Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อจท. ภาษาไทย หลักภาษา ม.6

อจท. ภาษาไทย หลักภาษา ม.6

Published by pearyzaa, 2021-05-16 01:45:34

Description: อจท. ภาษาไทย หลักภาษา ม.6

Search

Read the Text Version

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษาไทย หลกั ภาษาและการใช้ภาษา ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๖

คาแนะนาในการใช้ Power Point - กดป่ มุ Slide Show ทแี่ ถบด้านบนหรือด้านล่าง - กดป่ มุ Esc ยกเลกิ คาสั่งหรือออกจาก Slide Show - กดป่ ุมลกู ศรหรือคลกิ ส่วนใดในหน้า Slide เพื่อเลื่อนไปหน้าถัดไป

คาแนะนาในการใช้ Power Point กดป่ ุมนี้ กลบั ไปหน้าสารบัญ (Contents) กดป่ ุมนี้ ฟังคลปิ เสียง (Audio Clip) [การกดป่ มุ ต้องกดให้โดนรูปลาโพง เพราะถ้าคลกิ ไปโดนแถบเล่ือนช่วงการฟัง อาจทาให้เสียงไม่ได้ เริ่มต้นทจ่ี ุดเร่ิมต้น] PowerPoint นี้ เหมาะสาหรับคอมพวิ เตอร์ทีใ่ ช้โปรแกรม Microsoft Office 2010 การใช้เวอร์ช่ันอ่ืนๆ หรือ เวอร์ช่ันทต่ี ่ากว่า คุณสมบตั ิบางอย่างอาจทางานไม่สมบูรณ์

สารบญั ๑ตอนท่ี การอ่าน ๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี การอ่านวนิ ิจสาร ๒หน่วยการเรียนรู้ที่ การอ่านในชีวติ ประจาวนั ๒ตอนที่ การเขยี น ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ การเขยี นเพอ่ื ส่ือสาร ๒หน่วยการเรียนรู้ท่ี การเขยี นบนั เทงิ คดี ๓หน่วยการเรียนรู้ท่ี การประเมนิ คณุ ค่างานเขยี น ๓ตอนท่ี การฟัง การดู การพดู ๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี การฟังและดูอย่างมีประสิทธิภาพ ๒หน่วยการเรียนรู้ท่ี การพูดอภปิ ราย การพูดแสดงทรรศนะ และการโต้แย้ง ๔ตอนที่ หลกั การใช้ภาษา ๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี ระดบั ภาษาและอิทธิพลของการใช้ภาษา

ตอนที่ ๑ การอ่าน ๑. การอ่านวนิ ิจสาร ๒. การอ่านในชีวติ ประจาวนั

๑หน่วยการเรียนรู้ที่ การอ่านวนิ ิจสาร ๑ การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ เป็นการอ่านท่ีมีความสัมพนั ธ์เกี่ยวเน่ือง กนั การอ่านแปลความเป็นทกั ษะข้นั พ้นื ฐานของการอ่านตีความและการอ่านขยายความ ถา้ อ่าน แปลความของเร่ืองไดก้ จ็ ะนาไปสู่การตีความ สามารถอ่านขยายความ เป็นวธิ ีการอ่านท่ีช่วยให้ สามารถอ่านสารต่างๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

๑.๑ การอ่านแปลความ การอ่านแปลความ คือการแปลเรื่องราวเดิมให้ออกมาเป็ นคาพูดใหม่หรือเป็ น ถ้อยคาใหม่แต่ยงั คงรักษาเน้ือหาและสาระความสาคญั ของเร่ืองราวเดิมไวไ้ ดอ้ ยา่ งครบถว้ น ความสามารถในการอ่านแปลความเป็ นพ้ืนฐานของการอ่านตีความและขยายความ เพื่อ นาไปใชใ้ นการวเิ คราะห์สงั เคราะห์และประเมินค่า การอ่านแปลความมีหลายรูปแบบ ดงั น้ี ๑) แปลคาศัพท์เฉพาะให้เป็ นภาษาธรรมดา ๒) แปลข้อความเดมิ ทเ่ี ป็ นสานวนโวหาร ๓) แปลสานวนสุภาษติ

๑) แปลคาศัพท์เฉพาะให้เป็ นภาษาธรรมดา เป็ นการแปลความหมายจากระดบั หน่ึง ไปสู่อีกระดบั หน่ึง เช่น เสวย หมายถึง กิน บุปผา หมายถึง ดอกไม้ โจทก์ หมายถึง ผู้ฟ้อง เป็นต้น ถ้าผ้อู ่านไม่ทราบความหมายของคาศัพท์เฉพาะในข้อความตอนใด กอ็ าจไม่ทราบความหมายและ ไม่สามารถตีความขอ้ ความในประโยคได้

๒) แปลข้อความเดมิ ทเี่ ป็ นสานวนโวหาร เป็นขอ้ ความใหม่ที่เขา้ ใจไดง้ ่ายข้ึน หรือ เปลี่ยนแปลงใหเ้ ป็นภาษาอีกระดบั หน่ึง เช่น ปื นใหญ่ถล่มหงส์แดงยบั ๓ - ๑ แปลความไดว้ า่ ทมี ฟุตบอลอาร์เซนอลเอาชนะทมี ฟุตบอลลเิ วอร์พลู ไปด้วยคะแนน ๓ ต่อ ๑ ประตู

๓) แปลสานวนสุภาษติ คาพงั เพย บทร้อยกรอง หรือคาภาษาบาลแี ละสันสกฤต ท่ีนามาใชใ้ หเ้ ป็นร้อยแกว้ ท่ีไดใ้ จความสมบูรณ์ เช่น ธมฺโม หเว รกขฺ ติ ธมฺมจารี แปลความไดว้ า่ ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤตธิ รรม

๔) แปลความจากเครื่องหมาย หรือสัญลกั ษณ์ต่างๆ เช่น > แปลว่า มากกว่า < แปลว่า น้อยกว่า แปลว่า เพศชาย แปลว่า เพศหญิง

๑.๒ การอ่านตีความ การอ่านตีความ คือ การอ่านที่ผูอ้ ่านจะตอ้ งใชค้ วามคิด พิจารณาสาระสาคญั ของเร่ืองวา่ ผเู้ ขียนมีเจตนาใด เช่น แนะนา ส่งั สอน เสียดสี ประชดประชนั หรือตอ้ งการส่ือ อะไรแก่ผอู้ ่าน ผอู้ ่านตอ้ งสามารถตีความหมายของคาท้งั ความหมายนยั ตรงและความหมายนยั ประหวดั ของขอ้ ความและสานวนไดถ้ ูกตอ้ ง ซ่ึงข้ึนอยู่กบั พ้ืนฐานความรู้ ประสบการณ์ ความสนใจ ทศั นคติจินตนาการ สติปัญญาและวยั ของผอู้ ่าน

การอ่านตีความมหี ลกั เกณฑ์ในการอ่าน ดงั น้ี ๑. อา่ นเร่ืองท่ีจะตีความใหล้ ะเอียด แลว้ พยายามจบั ประเดน็ สาคญั ของผเู้ ขียนใหไ้ ด้ ๒. พยายามคิดหาเหตุผลและใคร่ครวญอยา่ งรอบคอบเพอื่ นามาประมวลกบั ความคิดของตนเองวา่ ขอ้ ความหรือเร่ืองน้นั มีความเก่ียวขอ้ งกบั อะไร ๓. พยายามทาความเขา้ ใจถอ้ ยคาและสงั เกตบริบทหรือเน้ือความแวดลอ้ มวา่ กาหนดความหมาย ส่วนรวมไปในทิศทางใด ๔. ตอ้ งระลึกไวเ้ สมอวา่ การตีความไมใ่ ช่การถอดคาประพนั ธ์ การตีความ คือ การจบั ความคิดหรือ แนวคิดของผเู้ ขียนท่ีแฝงไวภ้ ายในเร่ือง ๕. การเขียนเรียบเรียงถอ้ ยคาท่ีไดจ้ ากการตีความน้นั จะตอ้ งใหม้ ีความหมายชดั เจน ๖. การตีความไม่วา่ จะเป็นการตีความเน้ือหาหรือน้าเสียงของผเู้ ขียนกต็ าม เป็นการตีความตาม ความรู้ความคิดและประสบการณ์ของผตู้ ีความเอง เพ่อื สรุปความคิดท้งั หมดแลว้ จบั เจตนาอนั แทจ้ ริง ของขอ้ ความหรือเรื่องราวที่ผสู้ ่งสารตอ้ งการแสดงออกมา ดงั น้นั ผอู้ ื่นอาจจะไม่เห็นพอ้ งดว้ ยกไ็ ด้

๑.๓ การอ่านขยายความ การอ่านขยายความ เป็ นการขยายความคิดโดยใชจ้ ินตนาการให้กวา้ งขวางลึกซ้ึง จากขอ้ เท็จจริงที่มีอยู่ จนสามารถคาดคะเน พยากรณ์หรือประเมินเป็ นขอ้ สรุปได้ การอ่านเพื่อ ขยายความจึงเป็ นการอ่านเพื่อนามาอธิบายเพิ่มเติมให้มีความละเอียดเพ่ิมมากข้ึนจากเน้ือความ เดิมที่มีอยู่ท้งั น้ีการอ่านเพ่ือขยายความสามารถใชว้ ิธีการยกตวั อย่างประกอบหรือมีการอา้ งอิง เปรียบเทียบเพอ่ื ใหไ้ ดเ้ น้ือความท่ีกวา้ งขวางออกไปจนเป็นที่เขา้ ใจยง่ิ ข้ึน

การอ่านขยายความสามารถทาได้หลายวธิ ี ดงั นี้ ๑. การกลา่ วถึงสาเหตุและผลที่สมั พนั ธ์กนั ๒. การยกตวั อยา่ งหรือขอ้ เทจ็ จริงมาประกอบเน้ือเร่ืองเดิม ๓. การอธิบายสิ่งท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เรื่องน้นั เพิ่มเติม ๔. การคาดคะเนส่ิงท่ีน่าจะเป็น หรือสิ่งที่จะเกิดข้ึนตอ่ ไป โดยอาศยั ขอ้ มูลเหตุผลจากเร่ืองเดิม ๕. การขยายความโดยการใหค้ านิยามหรือใหค้ าจากดั ความ เป็นการใหค้ วามหมายของประเดน็ สาคญั น้นั ๆ ๖. การขยายความโดยการเปรียบเทียบอาจเป็นการเปรียบเทียบความเหมือนหรือความตา่ งกไ็ ด้

๑.๔ ตัวอย่างการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ การอ่านแปลความ ตคี วามและขยายความจากบทประพนั ธ์ อย่าเอือ้ มเดด็ ดอกฟ้า มาถนอม สูงสุดมือมกั ตรอม อกไข้ เดด็ แต่ดอกพยอม ยามยาก ชมนา สูงกส็ อยด้วยไม้ อาจเอือ้ มเอาถึง (โคลงโลกนิติ : สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร)

แนวทางการแปลความ ตีความและขยายความบทประพนั ธ์ โคลงโลกนิติ มีดงั น้ี ๑) การแปลความ จากบทประพนั ธ์แปลความไดว้ ่า ไม่ควรมุ่งหมายเด็ด ดอกฟ้า หรือดอกไมท้ ี่หายากมาไวใ้ นครอบครอง เพราะดอกไมเ้ หล่าน้ันมกั อยู่สูง หรืออุปมาเหมือนอยใู่ นท่ีห่างไกลก็ยอ่ มสร้างความลาบากในการไดม้ า ตรงขา้ มกบั ดอกไม้ทว่ั ไป เช่น ดอกพะยอม ดอกไม้ท่ีสามารถหาได้โดยง่าย แม้จะอยู่ที่สูงก็ สามารถหามาไวใ้ นครอบครองได้

๒) การตีความ จากบทประพนั ธ์กวีใช้ถอ้ ยคาท่ีมีความหมายแฝงหรือ ความหมาย นัยประหวดั ๒ คา คือ ดอกฟ้า และดอกพะยอม เพ่ือสื่อถึงสตรี ๒ ประเภท คือ สตรีสูงศกั ด์ิ และสตรีสามญั โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือใหข้ อ้ คิดเกี่ยวกบั การ เลือกคู่ครองให้สมฐานะของแต่ละบุคคล กล่าวคือ การมุ่งปรารถนาสตรีสูงศกั ด์ิ ก็ ยอ่ มเผชิญขอ้ ขดั ขอ้ งเกี่ยวกบั สถานภาพทางสังคม ซ่ึงอาจทาใหไ้ ดร้ ับความเดือดร้อน ตรงขา้ มกบั สตรีสามญั ท่ีมีอยทู่ วั่ ไป ซ่ึงไม่มีอุปสรรคในการรับไวเ้ ป็นคู่ครอง

อย่าเอือ้ มเดด็ ดอกฟ้า มาถนอม สูงสุดมือมกั ตรอม อกไข้ เดด็ แต่ดอกพยอม ยามยาก ชมนา สูงกส็ อยด้วยไม้ อาจเอือ้ มเอาถึง ๓) การขยายความ จากบทประพนั ธ์ขา้ งตน้ หากพิจารณาอยา่ งลึกซ้ึง อาจ พิจารณาไดว้ ่า บทประพนั ธ์น้ีแสดงกรอบความคิด ค่านิยมเรื่องการเลือกคู่ครอง ใน สังคมไทยสมยั ตน้ กรุงรัตนโกสินทร์ และอาจยอ้ นข้ึนไปถึงปลายกรุงศรีอยธุ ยา ดว้ ย โคลงโลกนิติ ฉบบั สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร ทรงชาระและ ดดั แปลงจากฉบบั กรุงศรีอยธุ ยา

๒ การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และประเมนิ ค่า ๒.๑ การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์ หลกั การอ่านเพอ่ื คาดคะเนเหตุการณ์ ๑) ทบทวนพิจารณาเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนน้นั ว่าเป็ นส่วนหน่ึงของ กระบวนการใด หรือคลา้ ยคลึงกบั เหตุการณ์ใดจากความรู้เดิมและประสบการณ์ เดิมที่มีอยู่ ๒) ระบุเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนน้นั อยใู่ นข้นั ตอนใดของกระบวนการ หรือเหตุการณ์ท่ีคลา้ ยคลึงกนั ๒.๒ หลกั การอ่านเพื่อประเมินค่า

หลกั การอ่านเพ่ือประเมนิ ค่า ๑) ใช้วจิ ารณญาณใคร่ครวญไตร่ตรองทุกแง่มุมของงานเขยี น ๒) พจิ ารณาเกย่ี วกบั รูปแบบคาประพนั ธ์ ๓) พจิ ารณาส่วนประกอบและเนื้อหา ๔) พจิ ารณากลวธิ ีแต่ง ๕) พจิ ารณาภาษาทใี่ ช้ ๖) พจิ ารณาคุณค่าของงานเขยี น ๖.๑) คุณคา่ ดา้ นวรรณศิลป์ ๖.๒) คุณคา่ ดา้ นเน้ือหาสาระ ๖.๓) คุณคา่ ดา้ นสงั คม ๖.๔) การนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั

๓ ตวั อย่างการอ่านคาดคะเนเหตุการณ์และประเมนิ ค่า การอ่านประเมนิ ค่าพระโอวาท ของสมเดจ็ พระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (ม.ร.ว.ชื่น นพวงศ์) ผู้ปกครองท่ีไม่ต้ังอยู่ในศีล ย่อมประพฤติทุจริ ตทาให้ผู้อยู่ในปกครอง เดือดร้อนดว้ ยอธรรม ปราศจากความเมตตากรุณา ฝ่ายผอู้ ยใู่ นปกครองที่ปราศจากศีล เป็น คนชว่ั เป็นผรู้ ้ายก่อความเดือดร้อนต่างๆ ท้งั แก่ผอู้ ยใู่ นปกครองดว้ ยกนั และผปู้ กครองไม่ เป็ นอนั ประกอบอาชีพให้เจริญ เพราะฉะน้ันศีลจึงจาเป็ นสาหรับการอย่รู ่วมกนั เป็ นหมู่ คณะ ถา้ ต่างต้งั มน่ั อยใู่ นศีล บา้ นเมืองก็จะมีความสงบสุขราบคาบปราศจากโจรภยั และ ทุจริตท้งั ปวง (ธรรมจกั ษุ)

แนวทางการอ่านประเมนิ ค่าคาสอน ของสมเดจ็ พระสังฆราชเจา้ กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (ม.ร.ว.ช่ืน นพวงศ)์ มีดงั น้ี ๑) รูปแบบ คาสอนหรือพระโอวาทมีวิธีการนาเสนอโดยใชค้ วามเรียงร้อยแกว้ และยกขอ้ ความ ข้ึนมาช้ีใหเ้ ห็นเหตุและผลของการไม่ต้งั อยใู่ นศีลในธรรมของผปู้ กครองและผอู้ ยใู่ ตป้ กครอง ๒) ส่วนประกอบของเนื้อหา เน้ือหาของบทความมีความน่าเชื่อถือเพราะเป็ นพระโอวาทของ สมเด็จพระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (ม.ร.ว.ชื่น นพวงศ)์ เน่ืองจากพระองคเ์ ป็นผปู้ ฏิบตั ิดีปฏิบตั ิ ชอบพระโอวาทน้ีมีเน้ือหาเกี่ยวกบั วา่ หากผปู้ กครองและผอู้ ยใู่ ตป้ กครองไม่ต้งั มนั่ อยใู่ นศีลในธรรม เป็นคน ไม่ดีจะทาใหบ้ า้ นเมืองเดือดร้อน ดงั น้นั ท้งั ผปู้ กครองและผอู้ ยใู่ ตป้ กครองจาเป็นตอ้ งอยใู่ นศีลในธรรมจะทา ให้บา้ นเมืองมีความสงบสุขปราศจากโจรผูร้ ้ายและทุจริตท้งั ปวง เพราะศีลคือ หลกั ธรรมสาหรับการใชช้ ีวิต อยรู่ ่วมกนั ในสงั คม ๓) รูปแบบของภาษาท่ีใช้ คาสอนที่ยกมาเป็ นตวั อยา่ งน้ีใชภ้ าษาที่เขา้ ใจไดง้ ่าย หากทาความ เขา้ ใจจะสามารถนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตได้ ๔) คุณค่าของงานเขียน พระโอวาทน้ีนกั เรียนสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวนั ได้ คือ ถา้ เราทุกคนต้งั มน่ั อยใู่ นศีล บา้ นเมืองกจ็ ะมีแต่ความสงบสุข ปราศจากความทุจริตท้งั หลาย

๒หน่วยการเรียนรู้ท่ี การอ่านในชีวติ ประจาวนั ๑ การอ่านเพ่ือสังเคราะห์ความรู้ การอ่านเพ่ือสังเคราะห์ความรู้ หมายถึง การอ่านท่ีผูอ้ ่านตอ้ งรวบรวมสารจากการ อ่านมาเรียบเรียงเป็ นความคิดและเกิดความเข้าใจเร่ืองราวท่ีอ่านตรงกบั เร่ืองราวท่ีผูเ้ ขียน ต้องการสื่อผูอ้ ่านสามารถนาความรู้ ความคิด หรือสาระจากเรื่องราวท่ีอ่านไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ได้

๑.๑ ความสาคญั ของการอ่านเพื่อสังเคราะห์ความรู้ ๑) เป็นเครื่องมือสาหรับการแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะผทู้ ี่อยใู่ นวยั ศึกษาเลา่ เรียน จาเป็นตอ้ งอ่านหนงั สือเพือ่ การศึกษาหาความรู้ดา้ นต่างๆ ๒) เป็นเคร่ืองมือช่วยให้ประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพ เพราะสามารถนา ความรู้ที่ไดจ้ ากการอา่ นไปพฒั นางานของตนได้ ๓) เป็นเครื่องมือสืบทอดทางวฒั นธรรมของคนรุ่นต่อๆ ไป การอ่านช่วยส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ ๔) เป็นวิธีการส่งเสริมให้คนมคี วามคิดอ่านและฉลาดรอบรู้ เพราะประสบการณ์ท่ีไดจ้ าก การอา่ นเม่ือเกบ็ สะสม กจ็ ะทาใหเ้ กิดความคิด เกิดสติปัญญา เป็นคนฉลาดรอบรู้ได้

๑.๑ ความสาคญั ของการอ่านเพ่ือสังเคราะห์ความรู้ (ต่อ) ๕) เป็นกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดความเพลิดเพลินบันเทิงใจ เป็นวิธีหน่ึงในการแสวงหา ความสุขใหก้ บั ตนเอง และไดป้ ระโยชนค์ ุม้ ค่า ๖) เป็นการพฒั นาคุณภาพชีวิต ทาใหเ้ ป็นคนที่สมบูรณ์ท้งั ดา้ นจิตใจและบุคลิกภาพ เพราะ เมื่ออา่ นมากยอ่ มรู้มากช่วยส่งเสริมใหเ้ กิดวจิ ารณญาณในการรับสาร สามารถนาความรู้ไปใชใ้ นการ ดารงชีวิตไดอ้ ยา่ งมีความสุข ๗) เป็นวิธีการหน่ึงในการพฒั นาระบบการส่ือสาร และการใชเ้ คร่ืองมือทาง อิเลก็ ทรอนิกส์ต่างๆ ช่วยใหส้ ามารถติดตามความเคล่ือนไหวและความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของสังคม โลก ๘) เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนา ท้งั ในดา้ นระบบการเมือง การปกครอง ศาสนา ประวตั ิศาสตร์ และสงั คม ๙) ผ้ทู ี่อ่านหนังสือสามารถสร้างความคิดและจินตนาการได้เอง ในขณะท่ีสื่อประเภทอ่ืน จะจากดั ความคิดของผอู้ ่านมากกวา่

๑.๒ แนวทางการอ่านเพื่อสังเคราะห์ความรู้ การอ่านเพื่อสังเคราะห์ความรู้เป็ นกระบวนการทาความเขา้ ใจสาร ความหมายท่ีผูเ้ ขียน ตอ้ งการส่ือ โดยท่ีผูอ้ ่านจะตอ้ งใชค้ วามรู้ ความคิด และจินตนาการของตนเอง ท้งั น้ีผูอ้ ่านตอ้ งเลือก ขอ้ มูลที่จาเป็นสาหรับประเดน็ ท่ีตอ้ งการสังเคราะห์ การอ่านเพ่ือสังเคราะห์ความรู้จึงควรใชแ้ นวทาง ในการอา่ น ดงั น้ี ๑) พจิ ารณาแหลง่ ขอ้ มูล ๒) จบั ใจความสาคญั ของเร่ือง ๓) พิจารณารายละเอียดท่ีอาจเป็นประโยชน์ ๔) วเิ คราะห์ขอ้ เทจ็ จริง ๕) วิเคราะห์ความคิดเห็นของผเู้ ขียน ๖) พจิ ารณาความน่าเช่ือถือของสาร ๗) วเิ คราะห์กลวธิ ีการนาเสนอ ๘) วิเคราะห์การใชภ้ าษา

๒ การสังเคราะห์ความรู้จากสื่อ ๒.๑ ส่ือสิ่งพมิ พ์ พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดใ้ หค้ วามหมายคาท่ี เกี่ยวกบั “ส่ือส่ิงพมิ พ”์ ไวว้ า่ “ส่ิงพมิ พ์ หมายถึง สมุด แผน่ กระดาษ หรือวตั ถุใดๆ ท่ีพิมพ์ ข้ึน รวมตลอดท้งั บทเพลง แผนท่ี แผนผงั แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผน่ เสียง หรือสิ่งอ่ืนใดอนั มีลกั ษณะเช่นเดียวกนั ” ส่ือ หมายถึง ทาการติดต่อใหถ้ ึงกนั ชกั นาใหร้ ู้จกั กนั พมิ พ์ หมายถึง การใชเ้ คร่ืองจกั รกดตวั หนงั สือหรือภาพใหต้ ิดบนวตั ถุ เช่น แผน่ กระดาษ ผา้ ทาใหเ้ ป็นตวั หนงั สือหรือรูปรอยอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง โดยการกดหรือการใชพ้ ิมพห์ ิน เคร่ืองกลวธิ ีเคมี หรือวธิ ีอ่ืนใด อนั อาจใหเ้ กิดเป็นส่ิงพิมพข์ ้ึนหลายสาเนา

๑) ประเภทของส่ือสิ่งพมิ พ์ ในที่น้ีจะกล่าวถึงส่ือส่ิงพมิ พท์ ี่พบไดใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดแ้ ก่ สื่อสิ่งพมิ พป์ ระเภท หนงั สือและส่ือส่ิงพมิ พเ์ ผยแพร่ข่าวสาร ๑.๑) ส่ือส่ิงพมิ พ์ประเภทหนังสือ (๑) หนังสือสารคดี ตารา แบบเรียน เป็นส่ือสิ่งพมิ พท์ ่ีแสดงเน้ือหาวิชาการใน ศาสตร์ความรู้ต่างๆ เพ่ือสื่อใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจความหมายดว้ ยความรู้ท่ีเป็นจริง จึงเป็นส่ือ สิ่งพิมพท์ ี่เนน้ ความรู้อยา่ งถูกตอ้ ง (๒) หนังสือบนั เทิงคดี เป็นส่ือสิ่งพมิ พท์ ่ีผลิตข้ึนโดยใชเ้ ร่ืองราวสมมติ เพอื่ ให้ ผอู้ ่านไดร้ ับความเพลิดเพลิน สนุกสนานถา้ มีขนาดเลก็ เรียกวา่ หนงั สือฉบบั กระเป๋ า (Pocket Book)

๑) ประเภทของส่ือสิ่งพมิ พ์ ในที่น้ีจะกล่าวถึงส่ือส่ิงพมิ พท์ ี่พบไดใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดแ้ ก่ สื่อสิ่งพมิ พป์ ระเภท หนงั สือและส่ือส่ิงพมิ พเ์ ผยแพร่ข่าวสาร ๑.๑) ส่ือส่ิงพมิ พ์ประเภทหนังสือ (๑) หนังสือสารคดี ตารา แบบเรียน เป็นส่ือสิ่งพมิ พท์ ่ีแสดงเน้ือหาวิชาการใน ศาสตร์ความรู้ต่างๆ เพ่ือสื่อใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจความหมายดว้ ยความรู้ท่ีเป็นจริง จึงเป็นส่ือ สิ่งพิมพท์ ี่เนน้ ความรู้อยา่ งถูกตอ้ ง (๒) หนังสือบนั เทิงคดี เป็นส่ือสิ่งพมิ พท์ ่ีผลิตข้ึนโดยใชเ้ ร่ืองราวสมมติ เพอื่ ให้ ผอู้ ่านไดร้ ับความเพลิดเพลิน สนุกสนานถา้ มีขนาดเลก็ เรียกวา่ หนงั สือฉบบั กระเป๋ า (Pocket Book)

๑.๒) ส่ือสิ่งพมิ พ์เพ่ือเผยแพร่ข่าวสาร (๑) หนังสือพิมพ์ เป็นสื่อส่ิงพมิ พท์ ่ีผลิตข้ึนโดยนาเสนอเร่ืองราวข่าวสาร ภาพ และความคิดเห็น ในลกั ษณะของแผน่ พิมพแ์ ผน่ ใหญ่ท่ีใชว้ ิธีการพบั รวมกนั สื่อสิ่งพิมพ์ ชนิดน้ีไดพ้ มิ พอ์ อกเผยแพร่ท้งั ลกั ษณะหนงั สือพิมพร์ ายวนั รายสัปดาห์และรายเดือน (๒) วารสารนิตยสาร เป็นส่ือสิ่งพิมพท์ ี่ผลิตข้ึน โดยนาเสนอสาระ ข่าวและ ความบนั เทิง ที่มีรูปแบบการนาเสนอที่โดดเด่นสะดุดตา และสร้างความสนใจใหก้ บั ผอู้ า่ น กาหนดระยะเวลาการออกเผยแพร่ท่ีแน่นอน ท้งั ลกั ษณะวารสาร นิตยสารรายปักษ์ (๑๕ วนั ) และรายเดือน (๓) จุลสาร เป็นสื่อสิ่งพิมพท์ ี่ผลิตข้ึนแบบไม่มุ่งหวงั ผลกาไร เป็นแบบใหเ้ ปล่า โดยใหผ้ อู้ ่านไดศ้ ึกษาหาความรู้ มีกาหนดการออกเผยแพร่เป็นคร้ังๆ หรือลาดบั ต่างๆ ใน วาระพเิ ศษ (๔) ส่ิงพิมพ์โฆษณา ๑. โบรชวั ร์ ๒. ใบปลิว ๓. แผน่ พบั ๔. ใบปิ ด

๒) แนวทางการอ่านสื่อสิ่งพมิ พ์ สื่อส่ิงพิมพห์ ลายประเภท ท้งั ตารา วิชาการ วารสาร นิตยสาร หนงั สือพิมพ์ นวนิยาย เร่ืองส้นั สารคดี ผอู้ า่ นจึงจาเป็นที่จะตอ้ งรู้วธิ ีการเลือกอา่ นส่ือส่ิงพิมพ์ เพื่อจะไดอ้ ่านสื่อส่ิงพมิ พท์ ่ี เหมาะกบั ความตอ้ งการของตนเอง เหมาะกบั เวลาและโอกาส ผอู้ า่ นควรพจิ ารณาคุณค่าของส่ือแต่ ละประเภท ดงั น้ี ๒.๑) การอ่านตาราวชิ าการ (๑) พิจารณาด้านเนือ้ หา (๒) พิจารณาข้อมลู และภาพประกอบ (๓) การใช้ภาษา

๒.๒) การอ่านสารคดี (๑) พิจารณาด้านเนือ้ หาสาระ (๒) พิจารณาวิธีการเขยี น ๑. การวางโครงเรื่องและการดาเนินเรื่อง ๒. เร้าความสนใจ ๓. สานวนภาษา ๔. ส่วนประกอบอ่ืนๆ เช่น ผแู้ ต่ง รูปเล่มของหนงั สือ

๒.๓) การอ่านบนั เทงิ คดี บนั เทิงคดีเป็ นสื่อสิ่งพิมพท์ ่ีแต่งข้ึน เพ่ือมุ่งให้ผูอ้ ่านเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน อาจจะแทรกขอ้ คิดหรือคติสอนใจไวด้ ว้ ยเพอ่ื เป็นการพฒั นาอารมณ์และความรู้สึก หนงั สือประเภทน้ี ไดแ้ ก่ นวนิยาย เร่ืองส้ัน วรรณคดี บทร้อยกรอง บทละครซ่ึงสามารถแต่งเป็นร้อยแกว้ หรือร้อยกรอง กไ็ ดต้ ามความเหมาะสม ในการพิจารณาเร่ืองบนั เทิงคดีควรพจิ ารณาในดา้ นต่างๆ ดงั น้ี (๑) โครงเร่ืองและเนือ้ เร่ือง (๒) การดาเนินเร่ือง (๓) ตัวละคร (๔) แนวคิดของเร่ือง (๕) สานวนภาษา

๒.๔) การอ่านวารสารและหนังสือพมิ พ์ ในการพิจารณาอ่านสื่อสิ่งพมิ พ์ ประเภทน้ีควรพิจารณา ดงั น้ี (๑) หนังสือพิมพ์ (๒) บทวิจารณ์ ในหนงั สือพิมพร์ ายวนั ทุกฉบบั จะมีบทวิจารณ์ หรือบทวเิ คราะห์ข่าว (๓) วารสาร

๒.๒ สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic media) หมายถึง สื่อท่ีบนั ทึกสารสนเทศ ดว้ ยวิธีการทางอิเลก็ ทรอนิกส์ อาจอยใู่ นรูปของสื่อบนั ทึกขอ้ มูลประเภทสารแม่เหล็ก เช่น แผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อนและสื่อประเภทจานแสง บนั ทึกอกั ขระแบบดิจิทลั ไม่สามารถอ่านไดด้ ว้ ยตาเปล่า ตอ้ งใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์บนั ทึกและอ่านขอ้ มูล ส่ือ หมายถึง ทาการติดต่อใหถ้ ึงกนั ชกั นาใหร้ ู้จกั กนั พมิ พ์ หมายถึง การใชเ้ คร่ืองจกั รกดตวั หนงั สือหรือภาพใหต้ ิดบนวตั ถุ เช่น แผน่ กระดาษผา้ ทาให้ เป็นตวั หนงั สือหรือรูปรอยอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง โดยการกดหรือการใชพ้ ิมพห์ ิน เคร่ืองกลวธิ ีเคมี หรือวธิ ีอ่ืนใด อนั อาจใหเ้ กิดเป็นส่ิงพมิ พข์ ้ึนหลายสาเนา

ในยคุ แห่งการส่ือสารไร้พรมแดน ข่าวสารขอ้ มูลต่างๆ สามารถสื่อถึงกนั อยา่ งรวดเร็ว ซ่ึงมนุษยเ์ ป็นส่วนหน่ึงของสังคมจึงจาเป็ นตอ้ งเป็ นผทู้ นั ต่อ ผอู้ ่านสามารถเลือกอ่านสารสนเทศได้ ตามความพึงพอใจ แต่ควรจะใชว้ จิ ารณญาณพิจารณาความเหมาะสมเพ่ือการสังเคราะห์ความรู้จาก การอ่าน ดงั น้ี ๑. การอา่ นสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ ควรตรวจสอบความน่าเชื่อถือ เม่ือจะนาไปอา้ งอิงกต็ อ้ ง ตรวจสอบความน่าเช่ือถือของขอ้ มลู โดยเปรียบเทียบจากสื่อประเภทตา่ งๆ ประกอบกนั ๒. การอา่ นสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ควรตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ขอ้ มูลที่ดีตอ้ งมีความ ถูกตอ้ งและครบถว้ น จาเป็นอยา่ งยง่ิ ท่ีจะตอ้ งอา้ งอิงขอ้ มลู มากกวา่ หน่ึงแหล่ง ๓. การอา่ นสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ควรคานึงถึงความทนั สมยั เป็นปัจจุบนั โดยเฉพาะขอ้ มลู ทางดา้ นการแพทย์ วทิ ยาศาสตร์ ธุรกิจ และเทคโนโลยี ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา ๔. การลาดบั ขอ้ ความที่จะนามาสนบั สนุนความคิดหลกั ขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ คิดเหน็ ความรู้สึก อารมณ์ และเจตนาของผเู้ ขียน ๕. ควรมีตวั อยา่ ง หรือขอ้ มูลอ่ืน ท่ีจะทาใหเ้ รื่องมีน้าหนกั เป็นท่ีน่าเช่ือถือ

๓ การเขียนกรอบแนวคดิ จากการอ่าน ๓.๑ ความหมายและความสาคญั ของการเขยี นกรอบแนวคดิ การเขียนกรอบแนวคิดจากการอา่ น หมายถึง การเชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ของขอ้ มูล ท้งั หมดท่ีเป็นองคป์ ระกอบของสิ่งใดส่ิงหน่ึง เรื่องใดเรื่องหน่ึงไดอ้ ยา่ งชดั เจน โดยมีการจดั ระบบ จดั ลาดบั ความสาคญั ของขอ้ มูลเพื่อสร้างความคิดรวบยอดของส่ิงน้นั ๆ การเขียนกรอบแนวคิดจากการอ่านมีประโยชน์ต่อการศึกษาหาความรู้ เพราะทาให้ เห็นความสาคญั ระหว่างทุกส่วนของความคิดรวบยอดหลกั และความคิดรวบยอดรองลงไป หรือ ความสาคัญของเน้ือเร่ืองที่มีการโยงความสาคัญเข้าดว้ ยกันทาง่ายต่อการทาความเข้าใจใน การศึกษาและเพ่ิมความเขา้ ใจในการเรียนรู้ เป็ นเคร่ืองมือในการจดบนั ทึกความรู้ท่ีไดจ้ ากการ อ่านและฟัง

๓.๒ องค์ประกอบของการคดิ การเขียนกรอบแนวคิดจากการอ่านไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ผเู้ ขียนจะตอ้ งมี กระบวนการคิดท่ีมีประสิทธิภาพ ซ่ึงองคป์ ระกอบของกระบวนการคิด มีดงั น้ี ๑) ส่ิงเร้า เป็นส่ือหรือองคป์ ระกอบแรกท่ีเป็นส่ิงกระตุน้ ใหบ้ ุคคลเกิดการรับรู้ ๒) การรับรู้ บุคคลสามารถรับรู้ไดโ้ ดยผา่ นประสาทสมั ผสั ท้งั ๕ โดยท่ีคุณภาพของ การรับรู้เกิดจากคุณภาพของสิ่งเร้า ๓) จดุ มุ่งหมาย ผคู้ ิดจะตอ้ งมีจุดมงุ่ หมายในการคิดแต่ละคร้ัง เช่น คิดเพื่อแกป้ ัญหาคิดเพื่อ ตดั สินใจ คิดเพอ่ื สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ ๔) วธิ ีคดิ การคิดในแตล่ ะคร้ัง ผคู้ ิดควรเลือกใชว้ ธิ ีการคิดใหต้ รงกบั จุดม่งุ หมาย ๕) ข้อมูล การคิดในแตล่ ะคร้ังผคู้ ิดควรมีขอ้ มลู ประกอบเพื่อใหไ้ ดค้ วามคิดท่ีถกู ตอ้ งและ ตรงกบั ความเป็นจริงที่สุด ๖) ผลของการคดิ หมายถึง คาตอบหรือทางออกของปัญหา ซ่ึงผลของการคิดจะ เป็นประโยชนต์ ่อตวั ผคู้ ิดหรือสังคมโดยรวม

๓.๓ กระบวนการเขยี นกรอบแนวคดิ จากการอ่าน การเขียนกรอบแนวคิดเป็นทกั ษะที่ตอ้ งเอาใจใส่และฝึกฝนอยา่ งจริงจงั เพื่อใหเ้ กิด ความรู้ความชานาญ การเขียนกรอบแนวคิดหรือผงั ความคิดน้นั มีความสัมพนั ธ์กนั เนื่องจาก การเขียนงานเขียนทุกประเภทตอ้ งใชค้ วามคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ กลน่ั กรอง เรียบเรียงใหด้ ี เสียก่อนแลว้ จึงลงมือเขียน ซ่ึงจะทาใหก้ ารเขียนน้นั ๆ สาเร็จลงดว้ ยดี ๑) ข้นั ระดมความคดิ หรือการระดมสมอง คือกระบวนการท่ีกระตุน้ ใหบ้ ุคคลหรือกล่มุ บุคคลคิดหา “ความคิด” หรือ “คาตอบ” ของหวั ขอ้ หรือปัญหาหน่ึง ๒) ข้นั จดั ระเบยี บความคดิ เม่ือระดมความคิดท่ีไดร้ ับจากการอ่านส่ือประเภทต่างๆ ได้ แลว้ ข้นั ตอนต่อมาคือ การจดั ระเบียบหมวดหมู่ของความคิด ๓) ข้นั ลาดบั ความคดิ เม่ือผศู้ ึกษาจดั ระเบียบความคิดเป็นหมวดหมู่แลว้ เม่ือจะ นาเสนอความคิดน้นั ออกไปในรูปแบบของกรอบแนวคิด

๓.๔ ตวั อย่างการสังเคราะห์ความรู้จากการอ่านโดยใช้กรอบแนวคดิ ปัจจุบนั อินเทอร์เน็ตไดเ้ ขา้ มามีบทบาทในชีวิตประจาวนั มากข้ึน เราสามารถรับและ ส่งขอ้ มูลข่าวสารต่างๆ ไดม้ ากมายจากเครือข่ายน้ีและยงั สามารถไดร้ ับประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต อีกดว้ ย แต่การใชอ้ ินเทอร์เน็ตไม่ไดม้ ีประโยชน์เสมอไป อินเทอร์เน็ตมีโทษมากมายมหาศาลโทษ ของอินเทอร์เน็ตมกั มาควบคู่กบั วยั รุ่น เพราะวยั รุ่นสมยั น้ีส่วนใหญ่มกั ใชอ้ ินเทอร์เน็ตไปในทางท่ี ผดิ คือ ใชอ้ ินเทอร์เน็ตเพื่อทาให้ตนเองมีความสุข ถา้ วยั รุ่นใชไ้ ปในทางที่ถูกก็เป็ นผลดีต่อตนเอง แต่ถา้ ใชไ้ ปในทางที่ผดิ กม็ ีผลเสียต่อตนเอง….. จากบทความ สามารถสังเคราะห์ความรู้ได้ โดยใชก้ รอบแนวคิดเพื่อจาแนกความรู้ที่ ไดร้ ับจากการอ่านและรวมถึงแนวทางปฏิบตั ิเพ่ือนามาพฒั นาตนเองเก่ียวกบั การใชอ้ ินเทอร์เน็ต กล่าวคือเม่ือมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ประโยชน์ โทษ และปัจจยั ตา่ งๆ ที่มีส่วนผลกั ดนั ใหว้ ยั รุ่น ไทยใชอ้ ินเทอร์เน็ตโดยต้งั อยบู่ นความเส่ียงหรือการถูกล่อลวงจากอาชญากรคอมพิวเตอร์ ก็จะทา ให้มองเห็นแนวทางในการร่วมมือกนั แกไ้ ขปัญหาจากทุกๆ ฝ่ ายที่เกี่ยวขอ้ ง ปกป้องตนเองจาก อนั ตรายตา่ งๆ ท่ีอาจข้ึนไดจ้ ากการใชอ้ ินเทอร์เน็ต

กลวธิ ีการนาเสนอขอ้ มูลที่ง่ายต่อการทาความเขา้ ใจ ซ่ึงความรู้ที่สามารถ สงั เคราะห์ไดจ้ ากบทความดงั กล่าว สามารถแสดงในรูปแบบของกรอบแนวคิดโดย ปฏิบตั ิตามข้นั ตอน ดงั น้ี ข้ันระดมความคดิ เมื่ออา่ นบทความดงั กล่าว อาจช่วยกนั ระดมความคิด โดยการมอง ปัญหาอยา่ งรอบดา้ นโดยใชข้ อ้ มลู ความรู้ท่ีไดร้ ับจากการอ่านผนวกกบั ประสบการณ์ส่วนตน ข้ันจดั ระเบียบความคดิ เมื่อไดค้ วามคิดที่หลากหลาย จึงนาความคิดเหล่าน้นั มาจดั ระเบียบตามแนวทางที่กาหนด คือ การมองหาลกั ษณะร่วมกนั ของความคิดต่างๆ ข้ันลาดบั ความคดิ เม่ือจดั ระเบียบความคิดเป็นหมวดหมแู่ ลว้ จึงนาเสนอในรูปแบบของ กรอบแนวคิด โดยลาดบั ความคิดก่อนหลงั แตกประเดน็ ความคิดหลกั ความคิดรองและความคิดยอ่ ย ซ่ึงอาจนาเสนอการแตกประเดน็ เกี่ยวกบั “การใชอ้ ินเทอร์เน็ต”

ตอนที่ ๒ การเขียน ๑. การเขียนเพื่อการสื่อสาร ๒. การการเขียนบันเทงิ คดี ๓. การประเมนิ คุณค่างานเขยี น

๑หน่วยการเรียนรู้ที่ การเขยี นเพื่อการส่ือสาร ๑ การใช้โวหาร การเขยี น คือการเรียบเรียงเรื่องราว ความรู้ ประสบการณ์ ขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ คิดเห็นของ ผเู้ ขียนให้อยใู่ นรูปแบบลายลกั ษณ์อกั ษร เพ่ือถา่ ยทอดและนาเสนอเรื่องราวต่างๆ สู่ผอู้ า่ น

๑.๑ การเขยี นบรรยายโวหาร บรรยายโวหาร หมายถึง โวหารที่ใช้เล่าเรื่ อง หรืออธิบายเรื่องราวต่างๆ อย่าง ตรงไปตรงมาและชัดเจนสาหรับการใช้ภาษาในการนาเสนอจะไม่นาความรู้สึกส่วนตวั หรือ น้าเสียงของผเู้ ขียนเขา้ ไปเกี่ยวขอ้ งหรืออาจกลา่ วไดว้ า่ มีลกั ษณะคลา้ ยกลอ้ งบนั ทึกภาพท่ีบนั ทึกผ่าน ภาษาตามความเป็ นจริ ง ๑) แนวทางการเขยี นบรรยาย ๒) ตวั อย่างการเขยี นบรรยาย

๑) แนวทางการเขยี นบรรยาย หลกั สาคญั ของการเขียนบรรยาย คือ การนาเสนอสาระอยา่ งตรงไปตรงมา ดงั น้นั จึงควรนาเสนอแต่ประเด็นสาคญั ให้ชดั เจนโดยไม่ตอ้ งอธิบายรายละเอียด เช่น การนาเสนอ เฉพาะเหตุการณ์ สถานที่ วตั ถุส่ิงของ ผูเ้ กี่ยวขอ้ งตามความจริงของแต่ละช่วงเวลาซ่ึงอาจ กาหนดเป็นแนวทางได้ ดงั น้ี ๑. เรื่องที่จะเขียนควรมีความชดั เจน แสดงขอ้ เทจ็ จริงอยา่ งถกู ตอ้ ง มีความใกลเ้ คียง กบั ความเป็นจริงมากที่สุด ๒. วธิ ีเขียนตอ้ งรวบรัด เขียนเฉพาะสาระสาคญั อยา่ งตรงไปตรงมา โดยมีวธิ ีการ จดั ลาดบั ความคิดอยา่ งต่อเน่ือง ๓. ใชภ้ าษาท่ีเขา้ ใจง่าย ใชค้ านอ้ ยแตก่ ินความมาก และเร้าความสนใจของผอู้ ่าน ใหต้ ิดตามอา่ นเร่ืองราวต้งั แตต่ น้ จนจบ

๒) ตัวอย่างการเขยี นบรรยาย “สวสั ดีบรัดเล่ย”์ เขาพูดเอง “สวสั ดีทุกคน” แลว้ เขาก็ตอบเอง เขาพูดกบั ตุ๊กตาสัตวท์ ้งั หลายท่ีมีอยปู่ ระมาณยสี่ ิบตวั มีสิงโตทองเหลืองท่ีเขาเก็บไดใ้ นถงั ขยะ ระหว่างเดินทางไปโรงเรียน ลาทาจากงาชา้ งท่ีพ่อแม่ของเขาซ้ือมาฝากจากเม็กซิโก นกเคา้ แมวสองตวั ที่เคยใชใ้ ส่เกลือกบั พริกไทย ยนู ิคอร์นเขาหกั ทาดว้ ยแกว้ ครอบครัว สุนขั พนั ธุ์คอ็ กเกอร์สเปเนียลซ่ึงเกาะอยรู่ อบๆที่เข่ียบุหร่ี แลว้ ก็มีแร็คคูน สุนขั จิ้งจอก ชา้ ง จิงโจ้ และเศษของเล่นหกั ๆ ท่ีดูไม่ออกวา่ เป็นอะไรแต่ทุกตวั เป็นเพ่อื นกนั และทุก ตวั ชอบบรัดเล่ยด์ ว้ ย (บรัดเล่ย์ เดก็ เกเรหลงั ห้องเรียน : ฤทยั รัตน์ จันทร์เพญ็ [แปล] )

๑.๒ การเขยี นพรรณนาโวหาร พรรณนาโวหาร หมายถึง โวหารที่มุ่งใหค้ วามแจ่มแจง้ ละเอียดลออ เพื่อใหผ้ ูอ้ ่าน เกิดอารมณ์ซาบซ้ึงเพลิดเพลินไปกบั ขอ้ ความน้นั โดยการใชก้ ารเล่นคา เล่นเสียง ใชภ้ าพพจน์ เพ่ือสื่ออารมณ์ให้ผูอ้ ่านเกิดความรู้สึกซาบซ้ึง เกิดอารมณ์คลอ้ ยตาม และเกิดจินตภาพในใจ ของผูอ้ ่านโดยหัวใจสาคญั คือการเลือกใช้ถอ้ ยคาที่สามารถก่อให้เกิดจินตภาพในลกั ษณะใด ลกั ษณะหน่ึง เช่น รูปร่าง ลกั ษณะ เสียง กลิ่น รส และสมั ผสั ทางกาย เป็นตน้ ๑) แนวทางการเขยี นพรรณนา ๒) ตัวอย่างการเขยี นพรรณนา

๑) แนวทางการเขยี นพรรณนา การเขียนพรรณนาท่ีดีตอ้ งใชภ้ าษาท่ีทาใหผ้ อู้ ่านเห็นภาพ ไดร้ ับความ ซาบซ้ึงประทบั ใจ สะเทือนอารมณ์ เกิดอารมณ์ความรู้สึกคลอ้ ยตามผเู้ ขียนซ่ึงอาจ กาหนดแนวทางได้ ดงั น้ี ๑. เรื่องที่จะเขียนอาจไมเ่ คร่งครัดในเร่ืองของขอ้ เทจ็ จริง แตต่ อ้ งมีความสมจริง ๒. ผเู้ ขียนใชว้ ธิ ีสร้างภาพใหผ้ อู้ ่านมองเห็นและเกิดอารมณ์ความรู้สึกคลอ้ ยตาม ๓. ผเู้ ขียนตอ้ งเลือกถอ้ ยคาที่สามารถสื่อความหมาย ส่ือภาพ สื่ออารมณ์ไดอ้ ยา่ ง ชดั เจน มีความเหมาะสมกบั เร่ืองราว

๒) ตวั อย่างการเขยี นพรรณนา ...อธิษฐานดงั น้ีแลว้ จึงรับสรณคมน์ต่อพระอุปัชฌาย์ ขณะน้นั แผน่ ดินไหว ทว่ั ทุกทิศเมืองสุโขทยั คร้ันผนวชแลว้ เสด็จลงจากพระมหาสุวรรณเหมปราสาททรง ไมเ้ ทา้ จรดจรดลดว้ ยพระบาทเสด็จพระราชดาเนินไปป่ ามะม่วง ขณะประดิษฐานฝ่ า พระบาทลงยงั พ้ืนธรณี ปฐพกี ห็ วนั่ ไหวใหญ่ยงิ่ ทว่ั ทิศทินสาธเขา้ พรรษาวนั น้นั จึงออก เสวยพระโชรส ขณะน้นั ไม่ควรเลยสรรพไม่เสบยเสพยน์ านา อากาศดาษสุริยาเมฆา จนั ทรปราบตก์ บั ดาราฤกษท์ ้งั ปวงยง่ิ กวา่ ทุกวนั ดว้ ยฉะน้ี... (ศิลาจารึกวดั ป่ ามะม่วง พ.ศ. ๑๘๙๐ : สมเดจ็ ฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ [แปล] )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook