Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมกฎหมายยาเสพติดพร้อมด้วยกฎกระทรวง ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

รวมกฎหมายยาเสพติดพร้อมด้วยกฎกระทรวง ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2020-06-16 00:22:36

Description: ผลิตโดย สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)
หนังสือ,เอกสาร,บทความ และภาพถ่ายที่นำมาเผยแพร่นี้
ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ประกาศคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๐๘/๒๕๕๗ 289 บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๓ แบบ ง. { ท.่ี ................. ....(ช่อื สถานท่แี ละท่ีตั้ง)..... ....(วัน เดือน ป)ี .... เร่ือง รายงานการตรวจพสิ จู นส์ ง่ิ ของตอ้ งสงสยั วา่ เปน็ ยาเสพตดิ ตามประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาต ิ ฉบับที่ ๑๐๘/๒๕๕๗ ลงวันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ตัวอยา่ ง เรียน ....(หัวหน้าสว่ นราชการผ้นู ำส่ง).... อ้างถงึ ................................................ ตามหนังสือที่อ้างถึง ได้นำส่งส่ิงของต้องสงสัยว่าเป็นยาเสพติด โดย....(ผู้นำส่ง)....ได้นำส่ิงของ ต้องสงสัยว่าเป็นยาเสพติด ลักษณะสิ่งของต้องสงสัยเป็น..........................................ของผู้เข้ารับการบำบัดฟ้ืนฟ ู ชื่อ (นาย/นางสาว/นาง)......................................................เพื่อทำการตรวจพิสูจน์ ซึ่งสถานตรวจพิสูจน์ได้รับไว ้ เมื่อวันที่...........เดือน...................................พ.ศ...............และได้ทำการตรวจพิสูจน์แล้ว ปรากฎผลตามรายงาน การตรวจพิสูจน์ท้ายหนังสือนี้ ทั้งนี้ ขอความร่วมมือจัดส่งสำเนาผลการตรวจพิสูจน์ให้กับ....(ศูนย์เพื่อ การคัดกรอง).... เพ่ือดำเนินการบันทึกผลการตรวจพิสูจน์ลงในทะเบียนประวัติผู้เข้ารับการบำบัดฟ้ืนฟู และ จดั เก็บรายงานผลการตรวจพิสจู น์ดงั กลา่ วไวเ้ ปน็ หลักฐานต่อไป จงึ เรียนมาเพ่ือโปรทราบ ขอแสดงความนบั ถอื ลงชือ่ .......................................... (.........................................) ตำแหน่ง........................................ สว่ นราชการเจา้ ของเรื่อง................................. โทร................................................... ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- รายงานการตรวจพิสจู น ์ ทะเบยี นตรวจที.่ ............ รายละเอียดสิง่ ทีส่ ง่ มาตรวจ .............................................................................................................................................................................. ผลการตรวจพสิ จู น ์ .............................................................................................................................................................................. ยาเสพตดิ ที่เหลือจากการตรวจพิสูจน ์ .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื .......................................ผ้ตู รวจ (......................................) ตำแหนง่ ....................................

บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๓ 290 สำนักงาน ป.ป.ส. แบบ จ. บัญชีแสดงรายละเอียดยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท ๑ หรอื ประเภท ๒ ท่เี หลือจากการตรวจพิสูจน์ (ซ่งึ เป็นส่ิงของตอ้ งสงสัยว่าเปน็ ยาเสพติด ตามประกาศคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๐๘/๒๕๕๗ ลงวนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ลำดบั เลขท่ีหนังสือ หน่วย ลักษณะ หนงั สือนำส่ง ผลการตรวจพิสูจน์ หมายเหต ุ ท ่ี นำส่งสิง่ ของ ราชการท ่ี สสยงงิ่ สาขเัยสอวพงา่ ตตเป้อดิ งน็ ตจราวกจสพถิสาจู นน ์ ทตะรเวบจียทนี ่ ช่อื ย าเสพติด นกำ้ หาพรนิสตักจรนกว่อ์ จน น้ำหนกั สุทธ ิ น้ำหนกั ช่งั ตอ้ งสงสยั ว่า นำส่ง ทั้งหบี ห่อ เป็นยาเสพตดิ (ลงช่ือ).......................................ผูส้ ง่ มอบ ตำแหน่ง....................................

บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๓ แบบ ฉ. บญั ชีแสดงรายละเอียดยาเสพติดให้โทษประเภท ๕สารระเหย และสง่ิ ของต้องสงสัยว่าเปน็ ยาเสพตดิ ท่ีตรวจพิสจู นแ์ ลว้ ปรากฎว่าไม่ใช่ยาเสพตดิ ทเ่ี หลอื จาก การตรวจพิสูจน์ (ซ่งึ เป็นสงิ่ ของตอ้ งสงสัยวา่ เปน็ ยาเสพติด ตามประกาศคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๐๘/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ลำดับ เลขทห่ี นังสือ หนว่ ย ลกั ษณะ หนังสอื นำส่ง ผลการตรวจพสิ จู น ์ หมายเหต ุ ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๐๘/๒๕๕๗ 291 ที่ นำสง่ สง่ิ ของ ราชการท ่ี สสยงิ่งสาขเยั สอวพงา่ ตตเป้อิดงน็ ตจราวกจสพถสิ าูจนน ์ ทตะรเวบจยี ทนี ่ ช่อื ย าเสพตดิ นก้ำหาพรนิสตกัจรนกว่อ์ จน นำ้ หนกั สุทธิ นำ้ หนกั ช่งั ต้องสงสัยว่า นำสง่ ทงั้ หีบหอ่ เปน็ ยาเสพติด (ลงชือ่ ).......................................ผู้สง่ มอบ ตำแหน่ง....................................

292 สำนักงาน ป.ป.ส. บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๔ แบบ ก. ท.่ี ................. ....(ช่อื ศูนยเ์ พอื่ การคัดกรองและทีต่ งั้ )..... { ....(วนั เดอื น ปี).... เรือ่ ง รายงานผลการไมม่ าแสดงตวั เขา้ สกู่ ระบวนการตามประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาต ิ ตวั อย่าง ฉบับที่ ๑๐๘/๒๕๕๗ ลงวนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เรียน ....(หวั หน้าสว่ นราชการพนักงานสอบสวน).... ส่งิ ท่สี ง่ มาดว้ ย ๑. สำเนาบนั ทกึ ผลการตรวจปสั สาวะเบื้องตน้ (แบบ บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๑) จำนวน ๑ ฉบับ ๒. สำเนาบนั ทกึ การยนิ ยอมเขา้ บำบดั ฟืน้ ฟู (แบบ บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๒) จำนวน ๑ ฉบับ ๓. รายงานผลการตรวจปสั สาวะตามพระราชบญั ญตั ฟิ นื้ ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ ดว้ ย....(ชอ่ื พนกั งานสอบสวน)....ไดพ้ บวา่ ...(ชอื่ ผตู้ อ้ งสงสยั )...เปน็ ผตู้ อ้ งสงสยั วา่ กระทำความผดิ ฐาน ....(เสพยาเสพติด/เสพและครอบครองยาเสพติด)...และได้ส่งบันทึกผลการตรวจปัสสาวะ บันทึกการยินยอมเข้า บำบัดฟน้ื ฟู และรายงานผลการตรวจปสั สาวะตามพระราชบญั ญัตฟิ ้ืนฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ ซ่ึงนัดหมายให้ผู้ต้องสงสัยรายงานตัวเข้ารับการคัดกรองที่...(ช่ือศูนย์เพื่อการคัดกรอง)...ในเวลาทำการ ของวนั ท.ี่ ...(วนั /เดอื น/ป)ี .... นน้ั บดั น้ี เวลานัดหมายใหม้ ารายงานตัวเขา้ รบั การคดั กรองไดล้ ว่ งเลยมาแลว้ ....(ช่อื ศนู ยเ์ พอื่ การคดั กรอง)... จึงขอรายงานผลการไม่มาแสดงตัวเข้าสู่กระบวนการและเอกสารหลักฐานมายังท่าน (รายละเอียดตามสิ่งท่ีส่ง มาด้วย) เพ่ือดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตามความในข้อ ๓ แห่ง ประกาศสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เรื่องการนำตัวผู้ต้องสงสัยเข้ารับการบำบัด ฟนื้ ฟู และการบำบดั ฟน้ื ฟูและการประเมนิ เปน็ ผผู้ ่านการบำบดั ฟนื้ ฟู พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกอบประกาศคณะรกั ษา ความสงบแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๐๘/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ขอแสดงความนบั ถือ ลงช่ือ.......................................... (.........................................) ตำแหนง่ (ผู้อำนวยการศนู ยเ์ พอ่ื การคัดกรอง หรือผไู้ ด้รบมอบอำนาจ) สว่ นราชการเจา้ ของเร่อื ง................................. โทร...................................................

ประกาศคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๐๘/๒๕๕๗ 293 บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๔ แบบ ข. ที.่ ................. ....(ชือ่ สถานบำบดั ฟนื้ ฟูและที่ตง้ั )..... { ....(วนั เดอื น ปี).... เรอื่ ง รายงานผลการไมม่ าแสดงตวั เขา้ สกู่ ระบวนการตามประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาต ิ ตวั อยา่ ง ฉบับที่ ๑๐๘/๒๕๕๗ ลงวนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ เรียน ....(หัวหน้าสว่ นราชการพนักงานสอบสวน).... สิง่ ท่ีสง่ มาด้วย ๑. สำเนาบนั ทึกผลการตรวจปัสสาวะเบอ้ื งต้น (แบบ บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๑) จำนวน ๑ ฉบับ ๒. สำเนาบนั ทกึ การยนิ ยอมเขา้ บำบดั ฟ้นื ฟู (แบบ บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๒) จำนวน ๑ ฉบบั ๓. สำเนาแบบรายงานตัวเพื่อเข้ารบั การคัดกรอง (แบบ บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๕) จำนวน ๑ ฉบบั ๔. รายงานผลการตรวจปสั สาวะตามพระราชบญั ญตั ฟิ นื้ ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ ดว้ ย....(ศนู ยเ์ พอื่ การคดั กรอง)....ไดน้ ดั หมายให.้ ..(ชอื่ ผตู้ อ้ งสงสยั )...เปน็ ผตู้ อ้ งสงสยั วา่ กระทำความผดิ ฐาน ....(เสพยาเสพติด/เสพและครอบครองยาเสพติด)...เข้ารับการบำบัดฟ้ืนฟูท่ี...(ชื่อสถานบำบดฟ้ืนฟู)...ต้ังแต่วันท่ี ...(วนั /เดอื น/ปี)....จนครบกระบวนการบำบดั ฟื้นฟู น้นั ในการน้.ี ...(ชือ่ สถานบำบดั ฟน้ื ฟ)ู .....ขอแจง้ ว่า.....(ชือ่ ผตู้ อ้ งสงสยั ).... เปน็ ผ้ไู ม่ไปเขา้ รบั การบำบัดฟื้นฟตู ามระยะเวลาที่กำหนด เปน็ ผู้เขร้ บั การบำบัดฟ้นื ฟูแต่ไม่เสรจ็ สน้ิ กระบวนการ จึงขอรายงานผลการไม่มาแสดงตัวเข้าสู่กระบวนการบำบัดฟื้นฟู หรือเป็นผู้ท่ีมีพฤติกรรมฝ่าฝืนหรือ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบหรือข้อกำหนดของสถานบำบัดฟ้ืนฟูและเอกสารหลักฐานมายังท่าน (รายละเอียดตามส่ิง ท่ีส่งมาด้วย) เพ่ือดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตามความในข้อ ๓ แห่งประกาศสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เรื่องการนำตัวผู้ต้องสงสัยเข้ารับการ บำบัดฟ้ืนฟู และการบำบัดฟ้ืนฟู และการประเมินเป็นผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟู พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกอบประกาศ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๐๘/๒๕๕๗ ลงวันท่ี ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ จึงเรยี นมาเพ่อื โปรดพิจารณาดำเนนิ การในสว่ นทเี่ ก่ียวข้องตอ่ ไป ขอแสดงความนับถือ ลงช่ือ.......................................... (.........................................) ตำแหนง่ (ผู้อำนวยการสถานบำบดั ฟื้นฟู หรือผ้ไู ดร้ บมอบอำนาจ) สว่ นราชการเจา้ ของเรอ่ื ง................................. โทร...................................................

294 สำนกั งาน ป.ป.ส. บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๕ แบบแสดงตวั เพือ่ เข้ารบั การคดั กรองและนีดหมายเขา้ รบั การบำบัดฟ้นื ฟ ู สถานทบ่ี ันทึก............................................................... วันท่ี...........เดือน.................................พ.ศ.................. ขอรับรองวา่ นาย/นาง/นางสาว...............................................อาย.ุ ................ป ี เลขประจำตวั ประชาชน ผู้ยินยอมเข้ารับการบำบัดฟ้ืนฟูตามบันทึกผลการตรวจปัสสาวะและแบบยินยอมเข้ารับการบำบัดฟื้นฟูได้เข้ารับ การคดั กรองที.่ .......................................................................................ในวันท่ี..................................................... ในการน้ี ได้คัดกรองตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด และส่งเอกสารผลการคัดกรอง และส่งต่อใหอ้ ำเภอหรือเขตเพ่ือบันทกึ ข้อมลู ในระบบขอ้ มลู การบำบดั รกั ษาและฟ้ืนฟผู ตู้ ิดยาเสพติดของประเทศ (บสต.) แล้ว รวมถงึ นดั หมายใหแ้ สดงตัวเพือ่ เข้ารับการบำบัดฟืน้ ฟูที่ ....................................................................................(สถานพยาบาลสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ ) ....................................................................................(ศนู ย์ปรบั เปล่ียนพฤติกรรม) โดยให้ไปแสดงตัวในวันท่ี.......................นับแต่วันที่ยินยอมเข้ารับการบำบัดฟื้นฟูตามแบบน้ี หากไม่แสดงตัวตามวันและสถานที่ที่นัดหมาย พนักงานสอบสวนจะพิจารณาดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วย การฟน้ื ฟสู มรรถภาพผู้ติดยาเสพติด (ลงนาม).......................................ผู้คดั กรอง (ลงนาม)....................................ผ้ยู ินยอมเขา้ บำบัดฟน้ื ฟู (......................................) (.....................................) ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ใบนัดหมายใหไ้ ปเขา้ รบั การบำบัดฟนื้ ฟู (สำหรบั ผู้ยินยอมเขา้ บำบัดฟ้ืนฟู) วนั ท.ี่ ..........เดอื น.................................พ.ศ............... ให้ นาย/นาง/นางสาว...........................................................อาย.ุ .......................ปี เลขประจำตวั ประชาชน เขา้ รบั การบำบัดฟ้นื ฟ ู ....................................................................................(สถานพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข) ....................................................................................(ศนู ย์ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม) โดยให้ไปแสดงตัวในวันท่.ี .....................................นบั แตว่ นั ท่ยี นิ ยอมเข้ารบั การบำบัดฟืน้ ฟตู ามแบบน้ี หากไม่แสดงตัวตามวันและสถานท่ีท่ีนัดหมาย พนักงานสอบสวนจะพิจารณาดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วย การฟืน้ ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ (ลงนาม).......................................ผคู้ ัดกรอง (ลงนาม)......................................ผ้ยู นิ ยอมเขา้ บำบัดฟ้ืนฟ ู (......................................) (.....................................)

ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๐๘/๒๕๕๗ 295 บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๖ หนงั สือรบั รองเปน็ ผ้ผู า่ นการบำบัดฟน้ื ฟ ู ลำดบั เลขทหี่ นงั สือ....../ ศนู ย์ปรับเปล่ียนฯ/สถานพยาบาล....................................... ทต่ี ง้ั .................................................................... วันที่..............เดอื น.........................พ.ศ...................... ขอรับรองว่า นาย/นาง/นางสาว.....................................................................อาย.ุ ....................ป ี เลขประจำตวั ประชาชน อย่บู ้านเลขท/่ี หอ้ งท่.ี ...................................ช่ือแฟลต.......................................ซอย/ถนน................................. หมบู่ ้าน/ชุมชน.....................หม่ทู ี.่ ...................ตำบล/แขวง............................อำเภอ/เขต................................ จังหวัด.............................ไดเ้ ขา้ รับการบำบดั ฟ้ืนฟู ตัง้ แต่วนั ท.่ี .......................ถึงวันท.ี่ ...................................... และไดผ้ า่ นการประเมินตามเกณฑ์ท่ีกระทรวงสาธารณสขุ กำหนดแลว้ ต้ังแตว่ ันท่.ี ..............เดือน.................... พ.ศ....................จงึ ขอออกหนงั สือรับรองไว้เพือ่ เปน็ หลกั ฐาน ใหไ้ ว้ ณ วนั ที.่ .................เดอื น............................พ.ศ................ (ลงนาม)............................................... (.............................................) ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานบำบัดฟ้นื ฟู หรือผูไ้ ด้รบั มอบอำนาจ (ลงนาม).......................................ผผู้ า่ นการบำบดั ฟน้ื ฟ ู (.....................................)

296 สำนักงาน ป.ป.ส. คำสง่ั หัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแห่งชาต ิ ท่ี ๓๒/๒๕๕๙ เรือ่ ง มาตรการป้องกนั การลกั ลอบนำสารเคมี วัสดุ หรอื เครื่องมือบางประเภทไปใชผ้ ลติ ยาเสพตดิ * เพื่อให้การแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการลักลอบนำสารเคมี วัสดุ หรือเคร่ืองมือบางประเภทไปใช ้ ผลติ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษหรอื วตั ถอุ อกฤทธเ์ิ ปน็ ไปโดยมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ จำเปน็ ตอ้ งกำหนดมาตรการทเี่ หมาะสม ในการป้องกันการนำเข้า ส่งออก นำผ่าน ขนย้าย ผลิต ขาย มีไว้ในครอบครองในพ้ืนท่ีควบคุมเพื่อประโยชน ์ ในการป้องกัน ระงับ หรือปราบปรามการกระทำอันเป็นการบ่อนทำลายความสงบเรียบร้อยหรือความมั่นคง ของชาติ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จงึ มคี ำส่งั ดงั ตอ่ ไปน้ ี ขอ้ ๑ ในคำสง่ั นี้ “ผู้ทำธุรกรรม” หมายความว่า (๑) ผู้นำเข้า สง่ ออก นำผา่ น หรือขนย้ายในพื้นทคี่ วบคมุ (๒) ผู้ผลิต ขาย หรือมีไว้ในครอบครองไม่ว่าเพ่ือตนเองหรือผู้อื่นและไม่ว่าจะเพื่อประการอื่นใด และรวมถึงการทงิ้ อยู่ หรือปรากฏอย่ใู นบริเวณทอี่ ยู่ในความครอบครองด้วย ทง้ั น้ี ภายในพน้ื ทค่ี วบคมุ (๓) ตัวแทน นายหน้า หรือคนกลางเจรจาติดต่อระหว่างผูซ้ อื้ ผู้ขาย หรือผูส้ ่ง “ธรุ กรรมตอ้ งสงสยั ” หมายความวา่ ธุรกรรมซง่ึ ปรากฏข้อเทจ็ จริงอย่างใดอย่างหน่งึ ดังน ี้ (๑) ผทู้ ำธรุ กรรมฝ่าฝืนหรอื ไมป่ ฏิบัตหิ นา้ ทีต่ ามข้อ ๒ (๓) (๒) ผทู้ ำธรุ กรรมจงใจแสดงข้อความเทจ็ หรือปกปดิ ข้อความจริงอนั เปน็ สาระสำคัญ (๓) ผู้ทำธุรกรรมซ่ึงมีหนังสือเรียกตามคำส่ังนี้ ไม่มาให้ถ้อยคำ ไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุตามกำหนดเวลา โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมาให้ถ้อยคำแล้วแต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าธุรกรรมน้ัน ได้กระทำโดยสุจริตหรือ ไมเ่ ป็นธรุ กรรมต้องสงสยั (๔) ไม่ปรากฏผู้ทำธุรกรรมมีตัวตนแน่นอน หรือปรากฏว่ามีการใช้ช่ือปลอมหรือเท็จหรือผู้ทำธุรกรรม ได้หลบหนีหรอื ตอ้ งหาคดียาเสพตดิ “เลขาธกิ าร” หมายความว่า เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ * ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๑๓๙ ง ลงวนั ท่ี ๒๑ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙

คำสง่ั หวั หน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓๒/๒๕๕๙ 297 ข้อ ๒ เพื่อประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั ระงับ หรอื ปราบปรามการกระทำอันเป็นการบอ่ นทำลายความสงบ เรียบร้อยหรือความมั่นคงของชาติ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอำนาจประกาศกำหนดมาตรการ ดังตอ่ ไปนใี้ นการป้องกนั การลักลอบนำสารเคมี วัสดุ หรือเคร่อื งมอื บางประเภทไปใช้ผลิตยาเสพติด (๑) ช่อื ปรมิ าณของสารเคมี วสั ดุ หรือเครอ่ื งมือควบคมุ (๒) กำหนดพ้ืนท่ีควบคุมสารเคมี วัสดุ หรือเคร่ืองมือน้ัน โดยอาจกำหนดห้วงเวลาหรือระยะเวลา ตามทเี่ หน็ สมควรก็ได ้ (๓) กำหนดหน้าที่ของผู้ทำธุรกรรมและวิธีดำเนินการอื่นใดเพ่ือควบคุมสารเคมี วัสดุ หรือเครื่องมือ ตาม (๑) และ (๒) ข้อ ๓ ในการปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการ รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และเจา้ พนักงานตามกฎหมายว่าด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ มีอำนาจหนา้ ท่ีดังต่อไปนี ้ (๑) เขา้ ไปในสถานทผ่ี ลติ หรอื เกบ็ สารเคมี วสั ดุ หรอื เครอ่ื งมอื ในกรณที ม่ี เี หตอุ นั ควรสงสยั วา่ เปน็ ธรุ กรรม ตอ้ งสงสยั หรือฝา่ ฝนื หรือไม่ปฏบิ ตั ติ ามคำส่ังน้ ี (๒) ตรวจค้นบุคคล สถานที่ หรือยานพาหนะท่ีบรรทุกสารเคมี วัสดุ หรือเครื่องมือในกรณีท่ีมีเหตุ อนั ควรสงสยั ว่าเป็นธุรกรรมต้องสงสัย หรอื ฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏิบัตติ ามคำสง่ั น้ี ทัง้ นี้ อาจนำสารเคมใี นปรมิ าณเทา่ ที่ จำเปน็ ไปเปน็ ตวั อย่างเพ่ือตรวจสอบได้ (๓) กัก ยึด หรืออายัดสารเคมี วัสดุ เคร่ืองมือ ยานพาหนะ ภาชนะบรรจุ สมุดบัญชีเอกสาร หรือส่ิงของอ่ืน ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นธุรกรรมต้องสงสัย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำส่ังนี้ มีกำหนดระยะเวลาไม่เกินสามสิบวัน ท้ังนี้ ถ้ามีเหตุจำเป็นเลขาธิการอาจพิจารณาขยายระยะเวลาได้อีกไม่เกิน สามสบิ วนั (๔) มีหนังสือเรียกบุคคลมาให้ถ้อยคำ ส่งเอกสาร หรือวัตถุใด ๆ มาเพื่อให้บุคคลนั้นพิสูจน์ว่าธุรกรรม ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับสิง่ ของท่ีกกั ยึด หรอื อายดั ตาม (๓) น้ัน ได้กระทำโดยสจุ ริตหรือไม่เปน็ ธรุ กรรมตอ้ งสงสัย ขอ้ ๔ ในกรณีที่เจ้าพนักงานได้ใช้อำนาจกัก ยึด หรืออายัดตามข้อ ๓ (๓) แล้วให้รายงานเลขาธิการ ภายในสามวัน และให้เลขาธิการมีอำนาจ ดงั ต่อไปน ี้ (๑) สั่งคืนส่ิงของท่ีกัก ยึด หรือแจ้งการถอนอายัด ในกรณีเห็นว่าธุรกรรมนั้นไม่เป็นธุรกรรมต้องสงสัย หรือผู้ทำธรุ กรรมสามารถพิสูจน์ได้วา่ ตนไดท้ ำธรุ กรรมนนั้ โดยสจุ ริต ใหเ้ จา้ พนกั งานแจง้ เปน็ หนงั สอื ไปยงั ผคู้ วรไดร้ บั คนื ใหม้ ารบั สง่ิ ของทก่ี กั ยดึ หรอื แจง้ การถอนอายดั ไว้ ในกรณีที่ไม่สามารถแจ้งได้ ให้โฆษณาทางหนังสือพิมพ์หรือโดยปิดประกาศในท่ีเปิดเผย ณ ที่ทำการ ของเจ้าพนกั งาน และสถานทีอ่ ายดั เปน็ เวลาไมน่ ้อยกวา่ เจด็ วนั (๒) สัง่ ทำลาย หรือจดั การตามที่เหน็ สมควร ในกรณีดงั น้ ี (ก) เห็นว่าธุรกรรมนั้นเป็นธุรกรรมต้องสงสัย และผู้ทำธุรกรรมไม่มาพิสูจน์ว่าตนได้ทำธุรกรรมน้ัน โดยสจุ ริต (ข) ปรากฏว่าผู้ควรได้รับคืนไม่มาขอรับส่ิงของท่ีกัก ยึด หรืออายัดไว้ภายในเก้าสิบวันนับแต ่ วนั ทีแ่ จ้งเป็นหนังสอื หรือวนั ที่โฆษณาทางหนังสอื พิมพ์ หรือวันที่ปดิ ประกาศในท่เี ปดิ เผยตาม (๑) หรือ (ค) ไม่ปรากฏว่ามีผู้ทำธุรกรรมมาแสดงตนภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ได้ใช้อำนาจกักยึด หรอื อายดั ตามขอ้ ๓ (๓)

298 สำนักงาน ป.ป.ส. ข้อ ๕ ในการปฏิบัติการตามคำสั่งน้ีให้เลขาธิการ รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด และเจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเป็นเจ้าพนักงาน ตามประมวลกฎหมายอาญา ข้อ ๖ บรรดาสารเคมีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมประกาศตามข้อ ๒ (๑) ซึ่งเจ้าพนักงาน ตามกฎหมายอื่นได้กัก ยึด หรืออายัดไว้อยู่ก่อนวันท่ีคำส่ังนี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าเป็นการกัก ยึด หรืออายัด ตามคำส่ังนี้ และให้เจา้ พนักงานตามกฎหมายดงั กลา่ วนน้ั รายงานเลขาธิการภายในหกสิบวันนบั แตว่ ันท่ีประกาศ มีผลใช้บังคับ เพ่ือเลขาธิการดำเนินการตามคำส่ังน้ีต่อไป ทั้งน้ี หากมีความจำเป็นเลขาธิการอาจขยาย ระยะเวลาการรายงานได้ตามความเหมาะสม ขอ้ ๗ คำสง่ั นใี้ ห้ใชบ้ งั คบั ตัง้ แตว่ นั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป สงั่ ณ วนั ที่ ๒๑ มิถนุ ายน พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา หัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ

คำสง่ั หวั หน้าคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๓๒/๒๕๕๙ 299 ประกาศกระทรวงยตุ ิธรรม เรือ่ ง กำหนดชือ่ สารเคมี พื้นทค่ี วบคมุ และหนา้ ทขี่ องผทู้ ำธรุ กรรม ภายใตม้ าตรการปอ้ งกนั การลักลอบนำสารเคมี วสั ดุ หรือเครือ่ งมอื บางประเภทไปใชผ้ ลติ ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๕๙* โดยที่เป็นการสมควรกำหนดชื่อสารเคมี กำหนดพ้ืนท่ีควบคุม และกำหนดหน้าท่ีของผู้ทำธุรกรรม ภายใต้มาตรการป้องกนั การลักลอบนำสารเคมี วสั ดุ หรอื เคร่อื งมอื บางประเภทไปใชผ้ ลติ ยาเสพติด อาศัยอำนาจตามความในข้อ ๒ แห่งคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๓๒/๒๕๕๙ ลงวนั ท่ี ๒๑ มถิ ุนายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ เรื่อง มาตรการปอ้ งกันการลกั ลอบนำสารเคมี วัสดุ หรือเครอ่ื งมอื บางประเภทไปใชผ้ ลติ ยาเสพตดิ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรมออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ ี ข้อ ๑ ในประกาศนี ้ “สารเคม”ี หมายความว่า สารเคมคี วบคุมตามบญั ชที า้ ยประกาศน้ที เี่ ป็นสารเดีย่ ว “สารเดี่ยว (Substance)” หมายความว่า ธาตุหรือสารประกอบที่อยู่ในสถานะธรรมชาติหรือเกิดจาก กระบวนการผลิตต่าง ๆ ทั้งนี้ รวมถึงสารเตมิ แตง่ ทจ่ี ำเปน็ ในการรักษาความเสถยี รของสารเดีย่ วหรอื สารเจอื ปน ท่ีเกิดขึ้นในกระบวนการผลิต แต่ไม่รวมถึงตัวทำละลายที่สามารถแยกออกมาจากสารเดี่ยวได้โดยไม่มีผล ต่อความเสถียรของสารเด่ียวหรอื ไม่ทำใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงองคป์ ระกอบของสารเด่ียว สารเคมคี วบคมุ ตามประกาศน้ี หมายความวา่ สารเดย่ี ว ข้อ ๒ ให้สารเคมีที่ระบุช่ือในบัญชีท้ายประกาศนี้ เป็นสารเคมีควบคุมตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษา ความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๓๒/๒๕๕๙ ลงวนั ที่ ๒๑ มถิ นุ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๙ เรอ่ื ง มาตรการปอ้ งกนั การลกั ลอบ นำสารเคมี วัสดุ หรือเคร่ืองมือบางประเภทไปใช้ผลิตยาเสพติดนี้ ท้ังนี้ ให้รวมถึงวัตถุที่เรียกชื่ออย่างอื่น แต่มีสูตรโครงสรา้ งทางเคมอี ยา่ งเดยี วกนั กับสารเคมดี ังกลา่ ว ข้อ ๓ ให้สารเคมีตามข้อ ๒ เปน็ สารเคมคี วบคมุ ทกุ พ้ืนท่ที วั่ ราชอาณาจกั ร ขอ้ ๔ ใหผ้ ูท้ ำธุรกรรม ซงึ่ สารเคมีตามบญั ชี ๑ ท้ายประกาศนี้ มหี น้าทดี่ ำเนนิ การ ดังต่อไปน้ี (๑) กรณีผลิต ให้แจง้ ขอ้ มูลเก่ียวกับช่อื สารเคมี ช่ือทางการค้า (ถา้ มี) ปริมาณทีผ่ ลิต วนั ทีผ่ ลติ สถานท่ี ผลิตและสถานทีเ่ ก็บรักษา กอ่ นการผลติ ในแตล่ ะครั้ง * ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง ลงวนั ท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙

300 สำนักงาน ป.ป.ส. (๒) กรณีนำเข้า ให้แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับช่ือสารเคมี ช่ือทางการค้า (ถ้ามี) ปริมาณท่ีนำเข้า วันที่นำเข้า ดา่ นศลุ กากรท่นี ำเขา้ และสถานท่ีเกบ็ รักษาสารเคมี ก่อนการนำเขา้ ในแต่ละครงั้ (๓) กรณีส่งออก ให้แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับชื่อสารเคมี ชื่อทางการค้า (ถ้ามี) สถานท่ีเก็บรักษาสารเคม ี ก่อนส่งออก ปริมาณท่ีส่งออก วันที่ส่งออก ช่ือผู้รับปลายทาง ประเทศปลายทาง ด่านศุลกากรที่ส่งออก ก่อนการสง่ ออกในแตล่ ะครั้ง (๔) กรณีขนย้ายสารเคมีที่มีปริมาณต้ังแต่หนึ่งร้อยกิโลกรัมข้ึนไป ให้แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับช่ือสารเคมี ชื่อทางการค้า (ถ้ามี) ปริมาณที่ขนย้าย วัตถุประสงค์ในการขนย้าย และสถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีต้นทาง และปลายทาง กอ่ นการขนยา้ ยในแตล่ ะคร้งั ขอ้ ๕ การผลิต นำเข้า ส่งออก หรือขนย้าย แล้วแต่กรณีซ่ึงสารเคมีเพื่อใช้ในกิจการของตนเอง ของหนว่ ยงานดงั ตอ่ ไปนี้ ไดร้ ับการยกเวน้ ไม่ตอ้ งดำเนนิ การตามข้อ ๔ (๑) กระทรวง ทบวง กรม ราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ รฐั วสิ าหกจิ องคก์ รของรฐั หนว่ ยงานของรฐั สภากาชาดไทย (๒) คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (๓) องค์การระหว่างประเทศตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองการดำเนินงานของสหประชาชาติ และทบวงการชำนญั พเิ ศษในประเทศไทย ข้อ ๖ การทำธุรกรรมซึ่งสารเคมีตามบัญชี ๒ ท้ายประกาศน้ี ให้ผู้ทำธุรกรรมมีหน้าท่ีดำเนินการ หรือปฏิบัติให้เป็นไปตามที่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบหรือประกาศอ่ืนซ่ึงกำหนดให้ผู้ทำธุรกรรมต้องดำเนินการ หรอื ปฏิบตั ใิ นเรื่องน้นั ไว้เป็นการเฉพาะ ทัง้ น้ี ผ้ทู ำธรุ กรรมไม่ต้องแจง้ ขอ้ มูลการทำธุรกรรมดงั กล่าวต่อสำนักงาน คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด ให้ส่วนราชการที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบการควบคุมการทำธุรกรรมซึ่งสารเคมีตามวรรคหน่ึงให้ความร่วมมือ และให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำธุรกรรมดังกล่าวแก่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ทราบด้วย ขอ้ ๗ การแจง้ ขอ้ มลู ตามขอ้ ๔ ใหผ้ ทู้ ำธรุ กรรมแจง้ ผา่ นระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ ทางเวบ็ ไซต์ (Web Site) ของสำนกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ กอ่ นการผลติ นำเขา้ สง่ ออก หรอื ขนยา้ ย แลว้ แตก่ รณ ี ขอ้ ๘ ประกาศนใ้ี หใ้ ชบ้ ังคบั ตง้ั แตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เวน้ แตค่ วามใน ข้อ ๔ ขอ้ ๕ ข้อ ๖ และข้อ ๗ ใหใ้ ช้บังคับเม่ือพ้นกำหนดหกสิบวันนับแตว่ ันประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ พลเอก ไพบูลย์ คมุ้ ฉายา รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงยตุ ิธรรม

คำส่ังหวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ ๓๒/๒๕๕๙ 301 บญั ชรี ายชอื่ สารเคมีแนบท้ายประกาศกระทรวงยุตธิ รรม เรอื่ ง กำหนดช่อื สารเคมี พนื้ ท่คี วบคมุ และหน้าท่ีของผทู้ ำธุรกรรม ภายใต้มาตรการปอ้ งกันการลักลอบนำสารเคมี วัสดุ หรือเครอ่ื งมือบางประเภทไปใชผ้ ลิตยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๕๙ บัญชี ๑ เลขทะเบียนซีเอเอส ลำดับที่ ช่ือสารเคม ี (CAS No.) 1 โซเดียมคารบ์ อเนต (sodium carbonate) 497-19-8 2 เฟนลิ ไนโตรโปรปีน (phenylnitropropene) 705-60-2 3 แอมโมเนยี มคลอไรด์ (ammonium chloride) 12125-02-9 บัญชี ๒ ลำดบั ท่ี ช่อื สารเคม ี เลขทะเบยี นซเี อเอส (CAS No.) 1 กรดซัลฟรู ิก (sulfuric acid) 7664-93-9 2 กรดออร์โท-ฟอสฟอริก (o-phosphoric acid) 7664-38-2 3 กรดอะซตี กิ (acetic acid) 64-19-7 4 กรดไฮโดรคลอรกิ (hydrochloric acid) 7647-01-0 5 คลอโรฟอรม์ (chloroform) หรือ 67-66-3 ไตรคลอโรมีเทน (trichloromethane) 6 โซเดยี มไซยาไนด์ (sodium cyanide) 143-33-9 7 ไดเอทลิ อีเทอร์ (diethyl ether) 60-29-7 8 โทลูอนี (toluene) 108-88-3 9 ไทโอนลี คลอไรด์ (thionyl chloride) หรือ 7719-09-7 ซัลเฟอรสั ออกซคี ลอไรด์ (sulfurous oxychloride) 10 เบนซิลไซยาไนด์ (benzyl cyanide) 140-29-4 11 ไพเพอริดีน (piperidine) 110-89-4 12 ฟอสฟอรสั แดง (phosphorus (red) 7723-14-0 13 ฟอสฟอรสั ไตรคลอไรด์ (phosphorus trichloride) 7719-12-2 14 ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ (phosphorus pentachloride) 10026-13-8 15 เมทิลเอทิลคีโตน (methyl ethyl ketone) 78-93-3 16 ไเมดทคลิลอนี โครลมอีเทไรนด์((dmicehtlhoyrolemneetchhalnoeri)d e) หรือ 75-09-2 17 อะซโี ตน (acetone) 67-64-1

302 สำนักงาน ป.ป.ส. พระราชบญั ญตั ิ ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร. ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๒ เปน็ ปที ่ี ๓๔ ในรชั กาลปัจจบุ นั พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกาศว่า โดยทีเ่ ป็นการสมควรปรบั ปรุงกฎหมายวา่ ด้วยยาเสพติดใหโ้ ทษ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๐ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓ ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย บญั ญตั ใิ ห้กระทำได้โดยอาศยั อำนาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย(๑) จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของ สภานิตบิ ัญญัตแิ หง่ ชาติ ทำหนา้ ท่รี ฐั สภา ดงั ตอ่ ไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั นิ ีเ้ รียกวา่ “พระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒” มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ้ ชบ้ งั คบั ต้งั แต่วันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป(๒) (๓) มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) ข้อความดังกล่าวเพมิ่ เติมโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึง่ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๑๙ ตอนท่ี ๙๖ กลงวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๕ (๒) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๙๖ ตอนที่ ๖๓ ลงวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๒๒ (๓) พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๓ ใหย้ กเลกิ (๑) พระราชบัญญตั ิฝิ่น พุทธศักราช ๒๔๗๒ (๒) พระราชบัญญัตฝิ น่ิ พ.ศ. ๒๔๗๒ แก้ไขเพม่ิ เตมิ พุทธศกั ราช ๒๔๗๖ (๓) พระราชบัญญัติฝิ่น แกไ้ ขเพ่ิมเติม พุทธศักราช ๒๔๗๘ (๔) พระราชบัญญัตฝิ ่นิ (ฉบบั ท่ี ๔) พทุ ธศักราช ๒๔๘๑ (๕) พระราชบัญญตั ิฝนิ่ (ฉบับท่ี ๕) พุทธศกั ราช ๒๔๘๕ (๖) พระราชบญั ญตั ิฝน่ิ (ฉบบั ที่ ๖) พุทธศักราช ๒๔๙๔ (๗) พระราชบัญญัติฝน่ิ (ฉบับที่ ๗) พุทธศักราช ๒๕๐๒ (๘) พระราชบญั ญัติฝ่นิ (ฉบับที่ ๘) พทุ ธศักราช ๒๕๐๓

พระราชบัญญัตยิ าเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 303 (๑) พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษ พระพุทธศักราช ๒๔๖๕ (๒) พระราชบญั ญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี ๒) พุทธศกั ราช ๒๔๗๙ (๓) พระราชบญั ญัตยิ าเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๒ (๔) พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๐๔ (๕) พระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๑๘ (๖) พระราชบญั ญัตกิ นั ชา พุทธศกั ราช ๒๔๗๗ (๗) พระราชบญั ญตั พิ ืชกระท่อม พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๖ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ (๔) “ยาเสพติดให้โทษ” หมายความว่า สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเม่ือเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดย รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่น ต้องเพ่ิมขนาดการเสพขึ้นเป็นลำดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพท้ังทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยท่ัวไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืชหรือส่วนของพืชที่เป็นหรือ ให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติด ให้โทษด้วย ทั้งนี้ ตามท่ีรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา(๕) แต่ไม่หมายความถึงยาสามัญประจำบ้าน บางตำรบั ตามกฎหมายว่าดว้ ยยาทีม่ ียาเสพติดใหโ้ ทษผสมอยู่ “ผลิต” หมายความว่า เพาะ ปลูก ทำ ผสม ปรุง แปรสภาพ เปล่ียนรูป สังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ และให้หมายความรวมตลอดถงึ การแบ่งบรรจุ หรือรวมบรรจดุ ว้ ย “จำหนา่ ย” หมายความว่า ขาย จา่ ย แจก แลกเปล่ียน ให้ “นำเขา้ ” หมายความว่า นำหรือสงั่ เข้ามาในราชอาณาจักร “ส่งออก” หมายความวา่ นำหรือสง่ ออกนอกราชอาณาจกั ร (๖) “เสพ” หมายความว่า การรับยาเสพตดิ ให้โทษเข้าสู่ร่างกายไมว่ ่าดว้ ยวธิ ีใด (๗) “ติดยาเสพติดให้โทษ” หมายความว่า เสพเป็นประจำติดต่อกันและตกอยู่ในสภาพท่ีจำเป็นต้องพ่ึง ยาเสพติดให้โทษนน้ั โดยสามารถตรวจพบสภาพเช่นว่านั้นได้ตามหลักวชิ าการ (๘) “หน่วยการใช้” หมายความว่า เม็ด ซอง ขวด หรือหน่วยอย่างอ่ืนที่ทำข้ึนซ่ึงโดยปกติสำหรับการใช ้ เสพหน่ึงครั้ง (๙) “การบำบัดรักษา” หมายความว่าการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดให้โทษ ซึ่งรวมตลอดถึงการฟื้นฟู สมรรถภาพและการติดตามผลหลังการบำบัดรักษาด้วย (๔) ขอ้ ความเดิมถูกยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๔ และใหใ้ ชข้ อ้ ความทพ่ี มิ พ์นี้ไว้แทน (๕) ดปู ระกาศกระทรวงสาธารณสุข (๖) ข้อความเดมิ ถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๓ และให้ใชข้ อ้ ความที่พิมพ์ไวน้ ้แี ทน (๗) บทนยิ ามคำว่า “ติดยาเสพติดใหโ้ ทษ” เพ่มิ เตมิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๔ (๘) บทนิยามคำว่า “หนว่ ยการใช้” เพ่ิมเติมโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓ (๙) บทนยิ ามคำว่า “การบำบดั รกั ษา” เพ่ิมเตมิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๔

304 สำนกั งาน ป.ป.ส. (๑๐) “สถานพยาบาล” หมายความว่า โรงพยาบาล สถานพยาบาล สถานพักฟ้ืน หรือสถานท่ีอื่นใด เฉพาะท่รี ฐั มนตรปี ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาใหเ้ ป็นสถานทีท่ ำการบำบดั รักษาผู้ตดิ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (๑๑) “เภสชั กร” หมายความวา่ ผู้ประกอบวิชาชพี เภสัชกรรมตามกฎหมายวา่ ด้วยวิชาชพี เภสชั กรรม “ตำรับยา” หมายความว่า สูตรของสง่ิ ปรุงไมว่ า่ จะมีรูปลกั ษณะใดทม่ี ยี าเสพตดิ ใหโ้ ทษรวมอยูด่ ้วย ทงั้ นี้ รวมทัง้ ยาเสพติดให้โทษท่ีมลี ักษณะเปน็ วัตถุสำเร็จรปู ทางเภสัชกรรมซ่ึงพรอ้ มท่ีจะนำไปใชแ้ กค่ นหรอื สตั วไ์ ด้ (๑๒) “ข้อความ” หมายความรวมถึงการกระทำให้ปรากฏด้วยตัวอักษร ภาพ ภาพยนตร์ แสง เสียง เครือ่ งหมายหรือการกระทำอยา่ งใด ๆ ที่ทำใหบ้ ุคคลท่ัวไปสามารถเขา้ ใจความหมายได้ (๑๓) “โฆษณา” หมายความรวมถึงกระทำการไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ ให้ประชาชนเห็นหรือทราบข้อความ เพอ่ื ประโยชน์ในทางการค้า แต่ไม่หมายความรวมถึงเอกสารทางวชิ าการหรอื ตำราทเ่ี กีย่ วกบั การเรยี นการสอน “ผู้รบั อนญุ าต” หมายความว่า ผไู้ ด้รบั ใบอนญุ าตตามพระราชบัญญัติน้ี “ผู้อนุญาต” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจาก เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการควบคุมยาเสพตดิ ให้โทษตามพระราชบัญญตั นิ ี้ “พนักงานเจา้ หนา้ ท”ี่ หมายความว่า ผซู้ ง่ึ รัฐมนตรีแตง่ ต้งั ใหป้ ฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญัตินี้ “เลขาธกิ าร” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา “รัฐมนตรี” หมายความวา่ รัฐมนตรผี รู้ กั ษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๕ พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง สาธารณสุข แต่ให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข รายงานการรับ การจ่าย การ เก็บรักษา และวิธีการปฏิบัติอย่างอ่ืนท่ีเกี่ยวกับการควบคุมยาเสพติดให้โทษให้คณะกรรมการทราบทุกหกเดือน แล้วใหค้ ณะกรรมการเสนอพรอ้ มกบั ให้ความเห็นต่อรฐั มนตรเี พอ่ื สง่ั การต่อไป มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และให้มีอำนาจ แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ ออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ ยกเว้นค่าธรรมเนียม และกำหนดกจิ การอืน่ กบั ออกประกาศ ทงั้ นี้ เพือ่ ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี กฎกระทรวงและประกาศนน้ั เมอื่ ไดป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ ังคบั ได้ มาตรา ๗ ยาเสพติดให้โทษแบง่ ออกเปน็ ๕ ประเภท คอื (๑) ประเภท ๑ ยาเสพติดใหโ้ ทษชนิดรา้ ยแรง เชน่ เฮโรอนี (Heroin) (๒) ประเภท ๒ ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น มอร์ฟีน (Morphine) โคคาอีน (Cocaine) โคเดอีน (Codeine) ฝิน่ ยา (Medicinal Opium)(๑๔) (๑๐)-(๑๑) บทนิยามคำว่า “สถานพยาบาล” และ “เภสัชกร” เพ่ิมเติมโดย พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๔ (๑๒)-(๑๓) บทนิยามคำว่า “ข้อความ” และ “โฆษณา” เพิ่มเตมิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๕ (๑๔) ฝ่ินซ่ึงเป็นยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๒ หมายถึง ฝ่นิ ดิบ ฝิ่นสกุ หรอื มูลฝิน่

พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 305 (๑๕) (๓) ประเภท ๓ ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็นตำรับยา และมียาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ผสมอยู่ด้วย ตามหลักเกณฑท์ ี่รัฐมนตรปี ระกาศกำหนดในราชกิจจานเุ บกษา (๔) ประเภท ๔ สารเคมที ใ่ี ชใ้ นการผลิตยาเสพตดิ ให้โทษประเภท ๑ หรือประเภท ๒ เช่น อาเซตคิ แอนไฮไดรด์ (Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl Chloride) (๕) ประเภท ๕ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษท่มี ไิ ด้เขา้ อยใู่ นประเภท ๑ ถึงประเภท ๔ เช่น กัญชา พืชกระทอ่ ม(๑๖) ทงั้ นี้ ตามที่รฐั มนตรีประกาศระบชุ ่ือยาเสพติดให้โทษตามมาตรา ๘ (๑) เพ่ือประโยชน์แห่งมาตราน้ี คำว่า ฝิ่นยา (Medicinal Opium) หมายถึงฝิ่นท่ีได้ผ่านกรรมวิธีปรุงแต่ง โดยมีความมุ่งหมายเพ่อื ใชใ้ นทางยา มาตรา ๘ ใหร้ ฐั มนตรีโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ มอี ำนาจประกาศในราชกจิ จานุเบกษา (๑) ระบชุ ่ือยาเสพติดใหโ้ ทษว่า ยาเสพติดให้โทษชื่อใดอยู่ในประเภทใดตามมาตรา ๗ (๑๗) (๒) เพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลงชอ่ื หรือประเภทยาเสพติดใหโ้ ทษตาม (๑) (๓) กำหนดมาตรฐานว่าด้วยปริมาณ ส่วนประกอบ คุณภาพ ความบริสุทธ์ิ หรือลักษณะอ่ืนของ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ตลอดจนการบรรจแุ ละการเกบ็ รักษายาเสพติดใหโ้ ทษ(๑๘) (๔) กำหนดจำนวนและจำนวนเพิ่มเติมซึ่งยาเสพติดให้โทษที่จะต้องใช้ในทางการแพทย์และทาง วทิ ยาศาสตรท์ ั่วราชอาณาจกั รประจำปี (๑๙) (๕) กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการกำหนดปริมาณยาเสพติดให้โทษที่ผู้อนุญาตจะอนุญาตให ้ ผลติ นำเขา้ จำหนา่ ย หรือมีไว้ในครอบครองได้ (๒๐) (๖) กำหนดหลักเกณฑเ์ ก่ียวกบั ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๓ ตามมาตรา ๗ (๓) (๗) จัดตั้งสถานพยาบาล (๘) กำหนดระเบยี บข้อบงั คบั เพ่อื ควบคุมการบำบดั รกั ษาและระเบยี บวนิ ัยสำหรับสถานพยาบาล หมวด ๑ คณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ มาตรา ๙ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ” ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมการแพทย์หรือผู้แทน อธิบดีกรม วิทยาศาสตร์การแพทย์หรือผู้แทน อธิบดีกรมอนามัยหรือผู้แทน อธิบดีกรมตำรวจหรือผู้แทน อธิบดีกรม อัยการหรือผู้แทน อธิบดีกรมศุลกากรหรือผู้แทน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาหรือผู้แทน เลขาธิการ (๑๕) ข้อความเดมิ ถกู ยกเลิกโดย พ.ร.บ. ยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๕ และให้ใชข้ อ้ ความทีพ่ มิ พ์ไวน้ ีแ้ ทน (๑๖) พชื ฝ่นิ และพืชเหด็ ข้คี วาย เปน็ ยาเสพติดให้โทษประเภท ๕ (๑๗) ดปู ระกาศกระทรวงสาธารณสุข (๑๘) ดูประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๖๖ (พ.ศ. ๒๕๒๙) เร่ือง กำหนดมาตรฐานว่าด้วยปริมาณส่วนประกอบคุณภาพ ความบริสุทธ์ิ หรอื ลกั ษณะอน่ื ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ตลอดจนการบรรจแุ ละการเก็บรกั ษายาเสพติดให้โทษ และฉบับท่ี ๙๓ (พ.ศ. ๒๕๓๑) (๑๙) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๖ และให้ใชข้ อ้ ความที่พิมพ์ไว้นี้แทน (๒๐) ข้อความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๖ และใหใ้ ชข้ ้อความที่พิมพ์ไว้น้แี ทน

306 สำนกั งาน ป.ป.ส. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดหรือผู้แทน ผู้แทนกระทรวงกลาโหม และผู้ทรงคุณวุฒิอื่น อีกไม่เกินเจ็ดคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ังเป็นกรรมการ และให้เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาเป็นกรรมการ และเลขานุการ และหัวหน้ากองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นกรรมการและ ผู้ชว่ ยเลขานุการ ใ(๒๑) ห้ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ อธิบดีกรมสุขภาพจิต นายกแพทยสภา นายกสภาการแพทยแ์ ผนไทย และนายกสภาเภสชั กรรม เปน็ กรรมการในคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ตามวรรคหนงึ่ เพ่มิ ข้นึ ด้วย เฉพาะในวาระทเ่ี กี่ยวกับยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๕ มาตรา ๑๐ ให้กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปี กรรมการซงึ่ พ้นจากตำแหน่งอาจได้รับการแตง่ ต้ังอีกได้ มาตรา ๑๑ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพน้ จากตำแหน่งก่อนวาระ เมอ่ื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรีใหอ้ อก (๔) เป็นบุคคลลม้ ละลาย (๕) เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมือนไรค้ วามสามารถ (๖) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดท่ีได้กระทำ โดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ หรอื (๗) ถูกสัง่ พักใช้หรอื เพิกถอนใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ หรือใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพเวชกรรม เมอ่ื กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒพิ น้ จากตำแหน่งก่อนวาระ รัฐมนตรีอาจแต่งตง้ั ผอู้ ่ืนเปน็ กรรมการแทนได้ ในกรณีท่ีมีการแต่งต้ังกรรมการในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งต้ังไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตำแหน่ง ไม่ว่า จะเป็นการแต่งต้ังเพ่ิมขึ้นหรือแต่งตั้งซ่อม ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งนั้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของ กรรมการซงึ่ แตง่ ต้งั ไวแ้ ล้ว มาตรา ๑๒ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของ จำนวนกรรมการท้ังหมดจึง เป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุม หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการทมี่ าประชมุ เลือกกรรมการคนหน่งึ เปน็ ประธานในท่ีประชมุ การวินิจฉยั ชีข้ าดของที่ประชุม ให้ถือเสียงขา้ งมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในท่ีประชุม ออกเสียงเพิ่มขน้ึ อีกเสียงหนึง่ เปน็ เสียงชีข้ าด มาตรา ๑๓ ใหค้ ณะกรรมการมีหน้าที่ (๑) ให้ความเห็นต่อรัฐมนตรีตามมาตรา ๕ (๒) ให้ความเหน็ ชอบต่อรฐั มนตรีเพ่อื ปฏิบัตกิ ารตามมาตรา ๘ (๓) ให้ความเหน็ ชอบต่อผอู้ นุญาตในการส่งั พักใชใ้ บอนญุ าตหรอื เพิกถอนใบอนุญาต (๔) ให้ความเห็นชอบต่อรัฐมนตรีในการกำหนดตำแหน่งและระดับของพนักงานเจ้าหน้าท่ีเพ่ือ ปฏิบตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ิน้ี (๒๑) มาตรา ๙ วรรคสอง เพม่ิ เติมโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๔๖๒ มาตรา ๓

พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 307 (๕) ให้ความเห็นต่อรัฐมนตรี เพื่อวางระเบียบปฏิบัติราชการในการประสานงานกับสำนักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ และกระทรวง ทบวง กรมอ่นื (๒๒) (๖) ใหค้ วามเหน็ ชอบตอ่ รฐั มนตรใี นการอนญุ าตใหผ้ ลติ จำหนา่ ย นำเขา้ สง่ ออก หรอื มไี วใ้ นครอบครอง ซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๔ (๒๓) (๖/๑) ให้ความเห็นชอบต่อรัฐมนตรีในการออกประกาศตามมาตรา ๒๖/๒ (๓) มาตรา ๒๖/๔ (๑) และมาตรา ๒๖/๕ (๒) และปฏบิ ตั กิ ารตามมาตรา ๒๖/๖ และมาตรา ๕๘/๒ (๖/๒) ให้ความเห็นชอบต่อผู้อนุญาตในการอนุญาตให้ผลิต นำเข้า หรือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๕ ตามมาตรา ๒๖/๒ (๑) และ (๒) (๖/๓) ใหค้ วามเหน็ ชอบในการออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๒๖/๕ (๗) (๖/๔) ประกาศกำหนดลกั ษณะกญั ชง (Hemp) ตามมาตรา ๒๖/๒ (๒) (๒๔) (๗) ปฏิบัติการอ่ืนตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอำนาจและหน้าท่ีของคณะ กรรมการ หรือตามทรี่ ัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๑๔ คณะกรรมการอาจตั้งคณะอนุกรรมการเพ่ือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหน่ึง ตามท ี่ คณะกรรมการจะมอบหมายก็ได้ การประชมุ ของคณะอนกุ รรมการ ให้นำมาตรา ๑๒ มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม หมวด ๒ การขออนุญาตและการออกใบอนญุ าตเก่ยี วกับยาเสพติดให้โทษ (๒๕) มาตรา ๑๕ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๑ เว้นแต่รฐั มนตรไี ดอ้ นุญาตเฉพาะในกรณีจำเปน็ เพอื่ ประโยชน์ของทางราชการ การขออนญุ าตและการอนุญาต ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง (๒๖) การผลติ นำเขา้ สง่ ออก หรอื มไี วใ้ นครอบครองซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ ตามปรมิ าณดงั ตอ่ ไปน้ี ให้สันนิษฐานวา่ เปน็ การผลิต นำเขา้ ส่งออก หรือมีไวใ้ นครอบครองเพ่อื จำหน่าย (๑) เด็กซ์โตรไลเซอร์ไยด์ หรือ แอล เอส ดี มีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธ์ิต้ังแต่ศูนย์จุดเจ็ดห้า มิลลิกรัมข้ึนไป หรือมียาเสพติดที่มีสารดังกล่าวผสมอยู่จำนวนสิบห้าหน่วยการใช้ข้ึนไปหรือมีน้ำหนักสุทธ ิ ตงั้ แต่สามร้อยมลิ ลกิ รมั ข้ึนไป (๒) แอมเฟตามีนหรืออนุพันธ์แอมเฟตามีน มีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธ์ิต้ังแต่สามร้อยเจ็ดสิบห้า มิลลิกรัมขึ้นไป หรือมียาเสพติดที่มีสารดังกล่าวผสมอยู่จำนวนสิบห้าหน่วยการใช้ข้ึนไปหรือมีน้ำหนักสุทธ ิ ตงั้ แต่หน่ึงจุดหา้ กรัมขน้ึ ไป (๒๒) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ และให้ใชข้ อ้ ความที่พมิ พ์ไว้น้ีแทน (๒๓) (๖/๑) (๖/๒) (๖/๓) และ (๖/๔) ของมาตรา ๑๓ เพิม่ เติมโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๗) มาตรา ๕ (๒๔) ข้อความเดมิ ถกู ยกเลิกโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๗ และให้ใช้ข้อความทีพ่ ิมพไ์ ว้นีแ้ ทน (๒๕) ข้อความเดมิ ถูกยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๘ และให้ใช้ข้อความที่พมิ พ์ไวน้ ี้แทน (๒๖) มาตรา ๑๕ วรรคสสาม แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๓

308 สำนักงาน ป.ป.ส. (๓) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ นอกจาก (๑) และ (๒) มีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ต้ังแต ่ สามกรัมขึ้นไป (๒๗) มาตรา ๑๖ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นำเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ เว้นแต่ได้รับ ใบอนญุ าตจากผอู้ นญุ าตเฉพาะในกรณจี ำเป็นเพอ่ื ประโยชน์ของทางราชการ การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีกำหนด ในกฎกระทรวง การพิจารณาอนุญาตตามวรรคหน่ึง ให้ผู้ขออนุญาตเป็นผู้รับผิดชอบชำระค่าใช้จ่ายในการตรวจ วิเคราะห์ หรือประเมินเอกสารทางวิชาการตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการกำหนดโดยประกาศใน ราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๑๗ ห้ามมิให้ผู้ใดจำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ เว้นแต ่ ไดร้ บั ใบอนุญาต (๒๘) การมยี าเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๒ ไวใ้ นครอบครองคำนวณเปน็ สารบรสิ ทุ ธไ์ิ ดต้ งั้ แตห่ นงึ่ รอ้ ยกรมั ขน้ึ ไป ใหส้ ันนิษฐานวา่ มีไวใ้ นครอบครองเพือ่ จำหน่าย การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกำหนด ในกฎกระทรวง มาตรา ๑๘ บทบญั ญัตมิ าตรา ๑๗ ไมใ่ ชบ้ งั คบั แก่ (๑) การมียาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ไว้ในครอบครองไม่เกินจำนวนท่ีจำเป็นสำหรับใช้รักษาโรค เฉพาะตัว โดยมีหนังสือรับรองของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันช้ันหนึ่ง ในสาขาทันตกรรมซึง่ เป็นผูใ้ ห้การรักษา (๒) การมียาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ไว้ในครอบครองไม่เกินจำนวนที่จำเป็นสำหรับใช้ประจำ ในการปฐมพยาบาล หรอื กรณีเกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ ในเรือ เครื่องบนิ หรือยานพาหนะอน่ื ใดท่ีใชใ้ นการขนส่งสาธารณะ ระหว่างประเทศท่ีไม่ได้จดทะเบียนในราชอาณาจักร แต่ถ้ายานพาหนะดังกล่าวจดทะเบียนในราชอาณาจักร ใหย้ นื่ คำขอรบั ใบอนญุ าตตามมาตรา ๑๗ มาตรา ๑๙ ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๒ ไดเ้ มอื่ ปรากฏวา่ ผูข้ ออนญุ าตเปน็ (๑) กระทรวง ทบวง กรม องค์การบริหารส่วนท้องถ่ิน รวมท้ังกรุงเทพมหานคร สภากาชาดไทย หรือองคก์ ารเภสชั กรรม (๒) ผปู้ ระกอบการขนสง่ สาธารณะระหว่างประเทศ หรือ (๒๙) (๓) ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม หรอื ผู้ประกอบวิชาชพี การสตั วแพทย์ชน้ั หน่งึ และ (๒๗) มาตรา ๑๖ วรรคสอง แก้ไขโดย พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๘ (๒๘) มาตรา ๑๗ วรรคสอง แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔ (๒๙) ข้อความเดิมถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ และใหใ้ ช้ข้อความท่พี ิมพไ์ ว้นแ้ี ทน

พระราชบญั ญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 309 (ก) มีถนิ่ ทอ่ี ยู่ในประเทศไทย (ข) ไม่เคยต้องคำพิพากษาถึงท่ีสุดว่ากระทำความผิดตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ กฎหมายว่าด้วยวัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท กฎหมายว่าด้วยการป้องกันการใช้สารระเหย กฎหมาย วา่ ด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด และกฎหมายว่าด้วยยา (ค) ไม่อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ใบอนุญาต เปน็ ผูป้ ระกอบวชิ าชีพเภสัชกรรม ใบอนญุ าตเปน็ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรม ใบอนญุ าตเปน็ ผู้ประกอบวิชาชพี การสตั วแพทย์ หรอื ใบอนุญาตตามพระราชบญั ญตั ินี้ (ง) ไม่เป็นบคุ คลวิกลจริตหรือจติ ฟ่นั เฟือนไมส่ มประกอบ (จ) ไม่เปน็ คนไร้ความสามารถหรือคนเสมอื นไรค้ วามสามารถ ในการพิจารณาอนุญาตแก่บุคคลตามวรรคหนึ่ง ผู้อนุญาตจะต้องคำนึงถึงความจำเป็นในการมีไว้ เพือ่ จำหน่ายหรอื มีไว้ในครอบครอง ในการนผี้ ู้อนญุ าตจะกำหนดเง่อื นไขตามท่เี ห็นสมควรไว้ดว้ ยกไ็ ด้ (๓๐) มาตรา ๒๐ หา้ มมใิ หผ้ ใู้ ดผลติ นำเขา้ สง่ ออก จำหนา่ ยหรอื มไี วใ้ นครอบครองเพอื่ จำหนา่ ยซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ เว้นแตไ่ ดร้ ับใบอนุญาตจากผ้อู นญุ าต ความในวรรคหนง่ึ ไม่ใชบ้ ังคับแก่ (๑) การจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพ่ือจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ท่ีผู้ประกอบ วิชาชีพเวชกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย เฉพาะผู้ป่วย ซงึ่ ตนใหก้ ารรกั ษา (๒) การจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ท่ีผู้ประกอบ วิชาชพี การสัตวแพทย์ชน้ั หนึ่งจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพอื่ จำหน่ายเฉพาะสัตวท์ ต่ี นบำบัด ทงั้ น้ี ผปู้ ระกอบวชิ าชพี เวชกรรม ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรม หรอื ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การสตั วแพทยช์ น้ั หนง่ึ ต้องเป็นผมู้ คี ณุ สมบัติตามที่กำหนดในมาตรา ๑๙ (๓) การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนด ในกฎกระทรวง การมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ เกินจำนวนท่ีรัฐมนตรีประกาศกำหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ให้สนั นษิ ฐานวา่ มีไว้ในครอบครองเพอ่ื จำหนา่ ย มาตรา ๒๑ ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต จำหน่าย นำเข้า หรือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๓ ได้ เมื่อปรากฏวา่ ผ้ขู ออนญุ าต (๑) ได้รับอนุญาตให้ผลิต ขาย หรือนำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซ่ึงยาแผนปัจจุบัน ตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยยา และ (๒) มีเภสัชกรอยู่ประจำตลอดเวลาทำการ ให้ผู้รับอนุญาตผลิต หรือนำเข้าซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ จำหน่ายยาเสพติดให้โทษดังกล่าว ทต่ี นผลติ หรือนำเข้าไดโ้ ดยไม่ตอ้ งรับใบอนญุ าตจำหนา่ ยอีก (๓๑) มาตรา ๒๒ ในการนำเข้าหรือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ หรือประเภท ๕ ของผู้ที่ได้รับ ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ หรอื มาตรา ๒๖/๒ (๑) หรือ (๒) แล้วแต่กรณี แตล่ ะครั้งต้องได้รับใบอนญุ าตทุกครงั้ ทีน่ ำเขา้ หรือส่งออกจากผ้อู นุญาตด้วย การขอรบั ใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขทีก่ ำหนด (๓๐) มาตรา ๒๐ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๐ (๓๑) วรรคหนึง่ ของมาตรา ๒๒ แก้ไขโดย พ.ร.บ. ยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๖

310 สำนกั งาน ป.ป.ส. (๓๒) มาตรา ๒๓ ใบอนุญาตตามมาตรา ๑๗ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๖/๒ (๑) และ (๒) และมาตรา ๒๖/๓ ให้ใช้ได้จนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคมของปีที่ออกใบอนุญาต ถ้าผู้รับใบอนุญาตประสงค์จะขอต่ออายุใบอนุญาต ให้ยื่นคำขอก่อนใบอนุญาตส้ินอายุ เม่ือได้ย่ืนคำขอแล้วจะประกอบกิจการต่อไปก็ได้จนกว่าผู้อนุญาตจะส่ัง ไมอ่ นญุ าตให้ตอ่ อายุใบอนญุ าตนัน้ ถ้าผู้รับอนุญาตไม่ขอต่ออายุใบอนุญาตหรือผู้อนุญาตสั่งไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาตตามความใน วรรคหนึ่ง บรรดายาเสพติดให้โทษที่ผู้รับอนุญาตหรือผู้ขอต่อใบอนุญาตมีอยู่ในครอบครองให้ตกเป็นของ กระทรวงสาธารณสขุ โดยกระทรวงสาธารณสุขให้ค่าตอบแทนตามท่ีเห็นสมควร การขอต่ออายุใบอนุญาตและการอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนด ในกระทรวงกระทรวง มาตรา ๒๔ ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๒ ให้คุ้มกันถึงลูกจ้างหรือตัวแทนของ ผ้รู ับอนุญาตด้วย ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า การกระทำของลูกจ้างหรือตัวแทนของผู้รับอนุญาตที่ได้กระทำไปตามหน้าท่ ี ที่ไดร้ บั มอบหมาย เป็นการกระทำของผรู้ ับอนุญาตดว้ ย มาตรา ๒๕ ผู้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยยา และกฎหมายว่าดว้ ยวตั ถทุ ีอ่ อกฤทธิต์ อ่ จิตและประสาทอกี (๓๓) มาตรา ๒๖ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต จำหน่าย นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๔ เว้นแต่รัฐมนตรจี ะได้อนุญาตโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการเป็นราย ๆ ไป การมียาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ไว้ในครอบครองมีปริมาณต้ังแต่สิบกิโลกรัมข้ึนไปให้สันนิษฐานว่า มไี ว้ในครอบครองเพอื่ จำหนา่ ย การขออนุญาตและการอนญุ าตใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงอื่ นไขท่ีกำหนดในกฎกระทรวง (๓๔) มาตรา ๒๖/๑ ปรมิ าณยาเสพติดให้โทษที่จะอนุญาตได้ตามหมวดนใ้ี หเ้ ปน็ ไปตามมาตรา ๘ (๕) (๓๕) มาตรา ๒๖/๒ ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นำเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เว้นแต่ในกรณ ี ดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีจำเป็นเพ่ือประโยชน์ของทางราชการ การแพทย์ การรักษาผู้ป่วย หรือการศึกษาวิจัย และพัฒนา ทั้งนี้ ให้รวมถึงการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม วิทยาศาสตร์ หรืออุตสาหกรรม เพื่อประโยชน์ ทางการแพทยด์ ว้ ย ซ่งึ ได้รบั ใบอนญุ าตจากผอู้ นุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ (๒) ในกรณีท่ีเป็นกัญชง (Hemp) ซ่ึงเป็นพืชท่ีมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L.subsp. sativa และมีลักษณะตามที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งได้นำไปใช ้ ประโยชน์ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ให้กระทำได้เมื่อได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการ (๓) ในกรณีท่ีเป็นการนำติดตัวเข้ามาในหรือออกไปนอกราชอาณาจักรไม่เกินปริมาณที่จำเป็นสำหรับใช้ รกั ษาโรคเฉพาะตวั โดยมใี บสง่ั ยาหรอื หนงั สอื รบั รองของผปู้ ระกอบวชิ าชพี เวชกรรม ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทนั ตกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์หรือหมอพื้นบ้าน (๓๒) วรรคหนงึ่ ของมาตรา ๒๓ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๗ (๓๓) มาตรา ๒๖ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๘ (๓๔) มาตรา ๓๓ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๑ (๓๕) มาตรา ๒๖/๒ มาตรา ๒๖/๓ มาตรา ๒๖/๓ มาตรา ๒๖/๕ และมาตรา ๒๖/๖ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๙

พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 311 ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ซึ่งเป็นผู้ให้การรักษา ให้กระทำได้เม่ือได้รับใบอนุญาต จากผู้อนุญาต ทั้งน้ี ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทรี่ ัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ การผลิต นำเข้า หรือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ มีปริมาณตั้งแต่สิบกิโลกรัมข้ึนไป ใหส้ ันนิษฐานว่าเป็นการผลิต นำเขา้ หรอื ส่งออกเพื่อจำหน่าย การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่กำหนด ในกฎกระทรวง ในการพิจารณาอนุญาต ให้ผู้ขออนุญาตเป็นผู้รับผิดชอบชำระค่าใช้จ่ายในการตรวจวิเคราะห์หรือ ประเมินเอกสารทางวิชาการ หรือค่าใช้จ่ายอื่นท่ีเก่ียวข้อง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา มาตรา ๒๖/๓ ห้ามมิให้ผู้ใดจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เว้นแต ่ ได้รบั ใบอนญุ าตจากผู้อนุญาต การมยี าเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ ไวใ้ นครอบครองมีปริมาณตงั้ แต่สิบกโิ ลกรมั ขนึ้ ไป ให้สันนษิ ฐานวา่ มีไวใ้ นครอบครองเพ่ือจำหนา่ ย การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนด ในกฎกระทรวง มาตรา ๒๖/๔ บทบัญญัตมิ าตรา ๒๖/๓ ไม่ใช้บังคบั แก่ (๑) การมียาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ไว้ในครอบครองไม่เกินปริมาณท่ีจำเป็นสำหรับใช้รักษาโรค เฉพาะตัว โดยมีใบสั่งยาหรือหนังสือรับรองของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือหมอพื้นบ้าน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทย ซง่ึ เปน็ ผใู้ หก้ ารรกั ษา ทง้ั น้ี ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทย และหมอพ้ืนบ้าน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีรัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการ (๒) การมียาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ไว้ในครอบครองไม่เกินปริมาณท่ีจำเป็นสำหรับใช้ประจำ ในการปฐมพยาบาล หรือกรณีเกดิ เหตฉุ กุ เฉินในเรือ เครอ่ื งบิน หรือยานพาหนะอืน่ ใดทีใ่ ช้ในการขนส่งสาธารณะ ระหว่างประเทศที่ไม่ได้จดทะเบียนในราชอาณาจักร แต่ถ้ายานพาหนะดังกล่าวจดทะเบียนในราชอาณาจักร ใหย้ นื่ คำขอรับใบอนุญาตตามมาตรา ๒๖/๓ มาตรา ๒๖/๕ ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครอง ซึ่งยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ ไดเ้ มอื่ ปรากฏวา่ ผขู้ ออนุญาตเป็น (๑) หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าท่ีศึกษาวิจัยหรือจัดการเรียนการสอนทางการแพทย์ เภสัชศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์ หรือมีหน้าท่ีให้บริการทางการแพทย์ เภสัชกรรม หรือวิทยาศาสตร์หรือ มีหน้าที่ให้บริการทางเกษตรกรรมเพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์หรือเภสัชกรรม หรือหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ ในการป้องกัน ปราบปราม และแกไ้ ขปญั หายาเสพติด หรือสภากาชาดไทย (๒) ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผู้ประกอบ วิชาชีพการสัตวแพทย์ช้ันหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย

312 สำนกั งาน ป.ป.ส. ประยุกต์ หรือหมอพ้ืนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ท้ังน้ี ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์ แผนไทยและหมอพ้ืนบ้าน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีรัฐมนตรีประกาศกำหนดโดย ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ (๓) สถาบันอุดมศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่มีหน้าที่ศึกษาวิจัยและ จัดการเรยี นการสอนเกี่ยวกบั ทางการแพทยห์ รือเภสัชศาสตร์ (๔) ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมท่ีรวมกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชนซึ่งจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยการ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเพื่อสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น หรือสหกรณ์การเกษตรซึ่งจดทะเบียน ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ซึ่งดำเนินการภายใต้ความร่วมมือและกำกับดูแลของผู้ขออนุญาตตาม (๑) หรือ (๓) ทั้งนี้ ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมดังกล่าว สามารถร่วมผลิตและพัฒนาสูตรตำรับยาแผนโบราณ หรือยาสมุนไพรได้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ ภายใต้ความร่วมมือและกำกับดูแลของผู้ขออนุญาตตาม (๑) หรือ (๓) ด้วย (๕) ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหวา่ งประเทศ (๖) ผปู้ ว่ ยเดนิ ทางระหวา่ งประเทศทมี่ คี วามจำเปน็ ตอ้ งนำยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ ตดิ ตวั เขา้ มาใน หรอื ออกไปนอกราชอาณาจักรเพ่อื ใชร้ ักษาโรคเฉพาะตวั (๗) ผู้ขออนุญาตอน่ื ตามทีร่ ฐั มนตรีโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการกำหนดในกฎกระทรวง ผู้ขออนุญาตตามวรรคหนึ่ง (๒) (๓) (๔) และ (๗) ในกรณีท่ีเป็นบุคคลธรรมดาต้องมีสัญชาติไทย และมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ในกรณีที่เป็นนิติบุคคลต้องจดทะเบียนตามกฎหมายไทย และกรรมการ ของนิติบคุ คล หุน้ ส่วนหรือผถู้ ือหนุ้ อยา่ งนอ้ ยสองในสามต้องเป็นผู้มสี ญั ชาติไทยและมีสำนักงานในประเทศไทย คุณสมบัติของผู้ขออนุญาตในกรณีกัญชง (Hemp) ตามมาตรา ๒๖/๒ (๒) ให้เป็นไปตามที่กำหนด ในกฎกระทรวง ในการพิจารณาอนุญาตแก่ผู้ขออนุญาตตามวรรคหน่ึงและวรรคสาม ผู้อนุญาตจะต้องคำนึงถึง ความจำเป็นในการผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองตามท่ีขออนุญาต ในการนี้ผู้อนุญาต จะกำหนดเงอ่ื นไขการอนญุ าตตามทเ่ี ห็นสมควรไวด้ ว้ ยกไ็ ด ้ มาตรา ๒๖/๖ ในกรณีท่ีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดตามกฎหมายว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเห็นสมควรเพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย การลดอันตรายจากการใช ้ ยาเสพติดให้โทษ หรือการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษ อาจมีมติให้รัฐมนตรี โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการกำหนดเขตพน้ื ทห่ี นงึ่ พน้ื ทใ่ี ด เพอ่ื กระทำการอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปนกี้ ไ็ ด ้ (๑) ทดลองเพาะปลูกพืชท่ีเป็นหรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ หรืออาจใช้ผลิต เปน็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ (๒) ผลิตและทดสอบเกย่ี วกับยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๕ (๓) เสพหรือครอบครองยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๕ ในปริมาณท่ีกำหนด การกำหนดเขตพื้นที่และการกระทำการตามวรรคหน่ึง ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาโดยพระราช กฤษฎีกาดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีมาตรการควบคุมและตรวจสอบการเสพและการครอบครองยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๕ ด้วย ให้การกระทำการในเขตพ้ืนท่ีที่กาหนดในวรรคหนึ่งซึ่งอยู่ภายใต้มาตรการควบคุมและตรวจสอบ การเสพและการครอบครองยาเสพตดิ ใหโ้ ทษตามวรรคสองไม่เปน็ ความผดิ ตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี

พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 313 หมวด ๓ หนา้ ทีข่ องผ้รู ับอนุญาต (๓๖) มาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๗ และผู้รับอนุญาตตามมาตรา ๒๖/๓ จำหน่าย ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๒ และประเภท ๕ แล้วแต่กรณี นอกสถานทที่ ี่ระบไุ วใ้ นใบอนุญาต มาตรา ๒๘ ใหผ้ ู้รับอนญุ าตตามมาตรา ๑๗ ปฏบิ ัตดิ ังตอ่ ไปน้ี (๑) จดั เกบ็ รกั ษายาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๒ ไวเ้ ปน็ สดั สว่ นในทเ่ี กบ็ ซง่ึ มน่ั คงแขง็ แรงและมกี ญุ แจใสไ่ ว้ หรือเครอื่ งปอ้ งกนั อย่างอ่ืนท่มี ีสภาพเทา่ เทียมกัน (๒) ในกรณีท่ียาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ถูกโจรกรรมหรือสูญหาย หรือถูกทำลาย ต้องแจ้ง เปน็ หนงั สือใหผ้ ้อู นญุ าตทราบโดยมชิ ักชา้ มาตรา ๒๙ ให้ผ้รู บั อนญุ าตผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ปฏิบัตดิ ังตอ่ ไปน้ี (๑) จัดให้มีป้ายไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่าย ณ สถานท่ีผลิต แสดงว่าเป็นสถานท่ีผลิตยาเสพติดให้โทษ ลักษณะและขนาดของปา้ ยและข้อความท่แี สดงในป้าย ให้เปน็ ไปตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดให้มีการวิเคราะห์ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ที่ผลิตขึ้นก่อนนำออกจากสถานที่ผลิต โดยต้องมีการวิเคราะห์ทุกครั้ง และมีหลักฐานแสดงรายละเอียดซ่ึงต้องเก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่าสามปี นับแต่ วันวเิ คราะห์ (๓) จดั ให้มีฉลากและเอกสารกำกบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ หรือคำเตือนหรอื ขอ้ ควรระวังการใช้ ทีภ่ าชนะหรอื หบี หอ่ บรรจยุ าเสพติดในประเภท ๓ ทผี่ ลติ ขน้ึ ทง้ั น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไข ทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง (๔) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ซ่ึงใช้เพื่อการผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ต้องเก็บรักษาไว้ ใหเ้ ปน็ สดั ส่วนในทเ่ี กบ็ ซงึ่ ม่ันคงแขง็ แรงและมกี ญุ แจใส่ไว้หรือเครอ่ื งป้องกนั อย่างอื่นทมี่ สี ภาพเท่าเทียมกัน (๕) ในกรณีท่ียาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ตาม (๔) ถูกโจรกรรม หรือสูญหาย หรือถูกทำลาย ตอ้ งแจ้งเป็นหนังสือใหผ้ ู้อนญุ าตทราบโดยมิชกั ชา้ มาตรา ๓๐ ให้ผรู้ บั อนุญาตนำเขา้ หรอื สง่ ออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ปฏิบัติดงั ต่อไปน้ี (๑) จัดให้มีป้ายไว้ในทเ่ี ปิดเผยเห็นไดง้ า่ ย ณ สถานที่ทำการของผ้รู บั อนุญาตแสดงว่าเปน็ สถานทน่ี ำเขา้ หรือสง่ ออกซึง่ ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ ลกั ษณะและขนาดของปา้ ยและขอ้ ความที่แสดงในปา้ ย ใหเ้ ปน็ ไป ตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดให้มีใบรับรองของผู้ผลิตแหล่งเดิม แสดงรายละเอียดผลการวิเคราะห์คุณภาพยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๓ ทน่ี ำเข้าหรอื ส่งออก (๓) จัดให้มฉี ลากท่ีภาชนะหรอื หีบหอ่ บรรจยุ าเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ (๔) จัดให้มีฉลากและเอกสารกำกับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ หรือคำเตือน หรือข้อควรระวัง การใช้ที่ภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ที่นำเข้าหรือส่งออก ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงอื่ นไขทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง (๓๖) มาตรา ๒๗ แก้ไขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๐

314 สำนักงาน ป.ป.ส. มาตรา ๓๑ ใหผ้ ้รู บั อนุญาตจำหน่ายยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๓ ปฏบิ ตั ดิ ังต่อไปนี้ (๑) จัดให้มีป้ายไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่าย ณ สถานท่ีจำหน่ายแสดงว่าเป็นสถานท่ีจำหน่ายยาเสพติด ให้โทษในประเภท ๓ ลักษณะและขนาดของป้ายและข้อความท่ีแสดงในป้าย ให้เป็นไปตามท่ีกำหนดใน กฎกระทรวง (๒) จัดใหม้ ีการแยกเกบ็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ เป็นสัดส่วนจากยาหรือวัตถอุ ่นื (๓) ดูแลให้มีฉลาก เอกสารกำกับ คำเตือน หรือข้อควรระวังการใช้ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ทภ่ี าชนะหรอื หีบหอ่ บรรจยุ าเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ มใิ ห้ชำรุดบกพรอ่ ง มาตรา ๓๒ ให้ผู้รับอนุญาตผลติ ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๔ ปฏิบัติดังตอ่ ไปนี้ (๑) จัดให้มีป้ายไว้ในท่ีเปิดเผยเห็นได้ง่าย ณ สถานที่ผลิต แสดงว่าเป็นสถานท่ีผลิตยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๔ ลักษณะและขนาดของป้ายและข้อความที่แสดงในป้ายใหเ้ ป็นไปตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดให้มีการวิเคราะห์ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ที่ผลิตขึ้นก่อนนำออกจากสถานที่ผลิต โดยต้องมีการวิเคราะห์ทุกคร้ัง และมีหลักฐานแสดงรายละเอียดซึ่งต้องเก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่าสามปีนับแต่ วนั วิเคราะห์ (๓) จดั ใหม้ ฉี ลากและเอกสารกำกับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ หรอื คำเตือนหรือขอ้ ควรระวังการใช้ ที่ภาชนะหรือหบี ห่อบรรจุยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๔ ทผ่ี ลติ ข้นึ ทง้ั นี้ ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และ เงือ่ นไขทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง (๔) ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๔ ซ่งึ ผลติ ข้นึ ต้องเก็บรักษาไวใ้ หเ้ ป็นสัดสว่ นในทีเ่ ก็บซ่งึ มนั่ คงแข็งแรง และมกี ญุ แจใส่ไว้ หรอื เครอื่ งปอ้ งกันอยา่ งอนื่ ท่มี สี ภาพเท่าเทียมกัน (๕) ในกรณีที่ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ถูกโจรกรรม หรือสูญหาย หรือถูกทำลาย ต้องแจ้งเป็น หนงั สอื ให้ผ้อู นญุ าตทราบโดยมชิ ักชา้ มาตรา ๓๓ ใหผ้ รู้ ับอนุญาตนำเขา้ หรอื ส่งออกซ่ึงยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๔ ปฏบิ ัติดังต่อไปนี้ (๑) จดั ใหม้ ปี ้ายไว้ในทเ่ี ปดิ เผยเหน็ ไดง้ า่ ย ณ สถานทที่ ำการของผรู้ ับอนุญาตแสดงว่าเปน็ สถานท่ีนำเขา้ หรือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ลักษณะและขนาดของป้ายและข้อความท่ีแสดงในป้ายให้เป็นไป ตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดให้มีใบรับรองของผู้ผลิตแหล่งเดิม แสดงรายละเอียดผลการวิเคราะห์คุณภาพยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๔ ทน่ี ำเขา้ หรอื สง่ ออก (๓) จัดให้มีฉลากที่ภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ หรือคำเตือน หรือข้อควร ระวังการใช้ท่ีภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ที่นำเข้าหรือส่งออก ทั้งน้ี ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขที่กำหนดในกฎกระทรวง (๔) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ซึ่งนำเข้าหรือส่งออก ต้องเก็บรักษาไว้ให้เป็นสัดส่วนในที่เก็บ ซึ่งม่ันคง แขง็ แรง และมกี ุญแจใสไ่ ว้ หรือเครื่องป้องกนั อยา่ งอ่ืนที่มสี ภาพเท่าเทยี มกัน (๕) ในกรณีท่ียาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ถูกโจรกรรม หรือสูญหาย หรือถูกทำลาย ต้องแจ้งเป็น หนงั สอื ให้ผูอ้ นญุ าตทราบโดยมิชักช้า

พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 315 มาตรา ๓๔ ใหผ้ รู้ บั อนญุ าตจำหนา่ ยยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๔ ปฏบิ ตั ดิ งั ตอ่ ไปน้ี (๑) จัดให้มีป้ายไว้ในท่ีเปิดเผยเห็นได้ง่าย ณ สถานท่ีจำหน่าย แสดงว่าเป็นสถานท่ีจำหน่ายยาเสพติด ให้โทษในประเภท ๔ ลักษณะและขนาดของป้ายและข้อความท่ีแสดงในป้าย ให้เป็นไปตามท่ีกำหนด ในกฎกระทรวง (๒) จัดให้มกี ารแยกเกบ็ ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๔ เป็นสัดสว่ นจากยาหรือวัตถุอ่ืน (๓) ดูแลให้มีฉลาก เอกสารกำกับ คำเตือน หรือข้อควรระวังการใช้ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ที่ภาชนะหรือหีบห่อบรรจยุ าเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๔ มิใหช้ ำรดุ บกพร่อง (๔) ในกรณีที่ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ถูกโจรกรรม หรือสูญหาย หรือถูกทำลาย ต้องแจ้ง เปน็ หนงั สอื ให้ผอู้ นุญาตทราบโดยมชิ กั ชา้ (๓๗) มาตรา ๓๔/๑ ให้ผรู้ ับอนญุ าตผลิตยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๕ ปฏบิ ตั ดิ ังต่อไปน ้ี (๑) จัดให้มีป้ายไว้ในท่ีเปิดเผยเห็นได้ง่าย ณ สถานท่ีผลิตแสดงว่าเป็นสถานที่ผลิตยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๕ ลักษณะและขนาดของปา้ ยและข้อความทีแ่ สดงในป้ายใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดใหม้ ีการวเิ คราะหย์ าเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๕ ที่ผลิตขึน้ ก่อนนำออกจากสถานท่ีผลิตโดยต้อง มกี ารวเิ คราะหท์ กุ ครงั้ และมีหลักฐานแสดงรายละเอยี ดซง่ึ ตอ้ งเก็บรักษาไว้ ทง้ั นี้ ตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง (๓) จดั ใหม้ ีฉลากและเอกสารกำกบั ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๕ หรือคำตอื น หรือข้อควรระวงั การใช้ ท่ีภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ที่ผลิตขึ้น ท้ังนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่อื นไขท่คี ณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา (๔) จัดให้มีการแยกเก็บยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เป็นสัดส่วนจากยาหรือวัตถุอ่ืน และเก็บในท ่ี ซ่งึ มนั่ คงแข็งแรงและมกี ุญแจใสไ่ ว้ หรอื เครื่องป้องกนั อย่างอืน่ ท่มี สี ภาพเท่าเทยี มกัน (๕) ในกรณีท่ยี าเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ถกู โจรกรรม สูญหาย หรือถกู ทำลาย ตอ้ งแจง้ เปน็ หนงั สือ ให้ผูอ้ นญุ าตทราบโดยมชิ ักชา้ (๖) ปฏบิ ัตกิ ารอื่นตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๔/๒ ใหผ้ ู้รับอนุญาตนำเขา้ หรือส่งออกซ่งึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ ปฏบิ ตั ิ ดังต่อไปนี้ (๑) จดั ให้มีปา้ ยไวใ้ นทเี่ ปิดเผยเหน็ ไดง้ ่าย ณ สถานทท่ี ำการของผ้รู บั อนญุ าตแสดงว่าเปน็ สถานทน่ี ำเข้า หรอื สง่ ออกซงึ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ ลกั ษณะและขนาดของปา้ ยและขอ้ ความทแี่ สดงในปา้ ยใหเ้ ปน็ ไปตาม ทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง (๒) จัดให้มีใบรับรองของผู้ผลิตแหล่งเดิม แสดงรายละเอียดผลการวิเคราะห์คุณภาพยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๕ ที่นำเขา้ หรอื ส่งออก (๓) จดั ใหม้ ฉี ลากและเอกสารกำกับยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๕ หรอื คำเตือน หรอื ขอ้ ควรระวังการใช้ ท่ีภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ที่นำเข้าหรือส่งออก ท้ังนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขทค่ี ณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา (๔) จัดให้มีการแยกเก็บยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เป็นสัดส่วนจากยาหรือวัตถุอ่ืน และเก็บในท ี่ ซงึ่ มนั่ คงแข็งแรงและมกี ญุ แจใส่ไว้ หรือเคร่อื งปอ้ งกันอย่างอื่นท่มี สี ภาพเท่าเทยี มกัน (๓๗) มาตรา ๓๔/๑ มาตรา ๓๔/๒ มาตรา ๓๔/๓ และมาตรา ๓๔/๔ เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๑

316 สำนักงาน ป.ป.ส. (๕) ในกรณที ี่ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ถกู โจรกรรม สญู หาย หรอื ถกู ทาลาย ต้องแจ้งเป็นหนงั สือ ใหผ้ ู้อนุญาตทราบโดยมิชักช้า (๖) ปฏบิ ัติการอนื่ ตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๔/๓ ให้ผู้รับอนุญาตจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ปฏิบตั ิดงั ตอ่ ไปน ี้ (๑) จัดให้มีการแยกเก็บยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เป็นสัดส่วนจากยาหรือวัตถุอ่ืน และเก็บในท่ี ซ่งึ มนั่ คงแข็งแรงและมีกุญแจใสไ่ ว้ หรอื เครอื่ งปอ้ งกนั อยา่ งอ่ืนทีม่ สี ภาพเทา่ เทียมกนั (๒) ดูแลให้มีฉลากและเอกสารกำกับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ หรือคำเตือน หรือข้อควรระวัง การใชท้ ีภ่ าชนะหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ มใิ หช้ ำรุดบกพรอ่ ง (๓) ในกรณที ่ยี าเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ ถูกโจรกรรม สญู หาย หรือถกู ทำลาย ตอ้ งแจ้งเป็นหนังสอื ให้ผอู้ นญุ าตทราบโดยมชิ ักชา้ (๔) ปฏิบตั กิ ารอ่นื ตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๔/๔ ให้ผรู้ บั อนญุ าตผลิต นำเข้า สง่ ออก จำหนา่ ย หรือมไี ว้ในครอบครองซ่งึ ยาเสพติดใหโ้ ทษ ในประเภท ๕ จัดให้มีการทำบัญชีรับจ่ายยาเสพติดให้โทษและเสนอรายงานต่อเลขาธิการเป็นรายเดือน และรายปี บัญชีดังกล่าวให้เก็บรักษาไว้และพร้อมที่จะแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ทุกเวลาในขณะเปิดทำการ ทั้งนี้ ภายในห้าปนี ับแตว่ ันทล่ี งรายการคร้ังสุดทา้ ยในบัญชี บัญชีรับจ่ายยาเสพติดให้โทษและรายงานตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามแบบท่ีคณะกรรมการกำหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๓๕ ในกรณีใบอนุญาตสูญหาย ถูกทำลาย หรือลบเลือนในสาระสำคัญ ให้ผู้รับอนุญาตแจ้ง ต่อผู้อนุญาต และย่ืนคำขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทำลาย หรือลบเลอื น การขอรับใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทนใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขท่ีกำหนดในกฎกระทรวง หมวด ๔ หน้าที่ของเภสัชกร มาตรา ๓๖ ให้เภสชั กรผมู้ หี นา้ ทคี่ วบคมุ การผลติ ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ ปฏิบัติดังตอ่ ไปน้ี (๑) ควบคุมการผลติ ใหเ้ ป็นไปตามพระราชบญั ญตั ินี้ (๒) ควบคุมใหม้ ีฉลากและเอกสารกำกับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ตามมาตรา ๒๙ (๓) (๓) ควบคุมการบรรจุ และการปิดฉลากท่ภี าชนะหรอื หบี ห่อบรรจุใหเ้ ป็นไปตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ (๔) ควบคมุ การจำหนา่ ยยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรา ๓๑ (๕) ต้องอยู่ประจำควบคุมกิจการตลอดเวลาท่ีเปดิ ทำการ

พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 317 มาตรา ๓๗ ให้เภสัชกรผูม้ หี นา้ ทีค่ วบคมุ การจำหนา่ ยยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ ปฏิบัติดังตอ่ ไปนี้ (๑) ควบคมุ การแยกเก็บยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ ตามมาตรา ๓๑ (๒) (๒) ควบคุมการปฏิบตั ิตามมาตรา ๓๑ (๓) (๓) ควบคุมการจำหนา่ ยให้เปน็ ไปตามพระราชบัญญตั ิน้ี (๔) ตอ้ งอยปู่ ระจำควบคมุ กิจการตลอดเวลาทเ่ี ปดิ ทำการ มาตรา ๓๘ ให้เภสัชกรผู้มีหน้าท่ีควบคุมการนำเข้าหรือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ปฏิบัติดังตอ่ ไปนี้ (๑) ควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ ทนี่ ำเขา้ หรอื สง่ ออกใหถ้ กู ตอ้ งตามตำรบั ยาทไี่ ดข้ นึ้ ทะเบยี นไว้ (๒) ควบคุมการปฏบิ ัตติ ามมาตรา ๓๐ (๓) และ (๔) (๓) ควบคุมการจำหน่ายยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๓ ใหเ้ ป็นไปตามมาตรา ๓๑ (๔) ต้องอยู่ประจำควบคุมกิจการตลอดเวลาท่เี ปดิ ทำการ หมวด ๕ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ ปลอม ผิดมาตรฐาน หรอื เสอ่ื มคุณภาพ มาตรา ๓๙ หา้ มมใิ หผ้ ใู้ ดผลติ จำหนา่ ย นำเขา้ หรอื สง่ ออกซงึ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ ดงั ตอ่ ไปน ้ี (๑) ยาปลอมตามมาตรา ๔๐ (๒) ยาผิดมาตรฐานตามมาตรา ๔๑ (๓) ยาเสอ่ื มคุณภาพตามมาตรา ๔๒ (๔) ยาทต่ี ้องข้ึนทะเบียนตำรับยาแตม่ ไิ ด้ขนึ้ ทะเบียนตำรับยาตามมาตรา ๔๓ (๕) ยาท่ีรฐั มนตรีส่ังเพิกถอนทะเบียนตำรับยาตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๔๐ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ หรือสง่ิ ต่อไปน้ีใหถ้ อื วา่ เปน็ ยาปลอม (๑) ยาหรอื สงิ่ ทท่ี ำขนึ้ โดยแสดงไมว่ า่ ดว้ ยประการใด ๆ วา่ เปน็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ โดยความจรงิ มไิ ด้มียาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๓ อย่ดู ว้ ย (๒) ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ ทแ่ี สดงชอ่ื วา่ เปน็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษอน่ื หรอื แสดงเดอื น ปี ทย่ี าเสพตดิ ให้โทษส้นิ อายุเกินความจริง (๓) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ท่ีแสดงช่ือหรือเครื่องหมายของผู้ผลิตหรือท่ีต้ังของสถานที่ผลิต ซงึ่ มิใช่ความจรงิ (๔) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ หรือยาเสพติดให้โทษตามท่ีระบุช่ือไว้ในประกาศของรัฐมนตรี ตามมาตรา ๘ (๑) หรือตามตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ท่ีได้ข้ึนทะเบียนตำรับยาไว้ ซ่ึงท้ังน้ีมิใช ่ ความจรงิ

318 สำนักงาน ป.ป.ส. (๓๘) (๕) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ท่ีผลิตข้ึนไม่ถูกต้องตามมาตรฐาน ถึงขนาดสารออกฤทธ์ิขาดหรือ เกินกว่าร้อยละสิบของปริมาณที่กำหนดไว้จากเกณฑ์ต่ำสุดหรือสูงสุด ตามที่กำหนดไว้ ในประกาศของรัฐมนตรี ตามมาตรา ๘ (๓) หรอื ตามทกี่ ำหนดไวใ้ นตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ท่ไี ด้ข้ึนทะเบยี นตำรบั ยาไว ้ มาตรา ๔๑ ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ ดงั ต่อไปนใี้ ห้ถอื วา่ เปน็ ยาเสพติดใหโ้ ทษผิดมาตรฐาน (๑) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ท่ีผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามมาตรฐาน โดยสารออกฤทธิ์ขาดหรือ เกนิ กวา่ ปรมิ าณทก่ี ำหนดไวจ้ ากเกณฑต์ ำ่ สดุ หรอื สงู สดุ ตามทกี่ ำหนดไวใ้ นประกาศของรฐั มนตรี ตามมาตรา ๘ (๓) หรอื ตามทกี่ ำหนดไวใ้ นตำรับยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ ทไี่ ดข้ ้ึนทะเบยี นตำรบั ยาไว้ แตไ่ ม่ถึงร้อยละสิบ (๒) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ที่ผลิตขึ้นโดยมีความบริสุทธิ์หรือลักษณะอ่ืนซึ่งมีความสำคัญ ต่อคุณภาพของสารออกฤทธิ์ผิดไปจากเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ในประกาศของรัฐมนตรี ตามมาตรา ๘ (๓) หรือ ตามท่ีกำหนดไวใ้ นตำรับยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ ทไี่ ดข้ ้นึ ทะเบยี นตำรบั ยาไว้ มาตรา ๔๒ ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๓ ดงั ต่อไปน้ใี ห้ถอื ว่าเปน็ ยาเสพติดให้โทษเสอ่ื มคณุ ภาพ (๑) ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ ทีส่ ิ้นอายตุ ามทีแ่ สดงไว้ในฉลากซึง่ ขึน้ ทะเบียนตำรบั ยาไว้ (๒) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ที่แปรสภาพจนมีลักษณะเช่นเดียวกับยาปลอมตามมาตรา ๔๐ หรือยาเสพตดิ ใหโ้ ทษผดิ มาตรฐานตามมาตรา ๔๑(๓๙) หมวด ๖ การขน้ึ ทะเบียนตำรับยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๓ (๔๐) มาตรา ๔๓ ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ จะผลิตหรือนำเข้าซึ่ง ยาเสพติดให้โทษดังกล่าว ต้องนำตำรับยาเสพติดให้โทษน้ันมาขอข้ึนทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษต่อ พนักงานเจ้าหน้าท่ีก่อน และเม่ือได้รับใบสำคัญการข้ึนทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษแล้ว จึงผลิตหรือนำเข้า ซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษน้ันได้ การขอข้ึนทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ และการออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียน ตำรับยาเสพตดิ ให้โทษดังกลา่ ว ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงือ่ นไขทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง (๔๑) การพิจารณาออกใบสำคัญตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ขอขึ้นทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษเป็นผู้รับผิดชอบ ชำระค่าใช้จ่ายในการตรวจวิเคราะห์หรือประเมินเอกสารทางวิชาการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ ี คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๔๒) มาตรา ๔๔ ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ เม่ือได้รับใบสำคัญการ ขึ้นทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษตามมาตรา ๔๓ แล้ว จะแก้ไขรายการทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๓ ดงั กล่าวได้ต่อเม่อื ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากผู้อนญุ าต (๓๘) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ท่ีผลิตไม่ถูกต้องตามมาตรฐานถึงขนาดสารออกฤทธ์ิขาดหรือเกินกว่าปริมาณที่กำหนด ถือว่าเป็นยาปลอมตามมาตรา ๔๐ (๕) แต่หากผลิตไมถ่ กู ตอ้ งตามมาตรฐาน โดยสารออกฤทธข์ิ าดหรอื เกนิ ไม่ถงึ ร้อยละสิบ ถือวา่ เป็นยาเสพตดิ ให้โทษผดิ ตามมาตรฐานตามมาตรา ๔๑ (๑) (๓๙) เป็นกรณียาเสพติดให้โทษประเภท ๓ ท่ีผลิตข้ึนถูกต้องตามมาตรฐานแต่แรก หากแต่แปรสภาพในภายหลังจนมีลักษณะ เชน่ เดียวกันกบั ยาปลอมหรอื ยาเสพตดิ ให้โทษผิดมาตรฐาน (๔๐) ขอ้ ความเดิมถูกยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๘ (๔๑) วรรคสาม ของมาตรา ๔๓ เพ่มิ เติมโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๒ (๔๒) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. ยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๘

พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 319 การขอแก้ไขรายการและการอนุญาตให้แก้ไขรายการทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่อื นไขท่ีกำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๕ ใบสำคัญการข้ึนทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ให้มีอายุห้าปีนับแต่วันท่ี ออกใบสำคัญ ถ้าผู้รับใบสำคัญประสงค์จะขอต่ออายุใบสำคัญ จะต้องยื่นคำขอก่อนใบสำคัญส้ินอายุ และเม่ือ ได้ยน่ื คำขอแล้วจะประกอบกจิ การต่อไปก็ได้จนกวา่ ผูอ้ นุญาตจะส่งั ไม่อนญุ าตให้ตอ่ อายุใบสำคญั นั้น การขอต่ออายุใบสำคัญและการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่อื นไขท่กี ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๖ เมื่อคณะกรรมการเห็นว่าทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ใดที่ได้ใบสำคัญ การข้ึนทะเบียนไว้แล้ว ต่อมาปรากฏว่าไม่มีสรรพคุณตามท่ีขึ้นทะเบียนตำรับยาไว้ หรืออาจไม่ปลอดภัยแก่ ผู้ใช้ หรือมีเหตุผลอันไม่สมควรที่จะอนุญาตให้ต่อไป ให้คณะกรรมการเสนอต่อรัฐมนตรี และให้รัฐมนตรี มอี ำนาจสั่งเพิกถอนทะเบียนตำรบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ นนั้ ได้ โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา คำสง่ั ของรัฐมนตรีใหเ้ ปน็ ทสี่ ุด มาตรา ๔๗ ในกรณีใบสำคัญการข้ึนทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ สูญหาย ถูกทำลาย หรือลบเลือนในสาระสำคัญ ให้ผู้รับอนุญาตแจ้งต่อผู้อนุญาตและยื่นคำขอรับใบแทนใบสำคัญการขึ้นทะเบียน ตำรบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ ภายในสบิ หา้ วนั นบั แตว่ นั ทไี่ ดท้ ราบถงึ การสญู หาย ถกู ทำลาย หรอื ลบเลอื น การขอรับใบแทนใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ และการออกใบแทนใบ สำคญั ดงั กลา่ ว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกำหนดในกฎกระทรวง หมวด ๗ การโฆษณา (๔๓) มาตรา ๔๘ หา้ มมิใหผ้ ู้ใดโฆษณายาเสพตดิ ให้โทษ เว้นแต่ (๑) เป็นการโฆษณายาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ประเภท ๓ หรือประเภท ๕ ซึ่งกระทำโดยตรง ต่อผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพ การสัตวแพทย์ชั้นหน่ึง ทั้งน้ี ในกรณีที่เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ให้รวมถึงการโฆษณากับผู้ประกอบ วิชาชีพการแพทย์แผนไทย ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือหมอพ้ืนบ้านตามกฎหมายว่า ดว้ ยวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยดว้ ย หรอื (๒) เปน็ ฉลากหรอื เอกสารกำกบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๒ ประเภท ๓ ประเภท ๔ หรอื ประเภท ๕ ท่ีภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ประเภท ๓ ประเภท ๔ หรือประเภท ๕ โฆษณาตามวรรคหน่ึงที่เป็นเอกสาร ภาพ ภาพยนตร์ การบันทึกเสียงหรือภาพ ต้องได้รับอนุญาต จากผูอ้ นุญาตก่อนจึงจะใชโ้ ฆษณาได้ การขออนุญาตและการอนุญาต ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงอ่ื นไขที่กำหนดในกฎกระทรวง (๔๓) มาตรา ๔๘ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๔๖๒ มาตรา ๑๒

320 สำนกั งาน ป.ป.ส. (๔๔) มาตรา ๔๘/๑ ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาเก่ียวกับการบำบัดรักษา หรือยินยอมให้ผู้อื่นกระทำการดังกล่าว โดยใช้ชื่อของตน หรือช่ือหรือท่ีต้ัง หรือกิจการของสถานพยาบาลของตน หรือคุณวุฒิหรือความสามารถของผู้ ประกอบวชิ าชีพในสถานพยาบาลของตน เว้นแตไ่ ดร้ ับใบอนญุ าตจากผูอ้ นญุ าต การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่กำหนด ในกฎกระทรวง ความในวรรคหนึ่งมใิ ห้ใชบ้ งั คับแก่สถานพยาบาลของรัฐ (๔๕) มาตรา ๔๘/๒ ในกรณีทีผ่ อู้ นุญาตเห็นว่าการโฆษณาใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๘ วรรคสอง หรือมาตรา ๔๘/๑ วรรคสอง หรือมีการใช้ข้อความโฆษณาไม่เป็นไปตามที่ได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต ให้ผู้อนุญาตมีอำนาจออก คำส่งั อยา่ งใดอย่างหน่ึงหรอื หลายอย่างดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ใหแ้ กไ้ ขข้อความหรอื วธิ กี ารในการโฆษณา (๒) หา้ มการใช้ข้อความบางอย่างที่ปรากฏในการโฆษณา (๓) หา้ มการโฆษณาหรอื ห้ามใชว้ ิธนี ัน้ ในการโฆษณา (๔) ใหโ้ ฆษณาเพื่อแก้ไขความเขา้ ใจผิดทอ่ี าจเกิดขน้ึ ในการออกคำส่ังตาม (๔) ให้ผู้อนุญาตกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการโฆษณา โดยคำนึงถึงประโยชน์ ของประชาชนกับความสุจริตใจในการกระทำของผทู้ ำการโฆษณา หมวด ๘ พนักงานเจ้าหน้าท ่ี (๔๖) มาตรา ๔๙ ในการปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญตั ินี้ ใหพ้ นักงานเจ้าหนา้ ท่มี ีอำนาจ ดังต่อไปน้ี (๑) เข้าไปในสถานที่ทำการของผู้รับอนุญาตนำเข้าหรือส่งออก สถานที่ผลิต สถานท่ีจำหน่าย สถานท่ี เก็บยาเสพติดให้โทษ หรือสถานที่ที่ต้องได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติตาม พระราชบัญญัติน้ี (๒) เข้าไปในเคหสถาน หรือสถานท่ีใดๆ เพ่ือตรวจค้นเม่ือมีเหตุอันควรเชื่อได้ตามสมควรว่ามีทรัพย์สิน ซง่ึ มไี ว้เป็นความผดิ หรอื ได้มาโดยการกระทำความผดิ หรอื ไดใ้ ชห้ รอื จะใช้ในการกระทำความผิด ตามพระราชบัญญัติน้ี หรือซ่ึงอาจใช้เป็นพยานหลักฐานได้ ประกอบกับมีเหตุอันควรเช่ือว่าเน่ืองจากการเนิ่นช้า กว่าจะเอาหมายค้นมาได้ ทรัพย์สินนน้ั จะถกู โยกย้าย ซุกซอ่ น ทำลาย หรอื ทำใหเ้ ปลยี่ นสภาพไปจากเดมิ (๓) ค้นบุคคลหรือยานพาหนะใด ๆ ท่ีมีเหตุอันควรสงสัยตามสมควรว่ามียาเสพติดให้โทษซุกซ่อนอยู่ โดยไมช่ อบด้วยกฎหมาย (๔) คน้ ตามบทบญั ญตั แิ หง่ ประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา (๕) ยึดหรืออายัดยาเสพติดให้โทษที่มีไว้โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือทรัพย์สินอ่ืนใดที่ได้ใช้หรือจะใช้ ในการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ้ี (๔๔) มาตรา ๔๘/๑ เพิม่ เติมโดย พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๔ (๔๕) มาตรา ๔๘/๒ เพม่ิ เติมโดย พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๔ (๔๖) ข้อความเดิมถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๕

พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 321 การใช้อำนาจตามวรรคหนึ่ง (๒) ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้ค้นปฏิบัติตามระเบียบท่ีคณะกรรมการกำหนด แสดงความบริสุทธิ์ก่อนการเข้าค้น รายงานเหตุผลและผลการตรวจค้นต่อผู้บังคับบัญชาเหนือข้ึนไป บันทึกเหตุ อันควรเช่ือตามสมควร และให้พนักงานเจ้าหน้าที่แสดงเอกสารเพื่อแสดงตนและเอกสารท่ีแสดง อำนาจใน การตรวจค้น รวมท้ังเหตอุ นั ควรเช่ือทีท่ ำให้สามารถเข้าคน้ ได้เปน็ หนังสอื ให้ไวแ้ ก่ผู้ครอบครองเคหสถาน สถานท่ี ค้น เว้นแต่ไม่มีผู้ครอบครองอยู่ ณ ท่ีนั้น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ค้นส่งมอบสำเนาเอกสารและหนังสือนั้นให้แก ่ ผู้ครอบครองดังกลา่ วทนั ทที ีก่ ระทำได้ และหากเปน็ การเขา้ คน้ ในเวลากลางคืน พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้เป็นหัวหนา้ ในการเข้าค้นต้องเป็นข้าราชการพลเรือนตำแหน่งตั้งแต่ระดับ ๗ ขึ้นไป หรือข้าราชการตำรวจตำแหน่งต้ังแต่ สารวตั รหรือเทยี บเทา่ ซงึ่ มียศต้งั แตพ่ ันตำรวจโทขน้ึ ไป พนักงานเจ้าหน้าที่ตำแหน่งใดหรือระดับใดจะมีอำนาจหน้าท่ีตามท่ีได้กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือจะต้องได้รับอนุมัติจากบุคคลใดก่อนดำเนินการ ให้เป็นไปตามท่ีรัฐมนตรี กำหนดด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการ โดยทำเอกสารมอบหมายให้ไว้ประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าท ี่ ผ้ไู ด้รับมอบหมายนั้น(๔๗) ในการปฏิบัติการของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้บุคคลท่ีเกี่ยวข้องอำนวยความสะดวก ตามสมควร ให้รัฐมนตรีจัดทำรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรานี้ เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือรายงานผลการ ปฏิบัติงานประจำปี โดยให้รายงานข้อเท็จจริง ปัญหาอุปสรรค ปริมาณการปฏิบัติงาน และผลสำเร็จของการ ปฏิบัติงานโดยละเอียด เพื่อให้คณะรัฐมนตรีเสนอรายงานดังกล่าวพร้อมข้อสังเกตของคณะรัฐมนตรีต่อสภา ผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา มาตรา ๕๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องแสดงบัตรประจำตัวและเอกสารมอบหมาย ตามมาตรา ๔๙ วรรคสอง ต่อบุคคลทีเ่ กยี่ วขอ้ งทกุ ครัง้ บัตรประจำตัวพนักงานเจา้ หน้าที่ ให้เป็นไปตามแบบทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๑ ในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ีให้พนักงานเจา้ หนา้ ท่เี ป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๙ การพกั ใชใ้ บอนุญาตและการเพกิ ถอนใบอนุญาต มาตรา ๕๒ ผูร้ บั อนญุ าตผใู้ ดฝา่ ฝืนหรอื ไม่ปฏิบตั ติ ามพระราชบญั ญัตนิ ้ี หรือกฎกระทรวง หรือประกาศ ที่ออกตามพระราชบัญญัติน้ี ผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอำนาจสั่งพักใช้ ใบอนุญาตได ้ โดยมีกำหนดคร้งั ละไม่เกนิ หนึง่ รอ้ ยแปดสบิ วนั แต่ในกรณที ่มี ีการฟอ้ งผ้รู ับอนุญาตตอ่ ศาล ว่าได้กระทำความผิด ตามพระราชบญั ญตั ินี้ ผูอ้ นญุ าตจะส่ังพกั ใช้ใบอนุญาตไว้รอคำพิพากษาถงึ ที่สดุ ก็ได ้ ผู้ถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญาตใดๆ ตามพระราชบัญญัติน้ีในระหว่างถูกส่ังพักใช้ใบอนุญาต อีกไม่ได้ มาตรา ๕๓ ถ้าปรากฏว่าผู้รับอนุญาตผู้ใดขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๙ หรือกระทำความผิด ตามมาตรา ๓๙ ผู้อนุญาตโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการมอี ำนาจสั่งเพิกถอนใบอนญุ าตได้ (๔๗) ๑. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับท่ี ๑๘๓) พ.ศ. ๒๕๔๖ เรื่อง แต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ีและกำหนดอำนาจหน้าที่ เพ่อื ปฏิบัตกิ ารตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพตดิ ให้โทษ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๑๘๕) พ.ศ. ๒๕๔๖ เรื่องการออกเอกสารมอบหมายให้ไว้ประจำตัวพนักงาน ฝ่ายปกครองหรือตำรวจหรือพนักงานเจ้าหน้าท่เี พ่ือปฏิบัตกิ ารตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ

322 สำนกั งาน ป.ป.ส. ผู้ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจะขอรับใบอนุญาตใดๆ ตามพระราชบัญญัตินี้อีกไม่ได้จนกว่าจะพ้นสองป ี นบั แตว่ ันทถี่ ูกเพกิ ถอนใบอนุญาต มาตรา ๕๔ คำสั่งพักใช้ใบอนุญาตและคำส่ังเพิกถอนใบอนุญาต ให้ทำเป็นหนังสือแจ้งให้ผู้รับ อนุญาตทราบ ในกรณีไม่พบตัวผู้ถูกสั่งหรือผู้ถูกส่ังไม่ยอมรับคำสั่งดังกล่าว ให้ปิดคำส่ังไว้ ณ ท่ีเปิดเผยเห็นได้ ง่ายที่สถานท่ีซึ่งระบุไว้ในใบอนุญาต และให้ถือว่าผู้ถูกส่ังได้ทราบคำสั่งนั้นแล้วต้ังแต่วันท่ีรับหรือปิดคำส่ัง แลว้ แต่กรณี มาตรา ๕๕ ให้พนกั งานเจา้ หนา้ ทย่ี ึดยาเสพตดิ ให้โทษทเี่ หลอื ของผู้ถกู ส่ังพักใช้ใบอนญุ าตหรือ เพิกถอน ใบอนญุ าต และใบอนญุ าตทถี่ กู สง่ั พกั ใชห้ รอื เพกิ ถอนนนั้ ไปเกบ็ รกั ษาไวท้ ส่ี ำนกั งานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ หรือในกรณจี ำเปน็ จะเกบ็ รกั ษาไว้ที่อน่ื ตามทกี่ ระทรวงสาธารณสุขกำหนดก็ได้ ในกรณเี พกิ ถอนใบอนญุ าต ให้ยาเสพติดให้โทษท่ียดึ ไว้ตามวรรคหนึ่งตกเป็นของกระทรวงสาธารณสขุ มาตรา ๕๖ เม่ือพ้นกำหนดการพักใช้ใบอนุญาต ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีคืนยาเสพติดให้โทษและ ใบอนุญาตทย่ี ึดไว้ตามมาตรา ๕๕ ใหผ้ รู้ บั อนญุ าต หมวด ๑๐ มาตรการควบคุมพิเศษ (๔๘) มาตรา ๕๗ หา้ มมใิ ห้ผ้ใู ดเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ (๔๙) มาตรา ๕๘ ห้ามมิให้ผู้ใดเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ เว้นแต่การเสพนั้นเป็นการเสพเพ่ือ การรักษาโรคตามคำส่ังของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมที่ได้รับใบอนุญาต ตามมาตรา ๑๗ ห้ามมิให้ผู้ใดเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ เว้นแต่การเสพนั้นเป็นการเสพเพื่อการรักษาโรค ตามคำส่ังของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ผปู้ ระกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หรือหมอพนื้ บ้านตามกฎหมายว่าดว้ ยวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทย ที่ได้รับใบอนุญาต หรือเป็นการเสพเพื่อการศึกษาวิจัย ท้ังนี้ ตำรับยาที่เสพได้ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตร ี ประกาศกำหนด (๕๐) มาตรา ๕๘/๑ ในกรณีจำเป็นและมีเหตุอันควรเช่ือได้ว่ามีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเสพยาเสพติด ใหโ้ ทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ หรอื ประเภท ๕ อนั เปน็ ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั นิ ใ้ี นเคหสถาน สถานทใ่ี ด ๆ หรือยานพาหนะ ให้พนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจ หรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติน้ี มีอำนาจ ตรวจ หรือทดสอบ หรือส่ังให้รับการตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลน้ันมียาเสพติดให้โทษดังกล่าว อยู่ในร่างกายหรอื ไม่ พนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ตำแหน่งใด ระดับใด หรือชั้นยศใดจะมีอำนาจหน้าท่ีตามที่ได้กำหนดไว้ตามวรรคหน่ึงทั้งหมด หรือแต่บางส่วน หรือจะต้องได้รับ อนุมัติจากบุคคลใดก่อนดำเนินการ ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดด้วยความเห็นชอบของ คณะกรรมการ โดยทำเอกสารมอบหมายใหไ้ วป้ ระจำตวั พนกั งานฝา่ ยปกครอง หรอื ตำรวจ หรอื พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ผู้ไดร้ บั มอบหมายน้ัน(๕๑) (๔๘-๔๙) มาตรา ๕๗ และ ๕๘ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๓ (๕๐) มาตรา ๕๘/๑ เพม่ิ เตมิ โดย พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๖ (๕๑) ๑. ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี ๑๘๔) พ.ศ. ๒๕๔๖ เร่ือง กำหนดอำนาจหน้าทีข่ องพนักงานฝ่ายปกครอง หรอื ตำรวจหรอื พนักงานเจ้าหน้าทเ่ี พือ่ ปฏบิ ตั ิการตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ๒. ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ที่ ๑๘๕) พ.ศ. ๒๕๔๖ เรอ่ื ง การออกเอกสารมอบหมายใหไ้ วป้ ระจำตวั พนกั งาน ฝา่ ยปกครองหรือตำรวจหรอื พนักงานเจ้าหนา้ ท่เี พื่อปฏบิ ตั กิ ารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยาเสพตดิ ให้โทษ

พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 323 วิธีการตรวจหรือการทดสอบตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท ่ี คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งน้ี ในประกาศดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีมาตรการ เกย่ี วกบั การแสดงความบรสิ ทุ ธข์ิ องพนกั งานฝา่ ยปกครองหรอื ตำรวจ หรอื พนกั งานเจา้ หนา้ ทใี่ นการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี และมาตรการเกี่ยวกับการห้ามเปิดเผยผลการตรวจหรือทดสอบแก่ผู้ท่ีไม่มีหน้าที่เก่ียวข้อง ในกรณีท่ีปรากฏผล เบือ้ งต้นเปน็ ทสี่ งสัยว่ามียาเสพติดใหโ้ ทษอยู่ในรา่ งกาย จนกว่าจะได้มกี ารตรวจยืนยันผลเป็นทแี่ นน่ อนแล้ว(๕๒) (๕๓) มาตรา ๕๘/๒ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด อาจมีมติให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประกาศให้ท้องท่ีใดเป็นท้องท่ี ทท่ี ำการเสพพืชกระทอ่ มได้โดยไม่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ้ี การเสพและการครอบครองพืชกระท่อมท่ีกระทำตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๙ ให้รัฐมนตรีกำหนดจำนวนยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ท่ีจะต้องใช้ในทางการแพทย์ และทางวิทยาศาสตร์ทั่วราชอาณาจักรประจำปี โดยให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาไม่ช้ากว่าเดือนมกราคม ของแต่ละปี และใหก้ ำหนดจำนวนเพมิ่ เตมิ ได้ในกรณจี ำเปน็ โดยใหป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษาเชน่ กนั (๕๔) มาตรา ๖๐ ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตประสงค์จะจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๒ หรือประเภท ๕ เกินปริมาณทีก่ ำหนดไว้ตามมาตรา ๘ (๕) ให้ยน่ื คำขอรับใบอนญุ าตตามมาตราน้ี การขอรับใบอนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีกำหนดใน กฎกระทรวง ให้นำบทบญั ญตั ใิ นมาตรา ๘ (๕) มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๖๑ ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตจำหน่ายหรือมีไว้ครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ตายกอ่ นใบอนุญาตสนิ้ อายุ ให้ทายาท ผู้ครอบครอง หรอื ผ้จู ดั การมรดกแจ้งให้ผอู้ นญุ าตทราบ ภายในเกา้ สิบวัน นับแต่วันท่ีผู้รับอนุญาตตาย และให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอำนาจยึดยาเสพติดให้โทษท่ีผู้รับอนุญาตมีเหลือมาเก็บ รักษาไว้ทีส่ ำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ยาเสพตดิ ให้โทษที่ยดึ ไวน้ ัน้ ใหก้ ระทรวง สาธารณสุขจ่ายคา่ ตอบแทนตามทีเ่ ห็นสมควร (๕๕) มาตรา ๖๑/๑ ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซ่ึง ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ตายก่อนใบอนุญาตส้ินอายุ และทายาทหรือผู้ท่ีได้รับความยินยอมจากทายาท แสดงความจำนงต่อผู้อนุญาตเพ่ือขอประกอบกิจการที่ได้รับอนุญาตนั้นต่อไปภายในเก้าสิบวันนับแต่วันท ่ี ผู้รับอนุญาตตาย เมื่อผู้อนุญาตตรวจสอบแล้วเห็นว่าผู้นั้นมีคุณสมบัติครบถ้วน ถูกต้องให้ผู้แสดงความจำนงน้ัน ประกอบกิจการต่อไปได้จนกว่าใบอนุญาตส้ินอายุ และให้ถือว่าผู้แสดงความจำนงเป็นผู้รับอนุญาตตาม พระราชบัญญตั ินตี้ ้งั แตว่ ันทผ่ี รู้ บั อนุญาตตาย การแสดงความจำนงและการตรวจสอบ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่คณะกรรมการ กำหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา (๕๒) ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ือง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจหรือ ทดสอบว่าบคุ คลหรือกลมุ่ บคุ คลใดมยี าเสพติดให้โทษอยู่ในรา่ งกายหรือไม่ (๕๓) มาตรา ๕๘/๒ เพม่ิ เตมิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๔ (๕๔) มาตรา ๖๐ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๕ และใหใ้ ชข้ อ้ ความทพ่ี มิ พไ์ วน้ แ้ี ทน (๕๕) มาตรา ๖๑/๑ เพม่ิ เตมิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๖

324 สำนกั งาน ป.ป.ส. ในกรณีที่ไม่มีการแสดงความจำนงเพ่ือขอประกอบกิจการตามวรรคหนึ่ง ให้ทายาทผู้ครอบครอง ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ นั้นทำลายหรือจำหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ที่เหลืออยู่ในกรณ ี ทจ่ี ำหนา่ ย ใหจ้ ำหนา่ ยแกผ่ รู้ บั อนญุ าตอน่ื ตามประเภทนน้ั หรอื แกผ่ ซู้ งึ่ ผอู้ นญุ าตเหน็ สมควร ทง้ั น้ี ภายในเกา้ สบิ วนั นับแตว่ ันท่ผี รู้ ับอนญุ าตตาย เวน้ แตผ่ อู้ นญุ าตจะผอ่ นผนั ขยายระยะเวลาตอ่ ไปอกี แตต่ ้องไม่เกนิ เกา้ สิบวนั ในกรณีที่ทายาทผู้ครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ไม่ปฏิบัติตามวรรคสาม ให้ยาเสพติด ให้โทษในประเภท ๕ ท่ีเหลืออยู่ตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข และให้กระทรวงสาธารณสุขหรือ ผซู้ ึ่งกระทรวงสาธารณสุขมอบหมายทำลายหรอื นำไปใชป้ ระโยชน์ไดต้ ามระเบยี บที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด มาตรา ๖๒ ให้ผู้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๗ มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๖ จัดให้มีการทำบัญชีรับจ่าย ยาเสพติดให้โทษและเสนอรายงานตอ่ เลขาธิการเป็นรายเดือนและรายปี บญั ชีดงั กล่าวใหเ้ กบ็ รกั ษาไว้และพร้อม ท่ีจะแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ทุกเวลาในขณะเปิดทำการ ทั้งน้ี ภายในห้าปีนับแต่วันท่ีลงรายการคร้ัง สุดทา้ ยในบญั ชี บญั ชรี บั จ่ายยาเสพตดิ ใหโ้ ทษตามวรรคหนง่ึ ให้เป็นไปตามแบบทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๓ เมื่อได้จัดตั้งสถานพยาบาลสำหรับบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดให้โทษตามมาตรา ๘ (๗) แล้วให้รัฐมนตรีกำหนดระเบียบข้อบังคับเพื่อควบคุมการบำบัดรักษา และระเบียบวินัยสำหรับสถานพยาบาล ดังกล่าวดว้ ย หมวด ๑๑ การนำผา่ นซ่ึงยาเสพติดให้โทษ(๕๖) มาตรา ๖๔ ในการนำผา่ นซ่งึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๔ และประเภท ๕ ต้องมีใบอนุญาตของเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจของประเทศท่ีส่งออกนั้นมาพร้อมกับยาเสพติดให้โทษ และต้องแสดง ใบอนุญาตดังกล่าวต่อพนักงานศุลกากร กับต้องยินยอมให้พนักงานศุลกากรเก็บรักษาหรือควบคุมยาเสพติด ให้โทษนัน้ ไว้ ให้พนกั งานศุลกากรเก็บรักษาหรอื ควบคุมยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๔ และ ประเภท ๕ น้ันไว้ในที่สมควร จนกว่าผู้ที่นำผ่านซึ่งยาเสพติดให้โทษจะนำยาเสพติดให้โทษดังกล่าว ออกไป นอกราชอาณาจักร ในกรณีที่ผู้นำผ่านซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๔ และประเภท ๕ ไม่นำ ยาเสพติดให้โทษดังกล่าวออกไปนอกราชอาณาจักรภายในกำหนดเวลาสามสิบวันนับแต่วันนำเข้า ให้พนักงาน ศุลกากรรายงานให้เลขาธิการทราบ เลขาธิการมีอำนาจออกคำสั่งให้ผู้นำผ่านซ่ึงยาเสพติดให้โทษ นำยาเสพติด ให้โทษดังกล่าวออกไปนอกราชอาณาจักรภายในกำหนดหกสิบวันนับแต่วันท่ีออกคำสั่ง ในกรณีผู้ได้รับคำสั่ง ไม่ปฏบิ ตั ิตาม ให้ยาเสพติดให้โทษดังกลา่ วตกเปน็ ของกระทรวงสาธารณสขุ (๕๖) พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มิได้บัญญัตินิยามศัพท์คำว่า “นำผ่าน” แต่สามารถดูเปรียบเทียบได้จาก พ.ร.บ. วัตถทุ อี่ อกฤทธต์ิ ่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๔

พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 325 (๕๗)หมวด ๑๑/๑ การอทุ ธรณ ์ (๕๘) มาตรา ๖๔/๑ ในกรณีท่ีผู้ได้รับคำส่ังของผู้อนุญาตตามมาตรา ๔๘/๒ ไม่เห็นด้วยกับคำส่ังดังกล่าว ให้มีสทิ ธิอทุ ธรณ์ตอ่ คณะกรรมการได้ (๕๙) มาตรา ๖๔/๒ การอุทธรณ์ตามมาตรา ๖๔/๑ ให้ย่ืนต่อคณะกรรมการภายในสิบส่ีวันนับแต่วันท่ี ผู้อทุ ธรณ์ได้รับทราบคำสัง่ ของผู้อนุญาต หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการยนื่ อทุ ธรณ์ และวิธีพิจารณาอทุ ธรณ์ ใหเ้ ปน็ ไปตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง การอุทธรณ์คำสั่งตามวรรคหนึ่ง ย่อมไม่เป็นการทุเลาการบังคับตามคำส่ังของผู้อนุญาต เว้นแต ่ คณะกรรมการจะส่งั เปน็ อยา่ งอ่นื เป็นการชวั่ คราวกอ่ นการวนิ จิ ฉัยอทุ ธรณ์ คำวนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการใหเ้ ปน็ ทส่ี ุด หมวด ๑๒ บทกำหนดโทษ (๖๐) มาตรา ๖๕ ผู้ใดผลิต นำเข้า หรือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ อันเป็นการฝ่าฝืน มาตรา ๑๕ ตอ้ งระวางโทษจำคุกตั้งแตส่ บิ ปีถงึ จำคกุ ตลอดชีวิต และปรับต้ังแตห่ น่งึ ล้านบาทถึงห้าลา้ นบาท ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคหน่ึงเป็นการกระทำเพ่ือจำหน่าย ต้องระวางโทษจำคุกตลอดชีวิต และปรบั ต้ังแต่หน่ึงลา้ นบาทถงึ ห้าล้านบาท หรอื ประหารชีวิต ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการผลิตโดยการแบ่งบรรจุ หรือรวมบรรจุ ต้องระวางโทษ จำคุกต้งั แตส่ ปี่ ีถงึ สิบห้าปี หรือปรบั ตั้งแตแ่ ปดหมื่นบาทถึงสามแสนบาท หรอื ทั้งจำทั้งปรับ ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคสาม เป็นการกระทำเพื่อจำหน่าย ต้องระวางโทษจำคุกต้ังแต่ส่ีป ี ถึงจำคุกตลอดชวี ิต และปรบั ตง้ั แต่ส่แี สนบาทถึงห้าลา้ นบาท (๖๑) มาตรา ๖๖ ผู้ใดจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ โดยไม่ได้รับอนุญาตและมีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธ์ิ หรือมีจำนวนหน่วยการใช้ หรือมีน้ำหนักสุทธิ ไม่ถึงปริมาณท่ีกำหนดตามมาตรา ๑๕ วรรคสาม ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ส่ีปีถึงสิบห้าปี หรือปรับต้ังแต่ แปดหมืน่ บาทถงึ สามแสนบาท หรอื ทั้งจำทั้งปรบั ถ้ายาเสพติดให้โทษตามวรรคหน่ึงมีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ปริมาณท่ีกำหนดตาม มาตรา ๑๕ วรรคสาม แต่ไม่เกินยี่สิบกรัม ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ส่ีปีถึงจำคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแต ่ ส่ีแสนบาทถงึ หา้ ล้านบาท ถ้ายาเสพติดให้โทษตามวรรคหนึ่งมีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธ์ิเกินย่ีสิบกรัมขึ้นไป ต้องระวาง โทษจำคุกตลอดชวี ิตและปรบั ตัง้ แตห่ นึง่ ลา้ นบาทถงึ หา้ ลา้ นบาท หรอื ประหารชีวติ (๖๒) มาตรา ๖๗ ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ โดยไม่ได้รับอนุญาต ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ตั้งแต่หนง่ึ ปีถงึ สบิ ปี หรอื ปรบั ต้ังแต่สองหม่นื บาทถงึ สองแสนบาท หรอื ทงั้ จำท้งั ปรับ (๕๗)- (๕๙) หมวด ๑๑/๑ การอุทธรณ์ มาตรา ๖๔/๑ และมาตรา ๖๔/๒ เพ่ิมเติมโดย พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๘ (๖๐) มาตรา ๖๕ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖ (๖๑) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๙ (๖๒) มาตรา ๖๗ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗

326 สำนกั งาน ป.ป.ส. (๖๓) มาตรา ๖๘ ผใู้ ดผลติ นำเขา้ หรอื สง่ ออกซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๒ อนั เปน็ การฝา่ ฝนื มาตรา ๑๖ ต้องระวางโทษจำคุกต้งั แต่หนง่ึ ปีถงึ สิบปี และปรบั ต้ังแต่หนง่ึ แสนบาทถงึ หนึ่งล้านบาท ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทำความผิดเป็นมอร์ฟีน ฝิ่น หรือโคคาอีน ผู้นั้นต้องระวาง โทษจำคกุ ต้งั แต่ย่สี ิบปถี งึ จำคุกตลอดชวี ติ และปรับต้งั แตส่ องลา้ นบาทถงึ ห้าล้านบาท (๖๔) มาตรา ๖๙ ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๑๗ ต้องระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ หา้ ปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ หน่ึงแสนบาท หรือท้งั จำท้งั ปรับ ผู้ใดจำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองเพ่ือจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ อันเป็นการฝ่าฝืน มาตรา ๑๗ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ตง้ั แตห่ นง่ึ ปถี งึ สบิ ปี หรอื ปรบั ตง้ั แตส่ องหมน่ื บาทถงึ สองแสนบาท หรอื ทงั้ จำทง้ั ปรบั ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทำความผิดตามวรรคสองเป็นมอร์ฟีน ฝ่ิน หรือโคคาอีน มีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่ถึงหน่ึงร้อยกรัม ผู้นั้นต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามปีถึงย่ีสิบปี หรือปรับ ตั้งแต่หกหม่ืนบาทถึงส่ีแสนบาท หรือทั้งจำท้ังปรับ แต่ถ้ามอร์ฟีน ฝ่ิน หรือโคคาอีนนั้น มีปริมาณคำนวณ เป็นสารบริสุทธ์ิต้ังแต่หนึ่งร้อยกรัมข้ึนไป ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงจำคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแต ่ หา้ แสนบาทถงึ หา้ ล้านบาท ถ้าผู้ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๗ กระทำการฝ่าฝืนตามวรรคหนึ่ง วรรคสองหรือวรรคสาม ตอ้ งระวางโทษจำคุกไม่เกนิ ห้าปี และปรับไม่เกินหน่ึงแสนบาท (๖๕) มาตรา ๗๐ ผู้ใดผลิตหรือนำเข้าซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๒๐ ตอ้ งระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนง่ึ ปีถึงสามปี และปรบั ต้ังแต่หน่งึ แสนบาทถงึ สามแสนบาท (๖๖) มาตรา ๗๑ ผู้ใดจำหนา่ ย มีไวใ้ นครอบครองเพือ่ จำหน่าย หรอื ส่งออกซง่ึ ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๒๐ วรรคหนึ่ง โดยมีจำนวนยาเสพติดให้โทษไม่เกินท่ีกำหนดตามมาตรา ๒๐ วรรคสี่ ตอ้ งระวางโทษจำคุกไม่เกนิ หน่งึ ปี หรือปรบั ไมเ่ กินสองหมนื่ บาท หรือทัง้ จำทั้งปรบั กรณตี ามวรรคหนงึ่ ถา้ มยี าเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ เกนิ จำนวนตามมาตรา ๒๐ วรรคสี่ ตอ้ งระวางโทษ จำคกุ ไม่เกินสองปี และปรบั ไม่เกินสองแสนบาท (๖๗) มาตรา ๗๒ ผู้ใดนำเข้าหรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๒๒ ต้องระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กินหนึ่งปี และปรับไม่เกนิ หนง่ึ แสนบาท (๖๘) มาตรา ๗๓ ผใู้ ดผลิต นำเขา้ ส่งออก จำหนา่ ย หรือมไี วใ้ นครอบครองเพอื่ จำหน่ายซง่ึ ยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๔ อนั เปน็ การฝา่ ฝนื มาตรา ๒๖ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ตง้ั แตห่ นงึ่ ปถี งึ สบิ ปี และปรบั ตง้ั แตส่ องหมนื่ บาท ถึงสองแสนบาท กรณีตามวรรคหนึ่ง ถ้ามียาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ตั้งแต่สิบกิโลกรัมข้ึนไป ต้องระวางโทษจำคุก ต้ังแตห่ น่ึงปถี ึงสบิ ห้าปแี ละปรบั ต้งั แตห่ น่ึงแสนบาทถงึ หน่ึงล้านหา้ แสนบาท (๖๙) มาตรา ๗๔ ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๒๖ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหา้ ปี หรอื ปรับไม่เกินหนงึ่ แสนบาท หรอื ท้งั จำทั้งปรับ (๖๓)-(๖๔) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๐ (๖๕)-(๖๙) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๑

พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 327 (๗๐) มาตรา ๗๕ ผู้ใดผลิต นำเข้า หรือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ อันเป็นการฝ่าฝืน มาตรา ๒๖/๒ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ หา้ ปี และปรบั ไมเ่ กนิ หา้ แสนบาท ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทำเพื่อจำหน่าย ต้องระวางโทษจำคุกต้ังแต่หนึ่งปีถึง สบิ ห้าปี และปรบั ตง้ั แตห่ น่งึ แสนบาทถงึ หน่ึงลา้ นหา้ แสนบาท ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองน้ันเป็นพืชกระท่อม ผู้นั้นต้องระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท (๗๑) มาตรา ๗๖ ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๒๖/๓ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไม่เกนิ ห้าปี หรือปรับไม่เกนิ หนงึ่ แสนบาท หรือทัง้ จำทั้งปรับ ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งน้ันเป็นพืชกระท่อมผู้นั้น ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินสองหมืน่ บาท (๗๒) มาตรา ๗๖/๑ ผู้ใดจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ อนั เปน็ การฝา่ ฝนื มาตรา ๒๖/๓ โดยมปี รมิ าณยาเสพตดิ ใหโ้ ทษไมถ่ งึ สบิ กโิ ลกรมั ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ หา้ ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กินหนงึ่ แสนบาท หรอื ทั้งจำทั้งปรบั กรณีตามวรรคหน่ึง ถ้ามียาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ตั้งแต่สิบกิโลกรัมข้ึนไป ต้องระวางโทษจำคุก ตั้งแตห่ น่ึงปีถึงสิบห้าปี และปรบั ตัง้ แต่หนงึ่ แสนบาทถงึ หนึ่งล้านห้าแสนบาท ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งนั้นเป็นพืชกระท่อมผู้น้ัน ตอ้ งระวางโทษจำคุกไมเ่ กนิ สองปี หรอื ปรับไม่เกินสห่ี มน่ื บาท หรือท้งั จำทงั้ ปรบั ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทำความผิดตามวรรคสองน้ันเป็นพืชกระท่อมผู้นั้น ต้องระวางโทษจำคุกไมเ่ กนิ สองปี และปรับไม่เกนิ สองแสนบาท (๗๓) มาตรา ๗๗ ผรู้ ับอนญุ าตผูใ้ ดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินสองหมื่นบาท (๗๔) มาตรา ๗๘ ผรู้ ับอนญุ าตผใู้ ดฝ่าฝืนมาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ หรอื มาตรา ๓๑ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกิน สีห่ มืน่ บาท (๗๕) มาตรา ๗๙ ผรู้ บั อนญุ าตผูใ้ ดฝา่ ฝนื มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ หรือมาตรา ๓๔ ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กิน หนงึ่ แสนบาท (๗๖) มาตรา ๗๙/๑ ผ้รู ับอนญุ าตผู้ใดฝ่าฝนื มาตรา ๓๔/๑ มาตรา ๓๔/๒ มาตรา ๓๔/๓ หรือมาตรา ๓๔/๔ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกนิ สีห่ ม่ืนบาท (๗๗) มาตรา ๘๐ ผรู้ บั อนญุ าตผใู้ ดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๓๕ วรรคหนง่ึ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ สองหมนื่ บาท (๗๘) มาตรา ๘๑ เภสัชกรผู้มีหน้าที่ควบคุมผู้ใดไม่ปฏิบัติการให้เป็นไปตามมาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ หรือ มาตรา ๓๘ ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กนิ สองหมนื่ บาท (๗๙) มาตรา ๘๒ ผู้ใดผลิต นำเข้า หรือส่งออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ปลอม อันเป็นการฝ่าฝืน มาตรา ๓๙ (๑) ต้องระวางโทษจำคกุ ต้งั แตส่ ามปีถงึ ยี่สิบปี และปรบั ตงั้ แตส่ ามแสนบาทถึงสองลา้ นบาท (๗๐)-(๗๒) มาตรา ๗๕ มาตรา ๗๖ และมาตรา ๗๖/๑ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๗ (๗๓)–(๗๕) มาตรา ๗๗ มาตรา ๗๘ และมาตรา ๗๙ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๕ (๗๖) มาตรา ๗๙/๑ เพม่ิ เตมิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๘ (๗๗)–(๗๙) มาตรา ๘๐ มาตรา ๘๑ และมาตรา ๘๒ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔

328 สำนักงาน ป.ป.ส. (๘๐) มาตรา ๘๓ ผู้ใดจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ปลอม อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๓๙ (๑) ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไม่เกินห้าปี และปรบั ไม่เกินหา้ แสนบาท (๘๑) มาตรา ๘๔ ผใู้ ดผลติ นำเขา้ หรอื สง่ ออกซงึ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ ผดิ มาตรฐาน หรอื ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ เส่ือมคุณภาพ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๓๙ (๒) หรือ (๓) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน สามปี หรอื ปรบั ไมเ่ กินหกหม่ืนบาท หรือทง้ั จำท้งั ปรับ (๘๒) มาตรา ๘๕ ผู้ใดจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ผิดมาตรฐานหรือยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๓ เสื่อมคุณภาพ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๓๙ (๒) หรือ (๓) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหน่ึงปี หรอื ปรบั ไมเ่ กินสองหมืน่ บาท หรอื ทง้ั จำทัง้ ปรับ (๘๓) มาตรา ๘๖ ผูใ้ ดผลติ นำเข้า หรือส่งออกซ่ึงยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ ท่ีตอ้ งขึ้นทะเบียนตำรับยา แต่มิได้ขึ้นทะเบียนตำรับยา หรือยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ที่รัฐมนตรีส่ังเพิกถอนทะเบียนตำรับยา อนั เปน็ การฝ่าฝนื มาตรา ๓๙ (๔) หรือ (๕) ต้องระวางโทษจำคกุ ไม่เกินหา้ ปี และปรบั ไม่เกนิ ห้าแสนบาท (๘๔) มาตรา ๘๗ ผู้ใดจำหน่ายยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ที่ตอ้ งขนึ้ ทะเบียนตำรบั ยาแตม่ ไิ ดข้ ้นึ ทะเบยี น ตำรับยา หรือยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ท่ีรัฐมนตรีสั่งเพิกถอนทะเบียนตำรับยา อันเป็นการฝ่าฝืน มาตรา ๓๙ (๔) หรอื (๕) ต้องระวางโทษจำคกุ ไม่เกินสามปี และปรบั ไมเ่ กนิ สามแสนบาท (๘๕) มาตรา ๘๘ ผู้ใดแก้ไขรายการทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ อันเป็นการฝ่าฝืน มาตรา ๔๔ วรรคหน่งึ ตอ้ งระวางโทษจำคุกไมเ่ กินหน่งึ ปี หรอื ปรับไม่เกนิ สองหมน่ื บาท หรอื ทั้งจำทง้ั ปรบั (๘๖) มาตรา ๘๙ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๘ หรือมาตรา ๔๘/๑ หรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงท่ีออกตาม มาตรา ๔๘ หรือมาตรา ๔๘/๑ หรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา ๔๘/๒ ต้องระวางโทษ จำคกุ ไมเ่ กินสองปี หรอื ปรบั ตั้งแตส่ องหม่นื บาทถึงสองแสนบาท หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ (๘๗) มาตรา ๘๙/๑ ถ้าการกระทำตามมาตรา ๘๙ เป็นการกระทำของเจ้าของส่ือโฆษณา หรือผู้ประกอบ กิจการโฆษณา ผ้กู ระทำต้องระวางโทษเพียงกึ่งหนงึ่ ของโทษทบี่ ญั ญัติไวส้ ำหรับความผดิ นน้ั (๘๘) มาตรา ๘๙/๒ ถ้าการกระทำความผิดตามมาตรา ๘๙ หรือมาตรา ๘๙/๑ เป็นความผิดต่อเน่ือง ผู้กระทำตอ้ งระวางโทษปรบั วนั ละไมเ่ กนิ หา้ พนั บาท หรอื ไมเ่ กนิ สองเท่าของค่าใชจ้ า่ ยท่ีใช้สำหรบั การโฆษณานั้น ตลอดระยะเวลาทยี่ ังฝ่าฝืนหรอื ไม่ปฏิบัติตาม (๘๙) มาตรา ๙๐ ผใู้ ดไมอ่ ำนวยความสะดวกตามสมควรแกพ่ นกั งานเจา้ หนา้ ทซ่ี ง่ึ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ ามมาตรา ๔๙ หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา ๕๕ ต้องระวางโทษจำคุก ไม่เกินหกเดือน หรือปรบั ไม่เกนิ หนึง่ หม่นื บาท หรือทัง้ จำทั้งปรับ (๙๐) มาตรา ๙๑ ผู้ใดเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๕๗ หรือยาเสพติด ให้โทษในประเภท ๒ อนั เป็นการฝ่าฝนื มาตรา ๕๘ ตอ้ งระวางโทษจำคุกตง้ั แต่หกเดือนถงึ สามปี หรอื ปรับตั้งแต่ หนง่ึ หมืน่ บาทถงึ หกหมน่ื บาท หรอื ท้งั จำทัง้ ปรบั (๘๐)–(๘๖) มาตรา ๘๓ มาตรา ๘๔ มาตรา ๘๕ มาตรา ๘๖ มาตรา ๘๗ มาตรา ๘๘ และมาตรา ๘๙ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๔ (๘๗)–(๘๘) มาตรา ๘๙/๑ และมาตรา ๘๙/๒ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๕ (๘๙)–(๙๐) มาตรา ๙๐ และมาตรา ๙๑ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๖

พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 329 (๙๑) มาตรา ๙๒ ผใู้ ดเสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ อนั เปน็ การฝา่ ฝนื มาตรา ๕๘ วรรคสองตอ้ งระวางโทษ จำคกุ ไมเ่ กนิ หนง่ึ ปี หรือปรับไมเ่ กินสองหม่นื บาท หรอื ทั้งจำทง้ั ปรบั ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทำความผิดตามวรรคหน่ึงน้ันเป็นพืชกระท่อม ผู้นั้น ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กินสองพันบาท (๙๒) มาตรา ๙๒/๑ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำส่ังของพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึง่ สงั่ ตามมาตรา ๕๘/๑ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กินหกเดือน หรอื ปรับไมเ่ กินหนึง่ หม่นื บาท (๙๓) มาตรา ๙๓ ผู้ใดใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กำลังประทุษร้าย ใช้อำนาจครอบงำผิดคลองธรรม หรือ ใช้วิธีข่มขืนใจด้วยประการอื่นใด ให้ผู้อื่นเสพยาเสพติดให้โทษ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบป ี และปรบั ตั้งแตห่ นึ่งแสนบาทถงึ หน่งึ ล้านบาท ถ้าได้กระทำโดยมีอาวุธ หรือโดยร่วมกระทำความผิดด้วยกันต้ังแต่สองคนขึ้นไป ผู้กระทำต้องระวาง โทษจำคกุ ต้งั แต่สองปถี ึงสิบหา้ ปี และปรับต้งั แต่สองแสนบาทถึงหนึ่งลา้ นหา้ แสนบาท ถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง เป็นการกระทำต่อหญิงหรือต่อบุคคลซ่ึงยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นการกระทำเพ่ือจูงใจให้ผู้อ่ืนกระทำผิดทางอาญา หรือเพ่ือประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อ่ืนในการกระทำ ความผิดทางอาญา ผู้กระทำตอ้ งระวางโทษจำคุกตัง้ แตส่ ามปถี งึ จำคุกตลอดชีวติ และปรับตงั้ แต่สามแสนบาทถึง ห้าลา้ นบาท ถ้ายาเสพตดิ ให้โทษซึง่ เป็นวัตถุแห่งการกระทำความผดิ ตามวรรคสามเปน็ มอร์ฟนี หรือโคคาอีน ผกู้ ระทำ ต้องระวางโทษเพ่ิมข้ึนอีกกึ่งหนึ่ง และถ้าเป็นการกระทำต่อหญิงหรือต่อบุคคลซ่ึงยังไม่บรรลุนิติภาวะ ผู้กระทำ ต้องระวางโทษจำคุกตลอดชีวิต และปรบั ตัง้ แต่หนงึ่ ล้านบาทถงึ หา้ ลา้ นบาท ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทำความผิดตามวรรคสามเป็นเฮโรอีน ผู้กระทำต้องระวาง โทษเป็นสองเท่า และถ้าเป็นการกระทำต่อหญิงหรือต่อบุคคลซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ ผู้กระทำต้องระวางโทษ ประหารชวี ติ (๙๔) มาตรา ๙๓/๑ ผู้ใดยุยงส่งเสริมให้ผู้อ่ืนเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ หรือยาเสพติดให้โทษ ในประเภท ๒ โดยฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ต้องระวางโทษจำคุกต้ังแต่หน่ึงปีถึงห้าปี หรือปรับ ตัง้ แตส่ องหมื่นบาทถึงหนง่ึ แสนบาท หรอื ทง้ั จำท้งั ปรับ ถา้ การกระทำตามวรรคหนง่ึ เปน็ การยยุ งสง่ เสรมิ ใหผ้ อู้ นื่ เสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ ตอ้ งระวางโทษ จำคุกไม่เกนิ หน่งึ ปี หรือปรับไม่เกินสองหมนื่ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (๙๕) มาตรา ๙๓/๒ ผู้ใดใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กำลังประทุษร้าย ใช้อำนาจครอบงำผิดคลองธรรม หรือใช้วิธีข่มขืนใจด้วยประการอื่นใดให้ผู้อ่ืนกระทำความผิดฐานผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย ครอบครอง เพื่อจำหน่าย หรือครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษ ต้องระวางโทษเป็นสองเท่าของโทษท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ สำหรับความผดิ น้ัน (๙๑) มาตรา ๙๒ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๑๙ (๙๒) มาตรา ๙๒/๑ เพม่ิ เตมิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๘ (๙๓) มาตรา ๙๓ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๙ (๙๔) มาตรา ๙๓/๑ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๐ (๙๕) มาตรา ๙๓/๒ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๑

330 สำนกั งาน ป.ป.ส. (๙๖) มาตรา ๙๔ ผู้ใดเสพยาเสพติดให้โทษ เสพและมีไว้ในครอบครอง เสพและมีไว้ในครอบครอง เพื่อจำหน่าย หรือเสพและจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษตามลักษณะ ชนิด ประเภทและปริมาณที่กำหนด ในกฎกระทรวง และได้สมัครใจขอเข้ารับการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลก่อนความผิดจะปรากฏต่อพนักงาน เจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ อีกทั้งได้ปฏิบัติครบถ้วนตามระเบียบข้อบังคับเพื่อควบคุม การบำบัดรักษา และระเบียบวินัยสำหรับสถานพยาบาลดังกล่าว จนได้รับการรับรองเป็นหนังสือจากพนักงาน เจ้าหน้าท่ีที่รัฐมนตรีกำหนดแล้ว ให้พ้นจากความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ แต่ท้ังนี้ไม่รวมถึงกรณีความผิด ที่ไดก้ ระทำไปภายหลังการสมคั รใจเขา้ รับการบำบัดรักษา การรบั เขา้ บำบดั รกั ษาในสถานพยาบาลตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารทคี่ ณะกรรมการ ประกาศกำหนด (๙๗) มาตรา ๙๔/๑ ผู้ใดทำการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดให้โทษเป็นปกติธุระโดยใช้ยาตามกฎหมาย ว่าด้วยยา วัตถุออกฤทธิ์ตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้โทษ ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ หรือกระทำการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดให้โทษไม่ว่าโดยวิธีอ่ืนใด ซึ่งมิได้กระทำในสถานพยาบาลตามท่ีกำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ ตอ้ งระวางโทษจำคุกต้งั แต่หกเดอื นถงึ สามปี และปรับต้ังแต่ห้าหมื่นบาทถึงสามแสนบาท (๙๘) มาตรา ๙๕ ทายาท ผ้คู รอบครอง หรอื ผจู้ ดั การมรดกผใู้ ดฝ่าฝนื มาตรา ๖๑ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกิน สองพนั บาท (๙๙) มาตรา ๙๖ ผรู้ บั อนญุ าตผใู้ ดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๖๒ วรรคหนง่ึ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หนง่ึ หมน่ื บาท มาตรา ๙๗ ผู้ใดต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษจำคุกสำหรับความผิดตามพระราชบัญญัติน ี้ ถ้ากระทำความผิดตามพระราชบัญญัติน้ีอีกในระหว่างท่ียังต้องรับโทษอยู่หรือภายในเวลาห้าปีนับแต่วันพ้นโทษ หากศาลจะพิพากษาลงโทษครั้งหลังถึงจำคุก ให้เพ่ิมโทษท่ีจะลงแก่ผู้น้ันอีกกึ่งหนึ่งของโทษที่ศาลกำหนด สำหรับความผิดคร้งั หลงั มาตรา ๙๘ ผ้ใู ดต้องโทษตามมาตรา ๙๑ หรอื มาตรา ๙๒ เป็นคร้ังทีส่ าม เม่ือพน้ โทษแล้ว ใหพ้ นักงาน เจ้าหน้าท่ีโดยคำสั่งรัฐมนตรีนำไปควบคุมไว้ ณ สถานพยาบาลที่รัฐมนตรีประกาศจัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะ และใหท้ ำการบำบัดรักษาจนกวา่ จะได้รบั การรบั รองเปน็ หนงั สอื จากพนกั งานเจ้าหน้าทท่ี ่ีรัฐมนตรีกำหนดวา่ เป็น ผู้ได้รับการบำบัดรักษาครบถ้วนตามระเบียบข้อบังคับเพ่ือควบคุมการบำบัดรักษา และระเบียบวินัยสำหรับ สถานพยาบาลดังกล่าวแลว้ (๑๐๐) มาตรา ๙๙ ผู้ใดหลบหนีไปในระหว่างที่ถูกควบคุมไว้ ณ สถานพยาบาลตามมาตรา ๙๘ ต้องระวาง โทษจำคกุ ไมเ่ กนิ หนงึ่ ปี หรือปรับไม่เกนิ สองหม่นื บาท หรือทง้ั จำท้งั ปรับ (๙๖) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๒ และใหใ้ ชข้ อ้ ความทพ่ี มิ พไ์ วน้ แี้ ทน (๙๗) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๓ และใหใ้ ชข้ อ้ ความทพ่ี มิ พไ์ วน้ แ้ี ทน (๙๘) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๔ และใหใ้ ชข้ อ้ ความทพี่ มิ พไ์ วน้ แ้ี ทน (๙๙) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๔ และใหใ้ ชข้ อ้ ความทพี่ มิ พไ์ วน้ แ้ี ทน (๑๐๐) มาตรา ๙๙ แกไ้ ขโดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๕

พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 331 (๑๐๑) มาตรา ๑๐๐ กรรมการหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ หรือข้าราชการ หรือพนักงาน องค์การหรือหน่วยงานของรัฐผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองเพ่ือจำหน่ายซ่ึง ยาเสพติดให้โทษ หรือสนับสนุนในการกระทำดังกล่าว อันเป็นการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ ต้องระวางโทษเป็นสามเทา่ ของโทษท่กี ำหนดไวส้ ำหรบั ความผิดน้ัน (๑๐๒) มาตรา ๑๐๐/๑ ความผิดตามพระราชบัญญัติน้ีที่มีโทษจำคุกและปรับ ให้ศาลลงโทษจำคุกและปรับ ดว้ ยเสมอ โดยคำนงึ ถงึ การลงโทษในทางทรัพย์สินเพ่อื ป้องปรามการกระทำความผิดเกยี่ วกบั ยาเสพติดใหโ้ ทษ ถ้าศาลเห็นว่าการกระทำความผดิ ของผใู้ ดเม่ือไดพ้ เิ คราะหถ์ ึงความรา้ ยแรงของการกระทำความผดิ ฐานะ ของผู้กระทำความผิดและพฤติการณ์ท่ีเก่ียวข้องประกอบแล้ว กรณีมีเหตุอันสมควรเป็นการเฉพาะราย ศาลจะ ลงโทษปรับน้อยกว่าอตั ราโทษขั้นตำ่ ทก่ี ำหนดไว้สำหรบั ความผิดนัน้ กไ็ ด้ (๑๐๓) มาตรา ๑๐๐/๒ ถ้าศาลเห็นว่าผู้กระทำความผิดผู้ใดได้ให้ข้อมูลท่ีสำคัญและเป็นประโยชน์อย่างย่ิง ในการปราบปรามการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติดให้โทษต่อพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจหรือ พนกั งานสอบสวน ศาลจะลงโทษผู้น้ันน้อยกวา่ อัตราโทษขนั้ ต่ำที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนัน้ กไ็ ด้ (๑๐๔) มาตรา ๑๐๑ ในกรณีที่มีการยึดยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ หรือประเภท ๓ ตามมาตรา ๔๙ (๒) หรือตามกฎหมายอืน่ และไมม่ ีการฟ้องคดีตอ่ ศาล ถา้ ไม่มผี ใู้ ดมาอา้ งวา่ เป็นเจ้าของภายใน กำหนดหกเดือนนบั แตว่ ันท่ยี ึด ให้ยาเสพติดใหโ้ ทษนนั้ ตกเปน็ ของกระทรวงสาธารณสขุ (๑๐๕) มาตรา ๑๐๑ ทวิ ในกรณที มี่ กี ารยดึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๔ หรอื ประเภท ๕ ตามมาตรา ๔๙ (๒) หรือตามกฎหมายอ่ืน ไม่ว่าจะมีการฟ้องคดีต่อศาลหรือไม่ก็ตาม เม่ือได้มีการตรวจพิสูจน์ชนิดและปริมาณแล้ว ว่าเปน็ ยาเสพติดให้โทษในประเภทดังกลา่ ว โดยบนั ทึกรายงานการตรวจพิสูจนไ์ ว้ ให้กระทรวง สาธารณสขุ หรือ ผซู้ งึ่ กระทรวงสาธารณสขุ มอบหมายทำลายหรอื นำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดต้ ามระเบยี บทก่ี ระทรวง สาธารณสขุ กำหนด (๑๐๖) มาตรา ๑๐๒ บรรดายาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ ประเภท ๒ ประเภท ๔ หรอื ประเภท ๕ เครอื่ งมอื เครื่องใช้ ยานพาหนะหรือวัตถุอ่ืน ซ่ึงบุคคลได้ใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ อันเป็น ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ริบเสียท้ังสน้ิ (๑๐๗) มาตรา ๑๐๒ ทว ิ ในกรณีที่มีการฟ้องคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ หรือ ในประเภท ๒ ตอ่ ศาล และไมไ่ ดม้ กี ารโตแ้ ยง้ เรอื่ งประเภท จำนวน หรอื นำ้ หนกั ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ถา้ ศาลชน้ั ตน้ มคี ำพพิ ากษาหรอื คำสงั่ ใหร้ บิ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษดงั กลา่ วตามมาตรา ๑๐๒ หรอื ตามกฎหมายอนื่ และไมม่ คี ำเสนอวา่ ผู้เป็นเจ้าของแท้จริงไม่ได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำความผิดภายในกำหนดสามสิบวันนับแต่วันท่ีศาลมี คำพิพากษาหรือคำส่ังให้ริบยาเสพติดให้โทษน้ัน ให้กระทรวงสาธารณสุขหรือผู้ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข มอบหมายทำลายหรอื นำไปใช้ประโยชน์ได้ตามระเบียบทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ กำหนด (๑๐๑) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๕ และใหใ้ ชข้ อ้ ความทพ่ี มิ พไ์ วน้ แี้ ทน (๑๐๒)-(๑๐๓) มาตรา ๑๐๐/๑ และมาตรา ๑๐๐/๒ เพม่ิ เตมิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๖ (๑๐๔) ขอ้ ความเดมิ ถกู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๑๑ และใหใ้ ชข้ อ้ ความทพ่ี มิ พไ์ วน้ แี้ ทน (๑๐๕) มาตรา ๑๐๑ ทวิ เพมิ่ เตมิ โดย พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๑๒ (๑๐๖) นอกเหนอื จากทรพั ยส์ นิ ทเี่ ปน็ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้ ยานพาหนะ หรอื วตั ถอุ น่ื ซง่ึ บคุ คลไดใ้ ชใ้ นการกระทำความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษจะถกู รอ้ งขอใหร้ บิ ตามมาตรา ๑๐๒ นแี้ ลว้ ยงั อาจถกู รอ้ งขอใหร้ บิ ตามมาตรา ๓๐ แหง่ พ.ร.บ.มาตรการ ในการปราบปรามผกู้ ระทำความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ กไ็ ด้ โดยผลจะแตกตา่ งกนั คอื หากมกี ารรอ้ งขอใหร้ บิ ตามมาตรา ๑๐๒ นี้ ทรัพย์สินจะตกเป็นของแผ่นดินแต่หากมีการร้องขอให้ริบตามมาตรา ๓๐ แห่ง พ.ร.บ.มาตรการฯ ทรพั ยส์ นิ จะตกเปน็ ของกองทนุ ปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ (๑๐๗) มาตรา ๑๐๒ ทวิ เพมิ่ เตมิ โดย พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๓ ซงึ่ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๑๗ ตอนที่ ๑๑๑ ก ลงวนั ที่ ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๓

332 สำนกั งาน ป.ป.ส. บทเฉพาะกาล(๑๐๘) มาตรา ๑๐๓ ในขณะทย่ี งั ไมม่ ปี ระกาศระบชุ อ่ื ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษตามมาตรา ๘ (๑) แหง่ พระราชบญั ญตั นิ ้ี ให ้ (๑) เฮโรอีน หรือเกลือของเฮโรอีน ตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๔ ทวิ แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติด ใหโ้ ทษ พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๖๕ ซ่งึ แก้ไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๐๔ เป็นยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๑ (๒) ยาเสพติดให้โทษทม่ี ีชอื่ ในบัญชีทา้ ยกฎกระทรวง และประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ดงั ตอ่ ไปน้ีเป็น ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๒ (ก) ตามบญั ชที า้ ยกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๐๗) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พระพทุ ธศกั ราช ๒๔๖๕ (ข) ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเร่ืองกำหนดรายชื่อยาเสพติดให้โทษเพ่ิมเติมออกตาม ความในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พระพุทธศักราช ๒๔๖๕ ฉบับลงวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๑ ฉบับลงวันที่ ๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ฉบับลงวนั ท่ี ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ฉบับลงวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๔ ฉบับลงวนั ที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๖ และฉบับลงวนั ที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ (๓) อาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl Chloride) เป็นยาเสพติด ให้โทษในประเภท ๔ (๔) กัญชา ตามพระราชบัญญัติกัญชา พุทธศักราช ๒๔๗๗ และพืชกระท่อมตามพระราชบัญญัต ิ พชื กระทอ่ ม พุทธศักราช ๒๔๘๖ เปน็ ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๕ มาตรา ๑๐๔ ให้ยายกเว้นตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษซ่ึงใช้อยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัติน ้ ี ใชบ้ ังคับเป็นยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๓ ตามความในพระราชบญั ญตั นิ ้ี ให้ผู้ได้รับอนุญาตผลิต ขาย หรือนำเข้าซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ดังกล่าวในวรรคหนึ่ง ตามกฎหมายว่าด้วยยา ยื่นคำขอรับใบอนุญาตผลิต จำหน่าย หรือนำเข้าซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ตามมาตรา ๒๐ และในกรณีผู้ผลิตหรือผู้นำเข้า ให้ย่ืนคำขอข้ึนทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ตามมาตรา ๔๓ ภายในกำหนดเวลาหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ และเมื่อได ้ ย่ืนคำขอรับใบอนุญาตและคำขอขึ้นทะเบียนตำรับยาดังกล่าวแล้ว ให้ผู้ยื่นคำขอดำเนินกิจการไปพลางก่อนได้ แต่ถ้าผู้อนุญาตมีคำสั่งเป็นหนังสือไม่ออกใบอนุญาตให้ หรือผู้นั้นไม่มายื่นคำขอรับใบอนุญาตผลิต จำหน่าย หรือนำเข้า และขอข้ึนทะเบียนตำรับยาภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้เป็นอันหมดสิทธิตามมาตราน ี้ นับแต่ทราบคำส่ัง หรือวันท่ีพ้นกำหนดหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ แล้วแต่กรณี และให้นำความในมาตรา ๕๕ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม มาตรา ๑๐๕ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตนำยายกเว้นเข้าในราชอาณาจักร ตามแบบ ย.ส.๙ ท้าย กฎกระทรวงมหาดไทย ออกตามความในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พุทธศักราช ๒๔๖๕ ตามที่ได้แก้ไข เพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี ๒) พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๙ นำยายกเวน้ เขา้ ในราชอาณาจกั รได้ ตามใบอนญุ าตดงั กลา่ ว แต่ต้องปฏบิ ตั ติ ามบทบัญญตั ใิ นมาตรา ๑๐๔ ด้วย (๑๐๘) มาตรา ๑๐๓ มาตรา ๑๐๕ และมาตรา ๑๐๖ สนิ้ สภาพบงั คบั ในทางกฎหมายแลว้ เนอื่ งจากไดป้ ฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั นิ แี้ ละ พน้ ระยะเวลาทก่ี ำหนดไวใ้ นบทเฉพาะกาลนแี้ ลว้

พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 333 มาตรา ๑๐๖ ผูท้ ไ่ี ด้รบั อนุญาตให้ซอื้ มี และจา่ ยยาเสพตดิ ให้โทษ หรอื ใบอนุญาตพเิ ศษให้ซ้อื มี และ จา่ ยยาเสพตดิ ใหโ้ ทษเพิ่มขนึ้ กว่าจำนวนท่กี ำหนดไว้ ตามความในกฎหมายว่าดว้ ยยาเสพติดให้โทษ ซึง่ ใชอ้ ย่กู อ่ น วันทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ใ้ี ชบ้ งั คับ ใหค้ งมียาเสพติดให้โทษไวใ้ นครอบครองดำเนนิ กจิ การต่อไปไดจ้ นกว่าใบอนญุ าต น้ันสิ้นอายุ และถ้าประสงค์จะดำเนินกิจการต่อไป ให้ย่ืนคำขอรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ก่อน ใบอนุญาตเดิมจะส้ินอายุ แต่ถ้าผู้อนุญาตมีคำส่ังเป็นหนังสือไม่ออกใบอนุญาตให้ ผู้นั้นไม่มีสิทธิดำเนินกิจการ นบั แตว่ นั ทีท่ ราบคำสั่งเป็นตน้ ไป และให้นำความในมาตรา ๕๕ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม ผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการ ส. โหตระกิตย์ รองนายกรัฐมนตรี

334 สำนักงาน ป.ป.ส. อัตราค่าธรรมเนียม(๑๐๙) (๑) ใบอนุญาตใหผ้ ลติ ซงึ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๒ ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท (๒) ใบอนุญาตใหน้ ำเข้าซึง่ ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๒ ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท (๓) ใบอนญุ าตให้สง่ ออกซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ ฉบบั ละ ๑,๐๐๐ บาท (๔) ใบอนญุ าตจำหน่ายยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๒ ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท (๕) ใบอนุญาตมไี ว้ในครอบครองซึ่งยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๒ ฉบบั ละ ๒๐๐ บาท (๖) ใบอนญุ าตจำหนา่ ยยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๓ ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท (๗) ใบอนุญาตผลติ ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๓ หรอื ประเภท ๔ ฉบบั ละ ๖,๐๐๐ บาท (๘) ใบอนุญาตนำเข้าซึง่ ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ฉบบั ละ ๖,๐๐๐ บาท (๙) ใบอนญุ าตสง่ ออกซงึ่ ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท ๓ หรอื ประเภท ๔ ฉบบั ละ ๒๐๐ บาท (๑๐) ใบอนญุ าตมไี ว้ในครอบครองซง่ึ ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๔ ฉบบั ละ ๒๐๐ บาท (๑๑) ใบอนุญาตนำเขา้ หรอื สง่ ออกแตล่ ะครัง้ ซึ่งยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๓ ฉบับละ ๑๐๐ บาท (๑๒) ใบอนุญาตจำหน่ายมไี ว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๒ เกนิ ปริมาณที่รัฐมนตรกี ำหนดตามมาตรา ๖๐ ฉบบั ละ ๒๐๐ บาท (๑๓) ใบสำคญั การขนึ้ ทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ ฉบับละ ๒,๐๐๐ บาท (๑๔) ใบอนุญาตโฆษณาเพือ่ การค้าซง่ึ ยาเสพติดใหโ้ ทษตามมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๘/๑ ฉบับละ ๓,๐๐๐ บาท (๑๕) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ ๑๐๐ บาท (๑๖) ใบแทนใบสำคญั การขน้ึ ทะเบยี นตำรับยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท ๓ ฉบับละ ๑๐๐ บาท (๑๗) การอนญุ าตใหแ้ ก้ไขรายการทะเบียนตามมาตรา ๔๔ ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท (๑๘) การตอ่ อายใุ บอนุญาตหรอื ใบสำคัญการขึ้นทะเบยี นตำรบั ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ครั้งละเท่ากับคา่ ธรรมเนียมสำหรับใบอนุญาตหรือใบสำคญั น้ัน หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เน่ืองจากกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันได้ใช้บังคับมานานแล้ว และมีบทบัญญัติที่ไม่เหมาะสมกับกาลสมัย สมควรปรับปรุงกฎหมายดังกล่าวเพ่ือให้การปราบปรามและควบคุมยาเสพติดให้โทษเป็นไป โดยมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเพ่ือให้สอดคล้องกับอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยยาเสพติด ให้โทษซ่งึ ประเทศไทยเป็นภาคสี มาชิกอยู่ จงึ จำเป็นตอ้ งตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี (๑๐๙) อัตราค่าธรรมเนียมเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓๗ และให้ใช้ข้อความ ทพ่ี ิมพ์ไวน้ ีแ้ ทน

พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 335 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง ระบชุ ่อื ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนงึ่ มาตรา ๘ (๑) และ (๒) แหง่ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี ้ ขอ้ ๑ ให้ยาเสพติดให้โทษที่ระบุชื่อในบัญชีท้ายประกาศน้ีเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ ตามพระราชบัญญตั ิยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ ท้งั นี้ ใหร้ วมถึง (๑) วตั ถทุ ี่เรยี กชอ่ื เป็นอย่างอื่นแต่มโี ครงสรา้ งทางเคมีอยา่ งเดยี วกันกับยาเสพติดให้โทษดังกล่าว (๒) สเตอริโอไอโซเมอร์ (stereoisomer) ใด ๆ ของยาเสพติดใหโ้ ทษดังกล่าว (๓) เกลือ เอสเทอร์ และอีเทอรใ์ ด ๆ ของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษดังกล่าว ท้ังนี้ ไม่ว่าจะมีความเข้มข้นใด หรือนำไปใช้เพื่อการใด เว้นแต่จะมีการระบุความเข้มข้นหรือเง่ือนไข ไวเ้ ปน็ การเฉพาะ หรอื เปน็ กรณีทนี่ ำไปใชเ้ พ่ือเปน็ สารควบคุมคณุ ภาพในการตรวจวิเคราะหแ์ ละควบคุมคุณภาพ ของการตรวจสารเสพติดในร่างกาย ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วยเครื่องมือแพทย์ และต้องใช้ ตามวัตถุประสงค์ของเคร่ืองมอื แพทย์นัน้ ขอ้ ๒ ประกาศนใ้ี หใ้ ชบ้ งั คบั เมอ่ื พน้ กำหนดสามสบิ วนั นบั แตว่ นั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป(๑) ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ (๑) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๒๐๕ ง ลงวนั ท่ี ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๑

336 สำนกั งาน ป.ป.ส. บญั ชที ้ายประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง ระบชุ อื่ ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑ ลำดับที่ ชือ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ชอ่ื ทางเคมี เงื่อนไข ๑ อาเซทอร์ฟีน (acetorphine) (5R,6R,7R,14R)-4,5-epoxy-6,14- etheno-7-((R)-2-hydroxypentan-2-yl)- 6-methoxy-17-methylmorphinan-3- yl acetate N-phenyl-N-(1-(1-phenylpropan-2-yl) piperidin-4-yl)acetamide N-(1-phenethylpiperidin-4-yl)- N-phenylacetamide ๒ อาเซตลิ -อลั ฟา-เมทิลเฟนทานิล 3,4-dichloro-N-{[1-(dimethylamino) cyclohexyl]methyl}benzamide (acetyl-alpha-methylfentanyl) N-phenyl-N-(1-(1-phenylpropan-2- yl)piperidin-4-yl)propanamide ๓ อาเซทลิ เฟนทานิล (acetylfentanyl) N-phenyl-N-(1-(1-(thiophen-2-yl) propan-2-yl)piperidin-4-yl) propanamide 1-phenyl-2-(pyrrolidin-1-yl) ๔ เอเอช–๗๙๒๑ (AH-7921) pentan-1-one 1-phenylpropan-2-amine ๕ อลั ฟา-เมทิลเฟนทานลิ 1-benzylpiperazine (alpha-methylfentanyl) N-(1-(2-hydroxy-2-phenylethyl)-3- methylpiperidin-4-yl)-N- ๖ อลั ฟา-เมทลิ ไทโอเฟนทานิล phenylpropanamide N-(1-(2-hydroxy-2- (alpha-methylthiofentanyl) phenylethyl)piperidin-4-yl)-N- phenylpropanamide 2-(4-bromo-2,5-dimethoxyphenyl)-N- [(2-methoxyphenyl)methyl] ๗ อัลฟา-ไพโรลดิ โิ นวาเลโรฟีโนน ethanamine 1-(benzo[d][1,3]dioxol-5-yl)-2- (alpha-pyrrolidinovalerophenone (methylamino)butan-1-one 2-(4-bromo-2,5- หรือ α-PVP) dimethoxyphenyl)ethanamine 2-(2,5-dimethoxy-4- ๘ แอมเฟตามนี methylphenyl)ethanamine (1R,2S)-1-chloro-N-methyl-1- (amphetamine หรอื amfetamine) phenylpropan-2-amine ๙ เบนซิลพเิ พอราซนี (benzylpiperazine หรอื N-benzylpiperazine หรอื BZP) ๑๐ เบต้า-ไฮดรอกซ-ี ๓-เมทิลเฟนทานลิ (beta-hydroxy-3-methylfentanyl) ๑๑ เบตา้ -ไฮดรอกซีเฟนทานลิ (beta-hydroxyfentanyl) ๑๒ ๒๕บ-ี เอน็ บอม (25B-NBOMe) ๑๓ บวิ ทโิ ลน (butylone) ๑๔ ๒ ซีบี (2CB) ๑๕ ๒ ซดี ี (2CD) ๑๖ คลอรอ์ ีเฟดรนี (chlorephedrine)

พระราชบัญญัตยิ าเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ 337 ลำดบั ท่ี ช่อื ยาเสพติดใหโ้ ทษ ช่ือทางเคมี เงอ่ื นไข ๑๗ คลอรซ์ ูโดอีเฟดรนี (1S,2S)-1-chloro-N-methyl-1- (chlorpseudoephedrine) phenylpropan-2-amine ๑๘ ๒๕ซ-ี เอ็นบอม (25C-NBOMe) 2-(4-chloro-2,5-dimethoxyphenyl)-N- [(2-methoxyphenyl)methyl] ethanamine ๑๙ เดโซมอร์ฟนี (desomorphine) (5S)-4,5-epoxy-17-methylmorphinan-3-ol ๒๐ เดกซแ์ อมเฟตามนี (dexamphetamine (S)-1-phenylpropan-2-amine หรือ dexamfetamine) ๒๑ ไดไฮโดรเอทอรฟ์ นี (5R,6R,7R,14S)-4,5-epoxy-6,14- (dihydroetorphine) ethano-7-((R)-2-hydroxypentan-2-yl)- 6-methoxy-17-methylmorphinan-3-ol ๒๒ ๒,๕-ไดเมทอกซ-ี ๔-เอทลิ แอมเฟตามนี 1-(4-ethyl-2,5- (2,5-dimethoxy-4-ethyl dimethoxyphenyl)propan-2-amine amphetamine หรือ DOET) ๒๓ ไดเมทอกซีแอมเฟตามนี 1-(2,5-dimethoxyphenyl)propan-2- (dimethoxyamphetamine amine หรือ 2,5-dimethoxyamphetamine หรอื DMA) 1-(4-bromo-2,5- ๒๔ ไดเมทอกซโี บรโมแอมเฟตามีน dimethoxyphenyl)propan-2-amine (dimethoxybromoamphetamine หรือ brolamfetamine หรือ DOB) N,N-dimethyl-1-phenylpropan-2- ๒๕ ไดเมทิลแอมเฟตามนี amine (dimethylamphetamine) ๒๖ เอ็น เอทลิ เอ็มดีเอ หรอื เอ็มดีอ ี 1-([1,3]benzodioxol-5-yl)-N- (N-ethyl MDA หรอื MDE) ๒๗ เอทอร์ฟีน (etorphine) ethylpropan-2-amine (5R,6R,7R,14R)-4,5-epoxy-6,14- ๒๘ เฮโรอนี etheno-7-((R)-2-hydroxypentan-2-yl)- (heroin หรอื diacetylmorphine) 6-methoxy-17-methylmorphinan-3-ol ๒๙ เอ็น ไฮดรอกซี เอ็มดเี อ หรอื เอน็ -โอเอช เอ็มดเี อ (5R,6S)-7,8-didehydro-4,5-epoxy-17- (N-hydroxy MDA หรอื N-OH MDA) methylmorphinan-3,6-diol diacetate ๓๐ ๒๕ไอ–เอน็ บอม (25I-NBOMe) 1-([1,3]benzodioxol-5-yl)-N- ๓๑ เคโทเบมโิ ดน hydroxypropan-2-amine (ketobemidone) ๓๒ เลแวมเฟตามีน 2-(4-iodo-2,5-dimethoxyphenyl)-N- (levamphetamine [(2-methoxyphenyl)methyl] หรอื levamfetamine) ethanamine 1-(4-(3-hydroxyphenyl)-1- methylpiperidin-4-yl)propan-1-one (R)-1-phenylpropan-2-amine

338 สำนกั งาน ป.ป.ส. ลำดับที่ ช่อื ยาเสพติดใหโ้ ทษ ช่ือทางเคมี เงื่อนไข ๓๓ เลโวเมทแอมเฟตามีน (R)-N-methyl-1-phenylpropan-2- (levomethamphetamine หรือ amine levometamfetamine) ๓๔ เดกซ์โตรไลเซอร์ไยด ์ (6aR,9R)-N,N-diethyl-7-methyl- ((+)-lysergide) หรอื แอลเอสดี (LSD) 4,6,6a,7,8,9-hexahydroindolo[4,3-fg] หรอื แอลเอสดี-๒๕ (LSD 25) quinoline-9-carboxamide ๓๕ เมโคลควาโลน 3-(2-chlorophenyl)-2-methyl-3H- (mecloqualone) quinazolin-4-one ๓๖ เมฟโี ดรน (mephedrone) 2-(methylamino)-1-p-tolylpropan-1-one ๓๗ เมทา–คลอโรฟนี ิลพเิ พอราซนี 1-(3-chlorophenyl)piperazine (meta-chlorophenylpiperazine หรอื mCPP) ๓๘ เมทแอมเฟตามีน (methamphetamine (S)-N-methyl-1-phenylpropan-2-amine หรอื metamfetamine) ๓๙ เมทาควาโลน 2-methyl-3-(2-methylphenyl)-3H- (methaqualone) quinazolin-4-one ๔๐ ๕-เมทอกซ-ี ๓,๔ เมทลิ ลีนไดออกซี 1-(7-methoxy-[1,3]benzodioxol-5- แอมเฟตามนี yl)propan-2-amine (5-methoxy-3,4-methylenedioxy amphetamine หรือ 5-methoxy-3,4- methylenedioxyamfetamine หรือ MMDA) ๔๑ เมทลิ ลีนไดออกซแี อมเฟตามีน 1-([1,3]benzodioxol-5-yl)propan-2-amine (methylenedioxyamphetamine หรอื tenamfetamine หรอื MDA) ๔๒ ๓,๔-เมทลิ ลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามนี 1-([1,3]benzodioxol-5-yl)-N- (3,4-methylenedioxymethamphetamine methylpropan-2-amine หรือ methylenedioxymetamfetamine หรอื ecstasy หรอื MDMA) ๔๓ เมทิลีนไดออกซไิ พโรวาเลโรน 1-(benzo[d][1,3]dioxol-5-yl)-2- (methylenedioxypyrovalerone หรือ (pyrrolidin-1-yl)pentan-1-one MDPV) ๔๔ ๔-เมทิลเอทคาทโิ นน 2-(ethylamino)-1-p-tolylpropan-1-one (4-methylethcathinone หรือ 4-MEC) ๔๕ ๓-เมทลิ เฟนทานิล N-(3-methyl-1-(2- (3-methylfentanyl) phenylethyl)piperidin-4-yl)-N- phenylpropanamide ๔๖ เมทิโลน (methylone) 1-(benzo[d][1,3]dioxol-5-yl)-2- (methylamino)propan-1-one ๔๗ ๓-เมทลิ ไทโอเฟนทานิล N-(3-methyl-1-(2-thiophen-2- (3-methylthiofentanyl) ylethyl)piperidin-4-yl)-N- phenylpropanamide