒ เบต้าเออร์โกคริพทนิ นี (β–ergocryptinine) (6aR,9S)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-5-(butan-2-yl)-10b- รวมทัง้ อนุพันธ์ต่างๆ เกลอื hydroxy-2-(propan-2-yl)-3,6-dioxooctahydro- เอสเทอร์ และอเี ทอร์ใดๆ 2Hoxazolo[3,2-a]pyrrolo[2,1-c]pyrazin-2-yl)-7- ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ methyl-4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3- ดังกลา่ ว เวน้ แต ่ fg]quinoline-9-carboxamide เบต้าเออรโ์ กคริพทนิ ีน (β-ergocryptinine) ซง่ึ เปน็ ส่วนผสมในตารับที่ ไดข้ นึ้ ทะเบยี นเป็นยาตาม กฎหมายวา่ ดว้ ยยาหรอื ข้ึนทะเบยี นเป็นวัตถุตารับ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวตั ถุท ่ี ออกฤทธติ์ ่อจติ และ ประสาท
350 สำนักงาน ป.ป.ส. ลำดับท่ี ชอ่ื ยาเสพตดิ ให้โทษ ช่ือทางเคมี เงอื่ นไข ๑๓ เออรโ์ กเมทรนี (ergometrine) (6aR,9R)-N-((S)-1-hydroxypropan-2-yl)-7- รวมท้งั อนุพันธ์ต่างๆ เกลอื เอสเทอร์ และอีเทอรใ์ ดๆ methyl-4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3-fg] ของยาเสพติดให้โทษ ดังกล่าว เวน้ แต ่ quinoline-9-carboxamide เออรโ์ กเมทรนี (ergometrine) ซงึ่ เปน็ สว่ นผสมในตารับทไ่ี ด้ขึ้น ทะเบยี นเปน็ ยาตามกฎหมาย ว่าดว้ ยยาหรอื ข้นึ ทะเบียน เป็นวตั ถุตารบั ตามกฎหมาย วา่ ด้วยวตั ถทุ ่อี อกฤทธติ์ อ่ จติ และประสาท รวมท้ังอนุพันธ์ตา่ งๆ เกลือ เอสเทอร์ และอเี ทอร์ใดๆ ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ดังกล่าว เว้นแต่ เออรโ์ กเมทรินีน (ergometrinine) ซ่งึ เป็นสว่ นผสมในตารับ ทไี่ ดข้ ้ึนทะเบยี นเป็นยา ตามกฎหมายว่าดว้ ยยาหรือ ขนึ้ ทะเบียนเปน็ วัตถตุ ารบั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวตั ถทุ ี่ ออกฤทธ์ิต่อจติ และ ๑๔ เออรโ์ กเมทรินนี (ergometrinine) (6aR,9S)-N-((S)-1-hydroxypropan-2-yl)-7-methyl- ประสาท รวมทั้งอนุพนั ธต์ ่างๆ เกลอื 4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3-fg]quinoline-9- เอสเทอร์ และอีเทอรใ์ ดๆ ของยาเสพติดใหโ้ ทษ carboxamide ดังกลา่ วเวน้ แต่เออรโ์ กซีน (ergosine) ซึง่ เปน็ ส่วนผสมในตารบั ที่ไดข้ ้นึ ทะเบียนเปน็ ยา ตามกฎหมายวา่ ด้วยยาหรือ ขึ้นทะเบยี นเป็นวัตถุตารับ ตามกฎหมายว่าดว้ ยวัตถทุ ี่ ออกฤทธ์ติ อ่ จิตและ ประสาท ๑๕ เออรโ์ กซนี (ergosine) (6aR,9R)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-10bhydroxy- 2-methyl-5-(2-methylpropyl)-3,6-dioxooctahydro- 2H-oxazolo[3,2-a]pyrrolo[2,1-c]pyrazin-2-yl)-7- methyl-4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3-fg] quinoline-9-carboxamide
พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 351 ลำดบั ที่ ชือ่ ยาเสพติดให้โทษ ช่อื ทางเคมี เงอื่ นไข ๑๖ เออร์โกซนิ นี (ergosinine) (6aR,9S)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-10bhydroxy- รวมทง้ั อนพุ ันธ์ต่างๆ เกลอื 2-methyl-5-(2-methylpropyl)-3,6-dioxooctahydro- เอสเทอร์ และอเี ทอร์ใดๆ 2H-oxazolo[3,2-a]pyrrolo[2,1-c]pyrazin-2-yl)-7- ของยาเสพตดิ ให้โทษดังกล่าว methyl-4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3-fg] เวน้ แต่เออรโ์ กซนิ นี quinoline-9-carboxamide (ergosinine) ซงึ่ เป็นส่วนผสมในตารบั ทไ่ี ดข้ ้ึนทะเบียนเป็นยา ตามกฎหมายวา่ ด้วยยาหรอื ขึน้ ทะเบยี นเป็นวัตถุตารับ ตามกฎหมายวา่ ด้วยวัตถทุ ่ ี ออกฤทธ์ติ ่อจิตและประสาท ๑๗ เออร์โกตามนี (ergotamine) (6aR,9R)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-10bhydroxy- รวมท้ังอนุพนั ธต์ า่ งๆ เกลอื 2-methyl-5-phenylmethyl-3,6-dioxooctahydro- เอสเทอร์ และอเี ทอรใ์ ดๆ 2H-oxazolo[3,2-a] pyrrolo[2,1-c]pyrazin-2-yl)-7- ของยาเสพตดิ ให้โทษดังกลา่ ว methyl-4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3-fg] เวน้ แต่เออรโ์ กตามนี quinoline-9-carboxamide (ergotamine) ซึ่งเปน็ สว่ นผสมในตารับ ที่ได้ขึ้นทะเบยี นเป็นยา ตามกฎหมายวา่ ด้วยยาหรอื ขน้ึ ทะเบียนเปน็ วตั ถุตารบั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวตั ถุท ่ี ออกฤทธิ์ตอ่ จิตและประสาท ๑๘ เออรโ์ กตามนิ ีน (ergotaminine) (6aR,9S)-N-((2R,5S,10aS,10bS)-10bhydroxy- รวมทั้งอนุพนั ธต์ า่ งๆ เกลือ 2-methyl-5-phenylmethyl-3,6-dioxooctahydro- เอสเทอร์ และอีเทอรใ์ ดๆ 2H-oxazolo[3,2-a]pyrrolo[2,1-c]pyrazin-2-yl)-7- ของยาเสพติดให้โทษ methyl-4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3-fg] ดังกล่าว เวน้ แต ่ quinoline-9-carboxamide เออรโ์ กตามนิ ีน (ergotaminine) ซึ่งเป็นส่วนผสมในตารับ ทไี่ ด้ขน้ึ ทะเบยี นเป็นยา ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาหรอื ขึน้ ทะเบยี นเป็นวตั ถตุ ารับ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวตั ถทุ ี่ ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ๑๙ เออรโ์ กไทโอเนอนี (ergothioneine) (S)-3-(2-thioxo-2,3-dihydro-1Himidazol-4-yl)-2- รวมทั้งอนุพันธ์ต่างๆ เกลอื (trimethylammonio)propanoate เอสเทอร์ และอเี ทอร์ใดๆ ของยาเสพติดใหโ้ ทษดงั กลา่ ว เว้นแตเ่ ออรโ์ กไทโอเนอนี (ergothioneine) ซึ่งเป็นส่วนผสมในตารับ ท่ีไดข้ ึน้ ทะเบยี นเปน็ ยา ตามกฎหมายวา่ ด้วยยาหรอื ข้นึ ทะเบยี นเปน็ วัตถตุ ารบั ตามกฎหมายวา่ ด้วยวตั ถทุ ่ี ออกฤทธต์ิ อ่ จติ และประสาท
352 สำนักงาน ป.ป.ส. ลำดบั ที่ ชื่อยาเสพติดใหโ้ ทษ ชื่อทางเคมี เงอื่ นไข ๒๐ เอทลิ ิดนี ไดอาเซเตต 1,1-ethanediol diacetate (ethylidene diacetate) ๒๑ ไอโซซาฟรอล (isosafrole) 5-(prop-1-enyl)-[1,3]benzodioxole ๒๒ ไลเซอร์จาไมด์ (lysergamide) (6aR,9R)-7-methyl-4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo- รวมทง้ั อนพุ ันธต์ ่างๆ เกลอื [4,3-fg]quinoline-9-carboxamide เอสเทอร์ และอเี ทอรใ์ ดๆ ของยาเสพติดใหโ้ ทษดังกล่าว เวน้ แตไ่ ลเซอร์จาไมด ์ (lysergamide) ซึง่ เปน็ ส่วนผสมในตารบั ทีไ่ ดข้ ้ึนทะเบยี นเป็นยา ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาหรอื ขึ้นทะเบยี นเป็นวตั ถุตารับ ตามกฎหมายว่าด้วยวตั ถทุ ่ี ออกฤทธ์ิตอ่ จิตและประสาท ๒๓ ไลเซอร์จคิ อาซิด (lysergic acid) (6aR,9R)-7-methyl-4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo [4,3-fg]quinoline-9-carboxylic acid ๒๔ ๓,๔-เมทลิ ลนี ไดออกซเี ฟนิล-๒- 1-([1,3]benzodioxol-5-yl)propan-2-one โปรปาโนน (3,4-methylenedioxyphenyl-2- propanone) ๒๕ เอ็น-อาเซตลิ แอนทรานิลิค อาซดิ N-acetyl-2-aminobenzoic acid (N-acetylanthranilic acid) ๒๖ ๑-เฟนิล-๒-โปรปาโนน 1-phenylpropan-2-one (1-phenyl-2-propanone) ๒๗ เฟนลิ อาเซตคิ อาซดิ (phenylacetic acid) 2-phenylacetic acid เวน้ แต่เฟนลิ อาเซติค อาซิด เป็นสว่ นผสมในวัตถแุ ต่งกลิ่นรส ในความเขม้ ข้นไม่เกนิ ร้อยละ ๕ ตามกฎหมายวา่ ด้วยอาหาร หรอื ตามกฎหมายวา่ ด้วยการ ควบคุมคณุ ภาพอาหารสตั ว์ รวมถึงเฟนิลอาเซติค อาซิด ที่ผสมอยใู่ นผลติ ภัณฑ์อาหาร และผลิตภัณฑอ์ าหารสตั ว์ท่ีใช้ วัตถุแต่งกลน่ิ รสดังกลา่ ว และต้องใชต้ ามวตั ถุประสงค ์ เพื่อแตง่ กลนิ่ รสอาหารเทา่ นั้น ๒๘ แอลฟา–ฟีนลิ แอซโี ทแอซโี ทไนไทรล ์ 3-oxo-2-phenylbutanenitrile รวมท้งั ออปตคิ ัล ไอโซเมอร ์ (alpha-phenylacetoacetonitrile (opticalisomer) ของ หรอื APAAN) ยาเสพติดใหโ้ ทษดงั กลา่ ว
พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 353 ลำดับที่ ช่อื ยาเสพตดิ ให้โทษ ชือ่ ทางเคมี เงอ่ื นไข ๒๙ ไพเพอโรนอล (piperonal) [1,3]benzodioxole-5-carbaldehyde ๓๐ ซาฟรอล (safrole) 5-(prop-2-enyl)-[1,3]benzodioxole ยกเว้นการผลิต จาหนา่ ย นาเข้า สง่ ออกหรอื มไี วใ้ น ครอบครองพชื รวมถึงส่วน ต่างๆของพชื ทมี่ ซี าฟรอล และน้ามันจากพชื ทม่ี ี ซาฟรอล โดยตอ้ งมฉี ลากหรือ ขอ้ ความระบุวา่ เป็น น้ามนั จากพชื และม ี วตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ใชป้ ระโยชน ์ ในกจิ การตามกฎหมายวา่ ดว้ ย ยา กฎหมายวา่ ด้วยอาหาร กฎหมายวา่ ด้วยเคร่อื งสาอาง หรือกฎหมายว่าดว้ ย- วตั ถอุ นั ตราย ทง้ั นี้ ไม่รวมถงึ การนาผ่านน้ามันจากพชื ที่มี ซาฟรอล ซง่ึ ตอ้ งดาเนินการ ตามมาตรา ๖๔ แห่ง พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒
354 สำนักงาน ป.ป.ส. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ระบุช่อื ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนงึ่ มาตรา ๘ (๑) และ (๒) แหง่ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ ี ขอ้ ๑ ให้ยาเสพติดให้โทษที่ระบุช่ือในบัญชีท้ายประกาศนี้เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ทั้งนี้ ให้รวมถึงวัตถุท่ีเรียกชื่อเป็นอย่างอื่นแต่มีโครงสร้าง ทางเคมีอย่างเดยี วกันกับยาเสพตดิ ใหโ้ ทษดงั กล่าว ไมว่ า่ จะมคี วามเข้มขน้ ใด หรอื นำไปใชเ้ พือ่ การใด เว้นแตจ่ ะมี การระบุความเข้มข้นหรือเงื่อนไขไว้เป็นการเฉพาะ หรือเป็นกรณีที่นำไปใช้เพื่อเป็นสารควบคุมคุณภาพ ในการตรวจวิเคราะห์และควบคุมคุณภาพของการตรวจสารเสพติดในร่างกาย ซึ่งเป็นเคร่ืองมือแพทย ์ ตามกฎหมายว่าดว้ ยเครื่องมอื แพทย์ และตอ้ งใช้ตามวัตถปุ ระสงคข์ องเคร่ืองมือแพทยน์ ัน้ ขอ้ ๒ ประกาศนใี้ หใ้ ชบ้ งั คบั เมอ่ื พน้ กำหนดสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปน็ ตน้ ไป(๑) ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ปยิ ะสกล สกลสัตยาทร รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ (๑) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๐๕ ง ลงวันท่ี ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๑
พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 355 บัญชที า้ ยประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ระบุชือ่ ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ พ.ศ. ๒๕๖๑ ลำดบั ท่ี ช่ือยาเสพติดใหโ้ ทษ ชอ่ื ทางเคมี เงื่อนไข ๑ กัญชา (cannabis) - ซ่ึงมชี อ่ื พฤกษศาสตรว์ ่า Cannabis sativa L. และ Cannabis indica Lam. ท้ังน้ี ใหห้ มายความรวมถึง - ทกุ สว่ นของพชื กัญชา เชน่ ใบ ดอก ยอด ผล ลาตน้ - วัตถหุ รอื สารต่างๆ ทมี่ ีอยู่ใน พชื กัญชา เชน่ ยาง นา้ มัน ยกเว้นเปลอื กแห้ง แกนลาต้นแหง้ เสน้ ใยแหง้ และผลติ ภณั ฑท์ ีผ่ ลิต จากเปลือกแหง้ แกนลาต้นแหง้ เสน้ ใยแหง้ ซง่ึ มชี ือ่ พฤกษศาสตร์วา่ Mitragyna speciosa (Korth.) Havil. ทงั้ นีใ้ ห้หมายความรวมถงึ - ทุกสว่ นของพืชกระทอ่ ม เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาตน้ - วตั ถุหรือสารต่างๆ ท่ีมีอยูใ่ น พชื กระทอ่ ม เชน่ แอลคาลอยด์ ซึง่ มชี ่ือพฤกษศาสตร์วา่ Papaver somniferum L. และ Papaver bracteatum Lindl. หรือท่มี ีชื่ออนื่ ในสกลุ เดียวกนั ท่ี ใหฝ้ ิ่นหรือแอลคาลอยด์ของฝิน่ ๒ พืชกระท่อม - ทง้ั น้ี ใหห้ มายความรวมถึง สว่ นต่างๆ ของพชื ดังกลา่ วดว้ ย เช่น พนั ธุ์ฝิ่น เมล็ดฝ่นิ กล้าฝิน่ ฟางฝ่ิน ซ่งึ มชี ่ือวทิ ยาศาสตร์ว่า Psilocybe cubensis (Earle) Singer หรอื ทีม่ ชี อื่ อืน่ ในสกลุ เดยี วกนั ท่ีใหส้ าร psilocybin หรอื psilocin ท้ังนี้ ใหห้ มายความรวมถึง สว่ นต่างๆ เชน่ ดอกเหด็ กา้ นเห็ด สปอร์ของเห็ด ๓ พชื ฝน่ิ - ๔ เหด็ ขคี้ วาย หรอื พืชเหด็ ข้ีควาย -
356 สำนกั งาน ป.ป.ส. กฎกระทรวง ควบคุมการจำหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ตำรบั ทม่ี โี คเดอนี เป็นสว่ นผสม พ.ศ. ๒๕๔๖ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นพระราชบัญญัติท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๐ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจ ตามบทบญั ญัติแห่งกฎหมาย รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ ออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ผู้รับอนุญาตผลิต นำเข้า จำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพ่ือจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๓ ตำรบั ทมี่ ีโคเดอีนเปน็ สว่ นผสม ตอ้ งปฏบิ ัติตามเงื่อนไข ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) การจำหน่ายให้จำหน่ายได้เฉพาะแก่สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนตามกฎหมาย วา่ ด้วยสถานพยาบาลและสถานพยาบาลของรัฐ (๒) ในการขนส่งไปนอกสถานที่ท่ีระบุไว้ในใบอนุญาตผลิต นำเข้า จำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครอง เพ่ือจำหน่าย แล้วแต่กรณี และเป็นการขนส่งเพื่อการจำหน่ายตาม (๑) ให้ผู้รับอนุญาตจัดให้มีสำเนาเอกสาร กำกับการขนส่งยาเสพติดให้โทษน้ัน เพ่ือการตรวจสอบระหว่างการขนส่ง โดยเอกสารดังกล่าวอย่างน้อย ต้องแสดงรายละเอียดเก่ียวกับจำนวนยาเสพติดให้โทษ วันเดือนปี การเป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์และระบุผู้รับ ปลายทางท่ชี ัดเจน ขอ้ ๒ กฎกระทรวงน้ีให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ตน้ ไป* ให้ไว้ ณ วันท่ี ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ สดุ ารตั น์ เกยรุ าพันธ ์ุ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ * ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๒๐ ตอนท่ี ๒๕ ก ลงวนั ที่ ๒๔ มนี าคม ๒๕๔๖
พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 357 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๘๑) พ.ศ. ๒๕๔๕* เรื่อง กำหนดจำนวนยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ตำรบั ทมี่ ีโคเดอนี เป็นส่วนผสมท่ใี ห้สนั นิษฐานว่ามีไวใ้ นครอบครองเพ่อื จำหน่าย โดยท่ีเป็นการสมควรกำหนดจำนวนยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ตำรับท่ีมีโคเดอีนเป็นส่วนผสม ท่ีให้สันนิษฐานว่ามีไว้ในครอบครองเพ่ือจำหน่าย เพ่ือเป็นมาตรการควบคุมมิให้มีการครอบครองยาเสพติด ใหโ้ ทษในประเภท ๓ เหลา่ นีม้ ากเกินความจำเปน็ ต้องใชท้ างการแพทย์ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ วรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นพระราชบัญญัติท่ีมี บทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๐ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๘ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ ให้โทษออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ี การมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ตำรับท่ีมีโคเดอีนเป็นส่วนผสมเกิน จำนวน ๒๕๐ มิลลิลติ ร หรือ ๓๐ เมด็ หรอื ๓๐ แคปซลู ให้สนั นษิ ฐานวา่ มไี ว้ในครอบครองเพือ่ จำหน่าย ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ สดุ ารัตน์ เกยรุ าพันธ์ ุ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข * ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๑๙ ตอนพิเศษ ๑๒๖ ลงวนั ที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๕
358 สำนักงาน ป.ป.ส. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบับที่ ๑๘๓) พ.ศ. ๒๕๔๖* เร่อื ง แต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าทีแ่ ละกำหนดอำนาจหน้าท ี่ เพอื่ ปฏบิ ตั กิ ารตามกฎหมายวา่ ด้วยยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ โดยท่ีเป็นการสมควรกำหนดให้บุคคลซ่ึงดำรงตำแหน่งใดหรือระดับใดเป็นพนักงานเจ้าหน้าที ่ ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ และกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดังกล่าว ตำแหน่งใดหรือระดับใด มีอำนาจหน้าท่ีในการปฏิบัติการตามท่ีกฎหมายกำหนดไว้ทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ กำกบั ดูแล และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกบั ยาเสพตดิ ให้โทษ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ แหง่ พระราชบญั ญัตยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๔๙ วรรคสาม แหง่ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซง่ึ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นพระราชบัญญัติท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพ ของบคุ คล ซงึ่ มาตรา ๒๙ ประกอบดว้ ยมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๐ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ให้โทษออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิก (๑) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๔๘) พ.ศ. ๒๕๔๑ เรื่อง แต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท ่ี เพอื่ ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ลงวันที่ ๒๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๑ (๒) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๕๙) พ.ศ. ๒๕๔๒ เรื่อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าท่ี เพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ (เพ่ิมเติมฉบับที่ ๑) ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ้ ๒ แต่งต้ังให้บุคคลซึ่งดำรงตำแหน่งต่อไปน้ี เป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีเพ่ือปฏิบัติการตามมาตรา ๔๙ แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยให้มอี ำนาจหน้าท่ีตามมาตรา ๔๙ วรรคหนึง่ ทั้งหมด (๑) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (๒) รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (๓) ผ้ตู รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข * ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ฉบับประกาศทัว่ ไป เล่ม ๑๒๐ ตอนพเิ ศษ ๗๒ ลงวันท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๖
พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 359 (๔) สาธารณสุขนเิ ทศก ์ (๕) อธิบดกี รมการแพทย์ (๖) รองอธบิ ดีกรมการแพทย์ (๗) อธิบดกี รมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ (๘) รองอธบิ ดีกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ (๙) อธบิ ดกี รมสนับสนนุ บริการสุขภาพ (๑๐) รองอธิบดกี รมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ (๑๑) อธิบดีกรมสุขภาพจิต (๑๒) รองอธบิ ดีกรมสุขภาพจิต (๑๓) เลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา (๑๔) รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (๑๕) ผวู้ า่ ราชการจงั หวัด (๑๖) รองผู้ว่าราชการจงั หวดั (๑๗) นายแพทย์สาธารณสุขจงั หวัด (๑๘) นายแพทย์ สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัด (๑๙) ผอู้ ำนวยการสำนกั ยาและวตั ถเุ สพตดิ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ (๒๐) ผู้อำนวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ (๒๑) ผูอ้ ำนวยการกองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๒) ผอู้ ำนวยการกองควบคมุ ยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๓) ผู้อำนวยการกองงานดา้ นอาหารและยา สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๔) ผู้อำนวยการกองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในส่วนภูมิภาคและ ทอ้ งถ่ิน สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๕) ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลของรฐั (๒๖) เภสัชกร นักเทคนิคการแพทย์และเจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตั้งแต่ระดับ ๓ ขึ้นไป โรงพยาบาลของรฐั (๒๗) เภสัชกรและนักวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ตงั้ แต่ระดบั ๓ ขน้ึ ไป กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (๒๘) พนกั งานของรฐั ตำแหน่งเภสัชกร ตง้ั แตร่ ะดบั ๓ พ ขน้ึ ไป กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ (๒๙) เภสัชกร และนักวิชาการอาหารและยา ตั้งแต่ระดับ ๓ พ ขึ้นไป สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา (๓๐) พนกั งานของรัฐตำแหน่งเภสชั ต้งั แต่ระดบั ๓ พ ขน้ึ ไป สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (๓๑) เภสชั กรกลมุ่ งานคุ้มครองผู้บรโิ ภคและเภสัชสาธารณสุข สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั (๓๒) พนักงานของรัฐตำแหน่งเภสัชกร ตั้งแต่ระดับ ๓ พ ขึ้นไป สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและ โรงพยาบาลสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ
360 สำนักงาน ป.ป.ส. ขอ้ ๓ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีตามประกาศน้ีต้องมีเอกสารมอบหมายประจำตัวตามแนบที่รัฐมนตรี ประกาศกำหนด เพ่อื แสดงว่าเปน็ ผไู้ ด้รับมอบหมายในการปฏิบัตกิ ารดังกลา่ ว ขอ้ ๔ การใช้อำนาจหนา้ ท่ีตามมาตรา ๔๙ วรรคหน่งึ (๒) (๓) (๔) และ (๕) ของพนักงาน เจา้ หน้าที่ ระดับ ๓-๖ หรือ ๓พ-๖พ ต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงานซ่ึงดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ กองหรือ เทยี บเทา่ ขน้ึ ไป หรอื นายแพทยส์ าธารณสุขจงั หวัด หรือผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลแล้วแตก่ รณี ขอ้ ๕ ประกาศฉบับนใ้ี ห้ใช้บังคับตง้ั แต่วันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ สุดารตั น์ เกยรุ าพนั ธ ์ุ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 361 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบั ที่ ๑๘๔) พ.ศ. ๒๕๔๖* เร่ือง กำหนดอำนาจหนา้ ที่ของพนักงานฝา่ ยปกครองหรือตำรวจ หรอื พนักงานเจ้าหนา้ ท่ ี เพ่ือปฏิบัตกิ ารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาเสพติดให้โทษ โดยท่ีเป็นการสมควรกำหนดให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีตาม กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ตำแหน่งใด ระดับใด หรือช้ันยศใด มีอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติการตามที่ กฎหมายกำหนดไว้ท้ังหมดหรือบางส่วน เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ กำกับดูแล และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๖ แหง่ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๕๘/๑ วรรคสอง แหง่ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซง่ึ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นพระราชบัญญัติท่ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพ ของบคุ คล ซงึ่ มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๐ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ให้โทษออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ี ขอ้ ๑ กำหนดใหบ้ คุ คลดงั ตอ่ ไปน้ี มอี ำนาจหนา้ ทใี่ นการปฏบิ ตั กิ ารตามมาตรา ๕๘/๑ แหง่ พระราชบญั ญตั ิ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ (๑) ผู้ซึ่งไดร้ บั การแต่งต้ังให้เป็นพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ตี ามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาเสพตดิ ให้โทษ (๒) ขา้ ราชการตำรวจ นอกจากทไ่ี ดร้ บั การแตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็ พนกั งานเจา้ หนา้ ทตี่ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาเสพตดิ ให้โทษไวแ้ ลว้ ซ่งึ มียศต้ังแต่รอ้ ยตำรวจตรีหรอื เทียบเท่าข้ึนไป (๓) ขา้ ราชการสงั กัดกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงดำรงตำแหนง่ ต่อไปนี้ (๓.๑) ปลัดกระทรวงมหาดไทย (๓.๒) รองปลดั กระทรวงมหาดไทย (๓.๓) ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย (๓.๔) ผู้ช่วยปลดั กระทรวงมหาดไทย * ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศท่ัวไป เลม่ ๑๒๐ ตอนพิเศษ ๗๒ ง ลงวันท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๖
362 สำนักงาน ป.ป.ส. (๓.๕) อธบิ ดีกรมการปกครอง (๓.๖) รองอธบิ ดีกรมการปกครอง (๓.๗) ผู้ตรวจราชการกรมการปกครอง (๓.๘) ผู้อำนวยการสำนกั การสอบสวนและนิตกิ าร กรมการปกครอง (๓.๙) ผอู้ ำนวยการสว่ นการสอบสวนและรักษาความสงบ สำนกั การสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง (๓.๑๐) ผอู้ ำนวยการส่วนอำนวยความเปน็ ธรรม สำนักการสอบสวนและนติ กิ าร กรมการปกครอง (๓.๑๑) หัวหนา้ กลุม่ งานนติ ิการ สำนักการสอบสวนและนติ ิการ กรมการปกครอง (๓.๑๒) หวั หนา้ กลมุ่ ทกุ กลุม่ ในสำนักการสอบสวนและนิตกิ าร กรมการปกครอง (๓.๑๓) ผ้อู ำนวยการสำนักอำนวยการกองอาสารกั ษาดินแดง กรมการปกครอง (๓.๑๔) ผอู้ ำนวยการสว่ นยทุ ธการและขา่ ว สำนกั อำนวยการกองอาสารกั ษาดนิ แดง กรมการปกครอง (๑.๑๕) ผู้อำนวยการส่วนกำลังพลและส่งกำลังบำรุง สำนักอำนวยการกองอาสา รักษาดินแดน กรมการปกครอง (๑.๑๖) ผู้อำนวยการสว่ นปฏบิ ัตกิ ารพเิ ศษ สำนกั อำนวยการกองอาสารักษาดินแดน กรมการปกครอง (๑.๑๗) ปลัดจังหวัด (๑.๑๘) หวั หน้ากลมุ่ งานปกครองจงั หวดั (๑.๑๙) จา่ จังหวัด (หัวหนา้ กลมุ่ ปกครองและอำนวยความเป็นธรรม) (๓.๒๐) ปอ้ งกันจังหวัด (หัวหน้าฝ่ายความมั่นคง) (๓.๒๑) นายอำเภอ (๓.๒๒) ปลดั อำเภอผูเ้ ป็นหัวหนา้ ประจำกิ่งอำเภอ (๓.๒๓) ปลัดอำเภอ ข้อ ๒ ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ซ่ึงมีอำนาจหน้าที่ตามประกาศนี้ ต้องมีเอกสารมอบหมายประจำตัวตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดเพ่ือแสดงว่าเป็นผู้ได้รับมอบหมาย ในการปฏิบตั กิ ารดงั กล่าว ขอ้ ๓ ประกาศฉบับน้ีให้ใชบ้ ังคบั ต้งั แตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ สุดารตั น์ เกยุราพันธุ ์ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ
พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 363 ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ที่ ๑๘๕) พ.ศ. ๒๕๔๖* เรื่อง การออกเอกสารมอบหมายใหไ้ วป้ ระจำตวั พนกั งานฝา่ ยปกครอง หรอื ตำรวจหรอื พนกั งานเจา้ หนา้ ทเี่ พอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย ว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ต้องมีเอกสารมอบหมายให้ไว้ประจำตัวเพ่ือการแสดงตนและแสดงอำนาจหน้าท ่ี ในการปฏิบัติการตามที่กฎหมายกำหนด เพ่ือประโยชน์ในการตรวจสอบ กำกับดูแล และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ ยาเสพตดิ ให้โทษ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๙ วรรคสาม และมาตรา ๕๘/๑ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติม โดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นพระราชบัญญัติท่ีมีบทบัญญัต ิ บางประการเกยี่ วกบั การจำกัดสทิ ธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๐ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๘ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพตดิ ใหโ้ ทษออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ เอกสารมอบหมายให้ไว้ประจำตัวพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ เพ่ือปฏบิ ตั ิการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาเสพติดใหโ้ ทษ ให้มี ๒ แบบ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) เอกสารมอบหมายใหไ้ วป้ ระจำตวั พนักงานเจา้ หน้าทเี่ พื่อปฏิบตั ิการตามมาตรา ๔๙ วรรคหน่ึง และ มาตรา ๕๘/๑ ให้เป็นไปตามแบบ ป. ๑ ทา้ ยประกาศน้ี (๒) เอกสารมอบหมายให้ไว้ประจำตัวพนกั งานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรอื พนกั งานเจา้ หน้าท่ี เพื่อปฏิบัตกิ ารตามมาตรา ๕๘/๑ ใหเ้ ปน็ ไปตามแบบ ป. ๒ ท้ายประกาศนี้ ขอ้ ๒ ให้หัวหน้าส่วนราชการต้นสังกัดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการต้นสังกัด ออกเอกสารมอบหมายให้ไว้ประจำตัวพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามแบบท่ี กำหนดในขอ้ ๑ เม่ือได้ออกเอกสารมอบหมายดังกล่าวแล้ว ให้หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้า ส่วนราชการตามวรรคหนึ่งรายงานใหเ้ ลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาทราบ * ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ฉบบั ประกาศทว่ั ไป เล่ม ๑๒๐ ตอนพเิ ศษ ๗๒ ง ลงวันท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๖
364 สำนักงาน ป.ป.ส. ขอ้ ๓ เอกสารมอบหมายตามข้อ ๒ ให้มีอายุห้าปีนับแต่วันท่ีออกเอกสาร โดยให้ระบุวันออก เอกสารและวันหมดอายุไว้ในเอกสารน้ันให้ชดั เจน ข้อ ๔ ในกรณีที่เอกสารมอบหมายให้ไว้ประจำตัวพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงาน เจ้าหน้าท่ีจะหมดอายุ และมีความประสงค์จะขอรับเอกสารฉบับใหม่เพื่อใช้แทนเอกสารฉบับเดิมให้แจ้งหัวหน้า ส่วนราชการตน้ สังกดั เพื่อดำเนนิ การตามขอ้ ๒ ขอ้ ๕ ในกรณีท่ีเอกสารมอบหมายให้ไว้ประจำตัวพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงาน เจ้าหน้าท่ีชำรุด สูญหายหรือถูกทำลายด้วยประการใด ๆ ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงาน เจ้าหน้าที่ผู้น้ันรีบแจ้งหัวหน้าส่วนราชการต้นสังกัดพร้อมท้ังส่งเอกสารท่ีชำรุดน้ันหรือหลักฐานการแจ้งความต่อ เจา้ หนา้ ทีต่ ำรวจแลว้ แต่กรณีเพือ่ ดำเนนิ การตามขอ้ ๒ ข้อ ๖ ประกาศฉบับนีใ้ หใ้ ชบ้ งั คบั ตั้งแตว่ นั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ สดุ ารตั น์ เกยุราพันธ ุ์ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข
พระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 365 แบบ ป.๑ เอกสารสีเขยี ว ๕.๕ ซม. แบบ ป.๑ เลขที…่ ………. อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพตดิ ให้โทษ มาตรา ๔๙ วรรคหนึง่ (๑) เข้าไปในสถานท่ีทำการของผู้รับอนุญาตนำเข้าหรือส่งออก สถานท่ีผลิต สถานที่ ส่วนราชการ..................................................... จำหนา่ ย สถานทเ่ี กบ็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ หรอื สถานทท่ี ต่ี อ้ งไดร้ บั อนญุ าตตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี เพอ่ื ตรวจสอบการปฏบิ ัติพระราชบญั ญัตนิ ี้ (๒) เข้าไปในเคหสถาน หรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจค้นเม่ือมีเหตุอันควรเชื่อได้ตาม เอกสารน้ีเป็นหลกั ฐานแสดงวา่ สมควรวา่ มที รพั ยส์ นิ ซง่ึ มไี วเ้ ปน็ ความผดิ หรอื ไดม้ าโดยการกระทำความผดิ หรอื ไดใ้ ชห้ รอื จะ ใชใ้ นการกระทำความผดิ ตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ หรอื ซงึ่ อาจใชเ้ ปน็ พยานหลกั ฐานไดป้ ระกอบ กับมีเหตุอันควรเชื่อว่าเน่ืองจากการเน่ินช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ ทรัพย์สินน้ันจะถูก โยกย้าย ซกุ ซ่อน ทำลาย หรือทำให้เปล่ียนสภาพไปจากเดมิ ยตศำแ/ชหื่อนง่ ....................................................................................................................................................................................... (๓) ค้นบุคคลหรือยานพาหนะใด ๆ ท่ีมีเหตุอันควรสงสัยตามสมควรว่ามียาเสพติด สงั กดั ............................................................................................... ใหโ้ ทษซกุ ซอ่ นอย่โู ดยไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย (๔) ค้นตามบทบัญญัตแิ หง่ ประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา (๕) ยึดหรืออายัดยาเสพติดให้โทษทีม่ ไี วโ้ ดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือทรัพย์สินอื่นใด ม ีอำนาจหน้าท่ีเพ่ือปฏิบัติการตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ท่ไี ดใ้ ชห้ รือจะใชใ้ นการกระทำความผดิ ตามพระราชบญั ญัติน ี้ มาตรา ๔๙ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๕๘/๑ อำนาจหนา้ ท่ตี ามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาเสพติดให้โทษ มาตรา ๕๘/๑ ๘.๕ ซม. ในกรณจี ำเปน็ และมเี หตอุ นั ควรเชอื่ ไดว้ า่ มบี คุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คลใดเสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ในประเภท ๑ ประเภท ๒ หรอื ประเภท ๕ อนั เปน็ ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั นิ ใี้ นเคหสถาน สถานทใี่ ด ๆ หรือยานพาหนะ ใหม้ ีอำนาจตรวจ หรอื ทดสอบ หรอื ส่งั ใหร้ บั การตรวจหรอื ทดสอบวา่ บุคคลหรือกลมุ่ บุคคลนนั้ มยี าเสพตดิ ให้โทษดงั กล่าวอยใู่ นร่างกายหรือไม ่ วนั ออกเอกสาร.................... คำเตือน วนั หมดอาย.ุ ........................ ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแกพ่ นกั งานเจา้ หน้าท่ ี ลงชื่อ.................................. ( ) ผู้ปฏบิ ตั หิ น้าที่ตามมาตรา ๔๙ วรรคหนง่ึ หวั หนา้ ส่วนราชการ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไม่เกินหกเดือน . .............................................. ลายมือชอื่ หรือปรับไมเ่ กนิ หนึ่งหม่ืนบาท หรือทง้ั จำท้ังปรบั ผใู้ ดไมป่ ฏิบัติตามคำสงั่ ของพนักงานฝา่ ยปกครองหรอื ตำรวจ หรอื พนกั งานเจ้าหนา้ ทซี่ งึ่ ส่งั ตามมาตรา ๕๘/๑ ต้องระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ หกเดอื น หรือปรบั ไมเ่ กินหนงึ่ หม่ืนบาท สว่ นราชการ........................................................ (ดา้ นหน้า) แบบ ป.๒ เอกสารสีเหลือง ๕.๕ ซม. แบบ ป.๑ เลขที…่ ………. อำนาจหน้าท่ีตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาเสพติดให้โทษ มาตรา ๕๘/๑ ส่วนราชการ..................................................... ในกรณีจำเป็นและมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีบุคคลหรือกลุ่ม เอกสารน้เี ป็นหลักฐานแสดงวา่ บุคคลใดเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ หรอื ประเภท ๕ อันเปน็ ความผิดตามพระราชบัญญัติน้ใี นเคหสถาน ยตศำแ/ชหอ่ื น่ง....................................................................................................................................................................................... สถานท่ีใด ๆ หรือยานพาหนะ ให้มอี ำนาจตรวจ หรือทดสอบ สงั กัด ............................................................................................... หรือสั่งให้รับการตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลน้ัน ม ีอำนาจหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ มยี าเสพติดใหโ้ ทษดงั กล่าวอยู่ในรา่ งกายหรือไม่ ๘.๕ ซม. ม าตรา ๕๘/๑ คำเตอื น วันออกเอกสาร.................... ผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามคำสงั่ ของพนักงาน วันหมดอายุ......................... ลงช่อื .................................. ฝ่ายปกครองหรอื ตำรวจหรอื พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ( ) หวั หนา้ ส่วนราชการ ซึ่งส่ังตามมาตรา ๕๘/๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกนิ หกเดือน ............................................... หรอื ปรบั ไม่เกินหนง่ึ หมน่ื บาท ลายมอื ช่อื สว่ นราชการ....................................................... (ด้านหนา้ ) (ดา้ นหลัง)
366 สำนักงาน ป.ป.ส. ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพตดิ ให้โทษ เรื่อง กำหนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการตรวจหรอื ทดสอบวา่ บคุ คลหรอื กลุ่มบุคคลใดมยี าเสพติดใหโ้ ทษอย่ใู นร่างกายหรือไม ่ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลหรือ กลุ่มบุคคลใดมียาเสพติดให้โทษอยู่ในร่างกายหรือไม่ เพ่ือให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงาน เจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษสามารถใช้อำนาจในการตรวจหรือทดสอบดังกล่าว ในกรณี จำเป็นและมีเหตุอันควรเช่ือได้ว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเสพยาเสพติดให้โทษ ซึ่งจะทำให้การแก้ไขปัญหา เก่ียวกบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษมีประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขนึ้ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๑๓ (๗) และมาตรา ๕๘/๑ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติ ยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็น พระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๐ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำได้โดยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการควบคุมยาเสพตดิ ใหโ้ ทษออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ในประกาศน้ี “การตรวจหรือทดสอบหายาเสพติดให้โทษ” หมายความว่า การตรวจหรือทดสอบหาชนิดหรือ ปริมาณยาเสพติดให้โทษในร่างกายของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล อันเกิดจากการเสพยาเสพติดให้โทษใน ประเภท ๑ ประเภท ๒ หรือประเภท ๕ ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพตดิ ให้โทษ โดยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ “ผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบ” หมายความว่า พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงาน เจ้าหน้าท่ีตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกำหนดให้มีอำนาจตรวจ หรือทดสอบ หรือสั่งให้รับการตรวจหรือทดสอบ หายาเสพตดิ ใหโ้ ทษ “ผู้รับการตรวจหรือทดสอบ” หมายความว่า ผู้รับการตรวจหรือทดสอบหายาเสพติดให้โทษในร่างกาย โดยผู้มีอำนาจตรวจหรอื ทดสอบ หรอื โดยคำสงั่ ของผูม้ ีอำนาจตรวจหรือทดสอบ ข้อ ๒ ในการตรวจหรือทดสอบหายาเสพติดให้โทษ ให้ผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบแสดงความบริสุทธ์ิ ก่อนท่ีจะทำการตรวจหรือทดสอบ โดยให้แสดงเอกสารเพ่ือแสดงตนว่าเป็นผู้ได้รับมอบหมายให้มีอำนาจหน้าที่ ในการตรวจหรือทดสอบ และแจ้งเหตุอันควรเช่ืออันนำมาซ่ึงการตรวจหรือทดสอบดังกล่าว พร้อมทั้งแจ้ง ใหท้ ราบถึงขัน้ ตอนการตรวจหรอื ทดสอบ ข้อ ๓ การตรวจหรือทดสอบหายาเสพติดให้โทษ ให้ตรวจหรือทดสอบจากปัสสาวะของผู้รับการตรวจ หรอื ทดสอบ โดยให้ปฏบิ ัติตามวธิ กี ารตรวจหรอื ทดสอบของชุดน้ำยาตรวจสอบหรอื เคร่ืองมือแต่ละชนดิ
พระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 367 ขอ้ ๔ การเตรียมการในการตรวจหรอื ทดสอบหายาเสพตดิ ใหโ้ ทษให้ถอื ปฏิบตั ิ ดงั น้ี (๑) จัดให้มีบริเวณสำหรับผู้เข้ารับการตรวจหรือทดสอบ เพ่ือดำเนินการตรวจหรือทดสอบ หรือเก็บปัสสาวะภายในระยะเวลาเท่าท่ีจำเป็นแห่งกรณี เพ่ือให้การตรวจหรือทดสอบหรือเก็บปัสสาวะเสร็จ ส้ินไปโดยเรียบร้อยภายในสถานทีม่ ิดชิดจากบคุ คลภายนอก (๒) จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีของรัฐทำหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยในการตรวจหรือทดสอบเพื่อให้เป็นไปด้วย ความเรยี บรอ้ ยและทนั เหตกุ ารณ์ โดยอย่ภู ายใต้การกำกบั ดแู ลของผมู้ ีอำนาจตรวจหรือทดสอบ (๓) จัดให้มีอุปกรณ์ในการเก็บปัสสาวะ โดยให้ใช้ขวดแก้วหรือขวดพลาสติกปากกว้างพร้อม ฝาปดิ ท่สี ะอาดและแห้ง มขี นาดบรรจุไม่นอ้ ยกวา่ ๖๐ มลิ ลิลติ ร มอี ุปกรณส์ ำหรบั ผนกึ ฝาปดิ ภาชนะ เพอ่ื ป้องกัน การสบั เปล่ยี นตวั อยา่ ง และใหม้ ีฉลากและกระดาษกาวเพอื่ ใช้สำหรับปิดผนกึ ขวดตัวอย่างปสั สาวะด้วย ข้อ ๕ วิธเี กบ็ ปสั สาวะใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิ ดังนี้ (๑) จัดให้มีผู้ควบคุมการถ่ายปัสสาวะของผู้รับการตรวจหรือทดสอบทุกคร้ัง ท้ังน้ี เพ่ือปอ้ งกันมิให้มกี ารกระทำใด ๆ ท่ที ำให้ปัสสาวะน้ันเกดิ การเจือจางหรือสับเปลี่ยนตวั อยา่ ง (๒) ให้ทำบันทึกข้อมูลเก่ียวกับการเก็บตัวอย่างปัสสาวะและผลการตรวจหรือทดสอบ ตามแบบ ต.๑ ต.๒ และ ต.๓ ท่ีกำหนดไวท้ า้ ยประกาศนี้ (๓) บันทึกหมายเลขประจำขวด ชื่อ ช่ือสกุล และอายุของผู้รับการตรวจหรือทดสอบ วัน เวลา และหน่วยงานที่เก็บตัวอย่าง พร้อมท้ังลายมือชื่อของเจ้าของปัสสาวะ และลายมือช่ือของผู้ควบคุม การเก็บตวั อยา่ งปสั สาวะนน้ั บนฉลากปิดขวดเก็บปสั สาวะ (๔) ให้ขวดเก็บปัสสาวะแก่ผู้รับการตรวจหรือทดสอบ เพ่ือนำไปถ่ายปัสสาวะใส่ขวด ดงั กล่าว จำนวนประมาณ ๓๐ มลิ ลลิ ิตร ข้อ ๖ การตรวจหรือทดสอบหายาเสพติดให้โทษในเบ้ืองต้น ให้ผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบกระทำ ต่ อ ห น้ า ผู้ รั บ ก า ร ต ร ว จ ห รื อ ท ด ส อ บ แ ล ะ ใ ห้ ถื อ ป ฏิ บั ติ โ ด ย ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ ห รื อ ชุ ด น้ ำ ย า ต ร ว จ ส อ บ ข อ ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐ หรือผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับการรับรอง จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขอ้ ๗ ในกรณีทต่ี รวจหรอื ทดสอบในเบือ้ งต้นตามขอ้ ๖ พบวา่ บคุ คลนั้นอาจเปน็ ผ้เู สพยาเสพติดให้โทษ ให้ผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบจดบันทึกข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับช่ือ ภูมิลำเนาหรือสถานท่ีอยู่ท่ีสามารถ จะเรียกตัวหรือออกหมายเรียกมาเพื่อดำเนินคดีได้เม่ือมีการตรวจสอบยืนยันผลแล้วพบว่าเป็นผู้ท่ีมียาเสพติด ให้โทษในรา่ งกาย ขอ้ ๘ ในการตรวจหรือทดสอบหายาเสพติดให้โทษในเบ้ืองต้นนั้น เมื่ออ่านผลแล้วให้แจ้งผลการตรวจ หรือทดสอบแก่ผู้รับการตรวจหรือทดสอบ โดยห้ามเปิดเผยผลการตรวจหรือทดสอบแก่ผู้ท่ีไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง และให้เก็บรกั ษาผลการตรวจหรอื ทดสอบไว้เป็นเอกสารลบั ในกรณีท่ีปรากฏผลบวกตามคู่มือวิธีการตรวจหรือทดสอบของเครื่องมือหรือชุดน้ำยาตรวจสอบในข้อ ๖ ใหผ้ มู้ อี ำนาจตรวจหรอื ทดสอบหรอื เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ซงึ่ ทำหนา้ ทเี่ ปน็ ผชู้ ว่ ยทท่ี ำการตรวจหรอื ทดสอบหายาเสพตดิ ให้โทษปิดขวดเก็บปัสสาวะที่เหลือของผู้รับการตรวจหรือทดสอบนั้นให้สนิทพร้อมท้ังผนึกปากขวดด้วยแถบกาว โดยมีลายมือชื่อของผู้ทำการตรวจหรือทดสอบและผู้รับการตรวจหรือทดสอบกำกับไว้ แล้วให้รีบจัดส่งขวดเก็บ ตวั ปสั สาวะดงั กล่าวไปยงั หน่วยงานใดหน่วยงานหนง่ึ ตามข้อ ๙ โดยเรว็ ในสภาพท่ีแช่เยน็ เพ่อื ตรวจยนื ยนั ผล
368 สำนกั งาน ป.ป.ส. ขอ้ ๙ ให้หน่วยงานดังต่อไปน้ี มีอำนาจยืนยันผลว่าผู้รับการตรวจหรือทดสอบมียาเสพติดให้โทษ อยูใ่ นรา่ งกายหรือไม ่ (๑) สถาบนั นติ เิ วชวทิ ยา สำนกั งานแพทย์ใหญ่ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (๒) กองพิสูจน์หลักฐานหรือกองกำกับการวิทยาเขต สำนักงานวิทยาการตำรวจ สำนักงาน ตำรวจแหง่ ชาติ (๓) สำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม (๔) สำนักยาและวัตถุเสพติด หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย ์ กระทรวงสาธารณสุข (๕) สถาบันยาเสพติดธัญญารักษ์ หรือศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด กรมการแพทย์ กระทรวง สาธารณสขุ (๖) โรงพยาบาลของรฐั (๗) หนว่ ยงานอื่นของรัฐหรอื สถาบนั อ่ืนท่ีคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดใหโ้ ทษกำหนด เม่ือหน่วยงานตามวรรคหน่ึงได้ดำเนินการตรวจยืนยันแล้ว ให้ถือว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลนั้นเป็น ผมู้ ยี าเสพติดใหโ้ ทษอยูใ่ นรา่ งกาย ข้อ ๑๐ ในกรณีจำเป็นและเพ่ือประโยชน์ต่อการตรวจหรือทดสอบหายาเสพติดให้โทษในร่างกาย ให้ผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบส่ังให้ผู้ท่ีมีเหตุอันควรเช่ือว่ายาเสพติดให้โทษไปรับการตรวจหรือทดสอบหา ยาเสพติดให้โทษ ภายใต้การกำกับดูแลของผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบดังกล่าว ทั้งน้ีภายในระยะเวลาและ สถานท่ีท่กี ำหนดในคำสงั่ โดยคำนึงถงึ ความเหมาะสมและความเป็นธรรมตามควรแกก่ รณี ให้นำความในขอ้ ๒ และข้อ ๙ มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม ข้อ ๑๑ ประกาศนีใ้ ห้ใช้บงั คับตงั้ แตว่ นั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ภักดี โพธศิ ิร ิ รองปลัดกระทรวงฯ ปฏิบัติราชการแทน ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ประธานกรรมการควบคมุ ยาเสพติดให้โทษ (ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ฉบบั ประกาศท่วั ไป เลม่ ๑๒๐ ตอนพเิ ศษ ๖๐ ง วันท่ี ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๖)
พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 369 แบบ ต. ๑ แบบบนั ทกึ ข้อมลู เบ้อื งต้น ส่วนท่ี ๑ สถานทต่ี รวจ ............................................................................................................................................ วันท่ี .................. เดอื น ...........................................พ.ศ. ...................... เวลา .....................................น. ลำดับท่ี ……....................ชอื่ ........................................... นามสกลุ .......................................................... ท่ีอยู่ปจั จบุ ันบา้ นเลขที่ ..................หมู่ที่ ................... ถนน ..................................................................... ตำบล /แขวง ................................................... อำเภอ / เขต .................................................................. จังหวัด ...................................................................................................................................................... หลกั ฐานเอกสารสำคญั แสดงตวั บุคคลทท่ี างราชการออกให้ (ระบุประเภท ..........................................................................................................................................) เลขท่ี ............................................................ ออกใหโ้ ดย ........................................................................ วันออกเอกสาร .............................................วนั หมดอายุ ....................................................................... ลงชอ่ื ............................. พนกั งานฝา่ ยปกครองหรอื ตำรวจหรอื พนกั งานเจา้ หน้าท่ีผูบ้ ันทกึ (................................) .............................................................................................................................................................................. สว่ นท่ี ๒ ผลการตรวจหรอื ทดสอบเบ้ืองต้นปรากฏวา่ £ ผลลบ ซงึ่ หมายถึงไมพ่ บยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในรา่ งกาย £ ผลบวก ซึ่งหมายถงึ อาจเสพยาเสพติดใหโ้ ทษ บนั ทึกอื่น ๆ ของพนักงานฝา่ ยปกครองหรือตำรวจหรือพนักงานเจ้าหนา้ ที่ผ้ตู รวจหรอื ทดสอบ (ถ้ามี) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ..................................ผู้รับการตรวจหรอื ทดสอบ และรบั ทราบผล (....................................) ลงชื่อ ..................................พนกั งานฝ่ายปกครองหรอื ตำรวจหรอื พนกั งานเจ้าหนา้ ที่ (....................................) ลงชอ่ื ..................................เจา้ หน้าทท่ี ่ที ำหน้าท่เี ปน็ ผูช้ ่วยในการตรวจหรอื ทดสอบ (ถ้าม)ี (....................................)
370 สำนกั งาน ป.ป.ส. แบบบันทกึ กรณีผลการตรวจหรอื ทดสอบเบื้องตน้ ได้ผลบวก แบบ ต. ๒ สถานทบ่ี ันทกึ ........................................................................ วันท่ี .......... เดือน ....................พ.ศ. .............เวลา ............น. บันทกึ ฉบับนเี้ พ่อื แสดงว่า ยศ/นาย/นาง/นางสาว ......................................................................................... อายุ ........................ป ี ทีอ่ ยปู่ จั จุบันบา้ นเลขที่ ..........................หม่ทู ี่ .................. ถนน .......................................................................... ตำบล/แขวง .......................................................... อำเภอ / เขต ........................................................................ จังหวัด ............................................................ โทรศัพท.์ ..................................................................................... สถานทีท่ ำงาน ........................................................................ เลขที่ ............................ หม่ทู ่ี ............................ ถนน .......................................................................... ตำบล/แขวง .................................................................... อำเภอ / เขต ........................................... จังหวัด ................................................ โทรศพั ท์ .............................. รูปพรรณ รูปร่าง ................................................................................... สว่ นสงู ................................เซนตเิ มตร รูปหน้า ................................................ สผี ิว ........................ สีผม ............................. สีตา ............................... บัตรประชาชน (หรือหลกั ฐานเอกสารสำคัญอืน่ ที่ทางราชการออกให)้ เลขที่ ....................................................... ออกให้ท่ี ............................................................ วนั ท่อี อก ................................ วันหมดอายุ ........................... ได้เข้ารับการตรวจหรือทดสอบหายาเสพติดให้โทษในร่างกายโดยพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ หรือพนักงานเจ้าหนา้ ท่ปี รากฏผลในเบอื้ งต้นว่าอาจเสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ถ้าหากการตรวจพิสูจน์ข้ันยืนยันผลและความถูกต้องในภายหลังยืนยันว่าผู้เข้ารับการตรวจหรือทดสอบ หายาเสพติดให้โทษในร่างกายเสพยาเสพติดให้โทษ ขอให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงาน เจา้ หน้าท่ีทม่ี หี นังสอื แจง้ ผลการการตรวจหรือทดสอบ หรอื คำสง่ั เกยี่ วกบั การดำเนินคดีไปให้ทราบท่ี £ ทอี่ ยปู่ ัจจบุ ัน £ ทท่ี ำงาน £ ทอี่ ่ืน ๆ (ระบ)ุ .............................. ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้อ่านบันทึกนี้ให้ฟังแล้ว รับรองว่าถูกต้อง จงึ ลงลายมือช่ือไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ลงชอื่ ..............................ผู้รบั การตรวจหรอื ทดสอบ (................................) ลงชือ่ ..............................พนกั งานฝา่ ยปกครองหรือตำรวจหรอื พนกั งานเจา้ หนา้ ทผี่ บู้ ันทกึ (................................) ลงชื่อ ..............................พยาน (................................) ลงชื่อ ..............................พยาน (................................)
พระราชบญั ญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 371 แบบ ต. ๓ แบบรายงานผลการตรวจหรือทดสอบหายาเสพติดให้โทษในรา่ งกาย สถานท่ีตรวจ ................................................... ตำบล / แขวง ......................................... อำเภอ / เขต ..................................................... จังหวัด .................................................. วนั ท่ี ......... เดอื น ......................... พ.ศ. .............ระหวา่ งเวลา ...............น. ถึง ............น. ลำดบั ท ่ี ชอ่ื - สกุล รายละเอยี ด ผลการตรวจหรอื ทดสอบ หมายเหต ุ ผู้เข้ารบั การตรวจหรอื ทดสอบ เอกสารสำคัญ ผลลบ ผลบวก •สรุปผล ผ้เู ขา้ รบั การตรวจหรือทดสอบทงั้ สน้ิ ........................ ราย • ผลการตรวจหรือทดสอบเบื้องตน้ ผลบวก .................ราย ผลลบ ..................... ราย • ไมป่ ฏิบัติตามคำส่งั ของพนกั งานฝ่ายปกครอง • หรอื ตำรวจหรือพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ ........................... ราย อน่ื ๆ (ระบุ) .............................................................. ราย ลงชือ่ ............................................... ผรู้ ายงาน (..............................................)
372 สำนักงาน ป.ป.ส. กฎกระทรวง ว่าด้วยการกำหนดลักษณะ ชนิด ประเภทและปริมาณยาเสพติดใหโ้ ทษ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๔๗๑ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๖ แหง่ พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๙๔ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติด ให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นพระราชบัญญัติท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๐ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจ ตามบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมาย รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุขออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ลักษณะ ชนิดและประเภทของยาเสพติดให้โทษ สำหรับความผิดฐานเสพยาเสพติดให้โทษ ตามมาตรา ๙๔ วรรคหนึ่ง ได้แก่ ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ และประเภท ๕ ทุกชนิด ตามกฎหมายวา่ ด้วยยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ขอ้ ๒ ยาเสพติดให้โทษตามข้อ ๑ สำหรับความผิดฐานเสพและมีไว้ในครอบครอง ความผิดฐานเสพ และมีไว้ในครอบครองเพ่ือจำหน่าย และความผิดฐานเสพและจำหน่ายซ่ึงยาเสพติดให้โทษตามมาตรา ๙๔ วรรคหนงึ่ ตอ้ งมปี รมิ าณดงั ต่อไปนี้ (๑) ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ (ก) เด็กซ์โตรไลเซอรไ์ ยด์ หรอื แอล เอส ดี มปี ริมาณไมถ่ งึ สิบห้าหนว่ ยการใช้ตามกฎหมายวา่ ดว้ ย ยาเสพติดใหโ้ ทษ หรอื มีน้ำหนักสทุ ธไิ มถ่ ึงสามรอ้ ยมลิ ลิกรมั (ข) แอมเฟตามีนหรืออนุพันธ์แอมเฟตามีน มีปริมาณไม่ถึงสิบห้าหน่วยการใช้ตามกฎหมายว่าด้วย ยาเสพติดให้โทษ หรือมนี ้ำหนกั สทุ ธไิ มถ่ ึงหน่งึ จดุ หา้ กรัม (ค) ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๑ นอกจาก (ก) และ (ข) มนี ้ำหนกั สุทธไิ มถ่ งึ สามกรัม (๒) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ (ก) โคคาอนี มนี ้ำหนกั สุทธิไม่เกินหกรอ้ ยมลิ ลกิ รัม (ข) ฝิน่ มนี ้ำหนักสทุ ธไิ ม่เกนิ สบิ ห้ากรมั ๑ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๒๑ ตอนท่ี ๔๙ ก ลงวนั ที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๔๗
พระราชบญั ญัตยิ าเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 373 (ค) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ นอกจาก (ก) และ (ข) มีน้ำหนักสุทธิไม่เกินสามกรัม หรือ ที่เป็นของเหลวมีปรมิ าตรสุทธไิ ม่เกินสองร้อยหา้ สบิ มลิ ลลิ ติ ร (๓) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ (ก) กญั ชามนี ้ำหนกั สุทธไิ มเ่ กนิ สบิ ห้ากรัม (ข) ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๕ นอกจาก (ก) มีนำ้ หนกั สุทธไิ มเ่ กนิ หน่ึงร้อยสามสบิ หา้ กรัม ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๑ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ สุดารัตน์ เกยุราพันธุ ์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชก้ ฎกระทรวงฉบบั น้ี คอื โดยทมี่ าตรา ๙๔ วรรคหนง่ึ แหง่ พระราชบญั ญตั ิ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่งึ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติให้กำหนดลักษณะ ชนิด ประเภทและปริมาณของยาเสพติดให้โทษไว้ใน กฎกระทรวง เพื่อเปิดโอกาสและจูงใจให้ผู้เสพ ผู้เสพและมีไว้ในครอบครอง ผู้เสพและมีไว ้ ในครอบครองเพื่อจำหน่าย หรือผู้เสพและจำหน่าย ซึ่งยาเสพติดให้โทษปริมาณน้อย เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยความสมัครใจและสามารถกลับเข้าสู่ สงั คมไดอ้ ย่างปกติสขุ จงึ จำเปน็ ต้องออกกฎกระทรวงน้ี
374 สำนกั งาน ป.ป.ส. กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงือ่ นไขการขออนุญาตและการอนญุ าต ผลิต นำเข้า ส่งออก จำหนา่ ยหรือมไี วใ้ นครอบครอง ซงึ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ พ.ศ. ๒๕๔๘๑ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ แหง่ พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๑๕ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติด ให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นพระราชบัญญัติท่ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจำกัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๐ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจ ตามบทบัญญตั แิ ห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขจะพิจารณาอนุญาตให้ผลิต นำเข้า ส่งออกจำหน่าย หรือ มีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ได้ เมื่อปรากฏว่าผู้ขออนุญาตเป็นกระทรวง ทบวง กรม หนว่ ยงานอนื่ ของรฐั ทเ่ี ปน็ นติ บิ คุ คลหรอื สภากาชาดไทย และมคี วามประสงคท์ จี่ ะผลติ นำเขา้ สง่ ออก จำหนา่ ยหรอื มไี วใ้ นครอบครองซงึ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ เพอื่ ประโยชนข์ องทางราชการ อยา่ งหนง่ึ อยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) เพอ่ื ประโยชน์ในการปอ้ งกนั และปราบปรามการกระทำความผดิ เกีย่ วกับยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (๒) เพ่อื ประโยชนใ์ นการวเิ คราะหห์ รือการศึกษาวิจยั ทางด้านการแพทย์หรอื วิทยาศาสตร์ ขอ้ ๒ ในการขออนุญาตผลิต นำเข้า ส่งออกหรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ให้หน่วยงานตามข้อ ๑ แจ้งความจำนงเป็นหนังสือโดยระบุเหตุผลและความจำเป็นแลให้แนบเอกสารหลักฐาน สำหรับกรณี ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) การขออนุญาตผลิตหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ เพื่อประโยชน์ ในการศึกษาวิจยั ทางดา้ นการแพทยห์ รือวิทยาศาสตร์ ให้แนบโครงการศึกษาวิจัยซึง่ ระบุช่ือ จำนวนหรอื ปรมิ าณ และรายละเอยี ดเกย่ี วกบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ รวมทัง้ กระบวนการทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การผลติ หรอื การมไี ว้ ในครอบครอง ภายใตโ้ ครงการศกึ ษาวิจยั ดงั กลา่ ว ๑ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม ๑๒๒ ตอนท่ี ๑๒๒ ก ลงวันท่ี ๕ ธนั วาคม ๒๕๔๘
พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 375 (๒) การขออนุญาตนำเข้าซ่ึงยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๑ ให้แนบเอกสารหลักฐานซง่ึ ระบุชอื่ จำนวน หรือปริมาณ และรายละเอียดเก่ียวกับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ รวมท้ังชื่อและท่ีต้ังของสถานท่ีทำการ ของผู้ผลิตหรือผู้ส่งออก และวิธีการในการนำเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาเสพติดให้โทษ ดังกล่าว แต่ในกรณีท ี่ เป็นการขออนุญาตนำเข้าเพื่อประโยชน์ของทางราชการในการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิด เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ ให้โทษ ใหย้ กเว้นการแสดงช่ือและทต่ี ั้งของสถานที่ทำการของผผู้ ลิต หรือผู้ส่งออก (๓) การขออนุญาตส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ให้แนบใบอนุญาตนำเข้าหรือ หนังสือรับรองซึ่งออกโดยหน่วยงานของรัฐของประเทศปลายทางผู้รับยาเสพติดให้โทษนั้น ซึ่งระบุช่ือ จำนวนหรือปริมาณ และรายละเอียดเก่ียวกับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ รวมทั้งช่ือและที่ต้ังของ สถานท่ี ทำการของผนู้ ำเขา้ ซ่งึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษดังกลา่ ว ท้ังน้ี ผู้ขออนญุ าตส่งออกต้องระบุวธิ ีการในการสง่ ออก ซ่งึ ยาเสพติดใหโ้ ทษนนั้ ด้วย ในกรณีท่ีเป็นการขออนุญาตส่งออกเพ่ือประโยชน์ของทางราชการในการป้องกันและปราบปราม การกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติดให้โทษ ให้ยกเว้นการแสดงหลักฐานตาม (๓) ได้แต่ต้องมีหนังสือจาก หน่วยงานของรัฐของประเทศปลายทางที่แสดงความจำนงขอให้ส่งยาเสพติดให้โทษไปยังประเทศนั้น เพอื่ ประโยชนด์ า้ นการปอ้ งกันและปราบปรามดงั กล่าว ขอ้ ๓ ผู้รับอนุญาตผลิต นำเข้าหรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ท่ีประสงค ์ จะขออนุญาตจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ให้แจ้งความจำนงเป็นหนังสือ โดยระบุเหตุผลและ ความจำเป็นในการขออนุญาต พร้อมท้งั แนบเอกสารหลกั ฐานแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชอ่ื จำนวนหรือปริมาณ ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ท่ีจะจำหน่าย รวมทั้งชื่อและที่ตั้งของสถานท่ีทำการของผู้รับมอบยาเสพติด ใหโ้ ทษดงั กลา่ ว ทัง้ นี้ ใหจ้ ำหน่ายแก่หน่วยงานท่ีได้รบั อนญุ าตตามข้อ ๑ เท่านน้ั ขอ้ ๔ ในกรณีท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขพิจารณาแล้วอนุญาตให้ผู้ขออนุญาตนำเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ให้เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาออกใบอนุญาต เฉพาะคราวเพอื่ นำเขา้ หรอื สง่ ออกซงึ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ ดงั กลา่ ว ตามแบบทส่ี ำนกั งานคณะกรรมการ อาหารและยากำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ขอ้ ๕ ใบอนุญาตเฉพาะคราวตามขอ้ ๔ ต้องมสี ำเนาใบอนญุ าตอยา่ งละส่ีฉบบั และมหี มายเลขกำกบั ไว้ ที่สำเนาใบอนญุ าต ดังนี้ (๑) สำเนาใบอนญุ าตฉบับที่ ๑ หมายเลข ๑ (๒) สำเนาใบอนุญาตฉบบั ท่ี ๒ หมายเลข ๒ (๓) สำเนาใบอนุญาตฉบบั ท่ี ๓ หมายเลข ๓ (๔) สำเนาใบอนญุ าตฉบับท่ี ๔ หมายเลข ๔ ขอ้ ๖ ใบอนุญาตเฉพาะคราวเพ่ือนำเข้าซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ และสำเนาใบอนุญาต ดงั กล่าวตามขอ้ ๕ ใหส้ ำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยาดำเนนิ การ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ใบอนญุ าตให้มอบแก่ผรู้ ับอนญุ าตเพอ่ื จัดส่งไปยังเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจของประเทศทส่ี ง่ ออก (๒) สำเนาใบอนญุ าตหมายเลข ๑ ใหม้ อบแกผ่ ้รู ับอนุญาตเพ่ือเกบ็ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน
376 สำนักงาน ป.ป.ส. (๓) สำเนาใบอนุญาตหมายเลข ๒ และหมายเลข ๓ ให้ส่งไปยังกรมศุลกากรเพ่ือใช้เป็นหลักฐาน ในการตรวจสอบ และเมื่อได้มีการนำเข้าซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ตามใบอนุญาตแล้วให้กรมศุลกากร สลักหลังสำเนาใบอนุญาตหมายเลข ๓ ส่งกลับมายังสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ส่วนสำเนา ใบอนุญาตหมายเลข ๒ ใหก้ รมศุลกากรเกบ็ ไว้เป็นหลักฐาน (๔) สำเนาใบอนญุ าตหมายเลข ๔ ให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเก็บไว้เป็นหลกั ฐาน ข้อ ๗ ใบอนุญาตเฉพาะคราวเพ่ือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ และสำเนาใบอนุญาต ดังกลา่ วตามขอ้ ๕ ให้สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยาดำเนนิ การ ดังต่อไปนี้ (๑) ใบอนญุ าตให้มอบแก่ผู้รบั อนญุ าตเพ่อื เก็บไว้เป็นหลกั ฐาน (๒) สำเนาใบอนุญาตหมายเลข ๑ ให้มอบแก่ผู้รับอนุญาตเพ่ือส่งไปพร้อมยาเสพติดให้โทษใน ประเภท ๑ ทสี่ ง่ ออก (๓) สำเนาใบอนุญาตหมายเลข ๒ ให้ส่งไปยังเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจของประเทศผู้รับยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๑ เพอื่ ใหเ้ จ้าหนา้ ที่ผู้มีอำนาจของประเทศผูร้ ับได้ทำการตรวจสอบและจดั สง่ กลบั มา (๔) สำเนาใบอนุญาตหมายเลข ๓ ใหส้ ่งไปยงั กรมศุลกากรเพือ่ ใชเ้ ป็นหลกั ฐานในการตรวจสอบ (๕) สำเนาใบอนุญาตหมายเลข ๔ ใหส้ ำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยาเก็บไว้เปน็ หลักฐาน ข้อ ๘ การออกใบอนุญาตเฉพาะคราวเพื่อนำเข้าหรือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ตามข้อ ๔ เพ่ือประโยชน์ของทางราชการในการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด ใหโ้ ทษ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาอาจพจิ ารณายกเวน้ การดำเนินการตามขอ้ ๕ ข้อ ๖ หรือขอ้ ๗ ทง้ั หมดหรือแตบ่ างสว่ นก็ได้ ขอ้ ๙ ให้ผู้รับอนุญาตรายงานผลการดำเนินการตามท่ีได้รับอนุญาตมายังสำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยาตามแบบและภายในระยะเวลาทสี่ ำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยากำหนด ขอ้ ๑๐ การยื่นขออนุญาตตามกฎกระทรวงนี้ ให้ยื่น ณ กองควบคุมวัตถุเสพติดสำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘ อนทุ ิน ชาญวีรกลู รฐั มนตรชี ่วยวา่ การฯ ปฏบิ ตั ิราชการแทน รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ หมายเหต ุ เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยท่ีมาตรา ๑๕ วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติให้การขออนุญาตและการอนุญาตผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติด ให้โทษในประเภท ๑ ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์
พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 377 ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง กำหนดผู้ประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยและหมอพ้ืนบ้านตามกฎหมายว่าดว้ ยวชิ าชีพ การแพทยแ์ ผนไทย ที่จะสามารถปรงุ หรอื ส่ังจ่ายตำรับยาทีม่ กี ัญชาปรุงผสมอย่ไู ด้ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยทเี่ ปน็ การสมควรกำหนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขสำหรบั ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทย และหมอพื้นบ้าน ที่จะสามารถปรุง หรือสั่งจ่ายตำรับยาท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชาการ และมีการนำไปใช้ประโยชน์ทางการแพทยอ์ ยา่ งเหมาะสม อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๖/๕ (๒) แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสขุ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้านต้องมีคุณสมบัติเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ตามกฎหมายวา่ ด้วยวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทย ข้อ ๒ ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ต้องผ่านการอบรมหลักสูตรการใช้ตำรับยาท่ีมีกัญชาปรุง ผสมอยู่จากกระทรวงสาธารณสุข หรือหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขหรือสภาวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ให้การรบั รอง และในการปรงุ หรอื สง่ั จา่ ยต้องดำเนินการภายใตส้ ถานพยาบาลของรัฐหรอื สถานพยาบาลเอกชน ตามกฎหมายว่าดว้ ยสถานพยาบาล ข้อ ๓ หมอพื้นบ้านท่ีจะสามารถปรุง หรือสั่งจ่ายตำรับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ต้องผ่านการอบรม หลักสูตรการใช้ตำรับยาท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่จากกระทรวงสาธารณสุข หรือหลักสูตรท่ีกระทรวงสาธารณสุข หรอื สภาวชิ าชพี การแพทย์แผนไทยใหก้ ารรบั รอง ขอ้ ๔ แนวทางการปรุงยาสำหรับผู้ป่วยเฉพาะรายของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและ หมอพน้ื บ้าน มดี ังน้ี (๑) วัตถุดิบกัญชาต้องอยู่ในรูปแบบที่ไม่สามารถแยกเป็นช่อดอก ใบ เพ่ือนำไปใช้ในทางท่ีผิดได ้ โดยอาจใช้เครื่องยาผสมกัญชากลาง ท่ีตอ้ งนำมาผสมกับตัวยาอน่ื ในตำรับในการปรงุ ยาใหแ้ ก่ผู้ปว่ ยเฉพาะราย ท้ังน้ี เคร่ืองยาผสมกัญชากลาง หมายถึง เคร่ืองยาท่ีได้จากการนำกัญชามาผสมกับตัวยาอื่นอีก ๑ - ๒ ชนิด เช่น พรกิ ไทย ซ่งึ เป็นตัวยาที่ใช้มากในตำรบั ยาเข้ากญั ชา เพื่อป้องกนั นำไปเสพเพื่อนนั ทนาการ
378 สำนกั งาน ป.ป.ส. (๒) กรณีหมอพ้ืนบ้าน ต้องมีการระบุองค์ความรู้และภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ชัดเจนและได้รับ การรบั รองจากกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคบั ตงั้ แตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป(๑) ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๙ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ปยิ ะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข (๑) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๙๔ ง ลงวนั ท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๖๒
พระราชบญั ญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 379 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กำหนดตำรับยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ ท่มี ีกัญชาปรุงผสมอยู ่ ที่ใหเ้ สพเพ่ือรกั ษาโรคหรอื การศกึ ษาวจิ ยั ได ้ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยท่ีเป็นการสมควรกำหนดตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ที่ให้เสพ เพ่ือการรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชาการ มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด และนำไปใช้ประโยชนใ์ นทางการแพทย์ของประเทศ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๘ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสขุ ออกประกาศไว้ ดังต่อไปน ้ี ข้อ ๑ ตำรับยาท่ีได้การรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งครอบคลุมท้ังตำรับยา แผนปจั จบุ นั และตำรับยาแผนไทย ขอ้ ๒ ตำรับยาแผนไทยท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ ในตำราการแพทย์แผนไทย โดยคำแนะนำของกรมการ แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื กและสภาการแพทย์แผนไทย ตามบญั ชรี ายชื่อแนบท้ายประกาศฉบับนี้ ข้อ ๓ ตำรบั ยาทไี่ ดร้ บั อนญุ าตใหผ้ ลติ ในประเทศ ภายใตก้ ารรกั ษาโรคกรณจี ำเปน็ สำหรบั ผปู้ ว่ ยเฉพาะราย (Special Access Scheme) ข้อ ๔ ตำรับยาที่ได้รับอนุญาตภายใต้โครงการศึกษาวิจัยที่ได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา ขอ้ ๕ ตำรับยาที่หมอพ้ืนบ้านปรุงขึ้นจากองค์ความรู้และภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยท่ีชัดเจน และได้รับการรับรองจากกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ทั้งน้ี วัตถุดิบจากกัญชาต้องไม่ สามารถแยกเปน็ ชอ่ ดอก ใบ เพื่อนำไปใชใ้ นทางท่ผี ิดได ้ ข้อ ๖ ประกาศนีใ้ ห้ใช้บงั คบั ต้งั แต่วันถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป(๑) ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ปิยะสกล สกลสตั ยาทร รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข (๑) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๙๔ ง ลงวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๒
380 สำนักงาน ป.ป.ส. บญั ชีรายช่อื ตำราการแพทยแ์ ผนไทยและตำรบั ยาแผนไทย ทีป่ ระกาศกำหนดใหเ้ ปน็ ตำรบั ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ทม่ี กี ัญชาปรุงผสมอย่ ู ท่ีอนญุ าตใหเ้ สพเพ่ือรกั ษาโรคหรือการศึกษาวจิ ัยได้ แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง กำหนดตำรบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ ทมี่ ีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ใี หเ้ สพเพ่อื รกั ษาโรค หรือการศกึ ษาวิจยั ได้ พ.ศ. ๒๕๖๒ ตำรับยาทม่ี ปี ระสทิ ธิผล มีความปลอดภยั วธิ กี ารผลติ ไม่ยุง่ ยากซบั ซ้อน ตัวยาหาไมย่ าก และมีสรรพคณุ ตำรับทแี่ กป้ ญั หาสาธารณสุข จำนวน ๑๖ ตำรับ ชอื่ ตำรับยา ท่มี าของตำรบั ยา ๑. ยาอคั คินวี คณะ คมั ภีร์ธาตุพระนารายน์ ๒. ยาศุขไสยาศน์ คัมภีรธ์ าตพุ ระนารายน ์ ๓. ยาแกล้ มเนาวนารวี าโย ตำรายาศลิ าจารึกในวดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม ๔. ยาน้ำมันสนนั่ ไตรภพ ตำรายาศิลาจารกึ ในวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม ๕. ยาแกล้ มขน้ึ เบอื้ งสงู ตำรายาศิลาจารกึ ในวดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม ๖. ยาไฟอาวธุ แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑ พระยาพศิ ณุประสาทเวช ๗. ยาแกน้ อนไมห่ ลบั /ยาแกไ้ ขผ้ อมเหลือง แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เล่ม ๑ พระยาพิศณปุ ระสาทเวช ๘. ยาแก้สณั ฑฆาต กล่อนแหง้ แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพศิ ณปุ ระสาทเวช ๙. ยาอัมฤตโอสถ แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ๑๐. ยาอไภยสาลี เวชศึกษา พระยาพิศณปุ ระสาทเวช ๑๑. ยาแก้ลมแก้เส้น เวชศาตร์วัณ์ณณา ๑๒. ยาแก้โรคจติ อายุรเวทศกึ ษา (ขนุ นทิ เทสสุขกจิ ) เลม่ ๒ ๑๓. ยาไพสาลี อายรุ เวทศกึ ษา (ขุนนทิ เทสสุขกิจ) เล่ม ๒ ๑๔. ยาทารดิ สดี วงทวารหนักและโรคผวิ หนัง อายุรเวทศกึ ษา (ขุนนิทเทสสขุ กิจ) เล่ม ๒ ๑๕. ยาทำลายพระสเุ มรุ คัมภีรแ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ ๒ ขุนโสภติ บรรณลกั ษณ์ ๑๖. ยาทัพยาธิคุณ คมั ภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒ ขุนโสภติ บรรณลกั ษณ ์
พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 381 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี ๖๖ (พ.ศ. ๒๕๒๙)* เรอ่ื ง กำหนดมาตรฐานวา่ ด้วยปรมิ าณ ส่วนประกอบ คณุ ภาพ ความบรสิ ุทธิ์ หรือลกั ษณะอ่ืนของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ตลอดจนการบรรจแุ ละการเกบ็ รกั ษายาเสพตดิ ให้โทษ ตามความในพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๘ (๓) แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ใหโ้ ทษออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปนี้ การคำนวณหาสารบริสุทธ์ิของฝ่ิน ให้คำนวณหาเฉพาะมอร์ฟีน คิดคำนวณเป็นแอนไฮดรัสมอร์ฟีน ท่มี ีอย่ใู นฝนิ่ ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๒๙ เทอดพงษ์ ไชยนันท์ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ รกั ษาการแทน รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ (๑) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๐๓ ตอนท่ี ๒๓ ลงวนั ท่ี ๑๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๙
382 สำนกั งาน ป.ป.ส. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ท่ี ๙๓ (พ.ศ. ๒๕๓๑) เรอ่ื ง กำหนดมาตรฐานว่าดว้ ยปรมิ าณ ส่วนประกอบ คณุ ภาพ ความบรสิ ทุ ธ์ิ หรือลกั ษณะอ่นื ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ตลอดจนการบรรจแุ ละการเก็บรักษายาเสพติดให้โทษ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘ (๓) แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนดมาตรฐานว่าด้วยปริมาณ ส่วนประกอบ คุณภาพ ความบริสุทธิ์ หรือลักษณะอื่นของยาเสพติดให้โทษตลอดจนการบรรจุและการเก็บรักษายาเสพติดให้โทษ ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานทีก่ ำหนดไวใ้ นตำรา ดังต่อไปน ้ี ๑. ตำรายาของประเทศไทย ฉบบั พมิ พค์ ร้ังที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๓๐) เล่มที่ ๑ ภาค ๑ (Thai Phar - macopoeia, First Edition (1987), Volume 1, Part 1) ซง่ึ จดั พมิ พโ์ ดยกระทรวงสาธารณสขุ และฉบบั เพมิ่ เตมิ ๒. ตำราอินเตอร์แนชนาลฟาร์มาโคเปีย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๓ (Third edition of the International Pharmacopoeia) และฉบบั เพมิ่ เติม ๓. ตำราฟารม์ าโคเปยี ของสหรฐั อเมริกา ฉบบั แกไ้ ขครงั้ ที่ ๒๑ (ค.ศ. ๑๙๘๕) และฉบบั เพมิ่ เติม ตำราแนชนาลฟอร์มูลารี่ ฉบับที่ ๑๖ (ค.ศ. ๑๙๘๕) และ ฉบับเพิ่มเติม (The United States Pharmacopoeia twenty-first Revision (1985) and Supplements, The National Formulary, Sixteenth edition (1985) and Supplements) ๔. ตำราบริติชฟาร์มาโคเปียฉบับ ค.ศ. ๑๙๘๐ เล่มท่ี ๑ เล่มที่ ๒ และฉบับเพิ่มเติม (British pharmacopoeia 1980 Volume I, Volume II and Addenda) ๕. ตำราฟารม์ าซูตคิ ลั โคเด็กซ์ ฉบบั พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑๑ และฉบับเพิ่มเตมิ (The Pharmaceutical Codex Eleventh Edition and Supplements) ๖. ตำราบริติชฟาร์มาโคเปีย (สำหรับสัตวแพทย์) ค.ศ. ๑๙๘๕ และฉบับเพิ่มเติม (British Pharmacopoeia (Veterinary) 1985 and Supplements) ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๑ เทอดพงษ์ ไชยนนั ทน ์ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข (ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๐๕ ตอนที่ ๗๖ ลงวนั ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๑)
พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 383 ที่ นร ๑๑๐๖ (๕)/๔๗๒๖-๔๗๓๘ สำนกั งาน ป.ป.ส. ถนนดนิ แดง เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐ ๑๕ เมษายน ๒๕๒๙ เรอื่ ง การคำนวณหาสารบรสิ ทุ ธิข์ องฝ่นิ เรยี น (แจ้งทา้ ย) อ้างถงึ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบบั ท่ี ๖๖ (พ.ศ. ๒๕๒๙) ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่อ้างถึง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้อาศัยอำนาจ ตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๘(๓) แหง่ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และโดยความเหน็ ชอบ ของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ได้กำหนดให้คำนวณหาสารบริสุทธิ์ของฝิ่น โดยถือเอาปริมาณ ของแอนไฮดรัสมอรฟ์ นี ท่ีมีอย่ใู นฝนิ่ น้นั ฉะนั้น เพ่ือให้การตรวจหาสารบริสุทธ์ิของฝิ่นเป็นไปตามประกาศดังกล่าว สำนักงาน ป.ป.ส. จึงได ้ จัดประชุมผู้แทนสถานตรวจพิสูจน์ประกอบด้วยผู้แทนจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมตำรวจ* สำนกั งาน ป.ป.ส. กรมอัยการ* กรมสรรพสามิต และสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เมือ่ วันศุกรท์ ี่ ๑๔ มนี าคม ๒๕๒๙ เพือ่ กำหนดปริมาณฝ่ินที่จำเปน็ จะต้องคำนวณหาสารบรสิ ุทธิ์ ซึ่งที่ประชมุ ได้พิจารณาแลว้ มีมติ ใหค้ ำนวณหาสารบรสิ ทุ ธจ์ิ ากของกลางฝน่ิ ทม่ี ปี รมิ าณสทุ ธติ ง้ั แต่ ๕๐๐ กรมั ขน้ึ ไป ฝนิ่ ทมี่ ปี รมิ าณ ไมถ่ งึ ๕๐๐ กรมั ให้สถานตรวจพิสูจน์ทุกแห่งทำการตรวจพิสูจน์เฉพาะด้านคุณภาพวิเคราะห์ได้โดยไม่ต้องส่งไปตรวจพิสูจน์ ด้านปรมิ าณวเิ คราะหท์ ก่ี รมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมตำรวจ หรอื สำนักงาน ป.ป.ส. จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดดำเนนิ การตามมติดังกลา่ วดว้ ย จกั ขอบคณุ ย่งิ ขอแสดงความนบั ถอื พลตำรวจตรี ชวลติ ยอดมณ ี เลขาธกิ ารคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ * ปจั จุบนั คอื สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ * ปัจจบุ นั คอื สำนกั งานอัยการสูงสดุ
384 สำนักงาน ป.ป.ส. ระเบยี บกระทรวงสาธารณสุข วา่ ดว้ ยการเกบ็ รกั ษายาเสพติดใหโ้ ทษของกลาง พ.ศ. ๒๕๔๑ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงแก้ไขระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการเก็บรักษายาเสพติดให้โทษ ของกลาง พ.ศ. ๒๕๒๘ และระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการเก็บรักษายาเสพติดให้โทษของกลาง (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๒ ใหเ้ หมาะสมกบั สภาวการณ์ในปจั จุบัน และให้สอดคล้องกบั กฎหมายวา่ ด้วยยาเสพติด ใหโ้ ทษ กบั ระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการจบั ยดึ และตรวจพสิ จู นย์ าเสพตดิ และคำสง่ั สำนกั นายกรฐั มนตรี ว่าด้วยการแต่งตั้งคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดระดับจังหวัด กระทรวงสาธารณสุข จึงวางระเบยี บไว้ ดังน ี้ หมวด ๑ บทท่ัวไป ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการเก็บรักษายาเสพติดให้โทษ ของกลาง พ.ศ. ๒๕๔๑” ขอ้ ๒ ระเบยี บนี้ให้ใชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป ขอ้ ๓ ให้ยกเลกิ (๑) ระเบยี บกระทรวงสาธารณสขุ วา่ ดว้ ยการเกบ็ รกั ษายาเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลาง พ.ศ. ๒๕๒๘ (๒) ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการเก็บรักษายาเสพติดให้โทษของกลาง (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๒ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกำหนด หรือกฎอื่นท่ีมีกำหนดไว้แล้วในระเบียบนี้หรือซ่ึงขัด หรือแย้ง กบั ข้อความแห่งระเบยี บนใี้ หใ้ ช้ระเบยี บนี้แทน ขอ้ ๔ ในระเบยี บนี้ “ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลาง” หมายความวา่ ยาเสพติดให้โทษท่ีมผี ู้สง่ มอบให้กระทรวงสาธารณสขุ หรอื ทีศ่ าลส่งั ริบ หรือยดึ ไว้ แล้วตกเป็นของกระทรวงสาธารณสขุ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาเสพตดิ ให้โทษ “คณะกรรมการกลาง” หมายความวา่ คณะกรรมการกลางตามทก่ี ำหนดไว้ในระเบียบน้ี “คณะกรรมการระดับจังหวัด” หมายความว่า คณะกรรมการที่มีอำนาจหน้าท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับ ยาเสพติดใหโ้ ทษของกลางท่อี ยใู่ นความรับผดิ ชอบของจังหวดั ข้อ ๕ ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอำนาจวินิจฉัยช้ีขาด ปญั หาเก่ยี วกบั การปฏิบตั ติ ามระเบียบน้ ี
พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 385 หมวด ๒ คณะกรรมการกลาง และคณะกรรมการระดับจงั หวดั ข้อ ๖ ให้มีคณะกรรมการกลาง ประกอบด้วย เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาเป็นประธาน และผแู้ ทนสำนกั งาน ป.ป.ส. ผแู้ ทนกรมตำรวจ* ผแู้ ทนสำนกั งานอยั การสงู สดุ ผแู้ ทนกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ผู้แทนกรมการแพทย์ ผู้แทนกรมสุขภาพจิต เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง กับ กรรมการอ่ืน ๆ ท่ีกระทรวง สาธารณสุขแตง่ ตัง้ ไม่เกินหา้ คนเป็นกรรมการ ใหผ้ ้อู ำนวยการกองควบคมุ วัตถุเสพตดิ เปน็ กรรมการและเลขานุการ ข้อ ๗ ให้มีคณะกรรมการระดับจังหวัดรับผิดชอบเก่ียวกับยาเสพติดให้โทษของกลางท่ีอยู่ใน ความรับผิดชอบของจังหวัด มีองค์ประกอบตามคำส่ังสำนักนายกรัฐมนตรีเกี่ยวกับการแต่งต้ังคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดระดับจังหวัดเปน็ กรรมการ ข้อ ๘ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจำนวน กรรมการทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมให้กรรมการที่มาประชุมเลือก กรรมการคนหน่ึงเป็นประธานในท่ปี ระชุม การวินิจฉยั ช้ีขาดของทปี่ ระชุมใหถ้ ือเสยี งขา้ งมาก กรรมการคนหน่ึงใหม้ ีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสียงเท่ากนั ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียง เพม่ิ ขน้ึ อกี เสยี งหนงึ่ เปน็ เสียงชข้ี าด ข้อ ๙ ให้คณะกรรมการกลาง มีหน้าท่ใี หค้ ำแนะนำหรอื ความเหน็ เกยี่ วกับ (๑) การนำยาเสพติดใหโ้ ทษของกลางไปใช้ประโยชน์ (๒) การจำหน่ายยาเสพติดให้โทษของกลาง (๓) การทำลายยาเสพตดิ ให้โทษของกลาง (๔) การอ่ืนที่กำหนดไว้ในระเบียบน้ีหรือตามท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขหรือ ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ มอบหมาย ข้อ ๑๐ ใหค้ ณะกรรมการระดบั จงั หวดั มีอำนาจหนา้ ทีเ่ กยี่ วกบั (๑) รับผดิ ชอบในการเกบ็ รักษายาเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลางทอี่ ยูใ่ นความรบั ผิดชอบของจงั หวดั (๒) พิจารณาหรอื รบั ผดิ ชอบการทำลายยาเสพตดิ ให้โทษของกลาง (๓) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการและคณะทำงานตามความจำเป็น (๔) พิจารณาหรือดำเนินการอ่ืน ๆ ตามท่ีกำหนดไว้ในระเบียบน้ี หรือตามท่ีกระทรวง สาธารณสขุ มอบหมาย การตรวจรับและการเก็บหรมักวษดาย๓า เสพติดใหโ้ ทษของกลาง สว่ นที่ ๑ การตรวจรับ ขอ้ ๑๑ ให้มีคณะกรรมการตรวจรับยาเสพติดให้โทษของกลางประกอบด้วย ผู้ท่ีเลขาธิการ คณะกรรมการอาหารและยา หรือผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลาง หรือ คณะกรรมการระดบั จังหวัด แล้วแต่กรณี ไมน่ อ้ ยกวา่ สามคนเป็นกรรมการ * ปัจจบุ ัน คือ สำนักงานตำรวจแห่งชาต ิ
386 สำนักงาน ป.ป.ส. ขอ้ ๑๒ ในระดับจังหวัดให้คณะกรรมการระดับจังหวัดกำหนดสถานที่ตรวจรับและจัดต้ังคลังเก็บ รกั ษายาเสพตดิ ให้โทษของกลางตามความจำเป็นและเหมาะสม ข้อ ๑๓ ใหค้ ณะกรรมการตรวจรับยาเสพติดใหโ้ ทษของกลาง มหี นา้ ที่ (๑) ตรวจรบั และเกบ็ รกั ษายาเสพตดิ ให้โทษของกลาง (๒) จดั ทำบญั ชรี ายละเอยี ดแสดงการตรวจรบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลาง ตามแบบ ๑ แนบทา้ ย ระเบียบนี้ (๓) จดั ทำหลกั ฐานการรบั หรือส่งมอบยาเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลาง (๔) เก็บรักษากุญแจคลังยาเสพติดให้โทษของกลางตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขท่ี เลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยาหรือผวู้ า่ ราชการจงั หวดั แล้วแต่กรณีกำหนด (๕) การอื่นที่กำหนดไว้ในระเบียบน้ีหรือตามที่คณะกรรมการกลางหรือคณะกรรมการ ระดบั จังหวัดมอบหมาย ขอ้ ๑๔ การตรวจรับยาเสพติดให้โทษของกลาง ให้คณะกรรมการตรวจรับยาเสพติดให้โทษของ กลางตรวจเอกสารดังน้กี ่อนตรวจรบั (๑) สำเนารายงานการตรวจพิสจู น์จากต้นเรอ่ื ง (๒) สำเนาหนงั สือนำส่งตรวจพิสูจนจ์ ากหนว่ ยงานนำส่งตรวจพิสจู น์ (๓) บัญชยี าเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลางตามแบบที่คณะกรรมการกลางกำหนด ข้อ ๑๕ ยาเสพติดให้โทษของกลางท่ีจัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ หรือในประเภท ๕ เม่ือได้มีการตรวจพิสูจน์ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจับ ยึด และตรวจพิสูจน์ยาเสพติดแล้ว ให้หน่วยงานที่เก็บรักษา สำนักงาน ป.ป.ส. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาหรือจังหวัดพิจารณา ทำลายหรือนำไปใช้ประโยชน์ได้ ส่วนที่ ๒ การเกบ็ รักษา ข้อ ๑๖ ในส่วนกลางให้เก็บรักษายาเสพติดให้โทษของกลางไว้ที่คลังยาเสพติดให้โทษของกลาง กองควบคุมวตั ถเุ สพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ข้อ ๑๗ ในระดับจังหวัดให้เก็บรักษายาเสพติดให้โทษของกลางไว้ท่ีคลังเก็บรักษายาเสพติดให้โทษ ของกลาง ณ สถานท่ที คี่ ณะกรรมการระดบั จังหวดั กำหนด ขอ้ ๑๘ ในการเก็บรักษายาเสพติดให้โทษของกลาง ให้คณะกรรมการตรวจรับยาเสพติดให้โทษ ของกลางจดั ทำเป็นเครอื่ งหมาย รหัส ลำดบั ท่ี หรอื หลักฐานอยา่ งถาวรไว้บนหีบห่อ หรือภาชนะบรรจุยาเสพติด ให้โทษของกลาง เพื่อสะดวกในการตรวจสอบ ขอ้ ๑๙ การเปิดคลังเก็บรักษายาเสพติดให้โทษของกลางเพื่อตรวจรับ การเก็บรักษา การจำหน่าย และการทำลายหรือเพื่อการอื่นใดในราชการ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเลขาธิการ คณะกรรมการอาหารและยาหรอื ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดกอ่ น แลว้ แต่กรณี
พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 387 เมื่อได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรือผู้ว่าราชการจังหวัดตามวรรคก่อน แล้ว ให้คณะกรรมการตรวจรับยาเสพติดให้โทษของกลางดำเนนิ การให้เป็นไปตามข้อ ๑๓ หมวด ๔ การใชป้ ระโยชนห์ รอื จำหน่าย ขอ้ ๒๐ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลางทอ่ี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของสำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ทสี่ ามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นราชการหรอื จำหนา่ ยได้ ใหส้ ำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยาโดยความเหน็ ชอบ ของคณะกรรมการกลางขออนุมัติกระทรวงสาธารณสุข เพื่อใช้ประโยชน์ในราชการหรือจำหน่ายตามท่ีเห็น สมควร ขอ้ ๒๑ ยาเสพติดให้โทษของกลางท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของจังหวัดท่ีสามารถนำไปใช้ประโยชน์ใน ราชการได้ให้จังหวัดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการระดับจังหวัดเสนอคณะกรรมการกลางเพื่อให ้ ความเหน็ ต่อกระทรวงสาธารณสุขในการพิจารณาอนมุ ัติตามทเี่ ห็นสมควร หมวด ๕ การทำลาย ข้อ ๒๒ ยาเสพติดให้โทษของกลางท่ีไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ หรือจำหน่ายได้ตามความใน หมวด ๔ ให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลางดำเนินการ ทำลาย โดยระบวุ ธิ ที ำลายไว้อยา่ งชดั แจง้ การทำลายยาเสพติดให้โทษของกลาง ให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาดำเนินการทำลาย ตามระเบยี บนอ้ี ยา่ งน้อยปีละ ๑ ครง้ั หรือตามทคี่ ณะกรรมการกลางมอบหมาย ข้อ ๒๓ ในระดับจังหวดั ยาเสพติดใหโ้ ทษของกลางทไี่ มส่ ามารถนำไปใช้ประโยชน์ หรอื จำหน่ายได้ให้ คณะกรรมการระดบั จงั หวดั แตง่ ตงั้ คณะทำงานทำลายยาเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลางโดยระบวุ ธิ ที ำลายไวอ้ ยา่ งชดั แจง้ การทำลายยาเสพติดให้โทษของกลาง ให้หน่วยงานท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการเก็บรักษายาเสพติดให้โทษ ของกลางดำเนนิ การทำลายตามระเบยี บนอี้ ยา่ งนอ้ ยปลี ะ ๑ ครงั้ หรอื ตามทค่ี ณะกรรมการระดบั จงั หวดั มอบหมาย ข้อ ๒๔ การทำลายยาเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลางใหด้ ำเนินการ ดงั นี้ (๑) ในส่วนกลาง ให้กองควบคุมวัตถุเสพติดเสนอขออนุมัติทำลายยาเสพติดให้โทษ ของกลาง ให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นผู้อนุมัติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลาง โดยให้เสนอแต่งตั้งคณะทำงานทำลายยาเสพติดให้โทษของกลางและระบุวิธีทำลายไว้อย่างชัดแจ้ง เมื่อได้รับ อนมุ ตั ใิ ห้ทำลายแล้วให้คณะทำงานดังกลา่ วดำเนินการทำลายยาเสพตดิ ให้โทษของกลางตอ่ ไปจนแลว้ เสรจ็ (๒) ในระดับจังหวัด ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเก็บรักษายาเสพติดให้โทษ ของกลาง เสนอขออนุมัติทำลายยาเสพติดให้โทษของกลาง ให้คณะกรรมการระดับจังหวัดเป็นผู้อนุมัติโดย
388 สำนักงาน ป.ป.ส. ให้เสนอแต่งต้ังคณะทำงานทำลายยาเสพติดให้โทษของกลางและระบุวิธีทำลายไว้อย่างชัดแจ้ง เมื่อได้รับอนุมัติ ให้ทำลายแลว้ ใหค้ ณะทำงานดังกลา่ วดำเนินการทำลายยาเสพตดิ ให้โทษของกลางต่อไปจนแล้วเสรจ็ ขอ้ ๒๕ กรณียาเสพติดให้โทษของกลางที่จัดเป็นยาให้โทษในประเภท ๔ หรือในประเภท ๕ ท่ี หนว่ ยงานเกบ็ รกั ษาอยู่ เม่ือประสงคจ์ ะทำลายให้ดำเนินการดังต่อไปน้ี คือ (๑) ในสว่ นกลาง ใหส้ ว่ นราชการระดบั กรมเจา้ สงั กดั เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบในการทำลายยาเสพตดิ ให้โทษของกลางในประเภท ๔ หรือในประเภท ๕ โดยแต่งต้ังคณะทำงานทำลายยาเสพติดให้โทษของกลาง ไม่น้อยกว่าห้าคนเป็นคณะทำงาน ทั้งน้ี ให้มีผู้แทนของคณะกรรมการกลางและผู้แทนสำนักงาน ป.ป.ส. ร่วมเป็นคณะทำงานด้วย ให้คณะทำงานดังกล่าวตรวจสอบชนิดและปริมาณของยาเสพติดให้โทษของกลาง บนั ทกึ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานแล้วดำเนินการทำลายจนแล้วเสรจ็ (๒) ในระดับจังหวัด ให้คณะกรรมการระดับจังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบในการทำลายยาเสพติด โทษของกลางในประเภท ๔ หรือในประเภท ๕ โดยแต่งต้ังคณะทำงานทำลายยาเสพติดให้โทษของกลาง จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่าห้าคนเป็นคณะทำงาน ท้ังน้ี ให้มีนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และ ผู้แทนสำนักงาน ป.ป.ส. ร่วมเป็นคณะทำงานด้วย ให้คณะทำงานดังกล่าวตรวจสอบชนิดและปริมาณของ ยาเสพตดิ ให้โทษของกลางบันทกึ ไว้เปน็ หลักฐานแลว้ ดำเนนิ การทำลายจนแล้วเสร็จ หมวด ๖ การรายงาน ขอ้ ๒๖ ในการเปิดคลังเก็บรักษายาเสพติดให้โทษของกลางตามข้อ ๑๙ เพื่อดำเนินการตรวจรับ การเก็บรักษา การจำหน่าย การทำลายหรือดำเนินการอ่ืน ๆ ให้คณะกรรมการตรวจรับยาเสพติดให้โทษ ของกลางรายงานผลการดำเนินการให้เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรือผู้ว่าราชการจังหวัด แลว้ แต่กรณที ราบทุกครง้ั ในการรายงานอย่างนอ้ ยต้องมรี ายการ ดังต่อไปนี้ (๑) รายงานการตรวจรบั รายการจำหนา่ ยยาเสพตดิ ให้โทษของกลาง (๒) บัญชีรายละเอียดแสดงการตรวจรับยาเสพติดให้โทษของกลางตามแบบ ๑ แนบท้าย ระเบียบนี้ (๓) หลักฐานการรบั หรือสง่ มอบยาเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลาง (๔) รายชื่อผูเ้ ก็บรักษากญุ แจคลังรกั ษายาเสพตดิ ใหโ้ ทษของกลาง (๕) รายการอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องหรือตามที่คณะกรรมการกลาง หรือคณะกรรมการระดับ จังหวดั แล้วแตก่ รณกี ำหนด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 622
Pages: