เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ส�ำ นกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย จังหวัดนครศรธี รรมราช สำ�นกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ส�ำ นกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย จังหวัดนครศรธี รรมราช สำ�นกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ
ค�ำน�ำ ส�ำนักงาน กศน.จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้พัฒนาหลักสูตรรายวิชานครศรีธรรมราชศึกษา รหสั วชิ า สค3300168 ใหเ้ ปน็ รายวชิ าเลอื กเสรี สาระพฒั นาสงั คม ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยให้สถานศึกษาจดั การเรียนการสอนในเนอ้ื หาสาระของนครศรีธรรมราช เพื่อให้ นกั ศึกษาได้เรยี นรูถ้ ึงรากเหง้าความเปน็ มา ความเป็นอยู่ และความเปน็ ไปของจังหวัดนครศรีธรรมราช เพ่ือบ่มเพาะ ให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจ รัก ศรัทธาและหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของจังหวัดนครศรีธรรมราช และด�ำเนินชีวิตตามวิถีของชาวนครศรีธรรมราช ร่วมกันพัฒนาและสร้างสันติสุขให้เกิดกับจังหวัดนครศรีธรรมราช อีกท้ัง เพื่อร่วมกันอนุรักษ์ สืบสานและสืบทอด ความเป็นนครศรีธรรมราชไปสู่คนรุ่นต่อๆ ไป จึงได้จัดท�ำเอกสารประกอบการเรียนรายวิชานครศรีธรรมราชศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เล่มน้ขี ึ้นมาเพ่อื ให้นักศกึ ษา ได้น�ำไปใชศ้ ึกษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ขอขอบคณุ ผู้ทรงคณุ วุฒิทเ่ี กย่ี วข้องทุกทา่ นทไี่ ดใ้ ห้คำ� แนะน�ำ และใหข้ ้อมูลทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ การจดั ทำ� เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ี และขอบคุณบุคลากรส�ำนักงาน กศน.จังหวัดนครศรีธรรมราชทุกคน ที่ได้ร่วมกัน จัดทำ� เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ านครศรธี รรมราชศกึ ษา เลม่ นจ้ี นแล้วเสรจ็ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ เอกสารประกอบการเรยี นรายวชิ านครศรธี รรมราชศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เลม่ นี้ จะเป็นประโยชน์ท้งั กับผ้เู รยี น ครูผสู้ อน และผู้ทีส่ นใจท่วั ไป และหากมขี อ้ บกพรอ่ งประการใดใคร่ขอคำ� ชแี้ นะ เพ่อื พัฒนาปรบั ปรงุ ตอ่ ไป ส�ำนักงาน กศน.จงั หวัดนครศรีธรรมราช พฤษภาคม 2563
สารบัญ หน้า ค�ำนำ� สารบัญ คำ� แนะน�ำการใช้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัตศิ าสตรน์ ครศรธี รรมราช ................................................................................... 1 เรื่องท่ี 1 ลกั ษณะการตั้งถ่ินฐานและการดำ� เนนิ ชวี ติ ของผ้คู นในเขตจงั หวดั นครศรีธรรมราช ....... 1 เร่อื งที่ 2 เหตกุ ารณ์สมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ ................................................................................. 3 เรื่องท่ี 3 เหตุการณ์สมยั แรกเร่มิ ประวัตศิ าสตร์ ............................................................................ 6 เรอ่ื งท่ี 4 เหตกุ ารณ์สมยั ประวตั ิศาสตร์ ......................................................................................... 7 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะภมู ปิ ระเทศจงั หวดั นครศรีธรรมราช ............................................................... 13 เรอื่ งที่ 1 ทต่ี ั้ง ขนาด และอาณาเขตจังหวดั นครศรธี รรมราช ........................................................ 13 เรอ่ื งท่ี 2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศจงั หวัดนครศรธี รรมราช .................................................................. 14 เรอ่ื งท่ี 3 แมน่ ้�ำทสี่ �ำคัญของจงั หวัดนครศรธี รรมราช .................................................................... 15 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 ลกั ษณะภูมิอากาศจังหวัดนครศรีธรรมราช ................................................................. 21 เรื่องที่ 1 ฤดกู าลของจงั หวดั นครศรีธรรมราช ............................................................................... 21 เรอ่ื งท่ี 2 ภยั ธรรมชาติทเ่ี กิดข้ึนในจังหวดั นครศรีธรรมราช ........................................................... 22 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เศรษฐกจิ ของจงั หวัดนครศรธี รรมราช ......................................................................... 33 เรอื่ งท่ี 1 เศรษฐกิจพอเพียง .......................................................................................................... 33 เรอ่ื งที่ 2 เศรษฐกิจกับชมุ ชนในจังหวดั นครศรีธรรมราช . .............................................................. 37 เรื่องท่ี 3 การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจของจังหวดั นครศรีธรรมราช ................................................. 40 เรื่องที่ 4 แนวโน้มเศรษฐกจิ ของจงั หวัดนครศรีธรรมราช .............................................................. 41 เรอื่ งที่ 5 เศรษฐกจิ ท่สี ำ� คัญของจังหวัดนครศรธี รรมราช ............................................................... 43 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 การคมนาคมของจงั หวดั นครศรธี รรมราช ................................................................... 49 เรื่องท่ี 1 การคมนาคมทางบกของจงั หวดั นครศรีธรรมราช ........................................................... 49 เร่ืองท่ี 2 การคมนาคมทางรถไฟของจงั หวดั นครศรธี รรมราช. ....................................................... 54 เร่อื งท่ี 3 การคมนาคมทางอากาศของจงั หวดั นครศรธี รรมราช . ................................................... 56 เรื่องที่ 4 การคมนาคมทางน�้ำของจงั หวดั นครศรีธรรมราช ........................................................... 58
สารบัญ (ต่อ) หนา้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมจงั หวัดนครศรธี รรมราช ...................................... 61 เรอ่ื งที่ 1 ทรพั ยากรปา่ ไม้และสัตวป์ ่าจังหวดั นครศรีธรรมราช ...................................................... 61 เรอ่ื งท่ี 2 ทรพั ยากรน้�ำ ................................................................................................................. 66 เรอ่ื งท่ี 3 ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝัง่ ทะเล จังหวดั นครศรีธรรมราช ....................................... 71 เรอ่ื งท่ี 4 ทรพั ยากรแร่จงั หวัดนครศรธี รรมราช ............................................................................. 76 เรื่องท่ี 5 ทรพั ยากรดิน ................................................................................................................. 78 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 ประชากรกบั การเมอื งการปกครองจังหวดั นครศรธี รรมราช ....................................... 83 เรอ่ื งท่ี 1 ประชากรจังหวัดนครศรธี รรมราช .................................................................................. 83 เรื่องที่ 2 บุคคลสำ� คญั จงั หวดั นครศรธี รรมราช ............................................................................. 86 เรื่องที่ 3 ประชากร การเมอื ง และการปกครอง จังหวดั นครศรีธรรมราช .................................... 98 เรอ่ื งที่ 4 การเมอื งการปกครองจังหวดั นครศรธี รรมราช ............................................................... 101 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 8 การจดั การศกึ ษาจังหวดั นครศรธี รรมราช ................................................................... 105 เรื่องที่ 1 ความเปน็ มาของการศกึ ษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช ................................................... 105 เรอ่ื งที่ 2 การจัดการศกึ ษาในจังหวดั นครศรธี รรมราช .................................................................. 106 เรือ่ งท่ี 3 หน่วยงานการศึกษาและสถานศกึ ษาที่จดั การศึกษา ...................................................... 108 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 ศาสนาจังหวดั นครศรธี รรมราช ................................................................................... 113 เรื่องที่ 1 ประวตั ิทางศาสนาในจังหวดั นครศรธี รรมราช ................................................................ 113 เรอ่ื งที่ 2 ศาสนาที่ชาวจงั หวดั นครศรธี รรมราชสว่ นใหญน่ ับถอื ..................................................... 115 เรอ่ื งท่ี 3 ความเชอื่ ทางศาสนาและพิธีกรรมอืน่ ๆ จังหวดั นครศรีธรรมราช .................................. 119 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 10 ประเพณีและวัฒนธรรมจงั หวัดนครศรธี รรมราช ...................................................... 121 เรอ่ื งท่ี 1 ประเพณีที่เกยี่ วเนอื่ งกบั ความกตัญญกู ตเวที จังหวัดนครศรีธรรมราช ........................... 121 เรอ่ื งท่ี 2 ประเพณที ีเ่ กย่ี วเน่ืองกับความสามคั คี จังหวดั นครศรีธรรมราช ..................................... 124 เรื่องท่ี 3 ประเพณที ่เี กย่ี วเนอ่ื งกบั ความศรัทธา จงั หวัดนครศรีธรรมราช ...................................... 127 เรื่องท่ี 4 เอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมจงั หวัดนครศรธี รรมราช ......................................................... 130 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 11 โบราณสถานและโบราณวัตถจุ ังหวัดนครศรธี รรมราช ............................................... 139 เรื่องท่ี 1 โบราณสถานจังหวดั นครศรีธรรมราช ............................................................................. 139 เร่ืองท่ี 2 โบราณวัตถุ จงั หวัดนครศรธี รรมราช .............................................................................. 154
สารบัญ (ต่อ) หน้า หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 12 แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วในจงั หวดั นครศรธี รรมราช ................................................................ 165 เรื่องที่ 1 คำ� ขวญั สง่ เสริมการท่องเที่ยวประจ�ำจงั หวดั นครศรีธรรมราช ........................................ 165 เรื่องที่ 2 ประเภทแหล่งทอ่ งเทีย่ วในจังหวัดนครศรธี รรมราช ....................................................... 165 เรอ่ื งที่ 3 แหล่งท่องเทยี่ วประเภทชายทะเล ชายหาด ................................................................... 180 เรื่องที่ 4 การปฏิบตั ติ นเปน็ นกั ทอ่ งเทีย่ วทดี่ ี ................................................................................. 186 เรอ่ื งที่ 5 การเปน็ มคั คเุ ทศก์ทด่ี ี .................................................................................................... 187 เรอื่ งที่ 6 การอนุรักษ์สถานทที่ อ่ งเทยี่ ว ......................................................................................... 187 เรอ่ื งที่ 7 กลยุทธก์ ารพฒั นาการทอ่ งเท่ียว . .................................................................................... 187 เรื่องท่ี 8 หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องกับการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว .......................................................... 188 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 13 โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำรใิ นจังหวดั นครศรธี รรมราช .............................. 191 เรื่องที่ 1 โครงการพัฒนาดา้ นแหล่งน้ำ� ......................................................................................... 191 เรือ่ งที่ 2 โครงการพัฒนาด้านสิง่ แวดล้อม ..................................................................................... 199 เรื่องที่ 3 โครงการพัฒนาด้านสง่ เสริมอาชีพ ................................................................................. 201 เรือ่ งที่ 4 โครงการพฒั นาดา้ นสวสั ดกิ ารสงั คม/การศกึ ษา ............................................................. 202 เรอ่ื งที่ 5 โครงการพฒั นาด้านแบบบูรณาการและโครงการพัฒนาด้านอื่น ๆ . ............................... 205 จงั หวดั นครศรีธรรมราช “โครงการพัฒนาพ้นื ทล่ี ุ่มน้ำ� ปากพนัง อนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำริ” หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 14 ปัญหาในจงั หวดั นครศรธี รรมราช ............................................................................. 211 เรอ่ื งท่ี 1 ปญั หาขยะมูลฝอย ......................................................................................................... 211 เรอ่ื งที่ 2 ปญั หายาเสพติด ............................................................................................................ 216 เร่อื งที่ 3 ปญั หาการจราจร ........................................................................................................... 218 เรอ่ื งท่ี 4 ปญั หาการลักขโมย ........................................................................................................ 219 เรอื่ งที่ 5 ปญั หาการพนัน ............................................................................................................. 221 เรอื่ งท่ี 6 ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ................................................................................................ 223 บรรณานกุ รม ................................................................................................................................................... 229 คณะผู้จดั ทำ� ..................................................................................................................................................... 212
ค�ำแนะน�ำการใช้ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชานครศรีธรรมราชศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เอกสารประกอบการเรียนรายวิชานครศรีธรรมราชศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เล่มนี้ เป็นสื่อการเรียนรู้ส�ำหรับนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชานครศรีธรรมราชศึกษา รหัสวิชา สค3300168 สาระการพัฒนาสังคม ซ่ึงนักศึกษาสามารถน�ำไปเรียนรู้ด้วยตนเองเพ่ือการเรียนรู้และตระหนักถึงรากเหง้า ของนครศรีธรรมราช ท้ังด้านความเป็นมา ความเป็นอยู่ และความเป็นไปของจังหวัดนครศรีธรรมราช ท่ีก่อให้เกิด ความภาคภูมิใจ รัก ศรัทธาและหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมประเพณี ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม ทางธรรมชาติ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช และด�ำเนินชีวิตตามวิถีของชาวนครศรีธรรมราช อีกท้ังร่วมกันอนุรักษ์ สืบสาน และสืบทอดความเป็นนครศรธี รรมราชไปสูค่ นร่นุ ตอ่ ๆ ไป ท้ังนี้ นกั ศึกษาควรศกึ ษาและปฏบิ ตั ิตามล�ำดับ ดงั นี้ 1. เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ ไดจ้ ดั เนอื้ หาสาระให้ผ้เู รียนไดเ้ รยี นรู้ จ�ำนวน 14 หน่วย การเรยี นรู้ ดังน้ี 1.1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 ประวตั ศิ าสตร์นครศรธี รรมราช 1.2 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศนครศรธี รรมราช 1.3 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 ลักษณะภูมิอากาศนครศรธี รรมราช 1.4 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เศรษฐกิจของนครศรธี รรมราช 1.5 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 การคมนาคมของนครศรีธรรมราช 1.6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมนครศรธี รรมราช 1.7 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 7 ประชากรกบั การเมืองการปกครองจงั หวัดนครศรธี รรมราช 1.8 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การจดั การศกึ ษานครศรีธรรมราช 1.9 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 9 ศาสนาจงั หวดั นครศรีธรรมราช 1.10 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 10 ประเพณีและวัฒนธรรมนครศรธี รรมราช 1.11 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 11 โบราณสถานและโบราณวัตถนุ ครศรีธรรมราช 1.12. หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 12 แหลง่ ท่องเที่ยวในจงั หวดั นครศรีธรรมราช 1.13 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 13 โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำริในจงั หวดั นครศรีธรรมราช 1.14 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 14 ปัญหาในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. ศกึ ษาเนื้อหาทลี ะหนว่ ยการเรยี นรู้ตามล�ำดับ พร้อมท�ำกจิ กรรมท้ายหนว่ ยการเรยี นร้ใู นแตล่ ะหน่วย การเรยี นรใู้ หค้ รบทกุ ขอ้ แลว้ สง่ ใหค้ รผู สู้ อนเพอื่ รบั การประเมนิ ผลการเรยี น หรอื ประเมนิ ตนเอง โดยการตรวจคำ� ตอบ จากเนือ้ หา จนครบทั้ง 14 หนว่ ยการเรยี นรู้ 3. หากมเี น้ือหาใดทเ่ี รียนรแู้ ล้วไม่เขา้ ใจ หรือท�ำกจิ กรรมแลว้ ไม่สามารถตอบค�ำถามได้ กใ็ ห้ยอ้ นกลับไป เรียนรู้เนื้อหาในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ั้นๆ อกี ครัง้ หนึ่ง หรอื สอบถามครูผู้สอนหรือผู้รู้เพม่ิ เติม
1หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ประวัติศาสตร์นครศรีธรรมราช ประวตั ศิ าสตรน์ ครศรธี รรมราช เปน็ การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ลกั ษณะการตงั้ ถน่ิ ฐานและการดำ� เนนิ ชวี ติ ของผคู้ น ในเขตจงั หวดั นครศรธี รรมราช เหตกุ ารณส์ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ เหตกุ ารณส์ มยั แรกเรม่ิ ประวตั ศิ าสตร์ และเหตกุ ารณ์ สมัยประวัติศาสตร์ ซ่ึงการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นและรวบรวมข้อมูล จากแหล่งข้อมูลและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีมีอยู่ท�ำให้เข้าใจความเป็นมาของชาติภูมิ ส่งผลให้เกิดความส�ำนึก รกั และภูมิใจในทอ้ งถ่ินของตนเอง เร่ืองที่ 1 ลักษณะการตง้ั ถ่นิ ฐานและการดำ�เนนิ ชวี ิตของผ้คู นในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช ลกั ษณะการตงั้ ถน่ิ ฐานและการดำ� เนนิ ชวี ติ ของผคู้ น ชาวถำ้� หรอื มนษุ ยถ์ ำ�้ ชมุ ชนเกษตรกรรมเรมิ่ แรกชมุ ชน เมืองทา่ และสถานกี ารค้าและชมุ ชนเมืองและนครรัฐ โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี “สงั ฆราชปราชญ์ เรียนจบปิฏกไตร หลวกกว่าปคู่ รใู นเมอื งนื้ ทุกคนลกุ แต่เมอื งนครศรี” ก่อนมาเป็น นครศรีธรรมราช ช่ือเมืองที่มีความหมายว่า นครอันงามสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม อนั เปน็ จังหวัดหน่ึงในประเทศไทยปจั จุบันนี้ นครศรีธรรมราช มพี ฒั นาการทางประวัติศาสตรม์ ายาวนาน นับตงั้ แต่ ก่อนยุคประวัติศาสตร์ ซึ่งหมายถึงยุคสมัยท่ีผู้คนแถบน้ัน ยังไม่มีตัวอักษรใช้ส่ือสาร มีการตั้งถิ่นฐานอยู่ตามถ้�ำ หรือ เพิงผา หาพืชและสัตว์กินเป็นอาหารไปวัน ๆ จนกระทั่งรวมตัวกันเข้าเป็นชุมชนเกษตรกรรมยุคแรกเร่ิม แล้วพัฒนา มาเป็นเมืองท่าหรือสถานีการค้า ซ่ึงมีชื่อว่า ตามพรลิงค์ จนกระทั่งกลายเป็นชุมชนเมืองหรือนครรัฐ ท่ีรุ่งเรอื ง ซึง่ มีชอื่ วา่ นครศรีธรรมราช ในพุทธศตวรรษท่ี 18 เปน็ นครศนู ย์กลางแหง่ พุทธศาสนาในคาบสมุทรภาคใต้ เป็นนครของปราชญ์ หรือปคู่ รู ที่มชี ื่อปรากฏในศิลาจารกึ พอ่ ขนุ รามคำ� แหงมหาราช ดงั ข้อความข้างต้น การตงั้ ถ่นิ ฐาน หลักฐานทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ที่ส�ำรวจและขุดพบ สามารถแบ่งลักษณะการตั้งถ่ินฐาน และการด�ำเนนิ ชีวติ ของผคู้ นในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช ตงั้ แต่อดตี ถึงปจั จุบนั แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 3 ชว่ งเวลา ดังน้ี 1. ชาวถ้ำ� หรอื มนษุ ยถ์ ้�ำ จากการขุดค้นแหลง่ โบราณคดีก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นภาคใตน้ ำ� มาเปรยี บเทยี บกับเมอื งนครฯ เช่ือว่า คนกอ่ นประวตั ศิ าสตร์ในเมอื งนครฯ พักอาศัยอยตู่ ามถํ้าหรือเพิงผา หาอาหาร โดยการล่าสัตว์เกบ็ ผลไม้ ใช้เครื่องมือ หินประเภทครกและสาก ส�ำหรับบดต�ำพืชประกอบอาหาร บางคร้ังอาจใช้ใบมีดหรือขวานหินส�ำหรับปอกลูกไม้ หรอื เปลือกไม้ ตัดเฉือนเนื้อสตั ว์ มีหลักฐานทางโบราณคดแี สดงใหเ้ หน็ วา่ เม่ือประมาณ 5,000 - 6,500 ปี มาแล้ว เอกสารประกอบการเรียน 1 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
มนษุ ยถ์ าํ้ ในภาคใตป้ ระกอบอาหารโดยใชค้ วามรอ้ นจากไฟ รจู้ กั การหงุ ตม้ โดยใชห้ มอ้ ดนิ เผาและมถี า่ นไมเ้ ปน็ เชอื้ เพลงิ ภาชนะที่ใช้ประกอบอาหารทมี่ ีใช้โดยทัว่ ไป คอื หม้อดนิ เผากน้ กลม และภาชนะแบบหมอ้ สามขาซง่ึ สามารถตัง้ ครอ่ ม กองไฟ โดยไมต่ อ้ งใช้เสาหรอื กอ้ นเสา้ นอกจากนย้ี ังมภี าชนะใสอ่ าหาร เชน่ ภาชนะทรงพาน หม้อก้นตื้น หมอ้ มสี ัน ภาชนะประเภทชาม จอก ถ้วย เหยือก แทน่ รองหมอ้ และแท่นพิงถว้ ย ส�ำหรบั รองรบั ถ้วยน�้ำดม่ื อาจทำ� จากเขาสัตว์ เป็นต้น นอกจากน้ีชาวถ�้ำยังรู้จักก่อกองไฟให้ความอบอุ่น รู้จักท�ำเครื่องนุ่งห่ม โดยท�ำจากหนังหรือขนสัตว์ หรือทำ� จากเปลือกไม้ พบหนิ ทุบเปลือกไม้หลายชน้ิ หม้อและลายเขียนสแี ดง พบท่วี ดั สวนหลวง อำ� เภอเมือง จงั หวัดนครศรธี รรมราช 2. ชมุ ชนเกษตรกรรมเร่ิมแรก เปน็ ววิ ฒั นาการของการตงั้ ถนิ่ ฐานชว่ งทสี่ องของเมอื งนคร เรมิ่ จากชมุ ชนยคุ หนิ ใหมท่ อี่ าศยั บนทรี่ าบ ปรากฏชดั ขน้ึ เมอื่ รจู้ กั ใชเ้ ครอื่ งมอื โลหะซง่ึ เปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาของชมุ ชนเกษตรกรรม ทำ� ใหส้ ามารถ ปลกู ขา้ วได้มากกว่าเดิม เรม่ิ ตง้ั ถน่ิ ฐานถาวร มกี ารเลอื กถน่ิ ฐานในภมู ิประเทศทอ่ี ดุ มสมบรู ณเ์ หมาะแก่การเพาะปลูก ปรากฏชุมชนโบราณตามแนวสันทรายและที่ราบลุ่มแม่น้�ำล�ำคลอง เม่ือประมาณพุทธศตวรรษท่ี 5 เป็นต้นมา โบราณวตั ถุของชมุ ชนสมัยน้ี นอกจากเครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจ�ำวันแลว้ ยงั มีเคร่ืองดนตรซี งึ่ เกิดจากการขัดแต่งหิน จากธรรมชาติที่เคาะแล้วมีเสียงดังกังวาน สันนิษฐานว่า เป็นระนาดหิน มีลักษณะคล้ายขวานหินยาว ขัดแต่ง จนเรยี บร้อย ลักษณะเป็นรปู ส่เี หล่ียมผนื ผา้ มดี ้ามยาวมากกว่าดา้ นกว้าง 3 - 6 เท่า 3. ชมุ ชนเมืองท่าและถานีการคา้ ระนาดหนิ พบที่ ต.สระแกว้ อ.ทา่ ศาลา จ.นครศรธี รรมราช นบั ตง้ั แตพ่ ทุ ธศตวรรษที่ 3 เปน็ ตน้ มา ชาวอนิ เดยี ชาวเปอรเ์ ซยี ชาวอาหรับ และชาวโรมันได้เดินเรือมาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชีย ตะวนั ออกทำ� ใหค้ าบสมทุ รมลายจู งึ กลายเปน็ จดุ ศนู ยก์ ลางของเสน้ ทางเดนิ เรอื จากฝา่ ยตะวนั ตกอนั ไดแ้ ก่ อนิ เดยี เปอรเ์ ซยี อาหรบั และโรมนั กบั ฝา่ ยตะวนั ออก ได้แก่ จีน เวียดนาม จามปา และเจนละ เรือสินค้ามักต้องแวะเวียนพัก เพื่อขนถ่ายสินค้าหรือหาเสบียงอาหาร หลักฐานส�ำคัญ ได้แก่ โบราณวัตถุ อันเป็นสินค้าจากต่างประเทศ เช่น ลูกปัดแก้ว ลูกปัดหินสี เคร่ืองประดับ เคร่ืองแก้ว เศษเครื่องถ้วยชามตลอดจนประติมากรรม รูปเคารพทางศาสนา ทตี่ ดิ มากบั เรอื เดนิ ทะเล ตงั้ แตพ่ ทุ ธศตวรรษที่ 8 เปน็ ตน้ มา เกดิ ชมุ ชนอยา่ งถาวร 2 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
บริเวณเมืองท่าชายฝังทะเล ได้แก่ ตะก่ัวป่า พบจารึกอักษรปัลลวะ ภาษาทมิฬ พบหลักฐานจากศิลาจารึกหุบเขา ช่องคอย อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต มีอายุอยู่ประมาณพุทธศตวรรษ ท่ี 12 แสดงถึงชุมชนของกลุ่มผู้นับถือ ศาสนาพราหมณอ์ ินดู ลทั ธไิ ศวนกิ ายในเมืองนคร นอกจากกลุ่มพ่อค้าและนักแสวงโชคแล้วกลุ่มนักบวชพราหมณ์และพระภิกษุในพุทธ-ศาสนา เขา้ มาตงั้ ถนิ่ ฐานในดนิ แดนแถบนใ้ี นเวลาใกลเ้ คยี งกนั เพราะพบประตมิ ากรรมรปู เคารพ เชน่ พระพทุ ธรปู ศลิ ปะอมราวดี คปุ ตะ หลังคปุ ตะ ปาละ เนะ เทวรูป อทิ ธพิ ลปลั ลวะ และโจฬะจากอนิ เดียใต้ เปน็ ตน้ 4. ชุมชนเมอื งและนครรฐั การเข้ามาของวัฒนธรรมอินเดีย ท�ำให้เกิดความเปล่ียนแปลงอย่างมากต่อชุมชนในภูมิภาคน้ี ในระยะเร่มิ แรกศาสนาพราหมณจ์ ะเด่นกวา่ ศาสนาพทุ ธ เมืองนครศรีธรรมราช เป็นรฐั ทมี่ ีพน้ื ฐานทางการเกษตร สินคา้ พนื้ เมอื ง ไดแ้ ก่ ขา้ ว การบรู ไมห้ อม (ไม้กฤษณา) ไม้ฝาง ไม้จันทน์ ข้ีผึ้ง งาช้าง เขาสัตว์ หนังสัตว์ และดีบุก เป็นเมืองท่าส�ำคัญ เมืองนครได้ด�ำรงตน เป็นรัฐอิสระ มีความรุ่งเรืองในสมัยปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นรัฐเอกราชในระยะเวลาเดียวกันกับสมัย พ่อขุนรามค�ำแหง แห่งกรุงสุโขทัย เป็นรัฐที่ม่ังค่ังเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา มีพระมหากษัตริย์ ทรงพระนาม พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เป็นอาณาจักรท่ีมีอิทธิพลครอบคลุมทั้งแหลมมลายู บรรดาบ้านเมือง ในอาณาบรเิ วณนถ้ี กู ผนวกเปน็ สว่ นหนงึ่ ของอาณาจกั รนครศรธี รรมราช โดยเรยี กเมอื งหลวงนนั้ วา่ เมอื งสบิ สองนกั ษตั ร เมืองนครศรธี รรมราช เรื่องที่ 2 เหตกุ ารณส์ มยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ เหตุการณ์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ประกอบด้วย 3 ยุค ได้แก่ ยุคหิน ยุคหินใหม่ และยุคโละหะ โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ภาชนะดินเผาทรงหม้อสามขา พบทีถ่ ้ำ� เขาเอง อ�ำเภอนบพติ �ำ จงั หวัดนครศรีธรรมราช 1. ยคุ หิน แหล่งโบราณคดีก่อนประวิตศาสตร์ ได้พบว่า แหล่งที่มีการใช้เคร่ืองมือขวานหินกะเทาะสองแหล่ง คอื ที่ถํา้ ตาหมืน่ ยม และถา้ํ เขาหลัก เอกสารประกอบการเรียน 3 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ถา้ํ ตาหม่นื ยม ตง้ั อย่หู มู่ท่ี 1 บ้านวังเหรียง ตำ� บลช้างกลาง อำ� เภอชา้ งกลาง พบเคร่ืองมือหนิ กะเทาะ คุมรอบปลายแหลม ด้านบนมีรอยโดนตัดคล้ายกับขวานสั้นท่ีเคยพบท่ีอ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี และเศษภาชนะดนิ เผาสดี ำ� ลายเชอื กทาบ ถํ้าเขาหลัก ตั้งอยู่ในเขตต�ำบลสิชล อ�ำเภอสิชล พบเครื่องมือหินกะเทาะแบบสองหน้า ลักษณะ เปน็ ขวานสนั้ มรี อยกะเทาะหยาบ ๆ ทำ� จากหนิ ควอรต์ ไซด์ จำ� นวน 1 ชนิ้ และพบภาชนะดนิ เผาประเภทหมอ้ กน้ กลม 1 ช้นิ หม้อก้นแบน 3 ช้ิน รวมกับกระดกู สัตว์ประเภทลงิ 2 ชนิ้ จากโบราณวัตถุท่ีพบสันนิษฐานว่า ถํ้าทั้งสองแห่งนี้มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์เข้ามาพักอาศัย แต่ไม่สามารถก�ำหนดอายุของแหล่งได้ชัดเจนจากการเปรียบเทียบกับแหล่งอ่ืนพอก�ำหนดอายุได้ประมาณ 4,200 - 6,500 ปี 2. ยุคหนิ ใหม่ ไดพ้ บแหลง่ โบราณคดเี ปน็ จำ� นวนมาก พบโบราณวตั ถุ ไดแ้ ก่ ขวานหนิ ขดั และภาชนะดนิ เผาประเภท หมอ้ สามขา ซ่งึ ส่วนใหญ่ได้พบตามแหล่งท่เี ป็นถํา้ หรอื เพงิ ผา ไดแ้ ก่ ถํ้าเขาพลู อย่ใู นต�ำบลเขาโร อำ� เภอทงุ่ สง พบขวานหนิ ขดั มีบ่า เศษภาชนะดินเผาเนือ้ หยาบและเศษ กระดกู สัตว์ ถ�ำ้ ตลอด อยใู่ นต�ำบลนำ�้ ตก อำ� เภอทุ่งสง พบขวานหนิ ขัดและภาชนะดนิ เผาทรงพาน ถ้ํานางนอนหงาย อยู่ในต�ำบลบางขัน อ�ำเภอบางขัน พบขวานหินขัดเศษภาชนะดินเผา ภาชนะดนิ เผาสภาพสมบรู ณ์ ประเภทหมอ้ กน้ กลม ชามกน้ กลมทรงขนั นาํ้ ถว้ ยกน้ ตดั ปากบาน ภาชนะกน้ กลมปากบาน ขดั มัน สว่ นใหญ่ตกแตง่ ผวิ นอกดว้ ยลายเชือ่ กทาบ และเคร่ืองประดับทำ� จากเปลอื กหอยกาบเจาะรู ถํ้าเขาโพรงเสือ อยู่ในเขตต�ำบลทอนหงส์ อ�ำเภอพรหมคีรี พบเศษภาชนะดินเผา เน้ือหยาบ มีทัง้ ผิวเรียบ และลายเชอื กทาบ ชิ้นสว่ นหม้อสามขาและขวานหนิ ขัด ถ้ําเทวดางวงช้าง อยู่ในเขตต�ำบลลานสกา อ�ำเภอลานสกา พบภาชนะดินเผา เศษภาชนะดินเผา ขัดผิวด้านนอกเรียบมัน เนื้อค่อนข้างบางได้แก่ ภาชนะดินเผาลายเชือกทาบรูปทรงคล้ายขันนํ้า และขวานหินขัด แบบจงอยปากนก เขาปนู อยทู่ ี่วัดเขาปนู ตำ� บลพรหมโลก อำ� เภอพรหมครี ี พบเศษภาชนะดนิ เผาเนอื้ หยาบตกแตง่ ผวิ ด้วยลายกดทบั ลายเชอื กทาบ เปน็ ช้ินสว่ นของภาชนะ ประเภทหม้อสามขา ระนาดหนิ แบบท่พี บบรเิ วณคลองกลาย อ�ำเภอท่าศาลา (ปัจจบุ นั อยู่ทพี่ ิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรธี รรมราช) ถ้ําเขาหนิ ตก อยูใ่ นเขตต�ำบลเสาธง อำ� เภอรอ่ นพบิ ูลย์ พบลกู ปัดเปลือกหอย ลูกปัดท�ำจากกระดกู เศษภาชนะดนิ เผาลายเชอื กทาบ หมอ้ สามขา ขวานหนิ ขดั หิน หบุ เขาลานสกา อยู่ในเขตตำ� บลลานสกา อ�ำเภอลานสกา พบขวานหินขนาดเล็ก รปู สี่เหลยี่ มคางหมู ขวานหนิ ขัดมีบ่า เขาตอ่ อยทู่ ่ีบ้านเขาแก้ว อ�ำเภอลานสกา พบขวานหินขดั หรอื ระนาดหิน ขนาดหนา ขัดเรียบ เขาพรง อยู่ในเขตต�ำบลทงุ่ ปรงั อำ� เภอสชิ ล พบขวานหนิ ขดั ไม่มบี ่า รูปส่เี หลี่ยมคางหมู ถา้ํ พรรณรา อยใู่ นเขตตำ� บลพรรณรา อำ� เภอถา้ํ พรรณรา พบเศษภาชนะดนิ เผาสดี ำ� แดง ลายเชอื กทาบ ขวานหนิ ขดั ชนิ้ สว่ นกระดูกมนษุ ย์ ถํ้าเขาแอง อยู่ในเขตต�ำบลนบพิต�ำ อ�ำเภอนบพิต�ำ พบหม้อสามขา สภาพเกือบสมบูรณ์ (ปัจจุบัน อยทู่ ่ีพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาตนิ ครศรีธรรมราช) 4 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
สำ� หรบั แหลง่ โบราณคดยี ุคหินใหม่ ทม่ี ิใชแ่ หลง่ ถํ้าหรอื เพิงผา ไดแ้ ก่ คลองเขาแกว้ อยทู่ หี่ นา้ วดั ชายเขา ตำ� บลเขาแกว้ อำ� เภอลานสกา พบขวานหนิ ขดั ขนาดใหญ่ โครงรา่ ง ห้าเหล่ยี ม คมแบบจะงอยปากนก บ้านในแหนบ อยู่ในเขตต�ำบลเขาแก้ว อ�ำเภอลานสกา พบโกลนโครงร่างละเอียดของขวานหินขัด แต่งพอสมควร หว้ ยครกเบือ อยู่ในเขตตำ� บลท่าดี อ�ำเภอลานสกา พบขวานหินขดั คลองกลาย อยู่ในเขตต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอท่าศาลา พบขวานหนิ ยาว หรอื ระนาดหนิ จำ� นวน 6 ชนิ้ เชงิ เขาคา ตงั้ อย่ทู ีเ่ ชงิ เขาคา ดา้ นตะวนั ออกเฉียงเหนือ ต�ำบลเสาเภา อำ� เภอสชิ ล พบขวานหินขดั รปู ส่ีเหลย่ี มคางหมู สิชล อยู่ในเขตพ้ืนท่ีอ�ำเภอสิชล พบมีดท�ำจากหินทรายสีเทา มีลักษณะเป็นมีดด้ามงอ โครงร่าง เป็นรูปมนรี ส่วนท่ีเป็นด้ามตอนปลายโค้งขนานกับส่วนคม ซึ่งคอดเล็กกว่าด้าม สีสันร่องแบ่งระหว่างส่วนคม และส่วนด้ามขดั เจน เหมือนมีดมีดา้ มในปัจจุบนั (ปจั จบุ นั อยู่ทพ่ี พิ ิธภัณฑสถานแห่งชาตินครศรธี รรมราช) ชุมชนใกล้วัดพระเพรง อยู่ในเขตต�ำบลนาสาร อ�ำเภอพระพรหม พบขวานหินขัดขนาดกลาง ไม่มบี ่า รปู สี่เหลย่ี มคางหมู คลองท่าเรือ อยู่ในเขตตำ� บลท่าเรอื อำ� เภอเมอื ง พบขวานหินขัดและกำ� ไลหิน วดั หวั มีนา (รา้ ง) อยใู่ นเขตตำ� บลท่าเรอื อ�ำเภอเมอื งนครศรธี รรมราช พบโกลนขวานหินขดั และ สะเก็ดหนิ โบราณวตั ถุ ยคุ หินใหม่ 3. ยุคโลหะ ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 1 - 3 เป็นช่วงที่ได้รับวัฒนธรรมจากดินแดนภายนอก โดยเร่ิมติดต่อกับ ดินแดนโพ้นทะเล เช่น จีน อินเดีย และอาหรับ ท�ำให้ชุมชนพ้ืนเมืองเดิมเปล่ียนแปลงไปสู่ชุมชนในลักษณะใหม่ หลกั ฐานทางโบราณคดสี มยั นท้ี พ่ี บในจงั หวดั นครศรธี รรมราช คอื โบราณวตั ถทุ ที่ ำ� จากโลหะ ทง้ั ทเี่ ปน็ สำ� รดิ และเหลก็ ไดแ้ ก่ กลองมโหระทึกกบั เคร่อื งมอื สำ� ริดและเหล็ก 3.1 กลองมโหระทึก เป็นกลองส�ำริด พบแหล่งผลิตคร้ังแรกท่ีเมืองธันหัว ประเทศเวียดนาม เมอื่ ประมาณปี พ.ศ. 200 - 300 กลองมโหระทึกทีพ่ บในเขตจงั หวัดนครศรธี รรมราช จ�ำนวน 4 ใบ คือ ใบที่ 1 พบทบี่ ้านเกียกกาย หมู่ 8 ต�ำบลทำ� เรือ อ�ำเภอเมืองนครศรธี รรมราช สภาพช�ำรดุ เอกสารประกอบการเรียน 5 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค3300168 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ใบที่ 2 พบท่คี ลองคุดด้วน ในเขตอำ� เภอฉวาง เป็นส่วนของหนา้ กลอง พบเม่อื ปี พ.ศ. 2482 ใบที่ 3 พบทบี่ ้านนากะชะ ต�ำบลนากะชะ อ�ำเภอฉวาง เมื่อปี พ.ศ. 2497 ใบที่ 4 พบทค่ี ลองทำ� ทนู (บา้ นยวนเทา่ ) ตำ� บลเทพราช อำ� เภอสชิ ล เปน็ สเ่ี หลยี่ มผนื ผา้ (ปจั จบุ นั อย่ทู ีพ่ พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาตินครศรีธรรมราช) 3.2 เครอ่ื งมือเครอื่ งใช้ ซ่ึงประกอบดว้ ย แหล่งโบราณคดีบ้านเกียกกาย ตำ� บลท่าเรือ พบเครอ่ื งมือ ส�ำริดขนาดเล็ก ขวานเหล็กมีป้องท่ีสัน คล้ายกับท่ีพบในแหล่งโบราณคดียุคโลหะที่จังหวัดกาญจนบุรี พบร่วมกับ โบราณวตั ถอุ นื่ เชน่ ภาชนะดนิ เผาแบบไหกน้ กลม เนอ้ื หยาบและบางมาก ชายปากบาน กน้ ตดั หมอ้ ขนาดเลก็ กน้ กลม ขวานหนิ ซดั เครอ่ื งประดบั ตา่ งหทู องคำ� เศษภาชนะ ดนิ เผาเนอ้ื ดนิ เผา เผาด้วยอุณหภูมิตํ่าเป็นจ�ำนวนมาก ชั้นดินทางโบราณคดี แสดงกิจกรรมการอยู่อาศัยของคน ก่อนประวัติศาสตร์ยุคโลหะ แหล่งโบราณคดีบ้านพังสิงห์ ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอเมือง พบเคร่ืองมือเหล็ก รูปเคียว และปะหญ้า ลักษณะเป็นแผ่นเหล็ก ล่ีเหลี่ยมผืนผ้า มีคมด้านหนึ่งคล้ายจอบ เม่ือใช้งานด้ามจะอยู่ใน แนวตั้ง ส่วนคมอย่แู นวนอน ด้ามเปน็ แท่งเหลก็ เรียงคล้ายคางหมู สำ� หรบั เสยี บเขา้ ดา้ มไมบ้ างทอ้ งถนิ่ เรียก ปา้ ยหญ้าและไตร กลองมโหระทึก พบทบี่ า้ นเกียกกาย ต.ทา่ เรอื อ.เมอื ง จ.นครศรธี รรมราช เรอ่ื งที่ 3 เหตุการณส์ มัยแรกเร่มิ ประวตั ิศาสตร์ เหตกุ ารณ์สมยั แรกเร่มิ ประวตั ศิ าสตรม์ รี ายละเอยี ด ดงั น้ี นครศรธี รรมราช เขา้ สสู่ มยั แรกเรม่ิ ประวตั ศิ าสตร์ สมยั พทุ ธศตวรรษที่ 5 - 6 หรอื ประมาณ 2,000 ปมี าแลว้ ซ่ึงเป็นช่วงสมัยท่ีคาบเก่ียวหรือร่วมสมัยกับสมัยก่อนประวัติศาสตร์ยุคโลหะ ความเปล่ียนแปลงทางสังคม หรอื วฒั นธรรม โบราณวตั ถทุ พ่ี บสว่ นใหญเ่ ปน็ สนิ คา้ ตา่ งแดน เชน่ เครอื่ งประดบั แหวน ลกู ปดั จี้ เครอ่ื งทองรปู พรรณ ตราประทบั มจี ารกึ อกั ษร เปน็ ตน้ แหลง่ โบราณคดสี มยั แรกเรมิ่ ประวตั ศิ าสตรท์ พี่ บ เชน่ แหลง่ โบราณคดบี า้ นเกยี กกาย หมู่ 8 กลองมโหระทกึ สำ� รดิ เครอื่ งประดบั สำ� รดิ เครอ่ื งประดบั ทองคำ� (ตา่ งห)ู เครอื่ งมอื เหลก็ เครอ่ื งถว้ ยจนี ราชวงศถ์ งั มแี หลง่ ประวัติศาสตรส์ มัยแรกเรม่ิ ประวัตศิ าสตร์ดงั นี้ แหล่งโบราณคดีวัดหัวมินา (ร้าง) พบลูกปัดแก้วสีเขียวสลับลายเส้นสีค�ำ เศษแก้วหลอมและลูกปัดแก้ว แบบมีตา แบบเดยี วกบั ที่พบในแหลง่ โบราณคดคี วนลกู ปัด อำ� เภอคลองทอ่ ม จังหวัดกระบี่ แหลง่ โบราณคดใี นบรเิ วณพน้ื ทคี่ ลองทา่ เรอื แสดงถงึ การเปน็ ทต่ี งั้ ชมุ ชนเมอื งทา่ คา้ ขายและแหลง่ ทอี่ ยอู่ าศยั ตง้ั แตส่ มยั แรกเรมิ่ ประวตั ศิ าสตร์ จนถงึ สมยั ประวตั ศิ าสตร์ ตง้ั แตพ่ ทุ ธศตวรรษท่ี 5 เปน็ ตน้ มา จนถงึ ปจั จบุ นั (พบกลอง มโหระทกึ เคร่อื งถ้วยจนี ตง้ั แตส่ มัยราชวงศ์ถัง ช้อน หยวนและหมิง เคร่ืองถว้ ยเวียดนาม ลูกปดั แกว้ เปน็ ตน้ ) เศยี รพระพทุ ธรปู พบทอ่ี ำ� เภอสชิ ล อายรุ าวพทุ ธศตวรรษที่ 10 - 11 ลกั ษณะคลา้ ยกบั พระพทุ ธรปู ในศลิ ปะ อนิ เดีย ภาคตะวนั ออกเฉียงใต้จากล่มุ แม่น้ำ� กฤษณา (ปัจจบุ ันอยู่ทีพ่ ิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาตินครศรธี รรมราช) พระวษิ ณุหรอื พระนารายณ์ พบท่ีหอพระนารายณ์ ตำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมอื งนครศรีธรรมราช อายรุ าว พุทธศตวรรษที่ 10 - 11 เป็นรปู แบบพระวษิ ณุท่เี กา่ ทีส่ ุดในศลิ ปะอินเดียภาคตะวนั ออกเฉียงใต้ทไี่ ดร้ บั อิทธิพลศลิ ปะ อินเดยี แถบลุ่มแมน่ ํา้ กฤษณา (ปัจจบุ นั อย่ทู ่พี พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาตนิ ครศรธี รรมราช) 6 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
พระวิษณุพบที่วัดพระเพรง ต�ำบลนาสาร อ�ำเภอพระพรหม อายุราวพุทธศตวรรษท่ี11 (ปัจจุบันอยู่ท่ี พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวิหาร นครศรีธรรมราช) ศวิ ลงึ ค์ แบบดงั้ เดมิ คอื ศวิ ลงึ ค์ ทม่ี ลี กั ษณะรปู รา่ งเหมอื นอวยั วะเพศชาย ไดแ้ ก่ ศวิ ลงึ ค์ สลกั ตดิ กบั ฐานโยนิ พบทบ่ี า้ นสระกดู ตำ� บลเสาเภา อ�ำเภอสิชล เรือ่ งท่ี 4 เหตกุ ารณ์สมัยประวตั ิศาสตร์ เหตุการณ์สมัยประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย สมัยอาณาจักรตามพรลิงค์ สมัยอาณาจักรศรีวิชัย สมยั สริ ธิ รรมนคร สมยั สโุ ขทยั สมยั อยธุ ยา สมยั กรงุ ธนบรุ ี สมยั รตั นโกสนิ ทร์ และยคุ มณฑลเทศาภบิ าลโดยมรี ายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปนี้ ระยะเวลาท่จี ัดวา่ นครศรีธรรมราช เข้าสสู่ มยั ประวัตศิ าสตร์ ตัง้ แต่พทุ ธศตวรรษท่ี 12 ท้ังนีเ้ พราะได้พบ จารกึ อกั ษรโบราณหลายหลกั ในจังหวัดนครศรธี รรมราช จารกึ รนุ่ แรก พบศลิ าจารึกอกั ษรปลั ลวะ 3 หลกั ได้แก่ ศิลาจารึกหุบเขาชอ่ งคอย พบที่ต�ำบลทุ่งโพธิ์ อ�ำเภอจุฬาภรณ์ เป็นจารึกบนแท่งหิน ตดิ กบั ภเู ขา อกั ษรปลั ลวะ ภาษาสนั สกฤต กำ� หนดอายรุ าวพทุ ธศตวรรษ ที่ 12 จารึกหลักน้ีเป็นของกลุ่มชนที่นับถือศาสนาพราหมณ์ ลทั ธิไศวนิกาย ศิลาจารึกช่องคอยหรือศลิ าจารึกหุบเขาช่องคอย ลกั ษณะ ศิลาจารึกเปน็ หินขนาด ต้ังอยู่บรเิ วณหนา้ ผา ระหวา่ งหบุ เขาสามารถ มองเห็นพื้นที่ราบด้านล่างได้ชัดเจนด้านบนเป็นแผ่นราบมีอักษร ศลิ าจารึกหบุ เขาชอ่ งคอย ปลั ลวะจารกึ เปน็ ขอ้ ความ 3 ตอน ซง่ึ แปลเปน็ ภาษาไทยปจั จบุ นั ไดด้ งั น้ี ตอนที่ 1 (ศลิ าจารกึ นเ้ี ปน็ ) ของผเู้ ปน็ สวามขี องนางวทิ ยาเทวี (นางวิทยาเทวีเป็นร่างหน่ึงของนางทรุ คา) ตอนที่ 2 ขอความนอบน้อมจงมีแก่ท่าน ผู้อยู่เป็นเจ้า แห่งป่าพระองค์น้ันขอความนอบน้อมจงมีแก่ท่านผู้เป็นเจ้าแห่งเทพ ทงั้ มวลพระองคน์ นั้ ชนทง้ั หลายผเู้ คารพตอ่ พระศวิ ะ คดิ วา่ ของอนั ทา่ น อักษรปลั ลวะจารกึ ตอนที่ 1 ผเู้ จรญิ (พระศิวะ) นีจ้ ะพงึ ใหม้ อี ยู่ในทีน่ ้ีจึงมาเพื่อประโยชนน์ ้ัน ตอนท่ี 3 ถ้าคนดีอยู่ในหมู่บ้านของชนเหล่าใดความสุข และผลจกั มีแกช่ นเหล่าน้ัน อกั ษรปลั ลวะจารึก เอกสารประกอบการเรยี น 7 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ศลิ าจารกึ วดั มเหยงคณ์ (จารกึ หลกั ที่ 27 หรือ น.ศ.10) พบที่วัดมเหยงคณ์ ริมคลองกลาย ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแท่งศิลาจารึกสีด�ำ รปู สเี่ หลย่ี มสภาพชำ� รดุ มรี อยหกั ดา้ นขวาและดา้ นซา้ ยทง้ั สองขา้ งจารกึ อกั ษรปลั ลวะ ภาษาสนั สกฤต บง่ บอกถงึ เสนาสนะของจดั การจำ� หนา่ ย เครื่องเขียน ทั้งหมึก แผ่นเขียน และได้กล่าวถึงคณะพราหมณ์ท่ีอยู่ ร่วมกันดว้ ย ดังมปี ริศนาลายทาง กลา่ วไวว้ า่ ศลิ าจารึกวดั มเหยงคณ์ “วัดมเหยงคณ์ มีธงสามชาย อยู่ปากน้�ำกลาย ฝ่ายทิศอุดรมีโหนดต้นอ่อน ๆ มีท้อนต้นแฉ้ ใครรู้จักแก้ กนิ ไม่ส้ินเอย” ศลิ าจารกึ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวิหาร (จารึกหลกั ท่ี 28 หรอื น.ศ.3) เป็นแท่งศิลาแผ่นสี่เหลี่ยม จารึกอักษรปัลลวะ ภาษามอญโบราณ ก�ำหนดอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 12 กรมศิลปากรอ่านและแปลความได้ว่า “รูปจ�ำลอง พ่อมายาแห่งหัวเมืองชั้นนนอก ผู้งามสง่าประดุจถ่านไฟ ที่ก�ำลังลุกโชน” จารึกอักษรปัลลวะท้ัง 3 หลักท่ีพบแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างดินแดนนครศรีธรรมราช กับอนิ เดีย 1. สมัยอาณาจักรตามพรลิงค์ ช่ือแรกของเมืองนครศรีธรรมราช ปรากฏต้ังแต่ก่อนพุทธศตวรรษที่ 10 ทั้งกะมะลิง ตะมะลิง ตามรยะลิงค์ ตามพรลิงเดศวร ตันหม่าหลิง และตามพรลิงห์ อันแปลว่า ศิวลึงค์ทองแดง หรือลิฟต์ทองแดง เมืองตามพรลิงค์อันมีความหมายว่า ลิงค์ทองแดง ก�ำเนิดจากเขาคา ลิงค์ทองแดง เป็นการตั้งช่ือจากลึงคบรรพต หรือสยมภูวลึงค์ ที่ประดิษฐานเนินเหนือสุดของเขาคา เป็นหินรูปธรรมชาติ รูปทรงแบบศิวลึงค์ ท่ีมีร่องรอย การแกะสลัก เล็กน้อย เพอ่ื ให้เกดิ เส้นพรหมสตู รและ เสน้ ปารศวสตู ร (เสน้ เอ็นของหนงั หุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) ในความเช่ือของพราหมณ์ลัทธิไศวนิกาย ถ้าลิงคบรรพต หรือสยมภูวลิงค์ แตกหักหรือร้าว จะเกดิ อบุ ตั ภิ ยั อยา่ งมากตอ่ ชาวบา้ น จะตอ้ งทำ� พธิ กี รรมบชู าเทพและหมุ้ หอ่ ศวิ ลงิ คด์ ว้ ยทองแดง หรอื ทองคำ� ซง่ึ เชอื่ วา่ ลิงคบรรพต องค์น้ีคงจะไดร้ ับการหุม้ ห่อดว้ ยทองแดง และเรยี กขานกนั ต่อมาวา่ ตามพรลงิ ค์ โดยอาจเปน็ ที่ต้ังเมอื ง หรอื เป็นจดุ หมายนกั เดนิ ทางได้ จึงบนั ทึกชื่อเมืองแรกแถบทะเลใตน้ วี้ ่า “ตามพรลงิ ค์” ตามพรลิงค์ จากยุคท่ีก่อต้ังที่เขาคา ตามคติศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกายแล้ว จากหลักฐาน ทางโบราณคดี น่าจะมีการเปลีย่ นศนู ย์กลางเป็นระยะจากเขาคาสตู่ ้นล่มุ น้ำ� คลองกลาย และสูบ่ ้านทา่ เรอื ตามล�ำดับ บางช่วงสมัยกม็ ีอาณาจกั รอื่น ๆ มอี �ำนาจเหนอื กวา่ 2. สมัยอาณาจักรศรวี ิชัย ศรวี ชิ ยั เปน็ ชอ่ื อาณาจกั รทม่ี ชี อ่ื เสยี งทางการเดนิ เรอื และการคา้ มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งในชว่ งพทุ ธศกั ราช ท่ี 13-16 อาณาจักรนี้แต่เดิมอย่แู ถวเกาะสุมาตรา และขยายอิทธพิ ลครอบครองช่องแคบมะละกาได้ เป็นจดุ ควบคมุ เส้นทางเดนิ เรอื ทงั้ ในภมู ภิ าคและรฐั แดนไกล เชน่ จีนและอนิ เดยี และศรีวิชัยยังเปน็ ศูนย์กลางพระพทุ ธศาสนานกิ าย มหายานในภูมิภาค ศรีวิชัยตามบันทึกต่าง ๆ ซ่ึงเรียกซื่อตามส�ำเนียงของซาติต่าง ๆ เช่น ซิลิโฟซิ โฟซิ คันโทสี โดยมีหลกั ฐานการบันทึกท่สี �ำคญั เช่น บันทึกหลวงจนี อจี้ ิง (พ.ศ. 1213-1238) จารึกสุมาตรา (พ.ศ. 1225-1229) บันทึกการเดินเรือของสไุ ลมาน พ่อค้าอาหรบั (พ.ศ. 1394) ของอาบู่โซอิค (พ.ศ. 1459) ของมาซดู ี (พ.ศ. 1486) จารึกตันซอร์ของอินเดีย (พ.ศ. 1568) บันทึกจากเจาจูคัว ในหนังสือจูพ่านฉี (พ.ศ. 1768) และหลักฐานของไทย ในศลิ าจารกึ หลกั ที่ 23 (พ.ศ. 1318) ศลิ าจารึกหลักท่ี 25 (พ.ศ. 1726) และศิลาจารึกหลกั ที่ 24 (พ.ศ. 1773) 8 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค3300168 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
3. สมยั สริ ธิ รรมนคร ช่ือน้ีพบว่าใช้ในกรณีที่เป็นชื่อของสถานท่ี (คือเมืองหรือนคร) เช่นเดียวกับช่ืออื่น ๆ ที่กล่าวมา แต่หากเป็น ชือ่ ของกษตั รยิ ์มักจะเรยี นวา่ “พระเจ้าสริ ธิ รรม” หรือ “พระเจา้ สิรธิ รรมนคร” หรอื “สิริธรรมราช” “สิริธรรมนคร” ปรากฏในหนังสือบาลีเรื่องจามเทวีวงศ์ ซ่ีงมีพระโพธิรังลีพระเถระ ชาวเชียงใหม่ เป็นผู้แต่งขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 21 นอกจากน้ีปรากฏอยู่ในหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ พุทธสิหิงศ์ท่ีลังกา จงึ ทรงอยากได้ พระเจา้ สริ ธิ รรมนครจงึ สง่ ทตู ไปขอกษตั รยิ ล์ งั กาใหก้ รงุ สโุ ขทยั จงึ ไดพ้ ระพทุ ธสหิ งิ ศม์ าบชู า ในตำ� นาน พระบรมธาตเุ มอื งนครศรธี รรมราช ไดก้ ลา่ วถงึ เมอื งขนึ้ ของนครศรธี รรมราช สบิ สองเมอื ง เรยี กวา่ เมอื งสบิ สองนกั ษตั ร ได้แก่ เมืองสาย (สายบรุ ี) ใชต้ ราหนู เมอื งตานี(ปัตตาน)ี ใชต้ ราวัว เมืองกลันตัน ใช้ตราเสือ เมอื งปาทงั ใชต้ ราแพะ เมืองบันทายสมอ ใช้ตราสิง เมืองสระอุเลา ใช้ตราไก่ เมืองตะก่ัวป่าใช้ตราหมา เมืองกระ(กระบุรี) ใช้ตราหมู และคงเป็นเมืองข้ึนต้ังแต่ ปลายพุทธศตวรรษท่ี 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษท่ี 19 หรือต้นพุทธศตวรรษที่ 20 ก่อนที่นครศรีธรรมราช จะถกู ผนวกเป็นสว่ นหนึ่งของอาณาจักรอยธุ ยา รวมเวลาทีน่ ครศรีธรรมราช หรอื อาณาจักร ตามพรลิงค์ เจรญิ อย่างสูงสุดประมาณหน่ึงศตวรรษตงั้ แต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นตน้ มา 4. สมัยสุโขทัย พุทธศตวรรษท่ี 19 - 20 ในชว่ งพุทธศตวรรษที่ 18 นครศรีธรรมราช หรอื ตามพรลงิ ค์ เปน็ เมืองใหญ่ ในคาบสมุทรภาคใต้ มีแสนยานุภาพทางทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งก�ำลังทางเรือ สามารถยกกองทัพเรือไปตีลังกา ถึงสองครั้ง รวมทั้งยกพลไปตีเมืองละโว้ได้ด้วย พญาศรีธรรมาโศกราช มีความสัมพันธ์กับเมือง หรือดินแดน ทางตอนเหนือ ตั้งแตด่ นิ แดนในลุ่มแม่น้ำ� เจ้าพระยาไปจนถึงสโุ ขทัย ความสัมพันธน์ ้ี สว่ นหนง่ึ เกดิ จากความสัมพนั ธ์ ในระบบเครือญาติโดยการแตง่ งาน 5. สมยั อยุธยา ในกลางพุทธศตวรรษที่ 19 นครศรีธรรมราชอ่อนแอลง ตามต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราชมีว่า หลงั จากพระเจา้ อทู่ องสถาปนากรงุ ศรอี ยธุ ยาในปี พ.ศ.1893 ไดย้ กกองทพั ลงมาทางใตส้ รู้ บกบั เมอื งนครศรธี รรมราช แต่ไม่แพ้ชนะกัน จึงได้เจรจาแบ่งดินแดนกับพญาศรีธรรมาโศกราช ท่ีบริเวณบ้านบางตะพาน (อ�ำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขนั ต)์ พุทธศตวรรษที่ 23 ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ด�ำเนินกุศโลบายใหม่โดยส่ง พระยารามเดโช ทหารเอกเช้ือสายแขกอาหรับ นับถือศาสนาอิสลามมาเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช เพ่ือให้เป็นศูนย์กลางอ�ำนาจของอยุธยาในแหลมมลายูเพื่อโดดเด่ียวและปิดล้อมเมืองสงขลา ส่งผลให้การค้า ของสงขลาซบเซา และสามารถกีดกันอ�ำนาจของอังกฤษออกไปจากสงขลาได้ในท่ีสุด สงขลาถูกกองทัพ ของกรงุ ศรอี ยธุ ยา จากนครศรธี รรมราชตแี ตก เมอ่ื ปี พ.ศ.2233 และกลบั มาอยใู่ นปกครองของเมอื งนครศรธี รรมราช ตามเดมิ รัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา ได้ทรงจัดการกับหัวเมืองที่ขัดขืนพระราชอ�ำนาจไม่ได้เข้ามาร่วมงาน พระราชพิธี ถือนํ้าพระพิพัฒน์สัตยาแสดงความจงรักภักดี มีเมืองนครศรีธรรมราชกับเมืองนครราชสีมา เม่ือปี พ.ศ. 2235 จึงได้ยกกองทัพท้ังทางบกและทางเรือไปดีเมืองนครศรีธรรมราช โดยมีพระยาสุรสงคราม เปน็ แม่ทัพหลวง และพระยาราชวงั สันเปน็ แม่ทพั หนา้ พระยารามเดโชมหี นังสอื ลับ พระยาราชวงั สัน ซึ่งเป็นเพ่อื น และเป็นมุสลิมด้วยกันช่วยจัดหา เรือให้พระยารามเดโชหนีไปได้ เม่ือตีเมืองนครศรีธรรมราชได้พระยาราชวังสัน ตอ้ งโทษประหารชวี ติ ภายหลงั เสรจ็ ศกึ ความเสยี หายของนครศรธี รรมราชครงั้ น้ี ทำ� ใหอ้ ำ� นาจของเมอื งนครศรธี รรมราช ออ่ นแอลงไปมาก สมเดจ็ พระเพทราชา ทรงนำ� วธิ กี ารกลั ปนาวดั กลบั มาใชอ้ กี ครงั้ คอื ใหอ้ ำ� นาจพระสงฆใ์ นการควบคมุ ชุมชน เอกสารประกอบการเรียน 9 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
6. สมัยกรุงธนบรุ ี พุทธศตวรรษท่ี 24 หลังจากกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า เม่ือปี พ.ศ. 2310 หลวงสิทธินายเวร ผเู้ ปน็ ปลดั เมอื งนครศรธี รรมราชหรอื ทเี่ รยี กกนั วา่ พระปลดั หนู ไดร้ วบรวมผคู้ นตง้ั ตนเปน็ อสิ ระ เรยี กวา่ ชมุ นมุ เจา้ นคร ในปี พ.ศ. 2312 สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ไดโ้ ปรดใหเ้ จา้ พระยาจกั รี (หมดุ ) พระยาอภยั รณฤทธ์ิ พระยายมราช และพระยาเพชรบุรี ยกก�ำลังทางบกไปปราบแต่ไม่ส�ำเร็จสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงเสด็จ ยกกำ� ลังทางเรอื ไปตเี มืองนครศรธี รรมราช ทพั หลวงเขา้ ตคี ่ายทา่ หมาก ท่ีคลองปากนคร และทคี่ ลองทา่ ศาลาสหี่ น้า (บ้านปากพญา) แตก เจา้ นครศรธี รรมราชท้งิ เมอื งอพยพครอบครัวหนไี ปเมืองสงขลา แล้วให้หลวงสงขลา (วิเถียน) พาไปพักพิงอยู่เมืองเทพา เมืองปัตตานี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้โปรดให้เจ้าพระยาจักรีและพระยาพิชัย ราชายกกองทัพเรือติดตามไปเมืองปัตตานี เจ้าเมืองปัตตานียอมส่งตัวเจ้านครศรีธรรมราช (หนู) มาถวายแต่โดยดี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงแต่งต้ังพระเจ้าหลานเธอเจ้านราสุริยวงศ์ ข้ึนครองเมืองนครศรีธรรมราช ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2312 จนถึงแก่พิราลัย เมอ่ื ปี พ.ศ. 2319 จงึ ทรงแตง่ ตงั้ ให้ เจ้านครศรธี รรมราช (หนู) กลบั ไปครอง เมอื งนครศรีธรรมราช อีกครัง้ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระเจา้ นครศรธี รรมราช เจ้าขัณฑสมี า ให้มเี กียรตเิ สมอ เจา้ ประเทศราชมอี �ำนาจแต่งต้ังขนุ นางตามแบบจตสุ ดมภไ์ ด้เช่นเดยี วกับราชธานี 7. สมัยรัตนโกสนิ ทร์ ปี พ.ศ. 2325 ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ได้มีการเปล่ยี นแปลงฐาน อ�ำนาจ ทางการเมอื ง และการปกครองเมอื งนครศรีธรรมราช ดังนี้ โปรดเกลา้ ให้พระเจ้านครศรธี รรมราช (หนู) พน้ จากตำ� แหนง่ ใหเ้ ขา้ มารับราชการท่กี รุงเทพฯ แต่งตั้งเจ้าพัฒน์ (หรือพัด) ปลัดเมืองนครศรีธรรมราชขึ้นเป็นเจ้าเมืองแทนโดยได้รับบรรดาศักดิ์ เปน็ เจ้าพระยาศรโี ศกราช ชาติเดโชไชย มไหสรุ ิยาบดี อภยั พิริยะ ปรากรมพาหุ พระยาศรีธรรมราช หรือเรยี กสนั้ ๆ วา่ เจา้ พระยานครศรีธรรมราช (พฒั น์) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) ได้กราบ บังคมทูลขอลาออกจากต�ำแหน่ง เน่ืองจากมีปัญหาเร่ืองสุขภาพ พระองค์ได้ทรงแต่งต้ังพระบริรักษ์ภูเบศร์ (น้อย) ผู้ช่วยราชการเมืองนครศรีธรรมราช เป็นเจ้าเมืองแทน เม่ือปี พ.ศ. 2354 โดยได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็นพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) มีนามในตราต้ังว่า พระยาศรีธรรมโศกราช ชาติเดโชไชย มไหสุริยิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ พระยานครศรีธรรมราช และได้เป็นเจ้าพระยานครศรีธรรมราช ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั คนทัว่ ไปนิยม เรยี กว่า เจ้าพระยานครนอ้ ย สมเด็จฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ ทรงกล่าวยกย่องเจ้าพระยานคร (น้อย) มีความตอนหนึ่งว่า “เป็นผู้มีอ�ำนาจมากกว่าเจ้าพระยานครทั้งปวง ได้บังคับบัญชาตลอดจนมาถึงเมืองไชยาข้างฝังตะวันตกก็มีอ�ำนาจ เอ้ือมแผ่ไปจนถึงถลาง น�ำทัพศึกที่เป็นเร่ืองส�ำคัญก็คือ ตีเมืองไทร มีอ�ำนาจในเมืองแขกมาก นับถือเป็นพระเจ้า แผน่ ดนิ รอง เปน็ ผไู้ ดร้ บั อำ� นาจทำ� หนงั สอื สญั ญากบั องั กฤษเจา้ ของพระขรรคเ์ นาวโลหะ พระแทน่ ถม พระราชยานถม พระแสงทวนถมและอื่น ๆ” เจ้าพระยาศรีธรรมราช (น้อย) ได้สร้างความส�ำคัญให้แก่เมืองนครศรีธรรมราชเป็นอันมาก สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงกล่าวถึงไว้ในหนังสือสาส์น สมเด็จภาคท่ี 6 มีความตอนหน่ึงว่า “เจา้ พระยานครฯ (นอ้ ย) ปกครองบา้ นเมอื งเขม้ แขง็ กวา่ เจา้ เมอื งแตก่ อ่ น” ในดา้ นการชา่ งไดต้ อ่ เรอื รบ และเรอื กำ� ปน่ั แปลงแก่กองทัพไทยสมัยรัชกาลท่ี 2 จ�ำนวน 30 ล�ำ ได้ส่งเสริมงานช่างศิลปกรรม เคร่ืองถมและ ผ้ายกเมืองนคร จนเปน็ ทรี่ ู้จกั กวา้ งขวาง ดา้ นการรบไดท้ ำ� ศกึ สงครามเพื่อปราบปรามกบฏเมืองไทรบุรีชนะ ทำ� ใหไ้ ทรบรุ ี ยังคงขนึ้ อยู่ กับไทย 10 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
เจา้ พระยานครศรธี รรมราช (นอ้ ย) ถึงแก่อนจิ กรรม เมอ่ื ปี พ.ศ. 2382 พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลา้ เจ้าอยู่หัวทรงแต่งตั้งพระเสน่หามนตรี (น้อยกลาง) ผู้ช่วยว่าราชการเมืองนครศรีธรรมราช ผู้เป็นบุตรคนที่ส่ี ของเจ้าพระยานครศรธี รรมราช (น้อย) เป็นเจา้ เมอื ง ปรากฏนามในตราต้งั วา่ พระยานครศรีธรรมราช แต่คนทั่วไป มักเรียกว่า พระยานครน้อยกลาง ภายหลังได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยานครศรีธรรมราช เม่ือปี พ.ศ. 2395 และได้ถงึ แกอ่ นิจกรรม เม่ือปี พ.ศ. 2410 พระเสน่หามนตรี (หนพู ร้อม) บุตรคนโตของเจา้ พระยานครศรีธรรมราช (นอ้ ยกลาง) ได้เขา้ ดำ� รงตำ� แหน่งเจา้ เมอื งเป็นเจ้าพระยานครศรธี รรมราชสบื แทน ปรากฏนามภายหลังวา่ เจ้าพระยา สธุ รรมมนตรี คนทัว่ ไป เรียกวา่ เจ้าพระยาชนทวน 8. ยคุ มณฑลเทศาภบิ าล มณฑลเทศาภิบาล เป็นรูปแบบปกครองโดยการรวมหัวเมือง เข้ามาอยู่ภายใต้การก�ำกับดูแล และบังคบั บญั ชาของข้าหลวงเทศาภิบาล แทนการมีเจา้ เมอื งดงั แตก่ อ่ น ข้าหลวงเทศาภิบาล มฐี านะเปน็ ขา้ ราชการ ต่างพระเนตร พระกรรณ ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงไวว้ างพระราชหฤทยั คดั เลือกจากขุนนางชน้ั ผูใ้ หญ่ ท่ีมีความรู้ความสามารถสูงออกไปปฏิบัติราชการ และยังมีข้าราชการรองอีกจ�ำนวนหนึ่งรวมเรียกว่า กองมณฑล ทำ� หนา้ ที่ ชว่ ยเหลอื การปฏิบัติราชการในแผนกการต่าง ๆ ในมณฑล ก่อนการปฏิรูปการปกครอง หัวเมืองทางปักษ์ใต้ที่มีความส�ำคัญมาก คือ เมืองนครศรีธรรมราช และเมืองสงขลา เพราะเมอื งทั้งสองท�ำหน้าที่ควบคมุ บังคับบัญชาประเทศราชมลายู เม่อื องั กฤษมีเมืองขึ้นอยูป่ ระชิด ดนิ แดนไทย เปน็ เหตใุ หโ้ ทษกบั องั กฤษมกี รณพี พิ าทกนั ในเรอ่ื งหวั เมอื งมลายหู ลายครง้ั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงใช้นโยบายประนีประนอม ทรงยกฐานะผู้ครองนครรัฐไทรบุรี ขึ้นเป็นเจ้าพระยาและให้ข้ึนตรงต่อ กรุงเทพฯ จากเดิมที่ข้ึนกับเมืองนครศรีธรรมราช ทรงมีพระราชประสงค์ให้ หัวเมืองมลายูเป็นพระราชอาณาเขต ช้ันนอกติดกับฝรั่งเศสตะวันตกและได้โปรดเกล้าฯ ให้หัวเมืองปักษ์ใต้ท้ังหมด ท่ีเคยขึ้นสังกัดกระทรวงกลาโหม มาอยู่ในสังกดั กระทรวงมหาดไทย เอกสารประกอบการเรียน 11 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
กิจกรรมหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ประวตั ศิ าสตรน์ ครศรธี รรมราช จงตอบค�ำถามต่อไปนท้ี ุกข้อ 1. จงอธิบายลักษณะการตั้งถ่ินฐานและการด�ำเนินชีวิตของผู้คนในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช ตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี พอเปน็ สงั เขป ดังน้ี 1) ชาวถ้ำ� หรือมนษุ ยถ์ �ำ้ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 2) ชมุ ชนเกษตรกรรมเรม่ิ แรก ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 3) ชุมชนเมืองทา่ และสถานที่การคา้ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 4) ชมุ ชนุ เมืองและนครรฐั พอสังเขป ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 2. จงแสดงล�ำดับเหตุการณ์สำ� คัญสมยั ก่อนประวัตศิ าสตรใ์ นยคุ หิน ยุคหินใหม่ และยคุ โลหะ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 3. จงแสดงลำ� ดับเหตุการณ์ส�ำคญั สมัยแรกเร่มิ ประวตั ศิ าสตร ์ มาเปน็ ข้อ ๆ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 4. จงบอกส่ิงสำ� คัญที่เกดิ ขึน้ ในยคุ สมยั ทงั้ 7 สมัย ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ 12 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2ลักษณะภมู ปิ ระเทศจงั หวัดนครศรธี รรมราช ลักษณะภูมิประเทศจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นการเรียนรู้เก่ียวกับ ท่ีตั้ง ขนาด และอาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศ และแม่น้�ำที่ส�ำคัญของจังหวัดนครศรีธรรมราช ซ่ึงการเรียนรู้และการสืบค้นข้อมูลลักษณะ ภมู ปิ ระเทศจงั หวดั นครศรธี รรมราช จะสง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจบรบิ ทของพนื้ ทข่ี องจงั หวดั นครศรธี รรมราชไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เร่อื งที่ 1 ท่ตี ั้ง ขนาด และอาณาเขตจงั หวัดนครศรธี รรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ทางตอนกลางของภาคใต้ ห่างจากกรุงเทพมหานคร 780 กิโลเมตร มีเนื้อท่ีประมาณ 9,942,502 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 6,214,064 ไร่ มีพ้ืนท่ีมากเป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ และเปน็ อนั ดบั ที่ 16 ของประเทศ หรอื ประมาณ รอ้ ยละ 1.98 ของพน้ื ทที่ งั้ ประเทศ ทต่ี งั้ ของตวั จงั หวดั ตง้ั อยปู่ ระมาณ ละติจูด 9 องศาเหนอื และลองติจดู 100 องศาตะวนั ออก มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั จังหวดั ต่าง ๆ ดังน้ี ทิศเหนอื ตดิ ต่อกบั จังหวดั สุราษฎรธ์ านแี ละอา่ วไทย ทิศใต ้ ตดิ ตอ่ กับ จงั หวดั ตรงั จงั หวดั พทั ลงุ และจังหวดั สงขลา ทิศตะวันออก ติดตอ่ กับ อา่ วไทย ซ่งึ มีฝงั่ ทะเลยาว 225 กโิ ลเมตร ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับ จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี และจงั หวัดกระบ่ี ทีม่ า : http://www.oceansmile.com/S/Nakhonsitammarat/Nakhon1.htm เอกสารประกอบการเรียน 13 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
เรอ่ื งที่ 2 ลกั ษณะภมู ิประเทศจงั หวดั นครศรธี รรมราช ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศจงั หวดั นครศรธี รรมราช ประกอบดว้ ย บรเิ วณเทอื กเขาตอนกลาง บรเิ วณ ทรี่ าบชายฝง่ั ตะวนั ออก และบรเิ วณทรี่ าบด้านตะวันตก โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี 1. บรเิ วณเทอื กเขาตอนกลาง ไดแ้ ก่ บรเิ วณเทอื กเขาจงั หวดั นครศรธี รรมราช มอี าณาเขตตงั้ แตต่ อนเหนอื ของจงั หวดั ลงไปถงึ ตอนใตส้ ดุ บรเิ วณพน้ื ทขี่ องอำ� เภอ ทอ่ี ยใู่ นเขตเทอื กเขาตอนกลาง ไดแ้ ก่ อำ� เภอสชิ ล อำ� เภอขนอม อ�ำเภอท่าศาลา อ�ำเภอเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช อ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอพรหมคีรี อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอจุฬาภรณ์ และอ�ำเภอพระพรหม ในเขตเทือกเขานี้มีภูเขาสูงสุดในจังหวัด คือ ภูเขาหลวง ซึง่ สงู เหนอื ระดับนาํ้ ทะเลประมาณ 1,835 เมตร นอกจากนี้เทือกเขาดังกล่าวยังเป็นเส้น แบ่งเขตอ�ำเภอ ระหว่างอ�ำเภอทุ่งสง อ�ำเภอฉวาง กับอ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช อ�ำเภอพรหมคีรี พน้ื ท่ี อ.พรหมครี ี อำ� เภอทา่ ศาลา และเปน็ เสน้ แบง่ เขต จงั หวดั นครศรธี รรมราช ที่มา : https://www.welovelocal.travel/outingonthetrain กบั อำ� เภอบา้ นนาสารอำ� เภอกาญจนดษิ ฐ์จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี อีกด้วย บริเวณเทือกเขาตอนกลาง มีเส้นทางคมนาคม ทส่ี ำ� คญั คอื ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 401 โดยมรี ะยะทาง เริ่มต้นจากชายฝั่งตะวันตกของภาคใต้ โดยแยกจาก ถนนเพชรเกษมบริเวณกิโลเมตรที่ 762+481 ท่ีสามแยก โคกเคียน ใกล้ตัวเมืองอ�ำเภอตะก่ัวป่า จังหวัดพังงา จากน้ันตัดไปทางทิศตะวันออกผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานี ไปยงั ชายฝง่ั ตะวนั ออก และลงใตไ้ ปยงั จงั หวดั นครศรธี รรมราช พื้นที่ อ.ลานสกา โดยสิ้นสุดที่ถนนพัฒนาการคูขวาง และทางหลวงแผ่นดิน ท่มี าhttps://pantip.com/topic/35053664 หมายเลข 4015 นครศรีธรรมราช–บ้านส้อง เป็นถนนเส้นทางหลักเช่ือมต่อระหว่างอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช อำ� เภอลานสกา อำ� เภอช้างกลาง อ�ำเภอฉวาง และอำ� เภอเวยี งสระ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี 2. บริเวณท่ีราบชายฝั่งตะวันออก ได้แก่ บริเวณตั้งแต่เทือกเขาตอนกลางไปทางตะวันออกถึงฝั่ง ทะเลอา่ วไทย จ�ำแนกได้เป็น 2 ตอน คือ ตงั้ แต่อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราชลงไปทางใต้เป็นที่ราบท่ีมีความ กว้างจากบริเวณเทือกเขาตอนกลาง ไปถึงชายฝั่งทะเล ระยะทางประมาณ 95 กโิ ลเมตร มีแม่นํ้าลำ� คลองท่มี ีตน้ น้ำ� เกิดจากบริเวณเทือกเขาตอนกลางไหลลงสู่อ่าวไทย หลายสาย นับเป็นที่ราบซ่ึงมีค่าทางเศรษฐกิจของจังหวัด ล�ำน้ําส�ำคัญได้แก่แม่น้�ำปากพนัง และมีคลองสายเล็ก ๆ พน้ื ทีอ่ ำ� เภอสชิ ล ทมี่ า : about:blank 14 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค3300168 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ในเขตอำ� เภอเมอื งจงั หวดั นครศรธี รรมราช อกี หลายสาย เชน่ คลองปากพญาและคลองทา้ ยวงั เปน็ ตน้ อกี บรเิ วณหนงึ่ คือ ต้ังแต่อ�ำเภอท่าศาลาขึ้นไปทางทิศเหนือ เป็นบริเวณชายฝั่งแคบ ๆ ไม่เกิน 15 กิโลเมตร คือ อ�ำเภอสิชล และอำ� เภอขนอม 3. บรเิ วณทร่ี าบดา้ นตะวนั ตก ได้แก่ บริเวณ ทร่ี าบระหวา่ งเทอื กเขาจงั หวดั นครศรธี รรมราช จงึ มลี กั ษณะ เป็นเนินเขาอยู่เป็นแห่ง ๆ อ�ำเภอที่อยู่บริเวณท่ีราบด้านน้ี คือ อ�ำเภอพิปนู อ�ำเภอทงุ่ ใหญ่ อำ� เภอฉวาง อ�ำเภอนาบอน อำ� เภอบางขัน อำ� เภอถาํ้ พรรณรา และอำ� เภอท่งุ สง ล�ำน้�ำส�ำคัญ ได้แก่ ต้นน้�ำของแม่น�้ำตาปี ไหลผา่ นอำ� เภอพปิ นู อ�ำเภอฉวาง และอ�ำเภอทุง่ ใหญ่ ทีม่ า : https://www.naewna.com/likesara เรื่องท่ี 3 แม่น�ำ้ ทส่ี �ำคญั ของจงั หวัดนครศรธี รรมราช แมน่ ำ�้ ทสี่ ำ� คญั ของจงั หวดั นครศรธี รรมราช ประกอบดว้ ย แมน่ ำ�้ ปากพนงั แมน่ ำ้� หลวง คลองปากพนู คลอง ปากพญา-คลองปากนคร คลองเสาธง คลองกลาย คลองน้�ำตกโยง คลองมีน คลองท่าเลาและคลองท่าโลน โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 1. แม่น้�ำปากพนัง ต้นน้�ำเกิดจากเทือกเขาบรรทัด ในเขตต�ำบลวังอ่าง อ�ำเภอชะอวด ไหลผ่าน อำ� เภอชะอวด อำ� เภอเชยี รใหญ่ และมสี าขาจากอำ� เภอหวั ไทร ไหลมารวมกนั ทบ่ี า้ นปากแพรก กลายเปน็ แมน่ ำ้� ปากพนงั ไหลลงสอู่ า่ วจงั หวดั นครศรธี รรมราช นบั เปน็ แมน่ ำ�้ ทสี่ ำ� คญั ทางเศรษฐกิจของจังหวัดมาก โดยเฉพาะทางด้าน เกษตรกรรม บริเวณลุ่มน้�ำปากพนังและล�ำน้�ำสาขา เป็นบริเวณที่ราบมีพ้ืนท่ีนากว่า 500,000 ไร่ มีโครงการ พัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนังอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ด�ำเนินการโดยกรมชลประทาน และแม่น้�ำปากพนัง เป็นท่ีต้ังของท่าเทียบเรือประมงจังหวัดนครศรีธรรมราช และตลาดกลางกงุ้ กลุ าด�ำจังหวดั นครศรีธรรมราช แม่น้�ำปากพนัง 2. แม่น้�ำหลวง เป็นสาขาหนึ่งของแม่นํ้าตาปี ต้นน้ําเกิดจากบริเวณทิศตะวันตกของเทือกเขา จังหวัดนครศรีธรรมราช และเทือกเขาภูเก็ต ส่วนที่เกิดจากเทือกเขาจังหวัดนครศรีธรรมราช มีต้นนํ้าอยู่ในเขต อ�ำเภอพิปูน และอ�ำเภอฉวาง ไหลผ่านอ�ำเภอฉวาง และ อ�ำเภอทงุ่ ใหญ่เข้าเขตจงั หวดั สุราษฎร์ธานี อำ� เภอพระแสง อ�ำเภอนาสารไปรวมกับแม่นํ้าคีรีรัฐนิคม (แม่นํ้าพุมดวง) ท่ีอ�ำเภอพุนพิน เรียกว่า “แม่น�้ำตาปี” แล้วไหลลงสู่ อ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี แม่นํ้าสายน้ีเป็นแม่น�้ำ สายทีม่ คี วามยาวที่สุดของภาคใต้ แมน่ ำ้� หลวง ที่มา : http://oknation.nationtv.tv/blog เอกสารประกอบการเรียน 15 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
3. คลองปากพูน ต้นน้ําเกิดจากเทือกเขา จงั หวดั นครศรธี รรมราชบรเิ วณเขาหลวงทางดา้ นตะวนั ออก ของเทอื กเขาตน้ นา้ํ อยทู่ นี่ าํ้ ตกพรหมโลกในเขตอำ� เภอพรหมครี ี ไหลไปทาง ทศิ ตะวนั ออกผา่ นตำ� บลบา้ นเกาะ อำ� เภอพรหมครี ี และบา้ นทา่ แพ ตำ� บลปากพนู อำ� เภอเมอื งแลว้ ไหลลงสอู่ า่ ว จังหวัดนครศรีธรรมราช ต้นน�้ำเรียกว่าคลองนอกท่า ใกลป้ ากนำ้� เรยี กวา่ คลองปากพนู เปน็ คลองทมี่ คี วามสำ� คญั ทางเศรษฐกิจมาแต่สมัยโบราณ คลองปากพูน ท่มี า : http://oknation.nationtv.tv 4. คลองปากพญา-คลองปากนคร ต้นนํ้าเกิดจากแหล่งนํ้าหลายสาขาในเขตเทือกเขา จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะที่เขาคีรีวง ต�ำบลก�ำโลน อ�ำเภอลานสกา ไหลผ่านอ�ำเภอเมือง ต้นนํ้าเรียกว่า คลองท่าดี ผ่านต�ำบลก�ำแพงเซา ต�ำบลมะม่วงสองต้น อ�ำเภอเมือง เมื่อไหลมาถึงสันทราย ซึ่งเป็นท่ีต้ังตัวเมือง คลองแบ่งแยกเป็นหลายสาขา สายหน่ึงไหลเลียบตัวเมือง ข้ึนไปทางตะวันออกผ่าน ตัวเมืองท่ีสะพานราเมศวร์ ต�ำบลท่าวัง ผ่านต�ำบลท่าซัก ออกทะเล ท่ีปากพญา เรียกว่า คลองปากพญา ซึ่งเป็นคลองท่ีมีความส�ำคัญ ด้านประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของจังหวัด มีหลักฐานว่า เดิมมีขนาดกว้างและลึก ซึ่งเรือก�ำปั่นขนาดใหญ่เข้ามา ติดตอ่ ค้าขายไดถ้ งึ ตัวเมืองจงั หวดั นครศรธี รรมราช คลองปากพญา-คลองปากนคร ท่ีมา : https://pimnatnicha14.wordpress.com 5. คลองเสาธง ต้นน้ําเกิดจากเทือกเขาจังหวัดนครศรีธรรมราช ในเขตอ�ำเภอลานสกา คลองน้ีมีชื่อ เรยี กกนั หลายชือ่ ตามทอ้ งที่ทค่ี ลองไหลผา่ น คือ เมอ่ื ไหลจากนา้ํ ตกกะโรม เรียกวา่ คลองเขาแกว้ เมือ่ ไหลเขา้ สอู่ ำ� เภอ ร่อนพิบูลย์ เรียกว่า คลองเสาธง เม่ือไหลผ่านบ้านโคกคราม อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ เรียกว่า คลองโคกคราม เมื่อไหล เขา้ สตู่ ำ� บลชะเมา เรยี กวา่ คลองชะเมา เม่อื ถงึ หนองนา้ํ มนตม์ ีคลองแยกไปลงคลองปากนคร แต่สว่ นใหญ่ออกทะเล ที่ปากคลองบางจากตอนปลาย คลองนี้จึงเรียกว่า คลองบางจาก และเป็นคลองที่แบ่งเขตอ�ำเภอเมือง จงั หวดั นครศรธี รรมราชกบั อำ� เภอปากพนงั ในสมยั ทพี่ ระยา สขุ มุ นยั วนิ ติ เปน็ เทศาภบิ าลมณฑลจงั หวดั นครศรธี รรมราช ได้ขุดคลองบางจากเช่ือมกับแม่น�้ำปากพนัง เรียกว่า คลองสุขุม ที่ตำ� บลบางจาก กรมชลประทานไดส้ ร้างประตู ระบายน�้ำเพ่ือเก็บกักน้�ำไว้ในล�ำคลองและป้องกันน้�ำเค็ม ระบายให้แก่คลองสุขุมและช่วยการเกษตรกรรมพื้นท่ี 58,200 ไร่ ทม่ี า : https:ค//ลwอwงเwสา.bธlงoggang.com 16 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
6. คลองกลายต้นน�้ำเกิดจากเทือกเขา จังหวัดนครศรีธรรมราช ในเขตพื้นที่ อ�ำเภอนบพิต�ำ ไหลไปออกทะเลท่ีอ�ำเภอท่าศาลา คลองกลาย เป็นท่ีรู้จัก ของชาวจงั หวดั นครศรธี รรมราช เพราะมสี ะพานทยี่ าวทสี่ ดุ ในจงั หวัดจังหวดั นครศรธี รรมราช คลองกลาย ที่มา : https://pimnatnicha14.wordpress.com 7. คลองน�้ำตกโยง ต้นน้ําเกิดจากเทือกเขา จังหวัดนครศรีธรรมราช ด้านตะวันตกบริเวณนํ้าตกโยง ต�ำบลถ้ําใหญ่ อ�ำเภอทุ่งสง แล้วไหลผ่านต�ำบลปากแพรก ต�ำบลชะมาย ต�ำบลที่วัง และต�ำบลกะปาง เข้าสู่อ�ำเภอ ห้วยยอด จงั หวัดตรงั กลายเป็นสาขาหนงึ่ ของแมน่ ํ้าตรัง คลองนำ้� ตกโยง ท่ีมา : http://myprojectpage1.blogspot.com 8. คลองมีน ต้นนํ้าเกิดจากภูเขาสามจอม ในเขตอ�ำเภอทุ่งใหญ่ ไหลลงมาทางตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านบ้านห้วยญวณข้างเหนือ ผ่านบ้านเขาขาว สหกรณ์ นิคมทุ่งสง บ้านล�ำสาย บ้านทุ่งส้าน สถานีรถไฟหลักช้าง บา้ นปากนาํ้ คลองจนั ดี ไหลไปเปน็ สาขาหนงึ่ ของแมน่ า้ํ หลวง หรือแม่นา้ํ ตาปีและออกอา่ วบ้านดอน จังหวดั สุราษฎรธ์ านี คลองมีน ที่มา : https://pimnatnicha14.wordpress.com เอกสารประกอบการเรยี น 17 รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
9. คลองท่าเลา ต้นนํ้าเกิดจากภูเขา คลองท่าเลา วังหีบ อ�ำเภอทุ่งสง ซึ่งเป็นภูเขาลูกหนึ่งในเทือกเขา ทม่ี า : https://pimnatnicha14.wordpress.com จังหวัดนครศรีธรรมราช ไหลลงทางใต้ผ่านบ้านประดู่ บ้านท่าเลา บ้านปังทอง บ้านเขาปรีดี สถานีรถไฟทุ่งสง คลองท่าโลน บ้านตลาดในบ้านด่านปาบ บ้านห้วยขัน บ้านเขากลาย ทีม่ า : https://pimnatnicha14.wordpress.com บา้ นนาหลานา้ํ บา้ นฉลาง บา้ นเขาโร แลว้ เขา้ อำ� เภอหว้ ยยอด อ�ำเภอเมืองจังหวัดตรัง และออกทะเลอันดามัน ที่อำ� เภอกนั ตัง จังหวัดตรัง 10. คลองทา่ โลน ตน้ นาํ้ เกดิ จากภเู ขาปลายเบกิ ใกล้ ๆ กับภูเขาวังหีบในอ�ำเภอทุ่งสง ไหลลงทางใต้ ผ่านบ้านท่าเลา บ้านเป็นคุ้ง ที่ว่าการอ�ำเภอทุ่งสง ด้านตะวันออก บ้านในหวัง บ้านด่านปาบ บ้านห้วยขัน แล้วรวมเข้าเป็นล�ำนํ้าเดียวกันกับคลองท่าเลา ไหลผ่าน ภูเขากลาย บ้านเขาโร เข้าอ�ำเภอห้วยยอด อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง และออกทะเลอันดามันในเขตอ�ำเภอกันตัง ท่เี กาะปันหยี จังหวัดตรัง 18 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
กิจกรรมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะภมู ิประเทศจงั หวัดนครศรีธรรมราช ใหผ้ ู้เรียนศึกษาคน้ ควา้ และตอบค�ำถามตอ่ ไปนใ้ี ห้ถกู ต้อง 1. ที่ตั้ง ขนาด และอาณาเขตนครศรีธรรมราช ทต่ี ง้ั …………………………………………………………..……… ขนาด………………………………………………………..……… ………………………………………………………….…………… ………………………………………………………….…………… …………………………………………………………….…...…… …………………………………………………………….…...…… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… อาณาเขต ทศิ เหนือ ติดตอ่ กับ .................................................................................................................................. ทิศใต้ ติดต่อกับ .................................................................................................................................. ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ .................................................................................................................................. ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับ .................................................................................................................................. 2. อธบิ ายลกั ษณะภมู ิประเทศและยกตัวอยา่ งอำ� เภอของจังหวดั นครศรธี รรมราช ลกั ษณะ ลกั ษณะสำ�คญั อำ�เภอ ภูมิประเทศ ที่อยใู่ นบรเิ วณ บริเวณ ………………………………………………………................................................ ..………………..…..…… เทือกเขา ………………………………………………………................................................ ………………….……….. ตอนกลาง ………………………………………………………................................................ ………………….…...….. ………………………………………………………................................................ ………………….….……. บริเวณทร่ี าบ ………………………………………………………................................................ ..………………..…..…… ชายฝ่งั ………………………………………………………................................................ ………………….……….. ตะวันออก ………………………………………………………................................................ ………………….…...….. ………………………………………………………................................................ ………………….….……. บริเวณทร่ี าบ ………………………………………………………................................................ ..………………..…..…… ดา้ นตะวันตก ………………………………………………………................................................ ………………….……….. ………………………………………………………................................................ ………………….…...….. ………………………………………………………................................................ ………………….….……. เอกสารประกอบการเรยี น 19 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค3300168 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
3. อธบิ ายและยกตวั อยา่ งแมน่ ้�ำทสี่ �ำคัญของจงั หวัดนครศรธี รรมราช โดยสังเขป ชือ่ แม่นำ้� ข้อมลู ทั่วไป 1. ..................................................... ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ 2. ..................................................... ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ 3. ..................................................... ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ 4. ..................................................... ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ 5. ..................................................... ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ 6. ..................................................... ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ 7. ..................................................... ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ 8. ..................................................... ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ ………………………………………………………................................................ 20 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3ลักษณะภมู อิ ากาศจังหวดั นครศรธี รรมราช ลกั ษณะภมู อิ ากาศนครศรธี รรมราช เปน็ การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ฤดกู าลของนครศรธี รรมราช และภยั ธรรมชาติ ทเ่ี กดิ ขึน้ ในจงั หวัดนครศรธี รรมราช ซ่งึ ลกั ษณะทางกายภาพของพนื้ ท่ใี นนครศรีธรรมราช ส่งผลตอ่ การเกดิ ภัยพบิ ัติ ทแ่ี ตกตา่ งกัน การเข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งลกั ษณะทางกายภาพในประเทศไทยกบั ภยั พบิ ัติจะชว่ ยใหม้ นษุ ยอ์ าศัย อยู่รว่ มกับธรรมชาตอิ ย่างย่งั ยืน เร่ืองท่ี 1 ฤดกู าลของจังหวดั นครศรีธรรมราช ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดนครศรีธรรมราชจากสถานท่ีต้ังอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร และมีภูเขาแบ่งพื้นท่ี เป็น 2 คาบสมุทร คือ ด้านตะวันออกเป็นทะเลจีนใต้มหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนด้านตะวันตกเป็นทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดยี ส่งผลใหจ้ งั หวัดนครศรีธรรมราชมอี ุณหภูมิ ดังน้ี อุณหภูมิ เฉล่ยี ท้ังปี 27.0 °c อุณหภมู ิสงู สุด เฉลี่ยทงั้ ปี 32.1 °c อณุ หภูมิตำ่� สดุ เฉลย่ี ทงั้ ปี 23.0 °c นอกจากน้ียังได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมจากมหาสมุทรอินเดียและพายุหมุนเขตร้อนจากทะเลจีนใต้ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดผ่านมหาสมุทรอินเดีย และทะเลอันดามัน เข้าสู่ประเทศไทยบริเวณชายฝั่งตะวันตก จึงมีฝนตกชุก แต่จังหวัดนครศรีธรรมราชมีเทือกเขาทางตะวันตกและตอนกลางเป็นแนวก้ันทิศทางลม ท�ำให้ได้รับ อิทธิพลไมม่ ากนัก ลมมรสมุ ดงั กลา่ วอยูใ่ นชว่ งประมาณเดอื นพฤษภาคมถึงเดอื นตลุ าคม 1. ฤดูฝน 1.1 ตง้ั แต่เดอื น พฤษภาคม - ตุลาคม ได้รบั อทิ ธิพลจากลมมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้ แต่เนอื่ งจากมี เทือกเขานครศรีธรรมราชท่ีสูงชัน เป็นท่ีก้ันทิศทางลมจึงมีฝนตกไม่มากนัก พ้ืนท่ีที่ได้รับฝน คือ พื้นท่ีทางตะวันตก ของเทือกเขา จ�ำนวน 8 อ�ำเภอ ได้แก่อ�ำเภอทุ่งสง อ�ำเภอทุ่งใหญ่ อ�ำเภอบางขัน อ�ำเภอฉวาง อ�ำเภอช้างกลาง อำ� เภอถำ�้ พรรณรา อำ� เภอนาบอนและอ�ำเภอพิปูน 1.2 ตง้ั แต่เดอื นพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ ไดร้ ับอทิ ธิพลจากลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนอื ทำ� ใหม้ ี ฝนตกหนาแน่น ประกอบด้วย 15 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอขนอม อ�ำเภอสิชล อ�ำเภอท่าศาลา อ�ำเภอนบพิต�ำ อำ� เภอพรหมครี ี อ�ำเภอเมืองนครศรธี รรมราช อ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอรอ่ นพิบลู ย์ อำ� เภอจุฬาภรณ์ อ�ำเภอพระพรหม อำ� เภอเฉลมิ พระเกียรติ อ�ำเภอเชยี รใหญ่ อำ� เภอชะอวด อำ� เภอหัวไทร และอ�ำเภอปากพนัง เน่อื งจากพ้ืนท่สี ว่ นใหญ่ ตั้งอย่ดู า้ นรับลมท�ำใหเ้ กดิ อุทกภัยข้นึ เปน็ ประจำ� ทกุ ปี เกณฑ์ปริมาณฝนตก ปริมาณฝนตก ต้ังแต่ 0.1 - 10.0 มิลลเิ มตร/วัน เรียกว่า ฝนตกเลก็ น้อย ปรมิ าณฝนตก ตงั้ แต่ 10.1 - 35.0 มลิ ลเิ มตร/วัน เรยี กวา่ ฝนตกปานกลาง ปริมาณฝนตก ตงั้ แต่ 35.1 - 90 มลิ ลเิ มตร/วัน เรยี กว่า ฝนตกหนกั เอกสารประกอบการเรียน 21 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ปรมิ าณฝนตก ตั้งแต่ 90.1 มลิ ลเิ มตรขึ้นไป เรยี นวา่ ฝนตกหนกั มาก สถานีอุตุนิยมวิทยาจังหวัดนครศรีธรรมราช เก็บข้อมูลปริมาณน�้ำฝน จ�ำนวน 5 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 2557 - 2561) ปรมิ าณน�ำ้ ฝนสงู สดุ คอื เดือนพฤศจิกายน รองลงมาคอื เดอื น ธันวาคม และเดอื นมกราคม 2. ฤดูรอ้ น จังหวดั นครศรธี รรมราช เรม่ิ เข้าฤดรู ้อนต้งั แต่กลางเดอื นมกราคม - กลางเดือนพฤษภาคม อุณหภูมิ ระยะเวลา 5 ปี ตงั้ แต่ปี 2557 - 2561 อุณหภูมิสงู สดุ อยใู่ นช่วงระหวา่ งเดือนเมษายน - สิงหาคม เดอื นทมี่ อี ณุ หภมู ิ สูงสุด คือ เดือนพฤษภาคม รองลงมาคือ เดือนมิถุนายนและเดือนเมษายน อุณหภูมิต�่ำสุดอยู่ในช่วงระหว่าง เดอื นมกราคม - มีนาคม เดือนท่ีมอี ณุ หภูมติ ่�ำสุด คือ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ รองลงมา คอื เดอื นมกราคม และเดือนมนี าคม เรื่องที่ 2 ภัยธรรมชาติทเี่ กดิ ขนึ้ ในจังหวัดนครศรธี รรมราช จงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ จงั หวดั ทมี่ ขี นาดใหญ่ มลี กั ษณะทางกายภาพของพน้ื ทเ่ี ปน็ ภเู ขา ปา่ ไม้ นาขา้ ว ป่าพรุและทะเล ขนึ้ กับท�ำเลทตี่ ัง้ การไดร้ ับอิทธิพลจากธรรมชาติหรอื ทีเ่ รียกวา่ ภัยธรรมชาตอิ ย่างหลากหลาย ไดแ้ ก่ น�้ำทว่ ม ดนิ ถลม่ พายุ การกดั เซาะชายฝ่งั ทะเล ภยั แลง้ และไฟปา่ 1. อทุ กภัย อทุ กภยั คอื ภยั หรอื อนั ตรายทเ่ี กดิ จากนำ้� ทว่ ม หรอื อนั ตรายอนั เกดิ จากสภาวะทน่ี ำ�้ ไหล เออ่ ลน้ ฝง่ั แมน่ ำ�้ ล�ำธาร หรือทางน�้ำเข้าท่วมพ้ืนท่ี ซ่ึงโดยปกติแล้วไม่ได้อยู่ใต้ระดับน�้ำ หรือเกิดจากการสะสมน�้ำบนพื้นท่ี ซ่ึงระบาย ออกไม่ทัน ท�ำให้พ้ืนที่นั้นปกคลุมไปด้วยน�้ำ พื้นท่ีและบริเวณที่อาจจะเกิดอุทกภัย ดินถล่มจะเป็นที่ราบลุ่มบริเวณ ริมตล่ิงและเชิงเขา เกิดการเลื่อนไหลของตะกอนมวลดินและหินท่ีอยู่บนภูเขาสู่ท่ีต�่ำในล�ำห้วยและทางน้�ำ ขณะเมือ่ มีฝนตกหนกั อย่างต่อเนอื่ ง ลักษณะของพน้ื ท่ีเสยี่ งอุทกภยั -ดนิ ถล่ม จังหวดั นครศรีธรรมราช 1.1 อทุ กภยั ทีเ่ กิดจากน้�ำท่วม แบง่ เปน็ ลักษณะใหญ่ 2 ลกั ษณะดังนี้ 1) นำ�้ ทว่ มขัง/น้ำ� ลน้ ตลิ่ง เปน็ สภาวะนำ้� ทว่ มทเ่ี กดิ ขน้ึ เนอื่ งจากระบบระบายนำ้� ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ มสี งิ่ กดี ขวางทางนำ้� มักเกิดข้ึนในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น�้ำและบริเวณชุมชนเมือง มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งเกิดจากฝนตกหนัก ณ บรเิ วณน้ัน ๆ ติดตอ่ กันเป็นเวลาหลายวัน หรือเกดิ จากสภาวะนำ้� ลน้ ตลิ่ง น้�ำท่วมขงั สว่ นใหญจ่ ะเกดิ บริเวณท้ายนำ้� และมีลักษณะแผ่เป็นบริเวณกว้างเนื่องจากไม่สามารถระบายได้ทัน ความเสียหายจะเกิดกับพืชผลทางการเกษตร และทรพั ยส์ ิน 2) นำ�้ ทว่ มฉบั พลนั เกดิ ขนึ้ เนอ่ื งจากอทิ ธพิ ลจาก หยอ่ มความกดอากาศตำ�่ (เกดิ พายอุ อ่ น ๆ) รอ่ งความกดอากาศ ต่�ำและพายุเคล่ือนตัวผ่าน ซึ่งอาจจะไม่มีฝนตกหนักในบริเวณนั้นมาก่อน แต่มีฝนตกหนักมากบริเวณต้นน�้ำ ท่ีอยู่ห่างออกไป น้�ำท่วมฉับพลันมีความรุนแรงและเคลื่อนท่ีด้วยความเร็วมาก โอกาสที่จะป้องกันและหลบหนี จงึ มีน้อยทำ� ใหไ้ ด้รบั ความเสยี หาย ทัง้ ชวี ิตและทรพั ย์สนิ 22 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
1.2 สาเหตกุ ารเกิดอทุ กภัย 1) เกดิ จากธรรมชาติ (1) ฝนตกหนักจากพายุหรือพายุฝนฟ้าคะนอง เป็นพายุท่ีเกิดข้ึนติดต่อกันเป็นเวลา หลายชั่วโมง มีปริมาณฝนตกหนักมาก ไหลลงสู่ต้นน้�ำล�ำธารไม่ทัน จึงท่วมพ้ืนที่ ทอี่ ยใู่ นท่ตี �่ำมกั เกิดในช่วงฤดูฝนหรือฤดรู อ้ น (2) ฝนตกหนักในป่าบนภูเขา มีปริมาณมาก น้�ำไหลเชี่ยวอย่างรุนแรงลงสู่-ท่ีราบเชิงเขา ท�ำให้เกดิ น�ำ้ ท่วมขน้ึ อยา่ งกะทันหนั เรยี กว่า นำ�้ ทว่ มฉบั พลนั เกิดขน้ึ หลังจากทม่ี ฝี น ตกหนกั ในชว่ งระยะเวลาสนั้ ๆ หรอื เกดิ กอ่ นทฝี่ นจะหยดุ ตก มกั เกดิ ขน้ึ ในลำ� ธารเลก็ ๆ โดยเฉพาะบริเวณท่อี ยใู่ กลต้ น้ น้ำ� ของบรเิ วณลุม่ น�ำ้ ระดบั นำ�้ จะสงู ขึ้นอย่างรวดเร็ว (3) ผลจากพายุหรือลมมรสุมมีก�ำลังแรง มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เป็นมรสุมท่ีพัดพา ความชื้นจากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่ประเทศไทย ท�ำให้จังหวัดนครศรีธรรมราช มีฝนตกต้ังแต่ปลายเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคมและระหว่างเดือนตุลาคม – กุมภาพันธ์ มีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ท�ำให้จังหวัดนครศรีธรรมราช จะมฝี นตกชกุ อีกครัง้ เนอื่ งจากมรสุมนนี้ ำ� ความชุม่ ชื้นจากทะเลจีนใต้ เมือ่ ก�ำลงั แรง เปน็ ระยะเวลาหลายวัน ท�ำให้เกิดคลนื่ ลมแรง ระดบั น�้ำในทะเลตามขอบฝั่งจะสูงข้ึน ประกอบกับมฝี นตกหนกั ท�ำใหเ้ กิดนำ้� ท่วมได้ 2) เกดิ จากมนุษย์ (1) การตัดไม้ท�ำลายป่าในพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย เม่ือเกิดฝนตกหนักจะท�ำให้อัตราการไหลของ กระแสน้�ำเพิ่มขึ้นและไหลมาเร็วขึ้น เป็นการเพิ่มความรุนแรงของน้�ำในการท�ำลาย ท�ำใหด้ นิ ถลม่ รากไมข้ นาดใหญถ่ ูกชะลา้ งใหไ้ หลลงมาในทอ้ งนำ้� (2) การขยายเขตเมืองลุกล้�ำเข้าไปในพ้ืนท่ีลุ่มต่�ำซึ่งเป็นแหล่งเก็บน้�ำธรรมชาติ ท�ำให้ ไม่มที ่ีรับน้ำ� ดงั น้นั เมื่อนำ�้ ล้นตลงิ่ ก็จะเขา้ ไปท่วมบริเวณที่เป็นพื้นที่ลมุ่ ตำ�่ ซ่ึงเปน็ เขต เมืองทข่ี ยายใหมก่ ่อน (3) การก่อสรา้ งอาคารบา้ นเรอื นขวางทางน้�ำธรรมชาติ (4) การออกแบบทางระบายนำ้� ของถนนไม่เพยี งพอ ทำ� ให้นำ�้ ล้นเอ่อในเขตเมือง (5) การก่อสรา้ งในบริเวณเชงิ เขาทล่ี าดชัน โดยไม่มีการคำ� นวณดา้ นวศิ วกรรมทดี่ พี อ (6) การเกษตรในพ้นื ทลี่ าดชนั เชงิ เขา (7) การกำ� จัดพืชท่ีปกคลมุ ดิน (8) ชุมชนสว่ นใหญต่ ้ังอยบู่ ริเวณเชงิ เขาและทรี่ าบล่มุ (9) การบุกรุกพน้ื ทปี่ ่า (10) การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ ทไ่ี ม่เหมาะสมกับสภาพพนื้ ที่ 3) การป้องกนั อทุ กภัย ก่อนเกดิ อุทกภัย การเตือนภยั จากธรรมชาติ มขี อ้ สงั เกต ดังนี้ (1) มีฝนตกหนกั ถงึ หนักมากตลอดท้งั วนั (2) มีน�้ำไหลซึมหรือน�้ำพุพุ่งข้ึนมาจากใต้ดินนอกจากน้ีอาจจะสังเกตจากลักษณะ การอุ้มน้�ำของชั้นดิน เน่ืองจากการเกิดดินถล่ม ดินจะอ่ิมตัวด้วยน้�ำหรือชุ่มน�้ำ มากกว่าปกติ เอกสารประกอบการเรยี น 23 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
(3) ระดับน�ำ้ ในแมน่ ำ�้ ลำ� หว้ ยเพม่ิ สงู ขน้ึ อย่างรวดเร็วผิดปกติ (4) สีของน�้ำมสี ีข่นุ มากกวา่ ปกติ (5) มีก่ิงไม้หรอื ท่อนไมไ้ หลมากบั กระแสน้ำ� (6) เกดิ ชอ่ งทางเดนิ นำ�้ แยกขนึ้ ใหมห่ รือหายไปจากเดิม (7) ตน้ ไม้ เสาไฟ รั้ว หรอื ก�ำแพงเอียงหรอื ลม้ ลง (8) เกิดรอยแตกร้าวข้ึนท่ีโครงสร้างต่างๆ ในส่ิงก่อสร้าง เช่น รอยแยกระหว่างวงกบ กับประตู หรอื ระหว่างวงกบกับหนา้ ต่างขยายใหญข่ ึ้น การเตอื นภยั จากมนุษย์ มีข้อสังเกตดงั นี้ (1) ฝึกอบรมอาสาสมัครประจ�ำหมู่บ้านเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและใช้งานระบบเตือน ภยั น้ำ� ท่วม - ดินถลม่ (2) ส่วนราชการและประชาชนสามารถตรวจสอบปริมาณน�้ำฝนจากการเตือนภัยทาง Internet ขณะเกดิ อุทกภยั (1) ตัดสะพานไฟ และปิดแกส๊ หุงต้มใหเ้ รยี บรอ้ ย (2) ใหอ้ ยใู่ นอาคารที่แขง็ แรง และอยูใ่ นทสี่ งู พน้ ระดบั นำ้� ท่ีเคยทว่ มมากอ่ น (3) ทำ� รา่ งกายใหอ้ บอุ่นอยเู่ สมอ (4) ไม่ควรขับขีย่ านพาหนะฝา่ ลงไปในกระแสนำ�้ หลาก (5) ไม่ควรเลน่ น�ำ้ หรือว่ายน�ำ้ เล่นในขณะน้ำ� ทว่ ม (6) ระวงั สตั วม์ พี ษิ ทหี่ นนี ำ�้ ทว่ มขน้ึ มาอยบู่ นบา้ นและหลงั คาเรอื น เชน่ งู แมงปอ่ ง ตะขาบ (7) ติดตามเหตุการณ์อย่างใกล้ชิด เช่น สังเกตลมฟ้าอากาศ และติดตามค�ำเตือน เกยี่ วกับ ลักษณะอากาศจากกรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา (8) เตรียมพร้อมที่จะอพยพไปในท่ีปลอดภัยเม่ือสถานการณ์จวนตัวหรือปฏิบัติตาม ค�ำแนะน�ำของทางราชการ (9) เมอื่ จวนตัวให้ค�ำนึงถงึ ความปลอดภัยของชวี ติ มากกวา่ ห่วงทรพั ย์สมบัติ หลงั เกดิ อุทกภยั (1) การขนส่งคนอพยพกลบั ยังภูมิล�ำเนาเดิม (2) การช่วยเหลือในการร้ือสิ่งปรักหักพัง การกวาดเก็บขนส่ิงปรักหักพังทั่วไป การท�ำความสะอาดบ้านเรือน ถนนหนทางท่ีเต็มไปด้วยโคลนตม และส่ิงช�ำรุด เสยี หายท่เี กลอื่ นกลาดอยทู่ ่วั ไปกลับสูส่ ภาพปกติโดยเรว็ (3) ซอ่ มแซมบ้านเรอื นทพ่ี ักอาศัย โรงเรียน สะพานทีห่ กั พังช�ำรุดเสียหายและทเ่ี สยี หาย มากจนไมอ่ าจซ่อมแซมได้ กใ็ ห้รอ้ื ถอนเพราะจะเป็นอนั ตรายได้ (4) จัดซ่อมท�ำเคร่ืองสาธารณูปโภคให้กลับคืนสู่สภาพปกติโดยเร็วท่ีสุด เช่น การไฟฟ้า ประปา โทรศพั ท์ (5) ภายหลังน้�ำท่วมจะมีซากสัตว์ตายในท่ีต่าง ๆ ซ่ึงจะต้องจัดการเก็บฝังโดยเร็ว สตั ว์ทมี่ ีชีวติ อยู่ ซง่ึ อดอาหารเปน็ เวลานานให้รีบให้อาหารและนำ� กลับคนื ใหเ้ จา้ ของ 24 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
(6) ซ่อมถนนสะพานและทางรถไฟที่ช�ำรุดเสียหายให้กลับสู่สภาพเดิมเพ่ือใช้ในการ คมนาคมได้โดยเร็วท่สี ดุ (7) สรา้ งอาคารชัว่ คราวสำ� หรับผ้ทู ่อี าศัย (8) แจกเส้ือผ้า เคร่อื งนงุ่ ห่ม และอาหารแก่ผูป้ ระสบภัย เพ่อื ด�ำรงชีวิตชว่ั ระยะหนึ่ง (9) ระวังการเจบ็ ปว่ ยและโรคระบาด 2. วาตภยั วาตภัยเป็นภัยท่ีเกิดขึ้นจากพายุลมแรง จนท�ำให้เกิดความเสียหายแก่อาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และสงิ่ กอ่ สรา้ ง จงั หวดั นครศรธี รรมราชมโี อกาสเสยี่ งตอ่ ภยั จากพายหุ มนุ เขตรอ้ น ตง้ั แตก่ ลางเดอื นตลุ าคมจนถงึ เดอื น มกราคม และมีพ้ืนทเี่ สี่ยงภยั 3 ระดบั ดังนี้ ความเสี่ยงระดับต่�ำ จ�ำนวน 5 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอพรหมคีรี อ�ำเภอนบพิต�ำ อ�ำเภอนาบอน อ�ำเภอถ้�ำพรรณรา และอำ� เภอเฉลมิ พระเกียรติ ความเส่ียงระดบั กลาง จำ� นวน 9 อำ� เภอ ได้แก่ อำ� เภอขนอม อำ� เภอพระพรหม อ�ำเภอพปิ ูน อำ� เภอ ชา้ งกลาง อ�ำเภอทงุ่ สง อ�ำเภอบางขนั อำ� เภอจุฬาภรณ์ อ�ำเภอชะอวด และอ�ำเภอเชียรใหญ่ ความเสย่ี งระดบั สงู จำ� นวน 9 อำ� เภอ ไดแ้ ก่ อำ� เภอสชิ ล อำ� เภอทา่ ศาลา อำ� เภอเมอื ง อำ� เภอลานสกา อ�ำเภอรอ่ นพิบลู ย์ อ�ำเภอปากพนงั อ�ำเภอหวั ไทร อ�ำเภอฉวาง และอำ� เภอทุ่งใหญ่ 2.1 ลกั ษณะการเกิดวาตภยั ในจงั หวดั นครศรธี รรมราช มโี อกาสเกดิ วาตภยั คอื พายหุ มนุ เขตรอ้ นเปน็ คำ� ทใี่ ชเ้ รยี ก พายหุ มนุ ทม่ี ถี น่ิ กำ� เนดิ เหนอื มหาสมทุ รในเขตรอ้ นแถบละตจิ ดู ตำ�่ พายนุ เี้ กดิ ขนึ้ ในมหาสมทุ รหรอื ทะเลทมี่ อี ณุ หภมู สิ งู ตง้ั แต่ 26 C° หรือ 27 C° ขึ้นไป และมีปริมาณไอน�้ำสูง เมื่อเกิดขึ้นแล้วและมีสภาวะที่เจริญเติบโตเต็มที่ มักเคล่ือนตัว ตามกระแสลมสว่ นใหญจ่ ากทศิ ตะวนั ออกมาทางทศิ ตะวนั ตก และค่อยโค้งขึน้ ไปทางละตจิ ูดสูง แล้วเวียนโค้งกลับไป ทางทิศตะวันออกอีก พายุหมุนเขตร้อนเกิดข้ึนได้หลายแห่งในโลก และมีช่ือเรียกต่างกันไปตามแหล่งก�ำเนิด บริเวณท่มี ีพายุหมุนเขตร้อนเกิดขึน้ เปน็ ประจ�ำและมีผลตอ่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ได้แก่ 1) ดีเปรสชัน เป็นพายหุ มุนท่ีมีกำ� ลงั ออ่ น เกดิ ขน้ึ ในละตจิ ดู กลางหรอื ละติจูดสงู ทำ� ใหฝ้ นตก ปานกลางถึงฝนตกหนัก มคี วามเรว็ ลมสงู สดุ ใกล้บรเิ วณศนู ย์กลางไมเ่ กนิ 33 นอต (61 กิโลเมตร/ชั่วโมง) 2) พายุโซนร้อน เป็นพายุที่มีขนาดความแรงของลมปานกลาง ท�ำให้ฝนตกหนักในวงกว้าง เกิดน�้ำท่วม - ดินถล่ม ต้นไม้ใหญ่หักโค่น ถนนช�ำรุดเสียหาย มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางอยู่ระหว่าง 34 - 63 นอต (63 - 117 กโิ ลเมตร/ช่ัวโมง) 3) พายุไต้ฝุ่น เป็นพายุที่มีขนาดความแรงของลมสูงสุด ท�ำให้ฝนตกหนัก พายุ ฟ้าคะนอง และอุทกภัย (ซึ่งมักจะท�ำให้มีคนเสียชีวิตมาก) มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางต้ังแต่ 64 นอต (118 กิโลเมตร/ ชั่วโมง) ขนึ้ ไป แตม่ ีชือ่ ตา่ ง ๆ กนั ตาม บรเิ วณแหลง่ ท่ีเกดิ ดังนี้ พายไุ ต้ฝุน่ เกดิ ข้ึนในมหาสมทุ รแปซฟิ กิ ทางเหนือหรอื ในทะเลจีนใต้ พายไุ ซโคลน เกดิ ขน้ึ ในมหาสมุทรอินเดีย อ่าวเบงกอล ทะเลอาระเปีย พายุเฮอรร์ เิ คน เกดิ ขึ้นในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือแถวทะเลแครบิ เบียน อ่าวเม็กซิโก เอกสารประกอบการเรยี น 25 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
การเกดิ วาตภยั ครง้ั ส�ำคัญของจังหวัดนครศรีธรรมราช มีด้วยกัน 3 ครัง้ ดังตอ่ ไปนี้ ครง้ั ท่ี 1 วาตภัยจากพายุโซนร้อน “แฮเรียต” (ความเร็วลมสงู สุดใกล้ศนู ยก์ ลาง 95 กิโลเมตร/ชว่ั โมง) พดั ข้นึ ฝง่ั ที่แหลมตะลุมพุก อ�ำเภอปากพนงั จังหวัดนครศรธี รรมราช เม่อื วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2505 มผี ู้เสียชีวิต 870 คน สญู หาย 160 คน บาดเจ็บ 422 คน ประชาชนไรท้ ่ีอยูอ่ าศยั 16,170 คน ทรพั ยส์ นิ สูญเสีย ประมาณ 960 ลา้ นบาท คร้ังท่ี 2 วาตภัยจากพายุโซนร้อน “ฟอร์เรสต์” (Forrest) (ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลาง 155 กโิ ลเมตร/ ช่วั โมง) พัดเข้าจังหวดั นครศรธี รรมราช เมื่อวันที่ 15 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2535 ทำ� ใหบ้ า้ นเรือนไร่นา ในจังหวัดนครศรธี รรมราช ไดร้ ับความเสยี หาย รวมมูลคา่ ประมาณ 3,000 ลา้ นบาท คร้งั ที่ 3 วาตภัยจากพายุโซนร้อน “ปาบึก”(Pabuk) (ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศนู ย์กลาง 80 กิโลเมตร/ ชวั่ โมง) พดั เขา้ จังหวดั นครศรธี รรมราช เมือ่ วันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2562 มีผ้เู สยี ชีวติ 2 คน พื้นทจี่ �ำนวน 16 อ�ำเภอ ไดร้ บั ความเสยี หายบา้ นเรอื น สง่ิ กอ่ สรา้ ง ตน้ ไม้ เสาไฟฟา้ ลม้ ถนนหลายสาย ถกู ตน้ ไมล้ ม้ ทบั สวนยางพารา สวนปาลม์ สวนผลไมไ้ ด้รบั ความเสียหายเปน็ บริเวณกวา้ ง 2.2 การปอ้ งกันวาตภัย การเตรียมการ และขณะเกดิ วาตภัย 1) ตดิ ตามขา่ วและประกาศค�ำเตือนลักษณะอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา 2) เตรยี มวทิ ยแุ ละอปุ กรณส์ อ่ื สาร ชนดิ ใชถ้ า่ นแบตเตอร่ี เพอื่ ตดิ ตามขา่ วในกรณที ไ่ี ฟฟา้ ขดั ขอ้ ง 3) ตัดกงิ่ ไมโ้ ดยเฉพาะก่งิ ท่จี ะหกั มาทับบ้าน สายไฟฟา้ ตน้ ไม้ทต่ี ายยนื ต้นควรจดั การโค่น 4) ตรวจเสาและสายไฟฟ้าท้ังในและนอกบริเวณบ้านให้เรียบร้อย ถ้าไม่แข็งแรงให้ยึดเหนี่ยว เสาไฟฟ้าให้มน่ั คง 5) พักในอาคารท่ีมั่นคงตลอดเวลา ขณะเกิดวาตภัย อย่าออกมาในท่ีโล่งแจ้ง เพราะต้นไม้ และก่งิ ไม้ อาจหักโคน่ ลงมาทบั ได้ รวมท้งั สังกะสแี ละกระเบ้อื งจะปลวิ ตามลมมาท�ำอนั ตรายได้ 6) ปดิ ประตู หนา้ ตา่ งทกุ บาน รวมทง้ั ยดึ ประตแู ละหนา้ ตา่ งใหม้ นั่ คงแขง็ แรง ถา้ ประตหู นา้ ตา่ ง ไมแ่ ข็งแรง ใหใ้ ชไ้ มท้ าบตตี ะปตู รึงปดิ ประตู หนา้ ต่างไวจ้ ะปลอดภัยยงิ่ ขน้ึ 7) ปิดกัน้ ชอ่ งทางลมและช่องทางตา่ ง ๆ ที่ลมจะเขา้ ไปทำ� ให้เกดิ ความเสียหาย 8) เตรียมตะเกยี ง ไฟฉาย และไม้ขีดไฟไว้ให้พร้อม ให้อยูใ่ กล้มอื เมอ่ื เกิดไฟฟ้าดบั จะได้หยิบ ใช้ไดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งที และนำ�้ สะอาด พรอ้ มทั้งอปุ กรณเ์ ครอื่ งหงุ ต้ม 9) เตรยี มอาหารสำ� รอง อาหารกระปอ๋ งไว้บา้ งส�ำหรบั การยังชพี ในระยะเวลา 2 - 3 วนั 10) ดับเตาไฟให้เรียบร้อยและควรจะมอี ปุ กรณ์สำ� หรบั ดับเพลิงไว้ 11) เตรยี มเครือ่ งเวชภัณฑ์ 12) สง่ิ ของควรไวใ้ นท่ีต่�ำ เพราะอาจจะตกหล่น แตกหกั เสยี หายได้ 13) บรรดาเรือ แพ ให้ลงสมอยดื ตรึงให้มั่งคงแขง็ แรง 14) ถา้ มรี ถยนต์ หรอื พาหนะ ควรเตรยี มไวใ้ ห้พรอ้ มภายหลงั พายสุ งบ อาจต้องน�ำผ้ปู ่วยไปสง่ โรงพยาบาล น�้ำมนั ควรจะเติมให้เต็มถังอยูต่ ลอดเวลา 15) เม่ือลมสงบแล้วต้องรออย่างน้อย 3 ชั่วโมง ถ้าพ้นระยะน้ีแล้วไม่มีลมแรงเกิดข้ึนอีก จึงจะวางใจว่า พายุได้ผ่านพ้นไปแล้ว ทั้งน้ีเพราะ เม่ือศูนย์กลางพายุผ่านไปแล้วจะต้องมีลมแรงและฝนตกหนัก ผา่ นมาอกี ประมาณ 2 ชัว่ โมง 26 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
2.3 หลงั วาตภยั 1) เมอื่ มผี บู้ าดเจบ็ ใหร้ บี ชว่ ยเหลอื และนำ� สง่ โรงพยาบาลหรอื สถานพยาบาลทใ่ี กลเ้ คยี งโดยเรว็ ท่สี ุด 2) ต้นไม้ใกล้จะลม้ ให้รีบจดั การโค่นลม้ ลงเสีย มฉิ ะนั้นจะหักโค่นล้มภายหลงั 3) ถ้ามีเสาไฟฟ้าล้ม สายไฟขาดอย่าเข้าใกล้หรือแตะต้องเป็นอันขาด ท�ำเครื่องหมายแสดง อันตราย แจง้ ใหเ้ จ้าหนา้ ทห่ี รือช่างไฟฟา้ จัดการดว่ น อย่าแตะโลหะท่ีเปน็ ส่ือไฟฟา้ 4) เมื่อปรากฏวา่ ท่อประปาแตกทีใ่ ด ให้รีบแจง้ เจา้ หน้าที่มาแก้ไขโดยด่วน 5) อยา่ เพงิ่ ใชน้ ำ�้ ประปา เพราะนำ้� อาจไมส่ ะอาด เนอื่ งจากทอ่ แตกหรอื นำ�้ ทว่ ม ถา้ ใชน้ ำ�้ ประปา ขณะนน้ั ดม่ื อาจจะเกิดโรคได้ ให้ใช้น้ำ� ท่ีกักตุนกอ่ นเกดิ เหตุดม่ื แทน 3. ภยั แลง้ ภัยแล้งเกิดจากการมีฝนตกน้อยกว่าปกติ หรือฝนไม่ตกตามฤดูกาล ท�ำให้ขาดแคลนน้�ำด่ืม น�้ำใช้ ขาดแคลนน�้ำเพื่อการเกษตร พืช สัตว์ขาดน�้ำ ท�ำให้ไม่เจริญเติบโตตามปกติ บางพ้ืนที่มีปัญหาฝนท้ิงช่วงในช่วงฤดู เพาะปลกู ทำ� ใหน้ าขา้ วและพชื ไรใ่ นทอ้ งถน่ิ เกดิ ความเสยี หาย ฉะนน้ั กอ่ นถงึ ฤดแู ลง้ ตอ้ งเตรยี มภาชนะเกบ็ นำ้� ใหพ้ รอ้ ม พัฒนาแหล่งน�ำ้ และไม่ตัดไมท้ ำ� ลายปา่ อ�ำเภอในจงั หวัดนครศรีธรรมราชมคี วามเส่ยี งต้านภยั แล้ง 2 ระดับ ได้แก่ พน้ื ทที่ มี่ คี วามเสย่ี งระดบั กลาง จำ� นวน 11 อำ� เภอ ไดแ้ กอ่ ำ� เภอเมอื ง อำ� เภอพระพรหม อำ� เภอลานสกา อ�ำเภอพรหมคีรี อ�ำเภอนบพิต�ำ อ�ำเภอทุ่งใหญ่ และอ�ำเภอทุ่งสง อ�ำเภอถ�้ำพรรณรา อ�ำเภอนาบอน อ�ำเภอพิปูน อำ� เภอเฉลิมพระเกียรติ พ้นื ทีท่ ม่ี คี วามเสี่ยงระดับสูง จำ� นวน 4 อ�ำเภอ ได้แก่ อำ� เภอปากพนัง อำ� เภอหวั ไทร อำ� เภอชะอวด และอำ� เภอเชียรใหญ่ 3.1 สาเหตุการเกดิ ภยั แลง้ ปัจจัยท่ีก่อให้เกิดภัยแล้งในจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นระยะเวลา 3-4 เดือน ระหว่าง เดือนกุมภาพนั ธ์ถงึ กลางเดือนพฤษภาคม นอกจากฝนจะไม่ตกตามฤดกู าลแลว้ ยังมีสาเหตขุ องการเกดิ ภยั แล้งได้ดงั น้ี 1) จากสภาวะอากาศในฤดรู อ้ นทีร่ ้อนมากกว่าปกติ 2) จากการพัดพาของลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ 3) ผลกระทบจากปรากฏการณ์ภาวะเรอื นกระจก 4) จากการตัดไม้ทำ� ลายปา่ 5) ภูมิประเทศบางพนื้ ทเ่ี ปน็ ท่ีสูงสลบั กบั ท่ีราบและทีร่ าบลุม่ บางส่วนเป็นพน้ื ทีท่ า้ ยน้ำ� 6) ไม่มแี หล่งกกั เก็บน�้ำขนาดใหญ่ 7) แหล่งตน้ น้�ำถูกท�ำลาย 3.2 ปัญหาจากภัยแลง้ 1) ปัญหาการขาดแคลนน�้ำเพอ่ื การอปุ โภคบรโิ ภค (1) บริเวณท่ีอยู่ใกล้พรุ ไม่สามารถน�ำน้�ำมาใช้ได้เนื่องจากแหล่งน้�ำจากพรุมีความ เป็นกรดสงู ไดแ้ ก่ อำ� เภอชะอวด อำ� เภอเชียรใหญ่ และบางสว่ นของอ�ำเภอรอ่ นพิบลู ย์ (2) ระบบประปาไมท่ ่ัวถึง (3) น�้ำประปาไม่มีคณุ ภาพ เอกสารประกอบการเรยี น 27 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
2) ปัญหาการขาดแคลนนำ�้ เพือ่ การเกษตร (1) ปริมาณน�ำ้ ท่ีกักเกบ็ ไวไ้ ม่เพยี งพอกบั ความตอ้ งการ (2) แมน่ �้ำบางสายมีนำ�้ เค็มรกุ ล้ำ� เข้ามาทางปากน้�ำกลายเปน็ นำ้� กร่อย 3) การเตรยี มพรอ้ มรับภยั แล้ง หนว่ ยงานราชการ (1) ขดุ ลอกคูคลอง สระน้ำ� ร่องน้ำ� (2) กอ่ สรา้ งและปรบั ปรุงฝาย ชะลอน�้ำ ฝายน�้ำลน้ ฝายมีชีวติ ท�ำนบชัว่ คราว (3) ก่อสร้างปรับปรุงและซ่อมแซมแก้มลิง อ่างเก็บน้�ำ ประตูระบายน�้ำ ท่อระบายน้�ำ ขดุ เจาะหรือ พัฒนาแหล่งน้ำ� บาดาล ประชาชนทอี่ ยู่ในเขตเมือง (4) ควรใช้น�้ำอย่างประหยัด ไม่เปิดน�้ำไหลทิ้งในขณะล้างหน้า แปรงฟัน โกนหนวด และซักผา้ (5) หม่ันตรวจสอบการร่ัวซึมของซักโครก ด้วยการหยดสีผสมอาหารลงในถังพักน้�ำ หากมปี นมากับนำ้� โดยไมก่ ดซกั โครกแสดงวา่ มกี ารรัว่ ซึมใหร้ บี ซ่อมแซมทนั ที (6) หมั่นตรวจสอบการช�ำรุดของก๊อกน�้ำ ฝักบัว ท่อน�้ำ โดยปิดอุปกรณ์น้�ำทุกตัว และ บนั ทกึ มาตรเลขวดั น้ำ� ถ้าตวั เลขมกี ารเปลี่ยนแปลง แสดงวา่ มกี ารรัว่ ไหลของน้�ำให้รบี ซอ่ มแซม (7) ใช้สปริงเกอร์หรือฝักบัวรดน�้ำและควรรองน�้ำ ใส่ภาชนะส�ำหรับล้างรถ แทนการใช้ สายยางฉีดโดยตรง (8) ติดต้งั อุปกรณ์เติมอากาศทหี่ วั ก๊อกนำ�้ ฝกั บัว เพื่อชว่ ยเพมิ่ แรงดันและลดปริมาณนำ้� เกษตรกร (9) หลีกเล่ียงการเผาตอซังข้าวและฟางข้าวให้ใช้วิธีฝังหรือไถกลบแทน เพราะจะท�ำให้ ดนิ ขาดความชมุ่ ช้ืน สง่ ผลให้สถานการณภ์ ยั แลง้ รุนแรงมากขึน้ (10) เลือกปลูกพืชอายุสั้นท่ีใช้น้�ำน้อย เช่น พืชตระกูลถั่ว ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง ฯลฯ งดเวน้ การท�ำนาปรงั นอกเขตพ้นื ที่ ที่จังหวัดกำ� หนด 4. ไฟปา่ ไฟป่าเกิดจากสาเหตุใด ๆ กต็ ามในปา่ ธรรมชาติ หรอื สวนปา่ แลว้ ลุกลามไปไดโ้ ดยอิสระ ปราศจาก การควบคุม มกั จะเกดิ ในช่วงฤดูแล้ง ระหวา่ งเดอื นมีนาคมถึงเดอื นพฤษภาคมของทุกปี อำ� เภอทมี่ ีความเสยี่ งระดับกลาง ได้แก่ อำ� เภอปากพนงั อ�ำเภอนบพติ ำ� อำ� เภอสชิ ล อ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอพระพรหม และอ�ำเภอพิปูน อำ� เภอทม่ี คี วามเสยี่ งระดบั สงู จำ� นวน 6 อำ� เภอ ไดแ้ ก่ อำ� เภอรอ่ นพบิ ลู ย์ อำ� เภอจฬุ าภรณ์ อำ� เภอชะอวด อำ� เภอเชียรใหญ่ อำ� เภอหวั ไทร และอำ� เภอเฉลิมพระเกียรติ 4.1 สาเหตขุ องการเกิดไฟปา่ จากปรากฏการณท์ างธรรมชาติ 1) ฟ้าผา่ 2) เสยี ดสีกนั 3) การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 28 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
จากการกระท�ำของมนุษย์ 1) เผาป่า ซังข้าว ขยะมลู ฝอย 2) การเล้ียงสัตว์ 3) แกลง้ จดุ ไฟเผาเพอ่ื การลา่ สัตว์ 4) ความประมาท ความคึกคะนอง 4.2 การป้องกันไฟปา่ 1) กอ่ นเกดิ ไฟป่า (1) ก�ำจัดพืชท่ีตดิ ไฟได้งา่ ย เช่น หญา้ คา หญ้าสาบเสอื พงออ้ ใบไม้ กงิ่ ไมเ้ ล็ก (2) จดั ทำ� แนวกนั ไฟ โดยถางปา่ ใหห้ า่ งจากทางเดนิ ในระยะ 5 เมตร เพอื่ ปอ้ งกนั การตดิ ตอ่ ลกุ ลามของไฟ (3) รณรงค์เผยแพร่ความรเู้ กี่ยวกบั การปอ้ งกนั และลดผลกระทบจากไฟปา่ (4) รกั ษาความชมุ่ ช้นื ในเขตปา่ (5) แต่งตงั้ คณะกรรมการรบั ผิดชอบพื้นทีร่ ะดับอ�ำเภอในพน้ื ทเ่ี สย่ี งสูง (6) เมื่อพบเห็นกองไฟที่มีบุคคลเผาท้ิงไว้ก็รีบดับเสีย หรือเห็นไฟไหม้ก็รีบท�ำการดับ ก่อนที่จะท�ำให้เกิดการลุกไหม้มากขึ้น เม่ือเห็นว่าจะไม่สามารถดับได้ด้วยตนเองให้รีบแจ้งเจ้าหน้าท่ีดับเพลิง หรอื เจ้าหนา้ ทีค่ วบคมุ ไฟปา่ (7) นกั ทอ่ งเท่ยี ว ควรปฏิบตั ิตามระเบยี บข้อบังคบั ในการปอ้ งกนั ไฟปา่ ให้ความรว่ มมอื เชื่อฟังคำ� แนะนำ� ของเจา้ หนา้ ท่ี และควรแนะนำ� ให้ทกุ คนร้จู กั อันตรายจากไฟป่า 2) ขณะเกิดไฟป่า (1) ถ้ายังไม่มีเคร่ืองมือหรือยังไม่มีเจ้าหน้าท่ีดับเพลิงจากหน่วยควบคุมไฟป่าแล้ว อยา่ เส่ียงเขา้ ไปดบั ไฟเวน้ แตเ่ ปน็ การลุกไหมเ้ ลก็ น้อยของไฟทีเ่ กดิ จากพวกหญ้าตา่ ง ๆ เชน่ หญา้ คา หญ้าสาบเสือ (2) ควรช่วยกันตัดก่ิงไม้สด ตีไฟท่ีลุกไหม้ตามบริเวณหัวไฟให้เชื้อเพลิงแตกกระจาย แลว้ ตขี นานกบั ไฟปา่ ที่ก�ำลงั จะเรมิ่ ลุกลาม 3) หลังจากไฟปา่ สงบลงแล้ว (1) ตรวจดบู รเิ วณทยี่ งั มไี ฟคุกรุ่น เมอ่ื พบแลว้ จัดการดับให้สนิท (2) คน้ หาและช่วยเหลอื คน สัตว์ ทหี่ นีไฟออกมาและไดร้ ับบาดเจ็บ (3) ระวังภยั จากสัตว์ทีห่ นีไฟปา่ ออกมา จะทำ� อันตรายแกช่ ีวิตและทรพั ย์สิน (4) ปลูกปา่ ทดแทน ปลกู พชื คลุมดิน ปลูกไมโ้ ตเร็ว เอกสารประกอบการเรยี น 29 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค3300168 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
4.3 เครื่องมือพ้นื ฐานในการดับไฟป่า 1) ท่ีตบไฟ ใชใ้ นการดบั ไฟทางตรง โดยการตบคลมุ ลงไปบนเปลวไฟ เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หอ้ ากาศเชา้ ไปทำ� ปฏกิ ริ ยิ ากับไฟ เปลวไฟก็จะดับลง เหมาะส�ำหรับการดบั ไฟท่ไี หมเ้ ชื้อเพลงิ เบาไดแ้ กห่ ญา้ ใบไม้แหง้ ฯลฯ 2) ถงั ฉดี น้ำ� ดับไฟปา่ (1) ใช้ส�ำหรับฉีดลดความร้อนของไฟในการดับไฟทางตรงเพ่ือให้เคร่ืองมือดับไฟป่า ชนดิ อื่นสามารถเข้าไปท�ำงานทขี่ อบของไฟได้ (2) ใช้ฉีดดับไฟท่ียังเหลือค้างอยูในโพรงไม้ในรอยแตกของไม้หรือในฐานกอไผ่ ท่ีเครอ่ื งมอื อยา่ งอน่ื เขา้ ไปท�ำงานไม่ได้ 3) ครอบไฟป่า ใชใ้ นการทำ� แนวกนั ไฟ โดยใชด้ า้ นทเ่ี ปน็ จอบในการถากถางขดุ ตดั สบั เชอ้ื เพลงิ ทเ่ี ปน็ วชั พชื จากนน้ั จึงใช้ดา้ นทเี่ ป็นคราด คราดเอาเช้อื เพลิงเหล่าน้ีออกไปท้ิงนอกแนวกันไฟ 30 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
4) พลว่ั ไฟป่า ใช้ขดุ ตัด ถาก ตกั สาดและตบไฟ 4.4 ผลกระทบจากไฟป่า 1) ผลกระทบตอ่ สุขภาพอนามัย (1) ฝุ่นควนั จากไฟปา่ ทำ� ให้เปน็ โรคเกยี่ วกบั ระบบทางเดินหายใจ (2) ไฟป่าที่ลามมาติดบ้านเรือนท�ำให้เกิดเหตุไฟไหม้บ้านเรือนอาจมีคนเสียชีวิต และบาดเจบ็ จากการถกู ไฟคลอกได้ (3) ควันจากไฟป่าจะบดบังทัศนวิสัยของยานพาหนะท�ำให้เกิดอุบัติเหตุบาดเจ็บ และเสยี ชวี ิต 2) ผลกระทบทางส่งิ แวดลอ้ ม (1) โครงสร้างป่าเปลยี่ นไป (2) ฝนตกเกดิ น้�ำท่วม (3) เกิดสภาวะเรอื นกระจก 3) ผลกระทบทางเศรษฐกิจ (1) ท�ำใหส้ ญู เสยี ทรัพย์สินและคา่ ใชจ้ ่าย (2) ระบบสาธารณปู โภคไดร้ บั ความเสียหายอยา่ งรุนแรง เอกสารประกอบการเรียน 31 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
กิจกรรมหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 ลักษณะภูมอิ ากาศนครศรีธรรมราช จงตอบค�ำถามต่อไปนี้ทุกขอ้ 1. ให้เขียนอธิบายฤดกู าลทเี่ กดิ ขน้ึ ในจงั หวดั นครศรธี รรมราช พอเปน็ สังเขป …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ใหอ้ ธบิ ายถงึ การเกดิ ภยั ธรรมชาตใิ นจงั หวดั นครศรธี รรมราช พรอ้ มยกตวั อยา่ งภยั ธรรมชาตติ อ่ ไปน้ี 2.1 อทุ กภัย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………… 2.2 วาตภัย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………… 2.3 ภยั แลง้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………… 2.4 ไฟปา่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………… 32 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค3300168 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
4หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี เศรษฐกจิ ของจังหวดั นครศรธี รรมราช เศรษฐกิจของนครศรีธรรมราช เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับ เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจกับชุมชน ในนครศรีธรรมราช การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของนครศรีธรรมราช แนวโน้มเศรษฐกิจของนครศรีธรรมราช และเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญของนครศรีธรรมราช เป็นการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับระบบการผลิต การบริโภค ความสัมพันธ์ ความรว่ มมอื และแนวโนม้ เศรษฐกจิ ของนครศรธี รรมราช โดยนำ� หลกั การ แนวคดิ และปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาเป็นแนวทางในการดำ� รงชีวติ และการพัฒนาเศรษฐกิจใหก้ ้าวทันโลกยุคโลกาภิวตั น์อย่างเหมาะสมและย่ังยืน เรือ่ งท่ี 1 เศรษฐกิจพอเพยี ง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาท่ีพระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 9 ทรงมพี ระราชดำ� รสั ชแี้ นะ แนวทางการด�ำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด นานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเม่ือภายหลังได้ทรงเน้นย้�ำแนวทางการแก้ไขเพ่ือให้ รอดพ้น และสามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืน ภายใตก้ ระแสโลกาภิวัตน์และความเปลีย่ นแปลงตา่ ง ๆ 1. ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช รชั กาลที่ 9 ไดท้ รงพระราชทาน พระบรมราชานญุ าตใหน้ ำ� ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปเผยแพร่ เพอื่ เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ขิ องทกุ ฝา่ ย และประชาชน โดยทั่วไป ดังนี้ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวทางการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชน ในทุกระดับ ต้งั แต่ระดบั ครอบครัวระดบั ชุมชนจนถงึ ระดบั รัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศ ใหด้ ำ� เนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหก้ า้ วทันต่อโลกยคุ โลกาภิวตั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นท่ีจะต้องมีระบบ ภูมิคุ้มกัน ในตัวท่ีดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยิ่ง ในการนำ� วิชาการตา่ ง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำ� เนินการทุกขัน้ ตอน และขณะเดยี วกนั จะต้องเสรมิ สรา้ งพืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หน้าท่ี ของรฐั นกั ทฤษฎแี ละนกั ธรุ กจิ ในทกุ ระดบั ใหม้ สี ำ� นกึ ในคณุ ธรรม ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และใหม้ คี วามรอบรู้ ทเี่ หมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก ได้เป็นอย่างดี เอกสารประกอบการเรียน 33 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
2. หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาท่ีต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคำ� นงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสรา้ งภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว ตลอดจนใชค้ วามรู้ ความรอบคอบ และคณุ ธรรมประกอบการวางแผน การตดั สินใจ และการกระท�ำ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มหี ลกั พจิ ารณาอยู่ 5 สว่ น ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาท่ีชี้แนะแนวทางการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเป็น โดยมพี นื้ ฐาน มาจากวถิ ชี วี ติ ดงั้ เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนำ� มาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลาและเปน็ การมองโลกเชงิ ระบบ ที่มีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤติ เพ่ือความม่ันคง และความยั่งยืน ของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติได้ในทุกระดับ โดยเน้น การปฏบิ ตั ิบนทางสายกลาง และการพฒั นาอย่างเปน็ ข้ันตอน ทมี่ า: จาก Web Site https://www.stou.ac.th/study/sumrit/7-58(500)/page1-7-58(500).htmlข้อมลู ภาพ ณ วนั ท่ี 15 พ.ค.63 3. ค�ำนยิ าม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คณุ ลกั ษณะพรอ้ ม ๆ กัน คอื ความพอประมาณ (Moderation) ความมเี หตผุ ล (Reasonableness) และการมภี มู คิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ ี (Self-immunity) ถา้ ขาดคณุ ลกั ษณะ ใดคุณลักษณะหน่งึ กจ็ ะไมส่ ามารถเรียกไดว้ า่ เปน็ ความพอเพยี ง ไดแ้ ก่ 1) ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดี ไมม่ ากหรอื นอ้ ยเกนิ ไปในมติ ติ า่ ง ๆ ของการกระทำ� 5 ด้าน คือ (1) ด้านจิตใจ คือ เร่มิ ต้นจากตนเองตอ้ งตงั้ สติ มปี ญั ญา มจี ิตส�ำนกึ ท่ดี ี มเี มตตา เออ้ื อาทร มีความเข้าใจและประนปี ระนอม คำ� นงึ ถงึ ผลประโยชน์สว่ นรวม เข้มแข็ง และพึง่ ตนเองได้ (2) ดา้ นสงั คม คอื การสรา้ งความพอดใี นทกุ ระดบั ของสงั คม โดยเรมิ่ จากครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม ซงึ่ ตอ้ งชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหแ้ กช่ มุ ชน รจู้ กั ผนกึ กำ� ลงั และทส่ี ำ� คญั มกี ระบวนการเรยี นรู้ ทเี่ กดิ จากฐานรากทมี่ นั่ คงและแขง็ แรง 34 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค3300168 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
(3) ด้านเศรษฐกิจ คอื ตอ้ งอยู่อยา่ งพอดี พอมพี อกิน ไมห่ รูหรา ฟุ่มเฟอื ย (4) ดา้ นเทคโนโลยี คือ ควรเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาวะและความต้องการ ของประเทศ และควรพัฒนาเทคโนโลยจี ากภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ใหส้ อดคลอ้ งเปน็ ประโยชน์ตอ่ สภาพแวดล้อมของเรา (5) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือ ใช้อย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนรณรงค์รกั ษาทรพั ยากรธรรมซาตใิ ห้เกดิ ความยง่ั ยืนสูงสุด 2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงน้ันจะต้องเป็นไป อยา่ งมเี หตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจั จยั ท่ีเก่ยี วข้อง ตลอดจนคำ� นงึ ถงึ ผลท่คี าดวา่ จะเกดิ ข้นึ จากการกระท�ำนนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ 3) การมภี มู คิ มุ้ กนั ทด่ี ใี นตวั หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลง ดา้ นตา่ ง ๆ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ โดยคำ� นงึ ถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณต์ า่ ง ๆ ทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตทงั้ ใกลแ้ ละไกล 4. เงอื่ นไข การตดั สนิ ใจและการดำ� เนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งนน้ั ตอ้ งอาศยั ทงั้ ความรู้ และคณุ ธรรมเป็นพน้ื ฐาน กลา่ วคือ 1) เงื่อนไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ กี่ยวกบั วิชาการต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องอย่างรอบดา้ น ความรอบคอบทจ่ี ะนำ� ความรเู้ หลา่ นนั้ มาพจิ ารณา เพอ่ื ประกอบการวางแผนและการใชค้ วามระมดั ระวงั ในขนั้ ปฏบิ ตั ิ 2) เง่ือนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มคี วามซ่อื สตั ย์สุจริตและมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ติปัญญาในการด�ำรงชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ/ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ จากการน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี การปฏิบัติในระดับตนเองและในระดับองค์กร เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นปรัชญาแห่งวิถีชีวิต ที่มีความหลากหลายและสามารถยดื หยนุ่ ความเป็นอยู่ของชวี ิตของตนได้ 3. ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี งในนครศรธี รรมราช 1. ไรจ่ ันทรังษี ไรจ่ นั ทรงั ษี ตงั้ อยหู่ มทู่ ่ี 2 ตำ� บลขนาบนาก อำ� เภอปากพนงั จงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ ไรต่ น้ จาก ที่เปิดเป็นแหลง่ เรยี นร้เู รื่องราวของตน้ จาก อกี ทงั้ ยงั จำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑน์ �้ำตาลจากเพ่มิ เตมิ ด้วย ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ ของไร่จันทรังษี เอกสารประกอบการเรียน 35 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
2. คีรีวง ครี วี ง หมบู่ า้ นทถี่ กู ขนานนามวา่ เปน็ หมบู่ า้ นทอี่ ากาศดที ส่ี ดุ ในประเทศไทย ตงั้ อยทู่ ่ี อำ� เภอลานสกา จงั หวดั นครศรีธรรมราช หมูบ่ ้านแหง่ น้อี ยู่ในใจกลางหบุ เขา แวดล้อมไปดว้ ยธรรมชาติที่อุดมสมบรู ณ์ คนในหมู่บ้าน อยอู่ าศยั กันอยา่ งพอมพี อกนิ (นุจรี แรกรนุ่ , 2560) ขอ้ มูลเพม่ิ เติมของครี วี ง 3. ศนู ย์ศลิ ปาชพี บ้านเนินธัมมัง ศูนย์ศิลปาชีพบ้านเนินธัมมัง ด�ำเนินการส่งเสริมให้ราษฎรได้มีอาชีพเสริมท�ำจะได้มีรายได้ มาเล้ียงดูครอบครัวเพิ่มขึ้นอีกทางหน่ึง นอกเหนือจากรายได้หลักที่ประกอบอาชีพอยู่เป็นรายได้ที่ค่อนข้างจะน้อย ปัจจบุ นั มสี มาชิกศิลปาชีพ จ�ำนวน 173 คน ท�ำงานศิลปาชีพท่เี ป็นอาชีพเสรมิ ประเภทปักผา้ ทอผ้า สานเสอ่ื กระจดู สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จเข้าทรงงานในศาลาศิลปาชีพ บ้านเนินธัมมัง ทอดพระเนตรผลงานศิลปาชีพของสมาชิก ทรงรับซ้ือผลิตภัณฑ์ของสมาชิกไว้เพ่ือให้มูลนิธิส่งเสริม ศลิ ปาชพี ในสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ พ์ิ ระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง นำ� ไปจำ� หนา่ ยตอ่ ทรงรบั สมคั ร ราษฎรทสี่ มัครใจเขา้ เป็นสมาชกิ ศลิ ปาชพี เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหม้ อี าชพี เสริมจะไดม้ รี ายไดม้ าเลยี้ งดคู รอบครวั เพ่ิมขึ้น ข้อมูลเพอ่ื เตมิ ของศนู ยศ์ ิลปาชีพบา้ นเนินธมั มงั 36 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
เรอ่ื งท่ี 2 เศรษฐกจิ กับชุมชนในจังหวดั นครศรธี รรมราช เศรษฐกิจกบั ชมุ ชนในนครศรีธรรมราช เปน็ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทั้งการผลติ การบรโิ ภค การจ�ำหนา่ ย ที่คนในท้องถิ่นชุมชน ได้มีส่วนร่วมท�ำ ร่วมคิด ร่วมรับประโยชน์ และร่วมเป็นเจ้าของ มีรากฐานมาจากศักยภาพ ของชมุ ชน ซง่ึ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมดา้ นการเกษตร อตุ สาหกรรม การคา้ การลงทนุ และการบรกิ าร โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 1. ภาวะเศรษฐกจิ ของจังหวัดนครศรธี รรมราช ประชากรของจงั หวดั ประกอบอาชพี หลกั คอื การเกษตรกรรม ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมของจงั หวดั (GPP) คาดการณจ์ ากสำ� นกั งานคณะกรรมการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ คดิ เปน็ อนั ดบั ท่ี 37 ของประเทศ และอนั ดบั ที่ 10 ของภาคใต้ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมของจงั หวดั แบง่ ไดเ้ ปน็ สดั สว่ นตามสาขาตา่ ง ๆ คอื สาขาเกษตรกรรม สาขาอตุ สาหกรรม การคา้ ปลกี คา้ ส่ง สาขาการศึกษา สาขาไฟฟา้ กา๊ ซ และระบบปรับอากาศ ตามลำ� ดบั ผเู้ รียนสามารถเขา้ ศกึ ษาข้อมูลเพิ่มเตมิ เกี่ยวกับ ผลติ ภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดนครศรธี รรมราช โดยการสแกน QR Codeเพอ่ื เขา้ ถงึ ขอ้ มูลล่าสุด 1.1 ดา้ นการเกษตร ผลผลิตสนิ คา้ เกษตรทส่ี ำ� คญั ได้แก่ ยางพารา ปาล์มนำ�้ มนั ข้าว มงั คดุ ทุเรยี น เงาะ การที่ราคา ผลผลิตปรับตัวเพ่ิมขึ้นหรือลดลง ขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่ตลาด หากมีปริมาณผลผลิตมากเกินจ�ำเป็น ราคากจ็ ะลดลง และราคาผลผลิตจะเพม่ิ ข้นึ หากผลผลิตมปี ริมาณน้อย ยางพารา (Rubber Tree) ข้าว (Rice) เอกสารประกอบการเรยี น 37 รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ทุเรียน (Durain) เงาะ (Rambutan) ปาล์ม (Palm) มงั คดุ (Mangosteen) ศกึ ษาเพิม่ เตมิ การตลาดเกษตร ท่ีมา: จาก thaikasetsart.com ยางพารา ข้าว ทุเรยี น เงาะ ปาลม์ นำ�้ มัน มังคดุ ศกึ ษาเพ่มิ เติม ผูเ้ รียนสามารถเขา้ ศึกษาข้อมลู เพ่มิ เตมิ เกย่ี วกับสถติ ิ การปลกู พืชส�ำคญั ได้จากเวบ็ ไซตข์ อง ส�ำนกั งานสถติ ิ จังหวดั นครศรีธรรมราชโดยการสแกน QR Code เพื่อเข้าถงึ ขอ้ มูลล่าสดุ 38 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค3300168 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
1.2 ดา้ นอุตสาหกรรม การผลติ ในด้านอุตสาหกรรม จงั หวัดนครศรธี รรมราชมีอตุ สาหกรรมทีส่ �ำคัญ ดังนี้ 1) อตุ สาหกรรมยางพาราและผลิตภณั ฑ์ 2) อตุ สาหกรรมแปรรปู ไมย้ างพารา 3) อตุ สาหกรรมสกัดนำ�้ มันปาล์มดบิ 4) อุตสาหกรรมปนู ซเี มนต์ 5) อตุ สาหกรรมผลิต สง่ จ�ำหนา่ ยพลงั งานไฟฟ้า ไดแ้ ก่ โรงไฟฟ้าขนอมและโรงไฟฟ้าจาก Bio Gas/ Bio Mass 6) โรงแยกก๊าซธรรมชาติ 7) อตุ สาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล ไดแ้ ก่ โรงงานปลา ศกึ ษาเพมิ่ เติม ผู้เรียนสามารถเขา้ ศึกษาข้อมลู เพิม่ เตมิ เกย่ี วกับ อุตสาหกรรมในจงั หวัดนครศรีธรรมราช โดยการสแกน QR Code เพ่ือเขา้ ถึงขอ้ มูล 1.3 ดา้ นการกอ่ สร้าง ด้านการก่อสร้าง มีการขยายตัวจากการอนุญาตให้ก่อสร้างบ้านที่อยู่อาศัยเพิ่มขึ้น ขณะที่ การกระตนุ้ จากภาครฐั ชะลอตัวลงแตย่ ังมีงบลงทนุ โดยเป็นการกระตุ้นการลงทนุ ในโครงการระบบสาธารณูปโภค 1.4 ด้านการคา้ การลงทุน การค้าการลงทุนจากการจดทะเบียนนิติบุคคลจัดตั้งใหม่ โดยรวมมีการขยายตัวลดลง ส่วนการจดทะเบียนรถยนต์บรรทกุ สว่ นบคุ คลมีเพ่มิ ขึ้น 1.5 ดา้ นบรกิ าร ด้านบริการขยายตัวเพิ่มข้ึน เป็นผลจากนักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและต่างชาติ เดินทางเข้ามา เทย่ี วในจงั หวดั มากขน้ึ รวมทง้ั ความรว่ มมอื ของภาครฐั และเอกชนทมี่ กี ารกระตนุ้ การทอ่ งเทยี่ ว นกั ทอ่ งเทยี่ วทเี่ พม่ิ ขนึ้ สว่ นใหญ่เปน็ ชาวเอเชยี โดยเฉพาะชาวจีน ท่จี ะเหน็ ได้จากการเข้าพกั ในโรงแรมเพ่มิ ขนึ้ เอกสารประกอบการเรียน 39 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค3300168 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
เรอื่ งที่ 3 การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ของจงั หวดั นครศรธี รรมราช การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของจังหวัดนครศรีธรรมราช ซ่ึงเป็นสถาบันและการรวมกลุ่มทางธุรกิจ ที่เกิดข้ึนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วยหอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราช และสภาอุตสาหกรรม จงั หวดั นครศรธี รรมราช โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ 1. หอการค้าจังหวัดนครศรีธรรมราช มีสถานที่ ตง้ั อยเู่ ลขที่ 129/560 หมบู่ า้ นเมอื งทอง หมทู่ ่ี 2 ถนนวนั ดโี ฆษติ กลุ พร ต�ำบลปากนคร อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 โดยมวี ตั ถุประสงคข์ องการจดั ตงั้ ดังนี้ 1.1 สง่ เสรมิ การคา้ การบรกิ าร การประกอบวชิ าชพี อสิ ระ อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม การเงิน หรือ เศรษฐกจิ ทั่วไป เชน่ รวบรวมสถิติ เผยแพร่ข่าวสารการค้า วิจัยเกี่ยวกับการค้า และ การเศรษฐกิจ สง่ เสริมการท่องเทย่ี ว การออกใบรบั รองแหล่งก�ำเนิด ตราสญั ลกั ษณห์ อการคา้ จงั หวดั นครศรธี รรมราช สนิ ค้า การวางมาตรฐานแหง่ คุณภาพของสนิ คา้ การตรวจสอบมาตรฐานสินค้า จดั ต้งั และดำ� เนนิ การเก่ียวกับการค้า และเศรษฐกจิ พพิ ิธภัณฑ์สนิ คา้ การจดั งานแสดงสนิ ค้า ข้อพิพาททางการค้า 1.2 รับปรึกษาและให้ข้อแนะน�ำแก่สมาชิกเกี่ยวกับการค้า การบริการ การประกอบอาชีพอิสระ อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม การเงินหรือเศรษฐกิจ และอ�ำนวยความสะดวกตา่ ง ๆ ให้แกส่ มาซิก 1.3 ให้ค�ำปรกึ ษาและเสนอข้อแนะนำ� แกภ่ าครัฐเพื่อพัฒนาเศรษฐกจิ ของจงั หวดั นครศรธี รรมราช 1.4 ประสานงานระหวา่ งผปู้ ระกอบการกบั ราชการ 1.5 ปฏบิ ตั กิ จิ การอนื่ ๆ ตามแตจ่ ะมกี ฎหมายระบุ ใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องหอการคา้ หรอื ตามทที่ างราชการ มอบหมาย 2. สภาอุตสาหกรรมจงั หวัดนครศรีธรรมราช สถานที่ตัง้ 87 หมู่ 9 ต�ำบลนาเคียน อ�ำเภอเมือง นครศรีธรรมราช เปน็ องคก์ รไม่แสวงหา กำ� ไร ตามพระราชบญั ญตั ิสภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2530 โดยมวี ัตถุประสงค์ของการจดั ต้งั ดังนี้ 2.1 เป็นตัวแทนของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ภาคเอกชน ในการประสานนโยบาย และดำ� เนินการกับรฐั 2.2 สง่ เสรมิ และพัฒนาการประกอบอตุ สาหกรรม 2.3 ศึกษาและหาทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการประกอบ อตุ สาหกรรม 2.4 ส่งเสริม สนับสนุนการศึกษา วิจัย อบรม เผยแพร่ ตราสญั ลักษณส์ ภาอุตสาหกรรมจงั หวดั นครศรธี รรมราช ที่มา : https://www.facebook.com/FTI.NAKHONSRI/photos/ a.860671530637784/2949243168447266/?type=1&theater วิชาการและเทคโนโลยเี ก่ยี วกบั อตุ สาหกรรม 2.5 ตรวจสอบสนิ ค้า ออกใบรับรองแหลง่ ก�ำเนิดหรอื ใบรับรองคุณภาพสินคา้ 2.6 ให้คำ� ปรกึ ษาและเสนอแนะแกร่ ฐั บาล เพ่อื พัฒนาเศรษฐกจิ คา้ นอุตสาหกรรม 2.7 ส่งเสริมนักอุตสาหกรรมและเป็นแหล่งกลางสำ� หรับนักอุตสาหกรรม แลกเปล่ียนความคิดเห็น เพอื่ ประโยชน์ตอ่ วงการอุตสาหกรรม 40 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค3300168 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
2.8 ควบคุมดแู ลใหส้ มาชิกปฏิบตั ติ ามกฎหมายเกยี่ วกับการประกอบการอตุ สาหกรรม 2.9 ปฏบิ ัติกจิ กรรมอ่นื ๆ ตามท่กี ฎหมายกำ� หนด เร่ืองที่ 4 แนวโน้มเศรษฐกจิ ของจงั หวดั นครศรธี รรมราช แนวโน้มเศรษฐกจิ ของนครศรีธรรมราช มปี ัจจยั ทีเ่ กีย่ วข้องส�ำคญั ในการกระตุ้นใหเ้ กดิ สภาวะการลงทุน การจา้ งงาน การสรา้ งรายได้ ไดแ้ ก่ คา่ นยิ ม และพฤตกิ รรมการบรโิ ภค ทม่ี อี ทิ ธพิ ลสง่ ผลตอ่ เศรษฐกจิ ของนครศรธี รรมราช โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี 1. แนวโน้มเศรษฐกิจ ค่านิยม และพฤติกรรมการบริโภคที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจใน นครศรธี รรมราช ความหมายของการบรโิ ภค หมายถงึ การใชป้ ระโยชนจ์ ากสนิ คา้ และบรกิ าร เพอื่ สนองความตอ้ งการ ของผู้บริโภค มคี วามหมายรวมทัง้ การกินและการใชส้ ินคา้ หรอื บริการ พฤติกรรมการบริโภค หมายถึง พฤติกรรมของผู้บริโภคในการตัดสินใจและแสดงออกในการเลือก ซอ้ื สนิ ค้าและบรกิ ารต่าง ๆ มาบรโิ ภคเพ่อื ใหไ้ ดร้ ับความพอใจสูงสุด การบริโภคท่ีมีประสิทธิภาพ หมายถึง การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการโดยค�ำนึงถึงหลักการ บริโภคท่ดี ี ได้แก่ ความจำ� เป็น ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ ความปลอดภยั และความประหยดั ใชส้ นิ ค้าและบรกิ ารอยา่ งคุ้มคา่ มากที่สุด ความส�ำคญั ของการบรโิ ภค การบริโภค เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีมีความส�ำคัญ เนื่องจากมนุษย์ทุกคนต้องบริโภคเพ่ือ การดำ� รงชวี ติ และการบรโิ ภคยงั เปน็ สงิ่ กระตนุ้ ใหเ้ กดิ การลงทนุ การจา้ งงาน ทำ� ใหม้ รี ายไดท้ งั้ ผผู้ ลติ และเจา้ ของปจั จยั การผลิต มีสินค้าและบริการเพิม่ ขึน้ ทำ� ให้เศรษฐกิจขยายตัวข้นึ หลักการบรโิ ภคที่ดี (เพ็ญคริ ิ จารุจนิ ดา, มปป). ผบู้ ริโภคควรค�ำนงึ ถงึ หลกั การบรโิ ภคทดี่ ี ดงั นี้ คอื 1. ความจ�ำเป็น หมายถึง สิ่งที่จ�ำเป็นต้องบริโภค มิฉะนั้นจะท�ำให้เกิดอันตรายต่อตนเองหรือ ครอบครัว ส่วนใหญ่สิง่ ท่ีจำ� เปน็ ในการครองชพี คอื ปจั จัยสี่ ไดแ้ ก่ อาหาร ท่อี ยอู่ าศัย เคร่ืองนงุ่ ห่ม ยารกั ษาโรค 2. ความมปี ระโยชน์ หมายถงึ บรโิ ภคในสิ่งทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อตนเองและครอบครวั โดยไมท่ �ำให้ ผู้อนื่ หรือสังคมเดือดรอ้ น 3. ความปลอดภัย หมายถึง เม่ือบริโภคสินค้าหรือบริการนั้นแล้วไม่เกิดอันตรายต่อตนเอง และส่ิงแวดลอ้ ม โดยการอา่ นฉลากสนิ ค้า พจิ ารณาส่วนประกอบ วนั ผลติ และวันหมดอายุ หรือการรบั รองคุณภาพ สนิ คา้ จากหนว่ ยงานทีถ่ ูกตอ้ งตามกฎหมายและนา่ เช่อื ถือ 4. ความประหยัด หมายถึง ประมาณการบริโภคไม่มากหรือน้อยเกินไป โดยค�ำนึงถึงคุณภาพ ราคาทเี่ หมาะสม ใช้จา่ ยตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เอกสารประกอบการเรยี น 41 รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค3300168 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242