Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมกฎหมายยาเสพติดพร้อมด้วยกฎกระทรวง ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

รวมกฎหมายยาเสพติดพร้อมด้วยกฎกระทรวง ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2020-06-16 00:22:36

Description: ผลิตโดย สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)
หนังสือ,เอกสาร,บทความ และภาพถ่ายที่นำมาเผยแพร่นี้
ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

พระราชบญั ญตั ิวัตถุทีอ่ อกฤทธิต์ อ่ จติ และประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ 439 ลำดับท่ี ช่อื วตั ถอุ อกฤทธ์ิ ชื่อทางเคมี เง่ือนไข ๔๐ ไพโรวาเลโรน 1-(4-methylphenyl)-2-(pyrrolidin-1- (pyrovalerone) yl)pentan-1-one ๔๑ เซคบวิ ตาบาร์บติ าล 5-(butan-2yl)-5-ethyl- (secbutabarbital) [1,3]diazinane-2,4,6-trione ๔๒ เอสพีเอ (R)-N,N-dimethyl-1,2- (SPA หรือ lefetamine ) diphenylethanamine ๔๓ เตตราซีแพม 7-chloro-5-(cyclohex-1-enyl)-1 (tetrazepam) methyl-3H-[1,4]benzodiazepin-2-one ๔๔ โทฟีโซแพม 1-(3,4-dimethoxyphenyl)-5-ethyl- (tofisopam) 7,8-dimethoxy-4-methyl-5H- [2,3]benzodiazepine ๔๕ ไวนลิ บติ าล 5-ethenyl-5-(pentan-2-yl)- (vinylbital) [1,3]diazinane-2,4,6-trione

440 สำนกั งาน ป.ป.ส. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง ระบชุ ือ่ และประเภทวัตถุออกฤทธ์ิทีห่ า้ มนำผา่ น พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหน่ึง และมาตรา ๗ (๔) แห่งพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธ ์ิ ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคำแนะนำของคณะกรรมการวัตถ ุ ท่อี อกฤทธต์ิ อ่ จติ และประสาทออกประกาศระบุชือ่ และประเภทวัตถอุ อกฤทธิท์ ีห่ า้ มนำผา่ นไว้ ดังต่อไปน้ี วตั ถุออกฤทธใ์ิ นประเภท ๒ (๑) ซโู ดอีเฟดรนี (pseudoephedrine) ประกาศนใี้ หใ้ ชบ้ ังคบั ตงั้ แตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ปยิ ะสกล สกลสตั ยาทร รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ (๑) ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๘๐ ง ลงวนั ท่ี ๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑

พระราชบญั ญัตวิ ัตถุที่ออกฤทธ์ิต่อจติ และประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ 441 กฎกระทรวง กำหนดปรมิ าณวัตถุออกฤทธ ์ิ ซ่ึงสันนษิ ฐานวา่ ผลิต นำเขา้ สง่ ออก นำผา่ น หรือมไี ว้ในครอบครองเพื่อขาย พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหน่ึง มาตรา ๑๔ วรรคสาม มาตรา ๑๕ วรรคสี่ มาตรา ๒๐ วรรคสาม และมาตรา ๘๘ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุขออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี(๑) ข้อ ๑ กฎกระทรวงนีใ้ ห้ใชบ้ งั คบั ต้ังแต่วันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป ข้อ ๒ การผลติ นำเข้า ส่งออก นำผ่าน หรือมีไวใ้ นครอบครองซ่งึ วตั ถอุ อกฤทธิ์ คำนวณเป็นสารบริสุทธ์ิ เกินปริมาณดังตอ่ ไปน้ี ใหส้ ันนิษฐานวา่ ผลิต นำเข้า ส่งออก นำผา่ น หรือมไี วใ้ นครอบครองเพือ่ ขาย (๑) วัตถอุ อกฤทธใ์ิ นประเภท ๑ (ก) คาทโิ นน (cathinone) ๐.๕๐๐ กรัม (ข) ไซโลซนี (psilocine หรือ psilotsin) ๐.๑๐๐ กรมั (ค) ไซโลไซบีน (psilocybine) ๐.๑๐๐ กรมั (ง) ดอี ีที (DET) ๐.๕๐๐ กรมั (จ) ดเี อ็มที (DMT) ๐.๕๐๐ กรัม (ฉ) ดเี อ็มเอชพี (DMHP) ๐.๕๐๐ กรัม (ช) เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol หรือ THC) ๐.๑๐๐ กรัม (ซ) ทซี พี ี (TCP หรือ tenocyclidine) ๐.๑๐๐ กรัม (ฌ) พาราเฮกซิล (parahexyl) ๐.๕๐๐ กรมั (ญ) พซี อี ี (PCE หรือ eticyclidine) ๐.๑๐๐ กรัม (ฎ) พเี อชพี หรือ พีซีพวี าย (PHP หรอื PCPY หรอื rolicyclidine) ๐.๑๐๐ กรมั (ฏ) ฟีนาซีแพม (phenazepam) ๐.๓๐๐ กรมั (ฐ) เมทคาทโิ นน (methcathinone) ๐.๕๐๐ กรมั (ฑ) ๔-เมทิลอะมิโนเรกซ์ (4-methylaminorex) ๐.๕๐๐ กรมั (ฒ) เมสคาลีน (mescaline) ๐.๕๐๐ กรัม (ณ) อีทรพิ ตามีน (etryptamine) ๐.๕๐๐ กรัม (๑) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๔๕ ก ลงวันที่ ๒๙ มถิ ุนายน ๒๕๖๑

442 สำนักงาน ป.ป.ส. (๒) วัตถุออกฤทธ์ใิ นประเภท ๒ (ก) คตี ามีน (ketamine) ๐.๕๐๐ กรมั (ข) ซูโดอเี ฟดรนี (pseudoephedrine) ๕.๐๐๐ กรมั (ค) ไนตราซีแพม (nitrazepam) ๐.๓๐๐ กรมั (ง) ไนเมตาซีแพม (nimetazepam) ๐.๓๐๐ กรมั (จ) เฟนเตอมีน (phentermine) ๐.๙๐๐ กรัม (ฉ) มิดาโซแลม (midazolam) ๐.๔๕๐ กรมั (ช) อลั ปราโซแลม (alprazolam) ๐.๑๒๐ กรัม (ซ) อีเฟดรนี (ephedrine) ๕.๐๐๐ กรัม (๓) วตั ถอุ อกฤทธใิ์ นประเภท ๔ (ก) โคลนาซีแพม (clonazepam) ๑.๘๐๐ กรัม (ข) ไดอาซีแพม (diazepam) ๕.๔๐๐ กรมั ใหไ้ ว้ ณ วันที่ ๒๑ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชก้ ฎกระทรวงฉบบั น้ี คอื เนอ่ื งจากมาตรา ๑๔ วรรคสาม มาตรา ๑๕ วรรคส ี่ และมาตรา ๒๐ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติวัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ กำหนดว่า การผลิต นำเขา้ สง่ ออก หรือนำผ่านซง่ึ วตั ถุออกฤทธิท์ ุกประเภท คำนวณเปน็ สารบริสุทธิ์เกนิ ปริมาณทกี่ ำหนด ในกฎกระทรวง ให้สันนิษฐานว่าผลิต นำเข้า ส่งออก หรือนำผ่านเพ่ือขาย ประกอบกับมาตรา ๘๘ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวกำหนดว่า การมีวัตถุออกฤทธ์ิชื่อและประเภทใดไว้ในครอบครอง ซ่ึงคำนวณเป็น สารบริสุทธิ์เกินปริมาณที่กำหนดในกฎกระทรวง ให้สันนิษฐานว่ามีไว้ในครอบครองเพื่อขาย สมควรมีการ กำหนดปริมาณวัตถุออกฤทธ์ิซ่ึงสันนิษฐานว่าผลิต นำเข้า ส่งออก นำผ่าน หรือมีไว้ในครอบครองเพ่ือขาย จงึ จำเปน็ ต้องออกกฎกระทรวงน ้ี

พระราชบัญญตั ิวตั ถทุ ่ีออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ 443 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง กำหนดชื่อและปริมาณวตั ถอุ อกฤทธใ์ิ นประเภท ๓ หรอื ประเภท ๔ ที่ผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวชิ าชีพทันตกรรมหรือผปู้ ระกอบวิชาชีพการสัตวแพทยช์ ้ันหนึ่งมไี วใ้ นครอบครองไดต้ ามมาตรา ๙๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหน่ึง มาตรา ๗ (๑๐) และมาตรา ๙๐ แห่งพระราชบัญญัต ิ วัตถุท่ีออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคำแนะนำ ของคณะกรรมการวัตถทุ ่อี อกฤทธติ์ ่อจติ และประสาทออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ให้ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพเวชกรรม ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทนั ตกรรมหรอื ผปู้ ระกอบวิชาชีพการสตั วแพทย์ ช้ันหน่ึง มีวัตถุออกฤทธ์ิในประเภท ๓ หรือประเภท ๔ ไว้ในครอบครองได้ไม่เกินปริมาณท่ีกาหนดโดยไม่ต้อง ขออนญุ าตตามมาตรา ๙๐ ดงั น ้ี วตั ถุออกฤทธใ์ิ นประเภท ๓ (๑) อะโมบารบ์ ิตาล (amobarbital) ๑๐ กรัม (๒) เพนตาโซซนี (pentazocine) ๑ กรัม (๓) เพนโตบาร์บิตาล (pentobarbital) ๑๐ กรมั วัตถุออกฤทธใ์ิ นประเภท ๔ (๑) โบรมาซแี พม (bromazepam) ๖ กรมั (๒) คลอรไ์ ดอาซีพอกไซด์ (chlordiazepoxide) ๒๕๐ กรัม (๓) โคลบาแซม (clobazam) ๑๐ กรมั (๔) โคลนาซแี พม (clonazepam) ๒๐ กรัม (๕) คลอราซแี พท (clorazepate) ๑๐ กรัม (๖) ไดอาซีแพม (diazepam) ๑๐ กรมั (๗) ลอราซีแพม(lorazepam) ๒ กรัม (๘) เมดาซแี พม(medazepam) ๑๐ กรมั (๙) ฟโี นบาร์บิตาล (phenobarbital) ๑๐๐ กรมั (๑๐) พนิ าซแี พม (pinazepam) ๕ กรมั (๑๑) พราซีแพม (prazepam) ๑๐ กรัม (๑๒) โทฟีโซแพม (tofisopam) ๕๐ กรมั ขอ้ ๒ ประกาศนใี้ หใ้ ชบ้ งั คบั ต้ังแตว่ นั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป(๑) ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข (๑) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๓๗ ง ลงวนั ที่ ๒๕ กนั ยายน ๒๕๖๑

444 สำนกั งาน ป.ป.ส. ประกาศคณะกรรมการวตั ถุที่ออกฤทธ์ิตอ่ จติ และประสาท เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขในการตรวจหรือทดสอบ หรอื สั่งใหร้ บั การตรวจ หรือทดสอบว่าบุคคลหรอื กลุ่มบคุ คลนั้นมวี ัตถุออกฤทธิ์อยู่ในรา่ งกายหรอื ไม่ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยทเี่ ปน็ การสมควรกำหนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการตรวจหรอื ทดสอบหรอื สงั่ ใหร้ บั การตรวจ หรือทดสอบว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลน้ันมีวัตถุออกฤทธิ์อยู่ในร่างกายหรือไม่เพ่ือให้พนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาทสามารถใช้อำนาจ ในการตรวจหรือทดสอบดังกล่าว ในกรณีจำเป็นและมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเสพวัตถ ุ ออกฤทธ์ิ เพอื่ ให้การแก้ไขปัญหาเกยี่ วกบั วัตถุออกฤทธ์มิ ปี ระสิทธภิ าพยงิ่ ข้ึน อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๑๒ (๖) และมาตรา ๙๔ วรรคสาม แหง่ พระราชบญั ญตั วิ ตั ถทุ อ่ี อกฤทธ์ิ ตอ่ จติ และประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ คณะกรรมการวัตถุท่อี อกฤทธต์ิ อ่ จติ และประสาทออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี ้ ขอ้ ๑ ในประกาศนี้ “การตรวจหรือทดสอบหาวัตถุออกฤทธ์ิ” หมายความว่า การตรวจหรือทดสอบหาชนิดหรือปริมาณ วัตถุออกฤทธ์ิในร่างกายของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล อันเกิดจากการเสพวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๑ หรอื ประเภท ๒ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวัตถุท่อี อกฤทธ์ิตอ่ จิตและประสาท โดยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ “ผมู้ อี ำนาจตรวจหรือทดสอบ” หมายความว่า พนกั งานฝ่ายปกครองหรอื ตำรวจหรือพนกั งานเจา้ หน้าที่ ตามทรี่ ฐั มนตรปี ระกาศกำหนดใหม้ อี ำนาจตรวจ หรอื ทดสอบ หรอื สงั่ ใหร้ บั การตรวจหรอื ทดสอบหาวตั ถอุ อกฤทธ ิ์ “ผู้รับการตรวจหรือทดสอบ” หมายความว่า ผู้รับการตรวจหรือทดสอบหาวัตถุออกฤทธ์ิในร่างกาย โดยผมู้ ีอำนาจตรวจหรือทดสอบ หรือโดยคำสง่ั ของผมู้ อี ำนาจตรวจหรือทดสอบ ข้อ ๒ ในการตรวจหรือทดสอบหาวัตถุออกฤทธิ์ ให้ผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบแสดงความบริสุทธ ิ ์ ก่อนท่ีจะทำการตรวจหรือทดสอบ โดยให้แสดงเอกสารเพื่อแสดงตนว่าเป็นผู้ได้รับมอบหมายให้มีอำนาจหน้าที่ ในการตรวจหรือทดสอบ และแจ้งเหตุอันควรเช่ืออันนำมาซ่ึงการตรวจหรือทดสอบดังกล่าว พร้อมทั้งแจ้ง ใหท้ ราบถึงขนั้ ตอนการตรวจหรอื ทดสอบ ขอ้ ๓ การตรวจหรือทดสอบหาวัตถุออกฤทธิ์ ให้ตรวจหรือทดสอบจากปัสสาวะของผู้รับการตรวจ หรอื ทดสอบ โดยให้ปฏิบตั ติ ามวธิ กี ารตรวจหรอื ทดสอบของชุดนำ้ ยาตรวจสอบหรือเครอ่ื งมือแตล่ ะชนดิ ข้อ ๔ การเตรยี มการในการตรวจหรอื ทดสอบหาวัตถอุ อกฤทธิ์ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิ ดังน ้ี (๑) จัดให้มีบริเวณสำหรับผู้เข้ารับการตรวจหรือทดสอบ เพื่อดำเนินการตรวจหรือทดสอบหรือ เก็บปัสสาวะภายในระยะเวลาเท่าท่ีจำเป็นแห่งกรณี เพื่อให้การตรวจหรือทดสอบหรือเก็บปัสสาวะเสร็จสิ้นไป โดยเรยี บรอ้ ยภายในสถานทีม่ ดิ ชดิ จากบคุ คลภายนอก

พระราชบัญญตั วิ ัตถุท่อี อกฤทธิ์ตอ่ จิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ 445 (๒) จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีของรัฐทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยในการตรวจหรือทดสอบเพื่อให้เป็นไปด้วย ความเรียบร้อยและทันเหตุการณ์ โดยอย่ภู ายใตก้ ารกำกบั ดูแลของผ้มู อี ำนาจตรวจหรือทดสอบ (๓) จัดให้มีอุปกรณ์ในการเก็บปัสสาวะ โดยให้ใช้ขวดแก้วหรือขวดพลาสติกปากกว้างพร้อมฝาปิด ท่ีสะอาดและแห้ง มีขนาดบรรจุไม่น้อยกว่า ๖๐ มิลลิลิตร มีอุปกรณ์สำหรับผนึกฝาปิดภาชนะเพ่ือป้องกัน การสับเปลี่ยนตัวอยา่ ง และใหม้ ฉี ลากและกระดาษกาวเพอ่ื ใชส้ ำหรับปิดผนกึ ขวดตวั อย่างปัสสาวะด้วย ข้อ ๕ วิธเี กบ็ ปัสสาวะให้ถอื ปฏบิ ัติ ดงั น้ ี (๑) จัดให้มีผู้ควบคุมการถ่ายปัสสาวะของผู้รับการตรวจหรือทดสอบทุกคร้ัง ท้ังน้ี เพื่อป้องกันมิให้มี การกระทำใด ๆ ทที่ ำใหป้ สั สาวะน้ันเกิดการเจือจางหรือสับเปล่ียนตวั อย่าง (๒) ให้ทำบันทึกข้อมูลเก่ียวกับการเก็บตัวอย่างปัสสาวะและผลการตรวจหรือทดสอบตามแบบ วจ.๑ วจ.๒ และ วจ.๓ ทก่ี ำหนดไว้ทา้ ยประกาศน ้ี (๓) บันทึกหมายเลขประจำขวด ช่ือ ช่ือสกุล และอายุของผู้รับการตรวจหรือทดสอบ วันเวลา และ หน่วยงานท่ีเก็บตัวอย่าง พร้อมทั้งลายมือชื่อของเจ้าของปัสสาวะ และลายมือชื่อของผู้ควบคุมการเก็บตัวอย่าง ปัสสาวะน้ันบนฉลากปิดขวดเก็บปัสสาวะ (๔) ให้ขวดเก็บปัสสาวะแก่ผู้รับการตรวจหรือทดสอบ เพ่ือนำไปถ่ายปัสสาวะใส่ขวดดังกล่าว จำนวนประมาณ ๓๐ มลิ ลิลิตร ขอ้ ๖ การตรวจหรือทดสอบหาวตั ถอุ อกฤทธิ์ในเบื้องตน้ ใหผ้ ู้มอี ำนาจตรวจหรือทดสอบกระทำตอ่ หน้า ผรู้ บั การตรวจหรอื ทดสอบ และใหถ้ อื ปฏบิ ตั โิ ดยใชเ้ ครอ่ื งมอื หรอื ชดุ นำ้ ยาตรวจสอบของกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา ข้อ ๗ ในกรณีท่ีตรวจหรือทดสอบในเบ้ืองต้นตามข้อ ๖ พบว่าบุคคลนั้นอาจเป็นผู้เสพวัตถุออกฤทธิ์ ให้ผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบจดบันทึกข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ภูมิลำเนาหรือสถานที่อยู่ที่สามารถ จะเรียกตัวหรือออกหมายเรียกมาเพื่อดำเนินคดีได้เมื่อมีการตรวจสอบยืนยันผลแล้วพบว่าเป็นผู้มีวัตถุออกฤทธ์ิ ในรา่ งกาย ขอ้ ๘ ในการตรวจหรือทดสอบหาวัตถุออกฤทธิ์ในเบ้ืองต้นน้ัน เมื่ออ่านผลแล้วให้แจ้งผลการตรวจหรือ ทดสอบแกผ่ รู้ บั การตรวจหรือทดสอบ โดยหา้ มเปดิ เผยผลการตรวจหรอื ทดสอบแก่ผ้ทู ไ่ี ม่มีหน้าท่ีเกยี่ วขอ้ ง และ ให้เก็บรกั ษาผลการตรวจหรอื ทดสอบไว้เปน็ เอกสารลบั ในกรณีที่ปรากฏผลบวกตามคู่มือวิธีการตรวจหรือทดสอบของเครื่องมือหรือชุดน้ำยาตรวจสอบในข้อ ๖ ให้ผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐซ่ึงทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยที่ทำการตรวจหรือทดสอบหาวัตถุ ออกฤทธปิ์ ดิ ขวดเกบ็ ปสั สาวะทเ่ี หลอื ของผรู้ บั การตรวจหรอื ทดสอบนนั้ ใหส้ นทิ พรอ้ มทง้ั ผนกึ ปากขวดดว้ ยแถบกาว โดยมีลายมือชื่อของผู้ทำการตรวจหรือทดสอบและผู้รับการตรวจหรือทดสอบกำกับไว้แล้วให้รีบจัดส่งขวดเก็บ ตวั อยา่ งปสั สาวะดงั กลา่ วไปยงั หนว่ ยงานใดหนว่ ยงานหนงึ่ ตามขอ้ ๙ โดยเรว็ ในสภาพทแี่ ชเ่ ยน็ เพอ่ื ตรวจยนื ยนั ผล ขอ้ ๙ ให้หน่วยงานดังต่อไปน้ี มีอำนาจตรวจยืนยันผลว่าผู้รับการตรวจหรือทดสอบมีวัตถุออกฤทธ ์ ิ อยใู่ นรา่ งกายหรือไม่

446 สำนักงาน ป.ป.ส. (๑) สถาบันนิตเิ วชวทิ ยา โรงพยาบาลตำรวจ สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาต ิ (๒) กองพสิ ูจนห์ ลกั ฐานกลาง หรอื พสิ จู นห์ ลกั ฐานจังหวัด หรอื ศนู ยพ์ ิสูจน์หลกั ฐาน สำนกั งานพิสจู นห์ ลกั ฐานตำรวจ สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ (๓) สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม (๔) สำนักยาและวัตถุเสพตดิ หรือศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ (๕) สถาบันบำบัดรกั ษาและฟ้ืนฟูผูต้ ิดยาเสพตดิ แหง่ ชาตบิ รมราชชนนี หรือโรงพยาบาลธญั ญารักษ ์ ในส่วนภมู ภิ าค กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (๖) โรงพยาบาลของรัฐ (๗) หน่วยงานอื่นของรฐั หรือสถาบันอนื่ ที่คณะกรรมการวัตถทุ อี่ อกฤทธติ์ ่อจิตและประสาทกำหนด เมื่อหนว่ ยงานตามวรรคหนึ่งได้ดำเนนิ การตรวจยนื ยันแล้ว ให้ถือวา่ บุคคลหรอื กลมุ่ บคุ คลน้นั เป็นผมู้ วี ัตถุ ออกฤทธ์อิ ยู่ในร่างกาย ขอ้ ๑๐ ในกรณีจำเป็นและเพ่ือประโยชน์ต่อการตรวจหรือทดสอบหาวัตถุออกฤทธ์ิในร่างกาย ให้ผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบสั่งให้ผู้ท่ีมีเหตุอันควรเชื่อว่าเสพวัตถุออกฤทธิ์ไปรับการตรวจหรือทดสอบหา วัตถุออกฤทธ์ิ ภายใต้การกำกับดูแลของผู้มีอำนาจตรวจหรือทดสอบดังกล่าว ทั้งน้ี ภายในระยะเวลาและ สถานที่ที่กำหนดในคำส่ัง โดยคำนงึ ถึงความเหมาะสมและความเปน็ ธรรมตามควรแก่กรณี ให้นำความในขอ้ ๒ และข้อ ๙ มาใชบ้ งั คับโดยอนโุ ลม ข้อ ๑๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคบั ตงั้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นตน้ ไป(๑) ประกาศ ณ วนั ท่ี ๙ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ธเรศ กรษั นัยรววิ งค ์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสขุ หวั หน้ากลมุ่ ภารกจิ ด้านสนบั สนุนงานบริการสุขภาพ ประธานกรรมการวตั ถทุ อ่ี อกฤทธติ์ ่อจิตและประสาท (๑) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๖๒ ง ลงวนั ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๖๑

พระราชบญั ญตั ิวัตถุท่ีออกฤทธิต์ ่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ 447 แบบบันทึกขอ้ มลู เบ้อื งต้น แบบ วจ.๑ ส่วนท่ี ๑ สถานที่ตรวจ ………………………………………………………………………………………………........…………………… วนั ท่ี …………………………. เดือน ………………………………………. พ.ศ…………………… เวลา ……………… น. ลำดบั ที่ ……………………. ชื่อ ………………………………………. นามสกุล ……………………………………………… ทอี่ ยูป่ จั จุบันบ้านเลขท่ี …………….…….. หมทู่ ี่ …………….. ถนน …………………………………………….……….. ตำบล/แขวง ………………………………………………… อาเภอ/เขต ……………………………………………………… จังหวัด ………………….……………………………………………………………………………………………………………….. หลกั ฐานเอกสารสาคัญแสดงตัวบคุ คลทท่ี างราชการออกให้ (ระบปุ ระเภท ………………………………………………………………………………………………………………………….) เลขท่ี …………………………………………….. ออกให้โดย ……………………………………………………………………. วนั ออกเอกสาร ………………………………………………….. วันหมดอายุ ………………………………………….……. ลงชอ่ื ……………………….…… พนกั งานฝา่ ยปกครองหรอื ตารวจหรอื พนกั งานเจ้าหน้าทผ่ี ู้บนั ทกึ ( …………………………..) สว่ นที่ ๒ ผลการตรวจหรอื ทดสอบเบือ้ งตน้ ปรากฏวา่ ผลลบ ซึง่ หมายถงึ ไม่พบวตั ถุออกฤทธอ์ิ ยูใ่ นรา่ งกาย ผลบวก ซึ่งหมายถงึ อาจเสพวัตถุออกฤทธ ิ์ บนั ทกึ อ่ืนๆ ของพนักงานฝา่ ยปกครองหรอื ตารวจหรือพนกั งานเจ้าหน้าท่ีผู้ตรวจหรอื ทดสอบ (ถ้ามี) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ …………………………………….. ผู้รับการตรวจหรอื ทดสอบ และรบั ทราบผล (………………………………………) ลงชอ่ื ……………………………………… พนักงานฝ่ายปกครองหรอื ตารวจหรือพนักงานเจ้าหนา้ ที่ (………………………………………) ลงชอื่ …………………………………….. เจา้ หน้าทท่ี ่ที าหนา้ ท่ีเปน็ ผชู้ ว่ ยในการตรวจหรือทดสอบ (ถ้ามี) (………………………………………)

448 สำนักงาน ป.ป.ส. แบบบนั ทกึ กรณผี ลการตรวจหรือทดสอบเบื้องต้นได้ผลบวก แบบ วจ.๒ สถานท่ีบนั ทกึ ………………………………………………………………………………….. วนั ท่ี …… เดอื น ……………………..พ.ศ. …………..เวลา …………...น. บนั ทกึ ฉบับนเี้ พอ่ื แสดงว่า ยศ/นาย/นาง/นางสาว …………………………….........……………………………………….…. อายุ …………………ป ี ที่อยู่ปจั จุบันบา้ นเลขท่ี ……………………..หม่ทู ่ี …………….. ถนน ……………………………………………………………….…. ตาบล/แขวง ………………………………………………………….. อาเภอ/เขต …………………………………………………………. จงั หวดั ………………………………………………………………….. โทรศัพท์ ………………………………………………………….... สถานทท่ี างาน …………………………………………………………………………………… เลขท่ี ……………….. หม่ทู ่ี ………….. ถนน …………………………………………………………………………ตาบล/แขวง ………………………………………………..……. อาเภอ/เขต ………………………………….. จังหวดั …………………………………… โทรศัพท์ ……………………………………. รปู พรรณ รปู รา่ ง ……………………………………………………………………………….…. สว่ นสงู ………………… เซนตเิ มตร รปู หน้า ………………………… สผี ิว ………………………………….. สผี ม ………………………….. สตี า ………………….………. บัตรประชาชน (หรอื หลกั ฐานเอกสารสาคัญอืน่ ทีท่ างราชการออกให)้ เลขท่ี ……………………………………….………. ออกให้ท่ี ………………………………………………………… วนั ทอี่ อก ………………………. วนั หมดอายุ …………………….… ได้เข้ารับการตรวจหรือทดสอบหาวัตถุออกฤทธิ์ในร่างกายโดยพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจ หรือพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ปรากฏผลในเบ้อื งตน้ ว่าอาจเสพวตั ถุออกฤทธ์ ิ ถา้ หากการตรวจพสิ จู นข์ น้ั ยนื ยนั ผลและความถกู ตอ้ งในภายหลงั ยนื ยนั วา่ ผเู้ ขา้ รบั การตรวจหรอื ทดสอบหา วัตถุออกฤทธิ์ในร่างกายเสพวัตถุออกฤทธิ์ ขอให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจหรือพนักงานเจ้าหน้าท ่ี มหี นงั สอื แจ้งผลการตรวจหรือทดสอบ หรอื คาส่งั เกยี่ วกบั การดาเนินคดีไปใหท้ ราบที ่ ท่ีอยปู่ ัจจุบนั ท่ที างาน ทอี่ ืน่ ๆ (ระบ)ุ ……………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ได้อ่านบันทึกน้ีให้ฟังแล้ว รับรองว่าถูกต้อง จงึ ลงลายมอื ชือ่ ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ลงชือ่ ………………………………………………… ผรู้ บั การตรวจหรือทดสอบ (……………………………………….…..……) ลงช่อื ………………….……………………………... พนักงานฝา่ ยปกครองหรอื ตารวจ (…………………………………….………..…..) หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้บันทึก ลงชือ่ …………………………………………….……. พยาน (…………………………………….……………..) ลงชื่อ ……………………………………………….…. พยาน (……………………………………….…….…....)

พระราชบญั ญตั วิ ัตถทุ ่ีออกฤทธิต์ อ่ จติ และประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ 449 แบบรายงานผลการตรวจหรอื ทดสอบหาวตั ถุออกฤทธ์ิในร่างกาย แบบ วจ.๓ สถานท่ตี รวจ ………………………………………………………………. ตาบล/แขวง …………………………….…………………… อาเภอ/เขต ………………………………………………………………. จังหวัด ……………………………………………………………. วันท่ี …………….. เดอื น ……………………..……….. พ.ศ. …………ระหวา่ งเวลา ……………….. น. ถึง …………………. น. ลำดบั ชื่อ – สกุล รายละเอียด ผลการตรวจหรือทดสอบ หมายเหต ุ ที่ ผู้เขา้ รับการตรวจหรอื ทดสอบ เอกสารสาคญั ผลบวก ผลลบ สรปุ ผล ผู้เขา้ รับการตรวจหรือทดสอบทั้งส้ิน ……….…. ราย ผลการตรวจหรอื ทดสอบเบือ้ งตน้ ผลบวก ………..... ราย ผลลบ ………….ราย ไม่ปฏบิ ัติตามคาสั่งของพนักงานฝา่ ยปกครอง หรอื ตารวจหรือพนกั งานเจา้ หน้าท่ี …………… ราย อ่นื ๆ (ระบ)ุ …………… ราย ลงช่อื …………………………………………………………….. ผ้รู ายงาน (……………………………………………….…………….)

450 สำนักงาน ป.ป.ส. ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการทำลาย หรอื การนำไปใช้ประโยชนซ์ ง่ึ วตั ถอุ อกฤทธขิ์ องกลาง พ.ศ. ๒๕๖๒ ตามที่พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้กำหนดให้วัตถุออกฤทธิ ์ ของกลางตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข และให้กระทรวงสาธารณสุขหรือผู้ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุข มอบหมายทำลายหรือนำไปใช้ประโยชน์ซ่ึงวัตถุออกฤทธ์ิของกลางดังกล่าวได้ตามระเบียบที่กระทรวง สาธารณสขุ กำหนด เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการจบั ยดึ และตรวจพสิ จู นย์ าเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๗ และคำส่ังศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ อาศัยอำนาจตามความใน มาตรา ๑๕๘ และมาตรา ๑๕๙ แห่งพระราชบัญญัติวัตถุท่ีออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ จึงวางระเบียบไว้ ดังน ้ี ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการทำลาย หรือการนำไปใช้ประโยชน์ ซ่ึงวัตถอุ อกฤทธขิ์ องกลาง พ.ศ. ๒๕๖๒” ขอ้ ๒ ระเบยี บนใ้ี หใ้ ช้บงั คบั ต้งั แต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นตน้ ไป(๑) ข้อ ๓ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกำหนด หรือกฎอ่ืนที่มีกาหนดไว้แล้วในระเบียบน้ี หรือซึ่งขัด หรือแยง้ กับข้อความแหง่ ระเบียบนใ้ี ห้ใช้ระเบยี บนีแ้ ทน ข้อ ๔ ในระเบยี บน ี้ “วัตถุออกฤทธ์ิของกลาง” หมายความว่า วัตถุออกฤทธ์ิที่มีผู้ส่งมอบให้กระทรวงสาธารณสุข หรือท่ีศาลส่ังริบ หรือยึดไว้ แล้วอยู่ในความครอบครองหรือตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุขตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยวตั ถุทอี่ อกฤทธิ์ตอ่ จิตและประสาท “คณะกรรมการกลาง” หมายความว่า คณะกรรมการกลางตามทก่ี ำหนดไว้ในระเบยี บน ี้ “คณะกรรมการระดับจังหวัด” หมายความว่า คณะกรรมการที่มีอำนาจหน้าท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับวัตถุ ออกฤทธิ์ของกลางท่อี ยู่ในความรบั ผดิ ชอบของจังหวัด ข้อ ๕ ให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้รักษาการตามระเบียบน้ี และให้มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดปัญหา เก่ยี วกับการปฏบิ ตั ิตามระเบียบนี้ (๑) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๘๔ ง ลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๒

พระราชบญั ญตั วิ ตั ถทุ ีอ่ อกฤทธ์ติ อ่ จิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ 451 หมวด ๑ คณะกรรมการกลางและคณะกรรมการระดบั จังหวดั ขอ้ ๖ ให้มีคณะกรรมการกลาง ประกอบด้วย เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เป็นประธาน และผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สานักงาน ป.ป.ส.) ผู้แทนสำนักงาน ตำรวจแห่งชาติ ผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุด ผู้แทนกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผู้แทนกรมการแพทย์ ผแู้ ทนกรมสขุ ภาพจติ เปน็ กรรมการโดยตำแหนง่ กบั กรรมการอนื่ ๆ ทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ แตง่ ตงั้ ไมเ่ กนิ หา้ คน เปน็ กรรมการ ให้ผูอ้ ำนวยการกองควบคุมวัตถเุ สพติด เปน็ กรรมการและเลขานุการ ข้อ ๗ ใหม้ คี ณะกรรมการระดบั จงั หวดั รบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั วตั ถอุ อกฤทธข์ิ องกลางทอี่ ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบ ของจังหวัด มีองค์ประกอบตามศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัด ซ่ึงจัดต้ังโดยคำสั่ง ศูนยอ์ ำนวยการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติดแหง่ ชาติ ข้อ ๘ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจำนวน กรรมการทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมให้กรรมการท่ีมาประชุมเลือก กรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในทป่ี ระชุม การวนิ ิจฉยั ชข้ี าดของทป่ี ระชมุ ให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่งึ ใหม้ เี สยี งหนง่ึ ในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสยี งเทา่ กนั ใหป้ ระธานในทีป่ ระชมุ ออกเสยี ง เพมิ่ ขน้ึ อีกเสียงหน่ึงเป็นเสยี งชีข้ าด ข้อ ๙ ใหค้ ณะกรรมการกลาง มหี น้าทใ่ี หค้ ำแนะนำหรอื ความเห็นเกย่ี วกับ (๑) การนำวัตถอุ อกฤทธขิ์ องกลางไปใชป้ ระโยชน์ (๒) การจำหนา่ ยวัตถุออกฤทธิ์ของกลาง (๓) การทำลายวัตถุออกฤทธิข์ องกลาง (๔) การอื่นท่ีกำหนดไว้ในระเบียบนี้ หรือตามท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขหรือปลัดกระทรวง สาธารณสุขมอบหมาย ข้อ ๑๐ ใหค้ ณะกรรมการระดบั จงั หวัด มอี ำนาจหนา้ ทเี่ กี่ยวกับ (๑) รบั ผิดชอบในการเกบ็ รกั ษาวตั ถอุ อกฤทธขิ์ องกลาง ทอ่ี ยู่ในความรบั ผิดชอบของจังหวดั (๒) พจิ ารณาหรือรับผดิ ชอบการทำลายวตั ถุออกฤทธิข์ องกลาง (๓) แตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการหรอื คณะทางานตามความจำเป็น (๔) พิจารณาหรือดำเนินการอื่น ๆ ตามท่ีกาหนดไว้ในระเบียบนี้ หรือตามที่กระทรวงสาธารณสุข มอบหมาย

452 สำนกั งาน ป.ป.ส. หมวด ๒ การตรวจรับและการเกบ็ รกั ษาวตั ถุออกฤทธข์ิ องกลาง สว่ นที่ ๑ การตรวจรบั ข้อ ๑๑ ให้มีคณะกรรมการตรวจรับวัตถุออกฤทธิ์ของกลาง ประกอบด้วย ผู้ท่ีเลขาธิการคณะกรรมการ อาหารและยาหรือผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลางหรือคณะกรรมการ ระดับจังหวดั แลว้ แต่กรณี ไม่น้อยกว่าสามคน เป็นกรรมการ ขอ้ ๑๒ ในระดบั จังหวดั ใหค้ ณะกรรมการระดบั จงั หวัด กำหนดสถานท่ีตรวจรบั และจดั ตัง้ คลังเกบ็ รักษา วตั ถอุ ออกฤทธิข์ องกลาง ตามความจำเปน็ และเหมาะสม ขอ้ ๑๓ ให้คณะกรรมการตรวจรบั วัตถุออกฤทธิ์ของกลาง มีหนา้ ท ่ี (๑) ตรวจรบั และเกบ็ รกั ษาวตั ถอุ อกฤทธขิ์ องกลาง (๒) จดั ทำบญั ชแี สดงรายละเอยี ดการตรวจรับวัตถอุ อกฤทธข์ิ องกลาง ตามแบบ วจ แนบทา้ ยระเบยี บน ้ี (๓) จดั ทำหลักฐานการรับหรือสง่ มอบวตั ถอุ อกฤทธข์ิ องกลาง (๔) เก็บรักษากุญแจคลังของกลางตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เลขาธิการคณะกรรมการ อาหารและยาหรือผูว้ า่ ราชการจงั หวัดแล้วแตก่ รณี กำหนด (๕) การอื่นท่ีกำหนดไว้ในระเบียบน้ีหรือตามท่ีคณะกรรมการกลางหรือคณะกรรมการระดับจังหวัด มอบหมาย ข้อ ๑๔ การตรวจรับวัตถุออกฤทธิ์ของกลาง ให้คณะกรรมการตรวจรับวัตถุออกฤทธิ์ของกลาง ตรวจเอกสารก่อนการตรวจรับ ดงั น ี้ (๑) สำเนารายงานการตรวจพสิ จู น์จากสถานตรวจพิสจู น ์ (๒) สำเนาหนงั สอื นำส่งตรวจพสิ ูจน์จากหน่วยงานนำส่งตรวจพิสูจน์ (๓) บญั ชวี ตั ถอุ อกฤทธข์ิ องกลางตามแบบทเ่ี ลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยากำหนด สว่ นที่ ๒ การเก็บรักษา ขอ้ ๑๕ ในส่วนกลางให้เก็บรักษาวัตถุออกฤทธ์ิของกลางไว้ท่ีคลังของกลาง กองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ข้อ ๑๖ ในระดบั จงั หวดั ใหก้ ารเกบ็ รกั ษาวตั ถอุ อกฤทธขิ์ องกลางไวท้ ค่ี ลงั เกบ็ รกั ษาวตั ถอุ อกฤทธขิ์ องกลาง ณ สถานทท่ี ีค่ ณะกรรมการระดบั จังหวัดกำหนด ข้อ ๑๗ ในการเก็บรักษาวัตถุออกฤทธ์ิของกลาง ให้คณะกรรมการตรวจรับวัตถุออกฤทธ์ิของกลาง จัดทำเคร่ืองหมาย รหัส ลำดับที่ หรือหลักฐานอย่างถาวรไว้บนหีบห่อหรือภาชนะบรรจุวัตถุออกฤทธ์ิของกลาง เพอ่ื สะดวกในการตรวจสอบ

พระราชบญั ญตั วิ ตั ถุท่ีออกฤทธ์ิตอ่ จิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ 453 ขอ้ ๑๘ การเปิดคลังเก็บรักษาวัตถุออกฤทธ์ิของกลางเพื่อดำเนินการตรวจรับ การเก็บรักษา การจำหน่าย และการทำลาย หรือเพ่ือการอื่นใดในราชการ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร จากเลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยาหรอื ผวู้ ่าราชการจังหวดั ก่อน แลว้ แต่กรณี เมื่อได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรือผู้ว่าราชการจังหวัดตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้คณะกรรมการตรวจรับวัตถอุ อกฤทธ์ขิ องกลางดำเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ ๑๓ หมวด ๓ การใชป้ ระโยชน์หรอื จำหน่าย ข้อ ๑๙ วัตถุออกฤทธ์ิของกลางที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ทส่ี ามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นราชการหรอื จำหนา่ ยได้ ใหส้ ำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา โดยความเหน็ ชอบ ของคณะกรรมการกลางขออนมุ ตั กิ ระทรวงสาธารณสขุ เพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นราชการหรอื จำหนา่ ยตามทเ่ี หน็ สมควร ข้อ ๒๐ วัตถุออกฤทธ์ิของกลางที่อยู่ในความรับผิดชอบของจังหวัด ท่ีสามารถนำไปใช้ประโยชน ์ ในราชการหรอื จำหนา่ ยได้ ใหจ้ งั หวดั โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการระดบั จงั หวดั เสนอคณะกรรมการกลาง เพื่อใหค้ วามเห็นต่อกระทรวงสาธารณสุข ในการพจิ ารณาอนุมัตติ ามท่ีเห็นสมควร หมวด ๔ การทำลาย ขอ้ ๒๑ วัตถุออกฤทธ์ิของกลางที่ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์หรือจำหน่ายได้ตามความในหมวด ๔ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการเพื่อทำลายของกลางตามระเบียบน้ีอย่างน้อยปีละ ๑ คร้ัง หรือตามท ี่ คณะกรรมการกลางหรือคณะกรรมการระดบั จงั หวัดมอบหมาย แล้วแตก่ รณี ข้อ ๒๒ การทำลายวัตถอุ อกฤทธ์ิของกลาง ให้ดำเนินการ ดงั นี้ (๑) ในสว่ นกลาง ให้กองควบคมุ วัตถุเสพตดิ เสนอขออนมุ ัตทิ ำลายวตั ถอุ อกฤทธิ์ของกลางใหส้ ำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยาเป็นผู้อนุมัติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลาง โดยให้เสนอแต่งตั้ง คณะทำงานทำลายวัตถุออกฤทธ์ิของกลางและระบุวิธีทำลายไว้อย่างชัดแจ้ง เม่ือได้รับอนุมัติให้ทำลายแล้ว ให้คณะทำงานดังกล่าวดำเนนิ การทำลายวัตถุออกฤทธิ์ของกลางตอ่ ไป จนแลว้ เสร็จ (๒) ในระดับจังหวัด ให้หน่วยงานท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับการเก็บรักษาวัตถุออกฤทธิ์ของกลางเสนอขอ อนุมัติทำลายวัตถุออกฤทธิ์ของกลาง ให้คณะกรรมการระดับจังหวัดเป็นผู้อนุมัติ โดยเสนอแต่งต้ังคณะทำงาน ทำลายวตั ถอุ อกฤทธข์ิ องกลางและระบวุ ธิ ที ำลายไวอ้ ยา่ งชดั แจง้ เมอ่ื ไดร้ บั อนมุ ตั ใิ หท้ ำลายแลว้ ใหค้ ณะทำงานดงั กลา่ ว ดำเนินการทำลายวัตถอุ อกฤทธขิ์ องกลางตอ่ ไป จนแล้วเสร็จ

454 สำนักงาน ป.ป.ส. หมวด ๕ การรายงาน ข้อ ๒๓ ในการเปดิ คลงั เกบ็ รกั ษาวตั ถอุ อกฤทธขิ์ องกลาง ตามขอ้ ๑๘ เพอื่ ดำเนนิ การตรวจรบั การเกบ็ รกั ษา การจำหน่าย การทำลายหรือดำเนินการอื่น ๆ ให้คณะกรรมการตรวจรับวัตถุออกฤทธิ์ของกลางรายงานผล การดำเนินการใหเ้ ลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยาหรอื ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั แล้วแตก่ รณีทราบทกุ ครง้ั ในการรายงานอย่างน้อยต้องมรี ายการ ดังต่อไปน ้ี (๑) รายการตรวจรบั รายการจำหนา่ ยวตั ถุออกฤทธข์ิ องกลาง (๒) บัญชแี สดงรายละเอียดการตรวจรับวัตถอุ อกฤทธ์ขิ องกลาง ตามแบบ วจ แนบทา้ ยระเบียบนี้ (๓) หลกั ฐานการรับหรอื สง่ มอบวตั ถุออกฤทธขิ์ องกลาง (๔) รายช่อื ผู้เกบ็ รักษากญุ แจคลงั ของกลาง (๕) รายการอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องหรือตามท่ีคณะกรรมการกลางหรือคณะกรรมการระดับจังหวัด แลว้ แตก่ รณี กำหนด ข้อ ๒๔ เมอื่ มกี ารทำลายวตั ถอุ อกฤทธขิ์ องกลางตามขอ้ ๒๒ เสรจ็ แลว้ ใหร้ ายงานผลการดำเนนิ การ ดงั น ้ี (๑) ในส่วนกลาง เม่ือคณะทำงานทำลายวัตถุออกฤทธิ์ของกลาง ดำเนินการทำลายวัตถุออกฤทธ ิ์ ของกลางเสร็จแล้ว ให้คณะทำงานดังกล่าวรายงานผลการทำลายต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และคณะกรรมการกลางทราบ แล้วให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารายงานผลการทำลายให ้ กระทรวงสาธารณสขุ ทราบ (๒) ในระดับจังหวัด เม่ือคณะทำงานทำลายวัตถุออกฤทธิ์ของกลาง ดำเนินการทำลายวัตถุออกฤทธิ์ ของกลางเสร็จแล้ว ให้คณะทำงานดังกล่าวรายงานผลการทำลายต่อคณะกรรมการระดับจังหวัดทราบ แล้วให้ คณะกรรมการระดบั จงั หวดั รายงานผลการทำลายใหก้ ระทรวงสาธารณสขุ ทราบ และใหแ้ จง้ ผลการทำลายดงั กลา่ ว ให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาทราบด้วย ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข

บัญชแี สดงรายละเอยี ดการตรวจรบั วัตถุออกฤทธิ์ของกลาง แบบ วจ พระราชบญั ญตั วิ ัตถทุ อี่ อกฤทธิต์ อ่ จติ และประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙ 455 หมายเหต ุ กล่องที่ ตำแหน่งทเ่ี ก็บ หนังสือนำส่งจาก ผลการพสิ ูจน ์ นำ้ หนกั ชัง่ ลงชอ่ื สถานตรวจพสิ ูจน ์ ช่ือว ตั ถอุ อกฤทธ ์ิ น้ำหนักเนอ้ื ยาทีเ่ หลือ ทั้งหีบหอ่ คณะกรรมการ ของกลาง จากการตรวจพสิ ูจน์ โดยประมาณ ตรวจรบั ของกลาง (กก.) (กก.)

456 สำนักงาน ป.ป.ส. พระราชกำหนด ปอ้ งกนั การใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ ภมู ิพลอดลุ ยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๓ เป็นปีท่ี ๔๕ ในรัชกาลปัจจุบนั พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศว่า โดยทเ่ี ป็นการสมควรใหม้ กี ฎหมายว่าด้วยการป้องกนั การใชส้ ารระเหย พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๔๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตาม บทบญั ญัติแหง่ กฎหมาย(๑) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๕๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกำหนดขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชกำหนดนีเ้ รียกว่า “พระราชกำหนดปอ้ งกันการใชส้ ารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓” มาตรา ๒ พระราชกำหนดนี้ใหใ้ ช้บังคบั ตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ต้นไป(๒) มาตรา ๓ ในพระราชกำหนดนี้ “สารระเหย” หมายความว่า สารเคมี หรอื ผลติ ภัณฑ์ ท่ีรฐั มนตรีประกาศวา่ เปน็ สารระเหย(๓) “ผู้ติดสารระเหย” หมายความว่า ผู้ซึ่งต้องใช้สารระเหยบำบัดความต้องการของร่างกายหรือจิตใจ เป็นประจำ โดยสามารถตรวจพบสภาพเช่นวา่ นนั้ ไดต้ ามหลกั วิชาการ “ผลิต” หมายความว่า ทำ ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ และให้หมายความรวมถึงเปลี่ยนรูป แบ่งบรรจุ หรือรวมบรรจุด้วย (๑) แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติมพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ ซง่ึ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๑๗ ตอนที่ ๑๑๑ ก ลงวนั ที่ ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๓ (๒) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๐๗ ตอนท่ี ๑๓ ลงวนั ท่ี ๑๙ มกราคม ๒๕๓๓ (๓) ดูประกาศกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การระบุช่ือ ประเภท ชนิด หรือขนาดบรรจุของ สารเคมีหรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารระเหย พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๓๑ ง ลงวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

พระราชกำหนดป้องกันการใชส้ ารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ 457 “การบำบัดรักษา” หมายความว่า การบำบัดรักษาผู้ติดสารระเหย ซ่ึงรวมตลอดถึงการฟื้นฟู สมรรถภาพ และการตดิ ตามผลภายหลงั การบำบดั รักษาดว้ ย “ขาย” หมายความรวมถึงจำหน่าย จ่าย แจก หรือแลกเปล่ียน ท้ังน้ี เพื่อประโยชน์ในทางการค้า หรอื มีไวเ้ พ่อื ขายด้วย “นำเขา้ ” หมายความวา่ นำหรือส่งั เขา้ มาในราชอาณาจกั ร “สถานพยาบาล” หมายความว่า สถานพยาบาลท่ีรฐั มนตรีประกาศกำหนดตามมาตรา ๔(๔) “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการป้องการใช้สารระเหยตามพระราชกำหนดน้ี “พนักงานเจ้าหนา้ ท่ี” หมายความว่า ผู้ซ่งึ รัฐมนตรีแต่งตัง้ ใหป้ ฏิบัติการตามพระราชกำหนดน(้ี ๕) “รฐั มนตร”ี หมายความวา่ รัฐมนตรีผ้รู ักษาการตามพระราชกำหนดนี้ มาตรา ๔ ใหร้ ัฐมนตรมี ีอำนาจประกาศในราชกจิ จานุเบกษา (๑) ระบุชื่อ ประเภท ชนิด หรอื ขนาดบรรจขุ องสารเคมี หรือผลติ ภณั ฑ์ทเี่ ป็นสารระเหย เมอ่ื รัฐมนตรี เหน็ วา่ อาจนำไปใช้หรอื ไดน้ ำไปใชเ้ พอื่ บำบัดความตอ้ งการของรา่ งกายหรอื จติ ใจ (๒) เพิกถอน หรือเปล่ียนแปลงชื่อ ประเภท ชนิด หรือขนาดบรรจุของสารเคมี หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็น สารระเหย (๓) กำหนดสถานพยาบาลท่ใี ห้การบำบัดรกั ษาแก่ผู้ติดสารระเหย (๔) กำหนดการอ่ืนเพื่อประโยชน์แก่การปฏบิ ตั ิตามพระราชกำหนดนี้ มาตรา ๕(๖) ใหม้ คี ณะกรรมการคณะหนงึ่ เรยี กวา่ “คณะกรรมการปอ้ งกนั การใชส้ ารระเหย” ประกอบดว้ ย ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงพาณชิ ย์ ปลดั กระทรวง มหาดไทย ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎกี า อยั การสงู สดุ ผบู้ ัญชาการตำรวจแห่งชาติ อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดกี รมคมุ ประพฤติ อธิบดกี รมพัฒนาสงั คมและสวัสดิการ อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ปลัดกรุงเทพมหานครและผ้ทู รงคณุ วุฒซิ งึ่ รฐั มนตรีแต่งตง้ั อกี ไมน่ ้อยกว่าหา้ คนแต่ไม่เกนิ เจ็ดคน เปน็ กรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหน่งึ ให้แตง่ ตงั้ จากภาคเอกชนไม่น้อยกว่าสองคน ให้รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยามอบหมาย เป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้อำนวยการกองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นกรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ มาตรา ๖ กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิมีวาระอยใู่ นตำแหน่งคราวละสองป ี กรรมการซง่ึ พ้นจากตำแหน่งอาจไดร้ บั การแต่งตั้งอีกได้ (๔) ดูประกาศกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๔๖ เรื่อง กำหนดสถานพยาบาลท่ีให้การ บำบัดรักษาแกผ่ ู้ติดสารระเหย ซ่งึ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๒๐ ตอนพิเศษ ๑๑๕ ง ลงวนั ท่ี ๒ ตลุ าคม ๒๕๔๖ (๕) ดูประกาศกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับท่ี ๒๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ เร่ือง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าท่ีเพ่ือ ปฏิบัติการตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันการใช้สารระเหย ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๒ ง ลงวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๗ (๖) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติมพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๓ และให้ใช้ข้อความที่พิมพ์ไว้นี้แทน ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนท่ี ๓๑ ก ลงวันท่ี ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๐

458 สำนักงาน ป.ป.ส. มาตรา ๗ กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ พิ น้ จากตำแหน่งก่อนวาระเม่ือ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รฐั มนตรีใหอ้ อก (๔) เปน็ บคุ คลลม้ ละลาย (๕) เป็นคนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมือนไร้ความสามารถ (๖) ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำ โดยประมาทหรือความผดิ ลหโุ ทษ (๗) ถกู สัง่ พักใช้หรอื เพิกถอนใบอนญุ าตประกอบโรคศลิ ปะหรอื ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี เวชกรรม ในกรณที มี่ กี ารแตง่ ตง้ั กรรมการในระหวา่ งทก่ี รรมการซงึ่ แตง่ ตง้ั ไวแ้ ลว้ ยงั มวี าระอยใู่ นตำแหนง่ ไมว่ า่ จะเปน็ การแต่งต้ังเพิ่มขึ้นหรือแต่งต้ังซ่อม ให้ผู้ได้รับแต่งต้ังนั้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการ ซ่ึงแตง่ ต้งั ไวแ้ ล้วนัน้ มาตรา ๘ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจำนวน กรรมการทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้กรรมการ ในที่ประชมุ เลือกกรรมการคนหนึง่ เปน็ ประธานในทีป่ ระชุม การวินิจฉัยชข้ี าดของทีป่ ระชุมให้ถือเสยี งข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุม ออกเสยี งเพิม่ ขึน้ อีกเสียงหนงึ่ เป็นเสยี งชข้ี าด มาตรา ๙ ใหค้ ณะกรรมการมีอำนาจหน้าทใ่ี ห้คำแนะนำหรือความเห็นตอ่ รัฐมนตรีในเรอื่ งต่อไปนี้ (๑) การออกประกาศตามมาตรา ๔ (๒) การกำหนดนโยบายหรือมาตรการเกยี่ วกับการป้องกนั การใชส้ ารระเหย หรอื การบำบดั รักษา (๗) (๓) การวางระเบียบว่าด้วยการรับเข้าบำบัดรักษา การบำบัดรักษา และการดูแลผู้ติดสารระเหยใน สถานพยาบาล (๔) การออกกฎกระทรวงตามพระราชกำหนดนี้ (๕) เรอ่ื งอนื่ ตามที่รฐั มนตรมี อบหมาย มาตรา ๑๐ ใหค้ ณะกรรมการมีอำนาจแต่งตง้ั คณะอนกุ รรมการ เพอื่ พจิ ารณาหรอื ปฏิบัติการอย่างหน่ึง อยา่ งใดเก่ียวกบั เรอ่ื งท่ีอยู่ในอำนาจหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการตามท่คี ณะกรรมการมอบหมาย และใหน้ ำความใน มาตรา ๘ มาใช้บังคบั แกก่ ารประชุมของคณะอนกุ รรมการโดยอนโุ ลม มาตรา ๑๑(๘) เม่ือได้ประกาศกำหนดสถานพยาบาลท่ีให้การบำบัดรักษาแก่ผู้ติดสารระเหยตาม มาตรา ๔ (๓) แล้ว ให้รัฐมนตรีวางระเบียบว่าด้วยการรับเข้าบำบัดรักษา การบำบัดรักษา และการดูแล ผูต้ ิดสารระเหยในสถานพยาบาลดังกล่าวไว้ดว้ ย (๗) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔ และให้ใช้ขอ้ ความทพี่ ิมพไ์ ว้นแ้ี ทน (๘) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕ และให้ใช้ขอ้ ความท่ีพิมพ์ไว้น้แี ทน

พระราชกำหนดปอ้ งกนั การใชส้ ารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ 459 ระเบียบตามวรรคหนง่ึ เมอื่ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ใหใ้ ชบ้ ังคบั ได้ มาตรา ๑๒ ผู้ผลิตสารระเหยต้องจัดให้มีภาพ เครื่องหมาย หรือข้อความ ท่ีภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่ บรรจุสารระเหย เพื่อเป็นการเตือนให้ระวงั การใชส้ ารระเหยดงั กล่าว ท้งั น้ี ตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไขที่ กำหนดในกฎกระทรวง(๙) มาตรา ๑๓ ผู้นำเข้าสารระเหยก่อนนำออกขาย ต้องจัดให้มีภาพ เคร่ืองหมาย หรือข้อความท่ีภาชนะ บรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุสารระเหย เพ่ือเป็นการเตือนให้ระวังการใช้สารระเหยดังกล่าว ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๔ สารระเหยที่ผู้ขายจะขายนั้นต้องมีภาพ เครื่องหมาย หรือข้อความท่ีผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าได้ จัดให้มที ภ่ี าชนะบรรจุหรือหีบหอ่ ท่ีบรรจุตามมาตรา ๑๒ หรือมาตรา ๑๓ อยคู่ รบถว้ น มาตรา ๑๕(๑๐) หา้ มมใิ ห้ผู้ใดขายสารระเหยแก่ผูท้ ่มี อี ายุตำ่ กวา่ สบิ แปดปีบริบรู ณ์ เว้นแตเ่ ปน็ การขายโดย สถานศึกษาเพอ่ื ใชใ้ นการเรียนการสอน มาตรา ๑๖ ห้ามมใิ หผ้ ใู้ ดขาย จัดหา หรอื ให้สารระเหยแกผ่ ู้ซง่ึ ตนร้หู รอื ควรรวู้ า่ เปน็ ผตู้ ิดสารระเหย มาตรา ๑๗ ห้ามมิให้ผู้ใดใช้สารระเหยบำบัดความต้องการของร่างกายหรือจิตใจ ไม่ว่าโดยวิธีสูด ดม หรอื วิธีอน่ื ใด มาตรา ๑๘ ห้ามมิให้ผู้ใดจูงใจ ชักนำ ยุยงส่งเสริม หรือใช้อุบายหลอกลวงให้บุคคลอ่ืนใช้สารระเหย บำบดั ความตอ้ งการของรา่ งกายหรอื จติ ใจ ไม่วา่ โดยวิธีสดู ดม หรือวธิ ีอ่นื ใด มาตรา ๑๙ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอำนาจเข้าไปในสถานท่ีผลิต สถานที่นำเข้า สถานที่ขาย หรือสถานที่เก็บสารระเหยในระหว่างเวลาทำการ เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติตามพระราชกำหนดนี้ และในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการกระทำความผิดตามพระราชกำหนดน้ี อาจยึดสารระเหย ภาชนะบรรจุ หรือหีบหอ่ ที่บรรจสุ ารระเหยหรือเอกสารทเ่ี กี่ยวข้องเพอื่ ประโยชน์ในการดำเนินคดีได้ ในการปฏิบัติหน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ผลิต ผู้นำเข้า หรือผู้ขายสารระเหย และ บรรดาผู้ท่ีมีหน้าท่ีเก่ียวข้องกับการผลิต การนำเข้า หรือการขาย ในสถานที่ผลิต สถานที่นำเข้า สถานที่ขาย หรือสถานท่ีเกบ็ สารระเหย อำนวยความสะดวกตามสมควร มาตรา ๒๐ ในการปฏิบัติหน้าท่ี พนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องแสดงบัตรประจำตัวเม่ือบุคคลซ่ึงเกี่ยวข้อง ร้องขอ (๑๑) บัตรประจำตัวพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ใหเ้ ปน็ ไปตามแบบท่รี ฐั มนตรีประกาศกำหนด มาตรา ๒๑ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทีเ่ ป็นเจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๒ ผผู้ ลติ ผนู้ ำเขา้ หรอื ผขู้ ายสารระเหยผใู้ ดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ หรอื มาตรา ๑๔ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไมเ่ กินสองหมื่นบาท หรอื ท้งั จำทั้งปรับ (๙) กฎกระทรวงตามมาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๓ หมายถึง กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๓๔) ออกตามความในพระราชกำหนด ป้องกนั การใชส้ ารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ ซ่ึงประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๐๘ ตอนท่ี ๙๘ ลงวนั ท่ี ๑ มิถุนายน ๒๕๓๔ (๑๐) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๖ และใหใ้ ช้ข้อความท่พี ิมพไ์ ว้นีแ้ ทน (๑๑) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพ่ิมเติมพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗ และใหใ้ ช้ขอ้ ความทพ่ี ิมพ์ไว้นี้แทน

460 สำนกั งาน ป.ป.ส. มาตรา ๒๓(๑๒) ผใู้ ดฝ่าฝนื มาตรา ๑๕ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกนิ สองปี หรอื ปรับไม่เกนิ สห่ี มืน่ บาท หรอื ทัง้ จำทง้ั ปรับ มาตรา ๒๓/๑(๑๓) ผใู้ ดฝา่ ฝนื มาตรา ๑๖ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ สามปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หกหมนื่ บาท หรอื ทงั้ จำทงั้ ปรับ มาตรา ๒๔(๑๔) ผู้ใดฝา่ ฝนื มาตรา ๑๗ ต้องระวางโทษจำคกุ ไม่เกนิ สองปี หรอื ปรับไม่เกินสหี่ ม่ืนบาท หรอื ท้ังจำทั้งปรับ มาตรา ๒๔/๑(๑๕) ผู้ใดฝ่าฝนื มาตรา ๑๘ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทัง้ จำทงั้ ปรบั ถ้าการกระทำตามวรรคหน่ึงเป็นการกระทำต่อผู้ซึ่งมีอายุต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ ต้องระวางโทษจำคุก ไมเ่ กนิ สามปี หรือปรับไมเ่ กนิ หกหมื่นบาท หรอื ทั้งจำท้ังปรับ มาตรา ๒๔/๒(๑๖) ผู้ใดใช้สารระเหยบำบัดความต้องการของร่างกายหรือจิตใจ และได้สมัครใจ ขอเข้ารับการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลก่อนความผิดจะปรากฏต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงาน ฝ่ายปกครองหรือตำรวจ โดยได้ปฏิบัติครบถ้วนตามระเบียบว่าด้วยการรับเข้าบำบัดรักษา การบำบัดรักษาและ การดูแลผู้ติดสารระเหยในสถานพยาบาลดังกล่าวจนได้รับการรับรองเป็นหนังสือจากพนักงานเจ้าหน้าท่ีที่ รฐั มนตรีกำหนดแลว้ ใหผ้ นู้ ัน้ พน้ จากความผิดตามทีก่ ฎหมายบัญญัติไว้ ทง้ั น้ี ไมร่ วมถึงกรณีความผิดท่ีได้กระทำ ไปภายหลงั การสมัครใจเขา้ รบั การบำบัดรกั ษา มาตรา ๒๕ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามความในมาตรา ๑๙ วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไมเ่ กินหนงึ่ เดอื น หรือปรับไมเ่ กินหนง่ึ พันบาท หรอื ท้ังจำท้งั ปรบั มาตรา ๒๕ ทว(ิ ๑๗) ในกรณีท่ีมีการยึดสารระเหยตามมาตรา ๑๙ วรรคหนึ่ง หรือตามกฎหมายอื่นและ ไม่มีการฟ้องคดีต่อศาล เพราะเหตุท่ีไม่ปรากฏว่าผู้ใดเป็นผู้กระทำความผิดและพนักงานอัยการสั่งให้งดการ สอบสวน หรือเพราะพนักงานอัยการมีคำส่ังเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี ถ้าไม่มีผู้ใดมาอ้างว่าเป็นเจ้าของภายในกำหนด เก้าสิบวันนับแต่วันท่ียึดให้สารระเหยน้ันตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข และให้กระทรวงสาธารณสุขหรือ ผู้ซ่งึ กระทรวงสาธารณสขุ มอบหมายทำลายหรอื นำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ตามระเบียบท่กี ระทรวงสาธารณสุขกำหนด ถ้าผู้ท่ีอ้างว่าเป็นเจ้าของตามวรรคหนึ่ง แสดงต่อคณะกรรมการได้ว่าเป็นเจ้าของแท้จริงและไม่ได้ รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำความผิด ให้คณะกรรมการส่ังให้คืนสารระเหยแก่เจ้าของ ถ้าสารระเหยนั้น ยงั คงอยใู่ นความครอบครองของพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี มาตรา ๒๕ ตร(ี ๑๘) ในกรณีท่ีมีการฟ้องคดีความผิดเก่ียวกับสารระเหยต่อศาลและไม่ได้มีการโต้แย้ง เรื่องประเภท ชนิด หรือขนาดบรรจุของสารเคมหี รอื ผลติ ภณั ฑท์ เี่ ปน็ สารระเหย ถ้าศาลชัน้ ตน้ มคี ำพพิ ากษาหรือ คำสั่งให้รบิ สารระเหย ตามประมวลกฎหมายอาญา หรือตามกฎหมายอ่ืน และไมม่ ีคำเสนอว่าผเู้ ปน็ เจ้าของ (๑๒)-(๑๔) ข้อความเดิมถูกยกเลิกโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ และให้ใชข้ อ้ ความที่พิมพไ์ วน้ แ้ี ทน (๑๕)-(๑๖) ข้อความดงั กล่าวเพิม่ เตมิ โดย โดย พ.ร.บ.แกไ้ ขเพิม่ เติมพระราชกำหนดปอ้ งกันการใชส้ ารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๑ (๑๗)-(๑๘) ข้อความดังกล่าวเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๓

พระราชกำหนดปอ้ งกนั การใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ 461 แท้จริงไม่ได้รู้เห็นเป็นใจด้วยในการกระทำความผิดภายในกำหนดสามสิบวันนับแต่วันท่ีศาลมีคำพิพากษาหรือ คำสั่งใหร้ ิบสารระเหยนั้น ให้กระทรวงสาธารณสุขหรอื ผซู้ งึ่ กระทรวงสาธารณสุขมอบหมาย ทำลายหรือนำไปใช้ ประโยชน์ไดต้ ามระเบยี บท่กี ระทรวงสาธารณสขุ กำหนด มาตรา ๒๖(๑๙) ยกเลิก มาตรา ๒๗(๒๐) ยกเลิก มาตรา ๒๘(๒๑) ยกเลิก มาตรา ๒๙(๒๒) ยกเลกิ มาตรา ๓๐(๒๓) ยกเลิก มาตรา ๓๑ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รักษาการตามพระราชกำหนดน้ี และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าท่ี ออกกฎกระทรวงและประกาศ เพอ่ื ปฏบิ ัตกิ ารตามพระราชกำหนดน้ี กฎกระทรวงและประกาศน้ัน เม่อื ไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงั คับได้ ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ชาตชิ าย ชุณหะวณั นายกรฐั มนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกำหนดฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันได้มีการนำสารระเหยหรือวัตถุ หรือผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปมีสารระเหยผสมหรือเจือปนอยู่ ซ่ึงผลิตขึ้นเพ่ือใช้ในทางอุตสาหกรรม หรือทางอื่น ไปใช้สูด ดม หรือวิธีอื่นใด อันก่อให้เกิดอันตรายอย่างมากแก่ผู้สูด ดม โดยเฉพาะ เยาวชน ประกอบกับยังไม่มีกฎหมายใช้บังคับแก่สารระเหยโดยเฉพาะ สมควรที่จะดำเนินการ ป้องกันการใช้สารระเหยไปในทางที่ไม่ถูกต้อง และโดยที่เป็นกรณีฉุกเฉินท่ีมีความจำเป็นรีบด่วน ในอันท่ีจะรกั ษาความปลอดภยั สาธารณะ จึงจำเปน็ ต้องตราพระราชกำหนดนี้ (๑๙) - (๒๓) ยกเลิกโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๒

462 สำนกั งาน ป.ป.ส. กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๓๔)* ออกตามความในพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๓๑ แห่งพระราชกำหนดป้องกันการใช้ สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ผู้ผลิตสารระเหย หรือผู้นำเข้าสารระเหยก่อนนำออกขาย ต้องจัดให้มีข้อความที่ภาชนะบรรจุ หรอื หีบห่อท่ีบรรจเุ ปน็ ภาษาไทย ดงั ต่อไปน้ี (๑) คำวา่ “สารระเหย” (๒) ชอื่ และสถานทตี่ ั้งของผผู้ ลิต หรือผนู้ ำเขา้ แลว้ แตก่ รณี (๓) ปรมิ าณท่ีบรรจุเป็นระบบเมตรกิ (๔) ชื่อทางเคมีและอัตราสว่ นของสารผสมทงั้ หมดในสารระเหย (๕) วิธกี ารใช้ และวิธีเกบ็ รักษา (๖) คำวา่ “คำเตือน ห้ามสูดดม เปน็ อนั ตรายต่อชวี ติ ” ข้อความดังกล่าว ต้องใช้สีที่เห็นได้ชัดเจน และตัดกับสีของภาชนะบรรจุหรือหีบห่อท่ีบรรจุ สำหรับ ข้อความตาม (๑) และ (๖) นัน้ ใหใ้ ชต้ วั อักษรสีแดงบนพืน้ ขาว ข้อความที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อท่ีบรรจุสารระเหยจะมีภาษาอื่นนอกจากภาษาไทยก็ได้ แต่ข้อความ ภาษาอืน่ นน้ั ตอ้ งตรงกบั ข้อความภาษาไทย และมีขนาดไม่ใหญก่ ว่าข้อความภาษาไทย ข้อ ๒ สำหรบั สารระเหยทบี่ รรจใุ นภาชนะหรอื หบี หอ่ ทมี่ ขี นาดบรรจเุ กนิ ๕๕๐ มลิ ลลิ ติ ร หรอื ๕๕๐ กรมั หากมีการจัดให้มภี าพ เครือ่ งหมาย หรอื ขอ้ ความทภ่ี าชนะบรรจุหรอื หีบห่อที่บรรจุตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร หรอื เง่ือนไขแห่งกฎหมายอื่นแล้ว ผู้ผลิตสารระเหยหรือผู้นำเข้าสารระเหย ก่อนนำออกขายจะไม่จัดให้มีข้อความ ที่ภาชนะบรรจุหรอื หบี ห่อท่ีบรรจสุ ารระเหยตามทีก่ ำหนดไวใ้ นขอ้ ๑ ก็ได้ ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ไพโรจน ์ นงิ สานนท์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ สิปปนนท ์ เกตทุ ัต รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงอตุ สาหกรรม * ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๙๘ ลงวันที่ ๑ มถิ ุนายน ๒๕๓๔

พระราชกำหนดปอ้ งกนั การใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ 463 ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงอุตสาหกรรม เรอ่ื ง การระบชุ อื่ ประเภท ชนดิ หรือขนาดบรรจขุ องสารเคมีหรือผลติ ภัณฑท์ เี่ ปน็ สารระเหย พ.ศ. ๒๕๕๔(๑) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ (๑) และมาตรา ๓๑ แห่งพระราชกำหนดป้องกันการใชส้ ารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ อันเป็นกฎหมายท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๔๕ ของรฐั ธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุขและรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงอตุ สาหกรรมออกประกาศไวด้ งั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ใหย้ กเลิก (๑) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบบั ที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๘) เรือ่ ง กำหนดชือ่ ประเภท ชนิด หรือขนาดบรรจขุ องสารเคมหี รือผลิตภณั ฑ์เปน็ สารระเหย ลงวนั ท่ี ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ (๒) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงอตุ สาหกรรม ฉบบั ท่ี ๑๘ (พ.ศ. ๒๕๔๑) เรื่อง กำหนดชือ่ ประเภท ชนดิ หรอื ขนาดบรรจุของสารเคมหี รือผลิตภัณฑเ์ ปน็ สารระเหย ลงวนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๑ ข้อ ๒ ให้สารเคมีดังต่อไปน้ี รวมท้ังสารเคมีท่ีเรียกช่ือเป็นอย่างอื่น แต่มีสูตรโครงสร้างทางเคม ี อย่างเดียวกนั เปน็ สารระเหย (๑) อาลิฟาติกไฮโดรคาร์บอน (Aliphatic hydrocarbon) และอาโรเมติกไฮโดรคาร์บอน (Aromatic hydrocarbon) ไดแ้ ก่ ๑.๑ โทลูอนี (Toluene) ซ่งึ มีช่ือทางเคมีวา่ methylbenzene มีสูตรทางเคมีเป็น C6H5CH3 [CAS Number 108-88-3] (๒) คีโทน (Ketone) ไดแ้ ก่ ๒.๑ อาซีโทน (Acetone) ซ่ึงมีช่ือทางเคมีว่า propan-2-one มีสูตรทางเคมีเป็น CH3COCH3 [CAS Number 67-64-1] ๒.๒ เมทิลเอทิลคีโทน (Methyl ethyl ketone) หรือ เอ็มอีเค (MEK) ซึ่งมีชื่อทางเคมีว่า b uta n-2-on๒e.๓มสี ตู เรมททาลิ งไเอคโมซีเบปวิ ็นทCลิ Hคโี3ทCOนC(HM2eCtHh3yl[CisAoSbuNtuyml bkeetro7n8e-)93ห-ร3อื] เอ็มไอบเี ค (MIBK) ซึ่งมชี ื่อทาง เคมีวา่ 4-methylpentan-2-one มสี ูตรทางเคมเี ปน็ CH3COCH2CH(CH3)2 [CAS Number 108-10-1] (๓) เอสเตอร์ (Ester) ได้แก ่ ๓.๑ เอทิลอาซีเทต (Ethyl acetate) ซ่ึงมีชื่อทางเคมีว่า ethyl acetate มีสูตรทางเคมีเป็น C H3C OOC2H๓5.๒ [CเAซSลโNลuโซmลbฟ์ eอrา1ซ4เี ท1ต-78(C-6e]l losolve acetate) ซึ่งมีชอ่ื ทางเคมีวา่ 2-ethoxyethyl acetate มีสตู รทางเคมเี ป็น CเมHท3CิลOอาOซCเี ทHต2CH(M2OeCth2Hyl5 [CAS Number 111-15-9] ๓.๓ acetate) ซึ่งมีช่อื ทางเคมวี ่า methyl acetate มีสูตรทางเคมีเป็น CH3COOCH3 [CAS Number 79-20-9] (๑) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๒๘ ตอนพเิ ศษ ๓๑ ง ลงวันท่ี ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๔

464 สำนกั งาน ป.ป.ส. ๓.๔ นอร์มาลบิวทิลอาซีเทต (n-Butyl acetate) ซึ่งมีชื่อทางเคมีว่า butyl acetate มีสูตร ทางเคมีเป็น ๓CH.๕3 COเซOค(ันCดHา2)ร3ีบCิวHท3ิลอ[CาAซีเSทNตu(msebce-rBu12ty3l-8a6c-e4t]a te) ซึ่งมีชื่อทางเคมีว่า butan-2-yl acetate มสี ตู รทา(๔งเ)ค มโวเี ปล็นาไทCHล์อ3CัลOคOิลไCนHไต(CรHท3์ )(CVHol2aCtHil3e [CAS Number 105-46-4] alkyl nitrite) ไดแ้ ก่ ๔.๑ เอมิลไนไตรท์ (Amyl nitrite) ซ่ึงมีชื่อทางเคมีว่า 3-methylbutyl nitrite มีสูตรทางเคมี เ ปน็ (CH3)2C๔H.๒C H2ไCซHโค2OลเNฮOก็ ซ[ิลCไAนSไตNรuทm์ (bCeyrcl1o1h0e-x4y6l-3n]i trite) ซ่ึงมชี ่อื ทางเคมีวา่ cyclohexyl nitrite มีสตู ร ทางเคมเี ป็น ๔C6.๓H 11OเอNทOิลไ[นCไAตSรทN์u(mEtbheyrl 5156-40-1] nitrite) ซ่ึงมีชื่อทางเคมีว่า ethyl nitrite มีสูตรทางเคมีเป็น C H3C H2ONO๔.๔[C AไSอNโซuบmวิ ทbิลeไrน1ไต0ร9ท-9์ (5Is-o5]b utyl nitrite) ซึง่ มีชื่อทางเคมวี า่ 2-methylpropyl nitrite มีสตู ร ทางเคมเี ปน็ ๔(C.๕H 3)ไ2อCโซHโCพHร2พOิลNไOนไต[รCทA์ S(INsoupmrobpeyr l 542-56-3] nitrite) ซึ่งมีช่ือทางเคมีว่า Propan-2-yl nitrite มีสูตร ทางเคมเี ป็น ๔(C.๖H 3)น2CอHรO์มาNลOบวิ ท[Cลิ AไนSไตNรuทm์ b(ne-rBu5t4y1l -n4i2t-r4it]e ) ซึ่งมีชือ่ ทางเคมีวา่ butyl nitrite มสี ตู รทางเคมี เป็น CH(3๕C)H 2อCีเทHอ2 รC์ H(2EOthNeOr) [CAS Number 544-16-1] ได้แก ่ ๕.๑ บิวทิลเซลโลโซล์ฟ (Butyl cellosolve) ซึ่งมีช่ือทางเคมีว่า 2-butoxyethanol มีสูตรทาง เคมเี ป็น HO๕C.H๒2 CHเซ2OลโCล4โHซ9ล[์ฟCA(SCeNlulomsboelvre1) 1ซ1ึ่ง-7ม6ีช-่ือ2ท] างเคมีว่า [CAS Number 2-ethoxyethanol มีสูตรทางเคมีเป็น H OC H2CH2O๕C.๓2H 5 เมทิลเซลโลโซล์ฟ 110-80-5] (Methyl cellosolve) ซึ่งมีช่ือทางเคมีว่า 2-methoxyethanol มีสูตร ท างเคมขเี ปอ้ น็ ๓ HOใหC้ผHล2CิตHภ2ัณOฑCH์ท3่ีมีชื่[อCตA่อSไปNนu้ีmหbรeือrท่ีเ1ร0ีย9ก-ช86ื่อ-อ4ย] ่างอื่นซ่ึงมีสารเคมีตามข้อ ๒ ชนิดใดชนิดหน่ึง หรือหลายชนิดผสมอยเู่ ป็นสารระเหย ไดแ้ ก่ (๑) ทินเนอร์ (Thinners) (๒) แลกเกอร์ (Lacquers) (๓) กาวอินทรยี ส์ ังเคราะห์ (Synthetic organic adhesives) ที่มยี างนโิ อปรีน (Neoprene based) หรือสารกลมุ่ ไวนิล (Vinyl resin based) เปน็ ตวั ประสาน (๔) กาวอนิ ทรยี ธ์ รรมชาติ (Natural organic adhesives) ทม่ี ยี างสนหรอื ชนั สน (Rosin) ยางธรรมชาติ (Natural rubber หรอื Isoprene) หรือสารเซลลูโลส (Cellulose compounds) เปน็ ตัวประสาน (๕) ลูกโป่งวทิ ยาศาสตร์ หรอื ลูกโป่งพลาสติก (Blowing balloon) ขอ้ ๔ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกำหนดหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับจากวันถัดจากวันประกาศ ในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ จรุ นิ ทร์ ลกั ษณวิศิษฏ์ ชยั วฒุ ิ บรรณวัฒน์ รฐั มนตรีตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม

พระราชกำหนดปอ้ งกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ 465 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอตุ สาหกรรม(๑) (ฉบบั ที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๔๖ เร่อื ง กำหนดสถานตรวจพสิ ูจน์สารเคมีหรอื ผลิตภณั ฑส์ ารระเหยของกลาง เนื่องด้วยได้มีการปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานราชการต่างๆ ดังนั้น สถานตรวจพิสูจน์สารเคม ี หรือผลิตภัณฑ์สารระเหยของกลาง ตามพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ ที่ประกาศไป แล้วนั้นจึงไม่เป็นปัจจุบัน และมีความจำเป็นต้องประกาศกำหนดสถานตรวจพิสูจน์สารเคมีหรือผลิตภัณฑ ์ สารระเหยของกลางข้ึนใหม่ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๔ (๔) และมาตรา ๓๑ แหง่ พระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงอตุ สาหกรรมออกประกาศไว้ ดงั น้ี ขอ้ ๑ ให้ยกเลกิ (๑) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๔) เรื่อง กำหนด สถานตรวจพสิ ูจนส์ ารเคมหี รอื ผลิตภัณฑ์สารระเหยของกลาง (๒) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับท่ี ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๓๖) เร่ือง กำหนด สถานตรวจพิสูจนส์ ารเคมีหรือผลิตภัณฑ์สารระเหยของกลาง (เพ่มิ เติม) ข้อ ๒ ให้หน่วยงานดังต่อไปนี้ เป็นสถานตรวจพิสูจน์สารเคมีหรือผลิตภัณฑ์สารระเหยของกลาง ตามกฎหมายว่าดว้ ยการป้องกันการใชส้ ารระเหย (๑) สำนักยาและวตั ถเุ สพตดิ และศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ (๒) สถานตรวจพสิ ูจนย์ าเสพติดของสำนกั งานวทิ ยาการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (๓) สำนกั ปราบปรามยาเสพตดิ สำนกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด ข้อ ๓ ประกาศฉบับน้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั ตั้งแต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๒๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ สุดารัตน ์ เกยรุ าพันธุ ์ สมศกั ด์ิ เทพสทุ นิ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม (๑) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๐ ตอนพิเศษ ๑๑๕ ง ลงวันท่ี ๒ ตุลาคม ๒๕๔๖

466 สำนักงาน ป.ป.ส. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับท่ี ๒๑) พ.ศ. ๒๕๔๖(๑) เรอ่ื ง กำหนดสถานพยาบาลที่ให้การบำบดั รกั ษาแก่ผตู้ ิดสารระเหย เน่ืองด้วยได้มีการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ดังน้ัน สถานพยาบาลที่ให้การบำบัดรักษาแก่ผู้ติดสารระเหยตามพระราชกำหนดป้องกันการใช้ สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ ท่ีได้มีการประกาศกำหนดไปแล้วน้ันจึงไม่เป็นปัจจุบัน สมควรประกาศกำหนด สถานพยาบาลท่ีให้การบำบัดรักษาแก่ผู้ติดสารระเหยขึ้นใหม่ เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสถานพยาบาล ทจี่ ัดตั้งตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓ มาตรา ๔ (๓) และมาตรา ๓๑ แห่งพระราชกำหนดปอ้ งกันการใช้ สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศไว้ ดังนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลกิ (๑) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๓๓) เรอ่ื ง กำหนดสถาน พยาบาลท่ีให้การบำบัดรักษาแกผ่ ูต้ ดิ สารระเหย (๒) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๔) เร่อื ง กำหนดสถาน พยาบาลทใ่ี หก้ ารบำบดั รักษาแก่ผู้ตดิ สารระเหย (เพิม่ เตมิ ) (๓) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๓๖) เร่ือง กำหนด สถานพยาบาลทใ่ี ห้การบำบดั รกั ษาแกผ่ ู้ติดสารระเหย (เพมิ่ เตมิ ) ข้อ ๒ ให้สถานพยาบาลของรัฐที่จัดต้ังตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษเป็นสถานพยาบาล ที่ให้การบำบัดรักษาแก่ผู้ติดสารระเหยตามพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ และ ให้ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม ว่าด้วยการบำบัดรักษาและควบคุม ผ้ตู ิดสารระเหยในสถานพยาบาล ขอ้ ๓ ประกาศฉบบั น้ใี หใ้ ชบ้ งั คบั ตง้ั แต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๒๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ สดุ ารัตน ์ เกยรุ าพนั ธ ุ์ สมศกั ดิ์ เทพสทุ นิ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงอุตสาหกรรม (๑) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ท่ี ๑๒๐ ตอนพเิ ศษ ๑๑๕ ง ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๖

พระราชกำหนดป้องกันการใชส้ ารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ 467 ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงอุตสาหกรรม (ฉบับท่ี ๒๒) พ.ศ. ๒๕๔๖* เรือ่ ง แต่งตัง้ พนักงานเจ้าหน้าทเ่ี พื่อปฏิบัตกิ าร ตามกฎหมายว่าดว้ ยการป้องกันการใช้สารระเหย เน่ืองด้วยได้มีการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ดังน้ัน พนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตามพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ ที่ได้มีการประกาศแต่งตั้งไปแล้วนั้นจึงไม่เป็นปัจจุบัน สมควรประกาศแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อปฏบิ ัตกิ ารตามกฎหมายดงั กล่าวขนึ้ ใหม่ เพอื่ ให้ทนั สมัยและเหมาะสมกบั สภาพปัญหาในปจั จุบนั อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๑ แห่งพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงอตุ สาหกรรมออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ให้ยกเลกิ (๑) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงอตุ สาหกรรม (ฉบบั ที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๔๑ เรอ่ื ง แตง่ ตงั้ พนกั งาน เจา้ หนา้ ทเี่ พอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชกำหนดปอ้ งกนั การใชส้ ารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ ลงวนั ท่ี ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๑ (๒) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงอตุ สาหกรรม (ฉบบั ท่ี ๑๙) พ.ศ. ๒๕๔๑ เรอื่ ง แตง่ ตงั้ พนกั งาน เจา้ หนา้ ทเ่ี พอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชกำหนดปอ้ งกนั การใชส้ ารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ ลงวนั ท่ี ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๔๑ ขอ้ ๒ ให้บุคคลซ่ึงดำรงตำแหน่งต่อไปน้ี เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่เพ่ือปฏิบัติการตามกฎหมายว่าด้วย การปอ้ งกันการใช้สารระเหย (๑) ปลดั กระทรวงสาธารณสุข (๒) รองปลดั กระทรวงสาธารณสุข (๓) ผ้ตู รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข (๔) สาธารณสุขนิเทศก์ (๕) อธิบดกี รมการแพทย์ (๖) รองอธบิ ดกี รมการแพทย์ (๗) อธิบดีกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย ์ (๘) รองอธบิ ดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ * ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๒๑ ตอนพเิ ศษ ๒ ง ลงวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๗

468 สำนักงาน ป.ป.ส. (๙) อธบิ ดกี รมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ (๑๐) รองอธิบดีกรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ (๑๑) อธิบดีกรมสขุ ภาพจิต (๑๒) รองอธบิ ดีกรมสขุ ภาพจติ (๑๓) เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (๑๔) รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา (๑๕) นายแพทย์สาธารณสุขจงั หวัด (๑๖) นายแพทย์ สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัด (๑๗) ผู้อำนวยการสำนักยาและวัตถเุ สพติด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (๑๘) ผอู้ ำนวยการศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (๑๙) ผอู้ ำนวยการกองการประกอบโรคศลิ ปะ กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ (๒๐) ผอู้ ำนวยการสำนักควบคุมเครื่องสำอางและวตั ถอุ นั ตราย สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๑) ผู้อำนวยการกองควบคุมวตั ถเุ สพตดิ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๒) ผูอ้ ำนวยการกองควบคมุ ยา สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๓) ผอู้ ำนวยการกองควบคุมอาหาร สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๔) ผู้อำนวยการกองควบคมุ เครือ่ งมอื แพทย์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๕) ผู้อำนวยการกองงานดา่ นอาหารและยา สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๖) ผู้อำนวยการกองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาคและท้องถ่ิน สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (๒๗) ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลของรฐั (๒๘) เภสัชกร นักเทคนคิ การแพทย์ และนกั วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ โรงพยาบาลของรฐั (๒๙) เจ้าพนักงานวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ตง้ั แตร่ ะดับ ๓ ข้นึ ไป โรงพยาบาลของรฐั (๓๐) เภสชั กร นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ และพนกั งานของรฐั ตำแหนง่ เภสชั กร กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย ์ (๓๑) เจา้ หนา้ ท่ที ะเบียนวชิ าชีพ กองการประกอบโรคศิลปะ กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ (๓๒) เภสัชกร นักวิชาการอาหารและยา และพนักงานของรัฐตำแหน่งเภสัชกรสำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา (๓๓) นิติกร สำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (๓๔) เภสชั กร กลมุ่ งานคุม้ ครองผบู้ รโิ ภค สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั (๓๕) พนักงานของรัฐตำแหน่งเภสัชกร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และโรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสขุ (๓๖) สาธารณสขุ อำเภอ/สาธารณสุขกง่ิ อำเภอ ข้อ ๓ ให้ข้าราชการสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมซ่ึงดำรงตำแหน่งต่อไปน้ีเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ ี เพ่อื ปฏิบัตกิ ารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั การใชส้ ารระเหย (๑) ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (๒) รองปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม

พระราชกำหนดป้องกนั การใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ 469 (๓) ผ้ตู รวจราชการกระทรวงอตุ สาหกรรม (๔) อธบิ ดีกรมโรงงานอตุ สาหกรรม (๕) รองอธบิ ดีกรมโรงงานอตุ สาหกรรม (๖) เลขาธกิ ารสำนักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม (๗) รองเลขาธกิ ารสำนกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม (๘) ผู้อำนวยการสำนกั ควบคมุ วัตถอุ นั ตราย กรมโรงงานอุตสาหกรรม (๙) ผู้อำนวยการสำนกั ควบคุมและตรวจโรงงาน ๑-๔ กรมโรงงานอุตสาหกรรม (๑๐) ผ้อู ำนวยการสำนกั ทะเบยี นโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม (๑๑) ผอู้ ำนวยการสำนักบริหารมาตรฐาน ๓ สำนักงานมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม (๑๒) นักวิชาการมาตรฐาน สำนักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (๑๓) วิศวกร กรมโรงงานอตุ สาหกรรม (๑๔) นักวิทยาศาสตร์ กรมโรงงานอตุ สาหกรรม (๑๕) นติ กิ ร กรมโรงงานอุตสาหกรรม (๑๖) อุตสาหกรรมจังหวัด (๑๗) เจา้ หน้าที่วเิ คราะหน์ โยบายและแผน ๗ ว หรอื ๘ ว สำนักงานอตุ สาหกรรมจงั หวดั (๑๘) เจ้าหน้าทบ่ี รหิ ารงานการอตุ สาหกรรม ๗ สำนกั งานอุตสาหกรรมจงั หวดั ขอ้ ๔ ให้ข้าราชการสังกัดกระทรวงศึกษาธิการซ่ึงดำรงตำแหน่งต่อไปนี้เป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ี เพื่อ ปฏบิ ตั กิ ารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการป้องกนั การใชส้ ารระเหย (๑) ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (๒) รองปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ (๓) ผตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (๔) เลขาธิการคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (๕) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน (๖) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (๗) ผู้อำนวยการสำนักงานการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธิการ (๘) ผอู้ ำนวยการสำนกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ (๙) หัวหนา้ กลุ่มกจิ การพเิ ศษ สำนกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ (๑๐) ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาทุกเขตการศึกษา (๑๑) อธิการบดี อธิการ ผู้อำนวยการ อาจารย์ใหญ่ หรือครูใหญ่ของสถานศึกษาในสังกัดกระทรวง ศึกษาธกิ าร ข้อ ๕ ให้ข้าราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทยซ่ึงดำรงตำแหน่งต่อไปน้ีเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่เพ่ือ ปฏิบัตกิ ารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการปอ้ งกันการใช้สารระเหย (๑) ปลดั กระทรวงมหาดไทย (๒) รองปลดั กระทรวงมหาดไทย

470 สำนกั งาน ป.ป.ส. (๓) ผตู้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย (๔) ผู้ชว่ ยปลัดกระทรวงมหาดไทย (๕) อธิบดกี รมการปกครอง (๖) รองอธบิ ดกี รมการปกครอง (๗) ผู้ตรวจราชการกรมการปกครอง (๘) ผู้อำนวยการสำนักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง (๙) ผอู้ ำนวยการสว่ นการสอบสวนและรกั ษาความสงบ สำนกั การสอบสวนและนติ กิ าร กรมการปกครอง (๑๐) ผู้อำนวยการสว่ นอำนวยความเปน็ ธรรม สำนกั การสอบสวนและนิตกิ าร กรมการปกครอง (๑๑) หวั หนา้ กลุม่ งานนิตกิ าร สำนักการสอบสวนและนติ กิ าร กรมการปกครอง (๑๒) หวั หน้ากลุ่มทกุ กลุ่มในสำนกั การสอบสวนและนิตกิ าร กรมการปกครอง (๑๓) ผอู้ ำนวยการสำนกั อำนวยการกองอาสารกั ษาดินแดน กรมการปกครอง (๑๔) ผอู้ ำนวยการส่วนยุทธการและข่าว สำนกั อำนวยการกองอาสารกั ษาดนิ แดน กรมการปกครอง (๑๕) ผอู้ ำนวยการสว่ นกำลงั พลและสง่ กำลงั บำรงุ สำนกั อำนวยการกองอาสารกั ษาดนิ แดน กรมการปกครอง (๑๖) ผู้อำนวยการสว่ นปฏบิ ตั กิ ารพิเศษ สำนักอำนวยการกองอาสารักษาดินแดน กรมการปกครอง (๑๗) ผ้วู า่ ราชการจังหวัด (๑๘) รองผวู้ ่าราชการจังหวดั (๑๙) ปลัดจังหวดั (๒๐) หวั หนา้ กลุ่มงานปกครองจงั หวดั (๒๑) จ่าจงั หวดั (หวั หนา้ กล่มุ ปกครองและอำนวยความเปน็ ธรรม) (๒๒) ปอ้ งกนั จังหวดั (หัวหน้าฝา่ ยความมนั่ คง) (๒๓) นายอำเภอ (๒๔) ปลดั อำเภอผู้เป็นหัวหนา้ ประจำกิง่ อำเภอ (๒๕) ปลดั อำเภอ (๒๖) ปลัดเมืองพทั ยา ขอ้ ๖ ใหข้ า้ ราชการตำรวจทม่ี ยี ศตง้ั แตร่ อ้ ยตำรวจตรหี รอื เทยี บเทา่ ขน้ึ ไปสงั กดั สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ เปน็ พนกั งานเจา้ หนา้ ที่เพ่อื ปฏิบตั ิการตามกฎหมายว่าดว้ ยการป้องกนั การใชส้ ารระเหย ขอ้ ๗ ให้ข้าราชการสังกัดกรุงเทพมหานครซ่ึงดำรงตำแหน่งต่อไปน้ีเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่เพ่ือปฏิบัติ การตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั การใชส้ ารระเหย (๑) ปลดั กรงุ เทพมหานคร (๒) รองปลดั กรงุ เทพมหานคร สัง่ ราชการสำนกั อนามยั (๓) ผอู้ ำนวยการสำนกั การแพทย์ กรงุ เทพมหานคร (๔) ผู้อำนวยการสำนกั อนามัย กรุงเทพมหานคร (๕) ผู้อำนวยการสำนกั สวัสดิการสงั คม กรงุ เทพมหานคร (๖) ผู้อำนวยการสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร

พระราชกำหนดป้องกนั การใช้สารระเหย พ.ศ. ๒๕๓๓ 471 (๗) ผอู้ ำนวยการกองอนามัยส่ิงแวดล้อม สำนกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร (๘) ผอู้ ำนวยการกองปอ้ งกนั และบำบดั การตดิ ยาเสพตดิ สำนกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร (๙) ผอู้ ำนวยการเขต กรงุ เทพมหานคร (๑๐) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสงั กดั กรงุ เทพมหานคร (๑๑) ผ้อู ำนวยการ อาจารยใ์ หญ่ หรอื ครใู หญ่ในสถานศึกษาในสังกดั กรงุ เทพมหานคร (๑๒) ผู้อำนวยการศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ (๑๓) หวั หน้าฝา่ ย สงั กดั กองอนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม สำนกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร (๑๔) หัวหน้าฝ่ายเทศกจิ สำนกั งานเขต กรุงเทพมหานคร (๑๕) หวั หนา้ ฝ่ายสิ่งแวดลอ้ มและสขุ าภบิ าล สำนกั งานเขต กรุงเทพมหานคร (๑๖) หวั หน้าฝา่ ยการศึกษา สำนกั งานเขต กรงุ เทพมหานคร ข้อ ๘ ประกาศฉบบั นีใ้ หใ้ ชบ้ ังคบั ตง้ั แต่วันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖ สดุ ารตั น ์ เกยรุ าพนั ธ์ ุ สมศกั ดิ์ เทพสุทนิ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

472 สำนกั งาน ป.ป.ส. พระราชบัญญัต ิ ฟน้ื ฟสู มรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร. ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๕ เปน็ ปีที่ ๕๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศว่า โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรงุ กฎหมายว่าดว้ ยการฟื้นฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๒๓๗ และมาตรา ๒๓๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัตใิ ห้กระทำไดโ้ ดยอาศยั อำนาจตามบทบัญญัติแหง่ กฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ดงั ตอ่ ไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั นิ ี้เรียกว่า “พระราชบัญญตั ฟิ นื้ ฟสู มรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป(๑) เว้นแต่บทบัญญัติหมวด ๓ จะให้ใชบ้ งั คับเมอื่ ใด ในท้องท่ใี ด ให้รฐั มนตรีประกาศในราชกจิ จานุเบกษา แต่ทงั้ นี้ ใหใ้ ช้บงั คบั ท่วั ราชอาณาจักรภายในระยะเวลาไมเ่ กินหน่งึ ปีนับแตว่ นั ทีพ่ ระราชบัญญตั นิ ใ้ี ช้บังคบั มาตรา ๓ ให้ยกเลิกพระราชบญั ญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี “ยาเสพติด” หมายความว่า ยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษและยาเสพติด ตามกฎหมายว่าดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด “ติดยาเสพติด” หมายความว่า เสพยาเสพติดเป็นประจำติดต่อกัน และตกอยู่ในสภาพท่ีจำเป็นต้องพ่ึง ยาเสพติดน้ัน โดยสามารถตรวจพบสภาพเชน่ ว่านั้นไดต้ ามหลกั วิชาการ “ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด” หมายความว่า การกระทำใดๆ อันเป็นการบำบัดการติดยาเสพติด และฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ติดยาเสพติด รวมตลอดถึงการรักษาสภาพร่างกาย และจิตใจ ของผซู้ ึ่งเสพยาเสพติดใหก้ ลับคนื สูส่ ภาพปกติโดยไมเ่ สยี่ งตอ่ การเปน็ ผู้ติดยาเสพตดิ (๑) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๑๙ ตอนที่ ๙๖ ก ลงวันที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๔๕

พระราชบญั ญัติฟื้นฟสู มรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ 473 “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการฟ้นื ฟสู มรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพติด “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้อำนวยการศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือผู้ซ่ึง รฐั มนตรแี ต่งตั้งให้ปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญตั นิ ี้ “รฐั มนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรผี ู้รกั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอำนาจแต่งต้ัง พนักงานเจ้าหนา้ ที่ กับออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏบิ ัติการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี กฎกระทรวงและประกาศนนั้ เมอ่ื ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ ใหใ้ ช้บงั คับได้ หมวด ๑ คณะกรรมการฟน้ื ฟูสมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพติด มาตรา ๖ ให้มีคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อัยการสูงสุด เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม อธิบดีกรมการจัดหางาน อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน อธิบดีกรมการแพทย์ อธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ อธิบดีกรมประชาสงเคราะห์ อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อธิบดีกรมราชทัณฑ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร ์ การแพทย์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เลขาธิการ คณะกรรมการอาหารและยา และผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงรัฐมนตรีแต่งตั้งอีกไม่เกินสี่คน โดยในจำนวนน้ีให้เป็นผู้แทน องค์กรเอกชนซ่ึงปฏิบัติงานด้านการป้องกันหรือฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดและมีประสบการณ์การทำงาน โดยตรงกับผู้ติดยาเสพติดอย่างน้อยสองคน เป็นกรรมการ และให้อธิบดีกรมคุมประพฤติเป็นกรรมการและ เลขานุการ คณะกรรมการจะแต่งตงั้ ขา้ ราชการในกรมคุมประพฤตไิ ม่เกินสองคนเป็นผชู้ ่วยเลขานุการกไ็ ด้ มาตรา ๗ ให้คณะกรรมการมีอำนาจหนา้ ที่ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) เสนอแนะรฐั มนตรีเกีย่ วกับการออกกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัตนิ ี้ (๒) เสนอแนะรัฐมนตรีในการประกาศเก่ียวกับศูนย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ (๓) แตง่ ต้งั และถอดถอนอนุกรรมการฟ้ืนฟสู มรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ (๔) วางระเบียบกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการพิจารณาของคณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ผตู้ ิดยาเสพติดตามมาตรา ๑๓ (๕) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการกำหนดสถานท่ีเพ่ือการตรวจพิสูจน์การฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด หรอื การควบคมุ ตัว (๖) วางระเบียบกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดการฟ้ืนฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และการส่งตัวผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดไปยังพนักงานสอบสวน หรือพนักงานอยั การ

474 สำนักงาน ป.ป.ส. (๗) วางระเบียบเก่ียวกับการควบคมุ และการย้ายตวั ผตู้ อ้ งหาในระหวา่ งการตรวจพิสูจน์ หรือการฟน้ื ฟู สมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติด (๘) วางระเบียบกำหนดหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการพิจารณาอนญุ าตให้ปล่อยชั่วคราว (๙) วางระเบียบกำหนดหลักเกณฑ์และเง่ือนไขในการตรวจสอบและติดตามผลการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ผูต้ ิดยาเสพติดของผ้ไู ด้รับอนญุ าตใหป้ ลอ่ ยชัว่ คราว (๑๐) พจิ ารณาวนิ จิ ฉยั อทุ ธรณค์ ำวนิ จิ ฉยั หรอื คำสง่ั ของคณะอนกุ รรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ตามมาตรา ๓๘ (๑๑) วางระเบียบเก่ียวกับการเยี่ยมและการติดต่อผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟู สมรรถภาพผูต้ ิดยาเสพติดในระหวา่ งการตรวจพสิ ูจนห์ รือการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติด (๑๒) วางระเบยี บกำหนดหลกั เกณฑใ์ นการลดและการขยายระยะเวลาการฟนื้ ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ (๑๓) วางระเบียบกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการรายงานผลการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต่อ คณะกรรมการ และวิธีการรายงานผลการตรวจพิสูจน์ รวมทั้งผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต่อ พนักงานสอบสวนหรอื พนักงานอยั การ (๑๔) วางระเบียบกำหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาลงโทษผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามระเบียบ เง่ือนไข และข้อบังคบั ตามมาตรา ๓๒ (๑๕) วางระเบยี บอ่นื เพือ่ ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี (๑๖) พิจารณาเรื่องอ่ืนๆ ตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย และปฏิบัติการอื่นใดท่ีกฎหมายกำหนดให้เป็น อำนาจและหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการ มาตรา ๘ กรรมการซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังมีวาระการดำรงตำแหน่งสองปี กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่ง อาจไดร้ ับการแต่งตง้ั อกี ได้ มาตรา ๙ กรรมการซ่งึ รฐั มนตรแี ต่งตง้ั พน้ จากตำแหน่งก่อนวาระเมือ่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรใี หอ้ อก (๔) เป็นคนวกิ ลจรติ หรอื จิตฟ่ันเฟอื นไม่สมประกอบ (๕) เป็นบุคคลล้มละลาย (๖) ต้องคำพิพากษาถงึ ที่สดุ ใหจ้ ำคกุ ในกรณีทกี่ รรมการพน้ จากตำแหน่งก่อนวาระ รฐั มนตรอี าจแต่งต้งั ผู้อื่นขน้ึ เปน็ กรรมการแทนได้ ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตำแหน่งไม่ว่าจะ เปน็ การแตง่ ตงั้ เพม่ิ ขน้ึ หรอื แตง่ ตงั้ แทนตำแหนง่ ทวี่ า่ ง ใหผ้ ทู้ ไ่ี ดร้ บั แตง่ ตง้ั นน้ั อยใู่ นตำแหนง่ เทา่ กบั วาระทเี่ หลอื อยู่ ของกรรมการซึ่งแตง่ ต้งั ไว้แลว้ นัน้ มาตรา ๑๐ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงของจำนวน กรรมการท้ังหมดจงึ จะเปน็ องคป์ ระชุม ใหป้ ระธานกรรมการเปน็ ประธานในทป่ี ระชมุ ในกรณที ปี่ ระธานกรรมการไมอ่ ยหู่ รอื ไมอ่ าจปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ด้ ให้กรรมการซ่งึ มาประชมุ เลอื กกรรมการคนหน่ึงเปน็ ประธานในทีป่ ระชุม

พระราชบญั ญตั ฟิ ื้นฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ 475 การวินิจฉัยช้ีขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสยี งเทา่ กัน ให้ประธานในท่ปี ระชมุ ออกเสยี งเพ่ิมข้ึนอีกเสียงหน่ึงเป็นเสียงชขี้ าด มาตรา ๑๑ คณะกรรมการจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพ่ือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งแทน คณะกรรมการก็ได้ และให้นำความในมาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๒ ให้คณะกรรมการพิจารณาแต่งต้ังคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในเขต พนื้ ทตี่ า่ งๆ ตามความเหมาะสม ประกอบดว้ ยผแู้ ทนกระทรวงยตุ ธิ รรมเปน็ ประธานคณะอนกุ รรมการแพทยห์ นงึ่ คน นักจิตวิทยาหนึ่งคน นักสังคมสงเคราะห์หน่ึงคน และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีคุณสมบัติตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง ไมเ่ กินสองคนเป็นอนกุ รรมการ และให้ผแู้ ทนกรมคุมประพฤติหน่ึงคนเป็นอนกุ รรมการและเลขานุการ แพทย์ตามวรรคหนึ่งให้พิจารณาแต่งต้ังจากจิตแพทย์ ถ้าไม่อาจแต่งต้ังจิตแพทย์ให้แต่งตั้งจากแพทย์อื่น ที่เหมาะสม จำนวนคณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจะมีกี่คณะ ให้คณะกรรมการพิจารณาแต่งตั้ง โดยคำนึงถึงปรมิ าณคดเี กี่ยวกับยาเสพตดิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในพนื้ ทีน่ นั้ อนกุ รรมการทไ่ี มไ่ ดเ้ ป็นขา้ ราชการประจำศนู ยฟ์ ื้นฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด ให้ได้รบั ค่าตอบแทนตาม ทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง ใหน้ ำความในมาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ มาใชบ้ งั คบั กบั คณะอนกุ รรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ โดยอนุโลม มาตรา ๑๓ คณะอนกุ รรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพติดมอี ำนาจและหนา้ ที่ดังตอ่ ไปน้ ี (๑) พิจารณาวินิจฉยั ว่าผ้เู ขา้ รบั การตรวจพิสูจน์เปน็ ผเู้ สพหรือตดิ ยาเสพตดิ หรือไม่ (๒) ตดิ ตามดแู ลการควบคมุ ตวั ผตู้ อ้ งหาในระหวา่ งการตรวจพสิ จู นห์ รอื การฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑท์ ่คี ณะกรรมการกำหนด (๓) พิจารณาย้ายตัวผู้เข้ารับการบำบัดการติดยาเสพติดหรือเข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด จากสถานบำบัดหรือฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแห่งหน่ึงไปยังอีกแห่งหน่ึง รวมทั้งพิจารณาลดหรือขยาย ระยะเวลาการฟืน้ ฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพตดิ (๔) พิจารณาอนุญาตให้ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดได้รับ การปล่อยช่วั คราว (๕) แจ้งผลการตรวจพิสูจน์หรือผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต่อคณะกรรมการพนักงาน สอบสวน หรือพนกั งานอยั การ แล้วแตก่ รณี (๖) พิจารณาแผนการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแก่ผู้ต้องหาที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิด ในฐานความผดิ ทรี่ ะบไุ วใ้ นมาตรา ๑๙ (๗) ติดตามดูแลการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ในเขตอำนาจของตนใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพตดิ (๘) พิจารณาผลการฟนื้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ิดยาเสพติดตามมาตรา ๓๓ (๙) เสนอแนะตอ่ คณะกรรมการเกยี่ วกบั วธิ ีการตรวจพิสูจน์ และวธิ กี ารฟ้นื ฟสู มรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด (๑๐) ปฏิบัติการอ่ืนตามท่ีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจและหน้าที่ของคณะอนุกรรมการฟื้นฟู สมรรถภาพผูต้ ิดยาเสพติด

476 สำนักงาน ป.ป.ส. (๑๑) พจิ ารณาเร่ืองอน่ื ๆ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารในการพจิ ารณาตาม (๑) (๓) (๖) และ (๘) ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการกำหนด หมวด ๒ สถานท่ีเพ่ือการตรวจพิสูจนแ์ ละการฟื้นฟูสมรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพติด มาตรา ๑๔ เพ่ือประโยชน์แก่การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ให้รัฐมนตรีมีอำนาจจัดตั้ง และ ยุบเลกิ ศูนย์ฟนื้ ฟสู มรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ โดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ใหศ้ นู ย์ฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ิดยาเสพติดเปน็ สถานพยาบาลตามประมวลกฎหมายอาญา ใหศ้ นู ยฟ์ ื้นฟูสมรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพติดเป็นหน่วยงานในสังกัดกรมคมุ ประพฤติ กระทรวงยตุ ิธรรม มาตรา ๑๕ ประกาศจัดตั้งศูนยฟ์ น้ื ฟูสมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติด ใหม้ รี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) กำหนดเขตของศูนย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดให้ชัดเจนโดยมีแผนท่ีแสดงเขตดังกล่าว ไวท้ า้ ยประกาศด้วย (๒) กำหนดทอ้ งท่ีทอี่ ยู่ในเขตอำนาจของศูนยฟ์ นื้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพตดิ ตาม (๑) มาตรา ๑๖ ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร รัฐมนตรีอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปล่ียนแปลงเขตของ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามมาตรา ๑๕ (๑) หรือเปล่ียนแปลงท้องท่ีที่อยู่ในเขตอำนาจของศูนย์ ฟ้นื ฟสู มรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพตดิ ตามมาตรา ๑๕ (๒) กไ็ ด้ การเปลย่ี นแปลงเขตของศนู ยฟ์ นื้ ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ตามวรรคหนง่ึ ใหม้ แี ผนทแ่ี สดงเขตเดมิ ของ ศูนยฟ์ น้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ และเขตทเี่ ปลี่ยนแปลงใหช้ ัดเจนไวท้ ้ายประกาศดว้ ย มาตรา ๑๗ ในศูนย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแต่ละแห่ง ให้มีผู้อำนวยการศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติดเป็นผู้บังคับบัญชา รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดและ มีอำนาจหนา้ ทีด่ งั ตอ่ ไปนี้ (๑) ตรวจพสิ จู นก์ ารเสพหรือการตดิ ยาเสพตดิ ของผเู้ ข้ารบั การตรวจพิสจู น์ท่ีได้รบั ตัวมาตามมาตรา ๑๙ (๒) ควบคุมตัวผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดไว้ในระหว่าง การตรวจพิสูจน์หรือการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และดูแลให้ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ หรือผู้เข้ารับการ ฟ้ืนฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพติดปฏบิ ัติตามระเบยี บ เงื่อนไข และข้อบังคับต่างๆ (๓) ดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดของผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตาม ระเบยี บทีก่ ำหนด (๔) ติดตามผลการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดของผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ซง่ึ ได้รบั อนุญาตใหป้ ลอ่ ยช่ัวคราว (๕) จัดทำรายงานผลการตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติด รวมทั้งผลการฟื้นฟูสมรรถภาพ ผ้ตู ดิ ยาเสพติดเสนอต่อคณะอนกุ รรมการฟน้ื ฟูสมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติด (๖) ออกขอ้ บงั คบั ของศนู ยฟ์ น้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ เพอื่ ปฏบิ ตั กิ ารใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ (๗) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี นื่ ตามทค่ี ณะกรรมการหรอื คณะอนกุ รรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ มอบหมาย

พระราชบัญญัตฟิ ื้นฟสู มรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ 477 มาตรา ๑๘ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดให ้ สถานพยาบาล สถานพนิ ิจและคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน สถานทีข่ องราชการ หรอื สถานท่อี น่ื ใดเป็นสถานท่เี พ่ือ การตรวจพิสูจน์ การฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หรือการควบคุมตัว นอกเหนือจากศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติดได้ ในกรณีเช่นว่านี้ ให้คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีอำนาจกำหนดให ้ ผู้ควบคุมสถานท่ีนั้นมีอำนาจหน้าที่อย่างหน่ึงอย่างใด เช่นเดียวกับผู้อำนวยการศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ตดิ ยาเสพตดิ ตามมาตรา ๑๗ ได้ตามทเ่ี หน็ เหมาะสมกับสถานทดี่ งั กลา่ ว หมวด ๓ การฟ้ืนฟูสมรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพติด มาตรา ๑๙ ผใู้ ดตอ้ งหาวา่ กระทำความผดิ ฐานเสพยาเสพตดิ เสพและมไี วใ้ นครอบครอง เสพและมไี วใ้ น ครอบครองเพื่อจำหน่าย หรือเสพและจำหน่ายยาเสพติดตามลักษณะ ชนิด ประเภท และปริมาณที่กำหนดใน กฎกระทรวง ถ้าไม่ปรากฏว่าต้องหาหรืออยู่ในระหว่างถูกดำเนินคดีในความผิดฐานอื่นซึ่งเป็นความผิดที่มี โทษจำคุกหรืออยู่ในระหว่างรับโทษจำคุกตามคำพิพากษาของศาล ให้พนักงานสอบสวนนำตัวผู้ต้องหาไปศาล ภายในส่ีสิบแปดช่ัวโมงนับแต่เวลาที่ผู้ต้องหานั้นมาถึงท่ีทำการของพนักงานสอบสวน เพ่ือให้ศาลพิจารณาม ี คำส่งั ให้ส่งตัวผู้นนั้ ไปตรวจพิสูจนก์ ารเสพหรือการติดยาเสพตดิ เวน้ แตม่ ีเหตุสุดวิสยั หรอื มเี หตุจำเป็นอย่างอืน่ ท่ี เกิดจากตัวผู้ต้องหานั้นเอง หรือจากพฤติการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไปซึ่งทำให้ไม่อาจนำตัวผู้ต้องหาไปศาลภายใน กำหนดเวลาดังกล่าวได้ ในการดำเนนิ การตามวรรคหนงึ่ ถา้ ผตู้ อ้ งหามอี ายไุ มถ่ งึ สบิ แปดปบี รบิ รู ณ์ ใหพ้ นกั งานสอบสวนนำตวั สง่ ศาลเพ่ือมคี ำส่งั ใหต้ รวจพิสจู นภ์ ายในยส่ี บิ สช่ี ่ัวโมงนบั แต่เวลาทผ่ี ู้ต้องหาน้ันมาถึงท่ีทำการของพนักงานสอบสวน การส่งไปตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติด ให้ศาลพิจารณาส่งตัวไปควบคุมเพื่อตรวจพิสูจน์ท่ี ศูนย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด สถานท่ีเพื่อการตรวจพิสูจน์ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หรือ การควบคุมตัวตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกำหนด โดยคำนึงถึงอายุ เพศ และลักษณะเฉพาะบุคคลประกอบด้วย แลว้ ให้ศาลแจง้ คณะอนกุ รรมการฟนื้ ฟสู มรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ ทราบ ในระหว่างการตรวจพิสูจน์และการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ให้พนักงานสอบสวนดำเนิน กระบวนการสอบสวนคดีต่อไป และเมื่อสอบสวนเสร็จให้ส่งสำนวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการ โดยไม่ ต้องส่งผู้ต้องหาไปด้วย และแจ้งให้ทราบว่าผู้ต้องหาถูกควบคุมตัวอยู่ ณ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด สถานทเี่ พอ่ื การตรวจพสิ ูจน์ การฟ้ืนฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ หรอื การควบคมุ ตวั แหง่ ใด ในระหว่างท่ีผู้ต้องหาถูกควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้ พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ ไม่ต้อง ดำเนินการฝากขังหรอื ขอผดั ฟอ้ งตามกฎหมาย มาตรา ๒๐ ถ้าปรากฏว่าผู้ต้องหาผู้ใดเสพยาเสพติดก่อน ขณะ หรือภายหลังที่ถูกจับกุมเพื่อให้ตนเอง ไดร้ บั การสง่ ตวั ไปฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ และไมต่ อ้ งถกู ดำเนนิ คดใี นขอ้ หาฐานเสพและมไี วใ้ นครอบครอง เสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย หรือเสพและจำหน่ายยาเสพติด ผู้น้ันไม่มีสิทธิ์ได้รับการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามพระราชบัญญัติน้ี ให้คณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแจ้ง ใหพ้ นักงานสอบสวนหรือพนกั งานอยั การ แลว้ แต่กรณี มารบั ตัวผนู้ ัน้ ไปเพอ่ื ดำเนินคดีต่อไปตามกฎหมาย

478 สำนกั งาน ป.ป.ส. ในระหว่างท่ีรอพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการมารับตัวผู้ต้องหาไปเพื่อดำเนินคดีให้สถานท่ีท่ีรับ ผู้ต้องหาไว้ตรวจพิสูจน์หรือฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีอำนาจควบคุมตัวผู้ต้องหาไว้ได้เท่าท่ีจำเป็น ท้ังนี้ ใหพ้ นักงานสอบสวนหรอื พนักงานอัยการ แล้วแต่กรณี มารับตัวผตู้ อ้ งหาไปในทันทที ่สี ามารถกระทำได้ มาตรา ๒๑ ในการตรวจพิสูจน์ผู้ต้องหาตามมาตรา ๑๙ ให้คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติด ยาเสพติดดำเนินการให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีจัดทำบันทึกประวัติ พฤติกรรมในการกระทำความผิด ตลอดจน สภาพแวดล้อมท้ังปวงของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ และตรวจพสิ จู นก์ ารเสพหรือการตดิ ยาเสพติด การตรวจพิสูจน์ให้กระทำให้แล้วเสร็จภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่รับตัวผู้นั้นไว้ในสถานท่ีที่ตรวจพิสูจน์ เว้นแต่มีเหตุจำเป็นคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอาจส่ังให้ขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกิน สามสิบวัน หลักเกณฑแ์ ละวิธีการตรวจพิสูจน์ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบท่คี ณะกรรมการกำหนด มาตรา ๒๒ ในกรณีที่คณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดวินิจฉัยว่าผู้เข้ารับการตรวจ พิสูจน์เป็นผู้เสพหรือติดยาเสพติด ให้จัดให้มีแผนการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และให้แจ้งผลการตรวจ พิสูจนใ์ ห้พนักงานอัยการทราบ ในกรณเี ชน่ วา่ น้ี ใหพ้ นกั งานอยั การมคี ำสง่ั ชะลอการฟอ้ งไว้ก่อนจนกวา่ จะได้รบั แจง้ ผลการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ จากคณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติดตามมาตรา ๓๓ ในกรณีท่ีพนักงานอัยการเห็นว่าผู้ต้องหาซึ่งได้รับแจ้งผลการตรวจพิสูจน์ตามวรรคหน่ึงไม่มีสิทธิได้รับ การฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานอัยการดำเนินคดีต่อไป และแจ้งผล ใหค้ ณะอนุกรรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ทราบ ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ไม่ปรากฏว่าผู้ต้องหาเป็นผู้เสพหรือติดยาเสพติด ให้คณะอนุกรรมการฟ้ืนฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดรายงานผลการตรวจพิสูจน์ให้พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการเพ่ือพิจารณา ดำเนินคดีต่อไปตามกฎหมาย ในกรณีที่ต้องส่งตัวผู้ต้องหาคืนให้พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการเพื่อดำเนินคดีต่อไปให้นำ บทบญั ญัติมาตรา ๒๐ วรรคสอง มาใชบ้ งั คับโดยอนโุ ลม มาตรา ๒๓ ในการจัดทำแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามมาตรา ๒๒ ให้กำหนดสถานท่ี และวิธีการสำหรับฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดให้เหมาะสมกับสภาพของผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด โดยคำนึงถึงอายุ เพศ ประวัติ พฤติกรรมในการกระทำความผิดเก่ียวกับยาเสพติด ตลอดจน สภาพแวดลอ้ มท้ังปวงของผูน้ ้ันประกอบด้วย การกำหนดสถานที่สำหรับฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามวรรคหน่ึง อาจกำหนดเป็นศูนย์ฟ้ืนฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือสถานที่ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดจาก สถานพยาบาล สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน สถานท่ีของราชการ หรือสถานท่อี น่ื ที่เหน็ สมควรกไ็ ด้ การกำหนดวธิ ีการฟื้นฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ใหก้ ำหนดโดยคำนงึ วธิ ีการดังต่อไปน้ี (๑) ในกรณีที่จำเป็นต้องควบคุมตัวผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอย่างเข้มงวดให้ส่งตัว ผู้นั้นเข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในศูนย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือสถานท่ีฟ้ืนฟู สมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดทีม่ รี ะบบการควบคุมมิให้หลบหนี (๒) ในกรณีที่ไม่จำเป็นต้องควบคุมตัวผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอย่างเข้มงวด ให้ส่งตัวผู้นั้นเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในสถานท่ีฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตาม

พระราชบญั ญัติฟนื้ ฟสู มรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ 479 ความเหมาะสมและกำหนดเงื่อนไขให้ผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้องอยู่ภายในเขตที่กำหนด ในระหวา่ งการฟื้นฟสู มรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติด (๓) ในกรณที ไ่ี มจ่ ำเปน็ ตอ้ งควบคมุ ตวั ผเู้ ขา้ รบั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ อาจกำหนดใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฟืน้ ฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ว้ ยวิธีการอนื่ ใดภายใต้การดแู ลของพนักงานคุมประพฤติก็ได้ (๔) ในระหว่างการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอาจกำหนดให้ผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติด ยาเสพติดฝึกอาชีพ ทำงานบริการสังคม หรือให้ดำเนินการอ่ืนใดตามความเหมาะสมเพ่ือให้มีความม่ันคงในการ ดำรงชีวิตโดยห่างไกลจากยาเสพตดิ มาตรา ๒๔ ในกรณีทีข่ อ้ เท็จจรงิ ปรากฏภายหลงั จากที่ศาลมคี ำสงั่ ตามมาตรา ๑๙ ว่าผู้เขา้ รับการตรวจ พิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดนั้นต้องหาหรือถูกดำเนินคดีในความผิดฐานอื่น ซึ่งเป็น ความผิดท่ีมีโทษจำคุกหรือต้องคำพิพากษาให้จำคุก ให้ศาลพิจารณามีคำส่ังให้ส่งตัวผู้น้ันไปยังพนักงาน สอบสวนเพ่อื ดำเนินคดีต่อไป มาตรา ๒๕ ผเู้ ขา้ รบั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ตอ้ งอยรู่ บั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ตาม แผนการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเป็นเวลาไม่เกินหกเดือนนับแต่วันถูกส่งตัวเข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ผ้ตู ดิ ยาเสพติด ในกรณีที่ปรากฏว่าผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดยังไม่เป็นที่พอใจ ให้คณะอนุกรรมการฟื้นฟู สมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดพจิ ารณาขยายระยะเวลาการฟ้นื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพติดออกไปอีกได้ ในระหว่างการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด คณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด จะพจิ ารณาลดระยะเวลาการฟื้นฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ตามที่เห็นสมควรก็ได้ การขยายและการลดระยะเวลาการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจะกระทำกี่คร้ังก็ได้ แต่การขยาย ระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดคร้ังหนึ่งต้องไม่เกินหกเดือน และรวมกันท้ังหมดแล้วต้องไม่เกิน สามปนี บั แต่วันถกู สง่ ตวั เข้ารับการฟ้นื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ มาตรา ๒๖ ในกรณีท่ีมีเหตุสมควร คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอาจพิจารณา ปล่อยชั่วคราวสำหรับผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามหลักเกณฑ ์ วิธีการ และเง่อื นไขท่ีคณะกรรมการกำหนด มาตรา ๒๗ ในกรณที ผ่ี ตู้ อ้ งหามภี มู ลิ ำเนาซง่ึ ไมส่ ะดวกตอ่ การเขา้ รบั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ในศูนย์ฟืน้ ฟสู มรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ สถานทีเ่ พ่อื การฟ้นื ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด หรอื การควบคมุ ตวั ผนู้ ้นั เมื่อคณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเห็นสมควรหรือได้รับการร้องขอจากผู้ต้องหา อาจมีคำสั่ง ให้ย้ายผู้น้ันไปเข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือการควบคุมท่ีสถานท่ีแห่งอ่ืนได้ แต่ต้องปรากฏว่า การยา้ ยดงั กลา่ วจะเป็นประโยชนแ์ ก่การฟน้ื ฟูสมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพติดของผนู้ ้ันด้วย มาตรา ๒๘ การท่ีผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดถูกควบคุม ตวั ในลกั ษณะเดียวกบั ถกู คมุ ขังให้ถอื ว่าผเู้ ข้ารบั การตรวจพิสจู น์ หรือผเู้ ข้ารับการฟ้ืนฟสู มรรถภาพผตู้ ิดยาเสพติด แล้วแต่กรณี เปน็ ผถู้ กู คมุ ขงั ตามประมวลกฎหมายอาญา ในกรณีท่ีมีการหลบหนีจากการควบคุมของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด สถานที่เพ่ือการตรวจ พิสูจน์ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หรือการควบคุมตัวผู้น้ัน มิให้นับระยะเวลาที่ผู้น้ันเข้ารับการตรวจ พสิ จู นห์ รอื เขา้ รบั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ มาแลว้ จนถงึ วนั หลบหนเี ขา้ ในกำหนดระยะเวลาการคมุ ขงั

480 สำนักงาน ป.ป.ส. มาตรา ๒๙ ในระหว่างการตรวจพิสูจน์หรือการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ถ้าผู้เข้ารับการตรวจ พิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดผู้ใดหลบหนีจากการควบคุมหรือหลบหนีออกนอกเขต ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด สถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ การฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หรือ การควบคุมตัวผู้นั้น ให้ถือว่าผู้นั้นหนีการคุมขังตามมาตรา ๑๙๐ แห่งประมวลกฎหมายอาญาและให้พนักงาน เจา้ หนา้ ทแี่ จง้ ใหพ้ นกั งานสอบสวนทราบทนั ที ในกรณนี พี้ นกั งานเจา้ หนา้ ทมี่ อี ำนาจออกตดิ ตามจบั กมุ ผนู้ น้ั ไดด้ ว้ ย บทบัญญัติในวรรคหนึ่งในส่วนท่ีเกี่ยวกับความผิดและโทษตามมาตรา ๑๙๐ แห่งประมวลกฎหมาย อาญา มิใหน้ ำมาใชบ้ ังคบั กบั ผทู้ ี่มอี ายุไม่ถึงสิบแปดปบี รบิ ูรณ์ ท้ังน้ี ให้นำบทบญั ญัตมิ าตรา ๓๒ วรรคสอง มาใช้ บังคับโดยอนโุ ลม ในการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่ง ให้คณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีอำนาจ เปรยี บเทยี บคดไี ด้ ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขทีค่ ณะกรรมการท่กี ำหนด มาตรา ๓๐ ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้องปฏิบัติตาม ระเบียบตามเงื่อนไขต่างๆ ท่ีคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกำหนด รวมทั้งข้อบังคับของศูนย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด สถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ การฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ผู้ตดิ ยาเสพตดิ หรอื การควบคมุ ตัวผ้นู น้ั โดยเคร่งครดั มาตรา ๓๑ ในกรณที ่ผี ้เู ข้ารบั การตรวจพิสูจน์หรอื ผเู้ ข้ารบั การฟนื้ ฟูสมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพตดิ ซึง่ ไดร้ ับ การปล่อยช่ัวคราวไม่ปฏิบัติตามหรือฝ่าฝืนระเบียบ เงื่อนไข หรือข้อบังคับท่ีกำหนด ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ จับตัวผู้นั้นกลับเข้าไว้ในศูนย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด สถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์ การฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ผูต้ ิดยาเสพติด หรอื การควบคุมตวั ไดโ้ ดยมิต้องมีหมาย มาตรา ๓๒ ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดผู้ใดฝ่าฝืน มาตรา ๓๐ ให้ผู้อำนวยการศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือผู้ควบคุมสถานที่ท่ีรับตัวผู้น้ันไว้มีอำนาจ ลงโทษสถานหน่งึ หรือหลายสถาน ดงั ต่อไปน้ี (๑) ภาคทัณฑ์ (๒) ตดั การอนญุ าตใหร้ บั การเย่ียมหรือการติดต่อไมเ่ กนิ สามเดือน (๓) จัดให้อยเู่ ดยี่ วครง้ั ละไม่เกนิ สิบวนั ในกรณีท่ีจำเป็นต้องมีการลงโทษบุคคลตามวรรคหน่ึงซ่ึงเป็นผู้ที่มีอายุไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ให้นำ มาตรการลงทัณฑ์ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ ครอบครวั มาใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม มาตรา ๓๓ เม่ือคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดวินิจฉัยว่าผู้เข้ารับการฟ้ืนฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดผู้ใดได้รับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจนครบถ้วนตามท่ีกำหนดในแผนการ ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผ้ตู ิดยาเสพตดิ และผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติดเปน็ ท่พี อใจแล้ว ให้ถอื ว่าผ้นู ั้นพ้นจาก ความผิดท่ีถูกกล่าวหาตามมาตรา ๑๙ และให้คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีคำส่ังให ้ ปล่อยตวั ผู้นัน้ ไป แล้วแจง้ ผลให้พนกั งานสอบสวนหรอื พนักงานอยั การซง่ึ ยงั ดำเนินคดีอยทู่ ราบ แลว้ แต่กรณี ในกรณีที่ผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดผู้ใดแม้จะได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด จนครบกำหนดเวลาตามมาตรา ๒๕ แล้ว แต่ผลการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดยังไม่เป็นท่ีพอใจ ให้คณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดรายงานความเห็นไปยังพนักงานสอบสวนหรือ

พระราชบัญญัตฟิ ืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ 481 พนักงานอัยการ แล้วแต่กรณี เพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินคดีผู้นั้นต่อไป และให้นำความในมาตรา ๒๒ วรรคส่ี มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม มาตรา ๓๔ ในการพิจารณาพิพากษาคดีของผู้ต้องหาที่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแล้ว ตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง ศาลจะลงโทษผ้นู ้ันนอ้ ยกว่าท่กี ฎหมายกำหนดไวส้ ำหรบั ความผดิ นนั้ เพียงใด หรือจะ ไมล่ งโทษเลยก็ได้ ทงั้ น้ี โดยคำนงึ ถงึ ระยะเวลาท่ผี ูน้ ั้นไดร้ บั การฟื้นฟสู มรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติดแล้ว มาตรา ๓๕ ในการปฏบิ ัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหก้ รรมการ อนุกรรมการ และพนักงานเจา้ หนา้ ท่ี ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ เป็นพนกั งานฝา่ ยปกครองหรอื ตำรวจตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา และ เปน็ เจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๔ พนกั งานเจา้ หน้าท ี่ มาตรา ๓๖ ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี ใหพ้ นกั งานเจ้าหน้าทมี่ อี ำนาจดังตอ่ ไปน้ี (๑) เข้าไปในเคหสถาน สถานท่ี หรือยานพาหนะใด ๆ เพื่อตรวจค้นและจับตัวผู้เข้ารับการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดที่ฝ่าฝืนมาตรา ๒๙ หรือมาตรา ๓๑ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยตามสมควรว่าบุคคล ดังกล่าวหลบซ่อนอยู่ ประกอบกับมีเหตุอันควรเชื่อว่าเน่ืองจากการเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ บุคคลน้ัน จะหลบหนีไป (๒) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดท่ีเก่ียวข้องกับผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟ้ืนฟู สมรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ มาใหถ้ อ้ ยคำ สง่ คำชแ้ี จงเปน็ หนงั สอื หรอื สง่ เอกสารหรอื หลกั ฐานใดมาเพอ่ื การตรวจสอบ เพื่อประกอบการพิจารณาในการปฏบิ ัติการตามมาตรา ๑๗ (๓) สอบปากคำผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ ผู้เข้ารับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หรือบุคคลอื่นใด ทีส่ ามารถใหข้ ้อเทจ็ จริงเก่ียวกบั กรณตี ามทร่ี ะบไุ ว้ในมาตรา ๑๗ (๔) สั่งหรือจัดให้ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดรับการตรวจ หรือทดสอบวา่ มยี าเสพตดิ อยใู่ นร่างกายหรอื ไม่ พนักงานเจ้าหน้าท่ีตำแหน่งใดหรือระดับใดจะมีอำนาจตามท่ีได้กำหนดไว้ตามวรรคหน่ึงท้ังหมดหรือ แต่บางสว่ น หรอื จะตอ้ งได้รบั อนมุ ัตจิ ากบุคคลใดกอ่ นดำเนนิ การ ให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการกำหนดโดยระบุ ไวใ้ นบัตรประจำตัวพนักงานเจา้ หนา้ ที่ผไู้ ด้รบั มอบหมายน้ัน ในการปฏิบัติหน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามวรรคหน่ึง ให้บุคคลที่เก่ียวข้องอำนวยความสะดวก ตามสมควร มาตรา ๓๗ ในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ี พนกั งานเจา้ หนา้ ทตี่ อ้ งแสดงบัตรประจำตัวต่อบุคคลทีเ่ ก่ยี วข้อง บัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าท่ี ให้เป็นไปตามแบบท่ีคณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา

482 สำนกั งาน ป.ป.ส. หมวด ๕ การอุทธรณ ์ มาตรา ๓๘ ในกรณีที่คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีคำวินิจฉัยตามมาตรา ๒๒ ว่าผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์นั้นเสพหรือติดยาเสพติด หรือมีคำส่ังไม่อนุญาตให้ปล่อยผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน ์ หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดชั่วคราวตามมาตรา ๒๖ หรือมีคำส่ังขยายระยะเวลาการฟ้ืนฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดออกไปอีกตามมาตรา ๒๕ ผู้น้ันมีสิทธิอุทธรณ์คำวินิจฉัยดังกล่าวต่อคณะกรรมการ ภายในสบิ ส่ีวันนับแตว่ ันท่ีไดร้ บั ทราบคำวินิจฉัยหรอื คำสงั่ แลว้ แต่กรณี การอุทธรณ์ตามวรรคหน่ึงย่อมไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการปฏิบัติตามคำวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติด คำวนิ ิจฉัยของคณะกรรมการให้เปน็ ทส่ี ดุ มาตรา ๓๙ หลักเกณฑ์และวิธีการย่ืนอุทธรณ์ และวิธีพิจารณาอุทธรณ์ให้เป็นไปตามที่กำหนด ในกฎกระทรวง มาตรา ๔๐ ในการพิจารณาอทุ ธรณ์ ให้คณะกรรมการมีอำนาจดังตอ่ ไปนี้ (๑) แจง้ ให้ผูอ้ ุทธรณ์มาใหถ้ อ้ ยคำหรือใหส้ ง่ วตั ถุ เอกสารหรือพยานหลักฐานอ่ืนท่เี กยี่ วข้องมาประกอบ การพิจารณา (๒) มีหนังสือเรียกให้บุคคลท่ีเก่ียวข้องมาให้ถ้อยคำหรือให้ส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐาน มาประกอบการพจิ ารณา ในกรณีที่ผู้อุทธรณ์ไม่มาให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานตามคำสั่งของ คณะกรรมการตาม (๑) โดยมิได้แจ้งเหตุขัดข้องเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการภายในสามวันนับแต่วันท่ีได้รับ คำสั่งของคณะกรรมการ ให้ถือว่าผู้อุทธรณ์ไม่ประสงค์จะมาให้ถ้อยคำหรือส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐาน เพมิ่ เติม และให้คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณ์ตอ่ ไปตามทีเ่ ห็นสมควร หนังสือเรียกมาให้ถ้อยคำหรือให้ส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานตาม (๒) ต้องระบุด้วยว่าจะมาให้ ถ้อยคำหรือสง่ วัตถุ เอกสาร หรอื พยานหลกั ฐานในเรื่องใด หมวด ๖ บทกำหนดโทษ มาตรา ๔๑ ผู้ใดนำข้อเท็จจริงหรือเอกสารหลักฐานใดอันเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่ได้มาจาก การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ไปเปิดเผยต่อบุคคลอื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน หนงึ่ แสนบาท หรอื ทง้ั จำทงั้ ปรบั เวน้ แตเ่ ปน็ การเปดิ เผยในการปฏบิ ตั ติ ามหนา้ ทกี่ ารสอบสวน หรอื การพจิ ารณาคดี หรอื ได้รับอนญุ าตจากคณะกรรมการหรอื คณะอนกุ รรมการฟ้นื ฟูสมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติด ผู้ใดได้มาหรือล่วงรู้ข้อเท็จจริงใดจากบุคคลตามวรรคหน่ึง แล้วเปิดเผยข้อเท็จจริงนั้น ต้องระวางโทษ เช่นเดยี วกนั เวน้ แตเ่ ป็นกรณีทีอ่ าจเปิดเผยได้ตามวรรคหนง่ึ

พระราชบัญญตั ิฟน้ื ฟสู มรรถภาพผู้ติดยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ 483 มาตรา ๔๒ ผใู้ ดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื ของพนกั งานเจา้ หนา้ ทตี่ ามมาตรา ๓๖ (๒) หรอื ไมอ่ ำนวยความสะดวก แก่พนักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา ๓๖ วรรคสาม หรือไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกของคณะกรรมการตาม มาตรา ๔๐ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหน่ึงหม่นื บาท หรอื ทง้ั จำทั้งปรบั มาตรา ๔๓ ความผิดตามมาตรา ๔๒ คณะกรรมการมีอำนาจเปรียบเทียบได้และในการน ้ี คณะกรรมการมีอำนาจมอบหมายให้คณะอนุกรรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ประจำศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดดำเนินการเปรียบเทียบได้ ตามหลักเกณฑ์หรือเง่ือนไข ทค่ี ณะกรรมการกำหนด เมื่อผู้กระทำความผิดได้เสียค่าปรับตามท่ีเปรียบเทียบแล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวล กฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา ถ้าผู้กระทำความผิดไม่ยินยอมตามท่ีเปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้วไม่ชำระเงินค่าปรับภายใน ระยะเวลาทกี่ ำหนด ใหด้ ำเนินคดตี ่อไป ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พันตำรวจโท ทักษิณ ชนิ วัตร นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยที่ปัญหาเกี่ยวกับการเสพยาเสพติด ให้โทษในปัจจุบันมีความรุนแรงมากย่ิงข้ึน ซ่ึงโดยหลักการแล้วผู้เสพยาเสพติดมีสภาพเป็นผู้ป่วย อยา่ งหนงึ่ มใิ ชอ่ าชญากรปกติ การฟน้ื ฟสู มรรถภาพของผตู้ ดิ ยาเสพตดิ จงึ สมควรกระทำใหก้ วา้ งขวาง และโดยที่ผู้เสพยาเสพติดจำนวนหนึ่งถูกบังคับให้เป็นผู้จำหน่ายยาเสพติดเพื่อแลกกับการได ้ ยาเสพติดไปเสพด้วย สมควรขยายขอบเขตของการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดให้ครอบคลุม ถึงผู้เสพและมีไว้ในครอบครอง ผู้เสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย และผู้เสพและจำหน่าย ยาเสพติดจำนวนเล็กน้อยด้วย นอกจากนั้นเน่ืองจากบุคคลซ่ึงติดหรือเสพ ยาเสพติดมีจำนวน มากและเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ สมควรขยายสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์การเสพหรือ ติดยาเสพติด และสถานท่ีเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดให้กว้างขวางยิ่งขึ้น เพราะนอกจากมีหน่วยงานของกระทรวงยุติธรรมแล้วยังมีหน่วยงานอื่นของรัฐ และหน่วยงาน เอกชนที่มีขีดความสามารถเข้ามาร่วมในการตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดและ การฟื้นฟูสมรรถภาพของบุคคลดังกล่าว อาทิเช่น สถานที่ของหน่วยงานในราชการทหาร เขต อำเภอ และก่ิงอำเภอ สถานพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข สถานพยาบาลของเอกชน หรือหน่วยงานอื่น ซึ่งสมควรรวมทรัพยากรเพื่อการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเข้าด้วยกัน เพ่ือให้เกิดประสทิ ธิภาพมากย่ิงข้นึ จงึ จำเปน็ ต้องตราพระราชบัญญัตนิ ้ี

484 สำนกั งาน ป.ป.ส. กฎกระทรวง ว่าด้วยการกำหนดลกั ษณะ ชนิด ประเภท และปริมาณของยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๖(๑) อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๑๙ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจำกัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๒๓๗ และ มาตรา ๒๓๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ลักษณะ ชนิดและประเภทของยาเสพติด สำหรับความผิดฐานเสพยาเสพติดตามมาตรา ๑๙ วรรคหนึ่ง มีดงั ต่อไปนี้ (๑) ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๑ มี ๖ ชนดิ ไดแ้ ก่ (ก) เฮโรอีน (ข) เมทแอมเฟตามนี (ค) แอมเฟตามีน (ง) ๓,๔-เมทลิ ลนี ไดออกซเี มทแอมเฟตามนี (จ) เมทิลลนี ไดออกซีแอมเฟตามีน (ฉ) เอ็น เอทลิ เอ็มดีเอ หรือเอ็มดอี ี (๒) ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท ๒ มี ๒ ชนดิ ได้แก่ (ก) โคคาอนี (ข) ฝิ่น (๓) ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท ๕ มี ๑ ชนดิ ไดแ้ ก่ กัญชา (๔)(๒) สารระเหยตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันการใช้สารระเหย ยาเสพติดให้โทษตาม (๑) และ (๒) ให้รวมถึงวัตถุท่ีเรียกชื่อเป็นอย่างอ่ืน แต่มีสูตรโครงสร้างทางเคมี อยา่ งเดียวกนั กบั ยาเสพติดใหโ้ ทษดังกล่าว และเกลอื ใด ๆ ของยาเสพติดให้โทษดงั กลา่ วด้วย ข้อ ๒ ยาเสพติดตามข้อ ๑ สำหรับความผิดฐานเสพและมีไว้ในครอบครอง ความผิดฐานเสพและ มีไว้ในครอบครองเพ่ือจำหน่าย และความผิดฐานเสพและจำหน่ายยาเสพติด ตามมาตรา ๑๙ วรรคหนึ่ง ต้องมีปริมาณดังต่อไปน้ี (๑) ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๒๐ ตอนที่ ๑๗ ก ลงวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๔๖ (๒) เพ่ิมเติมโดย กฎกระทรวง ว่าด้วยการกำหนดลักษณะ ชนิด ประเภท และปริมาณของยาเสพติด (ฉบับที่ ๒) ประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ที่ ๑๒๕ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑

พระราชบัญญตั ิฟืน้ ฟสู มรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ 485 (๑) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ (ก) เฮโรอนี มนี ำ้ หนักสุทธิไม่เกนิ หนง่ึ ร้อยมิลลกิ รัม (ข) เมทแอมเฟตามีนมีปริมาณไม่เกินห้าหน่วยการใช้ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ หรือ มนี ำ้ หนกั สุทธิไมเ่ กนิ ห้ารอ้ ยมลิ ลิกรมั (ค) แอมเฟตามีนมีปริมาณไม่เกินห้าหน่วยการใช้ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ หรือ มีน้ำหนกั สทุ ธิไม่เกนิ ห้ารอ้ ยมลิ ลิกรัม (ง) ๓,๔-เมทิลลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีนมีปริมาณไม่เกินห้าหน่วยการใช้ตามกฎหมายว่าด้วย ยาเสพติดใหโ้ ทษ หรือมีนำ้ หนกั สทุ ธไิ ม่เกินหนึง่ พนั สองร้อยหา้ สิบมิลลกิ รมั (จ) เมทิลลีนไดออกซีแอมเฟตามีนมีปริมาณไม่เกินห้าหน่วยการใช้ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด ให้โทษ หรือมนี ้ำหนกั สทุ ธไิ ม่เกนิ หนึ่งพนั สองรอ้ ยหา้ สิบมิลลกิ รมั (ฉ) เอ็น เอทลิ เอม็ ดีเอ หรือเอ็มดอี ี มปี ริมาณไม่เกินห้าหน่วยการใช้ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพตดิ ให้โทษ หรอื มีน้ำหนกั สทุ ธิไมเ่ กินหนึ่งพนั สองร้อยห้าสิบมลิ ลิกรมั (๒) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๒ (ก) โคคาอีนมีนำ้ หนกั สุทธไิ มเ่ กนิ สองร้อยมิลลกิ รัม (ข) ฝ่นิ มนี ำ้ หนกั สทุ ธิไมเ่ กนิ ห้าพันมิลลกิ รัม (๓) ยาเสพติดให้โทษในประเภท ๕ ได้แก่ กญั ชามีน้ำหนักสทุ ธิไมเ่ กนิ ห้าพนั มลิ ลิกรัม ยาเสพติดให้โทษตาม (๑) และ (๒) ให้รวมถึงวัตถุท่ีเรียกช่ือเป็นอย่างอ่ืนแต่มีสูตรโครงสร้างทางเคมี อย่างเดียวกันกบั ยาเสพตดิ ให้โทษดงั กลา่ ว และเกลอื ใด ๆ ของยาเสพติดใหโ้ ทษดงั กลา่ วดว้ ย ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๔๖ พงศ์เทพ เทพกาญจนา รฐั มนตรีว่าการกระทรวงยุตธิ รรม

486 สำนกั งาน ป.ป.ส. พระราชบัญญตั ิ ควบคมุ โภคภณั ฑ ์ พ.ศ. ๒๔๙๕ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๒๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๔๙๕ เปน็ ปที ่ี ๗ ในรชั กาลปัจจุบนั พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศว่า โดยท่ีเป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการควบคุมโภคภัณฑ์ เพ่ือสวัสดิภาพของประชาชนตามความ จำเปน็ แห่งสถานการณ์ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ขิ น้ึ ไวโ้ ดยคำแนะนำและยนิ ยอมของสภาผแู้ ทนราษฎร ด่ังตอ่ ไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบัญญตั นิ ้ีเรียกวา่ “พระราชบัญญัติควบคมุ โภคภัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๙๕” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป(๑) และจะใชใ้ นทอ้ งที่ใด ให้ประกาศโดยพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั ิน้ี “โภคภณั ฑ”์ หมายความวา่ เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภค และหมายความรวมตลอดถงึ สงิ่ ทร่ี ะบไุ วใ้ นกฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบญั ญัติน้ี “พนกั งานเจา้ หน้าที่” หมายความว่า เจ้าพนกั งานซง่ึ รฐั มนตรีแต่งตั้งเพอ่ื ปฏบิ ัตกิ ารตามพระราชบัญญัติ น้ี หรือตามพระราชกฤษฎกี าออกตามความในพระราชบญั ญตั นิ ี้ “จำหน่าย” หมายความรวมตลอดถึงการโอนสิทธิ หรือกรรมสิทธิ์ หรือโอนการครอบครองให้แก่กัน ไมว่ า่ ในกรณีใด “รัฐมนตร”ี หมายความวา่ รัฐมนตรผี ู้รกั ษาการตามพระราชบญั ญัติน้ี มาตรา ๔ เม่ือมีความจำเป็นโดยสถานการณ์เพ่ือสวัสดิภาพของประชาชน หรือมีความจำเป็นเกิดขึ้น เพ่ือเศรษฐกจิ และความมน่ั คงของประเทศ ใหร้ ฐั บาลมอี ำนาจควบคุมโภคภณั ฑไ์ ด้ (๑) ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๖๙ ตอนที่ ๑๒ ลงวันที่ ๒๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๔๙๕

พระราชบัญญัตคิ วบคุมโภคภัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๙๕ 487 มาตรา ๕ การควบคมุ ตามความในมาตรา ๔ ใหก้ ำหนดโดยพระราชกฤษฎกี า เพื่อการดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. จำกัดปริมาณโภคภัณฑ์ซ่งึ บุคคลจะมีไว้ในครอบครองได้ ๒. จำนวนปรมิ าณโภคภณั ฑซ์ งึ่ บุคคลจะไดม้ า ๓. วางระเบียบในการค้า การจำหน่าย การเก็บรักษา และการกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดเก่ียวกับ โภคภณั ฑ์ ตลอดจนการควบคุมรา้ นค้าท้ังปวงซึ่งจำหน่ายโภคภณั ฑ์ ๔. กำหนดเวลา และสถานที่ และพฤตกิ ารณ์ในการจำหนา่ ยโภคภณั ฑ์ ๕. จำกัดชนิด ปรมิ าณ ประเภทแหง่ โภคภณั ฑ์ซึง่ อนุญาตใหจ้ ำหน่ายได้ ๖. หา้ มการจำหนา่ ยหรือการใชโ้ ภคภณั ฑ์ ๗. กำหนดวธิ กี ารปันสว่ นโภคภณั ฑ์ ๘. กำหนดกจิ การและกำหนดวธิ ีดำเนินการอื่นใดเพ่ือบรรลจุ ุดประสงค์ด่ังบญั ญตั ิไว้ ในมาตรา ๔ มาตรา ๖ โภคภณั ฑ์ชนิดใด ประเภทใด จะพงึ ควบคมุ ให้ระบุโดยกฎกระทรวง มาตรา ๗ พนักงานเจ้าหน้าท่ีซ่ึงปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามพระราชกฤษฎีกาออกตาม ความในพระราชบญั ญตั ินี้ ตอ้ งมีบตั รประจำตวั ตามทก่ี ำหนดไว้ในกฎกระทรวง มาตรา ๘ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้และพระราชกฤษฎีกาออกตามความใพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอำนาจเข้าตรวจในเคหสถาน หรือสถานที่ใด ๆ ในระหว่างอาทิตย์ข้ึนถึงอาทิตย์ตก เม่ือมเี หตคุ วรสงสัยว่าได้มีการฝ่าฝนื พระราชกฤษฎีกาออกตามความในพระราชบัญญตั ินี้ มาตรา ๙ ผู้ใดฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในพระราชบัญญัติน้ีมีความผิด ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ สบิ ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หา้ หมน่ื บาท หรอื ทง้ั จำทงั้ ปรบั และในกรณที กี่ ระทำความผดิ ซำ้ ใหร้ ะวางโทษเปน็ ทวีคูณ โภคภัณฑซ์ ึ่งเกย่ี วเนอื่ งกับความผิดใหร้ ิบเสีย มาตรา ๑๐ ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี หรือพระราชกฤษฎีกาออกตามความในพระราช- บัญญตั นิ ี้ พนกั งานเจ้าหน้าท่ผี ู้ใดกระทำการใด ๆ อันเป็นความผิดตามกฎหมายลักษณะอาญา ภาค ๒ ส่วนท่ี ๒ หมวดท่ี ๒ ตง้ั แต่มาตรา ๑๒๙ ถงึ มาตรา ๑๔๖ ใหร้ ะวางโทษเป็นทวคี ณู มาตรา ๑๑ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ีและกำหนดกิจการอื่น เพ่อื ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ กฎกระทรวงนนั้ เม่อื ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้ว ใหใ้ ชบ้ งั คบั ได้ ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม นายกรฐั มนตร ี

488 สำนกั งาน ป.ป.ส. พระราชกฤษฎกี า ควบคุมโภคภณั ฑ์ (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๒๒ ภูมพิ ลอดุลยเดช ป.ร. ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๒ เปน็ ปีที่ ๓๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศว่า โดยท่เี ปน็ การสมควรควบคุมโภคภณั ฑบ์ างชนดิ ในท้องทบ่ี างแหง่ เพื่อสวสั ดภิ าพของประชาชน อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๕๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และมาตรา ๕ แห่ง พระราชบัญญัติควบคุมโภคภัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๙๕ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาข้ึนไว ้ ดังต่อไปน้ี มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาควบคุมโภคภณั ฑ์ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๒” มาตรา ๒ พระราชกฤษฎกี านีใ้ หใ้ ชบ้ งั คบั ต้งั แตว่ ันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป(๑) มาตรา ๓ ให้โภคภัณฑ์ท่ีถูกควบคุมตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๒๒) ออกตามความใน พระราชบญั ญัตคิ วบคุมโภคภัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๙๕ ซง่ึ ได้แก่ นำ้ ยาเคมี อเี ธอร์ (Ether) และน้ำยาเคมี คลอโรฟอรม์ (Chloroform) เป็นโภคภัณฑ์ท่ีถูกควบคุมตามวิธีการที่กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกานี้และภายในท้องท่ีที่ระบุ ไวใ้ นบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกาน้ี (๒) มาตรา ๔ (ยกเลิก) (๓) มาตรา ๕ ห้ามมิให้ผู้ใดนำ ขนย้าย จำหน่าย มีไว้ในครอบครอง ใช้ หรือ เปล่ียนแปลงสภาพ ซงึ่ โภคภัณฑ์ตามพระราชกฤษฎกี าน้ี เวน้ แตจ่ ะได้รับหนงั สืออนญุ าตจากผ้วู ่าราชการจังหวัดแหง่ ท้องทนี่ นั้ การยื่นคำขออนญุ าตตามวรรคหน่ึง ให้ยนื่ ณ สำนักงานพาณชิ ยจ์ ังหวดั แหง่ ท้องทน่ี น้ั การนำหรือการขนย้ายโภคภัณฑ์ตามพระราชกฤษฎีกาน้ีแต่ละครั้งต้องได้รับหนังสืออนุญาตทุกคร้ัง ท่ีนำหรือขนย้าย และผ้นู ำหรือผ้ขู นย้ายตอ้ งนำหนังสืออนญุ าตน้ันกำกับการนำหรือการขนยา้ ยไปดว้ ยทุกครงั้ หนังสอื อนญุ าตตามวรรคหนึ่ง ให้เปน็ ไปตามแบบทอ่ี ธบิ ดีกรมการค้าภายในกำหนด (๑) ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ฉบบั พเิ ศษ เลม่ ๙๖ ตอนท่ี ๑๘๓ ลงวันท่ี ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๒๒ (๒) มาตรา ๔ ถูกยกเลกิ โดย พ.ร.ฎ.ควบคุมโภคภัณฑ์ (ฉบบั ท่ี ๘) พ.ศ. ๒๕๒๕ มาตรา ๓ (๓) ขอ้ ความเดิมถกู ยกเลิกโดย พ.ร.ฎ.ควบคมุ โภคภณั ฑ์ (ฉบบั ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๒๕ มาตรา ๔ และให้ใช้ขอ้ ความท่ีพิมพ์ไว้น้แี ทน