Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RENOVATION OF TEPLEELA SCHOOL FOR LEARNING AND FLEXIBLE ACTIVITY

RENOVATION OF TEPLEELA SCHOOL FOR LEARNING AND FLEXIBLE ACTIVITY

Published by fagopops_ui, 2017-11-09 00:32:13

Description: RMUTT ARCHITECTURE THESIS2017

Keywords: ARCHITECTURE THESIS,RENOVATION,LEARNING

Search

Read the Text Version

CONTENTS 1 INTRODUCTION บทน�ำ 1.1 ความเปน็ มาของโครงการ 1-2 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1-4 1.3 ขอบเขตการศกึ ษา 1-4 1.4 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั 1-4 1.5 วิธีและขนั้ ตอนการด�ำ เนนิ โครงการ 1-5 2 PRINCIPLES AND THEORY หลกั การออกแบบและทฤษฎที ีเ่ ก่ยี วขอ้ ง สารบัญ 2.1 ความหมายและคำ�ก�ำ กดั ความ 2-2สารบัญ A 2.2 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบา้ น วัด และโรงเรยี น 2-3 2.3 การบริหารสถานศึกษาดา้ นการสร้างความสัมพนั ธ์กบั ชุมชน 2-7สารบัญภาพ D 2.4 การซ้อนทบั ในบรบิ ทของโรงเรียนเทพลีลา 2-11 2.5 ลกั ษณะการซอ้ นทบั 2-19สารบญั ตาราง F 2.6 ท่ีมาและความส�ำ คัญของพืน้ ท่ีสาธารณะ 2-29 2.7 หลักการออกแบบ 2-43สารบญั แผนภูมิ F 2.8 กฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ ง 2-59 2.9 การศึกษาและเปรยี บเทยี บอาคารตวั อยา่ ง 2-63A

3 SITE&LOCATION ต�ำ แหน่งทตี่ ง้ั และการวิเคราะหท์ ี่ตั้งโครงการ3.1 วเิ คราะหท์ �ำ เลทต่ี งั้ โครงการ 3-23.2 วิเคราะหด์ ้านสงั คมและวฒั นธรรม 3-73.3 ทีต่ งั้ โครงการ 3-103.4 วิเคราะห์การใช้พนื้ ท่ีในโรงเรยี น 3-154 ARCHITECTURAL PROGRAMING การศกึ ษารายละเอียดโครงการและการออกแบบ4.1 ความเปน็ มาของโครงการ 4-24.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4-34.3 หน่วยงานเจ้าของโครงการ 4-34.4 การกำ�หนดโครงสร้างบริหารโครงการ 4-44.5 วิเคราะห์ผใู้ ชโ้ ครงการ 4-54.6 องคป์ ระกอบโครงการ 4-114.7 สรุปพื้นทใี่ ช้สอยโครงการ 4-214.8 การคาดการณง์ บประมาณในการลงทุน 4-224.9 งานระบบวิศวกรรมท่ีเก่ยี วข้อง 4-23 B

CONTENTS 5 PROJECT DESIGN ผลงานการออกแบบ สารบญั 5.1 แนวคิดในการออกแบบC 5.2 การสร้างทางเลอื กในการออกแบบ 5.3 ผลงานการออกแบบ 5.4 ภาพบรรยากาศการนำ�เสนอผลงาน 6 CONCLUSION บทสรุป 6.1 บทสรปุ 6.2 ขอ้ เสนอแนะ บรรณานกุ รม ประวตั ผิ จู้ ัดทำ� ภาคผนวก STATEMENT MAGAZINE ตารางสอบ สรปุ ผลประเมนิ

LIST OF FIGURES ภาพท1่ี .1 ปกบทท่ี 1 1-1 ภาพท่ี2.32 กลุม่ เด็กนกั เรียน 2-40 สารบัญภาพ ภาพที่1.2 โรงเรียนเทพลีลา 1-3 ภาพท่ี2.33 เกณฑพ์ จิ ารณาความส�ำ เรจ็ ของพืน้ ที่สาธารณะ 2-41 ภาพที2่ .1 ปกบทท่ี 2 2-1 ภาพท2่ี .34 กจิ กรรมความส�ำ เรจ็ ของพืน้ ทีส่ าธารณะ 2-42 ภาพที่2.2 บรเิ วณสนามโรงเรียนเทพลีลา 2-3 ภาพท2่ี .35 ระยะและต�ำ แหน่งการจดั หอ้ งกิจกรรม 2-43 ภาพท2่ี .3 ร้านขายของดา้ นหน้าโรงเรยี น 2-4 ภาพท2่ี .36 ขนาดและตำ�แหนง่ การจดั ห้องดนตรี 2-44 ภาพที่2.4 ปิดทองลกู นมิ ิตร 2-4 ภาพท2่ี .37 ระยะและตำ�แหนง่ การจัดสว่ นบรหิ าร 2-45 ภาพที่2.5 พื้นทน่ี ัง่ เล่นใตอ้ าคารเรียน 2-4 ภาพที่2.38 รูปตัดระยะและต�ำ แหนง่ การจดั สว่ นบริหาร 2-46 ภาพที่2.6 ความสัมพนั ธ์ในคน 2-8 ภาพที่2.39 LATOUT RETAIL SHOP 2-46 ภาพที่2.7 ประเพณตี กั บาตร 2-10 ภาพที่2.40 การหกั ลา้ งของคล่ืนเสยี ง 2-47 ภาพท2่ี .8 ประวตั คิ วามเป็นมาโ๊งเรยี นเทพลีลา 2-11 ภาพท2่ี .41 อุปกนณ์ป้องกันเสยี งรบกวน 2-48 ภาพท2่ี .9 ปฏทิ นิ แสดงการซอ้ นทบั กจิ กรรมประจ�ำ ปี 2-14 ภาพท2่ี .42 หลักการทำ�งานการหกั ล้างคลืน่ เสยี ง 2-49 ภาพที่2.10 ช่วงเวลาท�ำ กิจกรรมของโรงเรยี นใน 1 สปั ดาห์ 2-15 ภาพที่2.43 ระดับความดังเสยี งในชีวิตประจำ�วัน 2-50 ภาพท2่ี .11 คลืน่ ในชวี ิตประจำ�วนั 2-19 ภาพที่2.44 บรรยากาศทด่ี ีในโรงเรียน 2-51 ภาพท2่ี .12 ชนดิ ของคล่ืนในตวั กลาง 2-20 ภาพท2่ี .45 สภาพแวดล้อมโรงเรยี น 2-52 ภาพท2่ี .13 การแทรกสอดของคล่ืนในชีวติ ประจำ�วัน 2-21 ภาพท2่ี .46 บรรยากาศกระตุน้ การเรยี นรู้ 2-53 ภาพท2่ี .14 การสะทอ้ นของคล่นื 2-21 ภาพท2่ี .47 การจัดสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน 2-54 ภาพท2่ี .15 การหกั เหของคลนื่ 2-21 ภาพท2ี่ .48 ภายในโรงเรยี น 2-55 ภาพท2่ี .16 การเล้ียวเบนของคลนื่ 2-21 ภาพที่2.49 บรรยากาศและความเงยี บสงบ 2-56 ภาพท2่ี .17 คลน่ื เสียง 2-22 ภาพท2่ี .50 การจดั โตะ๊ เรียนให้เหมาะกบั กจิ กรรม 2-57 ภาพท่2ี .18 การรบั สญั ญาณดาวเทียม 2-22 ภาพท2่ี .51 อากาศภายในอาคารถ่ายเท 2-58 ภาพที่2.19 การแทรกสอดของคลื่น 2-23 ภาพท2่ี .52 ระยะร่นอาคาร 2-59 ภาพที่2.20 การใชป้ ริซึมแยกแสงโปรเจคเตอร์ 2-23 ภาพท2่ี .53 สัญลกั ษณท์ ี่จอดรถ 2-59 ภาพที่2.21 สเปกตรัมแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และแสงที่เห็นได้ 2-24 ภาพที่2.54 ระยะห่างจากศูนย์กลางปากทางเข้ารถถงึ จุดเชิงลาด 2-60 ภาพท2่ี .22 การปรบั เปลี่ยนการใช้งานเฟอรน์ ิเจอร์ 2-25 (สะพานหรอื ทางเปลี่ยนระดบั ) ภาพท2่ี .23 การปรับเปล่ียนการใช้งานของเฟอร์นิเจอร์ 2-26 ภาพที่2.55 ระยะห่างจากศูนย์กลางปากทางเข้ารถถงึ จดุ โคง้ หรอื 2-60 ภาพท2่ี .24 Final Wooden House 2-28 ทางแยกสาธารณะ ภาพที่2.25 ความสมั พนั ธใ์ นคน 2-30 ภาพที่2.56 ทางลาดท่จี อดรถ 2-60 ภาพที่2.26 Time Square ,New York 2-31 ภาพท2ี่ .57 ทจี่ อดรถสำ�หรบั คนพกิ าร 2-61 ภาพที่2.27 ความสมั พนั ธข์ องคนในพน้ื ท่สี าธารณะ 2-34 ภาพท2ี่ .58 ขนาดบนั ไดหนไี ฟ 2-61 ภาพท2่ี .28 พืน้ ที่พักผอ่ น Time Square ,New York 2-35 ภาพท2่ี .59 ระยะระหวา่ งบนั ไดหนไี ฟสองบนั ได 2-61 ภาพที่2.29 ขอบเขตพนื้ ทส่ี ว่ นตัว 2-36 2-63 ภาพท2่ี .30 งานเทศกาล Time Square ,New York 2-37 ภาพท2่ี .60 ทัศนียภาพจากด้านข้างโครงการ 2-65 ภาพที่2.31 ลาน St. Peter’s Square เมอื ง Vartican City 2-39 ภาพที่2.61 ทศั นยี ภาพจากด้านหน้าโครงการ 2-66 ภาพที่2.62 SECTION A D

LIST OF FIGURES ภาพที่2.63 SECTION B 2-66 ภาพท่4ี .2 สนามโรงเรยี นเทพลลี า 4-3 สาร ับญภาพ ภาพที่2.64 ทัศนยี ภาพจากด้านหนา้ โครงการ 2-67 ภาพที่4.3 ผงั โครงสรา้ งการบรหิ ารโรงเรียน 4-4 ภาพท2่ี .65 ทศั นียภาพจากดา้ นขา้ งโครงการ 2-69 ภาพท4่ี .4 รายละเอียดผใู้ ช้โครงการ 4-6 ภาพท2่ี .66 บรรยากาศภายในและนอกโครงการ 2-70 ภาพท4ี่ .5 ทางสญั จรเดิมภายในโครงการ 4-9 ภาพที่2.67 ทัศนียภาพจากดา้ นหนา้ โครงการ 2-71 ภาพท4่ี .6 การใชพ้ ื้นท่ีเดิมของผังช้นั 1 4-10 ภาพที่2.68 บรรยากาศภายในโครงการ 2-73 ภาพท4่ี .7 องคป์ ระกอบหลกั โครงการ 4-11 ภาพที่2.69 แปลนชัน้ 1 2-74 ภาพที่4.8 องคป์ ระกอบรองโครงการ 4-11 ภาพที่2.70 SECTION 2-74 ภาพท4่ี .9 องคป์ ระกอบรองโครงการ 4-12 ภาพท3่ี .1 ปกบทท่ี 3 3-1 ภาพที่4.10 องค์ประกอบรองโครงการ 4-12 ภาพท3่ี .2 แผนทีถ่ นนสายหลกั เขตบางกะปิ 3-3 ภาพที่4.11 งบประมาน 4-22 ภาพท3่ี .3 ราชมงั คลากฬี าสถาน 3-4 ภาพที่4.12 โครงสร้างดา้ นในเขม็ เจาะ 4-23 ภาพท3่ี .4 ถาพถา่ ยมุมสูงราชมงั คลากฬี าสถาน 3-5 ภาพท่ี4.13 ขนั้ ตอนการสร้างเข็มเจาะ 4-24 ภาพท3่ี .5 วิเคราะห์ผังเมอื งย่านรามค�ำ แหง 3-6 ภาพท4่ี .14 ผนังในงานสถาปัตยกรรม 4-25 ภาพที่3.6 ศิลปะการแสดง 3-7 ภาพท4่ี .15 ผนงั ในงานสถาปตั ยกรรม 4-26 ภาพที่3.7 วัฒนธรรมท้องถิ่น 3-8 ภาพที่4.16 งานออกแบบพ้ืนและผนงั ในงานสถาปตั ยกรรม 4-27 ภาพที่3.8 ถาพถ่ายบรบิ ทย่านรามคำ�แหง 3-9 ภาพที่4.17 งานออกแบบพืน้ และผนงั ในงานสถาปัตยกรรม 4-29 ภาพท3่ี .9 ผงั แสดงบรบิ ทโดยรอบย่านรามค�ำ แหง 3-10 ภาพที่4.18 การตดิ ต้ังกำ�แพงกันตดิ ถล่ม 4-30 ภาพที่3.10 พื้นทโี่ รงเรียนเทพลีลา 3-11 ภาพท4่ี .19 MDB 4-31 ภาพท3่ี .11 ขนาดพนื้ ทีโ่ ครงการ 3-11 ภาพท4่ี .20 หมอ้ แปลงไฟฟา้ 4-32 ภาพท3่ี .12 ผังการใชท้ ี่ดินรวมกรุงเทพมหานคร 3-12 ภาพท4่ี .21 ระบบดบั เพลิง 4-33 ภาพที่3.13 วเิ คราะหผ์ ลกระทบที่มีตอ่ โครงการ 3-13 ภาพท4่ี .22 การดูแลเคร่อื งปรับอากาศ 4-34 ภาพที่3.14 วิเคราะหข์ นาดถนน ทางเข้า และต�ำ แหน่งจราจร 3-14 ภาพท4่ี .23 น้ำ�ประปาในชีวติ ประจำ�วนั 4-35 ภาพที่3.15 ด้านหลงั อาคาร7ช้ันะโรงเรียนเทพลลี า 3-15 ภาพท4่ี .24 นำ้�ประปาในชวี ิตประจ�ำ วัน 4-36 ภาพท3่ี .16 ความหนาแน่นในแตล่ ะช่วงเวลาของโรงเรียนเทพลลี า 3-16 ภาพที่4.25 น�้ำ ประปาในชวี ิตประจำ�วัน 4-37 ภาพท่ี3.17 แสดงอาคารแต่ละส่วนในโรงเรยี นเทพลลี า 3-17 ภาพที่4.26 อันตรายจากฟ้าผ่า 4-38 ภาพท3่ี .18 แสดงอาคารที่ปรบั ปรงุ ตอ่ เติมและเกบ็ รกั ษาไว้ 3-19 ภาพที่4.27 การปอ้ งกนั อนั ตรายจากฟ้าผ่า 4-39 ภาพท3่ี .19 อาคารเรยี นภายในโรงเรยี นเทพลีลา 3-20 ภาพที่4.28 แผงการตดิ ตงั้ สายดนิ 4-40 ภาพท3่ี .20 แสดงต�ำ แหน่งและบริบทโดยรอบโครงการ 3-21 F ภาพที่3.21 ภาพถ่ายโดยรอบโครงการ 3-21 ภาพทA่ี กล่มุ เดก็ นกั เรียน ภาพที่3.22 ระยะอาคารเดิมในโครงการ 3-22 ภาพที่3.23 แปลนอาคารเกา่ 3-23 ภาพที่3.24 รปู ด้านอาคารเกา่ 3-24 ภาพที่4.1 ปกบทท4่ี 4-1E

LIST OF TABLES สารบัญตาราง สาร ับญตาราง ตารางท่2ี .1 เปรียบเทยี บแนวคิดของพน้ื ทีส่ าธารณะของ 2- ชาร์ลส์ กูดเชลล์ ตารางท2่ี .2 กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง 2- ตารางที่2.3 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2- ตารางท2่ี .4 กฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ ง 2- ตารางท2่ี .5 กฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้อง 2- ตารางท2่ี .6 เปรียบเทียบกรณีศึกษา 2- ตารางท4่ี .1 กจิ กรรมผู้ใชโ้ ครงการ 4-7 ตารางที่4.2 ท่มี าพนื้ ที่ใชส้ อยองคป์ ระกอบหลกั โครงการ 4-13 ตารางที่4.3 ท่ีมาพื้นทใ่ี ชส้ อยองค์ประกอบรองโครงการ 4-15 ตารางที่4.4 ที่มาพ้ืนท่ีใช้สอยส่วนสนับสนุนโครงการ 4-17 ตารางที่4.5 ที่มาพ้นื ทีใ่ ช้สอยสว่ นบรกิ ารโครงการ 4-19 สารบัญแผนภูมิ 4-5 4-21 แผนภูมทิ ี4่ .1 แผนภูมิแสดงจ�ำ นวนผใู้ ช้โครงการ แผนภมู ทิ ่ี4.2 สรปุ พนื้ ท่ีใชส้ อย ภาพทีA่ กลุ่มเดก็ นักเรยี น ทมี่ า : tumblr_ndkvlwNsU21tmplozo1_r1 F

ภาพท1่ี .1 ปกบทที่ 1ทม่ี า : พนั ทวิ า เพชรสมี ว่ ง1-1

1-2

ภาพท่1ี .2 โรงเรียนเทพลีลาท่มี า : พันทิวา เพชรสีม่วง

1.2 วัตถุประสงคข์ องการศึกษาโครงการ 1.3 ขอบเขตการศึกษา 1.4 ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั1.2.1 เพอื่ ศกึ ษาโรงเรยี นทม่ี ปี ญั หาของการมกี จิ กรรมทห่ี ลากหลาย 1.3.1 ศกึ ษาและสงั เกตกุ ารใชพ้ นื้ ทโ่ี รงเรยี นในรปู แบบการ 1.4.1 แก้ไขปัญหาพื้นท่ีให้เหมาะกับการใช้งานในแต่ละและอย่ใู นพ้ืนทท่ี ่ีจ�ำ กัด ทำ�กิจกรรมตา่ งๆ ชว่ งเวลา1.2.2 เพ่ือนศึกษาและปรับปรุงการใช้พื้นท่ีเรียนรู้และพื้นท่ีกิจกรรม 1.3.2 ศกึ ษารปู แบบพฤตกิ รรมการเรยี นรแู้ ละการใชพ้ นื้ ท่ี 1.4.2 นักเรียนได้รับการพัฒนาและสนับสนุนตา่ งๆ ในโรงเรยี น เรียนร้ขู องเด็กนักเรียน กิจกรรมทางการศกึ ษา1.2.3 เพื่อจัดสรรค์พืน้ ท่ีโรงเรยี นและพน้ื ทีเ่ ชงิ พาณชิ ย์ใหส้ ามารถใช้ 1.3.3 ศกึ ษาและวเิ คราะหป์ ญั หาการใชพ้ น้ื ทเี่ พอ่ื ปรบั ปรงุ 1.4.3 โรงเรียนได้รับการจัดสรรพื้นท่ีเพื่อการใช้งานดว้ ยกนั ได้อยา่ งเหมาะสม ให้เข้ากับรปู แบบวถิ ีการใช้ชวี ติ ประโยชนใ์ นด้านการเรียนการสอนและในเชงิ พาณชิ ย์1.2.4 เพ่ือให้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางและใช้ทรัพยากรด้านพ้ืนที่ของ 1.3.4 ศกึ ษาคนทเี่ ขา้ มาใชพ้ น้ื ทโ่ี รงเรยี นในกจิ กรรมนอก 1.4.4 โรงเรียนเป็นศูนย์กลางและเป็นพื้นท่ีเช่ือมต่อโรงเรียนใหเ้ กดิ ประโยชนร์ ว่ มกบั วดั และชมุ ชน เหนือการเรยี น เชน่ ตลาดนดั หรือจดั งานประเพณรี ่วมกับ ระหวา่ ง วดั และชุมชนเพื่อทำ�กิจกรรมร่วมกนั1.2.5 เพื่อก้าวข้ามขีดจำ�กัดของพ้ืนที่การศึกษาให้เป็นส่วนหน่ึงของ วดั 1.4.5 สรา้ งใหค้ นในชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มซง่ึ กนั และกนั เกดิชมุ ชนและเปน็ ต้นแบบส่กู ารเป็นสังคมย่ังยนื 1-4

ประเด็นทีน่ ่าสนใจ ประวัติของโรงเรยี น สังเกตใช้การพน้ื ที่ วิเคราะห์ปญั หาและทฤษฎตี า่ งๆ -การทำ�กิจกรรมท่ีหลากหลาย ศกึ ษาประวตั คิ วามเปน็ มาและนโยบายของ วเิ คราะห์ปัญหาการใชง้ านของ โรงเรียน ส่วนการศึกษาและส่วนกิจกรรมของ นอกเหนือจากการเรียนของโรงเรียน นักเรยี น เทพลลี า ศกึ ษาการใช้พนื้ ทแ่ี ละพฤติกรรมการ วิเคราะห์ความหลากหลายด้าน -ตง้ั อยใู่ นยา่ นคา้ ขายและเปน็ ศนู ยก์ ลาง ใช้งานของนักเรยี นและอาจารย์ การชังานให้เหมาะสมกับความต้องการ การทำ�กจิ กรรมชุมชน มากขนึ้ ศึกษาข้อดีและรายได้การจัดตลาดนัด วเิ คราะหโ์ ครงการทเ่ี หมาะสมตอ่ ประเด็นปญั หา ในโรงเรยี นหรอื การจดั งานประเพณรี ว่ ม การรองรับของโปรแกรมของกิจกรรม -เนื่องจากมีกจิ กรรมและคนใช้จ�ำ นวน กับวัด มาก ทำ�ให้การจัดสรรค์พื้นที่ท่ีมีขนาด จ�ำ กดั ยงั ไม่ตอบสนองตอ่ การใชง้ าน1-5

สถานทต่ี ้งั จัดทำ�โปรแกรม และอ่ืนๆ สรา้ งแนวคิดในการออกแบบ จัดการรายละเอียดโครงการท่ี สร้างรูปแบบทางเลือกของ ใช้สอยโครงการท่ีเหมาะสมและเพียงพอ โครงการเพือ่ พฒั นาโครงการ ตอ่ การใชง้ าน การเลือกท่ีตั้งโครงารมาจาก นำ�เสนอเน้ือหาแต่ละประเด็นผนวกกับ พฒั นารูปแบบแนวคิดในเชงิ สถาปัตยกรรม ความน่าสนใจของกิจกรรมในพื้นที่และ รายละเอียดโครงการสร้างแนวคิดในการ ปญั หาการใชง้ าน ออกแบบ จดั ท�ำ รายละเอยี ดทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั โครงการต้ังสมมุตฐิ านในการจดั ท�ำ รายละเอียดต่างๆ

ภาพท่2ี .1 ปกบทท่ี 22-1 ที่มา : พันทิวา เพชรสมี ว่ ง

โรงเรียน หมายถึง สถานท่ีสำ�หรับ ‘‘ปรบั ปรงุ และต่อเติมโรงเรยี นเทพลีลาเพอ่ื ส่งฝึกสอนนักเรียนภายใต้การดูแลของครูหรือ เสรมิ การเรยี นรแู้ ละยดื หยนุ่ กจิ กรรมรว่ มกบั ชมุ ชน’’อาจารย์ หลายประเทศมีระบบการศึกษา อย่างเป็น หมายถงึ การพัฒนาพืน้ ทีโ่ รงเรยี นให้เพ่ือสง่ เสรมิทางการ สว่ นใหญเ่ ปน็ การศกึ ษาภาคบงั คบั ในระบบ ความสามารถด้านการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทภาพการเรียนนี้ นักเรยี นจะผา่ นโรงเรยี นตามลำ�ดับ ช่ือ และเหมาะสมกับความต้องการนักเรียน อีกทั้งยังของโรงเรียนเหล่านี้อาจแตกต่างไปตามภาษาและ สามารถจัดกิจกรรมอื่นๆนอกเหนือการเรียนการประเทศ แต่โดยหลักจะมีโรงเรียนประถมสำ�หรับเด็ก สอนร่วมกับชุมชน โดยใช้พ้ืนท่ีส่วนกลางร่วมกับเลก็ และโรงเรียนมัธยมสำ�หรบั เดก็ โตทไ่ี ดส้ �ำ เร็จการ โรงเรียน อาทิเช่น การจัดงานประเพณี วันสำ�คญัศกึ ษาระดบั ประถมมาแลว้ ศาสนารว่ มกบั วดั การจดั ตลาดนดั ชมุ ชนเพอ่ื สรา้ ง ชมุ ชน หมายถงึ หมชู่ นกลมุ่ คนทอี่ ยู่ รวม รายได้กระตุ้นเศรษฐกิจให้กับชุมชน และเกิดความกันเป็นสังคมขนาดเล็กอาศัยอยู่ในอาณาบริเวณ สัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน วัด ชุมชน ทำ�ให้นำ�ไปสู่เดยี วกนั และมผี ลประโยชนร์ ว่ มกนั การเปน็ ชมุ ชนยั่งยนื ตอ่ ไป โรงเรียนชุมชน หมายถึง โรงเรียนท่ีมีบทบาทในการพัฒนาชุมชนโดยตรง ท้ังนี้เพราะนอกจากจะท�ำ หนา้ ทใี่ หก้ ารศกึ ษาแกป่ ระชาชนทกุ เพศทุกวัยและทุกอาชีพแล้วยังเป็นโรงเรียนที่จัดขึ้นโดยคำ�นึงถงึ ผลประโยชนข์ องชุมชนเปน็ ใหญ่ มีการจดับรกิ ารดา้ นตา่ ง ๆ ใหป้ ระชาชนเขา้ มาใชป้ ระโยชน์ เชน่หอ้ งสมดุ โรงฝกึ งาน หอประชมุ ฯลฯ มกี ารส�ำ รวจความตอ้ งการและศกึ ษาปญั หาของคนในชมุ ชนเพอ่ืร่วมกันหาทางแก้ไขและพัฒนาให้ดีข้ึนกว่าเดิมในทุกดา้ น 2-2

PROBLEM 2.2.1ปญั หาท่ีเกิดขนึ้ภาพท่ี2.2 บริเวณสนามโรงเรยี นเทพลีลา ศาสตราจารย์เสนห่ ์ จามรกิ (2549)กลา่ วว่า สังคมไทยที่มา : พนั ทิวา เพชรสมี ่วง เม่ือก่อนคิดจะทำ�อะไรไม่ค่อยมี senseของประวัติศาสตร์ หลัง สงครามโลกคร้ังท่ี 2 เราเอาแนวคิดการศึกษาของสหรัฐมาใช้คือ2.2 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบา้ น วดั และโรงเรียน การแบ่งเป็นสาขา (discipline)เปรียบเสมือนม้าแข่งที่อยู่เฉพาะอยู่ใน ลู่ของตนเองถูกปิดกั้นไว้หมดทำ�ให้มองไม่เห็นชีวิตท่ีเป็นปมปัญหา การจัดการศกึ ษาของไทยในอดีตต้ังแตส่ มยั สุโขทยั เปน็ การ ตอ่ มาเมอื่ มกี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ ที่ถูกกำ�หนดโดยโครงสร้าง ระบบการศึกษาถูกตัดขาดจากพื้นฐานจัดการศึกษาโดยชุมชนหรือท้องถิ่นมีวัดเป็นศูนย์กลางสำ�คัญของ พ.ศ. 2464 ในสมยั รชั กาลที่ 6 จึงเกดิ รูปแบบของการให้การศึกษา ของสังคมไทยท้ังหมดการศึกษาเป็นระบบศูนย์รวม ปัญหาในการการจัดการศึกษาการถ่ายทอดความรู้โดยพระสงฆ์เป็นหลักรวมทั้งผู้ แบบใหม่ในระบบโรงเรียนซึ่งเป็นการจัดการศึกษาที่รวมศูนย์อำ�นาจไว้ที่ บรหิ ารจดั การศกึ ษาโดยคณะกรรมการปฏริ ปู ระบบบรหิ ารการศกึ ษาอาวุโส พอ่ แม่ ปราชญช์ าวบ้าน ช่างฝอื มือ เปน็ ตน้ ไดร้ ว่ มกันท�ำ ส่วนกลาง นโยบายและหลักสูตรกระทรวงจะเป็นผู้ส่ังการลงมาตาม ในกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2542) ซ่งึ ผเู้ ขียนขอสรุปประเด็นปญั หาหน้าท่ีให้การอบรมสั่งสอนความรู้ต่างๆแก่บุตรหลานของตนเองด้วย ล�ำ ดบั ขน้ั ตอนจนถงึ ระดบั สถาบนั การศกึ ษา การจดั การศกึ ษาในลกั ษณะ ทเี่ กี่ยวข้องกับบทความนี้คือจงึ เปน็ การเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ นน้ั ๆเยาวชนไทย เชน่ นด้ี �ำ เนนิ ตอ่ มาจนถงึ ปจั จบุ นั โดยมงุ่ หวงั ทจี่ ะใหเ้ กดิ มาตรฐานการศกึ ษา 2.2.1.1 การรวมศูนย์อำ�นาจไว้ท่ีส่วนกลางก่อให้เกิดสมยั กอ่ นจงึ ไดร้ บั ทง้ั ภมู ธิ รรมและภมู ปิ ญั ญา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ จากวดั ทเ่ี ปน็ แบบเดยี วกนั ทวั่ ประเทศและเนน้ การสง่ เสรมิ ความรสู้ มยั ใหม่ จงึ ท�ำ ให้ ความด้อยประสิทธิภาพและไม่ตอบสนองต่อความต้องการของหรือพุทธศาสนาซ่ึงเป็นสถาบันทางสังคมที่เก่าแก่เคียงคู่มากับชาติไทย ละเลยความเปน็ ชุมชนและภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ชวี ิตจรงิ จึงไม่สอดคล้อง ชมุ ชนเกดิ ความสนิ้ เปลอื งงบประมาณและทรพั ยากรอนื่ ๆการจดั การเป็นรากฐานของระบบจริยธรรมของสังคมไทยที่เป็นที่ยอมรับยึดถือ กับชวี ติ ในโรงเรยี น สังคม วัฒนธรรม ประเพณีด้ังเดมิ ท่ีเคยผกู พนั เรียนการสอนต้องดำ�เนินการตามกรอบหลักสูตรและการประเมินปฏบิ ัตเิ ป็นมาตรฐานกันต่อๆมา ดว้ ยเหตุน้ีวัดและบ้านจึงมีบทบาทอย่าง กนั ระหวา่ ง บ้าน วดั โรงเรยี นก็เปล่ียนแปลงไปปัญหาที่เกิดขน้ึ ผลท่ีกำ�หนดโดยสว่ นกลาง การจดั รายวิชาไม่สอดคลอ้ งกบั ความสำ�คัญในการเป็นเคร่อื งมือทไ่ี ดช้ ว่ ยพฒั นาชวี ติ และสังคมไทยในอดตี ต้องการของนักเรียนและความต้องการของชุมชน การพัฒนา หลกั สูตรท้องถน่ิ ไมบ่ ังเกิดผลเท่าทีค่ วร 2-3 2.2.1.2 การขาดการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนซึ่งเกดิ จาก การรวมอำ�นาจไว้ท่ีส่วนกลางจึงเป็นการยากที่ประชาชน ชุมชน องค์กรเอกชน ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ รวมถึงกล่มุ ตา่ งๆจะเขา้ ไปมสี ว่ น ร่วมคิดร่วมทำ� ร่วมส่งเสริมการดำ�เนินงาน ตลอดจนกำ�หนด นโยบายทางการศึกษา เพราะระบบราชการไม่ส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน เข้ามามสี ่วนรว่ มในการสร้างความเปน็ พลเมืองที่จะชว่ ยคดิ ช่วยพัฒนาดา้ นต่างๆ นอกจากจะคอยรับการพฒั นาเทา่ น้นั

2.2.2 การจัดการศึกษาแบบมี ของชมุ ชน มสี ่วนสร้างความเขม้ แขง็ ให้แกช่ มุ ชนว่า ภาพท2ี่ .3 ร้านขายของดา้ นหน้าโรงเรยี นส่วนร่วมระหว่างบ้าน วัด และ ฐานการเรยี นรู้แหล่งให้การศึกษาเรยี นรู้ มีอยู่รอบ ท่มี า : พนั ทิวา เพชรสีม่วงโรงเรยี น ตัวทง้ั ในครอบครวั ในชมุ ชน ในวดั ในเมือง ใน ธรรมชาติ ฯลฯ เปน็ กระบวนการเรยี นรแู้ ละถา่ ยทอด ภาพท่2ี .4 ปดิ ทองลูกนิมติ ร เม่ือมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการ ทเี่ กดิ ขน้ึ ตลอดเวลาในวถิ ชี วี ิตของบคุ คลอย่างไม่เปน็ ที่มา : พันทวิ า เพชรสมี ว่ งศึกษา พ.ศ. 2542 ซง่ึ เป็นกฎหมายแมบ่ ทของ ทางการ มีผลใหบ้ ุคคล(เด็ก) ส่ังสมความรู้ ทักษะการศึกษาแห่งชาติ กอ่ ให้เกิดการปฏริ ปู การศึกษาใน คา่ นิยม วฒั นธรรม ประเพณี ฯลฯ ในเร่ืองตา่ งๆ ภทมี่าพา ท:ี่2พ.5นั ทพวิ ้ืนาทนี่ เพั่งชเลร่นสใตีมอ้ว่ งาคารเรียนด้านต่างๆ เช่น ปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรู้ ปฏิรปู จนสามารถดำ�รงชีวิต และเล้ียงชีพด้วยตนเองได้โครงสร้างและการบริหารจัดการศึกษา ท่ีมีการก ช่วยเหลือผู้อ่ืนและชุมชนได้ รวมทั้งถ่ายทอดส่ิงที่ระจายอ�ำ นาจส่เู ขตพืน้ ที่การศกึ ษา ตลอดจนการมี ตนเรียนรู้ ไปสผู่ อู้ ่ืนด้วยส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชน ครอบครัว ขณะเดียวกันความเข้มแข็งของชุมชนก็ข้ึนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องคก์ รตา่ งๆสถาบนั อยกู่ บั คา่ นยิ ม คณุ ธรรม จริยธรรม ท่ีสมาชกิ ในศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คมอ่นื ๆ สงั คม ชุมชนยดึ ถือปฏิบตั ิ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ คา่(มาตราท่ี 8 และ 9) จากหลกั การจัดการศกึ ษา นยิ ม คุณธรรม จริยธรรมท่กี อ่ ให้เกดิ วฒั นธรรมตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาฉบับน้ี แสดงถงึ การ แบบร่วมมือ และหลักของการอยู่ร่วมกันของผู้คนใหค้ วามสำ�คัญแกช่ มุ ชน ทจ่ี ะเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการ ในสังคมและสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ นำ�มาซ่งึจดั การศกึ ษาในท้องถิ่นของตนเองมากขึ้น และหลัก ความสงบสุขของชุมชน ซ่ึงพระเทพเวที(ประยุทธ์การดงั กลา่ วมคี วามเปน็ รปู ธรรมมากขน้ึ ในมาตรา 40 ประยตุ โต) (2534) ไดใ้ หแ้ นtวคิดว่าในสังคมหนง่ึ ๆถ้าทกี่ �ำ หนดใหม้ กี รรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เพอื่ ท�ำ โรงเรยี นกบั บา้ นรกู้ นั และรว่ มมอื กนั เชน่ โรงเรยี นสงั่หน้าที่กำ�กับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถาน สอนแนะน�ำ หรอื พดู อะไร บา้ นและวดั เสรมิ ขยายเนน้ ย�ำ้ศกึ ษา ประกอบด้วยผูแ้ ทนปกครอง ผ้แู ทนครู ผู้ ในเรอ่ื งนนั้ ได้ บา้ นและวดั แนะนำ�เอย่ อ้าง พูดอะไร เด็กแทนองคก์ รชมุ ชน ผแู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ ง ไปโรงเรยี นกถ็ ามเพ่ิมเติมได้ หรอื โรงเรียนก็อาจเอาถิน่ ผู้แทนศษิ ยเ์ กา่ ของสถานศึกษา ผแู้ ทนพระสงฆ์ มาชี้แจงเสริมขยายเน้นย้ำ�ได้ โดยท่ีท้ังทางโรงเรียนและ/หรอื ผแู้ ทนองคก์ รศาสนาอนื่ ในพน้ื ที่ และผทู้ รง บ้าน และวัดได้มีส่วนร่วมอยู่ในระบบจริยศึกษาคุณวฒุ ิ อย่างกลมกลืนเป็นอันเดียว แต่ถ้าโรงเรียนใช้ระบบ โรงเรียนมีบทบาทในการสร้างเยาวชนให้ จริยธรรมแตกต่างออกไป ใช้คำ�ศัพท์ถ้อยคำ�คนละเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมสามารถดำ�รงชีวิตอยู่ใน อยา่ ง นอกจากบ้านและวัด หรอื ชุมชนอ่ืนทัง้ หมดสังคมได้อย่างมีความสุข ขณะเดียวกันชุมชนก็มี จะชว่ ยเหลือ เสรมิ ตอ่ อะไรก็ไมไ่ ด้ และเด็กไม่สามารถบทบาทและความสำ�คัญต่อการจัดการศึกษาของ รับเอาประโยชนท์ ่พี งึ ไดจ้ ากสภาพแวดล้อมทางสงั คมโรงเรียนในแง่ของการเป็นแหล่งเรียนรู้มรดกทาง และวฒั นธรรมในชมุ ชนแลว้ โรงเรยี นกจ็ ะท�ำ งานของวัฒนธรรมประเพณี ค่านยิ มของสงั คม และภาระ ตนไปแต่เพียงล�ำ พังผ้เู ดยี วโดดเดี่ยว แปลกแยกจากหน้าที่ท่ีจะให้การอบรมกล่อมเกลาแก่สมาชิกในสังคม ชมุ ชน เข้ากับชมุ ชนไมไ่ ด้ หรืออาจถงึ กบั ขดั แยง้ กันซงึ่ รวมถงึ เยาวชนดว้ ย เพอื่ ใหร้ จู้ กั กฎเกณฑแ์ บบแผน ผลสุดท้ายคือจริยศึกษาที่ล้มเหลว มองในวงกว้างของสังคมในวิถชี วี ติ ทเี่ ปน็ จริง เพ่อื ใหเ้ ยาวชนรู้จกั ก็คือ สภาพท่กี ารศึกษาในโรงเรียนกับวิถีชวี ิตชุมชนบทบาทของตนเองและผู้อื่น ในประเด็นดังกล่าวนี้ นอกโรงเรยี นไมก่ ลมกลนื ไมเ่ กอื้ กลู กนั โรงเรยี นไมเ่ ปน็สอดคลอ้ งกบั อุทยั ดุลยเกษมและอรศรี งามวทิ ยา ส่วนหนงึ่ ของชุมชน และไม่ไปด้วยกนั กบั ชมุ ชนพงศ์ (2540) ทเ่ี สนอแนวคดิ เรอ่ื งกระบวนการศกึ ษา 2-4

RELATIONSHIP2.2.3 การสร้างความสมั พันธ์ระหว่างโรงเรยี นกบั ชุมชนอยา่ งยั่งยนืการด�ำ เนนิ งานสามารถเน้นประเดน็ หลกั 3 ดา้ นดังนี้ 2.2.3.2 วธิ สี รา้ งความสมั พันธ์กับชมุ ชน คือ โรงเรยี นและชมชุ นมี 2.2.3.3 ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชน 2.2.3.1 การน�ำ ชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มกบั โรงเรยี นในการจดั กจิ กรรม สว่ นเกอ้ื หนนุ ซ่ึงกันและกนั มีวสัยิ ทศั น์ร่วมกัน มเี จตนาเดียวกัน ยงั ประโยชน์ร่วม อยา่ งต่อเน่อื ง การสร้างความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งโรงเรยีนกับชมุ ชน เพอ่ื กอ่ ใหเ้ กดิชุมชนสัมพันธ์ สรุปไดด้ ังน้ี กนั มคี วามสมั พนั ธใ์ นแนวราบ เคารพซง่ึ กนั และกนั มจี ติ ส�ำ นกึ และจติ อาสารว่ มกนั ความยง่ั ยืนนั้น มีปัจจัยอันเปน็ เงื่อนไขการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของ ชมุ ชนทจ่ี ะน าไปสู่ ก) เปดิ โอกาสใหช้ มุ ชนมสี ว่ นรว่ ม ในการวางแผนยทุ ธศาตรเ์ พอื่ พฒั นา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมบี คุ คลทเี่ ปน็ “สะพาน” เชื่อมความสัมพนั ธ์ ดงั น้ี การบรรลวุ ัตถุประสงค์โรงเรียน ผเู้ รียน โดยเชิญผู้น�ำ ชุมชน เช่น พระภกิ ษุ ผู้ปกครอง นกั เรียน ก�ำ นนั ก) นกั เรยี น จะเปน็ สะพานเชอ่ื มใหอ้ ยา่ งดี โดยใชก้ จิ กรรมทน่ี กั เรยี นเปน็ ก) การสร้างความคุ้นเคยกับสมาชิกของชุมชน ครูและผู้บริหารผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. อบจ. เทศบาล ฯลฯ มาร่วมปรึกษาหารือ เพ่ือหา ผู้กระท�ำ เชน่ โครงการ เกษตรกรรมพ้ืนบ้าน การดแู ลรักษาบา้ นในฝัน หอ้ งสมดุ โรงเรียน ควรเขา้ หา เข้าใจ เขา้ ถึง ชาวบ้าน หรอื ผูน้ �ำ ชมุ ชนก่อน ทำ�อยา่ งไรให้แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการจดั การศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพ เคลอื่ นที่ โดยมคี รูไปติดตามผลงานถึงบา้ น เกดิ ความรู้ ความรัก ความสนิทสนม กอ่ เกิดท้ังน้�ำ ใจ ไมตรี ความมสี มานฉันท์เชงิ ข)สรา้ งความเขา้ ใจทีถ่ ูกต้องใหช้ มุ ชน ตระหนักว่ากระบวนการจดั การ ข) ผู้บริหารโรงเรียนและครู ควรสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ญาติมิตรศึกษา เปน็ หนา้ ทขี่ องคนทกุ คนใน ชุมชน การชว่ ยเหลอื หรือการมสี ว่ นร่วมควร ประชาสัมพันธ์งานของโรงเรียน งานของชุมชน ตามโอกาสท่ีเอ้ืออำ�นวย หรือ ข) ความเช่อื ความศรัทธาท่ชี ุมชนมตี ่อ่โรงเรียน โดยเกดิ จากการทำ�งาเกดิ จากความศรัทธาและเตม็ ใจอยา่ งแท้จริง รว่ มกจิ กรรมอนื่ ๆ เชน่ กจิ กรรมปลกู ตน้ ไม้ กจิ กรรมท�ำ ความ สะอาดวดั และชมุ ชน นของผบรู้ หิ ารและครใู นโรงเรยี น ทเ่ี สยี สละ อทุ ศิ และทมุ่ เท เพอื่ บตุ รหลานของชมุ ชน ค) เปิดโอกาสให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการเป็น “ผู้ถ่ายทอดภูมิความ เป็นต้น ผนวกกับการเป็นตัวแบบต้นแบบท่ีดีจนเป็นที่ศรัทธา เชื่อถือว่าเป็นที่พึ่ีงของบุตรรู้” ในหลาย ๆ รูปแบบ เช่น ภมู ิ ปญั ญาท้องถ่ิน ครูชาวบ้าน เครอื ขา่ ยการเรียน ค) ผู้ปกครองนักเรียน ควรเชิญเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของ หลาน และชุมชนได้ อนั นจ้ี ะนำ�ไปสูก่ ารสรา้ งความสมั พนั ธ์ และความร่วมมอื ดว้ ยดีรู้ แหลง่ เรยี นรู้ ศูนยก์ ารเรียนรู้ทง้ั ภาครฐั และธรุ กิจ เอกชน โรงเรยี นทกุ คร้งั เชน่ งานวันเด็ก งานวันแม่แห่งชาติ งานกีฬาประจำ�ปี งานแสดง ค) การให้บริการทางวชิ าการ โดยท�ำ ให้โรงเรยี นเป็นแหล่งเรียนรู้ของ ง) ให้ชุมชนในการควบคุมดูแลบตุรหลานของตนเอง ซ่ึงเป็นสมาชิก นิทรรศการให้ผู้ปกครอง นักเรยี น มสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษาใหม้ ากท่ีสุด ชมุ ชน เปน็ ศนยู ร์ วมทางวชิาการ แหล่งรวบรวมข้อมลู ศูนยร์ วมวัฒนธรรมและในชุมชน “ใช้ทฤษฎีตา สบั ปะรด” โดยขอความร่วมมือช่วยดูแลนักเรียน ควบคมุ ง) โรงเรียน ควรเข้าไปเป็นท่ีปรึกษากับชุมชนในการดำ�เนินกิจกรรม ภูมปิ ญั ญา โดยมีครูเปน็ ผูน้ �ำ ทางปัญญา สามารถตอบสนองความตอ้ งการทางนักเรียนมใิ ห้กระท าในส่ิงทีไ่ ม่พงึ ประสงค ์”ใช้ ชมุ ชนเป็นฐาน หรอื ครอบครวั เป็น ตา่ งๆ ทชี่ มุ ชนอาจจะยงั ไมมคี่ วามรู้ ความเขา้ ใจเพยี งพอ ทศิ ทางการพฒั นาชมุ ชน ประชาชนไดเ้ ตม็ ศักยภาพ เช่น ห้องสมดุ อิเลกโทรนิค แปลงสาธิตทางการเกษตรฐาน สรา้ งเยาวชน การสร้างชุมชนใหเ้ ขม้ แข็ง เกษตรปลอดพิษ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง สังคม เปน็ ต้น จ) ให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการประชาสมั พันธ์ และเผยแพร่ความสำ�เรจ็ อยเู่ ยน็ เปน็ สขุ โดยอาจท�ำ ในลกั ษณะการเสวนากลมุ่ เพอื่ รว่ มคดิ รว่ มท�ำ รว่ มสรา้ ง ง) การประชาสัมพนั ธ์ เปน็ สงิ่ จ�ำ เป็นทโ่ี รงเรียนควรสรา้ งความเข้าใจท่ีของการจัดการศึกษาอยา่ ง ต่อเน่ือง ในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ประชุมผปู้ กครอง จะ ทำ�ใหช้ ุมชนเหน็ คณุ คา่ ของโรงเรยี น และสรา้ งศรทั ธาให้เกดิ ขึ้นกบั โรงเรยี น ดีตอ่ ชุมชน เพราะอาจมีบางสง่ิ บางอย่างท่เี ขาใ้ จไม่ตรงกนั อาจส่งผลกระทบตอ่จดั งานประจำ�ปี จัดนิทรรศการ และแสดงผลงาน นักเรยี น จ) กจิ กรรม โรงเรยี นสามารถทจี่ ะรเิ รมิ่ กจิ กรรม ทม่ี คี วามสอดคลอ้ ง ความสัมพนั ธท์ ี่ดีตอ่ กัน โรงเรยี นควรมีรปู แบบ ประชาสัมพันธ์ท่ีหลากหลายใหเ้ ข้า กบั ปญั หา และความต้องการ ของชมุ ชน เป็นสะพานเชอ่ื มโยง ชุมชน และโรงเรียน ถงึ ชมุ ชนไดท้ กุ ท่ี ทุกเมอื่ ทกุ โอกาสทีเ่ หมาะสม 2-5 เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการด าเนนิ การกจิ กรรม และเกดิ การเรยี นรู้ร่วมกัน จ) กิจกรรมท่ีโรงเรียนจัดต้องสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิด ฉ) ความตอ่ เนอื่ ง ความสม�ำ่ เสมอ และท�ำ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เปน็ ประจ�ำ จน ประโยชน์ตอ่ชมุ ชน มากกว่าท่ี โรงเรียนจะไดร้ ับฝ่ายเดียว สำ�คัญต้องสอดคลอ้ ง กลายเปน็ วัฒนธรรมของ องคก์ ร และชมชุ น จะนำ�ไปสค่วู ามยงั่ ยืนในทีส่ ดุ กบั ปัญหาปากทอง้ เศรษฐกิจ และชวีติ จรงิ จะเหน็ ได้ วา่ การสร้างความสมั พนั ธ์ ระหวา่งโรงเรียนกับชุมชนใหย่้ังยืนต้องอาศัยองค์ประกอบท่ีสำ�คัญที่สุด คือ ผู้ บรหิ ารโรงเรยี น ครู และนกั เรียน ต้องมุ่งมั่น จรงิ จัง และตอ่ เนอ่ื ง จึงจะสง่ ผลให้ เกดิ การท างาน รว่ มกนั ในลกั ษณะกัลยาณมิตรอยา่ งย่งั ยืน

SCHOOLCOMMUNITYTEMPLEPEOPLES

ค2ว.3ามกสาัมรพบรนั หิ ธา์กรับสชถุมาชนนศึกษาด้านการสร้าง2.3.1 ความหมาย 2.3.2 ความเป็นมา องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการ และสถาบันทางสังคมอ่ืน ส่งเสริมความ การบริหารสถานศึกษาด้านการสร้างความ การบรหิ ารสถานศกึ ษา ทงั้ โรงเรยี น วทิ ยาลยั เขม้ แขง็ ของชมุ ชนโดยจดั กระบวนการเรยี นรภู้ ายในชมุ ชนสัมพันธ์กับชุมชน หมายถึงการดำ�เนินงานของกลุ่ม สถาบนั และมหาวทิ ยาลยั ซ่งึ ครอบคลมุ งานทัง้ 5 ด้าน เพ่ือให้ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาบุคคลในสถานศึกษาในการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน คอื การบรหิ ารงานวชิ าการ การบรหิ ารงานธรุ การ การ ความรู้ขอ้ มลู ข่าวสาร และรู้จกั เลือกสรรภมู ปิ ญั ญาและเช่น ครอบครวั องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน บรหิ ารงานบุคคล การบริหารกิจการนกั เรยี น และ การ วทิ ยาการตา่ งๆ เพอ่ื พฒั นาชมุ ชนใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพศาสนา สถานประกอบการ สถานท่ีราชการ องค์กร บริหารงานด้านการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน นั้น ปญั หาและความตอ้ งการ รวมทงั้ หาวธิ กี ารสนบั สนนุ ใหม้ ีเอกชน และสถาบันสังคมอ่นื ๆ เป็นตน้ สำ�หรับการบริหารงานด้านการสร้างความสัมพันธ์กับ การเปลย่ี นแปลงประสบการณก์ ารพฒั นาระหวา่ งชมุ ชน” การบริหารสถานศึกษาด้านการสร้างความ ชุมชน เปน็ งาน 1 ใน 5 ของการบริหารในสถานศกึ ษา ในหมวด 8 ทรพั ยากรและการลงทนุ เพอ่ื การสัมพันธ์กับชุมชน เป็นการดำ�เนินงานของกลุ่มบุคคลใน เนอื่ งจากสถานศกึ ษายอ่ มสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชน เพราะผเู้ รยี น ศกึ ษา มาตรา 58 กลา่ วว่า “ให้มกี ารระดมทรัพยากรและสถานศึกษาในการสรา้ งความสมั พันธ์กบั ชุมชน ส�ำ หรับ ในสถานศกึ ษามาจากครอบครวั ทอ่ี ยใู่ นชมุ ชน สถานศกึ ษา การลงทนุ ดา้ นงบประมาณ การเงนิ และทรพั ยส์ นิ ทง้ั จากกลมุ่ บคุ คลในสถานศกึ ษานนั้ ประกอบดว้ ยผบู้ รหิ ารสถาน ใหช้ ุมชนมสี ว่ นร่วมในการสนับสนนุ หรอื จัดการศกึ ษา ใน รัฐ องค์กรปกครองท้องถ่ิน บคุ คล ครอบครวั ชุมชนศึกษา (อธกิ ารบดี ผู้อ�ำ นวยการ อาจารยใ์ หญ่ ครูใหญ)่ พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ยังได้ องค์การชุมชนเอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพผชู้ ว่ ยผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา หวั หนา้ ภาควชิ าหรอื หวั หนา้ กำ�หนดให้สถานศึกษามีความสัมพันธ์กับชุมชนด้วย ซึ่ง สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่นและหมวดวชิ าตา่ งๆ รวมทง้ั ครอู าจารยท์ กุ คน ยอ่ มจะด�ำ เนนิ กำ�หนดไวห้ ลายมาตราดว้ ยกนั ตวั อยา่ งเชน่ ต่างประเทศมาใชจ้ ัดการศึกษา….”งานในการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนด้วย เช่น การ ในหมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา มาตรา 29เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยสอนให้ผู้ กลา่ ววา่ “ใหส้ ถานศกึ ษารว่ มกบั บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชนเรียนนำ�ความรู้ไปใช้ที่บ้านหรือนำ�ไปใช้ในชุมชน หรือนำ� องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ความรู้ไปช่วยแก้ปัญหาในชุมชน บุคคลในสถานศึกษาไปร่วมกิจกรรมในชุมชน สถานศึกษาขอความช่วยเหลือจากชุมชน สถานศึกษาให้ความช่วยเหลือชุมชน สถานศกึ ษาใช้ทรพั ยากรในชมุ ชน เปน็ ตน้

2.3.3 ความส�ำ คญั การบริหารสถานศึกษาด้านการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน เปน็ งานบรหิ ารการศึกษา 1 ใน 5 งาน ซ่ึงจะช่วยพัฒนาคนใหม้ คี ณุ ภาพหรอื เปน็ คนเกง่ คนดไี ด้ เชน่ การสอนใหผ้ เู้ รยี นน�ำ ความรไู้ ปใชท้ ี่บ้านหรอื นำ�ไปใช้ในชมุ ชน ไม่ใชส่ อนให้ท่องจ�ำ ไม่ใช่สอนใหน้ ำ�ความรไู้ ปสอบสอบแลว้ กล็ มื หมด หรอื การสอนใหน้ กั เรยี นน�ำ ความรไู้ ปชว่ ยแกป้ ญั หาในชมุ ชนได้ หรอื การเชญิ ปชู นยี บคุ คลในชมุ ชนมาใหค้ วามรู้แกผ่ ู้เรยี น ยอ่ มจะท�ำ ใหผ้ ู้เรยี นมีความรกู้ วา้ งขวางขน้ึ ยง่ิไปกว่านั้นการบริหารงานด้านการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน จะต้องดำ�เนินงานไปพร้อมๆกับการบริหารงานอีก 5 ด้าน คืองานวิชาการ งานธุรการ งานบคุ คล และงานกจิ การนกั เรียน และบรหิ ารงานทงั้ 5 ดา้ นนี้เท่าเทียมกัน จึงจะช่วยพฒั นาคนให้มคี ุณภาพคือเป็นท้งั คนเก่งและคนดไี ด้ ภาพท2่ี .6 ความสมั พนั ธ์ในคน ท่ีมา : www.behance.net/gallery/2967981 2-8

E X A M P L E ด2.า้ 3น.ก5ารปสัญรห้างาใคนวกาามรสบัมรพิหาันรธส์กถับาชนุมศชกึ นษา2.3.4 ตัวอย่างการบรหิ ารงานสถานศกึ ษาดา้ นการสร้างความสัมพันธก์ ับชมุ ชน P R O B L E M“บวร” บ้าน วัด โรงเรียน “ วดั จะดมี ีหลักฐานเพราะบ้านชว่ ย บา้ นจะสวยเพราะมีวดั ถ้าสังเกตเพิ่มอีกนิด โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จากผลการวจิ ยั พบวา่ มกี ารใชท้ รพั ยากรทอ้ งถนิ่ ทหี่ ลากดดั นสิ ยั บา้ นกบั วดั ผลดั กนั ชว่ ยกอ็ วยชยั ถา้ ขดั กนั กบ็ รรลยั ทง้ั สอง ส่วนใหญ่อยู่ในวัด หรือไม่ก็มีช่ือวัดมาเก่ียวข้อง เป็นเพราะพระสงฆ์ หลายในการบริหารสถานศกึ ษา ทงั้ ประเภททรัพยากรบคุ คล ประเภททาง ” สภุ าษิตน้ี เรามักจะเห็นกนั เมื่อไปวัดวาอารามตา่ งๆ ท่ีเป็นเจ้าอาวาสในขณะนั้น ให้ความอนุเคราะห์ให้พ้ืนที่วัดเพื่อสร้าง ทรพั ยากรทางวตั ถทุ ม่ี นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ ประเภททรพั ยากรทางธรรมชาติ เพอื่ บง่ บอกใหร้ วู้ า่ บา้ นและวดั ขาดกนั ไมไ่ ดเ้ ลย นอกจากนยี้ งั โรงเรียน โดยการสนบั สนุนของทางราชการและบ้านหรอื ชมุ ชน เพ่ือ และประเภททรัพยากรทางสังคม สถานศึกษาให้บริการด้านอาคารมีโรงเรยี นทเ่ี ขา้ มามีบทบาทในสองหนว่ ยหลักทางสงั คมเพมิ่ อกี หน่งึ เป็นสถานท่บี ม่ เพาะทางความรู้ให้แกบ่ ุตรหลานในอนาคต สถานที่ วสั ดุ อุปกรณแ์ ก่ชุมชน สถานศึกษากบั ชมุ ชนใกล้ชิดกนั ดี ผู้ บา้ น อาจหมายถงึ ชมุ ชน หนว่ ยทางสังคมท่ีสำ�คัญหนว่ ย ฉะนั้น บ้าน วัด โรงเรียน จึงเป็นหน่วยทางสังคมที่มีความ เรียนออกไปร่วมกิจกรรมกับชุมชน และชมุ ชนเข้าใจสถานศึกษาดีข้นึหนึ่ง ในบ้านอาจมีผู้ใหญ่บ้านหรือกำ�นัน เป็นผู้นำ� ผู้นำ�เหล่านี้จะ ส�ำ คัญทงั้ หมด วัด มบี ้านและโรงเรียนใหก้ ารอุปถัมภ์ ค้�ำ ชู ทำ�นบุ ำ�รุง แตก่ พ็ บปญั หาการบรหิ ารสถานศกึ ษาดา้ นการสรา้ งความพฒั นาทางดา้ นสภาพแวดลอ้ ม ทางดา้ นกายภาพตา่ งๆภายในหมบู่ า้ น พระศาสนา บา้ นก็มี วัดคอยให้สติ เตอื นใจ รวมทัง้ จิตวญิ ญาณและ สัมพันธ์กับชุมชน ในภาพรวมคือ การบริหารสถานศึกษาด้านการหรอื ชุมชน มโี รงเรียนคอยสนับสนนุ กิจกรรมในชุมชน โรงเรียน มีวดั ทีใ่ หก้ าร สรา้ งความสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชนไดร้ บั การปฏบิ ตั นิ อ้ ยกวา่ การบรหิ ารงาน วดั หนว่ ยทางสงั คมอกี หนว่ ยหนง่ึ ทส่ี �ำ คญั ยงิ่ ในอดตี วดั สนับสนุน อบรมสง่ั สอนในศีลธรรม และมีบา้ นทค่ี อยให้การสนบั สนุน ดา้ นอ่นื และมปี ัญหาอื่นๆท่ีหลากหลาย เช่น ผู้ปกครองไมส่ นใจการคอื ศนู ยร์ วมของทกุ ๆสง่ิ ตงั้ แตเ่ กดิ จนตายกว็ า่ ได้ เกดิ กไ็ ปวดั ใหพ้ ระตงั้ ผู้ท่ีมีความรู้ความสามรถเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดย ศกึ ษาของผเู้ รยี น ชมุ ชนไมใ่ หค้ วามรว่ มมอื กบั สถานศกึ ษา ครอู าจารย์ชือ่ ลกู ตัง้ ชอ่ื หลานให้ หากลกู หลานเป็นชายกจ็ กั ให้บวชเรียน เขียน อาจเปน็ ครภู มู ปิ ญั ญา ใหค้ วามรใู้ นเรอื่ งทเี่ ปน็ ภมู ปิ ญั ญาของทอ้ งถน่ิ มีช่วั โมงสอนมากไมม่ เี วลาให้บรกิ ารชมุ ชน แหล่งทรัพยากรอ่าน พอโตหน่อยจะออกเหย้าออกเรือน พระก็เป็นผู้ดูฤกษ์พานาที นั้นๆ และกรรมการสถานศกึ ษาก็มพี ระ มีผู้นำ�ชุมชน เป็นส่วนหนงึ่ ใน ท้องถ่ินมีน้อย ผู้ปกครองในชุมชนยากจนไม่ให้ความร่วมมือกับให้อกี ไปจนวาระสุดทา้ ยก็สงบนงิ่ ณ มมุ อนั สงบของวดั การบรหิ ารงานในโรงเรยี น สถานศึกษา และขาดวัสดุครุภัณฑ์ในการเผยแพร่เกียรติประวัติของ โรงเรยี น หนว่ ยทางสงั คมสดุ ทา้ ยทจ่ี ะกลา่ วถงึ โรงเรยี นตง้ั บวร คำ�นีไ้ มไ่ ดเ้ ปน็ แค่คำ�พดู สละสลวยค�ำ หนึง่ แต่เปน็ ถึงการรวม สถานศกึ ษา เปน็ ตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ ในพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติข้ึนเป็นทางการครัง้ แรกในปี 2414 สมยั รัชกาลท่ี 5 แต่ในสมยั ก่อน ตวั ของหน่วยทางสังคมท่สี ำ�คัญทส่ี ุด เพื่อความเจริญงอกงาม บง่ พ.ศ. 2542 ไดก้ �ำ หนดใหส้ ถานศกึ ษามคี วามสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชนดว้ ย ซง่ึหนา้ วัดคอื สถานบันการศกึ ษาของชุมชน แม้การจัดต้งั โรงเรียนขน้ึ บอกถึงวัฒนธรรมอันจะเกิดจากความดีงามของคนทุกคนที่จะร่วม ก�ำ หนดไวห้ ลายมาตราดว้ ยกนั ดงั นน้ั การบรหิ ารสถานศกึ ษาดา้ นการมา ชาวบ้านในชนบทกย็ งั ไมน่ ยิ มสง่ บุตรหลานเขา้ เรยี น เนือ่ งจากว่า กันพัฒนาทง้ั สามสิง่ ไปพรอ้ มๆ กัน สรา้ งความสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชนจงึ ควรไดร้ บั ความส�ำ คญั มากขนึ้ กวา่ เดมิยงั แปลกใหม่อยู่ เนน่ิ นานหลายปีกวา่ ชาวบ้านจะเขา้ ใจและยอมสง่ บุตร โดยบริหารงานทงั้ 5 ดา้ นคือ งานวชิ าการ งานธุรการ งานบคุ คลหลานเขา้ ในระบบโรงเรยี น งานกิจการนักเรียน และงานดา้ นการสรา้ งความสัมพนั ธก์ ับชมุ ชน ให้ ถ้าสังเกตจะเห็นได้ว่าโรงเรียนก็แยกตัวออกมาจากวัด วัด เท่าเทียมกนั โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการบริหารสถานศึกษาดา้ นการสรา้ งกับโรงเรียนจึงเป็นหน่วยงานที่ใกล้เคียงกันในด้านการทำ�งาน กล่าว ความสัมพนั ธก์ ับชุมชน จะดำ�เนนิ งานได้หลากหลาย ถา้ หากผูบ้ ริหารคอื การใหค้ วามรู้ สติปญั ญาและจติ วิญญาณ วัดมีพระสงฆ์ผู้ทรง สถานศึกษาจะดำ�เนินการอย่างจริงจังและจริงใจ ก็จะช่วยแก้ปัญหาภมู ใิ นดา้ นความรู้ พระสงฆอ์ าจมคี วามรนู้ อกเหนอื จากทางธรรม คอื การบริหารสถานศึกษาด้านการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนได้รับก่อนมาบวชในพระพทุ ธศาสนา ท่านอาจเปน็ ชา่ งไม้ ชา่ งปูน ฯลฯ มา การปฏิบัตนิ ้อยกวา่ การบริหารงานด้านอ่ืนได้กอ่ น ความรนู้ ที้ า่ นอาจน�ำ มาพฒั นาวดั หรอื น�ำ มาสอนญาตโิ ยม เพอ่ืน�ำ ไปประกอบอาชพี ได้ โรงเรยี นเช่นกันสรา้ งปญั ญา วธี กี ารสมัยใหม่เพอ่ื น�ำ ไปสูก่ ารปรับตวั ในสังคมในยคุ ปจั จบุ นั2-9

ภาพท่2ี .7 ประเพณีตกั บาตรที่มา : www.hilight.kapook.com

2.4 การซอ้ นทับในบรบิ ทของโรงเรียนเทพลีลา 2.4.1 ประวตั คิ วามเป็นมา ภาพที2่ .8 ประวตั คิ วามเป็นมาโง๊ เรยี นเทพลลี า ทม่ี า : พันทวิ า เพชรสีม่วง2-11

2-12

2.4.2 กจิ กรรมซ้อนทับภายในโรงเรียนเทพลีลา จากผังประวัติโรงเรียนเทพลีลาจะเห็นได้ชัดว่า เนื่องจากโรงเรียนมีพื้นท่ีที่ขนาดจำ�กัด กิจกรรมท่ี โรงเรียนเทพลีลามีความสัมพันธ์กับวัดต้ังแต่เริ่มก่อต้ัง เกดิ ขน้ึ คอ่ นข้างหลากหลาย นอกจากการเรยี น มีจ�ำ นวนคนที่ โรงเรยี น และระหวา่ งรอการกอ่ สรา้ งอาคารเรยี นนกั เรียนรุ่น เข้ามาใช้งานมีปริมาณมากและหลากหลายความต้องการ ทำ�ให้ แรกได้ไปอาศัยศาลาเปรียญของวัดซึ่งสอดคล้องกับหลัก เกิดปัญหาตามมาหลายด้าน เช่น ด้านการจัดสรรค์พ้ืนท่ีท่ีไม่ ความสัมพันธ์วัด ชุมชน และโรงเรียนท่ีกล่าวมาข้างต้น ต่อ เหมาะสมกบั กจิ กรรมทีเ่ กิดข้ึนในแต่ละช่วงเวลา คอื เมื่อมกี ารจดั มาเมื่อสร้างอาคารเรียนหลังแรกเสร็จนักเรียนก็ได้ย้ายเข้ามา ตลาดนดั ในวนั เสาและวนั อาทติ ยท์ �ำ ใหน้ กั เรยี นบางสว่ นทตี่ อ้ งการ เรียนในอาคารใหม่และจากนั้นโรงเรียนเทพลีลาก็ได้ถูกพัฒนา ใช้พ้ืนท่ีโรงเรียนทำ�กิจกรรมการเรียนเสียผลประโยชน์ของพ้ืน ขน้ึ ตามล�ำ ดบั เพอื่ ใหต้ อบสนองกบั ความตอ้ งการของนกั เรยี น ที่โรงเรียนไป แต่ชุมชนจะเป็นคนได้ผลประโยชน์ในพื้นท่ีดังกล่าว โรงเรยี นเทพลลี าถอื ไดว้ า่ เปน็ โรงเรยี นทไ่ี ดร้ บั ความยอมรบั จาก อีกท้ังพื้นที่เรียนรู้ในส่วนของนักเรียนบางส่วนยังไม่เหมาะสม ชุมชนบริเวณย่านนรามคำ�แหงอย่างกว้างขวางทำ�ให้มีความ และไมต่ อบสนองการเรยี นรเู้ ดก็ ท�ำ ใหก้ ารเรยี นรไู้ มม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ จำ�เป็นท่ีจะต้องอาคารเรียน 7 ช้ันข้ึนเพ่ือรองรับจำ�นวนนัก เท่าท่ีควร นอกจากนโ้ี รงเรยี นยังมีการจดั งานประเพณหี รือกจิ เรียนทม่ี ากขึ้น อีกท้งั ความสามารถด้านการแขง่ ขันกิจกรรม กรรมต่างๆร่วมกับวัดและชุมชนมากมายจึงมีการซ้อนทับของ ของนักเรียนได้สร้างชื่อเสียงหลายประเภท เช่น นักกีฬาทีม กิจกรรมในแต่ละช่วงวัน เวลา เพื่อให้เข้าใจและเห็นภาพมากย่ิง ชาติไทย วงโยธวาทติ วงดนตรี และอื่นๆอีกมากมาย และเม่อื ขึ้นจึงทำ�ปฏิทินแสดงการจัดกิจกรรมต่างๆนอกจากการเรียน มปี ญั หาเศรษฐกจิ โรงเรยี นจงึ เรมิ่ ด�ำ เนนิ การเปดิ ตลาดนดั ขาย ในช่วงเวลา1ปีของโรงเรียนเทพลีลา และผังการทำ�กิจกรรม ของเพอ่ื สนองนโยบายของรฐั บาลในการแกป้ ญั หาเศรษฐกจิ ตั้งแต่วันจันทร์-วันอาทิตย์เพ่ือเปรียบเทียบกิจกรรมที่ต่างกัน เพอ่ื ชว่ ยเหลอื คนในชมุ ชนและผปู้ กครองนกั เรยี นจนถงึ ปจั จบุ นั ี้ ในเวลาและสถานที่เดียวกนั ดงั ภาพท่ี และภาพที่2-13

ภาพท2่ี .9 ปฏทิ นิ แสดงการซอ้ นทบั กจิ กรรมประจ�ำ ปี 2-14ท่มี า : พนั ทวิ า เพชรสีม่วง

2-15 ภาพท2ี่ .10 ช่วงเวลาท�ำ กิจกรรมของโรงเรียนใน 1 สัปดาห์ ทม่ี า : พันทวิ า เพชรสมี ่วง

2-16

2.4.3 ปญั หาจากการซอ้ นทบั พ้นื ที่การใชง้ านของโรงเรยี น2-17

2-18

OVERLAP CHARACTERISTICS 2.5 ลักษณะการซ้อนทับ โดยธรรมชาติแล้ว การกำ�หนดวัสดุใดก็ตามขึ้นมาน้ันส่ิงที่เกิดขึ้นมาตามมา ด้วย คอื พืน้ ทๆ่ี วตั ถุน้นั ครอบครอง ไม่ว่าจะเปน็ วงกลม สี่เหลีย่ ม หรอื รูปทรงใดๆ เมอ่ื เราน�ำ วตั ถนุ นั้ ตง้ั แต่ 2 วตั ถขุ นึ้ ไปมาซอ้ นทบั กนั พน้ื ทที่ อี่ ยรู่ ะหวา่ งการครอบครอง น้ันจะถกู ครอบครองโดย 2 วัตถุ ซงึ่ เรยี กว่า ‘‘พื้นทซ่ี อ้ นทบั ’’ การซ้อนทับเหล่านี้ถูกปรับเปลี่ยนลักษณะเฉพาะให้ใกล้เคียงกันเกิดเป็นพื้นที่ หรอื วัตถุใหมข่ ึน้ ต่างไปจากเดิม ซ่งึ ได้นำ�ไปใช้ประโยชนใ์ นด้านตา่ งๆ ไดแ้ ก่ภาพท่ี2.11 คลื่นในชวี ิตประจำ�วันท่ีมา : Mundo dos Cristais

2.5.1 ชนิดของคลื่น ภาพท2่ี .12 ชนดิ ของคล่นื ในตัวกลาง ทีม่ า : krooabby.wordpress.com 2.5.1.1 คลื่นกล คลื่นกลเป็นคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลอื่ นท่ี สงิ่ ทคี่ ลนื่ น�ำ ไปดว้ ยพรอ้ มกบั การเคลนื่ ทคี่ อื พลงั งานพลงั งานเคลอื่ นท่ีผ่านตัวกลางตา่ งๆ จะมีปริมาณต่างๆกนัไปในแต่ละกรณี เชน่ พลังงานของคลื่นในทะเลขณะที่พายจุ ะมีคา่ มากกวา่ พลงั งานที่เกิดจากคลนื่ เสยี งทเี่ ราตะโกนออกไป 2.5.1.2 ชนดิ ของคลนื่ เราสามารถแบง่ คลน่ื ออกเปน็ 2 ชนดิ เมอ่ื พจิ ารณาจากลักษณะการเคล่ือนท่ีของอนุภาคตัวกลางขณะคล่ืนเคลอื่ นทผ่ี ่าน คือ คลื่นตามยาว และคล่ืนตามขวางคลื่นตามยาว เป็นคล่ืนที่อนุภาคของตัวกลางส่ันในแนวเดียวกับการเคลื่อนทขี่ องคลื่น ตวั อยา่ งคล่นื ตามยาว เช่น คลืน่ ในสปริงคล่ืนเสียง เป็นต้น คลื่นตามขวาง เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางส่นั ในแนวตั้งฉากกบั การเคลอื่ นที่ของคลื่น ตัวอย่างคล่ืนตามยาว เชน่ คลนื่ ในเสน้ เชือก เป็นตน้ 2-20

2.5.1.3 สมบัติของคลื่นคลน่ื มีสมบตั ิ 4 ประการได้แก่ การสะท้อนการหกั เห การเลยี้ วเบน และการแทรกสอดภาพที2่ .13 การแทรกสอดของคลืน่ ในชวี ิตประจ�ำ วันทีม่ า : pixabay.com/th/วงจรคลื่น-น�ำ้ก) การสะท้อนของคล่นื ข) การหกั เหของคล่ืน ค) การเลย้ี วเบนของคลน่ื คล่ืนมีลักษณะพิเศษประการหนึ่ง คือ ทุกจุดบนหน้าคล่ืนถือให้เป็นต้นกำ�เนิดคล่ืนใหม่ได้ คณุ สมบตั ปิ ระการหนงึ่ ของคลนื่ คอื การ เม่ือคล่ืนเคล่ือนที่ผ่านเข้าไปในตัวกลางสะทอ้ น ลกั ษณะการสะทอ้ นเปน็ ไปตามสภาพของคลนื่ ท่ีเปลี่ยนไปจากเดิม ความเร็ว และความยาวคลื่นจะ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า “หลักของฮอยเกนส์” ถ้าคล่ืนเคล่ือนท่ีผ่านส่ิงกีดขวาง คล่ืนส่วนที่กระทบสิ่งการสะทอ้ นเกดิ จากคลน่ื เคลอื่ นทไี่ ปกระทบสง่ิ กดี ขวาง เปลี่ยนไป มีผลทำ�ให้ทิศการเคล่ือนท่ีเบนไปจากแนว กีดขวางจะสะท้อนกลับ ส่วนคลื่นท่ีผ่านไปได้จะแผ่จากขอบของสิ่งกีดขวางไปจนถึงด้านหลังสิ่งกีดขวางแลว้ เคลอื่ นทก่ี ลบั มาในตวั กลางเดมิ ในการสะทอ้ นของ เดมิ ปรากฏการณน์ ีเ้ รยี กวา่ “การหกั เห”คลนื่ รงั สตี กกระทบ เสน้ ปกติ และรงั สสี ะทอ้ น อย่ใู น ปรากฏการณ์น้ีเรียกวา่ “การเลย้ี วเบน” คล่ืนเลย้ี วเบนยังคงมคี วามยาวคลืน่ ความถ่ี และอตั ราเร็วเท่าเดิมระนาบเดยี วกนั โดย มมุ ตกกระทบ = มมุ สะท้อน ภาพที2่ .14 การสะท้อนของคล่ืน ภาพท2ี่ .15 การหกั เหของคลน่ื ภาพท2่ี .16 การเลย้ี วเบนของคล่นื ท่ีมา : www.scimath.org/lesson-physics ทีม่ า : www.scimath.org/lesson-physics ทมี่ า : www.scimath.org/lesson-physics2-21

ง) การแทรกสอดของคลนื่ เมื่อคล่ืนต่อเน่ืองจากแหล่งกำ�เนิดคล่ืน สองแหล่งเดินทางมาพบกันจะเกิดการซ้อนทับของ คลื่นเรียก ปรากฏการณ์น้ีว่า การแทรกสอดของ คล่ืน เพ่ือให้การพิจารณาง่ายขึ้น สมมติว่ามีคล่ืน เพียง 2 ขบวนเขา้ มาอยู่ในบรเิ วณเดียวกัน โดยคลื่น ทั้งสองมีความถ่ีเท่ากัน และมีเฟสตรงกันหรือเฟส ตา่ งกนั คงท่ี การท�ำ ใหค้ ลน่ื สองขบวนมคี วามถแี่ ละเฟส เทา่ กนั ท�ำ ไดโ้ ดยใหค้ ลน่ื ทง้ั สองเกดิ จากแหลง่ ก�ำ เนดิ อา พันธ์ (Coherent Source) การแทรกสอดของคลน่ื ที่เสรมิ กันจนมแี อมปลิจูดมากสดุ เรยี กว่า “ปฏิบัพ” (Antinode) ถ้าคลน่ื หกั ลา้ งกันจนมีแอมปลิจดู ต�ำ่ สุด หรือเป็น 0 เรียกว่า “บัพ” (Node) ลักษณะการ แทรกสอดจะเปน็ ไปตามรูป ภาพท่2ี .18 การแทรกสอดของคล่ืน ทม่ี า : www.scimath.org/lesson-physicsภาพท่2ี .17 การรบั สัญญาณดาวเทียม 2-22ทีม่ า : www.scimath.org

2.5.2 การซอ้ นทบั ของคล่นื เม่ือคล่ืนสองขบวนเคล่ือนท่ีมาพบกัน จะเกิดการรวมกันเปน็ คลน่ื ใหม่ โดยที่คลืน่ เดมิ ซอ่ นรปู อยู่ ในคลนื่ ใหม่ ซงึ่ คลน่ื เดมิ จะแสดงคณุ สมบตั ิเดิมออกมารปู เดิมอีกเม่อื คลื่นนน้ั เคล่อื นท่ีผ่านไป การกระจัดของคลื่นใหม่ที่เกิด ณ ตำ�แหน่งต่างๆเป็นผลบวกของการกระจัดของคล่นื ทัง้ สอง ทีต่ ำ�แหน่งนน้ั (บวกกันแบบเวกเตอร์) ซึง่ มีผลให้แอมพลจิ ูดของคลน่ื ใหม่ = ผลรวมของแอมพลิจูดของคลืน่ ท้งั สองการรวมกนั ของคล่นื สามารถจำ�แนกไดเ้ ปน็ 2 แบบดว้ ยกันคอื2.4.1.1 การรวมกนั แบบเสริม เปน็ การรวมกันชนิดทท่ี �ำ ให้การ กระจัดของ คลื่นลพั ธ์ (คลน่ื ลกู ใหม่) มคี ่ามากขึน้ ซงึ่ เกดิ จากคลื่นทง้ั สองมีการกระจดั ทศิ เดียวกันมารวมกัน อาจเป็นการกระจัดบวกของทัง้ สองคล่นื หรืออาจเกิดจากการกระจดั ที่เป็นลบ ของทงั้ สองคลืน่ กไ็ ด้มผี ลใหแ้ อมพลิจูดลัพธเ์ พ่มิ ขึ้น2.4.1.2 การรวมกนั แบบหกั ลา้ งกนั เปน็ การรวมกนั ชนดิ ทท่ี �ำ ใหก้ ารกระจดั ของคลน่ื ลพั ธ์ (คลน่ื ลกู ใหม่) มคี ่าลดลง ซ่ึงเกิดจากคลนื่ ทง้ั สอง มีการกระจัดทิศตรงขา้ มมารวมกนั มีผลให้ แอมพลิจูดลัพธ์ลดลง ภาพท่ี2.19 การแทรกสอดของคลื่น ทภมี่าพา ท:่2ี w.2w0w.กthา.gรใlชoป้bรaิซlsึม.mแยeกแสงโปรเจคเตอร์ ทีม่ า : www.preephysics.info/page52.html2-23

ภาพที่2.21 สเปกตรมั แม่เหล็กไฟฟา้ และแสงท่ีเหน็ ได้ท่ีมา : www.wikipedia.org2.5.3 การซ้อนทบั ของแสงสี หรอื ไมส่ ามารถแยกแยะสที ม่ี คี า่ ความอม่ิ ตวั ใกลเ้ คยี งกนั ได้ หรอื แมก้ ระทง่ั ไมส่ ามารถเหน็ สีได้เลยมาแต่กำ�เนิด), ความทรงจำ�ระยะยาวของบคุ คลผู้ แสง (อังกฤษ: Light) เป็นการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในบาง น้ัน, และผลกระทบระยะสั้น เชน่ สที อี่ ยูข่ ้างเคยี งส่วนของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า คำ�นี้ปกติหมายถึง แสงที่มองเห็น เซอร์ ไอแซก นิวตันได้แสดงให้เห็นว่า สีคือส่วนหน่ึงในได้ ซงึ่ ตามนษุ ยม์ องเหน็ ได้และท�ำ ให้เกดิ สมั ผสั การรับรู้ภาพ แสงท่มี อง ธรรมชาติของแสงอาทติ ย์ โดยใหล้ �ำ แสงส่องผ่านแทง่ แก้วปรซมึ แสงจะเหห็นได้ปกตนิ ยิ ามวา่ มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 400–700 นาโนเมตร หักเก เพราะเเท่งแล้วปรซึมมีความหนาแน่นมากกว่าอากาศเม่ือลำ�แสงระหวางอินฟราเรด (ที่มีความยาวคล่ืนยาวกว่านี้) และอัลตราไวโอเล็ต หกั แหผ่านปริซมึ จะปรากฎแถบสสี เปคตรัม(Spactrum) หรอื ท่ีเรยี กกว่า(ท่ีมีความยาวคลื่นน้อยกว่าน้ี) ความยาวคล่ืนนี้หมายถึงความถ่ีช่วง สีร้งุ (Rainbow) คอื สีม่วง คราม น้ำ�เงิน เขียวเหลือง แสด แดง เมื่อประมาณ 430–750 เทระเฮริ ตซ์ แสงตกกระทบโมเลกลุ ของสสาร พลงั งานบางสว่ นจะดดู กลนื สจี ากแสง บางสว่ น และสะท้อนสีบางสใี ห้ปรากฎเห็นได้ พ้นื ผวิ วตั ถทุ ี่เราเห็นเป็นสี สี คือการรับรู้ความถี่ (หรือความยาวคล่ืน) ของแสง ใน แดง เพราะวัตถุดูดกลนื แสงสีอืน่ ไว้ สะท้อนเฉพาะแสงสแี ดงออกมา วัตถุทำ�นองเดียวกันกับท่ีระดับเสียง มนุษย์สามารถรับรู้สีได้เนื่องจาก สีขาวจะสะท้อนแสงสที ุกสี และวตั ถุสีด�ำ จะดดู กลืนทกุ สีโครงสร้างอันละเอียดอ่อนของดวงตา ซ่ึงมีความสามารถในการรับรู้แสงในช่วงความถี่ท่ีต่างกัน การรับรู้สีนั้นข้ึนกับปัจจัยทางชีวภาพ(คนบางคนตาบอดสี ซ่งึ หมายถงึ คนคนนัน้ เหน็ สีบางคา่ ตา่ งจากคนอนื่ 2-24

ภาพท่ี2.22 การปรับเปล่ียนการใช้งานเฟอรน์ เิ จอร์ทมี่ า : Creative-furniture-ideas

OVERLAP INOBJECT PROGRAM2.5.4 การซ้อนทบั ในอปุ กรณก์ ารใช้งาน การออกแบบเฟอร์นิเจอร์นั้นตั้งแต่อดีตมาจะมีการใช้งานท่ีตายตัว ตอบสนองต่อการใชง้ านเปน็ กจิ กรรม เชน่ การออกแบบเกา้ อตี้ อ้ งมกี ารค�ำ นงึ ถงึ ในเรอื่ งของสรรี ะศาสตรข์ องมนษุ ย์การใชใ้ นการออกแบบ ซง่ึ รปู แบบการออกแบบจะเหมาะสมกบั รปู รา่ งสรรี ะ ลกั ษณะการใชง้ านใหเ้ หมาะสมกับรปู แบบและวิธีการใชง้ าน ในปจั จุบนั การมีที่จะตอ้ งมีอุปกรณส์ ำ�หรับใชง้ านทกุ รปู แบบนัน้ เปน็ เรอื่ งที่ล�ำ บาก ดังน้ันจึงไดม้ ีการออกแบบท่นี �ำ อปุ กรณ์หรือพน้ื ท่ใี ชส้ อยท่มี คี วามใกลเ้ คยงกนั มารวมเข้าด้วยกนั ภาพที2่ .23 การปรบั เปลี่ยนการใชง้ านของเฟอรน์ เิ จอร์ ที่มา : Creative-furniture-ideas 2-26

OVERLAP IN ARCHI- TECTURE PROGRAM 2.5.5 การซอ้ นทบั ในงานสถาปัตยกรรม เมื่อกล่าวถึงงานสถาปัตยกรรมแล้ว สถาปัตยกรรมมีรากฐานมาจากการประกอบ เม่ือกล่าวถึงงานสถาปัตยกรรมแล้ว สถาปัตยกรรมมีรากฐานมาจากการประกอบ กันข้ึนของโปรแกรม(Program) ซ่ึงโปรแกรมจะเป็นตัวกำ�หนดลักษณะของตัวสถาปัตยกรรมว่า กันข้ึนของโปรแกรม(Program) ซ่ึงโปรแกรมจะเป็นตัวกำ�หนดลักษณะของตัวสถาปัตยกรรมว่า จะออกมาในลักษณะใด โรงเรยี น บา้ น โรงพยาบาล สนามบนิ ห้างสรรพสินค้า เปน็ ต้น แต่สงิ่ ท่ี จะออกมาในลกั ษณะใด โรงเรียน บา้ น โรงพยาบาล สนามบิน หา้ งสรรพสินคา้ เป็นตน้ แตส่ ง่ิ ท่ี ท�ำ ให้สถาปัตยกรรมมีลักษณะเหของโปรแกรมเหมือนกันหรือแตกตา่ งกนั ก็คือ วิธกี ารร้อยเรยี ง ท�ำ ใหส้ ถาปัตยกรรมมลี กั ษณะเหของโปรแกรมเหมือนกนั หรอื แตกตา่ งกนั ก็คือ วธิ ีการรอ้ ยเรยี ง (Structure) หรือวิธีจัดเรียงความสัมพันธ์การใช้งาน ซ่ึงการร้อยเรียงนี้จะเป็นตัวกำ�หนดรูป (Structure) หรือวิธีจัดเรียงความสัมพันธ์การใช้งาน ซ่ึงการร้อยเรียงนี้จะเป็นตัวกำ�หนดรูป ลกั ษณ์ของตวั สถาปตั ยกรรม รูปรา่ งหน้าตา ไปจนถึงการใช้สอย ลกั ษณข์ องตวั สถาปตั ยกรรม รปู รา่ งหน้าตา ไปจนถงึ การใชส้ อย การร้อยเรียงโปรแกรมการใช้งานของอาคารน้ันจะถึงแบ่งแนกออกจากกันโดยสิ้นเชิง การร้อยเรียงโปรแกรมการใช้งานของอาคารนั้นจะถึงแบ่งแนกออกจากกันโดยส้ินเชิง โดยจะใช้ทางสัญจร(Circulation) ในการเชื่อมฟังก์ชั่นต่างๆเข้าไป ซ่ึงผังอาคารในอดีตหรืออา โดยจะใช้ทางสัญจร(Circulation) ในการเช่ือมฟังก์ชั่นต่างๆเข้าไป ซึ่งผังอาคารในอดีตหรืออา คารสัมยเกา่ จะเหน็ ลกั ษณะทางสัญจรได้อยา่ งชดั เจน และแยกตวั ออกจากฟงั ก์ชั่นการใชง้ าน แต่ คารสัมยเกา่ จะเหน็ ลักษณะทางสัญจรได้อยา่ งชดั เจน และแยกตัวออกจากฟังกช์ ั่นการใชง้ าน แต่ ปจั จบุ นั ความชดั เจนระหวา่ งฟงั กช์ นั่ และทางสญั จรแทบจะถกู กลนื เขา้ ไปดว้ ยกนั โดยเราจะเรยี นการ ปจั จบุ นั ความชดั เจนระหวา่ งฟงั กช์ น่ั และทางสญั จรแทบจะถกู กลนื เขา้ ไปดว้ ยกนั โดยเราจะเรยี นการ วางผงั แบบน้วี ่า Open Plan ซึง่ การวางผงั ลักษณะนจี้ ะมขี ้อดขี อ้ เสยี ทตี่ า่ งกนั ข้อดคี อื จะท�ำ ให้ วางผงั แบบน้ีวา่ Open Plan ซงึ่ การวางผังลักษณะนี้จะมีขอ้ ดขี อ้ เสียทีต่ า่ งกนั ขอ้ ดคี ือจะทำ�ให้ ร้สู กึ ว่าพื้นที่ภายในกว้างขวางกวา่ ซ่ึงกอ็ าจจะเปน็ วิธกี ารสร้างปัญหาในพ้นื ทีๆ่ แออัด แตข่ ้อเสยี รูส้ ึกวา่ พื้นทีภ่ ายในกวา้ งขวางกวา่ ซึง่ ก็อาจจะเปน็ วธิ ีการสร้างปัญหาในพนื้ ทีๆ่ แออัด แตข่ อ้ เสยี คือเราไมส่ ามรถก�ำ หนดขอบเขตการใช้งานได้อยา่ งชัดเจน คอื เราไม่สามรถกำ�หนดขอบเขตการใชง้ านไดอ้ ยา่ งชัดเจน2-27

EXAMPLEภาพท่2ี .24 Final Wooden Houseท่มี า : Final Wooden House / Sou Fujimoto 2-28

2.6 ที่มาและความสำ�คญั ของพ้ืนทสี่ าธารณะ (ทีม่ า:แนวคิดสาธารณะของพ้นื ท่สี าธารณะในเมือง) พ้ืนที่สาธารณะเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำ�คัญของเมืองซ่ึงส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตและรองรับความต้องการท่ีหลากหลายในเมือง ในประเด็นของ พนื้ ที่สาธารณะนนั้ ถูกตั้งค�ำ ถามและนิยามกันในหลายๆ ศาสตรท์ ่ีเกีย่ วข้องกันไม่ว่าจะในแวดวงสังคมศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สถาปตั ยกรรมและการออกแบบเมือง ซงึ่ ครอบคลุมถึงการศึกษาเชิงวัฒนธรรมของพื้นท่ี ในบทความน้ีมีจุดประสงค์หลักในการทบทวนแนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับพื้นที่สาธารณะท่ีมีบทบาทสำ�คัญใน ชวี ติ สาธารณะภายในเมอื ง คำ�ว่า “สาธารณะ” (Public) ตามความหมายในพจนานกุ รม Oxford English Dictionaryและ Longman English Dictionary ใหค้ �ำ อธบิ ายถงึ การเกย่ี วขอ้ งกบั ผคู้ นทกุ ๆ คน กลมุ่ คนทวั่ ๆ ไปทร่ี วมถงึ ชมุ ชนและมคี วามหมายตรงขา้ มกบั ค�ำ วา่ “สว่ นตวั ” (Private) สว่ นในความเหน็ ของมาดานพี วั ร์ (Madanipour, 1996) กล่าวว่า ค�ำ วา่ สาธารณะ นน้ั เกีย่ วข้องกับผูค้ นในทกุ ๆ ระดับตั้งแต่ชมุ ชน เมอื ง ประเทศ รฐั ซง่ึ มีความหมายในลักษณะชุมชนระดบั โลก ใน สว่ นของคำ�ว่า “พืน้ ท่ีสาธารณะ” (Public Space) ถกู อธบิ ายโดยทวั่ ๆ ไปวา่ เป็นพ้นื ที่ท่ีมคี วามสมั พนั ธเ์ ก่ยี วข้องกับทุกๆ คน เปิดรับ สามารถเข้าถึงได้หรือแบง่ ปัน รว่ มกนั กบั สมาชิกทกุ ๆ คนในชุมชน และถูกจัดเตรียมด้วยภาครัฐเพ่อื สาธารณชน ดงั นน้ั พนื้ ทีส่ าธารณะจงึ เปน็ พืน้ ท่ีท่ีสามารถเข้าถงึ ไดใ้ นเชิงกายภาพซง่ึ สามารถ มองเห็นได้จากทกุ คนและมีการเข้าถงึ ได้มากกว่าพนื้ ท่ีสว่ นตวั ยกตวั อยา่ งเชน่ ทางเทา้ ถนน สวนสาธารณะ ลานชุมชนลานเมือง เป็นพืน้ ทส่ี าธารณะที่สามารถเขา้ ใชพ้ น้ื ทไ่ี ดโ้ ดยไมต่ อ้ งขออนญุ าต แตใ่ นการใหค้ วามหมายนยี้ งั ไมเ่ พยี งพอตอ่ การอธบิ ายถงึ คณุ ลกั ษณะของพนื้ ทส่ี าธารณะทม่ี คี วามหลากหลายของเมอื งสมยั ใหม่ ในมติ ิเชงิ สงั คมน้ันพืน้ ทส่ี าธารณะเป็นพ้ืนทใ่ี นการพบปะกนั ของกลุ่มคนที่มคี วามมากหนา้ หลายตา อยา่ งทีฟ่ รานซิส (Francis, 1989) ช้ีว่าพื้นท่ีสาธารณะเป็นพื้นที่ รวมตวั ของกลมุ่ คนทห่ี ลากหลายทมี่ ปี ฏสิ มั พนั ธก์ นั ในสงั คมทสี่ ะทอ้ นถงึ ลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะชมุ ชนนนั้ ๆ ในการนยิ ามพนื้ ทสี่ าธารณะนนั้ จงึ ควรพจิ ารณาเพมิ่ เตมิ ถึงพฒั นาการของพนื้ ท่ี ลกั ษณะการใช้พ้ืนท่กี ารแสดงตวั ตนผา่ นพ้นื ท่ี คณุ คา่ เชิงสังคม และลกั ษณะการเป็นสถานที่ในแตล่ ะช่วงเวลาของยุคสมยั จากที่กลา่ วมา ข้างต้นนำ�ไปสู่คำ�ถามท่ีว่าพื้นท่ีสาธารณะมีเพื่อใคร และในบทความน้ีมุ่งศึกษาทำ�ความเข้าใจถึงแนวคิดความเป็นสาธารณะของพ้ืนท่ีสาธารณะในมิติของการเข้าถึง (Access)มิติของความเป็นตัวแทน(Agency)และมิติเชิงผลประโยชน์(Interest)บนพื้นที่เชิงกายภาพท่ีมีความแตกต่างระหว่าสาธารณะและส่วนตัวผ่านพื้นที่สาธารณะ2-29

ภาพที2่ .25 ความสัมพนั ธใ์ นคน 2-30ที่มา : www.behance.net/gallery/2967981

ตามทไี่ มเคลิ บรลิ ล์ (Michael Brill, 1989) ไดเ้ ขยี นถงึ พนื้ ทสี่ าธารณะนนั้ ประกอบ กันด้วยพื้นที่ทางกายภาพที่สัมพันธ์กับชีวิตสาธารณะซึ่งเข้าถึงได้และมีกลุ่มคนผู้ใช้ท่ีหลาก หลายใชพ้ นื้ ทรี่ ว่ มกนั ทั้งที่มสี ่วนร่วมและรว่ มสงั เกตการณ์ โดยเป็นพนื้ ทท่ี างสังคมทคี่ นทั้ง ในระดับบุคคล กล่มุ เพอ่ื น ครอบครัว ชุมชนเมอื งเขา้ ดว้ ยกันและรองรบั ความตอ้ งการเพื่อ ผลประโยชนต์ อ่ สาธารณชน ซง่ึ เปน็ ความหมายในนิยามของนักปรชั ญาประชาธปิ ไตย ฮาน น่าอาเร็นท์ (1958) ที่กล่าวว่าพื้นท่ีสาธารณะในความหมายท่ีเป็นอาณาบริเวณสาธารณะ เป็นพน้ื ที่ของการแสดงออกของสังคมประชาธิปไตย สว่ นเจอร์เกน ฮาเบอร์มาส (1992) กล่าวถึงการเปล่ียนแปลงทางสังคมท่ีผ่านมาของกลุ่มคนช้ันกลางท่ีมีสิทธิเสรีภาพท่ีมี บทบาทส�ำ คัญท�ำ ใหเ้ กิดปรมิ ณฑลสาธารณะ (Public Sphere) แบบใหมผ่ า่ นเทคโนโลยกี าร ส่ือสารอย่างเสรีที่ส่งผลให้เกิดการลดทอนและทำ�ลายความเป็นประชาธิปไตยทางกายภาพ ของพ้ืนที่สาธารณะท่ีเป็น “พ้ืนที่จริง” ลง ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีดอน มิทเชล (Don Mitchell, 1995), ไมเคิล ซอร์คิน (Michael Sorkin, 1992),ไมค์ เดวิส (Mike Davis, 1990) และมาร์กาเร็ท คราวฟอร์ด (Margaret Crawford, 1995) ได้ชี้ให้เห็นถึงสถานการณ์ ของการเกิดสภาวะ “The End of Public Space” ของพื้นท่สี าธารณะ สว่ น เทด็ ควิ เลยี่ น Ted Kilian (2003)อ้างถึงสงิ่ ทเี่ จน จาคอบส์ (Jane Jacobs, 1994) อธบิ ายถึง สถานการณ์ที่เสื่อมถอยของพื้นที่สาธารณะที่ไร้ชีวิตชีวารวมไปถึงงานเขียน “The Fall of Public Man” ของริชาร์ด เซ็นเนทท์ (Richard Sennett, 1980) ชี้ให้เห็นถึงความ ล้มเหลวของพ้นื ท่สี าธารณะภาคเอกชน (Privatization of Public Space) ที่มงุ่ เน้นผล ประโยชน์ทางการตลาดเป็นหลักผ่านบทความในประเด็นที่พื้นท่ีสาธารณะน้ันถูกสร้างบน แนวคดิ ของ “Disneyfication and Privatization ofPublic Space” ซึง่ ทำ�ใหเ้ ห็นถึงการ ทนี่ กั วชิ าการจากหลายๆ สาขาอธบิ ายถงึ การเสอื่ มถอยและน�ำ ไปสกู่ ารสญู เสยี การเปน็ พนื้ ที่ สาธารณะตามท่ีควรจะเป็นและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตสาธารณะที่ตกต่ำ�ลงอย่างต่อเนื่อง ภาพที่2.26 Time Square ,New York2-31 ที่มา : www.wired.com/2017/04/brilliant-simplicity-new-yorks-new-times-square/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook