Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักเกณฑ์ GAP ปาล์มน้ำมัน

หลักเกณฑ์ GAP ปาล์มน้ำมัน

Published by ACE, 2021-09-15 04:14:13

Description: หลักเกณฑ์ GAP ปาล์มน้ำมัน

Search

Read the Text Version

การตรวจรับรองตามมาตรฐานการปฏบิ ัติ ทางการเกษตรทด่ี ี GAP พชื (ปาล์มนํา้ มนั ) นายชวิศร สวสั ดิสาร สาํ นักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 7 กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

หัวข้อบรรยาย 1 นิยาม มาตรฐานสินคา เกษตร GAP พชื 2 หลักเกณฑ เงอื่ นไข กระบวนการรบั รองแหลง ผลติ GAP พืช 3 รายการตรวจประเมนิ และขอกาํ หนดตาม มาตรฐานสินคาเกษตร GAP พืช 2

1.นิยาม มาตรฐานสินค้าเกษตร GAP พชื

ปัญหามาตรการสุขอนามยั และสุขอนามยั พชื (SPS) ถูกนํามาใช้เป็ นข้อกดี กนั ทางการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ “นโยบายครวั ไทยสูค่ รวั โลก ปี 2555” สินคา้ เกษตรและอาหารตอ้ งปลอดภยั และไดม้ าตรฐาน

การปฏิบตั ทิ างการเกษตรท่ีดี สาํ หรบั พืช (GAP พืช) วตั ถุประสงค์ :เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพมาตรฐานสินคา้ เกษตร ดา้ นพืชใหเ้ ทียบเทา่ มาตรฐานสากล เป็ นที่ยอมรบั

มาตรฐานสนิ คาเกษตร GAP สําหรับพชื อาหาร (มกษ.9001-2556) - ประกาศใช้เมอ่ื 20 เมษายน 2556 - ปรับปรุงจาก มกษ.9001-2552 - ใช้เอกสารต่อไปนีเ้ ป็ นแนวทาง

GAP คอื อะไร การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดใี นการผลิตพชื เพ่ือใหไดผลผลติ ท่ดี ี มคี ณุ ภาพ ไดม าตรฐาน ปลอดภยั ทั้งตอ ผผู ลติ และผูบรโิ ภค

นยิ าม GAP พืช การปฏิบตั ิเพอ่ื ปอ งกันหรือลดความเสย่ี ง ของอันตราย ท่ีเกิดขึ้นระหวางการเพาะปลกู การเกบ็ เก่ียว และการจัดการ หลงั การเกบ็ เกี่ยว เพื่อใหไ ดผ ลติ ผลทม่ี ีคุณภาพ ปลอดภัยและ เหมาะสมตอการบริโภค

มาตรฐาน GAP คํานึงถึง 4 ดา น - ความปลอดภัยอาหาร (Food Safety) - การจัดการสิ่งแวดลอม (Environmental management) - สุขภาพ ความปลอดภยั และสวสั ดิภาพของผูปฏบิ ตั งิ าน (Worker health, Safety and welfare) - คณุ ภาพของผลติ ผล (Produce Quality) 9

ความเส่ียง ?

1 การปลูกพชื ระบบ GAP ทาํ อย่างไร การเตรียมพืน้ ที่ การเตรยี มพนั ธุ การปลกู ผลผลติ มคี ุณภาพ ปลอดภยั การดูแลรักษา ไม่ทาํ ลายสภาพแวดล้อม การเกบ็ เกย่ี ว การขนสง การปฏบิ ัติหลงั การเก็บเกี่ยว การบนั ทึกการปฏบิ ัติงานทกุ ข้นั ตอน ตรวจสอบได สุขภาพผู้ผลติ ปลอดภยั เป็ นทตี่ ้องการตลาด/คู่ค้า

ขอบขายพืชทร่ี บั รอง พืชไร พชื สมุนไพร ไมด อก ไมประดับ ไมผล พชื ผกั จํานวน 188 ชนิดพชื ปาลมนํา้ มัน กลุม 36 ลาํ ดับที่ 162 รหสั พชื 155 Africa oil palm : Elaseis guineensis Jucq.

อายุการรับรอง -ไม้ยนื ต้น ไม้ผล รับรอง 3 ปี -พชื ล้มลกุ พชื ผกั พชื สมุนไพร ไม้ดอก ไม้ประดบั รับรอง 2 ปี ปาล์มนํา้ มนั อายุการรับรองกป่ี ี ?

ประโยชน์ของระบบ GAP พชื • ผลผลติ มคี ุณภาพ ปลอดภยั ไดมาตรฐาน เปนที่ตองการของตลาด • เกษตรกรมีสุขภาพดี ประหยดั คาใชจาย • ลดตน ทนุ การผลติ เพม่ิ ประสิทธภิ าพผลผลิต • ผบู รโิ ภคมนั่ ใจ เชื่อมั่นในสินคา • รกั ษาส่งิ แวดลอม เกดิ การเกษตรแบบยงั่ ยนื 14

2. หลักเกณฑ เงอ่ื นไข กระบวนการรบั รองแหลง ผลติ GAP พชื

GAP กรมวชิ าการเกษตร เป็ น GAP มกษ. เพ่อื ให้การรับรองมาตรฐานสนิ ค้า เกษตรของไทย เป็ นมาตรฐาน เดยี วกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 16

กระทรวงเกษตรและสหกรณไ ดประกาศเรอื่ ง กําหนดมาตรฐานสินคา เกษตร(มกษ.) : การปฏิบตั ิ ทางการเกษตรทีด่ ีสําหรับพืชอาหาร (GAP พืช อาหาร) ตามพระราชบญั ญัติมาตรฐานสนิ คาเกษตร พ.ศ. 2551 เลขที่ มกษ. 9001-2552 ไวเ ปน มาตรฐานท่ัวไป 17

ระเบียบกรมวชิ าการเกษตร ว่าด้วยการรับรองแหล่งผลติ พชื ตามมาตรฐาน ระบบการจดั การคุณภาพการปฏบิ ัตทิ างการเกษตรท่ดี ี สาํ หรับพชื พ.ศ.2555 ประกาศเม่ือวันท่ี 9 ตุลาคม 2555 ในหมวดท่ี 4 เก่ียวข้องกับการตรวจประเมนิ แหล่ง ผลติ พชื ให้คณะผู้ตรวจประเมนิ ดาํ เนินการตรวจประเมนิ ตามคู่มือมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร (มกษ.) 18

ผู้เกย่ี วข้องในระบบ หน่วยผลติ (เกษตรกร) ปฏิบัตติ ามคาํ แนะนํา หน่วยให้คาํ ปรึกษา (กรมส่ งเสริมการเกษตร) หน่วยตรวจรับรอง (กรมวชิ าการเกษตร)

หน่วยผลติ (เกษตรกร) 1. เกษตรกรต้องปฏบิ ตั ติ ามและหมนั่ ปรับปรุงฟาร์มและ กระบวนการผลติ ให้ครบตามระบบการจดั การคุณภาพ การปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรทดี่ สี ําหรับพชื 2. เกษตรกรต้องควบคุม ดูแล เอาใจใส่ตรวจสอบฟาร์ม และกระบวนการผลติ ให้อยู่ในระบบฯ 3.ระเบยี บปฏบิ ตั ทิ ้งั 8 ข้อกาํ หนด

หน่วยให้คาํ ปรึกษาเกษตรกร (กสก.) 1. ให้ความรู้เกษตรกรในพนื้ ทรี่ ับผดิ ชอบให้เข้าใจระบบ การจดั การคุณภาพการปฏบิ ัตทิ างการเกษตรทดี่ สี ําหรับพชื 2. เป็ นทปี่ รึกษาของเกษตรกร ในพนื้ ทร่ี ับผดิ ชอบ เพอื่ ให้มคี วามพร้อม และปฏบิ ัตไิ ด้ตามข้อกาํ หนด ของมาตรฐานสินค้าเกษตร GAP พชื

หน่วยตรวจรับรอง ผตู รวจประเมิน เจา หนาท่ี ผูใหก ารรบั รอง คณะกรรมการ ผอู อกใบรับรอง ผอ.สวพ.

(กรมส่งเสริมการเกษตร) ปรบั ปรงุ (กรมวิชาการเกษตร)

คุณสมบัตผิ ู้ยน่ื คาํ ขอ 1.เปน เจาของ/ผถู อื สทิ ธิครอบครองพน้ื ทีก่ ารผลติ / เปนผูไดร บั มอบหมายจากเจาของ หรือผูถือครองสิทธิใหด ําเนินการผลิตพืช 2.มชี ่ืออยใู นทะเบยี นราษฎร กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย 3.สมคั รใจขอรบั การรับรอง และยนิ ดีท่ีจะปฏบิ ตั ิตามหลักเกณฑ และเงอื่ นไขในการรบั รอง GAP พืช ทีก่ รมวิชาการเกษตรกําหนด 4.ไมเ ปน ผถู กู เพิกถอนการรบั รอง จากกรมวิชาการเกษตร/หนว ยรับรองใดๆ ท่ีมีมาตรฐานเทียบเทา ของกรมวชิ าการเกษตร เวน แตพ นระยะเวลา 1 ป นับจากวนั ทถ่ี กู เพกิ ถอนการรบั รองมาแลว

เอกสารประกอบคาํ ขอ 1.แบบคาํ ขอใบรบั รองแหลงผลติ GAP พชื (F-1) 2.หลักฐานบัตรประชาชน/ทะเบยี นบาน 3.หลกั ฐานการจดทะเบยี นนิตบิ ุคคล(กรณนี ติ ิบคุ คล) 4.หนังสอื มอบอาํ นาจพรอมสาํ เนาบตั รประชาชนผูมอบอาํ นาจ 5.สาํ เนาเอกสารสิทธกิ์ ารใชประโยชนท่ีดนิ

แบบคําขอใบรบั รอง แหล่งผลิต GAP พชื (F-1) 1. ชื่อและทีอ่ ยู่ เกษตรกรเจา้ ของฟารม์ 2. นติ ิบุคคลเจา้ ของฟารม์ 3. ทีต่ ้งั ฟารม์

4. ชนดิ และพนั ธุพ์ ชื ทีข่ อการรบั รอง 5. แผนทีต่ ้งั แปลง

เอกสารประกอบ คําขอ ลงชื่อเกษตรกร / นติ ิบุคคล สาํ หรบั เจา้ หนา้ ที่ กรมส่งเสริมการเกษตร

ผูต้ รวจสอบคําขอ สาํ หรบั เจา้ หนา้ ที่ กรมวิชาการเกษตร

เงอื่ นไขสาํ หรับผไู ดรับการรับรอง 1.ตอ งรกั ษาระบบการผลติ พชื ตามมาตรฐานสนิ คาเกษตร 2. อา งถงึ การรับรอง เฉพาะขอบขา ยทไี่ ดการรับรอง 3. ตองไมน ําใบรบั รอง/เครอื่ งหมายรับรองไปใช ทาํ ให เกิดความเขา ใจผิดตอ การรับรอง 4. เมอ่ื มีการลดขอบขาย พักใช เพกิ ถอน ยกเลกิ ใหยตุ ิการใชทนั ที

เงอ่ื นไขสําหรับผู้ได้รับการรับรอง 5. กรณีโอนกจิ การใหบุคคลอ่นื หรือเสียชวี ติ ใหถอื วา ใบรบั รองสนิ้ อายุ 6. หากประสงคจะยกเลกิ ใหย่ืนคาํ ขอยกเลกิ กบั หนว ยรับรอง 7. หากประสงคจะตออายใุ บรบั รอง ใหย ่นื คาํ ขอตออายุ กับหนว ยรบั รอง ลว งหนา ไมนอ ยกวา 120 วนั 8. หากไมย่นื ขอตอ อายุใบรับรองกอนวัน หมดอายุ จะตองยน่ื ขอการรบั รองใหม

การตรวจตดิ ตามผล และการต่ออายุการรับรอง 1. ตรวจตดิ ตามผลอยางนอ ยปล ะ 1 ครั้ง 2. ตรวจตอ อายุทุก 2 ป สําหรับพชื ลม ลกุ และ 3 ป สําหรับไมผล 3. กรณีไมย ่ืนคาํ ขอตอ อายุการรับรองภายในระยะเวลาทก่ี าํ หนด จะถือวาขาดอายกุ ารรบั รอง 4. การตรวจกรณีพิเศษ เชน เม่อื มกี ารแจง เตือน เมื่อมกี ารรองเรยี น

การลดขอบข่าย พกั ใช้ เพกิ ถอน 1. ลดขอบขาย เชน ไมส ามารถปฏิบัตติ ามระบบการ จดั การคณุ ภาพ GAP พชื ในบางชนดิ พืช 2. พกั ใช เชน ไมปฏิบัตติ ามหลักเกณฑแ ละเงื่อนไขที่ (กวก.) กําหนด ( 60-180 วัน ) 3. เพิกถอน เชน พบการใชว ัตถอุ นั ตรายชนิดท่ี 4 ไมแกไ ขขอบกพรองหลงั จากถูกพักใช

การยกเลกิ การรับรอง 1. เลกิ ประกอบกจิ การ 2. เปน บคุ คลลม ละลาย 3. เสยี ชวี ิต 4. โอนกจิ การใหบคุ คลอนื่ 5. แจง ขอยกเลิกเปนลายลกั ษณอักษร 6. มีการเปลย่ี นแปลงมาตรฐานทีไ่ ดก าร รบั รองและไมส ามารถปฏบิ ตั ิตามได

ใบรบั รองแหลงผลติ GAP พชื

การแสดงเคร่ืองหมายการรับรอง แสดงเครื่องหมาย GAP พชื เดมิ มากกว่า 15 มม. / 1.5 ซม. ใหม่ กษ 03-02-3936-0866-500 กษ 03-9001-36069486155 GAP ใช้เคร่ืองหมาย โดยไม่ผ่านการรับรองมโี ทษ ขนาดอกั ษร รหัสการรับรอง ความสูงไม่ตาํ่ กว่า 2 มม. ปรับ 300,000 หรือ จาํ คุก 3 ปี

3.รายการตรวจประเมนิ และขอ กําหนดตาม มาตรฐานสินคาเกษตร GAP พชื

รายการตรวจรบั รองแหลง ผลิต GAP พืช 8. บันทกึ ข้อมูลและการตามสอบ 7. สุขลกั ษณะส่วนบุคคล 6. การพกั ผลติ ผล การขนย้ายในแปลงปลูก และเกบ็ รักษา 5. การเกบ็ เกยี่ วและการปฏบิ ตั หิ ลงั การเกบ็ เกย่ี ว 4. การจดั การคุณภาพในกระบวนการผลติ ก่อนการเกบ็ เกย่ี ว 3. วตั ถุอนั ตรายทางการเกษตร 2. พนื้ ทปี่ ลูก 1.นํา้

สรุปข้อกาํ หนดตามมาตรฐาน GAP พชื อาหาร ที่ รายการ หลกั รอง แนะนํา รวม 1 นํา้ 5 2 7 14 2 พนื้ ทปี่ ลูก 4 4 3 11 3 วตั ถุอนั ทรายทางการเกษตร 5 8 8 21 4 การจดั การคุณภาพในกระบวนการผลติ ก่อนการเกบ็ เกย่ี ว 2 6 11 19 5 การเกบ็ เกยี่ วและการปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็ เกย่ี ว 3 6 5 14 6 การพกั ผลติ ผล การขนย้ายในแปลงปลูก และเกบ็ รักษา 0 5 4 9 7 สุขลกั ษณะส่วนบุคคล 13 4 8 8 บนั ทกึ ข้อมูลและการตามสอบ 3 7 10 20 23 41 52 116 รวม 39

ระดบั ข้อกาํ หนดของ GAP พชื อาหาร มกษ. 1. ข้อกาํ หนดหลัก (Major requirement) ข้อกาํ หนดท่ตี ้องปฏบิ ตั ิ หากบกพร่องจะส่งผลกระทบ ทางตรงหรือรุนแรงต่อพชื อาหาร ทาํ ให้ผลผลิตไม่ปลอดภยั 2. ข้อกาํ หนดรอง (Minor requirement) ข้อกาํ หนดท่คี วรปฏบิ ตั ิ หากบกพร่องจะส่งผลกระทบต่อ พชื อาหาร ทาํ ให้ผลิตผลมีความเส่ียงต่อความไม่ปลอดภยั 3. ข้อแนะนํา (recommendation) ข้อกาํ หนดท่แี นะนําให้ปฏบิ ตั ิ 40

เกณฑการตดั สนิ 1. ต้องผ่าน Major ทุกข้อ 2. ต้องผ่าน Minor 60% ของข้อกาํ หนดรองทงั้ หมด 3. ต่ออายุ ต้องแสดงให้เหน็ ว่ามีการพฒั นาอย่าง ต่อเน่ือง 41

นโยบายคณุ ภาพปาลม์ น้าํ มนั เราจะผลติ ปาลม นา้ํ มนั ท่มี คี ุณภาพและไดมาตรฐาน เปน ท่ีพึงพอใจของคคู า และผบู ริโภค

วัตถปุ ระสงคคุณภาพ 1.ผลิตปาลมนํา้ มันจากลกู ผสมชนิดเทเนอราพนั ธดุ ี ที่ผา นกระบวนการปรบั ปรงุ พนั ธุ 2.เก็บเกย่ี วทะลายปาลม นํา้ มนั ทสี่ กุ แกไดมาตรฐาน

แนวทาง วธิ ีการตรวจประเมนิ ? 1.แบบบนั ทึกการตรวจประเมนิ แหลงผลติ พืช การปฏบิ ัตทิ างการเกษตรทีด่ สี ําหรบั พืชอาหาร มกษ.9001-2556 2.มาตรฐานสนิ คาเกษตรการปฏบิ ตั ิทางการเกษตรทด่ี ี สาํ หรบั ปาลม นํา้ มัน มกษ. 5904-2553 3.มาตรฐานสินคา เกษตร ทะลายปาลมน้ํามัน มกษ.5702-2562

ดุลยพนิ ิจ สังเกต พนิ ิจ สัมภาษณ์

1. นํา้

สภาพแวดล้อม นํา้ ทใี่ ช้ในแปลงปลูก 1. แหล่งนํา้ ทใ่ี ช้ไหลผ่านชุมชน 2. แหล่งนํา้ ทใ่ี ช้ไหลผ่านคอกปศุสัตว์ สัตว์ปี ก 3. แหล่งนํา้ ทใี่ ช้ไหลผ่านโรงงานอตุ สาหกรรม/ กองขยะ/ ทที่ งิ้ สารเคมี 4. แหล่งนํา้ ทใ่ี ช้ไหลผ่านเขตเกษตรกรรมทมี่ กี ารใช้สารเคมมี าก 5. บริเวณบ่อ/สระเคยเป็ นทตี่ ้งั โรงพยาบาล มาก่อน 6. บริเวณบ่อ/สระเคยเป็ นคอกปศุสัตว์ มาก่อน 7. บริเวณบ่อ/สระเคยเป็ นโรงงานฯ/ กองขยะ /ทที่ งิ้ สารเคมี 8. บริเวณบ่อ/สระมโี อกาสปนเปื้ อนสารเคมี ทพี่ ่นในฟาร์ม/ฟาร์มข้างเคยี ง 9. บริเวณบ่อ/สระมโี อกาสปนเปื้ อนโลหะหนัก

1.1 ระดบั ข้อกาํ หนด Major แหล่งนํา้ มสี ภาพแวดล้อมก่อให้เกดิ การปนเปื้ อนวตั ถุทเ่ี ป็ นอนั ตรายต่อผลผลติ ต้องแก้ไข สุ่มเกบ็ นํา้ วเิ คราะห์ สารเคมแี ละจุลนิ ทรีย์

1.1 ระดบั ข้อกาํ หนด Major แหล่งนํา้ มสี ภาพแวดล้อมก่อให้เกดิ การปนเปื้ อนวตั ถุทเ่ี ป็ นอนั ตรายต่อผลผลติ ต้องแก้ไข สุ่มเกบ็ นํา้ วเิ คราะห์ สารเคมแี ละจุลนิ ทรีย์

1. นํา้ ทใี่ ช้ในแปลงปลูก 1.2 ต้องไม่ใช้นํา้ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือกจิ กรรมอน่ื ๆ เช่น แหล่งชุมชน โรงพยาบาล ทกี่ ่อให้เกดิ การปนเปื้ อนส่ิงท่ี เป็ นอนั ตราย กรณจี ําเป็ นต้องใช้ควรมหี ลกั ฐาน หรือข้อพสิ ูจน์ทช่ี ัดเจนว่า นํา้ น้ันได้ผ่านการบาํ บดั นํา้ เสียมาแล้ว และสามารถนํามาใช้ใน กระบวนการผลติ ได้ ระดบั ข้อกาํ หนด Major


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook