Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารคำสอน รายวิชา 2723319 กิจกรรมการเคลื่อนไหวสำหรับเด็กเล็ก

เอกสารคำสอน รายวิชา 2723319 กิจกรรมการเคลื่อนไหวสำหรับเด็กเล็ก

Published by ์Nuttaporn Suddee, 2021-01-22 18:12:56

Description: ใช้เป็นคู่มือประกอบการเรียนการสอนของอาจารย์

Keywords: เอกสารคำสอน

Search

Read the Text Version

เอกสารคาสอน วชิ า 2723319 กิจกรรมการเคล่ือนไหวสาหรับเดก็ เล็ก Movement Activities for Preschool Child ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ณฐั พร สุดดี สาขาวิชาสุขศกึ ษาและพลศึกษา ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั 2561

เอกสารคาสอน วชิ า 2723319 กิจกรรมการเคล่อื นไหวสาหรบั เดก็ เล็ก Movement Activities for Preschool Child ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณฐั พร สดุ ดี สาขาวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั 2561

ค คำนำ เอกสารคาสอนวิชา 2723319 MOVE ACT PRE CH กิจกรรมการเคล่ือนไหว สาหรับเด็กเล็กน้ี จัดทาขึ้นเพื่อใช้สาหรับสอนนิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสุขศึกษาและ พลศึกษา และนิสิตสาขาอื่น ๆ ในคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยท่ีสนใจจะพัฒนา ตนเองให้มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอนให้กับเด็ก ผู้เขียนได้รวบรวมเน้ือหา สาระทั้งในเชิงทฤษฎีและการปฏิบัติจากหนังสือ ตารา เอกสาร งานวิจัย และจาก ประสบการณ์การสอนกิจกรรมการเคล่ือนไหวสาหรับเด็กเล็กเอง นอกจากนี้ยังได้นาเสนอ เน้ือหาการเคลื่อนไหวท่ีนาไปสู่การเล่นกีฬาพ้ืนเมืองไทยให้เข้ามามีบทบาทกับการจัดกิจกรรม การเคล่ือนไหวสาหรับเด็กเล็กในรูปแบบการบูรณาการกับการเคลื่อนไหวแบบต่าง ๆ เพื่อเพิ่ม ความสนุกสนานและนาไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมทางกายเพิม่ มากข้นึ ใหก้ บั เดก็ เลก็ ได้ด้วย ผู้เขียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารคาสอนวิชา 2723319 MOVE ACT PRE CH กิจกรรมการเคลื่อนไหวสาหรบั เด็กเล็กน้ี จะเป็นประโยชนแ์ ก่นสิ ติ นักศกึ ษาและผู้ท่ีสนใจใน การจัดกิจกรรมให้กับเด็กเล็ก เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้ เปน็ ไปในทางทถี่ ูกตอ้ งและเกดิ ประโยชน์กับทกุ ฝา่ ยในอนาคตต่อไป ขอขอบคุณสาขาสุขศึกษาและพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เปิดโอกาสให้ผู้เขียนได้สอนวิชานี้ทาให้ผู้เขียนได้เพิ่มพูนประสบการณ์และได้นาไป ถ่ายทอดให้กับผู้เรียนได้ทุกวัย เกิดประโยชน์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคม ขอบคุณอาจารย์สุรเชษฐ์ วิศวธีรานนท์ และคุณนิวัฒน์ ศรีจันทร์ ท่ีให้ความ อนุเคราะห์ถ่ายภาพกิจกรรมต่าง ๆ ขอบคุณภาพกิจกรรมต่าง ๆ จากสื่อประชาสัมพันธ์ ของโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝ่ายประถม ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อหาในเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กับครูผู้สอนเพื่อใช้ เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมให้แก่นักเรียนระดับปฐมวัยและประถมศึกษาส่งเสริม พฒั นาการเดก็ ในทุก ๆ ด้าน ใหม้ ีพัฒนาการอย่างเต็มศกั ยภาพ และมีประสิทธิภาพต่อไป ผ้ชู ่วยศาสตราจารยณ์ ัฐพร สุดดี

ง สำรบัญ หนา้ ค คานา สารบญั ง ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) ฉ บทที่ 1 กิจกรรมการเคลื่อนไหวสาหรับเดก็ เลก็ 1 1 - บทนา 1 - ความหมายและความสาคญั ของกจิ กรรมการเคล่อื นไหวสาหรับเด็กเลก็ 5 - บทสรปุ 6 - คาถามทา้ ยบท 7 - รายการอ้างองิ บทท่ี 2 ลักษณะของเด็กเล็ก 8 - พฒั นาการเดก็ เล็ก 8 - ลักษณะของเด็กเล็ก 9 - เด็กเลก็ วยั อนบุ าล (อายุ 3-6 ป)ี 10 - เดก็ วยั ประถมศึกษา (อายุ 6-12 ปี) 12 - งานวิจยั ท่เี ก่ียวข้องกับพฒั นาการของเด็กปฐมวยั และประถมศึกษาตอนตน้ 13 - บทสรุป 19 - ตวั อยา่ งกจิ กรรมทส่ี ง่ เสริมพัฒนาการดา้ นต่าง ๆ 21 - คาถามท้ายบท 24 - รายการอา้ งอิง 25 บทที่ 3 การเคล่ือนไหวและกิจกรรมสาหรบั เดก็ เลก็ 27 - กิจกรรมการเคล่ือนไหวสาหรบั เด็กเลก็ 28 - กิจกรรมการทรงตวั 28

จ - รูปแบบกิจกรรมการเลน่ ท่ีพัฒนาการทรงตวั หนา้ -รปู แบบการเคล่ือนไหวแบบเคลอ่ื นท่ี 29 - รปู แบบกจิ กรรมการเลน่ ทพี่ ฒั นาทกั ษะการเคลือ่ นไหวแบบเคล่อื นท่ี 30 - รปู แบบการเคลื่อนไหวประกอบอปุ กรณ์ 37 - กจิ กรรมการเล่นท่พี ัฒนาทกั ษะการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ 39 - ตัวอยา่ งแสดงการจดั สาระการเรยี นรู้ 46 - ตารางวิเคราะห์การแยกประเภทกิจกรรมการเคลอื่ นไหวสาหรับเดก็ เลก็ 51 - ตัวอย่างแผนผังรปู แบบการจดั กจิ กรรมการเคลื่อนไหวสาหรบั เดก็ อนุบาล 56 56 และประถมศึกษาตอนตน้ - งานวิจัยท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการเคลอื่ นไหวและกจิ กรรมสาหรับเดก็ เลก็ 57 - บทสรุป 59 - คาถามท้ายบท 61 - รายการอา้ งอิง 62 บทท่ี 4 การเคลอ่ื นไหวขั้นพ้ืนฐานและกจิ กรรมการเคลื่อนไหว 64 - ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวร่างกาย 64 - ระบบประสาทและอวัยวะรับสมั ผสั ทีส่ ่งผลต่อการเคล่อื นไหว 65 - การเคลอ่ื นไหวขั้นพน้ื ฐาน 66 - รปู แบบการจดั กิจกรรมการเคลอ่ื นไหวข้ันพน้ื ฐาน 78 - งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้องกบั การเคลอื่ นไหวขัน้ พื้นฐาน 84 - บทสรปุ 87 - คาถามท้ายบท 89 - รายการอ้างองิ 91 บทที่ 5 การออกแบบการสอนและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 93 - การออกแบบทีเ่ หมาะสมสาหรบั การเคล่ือนไหวและทกั ษะอน่ื ๆ 93

ฉ - การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ หนา้ - ความสาคัญของแผนการจดั การเรียนรู้ 94 - องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ 96 99 - ลักษณะของแผนการจดั การเรยี นรูท้ ีด่ ี 102 - ข้ันตอนการจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ 103 - รูปแบบของแผนการจดั การเรียนรู้ 104 - รปู แบบการเขียนแผนการจัดการเรียนรูว้ ชิ าพลศึกษา 104 - งานวิจยั ท่ีเก่ยี วข้องกบั การเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ 122 - บทสรุป 124 - คาถามท้ายบท 125 - รายการอ้างอิง 126 บทท่ี 6 ทกั ษะการเคลอื่ นไหวขัน้ พื้นฐานในกฬี าพน้ื เมอื งไทย 128 - ประเภทของกฬี าพื้นเมืองไทย 129 - ประเภทของการละเลน่ พืน้ บา้ นไทย 130 - ตวั อยา่ งการละเล่นพ้นื เมืองไทย / กฬี าพนื้ เมอื งไทยทเ่ี หมาะสมกับเด็กเลก็ 132 - รูปแบบการจดั กฬี าพ้ืนเมอื งไทย / การละเล่นพ้ืนบา้ นในกจิ กรรมการ 137 เคล่อื นไหวข้นั พื้นฐาน - รูปแบบการจัดกีฬาพื้นเมืองไทย / 121 - งานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้องกับทักษะการเคล่ือนไหวข้ันพืน้ ฐานในกฬี าพนื้ เมอื งไทย 146 - บทสรุป 150 - คาถามทา้ ยบท 151 - รายการอ้างอิง 153 บทที่ 7 บทสรุปการจดั กิจกรรมการเคลื่อนไหวสาหรบั เด็กเล็ก 155 - รายการอ้างองิ 163

ช ภาคผนวก หนา้ รายการอา้ งองิ 164 175

ซ 191 - งานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้องกบั กจิ กรรมการเคลือ่ นไหวข้ันพน้ื ฐาน 195 และกีฬาพื้นเมอื งไทย 196 - บทสรปุ 198 - คาถามทา้ ยบท 200 - รายการอ้างองิ 204 บทท่ี 9 บทสรุป 205 - รายการอ้างองิ 213 บรรณานุกรม ภาคผนวก

ฌ จฬุ ำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ประมวลรำยวชิ ำ (Course Syllabus) 1. รหสั วชิ ำ 2723319 2. ชอ่ื ย่อภำษำอังกฤษ MOVE ACT PRE CH 3. ชือ่ วิชำ ชอ่ื ภาษาไทย : กิจกรรมการเคล่อื นไหวสาหรบั เด็กเลก็ ช่ือภาษาองั กฤษ : Movement Activities for Preschool Child 4. หนว่ ยกิต 2.0 ( 2.0 – 0.0 – 4.0 ) 5. ส่วนงำน 5.1 คณะ/หน่วยงานเทียบเท่า คณะครศุ าสตร์ 5.2 ภาควิชา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน 5.3 สาขาวิชา สาขาวิชาสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 6. วธิ ีกำรวดั ผล Letter Grade (A B+ B C+ C D+ D F) 7. ประเภทรำยวิชำ ลงทะเบยี นเรยี นซา้ ไดท้ กุ ภาคการศึกษา 8. ภำคกำรศกึ ษำที่เปิดสอน ทวภิ าค ภาคต้น 9. ปกี ำรศกึ ษำทเี่ ปิดสอน 2561 10. กำรจดั กำรสอน ตอนเรียน ผสู้ อน ช่วงเวลำประเมิน 1,2 10001832 ผศ. ณัฐพร สุดดี 12-11-2561 ถึง 28-12-2561 11. เงอื่ นไขรำยวิชำ 12. หลกั สตู รทีใ่ ช้รำยวิชำน้ี 25480011107709: หลกั สูตรครศุ าสตรบัณฑิต เอกพลศกึ ษา(หลักสูตร 5 ป)ี

ญ (rev.2018) 25480011107709: พลศกึ ษา (rev.2016) 25480011107709: ประถมศึกษา (rev.2016) 25480011107709: การศกึ ษาปฐมวยั (rev.2015) 25480011107709: หลักสตู รครุศาสตรบัณฑิต เอกสุขศกึ ษา(หลกั สตู ร 5 ป)ี ปีการศกึ ษา 2557 (rev.2015) 13. ระดบั กำรศกึ ษำ ปริญญาบัณฑติ 14. สถำนทเี่ รียน โรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝา่ ยประถม 15. เนอื้ หำรำยวิชำ การศึกษาเชิงวิเคราะห์การสอนและการจัดการเกี่ยวกับกิจกรรมพลศึกษาเพื่อ ส่งเสริมประสบการณ์ บทบาทของทักษะที่จาเป็นต่อการพัฒนาทางด้านสังคม อารมณ์ ร่างกาย จิตใจ และความสัมพนั ธ์ของระบบประสาทและกลา้ มเนอ้ื An analytical study in teaching and managing physical education activities to promote experiences and roles of skills essential to social, emotional, physical, mental and neuromuscular development. 16. ประมวลกำรเรียนรำยวิชำ 16.1 วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ลำดบั วตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1 วิเคราะหก์ ารสอนและการจัดการเกยี่ วกับกจิ กรรมพลศกึ ษาเพ่อื สง่ เสริมประสบการณ์ ผลกำรเรยี นรู้ : 01.2. รู้ลึก 03.1. สามารถคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ วิธีกำรสอน/พฒั นำ : 01. การบรรยาย 02. การอภิปราย วิธีกำรประเมนิ : 01. การสอบข้อเขยี น 04. การสงั เกตพฤติกรรม 13. การประเมินตนเอง 2 ผลกำรเรียนรู้ : 01.1. รูร้ อบ 04.3. มีทกั ษะทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ วธิ กี ำรสอน/พัฒนำ : 01. การบรรยาย 02. การอภิปราย 33. การสรปุ ประเด็นสาคญั หรือ การนาเสนอผลของการสบื ค้นท่ีได้รบั มอบหมาย

ฎ วิธกี ำรประเมิน : 01. การสอบขอ้ เขียน 04. การสังเกตพฤตกิ รรม 13. การประเมนิ ตนเอง 3 วิเคราะห์ความสัมพนั ธข์ องระบบประสาทและกล้ามเน้ือได้ ผลกำรเรียนรู้ : 01.2. รลู้ ึก 05.2. รูจ้ กั วิธีการเรียนรู้ วธิ กี ำรสอน/พฒั นำ : 01. การบรรยาย 02. การอภิปราย 33. การสรปุ ประเด็นสาคญั หรือ การนาเสนอผลของการสืบคน้ ที่ได้รับมอบหมาย วธิ กี ำรประเมนิ : 01. การสอบขอ้ เขียน 04. การสังเกตพฤติกรรม 13. การประเมนิ ตนเอง ลำดับ วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 4 ออกแบบแนวทางการกิจกรรมพลศึกษาเพอื่ ส่งเสรมิ ประสบการณไ์ ด้ ผลกำรเรยี นรู้ : 03.2. สามารถคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ 04.1. มที กั ษะทางวิชาชพี 10. มีความเป็นครู วธิ ีกำรสอน/พัฒนำ : 01. การบรรยาย 02. การอภิปราย 17. การฝึกปฏิบัติ วธิ กี ำรประเมิน : 04. การสงั เกตพฤตกิ รรม 11. การประเมินการวิพากษ์/การนาเสนอ ผลงาน 13. การประเมินตนเอง 16.2 แผนการสอนรายสปั ดาห์ สัปดำหท์ ี่ เนอื้ หำท่ีสอน กำรมอบหมำยงำน 1-2 การเตรียมความพร้อมผู้เรียน 1.ใบงาน ให้นิสิตร่วมกันอธิบาย 1. ผู้เรียนเขียนความหมายและความสาคญั ของกิจกรรม สรุปความหมาย ความสาคัญของ เคลอ่ื นไหวสาหรับเดก็ เล็ก กิจกรรมเคล่ือนไหว สาหรับเด็ก 2. ผู้เรียนจบั กลมุ่ สรุปความหมายและความสาคัญ จาก เลก็ พร้อมยกตัวอยา่ งกจิ กรรม ข้อ 1 แล้วนาเสนอหน้าชน้ั เรียน 2.แบบสังเกตพฤติกรรมให้นิสิตไป 3. ผู้เรียนและผ้สู อนร่วมกันสรุปเน้อื หาท่ไี ดเ้ รียนในวันนี้ สังเกตพฤติกรรมนักเรียน 3 ช่วง วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม : 1, 2 เวลา 1) กอ่ นเข้าเรียน 2) ระหว่างทา ผู้สอน : ผ.ศ.ณัฐพร สดุ ดี กจิ กรรม 3 ) หลงั เลกิ เรยี น

ฏ 3. แบบประเมนิ การสอนท้ายชว่ั โมง 3-4 กระบวน การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (inquiry process) 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมใหน้ สิ ติ ผู้เรียนแบ่งกลุ่มศึกษา ค้นคว้าใน 3 หัวข้อ ดาเนินการตาม ไปสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียน 3 ช่วง กระบวนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ดงั น้ี เวลา 1) กอ่ นเขา้ เรียน 2) ระหวา่ ง 1. ข้ันสังเกต ผู้เรียนตั้งข้อสังเกตทฤษฎี แนวคิด หลักการ ทากิจกรรม 3 ) หลังเลิกเรียน เกี่ยวกับ 3 หวั ข้อต่อไปนี้ 1) การพัฒนาการทางด้านร่างกาย 2. รายงานพฒั นาการดา้ น ของเด็กเล็ก 2) การพัฒนาการทางการเคล่ือนไหวสาหรับ รา่ งกายของเด็กเลก็ 3. แบบ เด็กเล็ก 3) การเคลอื่ นไหวพนื้ ฐานสาหรบั เด็กเลก็ ประเมินการสอนทา้ ยชั่วโมง

ค สัปดำหท์ ่ี เนอ้ื หำท่สี อน กำรมอบหมำยงำน 2. ขนั้ อธิบาย ผูเ้ รียนเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษา ค้นคว้าใน 3 หัวข้อ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) การพัฒนาการทางด้าน ร่างกายของเดก็ เลก็ 2) การพัฒนาการ ทางการเคลื่อนไหว สาหรับเด็กเลก็ 3) การเคลือ่ นไหวพ้นื ฐานสาหรบั เดก็ เล็ก 3. ข้นั ตรวจสอบ ผเู้ รียนนาประเด็นจากทัง้ 3 หวั ข้อ จากการ คน้ ควา้ มาแลกเปลยี่ นข้อมูลร่วมกันในชั้นเรียน 4 ขัน้ การนาไปใชผ้ เู้ รยี นนาประเด็นจากขน้ั ที่ 3 มาอภิปราย ร่วมกันถงึ การนาไปประยกุ ต์ใช้ ผู้เรียนนาเสนอข้อมลู ที่ได้ ศกึ ษาร่วมกันโดยมีผูส้ อนร่วมช้แี นะ วัตถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม : 1, 2, 3, 4 ผู้สอน : ผ.ศ.ณฐั พร สดุ ดี 5-9 กจิ กรรมการเคล่อื นไหวเชิงรกุ 1. แบบสงั เกตพฤติกรรมนิสติ 1. ผสู้ อนแบง่ กล่มุ ผู้เรยี นออกเปน็ 6 กลมุ่ รวมกลุ่ม ๆ ละ 8-10 คน วาง 2. ผู้เรยี นภายในกลุ่มใช้เทคนิคระดมสมองโดยมีเนอ้ื หา แผนการจดั กิจกรรมภายในชน้ั เกยี่ วกบั กิจกรรมการเคลือ่ นไหว ประกอบด้วย เรยี น ให้นสิ ติ สงั เกตพฤตกิ รรม 2.1 การเคลอื่ นไหวอยู่กบั ที่ เพื่อนที่เขา้ ร่วมกจิ กรรม ช่วงก่อน 2.2 การเคล่ือนไหวเคล่ือนที่ และหลงั การจัดกจิ กรรมร่วมกัน 2,3. การเคลือ่ นไหวประกอบอุปกรณ์ อภิปรายและสรุปเน้ือหา 3. ผู้เรียนยกตัวอยา่ งกจิ กรรมท้งั 3 ประเภท 2. ใบงานการจดั กิจกรรมการ 4. ผเู้ รียนอภปิ รายแบบโตะ๊ กลม (Round Table) เพ่อื เสนอ ปฏิบัติกิจกรรมเคล่อื นไหว กจิ กรรมการเคลือ่ นไหวและเกมการเคลือ่ นไหวทั้ง 3 ประเภท 3. แบบประเมินการสอนท้าย 5. ผู้เรียนแตล่ ะกล่มุ จดั กิจกรรมการเคลือ่ นไหวทไ่ี ดค้ ิดขน้ึ ช่ัวโมง 6. ผู้เรียนสะทอ้ นคดิ ในกิจกรรมทดี่ าเนนิ การ 7. ผู้เรยี นและผสู้ อนรว่ มกันสรปุ เน้ือหาทไ่ี ดจ้ ดั กจิ กรรม ไปในแต่ละสปั ดาห์ วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม : 1, 2, 3, 4 ผ้สู อน : ผ.ศ.ณฐั พร สดุ ดี

ง สัปดำห์ที่ เน้ือหำท่สี อน กำรมอบหมำยงำน 10-11 การสอนแบบจลุ ภาค 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม 1. ผู้เรียนศึกษาเน้ือหาเกยี่ วกับทักษะการสอนการเขียน 2. ใบงานการเขียนแผนการ แผน และวิธีการสอนแบบตา่ ง ๆ จดั การเรียนรกู้ จิ กรรมการ 2. ผู้เรียนเขียนแผนการจัดกจิ กรรมการเคลอื่ นไหวและ เคลอ่ื นไหว กีฬาพนื้ เมอื งไทย 3. แบบบันทกึ /สะท้อนผลการ 3. ผู้เรยี นนาแผนการจัดกจกรรมการเรยี นรู้มาปรับปรงุ จัดกิจกรรม ตามคาแนะนาของผูส้ อน 4. วีดีทศั น์ตน้ แบบ 4. ผู้เรียนทดลองสอนจรงิ และบันทกึ เทปวดี ทิ ศั น์ 5. แบบประเมนิ การสอนท้าย 5. ผูเ้ รียนร่วมกันชี้แนะปรบั ปรุงการสอนของเพอื่ นในชน้ั เรยี น ช่วั โมง 6. ผูส้ อนแนะนาผเู้ รียนในประเดน็ ท่คี วรใหค้ วามสนใจในการสอน 7. ผู้สอนแนะนากิจกรรมการเรียนรู้ และการใช้สื่อสังคม ออนไลน์(Facebook Group) หลังจากฝกึ บนั ทกึ เทปวดี ทิ ศั น์ วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม : 1, 4 ผสู้ อน : ผ.ศ.ณฐั พร สุดดี 12-14 การชมวดี ทิ ัศนต์ น้ แบบ 1. ใบงานการเขยี นแผนการ 1. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเลอื กชนดิ การจดั กิจกรรมการ จัดการเรียนรกู้ ฬี าพื้นเมืองไทย เคล่ือนไหวและกีฬาพื้นเมืองไทยและดวู ีดทิ ัศนต์ ้นแบบ 2. แบบบนั ทึก/สะท้อนผลการ ในส่อื สงั คมออนไลน์ จดั กจิ กรรม 2. ผู้เรียนร่วมกันอภปิ รายถงึ วดี ิทัศนต์ น้ แบบท่ไี ดช้ มและ 3. วดี ีทศั น์ตน้ แบบ นามาเขียนแผนการจดั กจิ กรรมการเคล่ือนไหวและกฬี า 4. แบบประเมนิ การสอนท้าย พื้นเมอื งไทย ชัว่ โมง 3. ผู้เรียนในกลมุ่ ร่วมกันปรับปรุงแก้ไขแผนการจัด กิจกรรมโดยผู้สอนเป็นผู้ชี้แนะ 4. ผู้เรยี นลงพ้ืนทแี่ ละจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและ กีฬาพืน้ เมอื งไทยในโรงเรียนระดับประถมศึกษา

จ สัปดำหท์ ่ี เน้อื หำทีส่ อน กำรมอบหมำยงำน 5. ผู้เรียนสงั เกตผลของการจัดกจิ กรรมการเคล่ือนไหวและ กฬี าพืน้ เมอื งไทยกบั ผู้เรียนในระดับประถมศึกษา 6. ผู้เรยี นนาผลทไ่ี ดจ้ ากการจดั กิจกรรมการเคลอ่ื นไหวและกีฬา พื้นเมอื งไทยและนามาปรับปรงุ ให้ได้วธิ ีการสอนท่สี มบรู ณ์ วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม : 1, 4 ผู้สอน : ผ.ศ.ณฐั พร สดุ ดี 15 การแลกเปล่ียน เรียนรรู้ ะหวา่ งผเู้ รียน 1. ใบงานเครือ่ งมอื ประเมินผล 1. ผู้เรียนนาเสนอหน้าช้ันเก่ียวกบั ผลการจัดกิจกรรมการ รายเดย่ี วและรายกล่มุ แผนการ เคล่อื นไหวและกฬี าพืน้ เมืองไทยในประเดน็ ดังต่อไปนี้ จัดประสบการณก์ ลางแจ้งและ 1.1 ประเมนิ พฒั นาการเด็กในแตล่ ะวยั การผลติ สอื่ 1.2 ประเมนิ การเคลือ่ นไหวขัน้ พืน้ ฐาน 1.3 ประเมินการเคล่อื นไหวสาหรับเดก็ เล็ก วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม : 1, 2, 3, 4 ผู้สอน : ผ.ศ.ณฐั พร สดุ ดี 16 การเผยแพร่กระบวนการสู่สาธารณะ1.ผู้เรียนร่วมกัน 1. สรุปรายงานผลการเรียนรู้ ออกแบบและลงมอื ปฏิบัตกิ ารสรปุ เนื้อหา กระบวนการ และการจัดการเรียนรู้ เรยี นทั้งหมด เพ่ือสะท้อนการตระหนกั ถึงวธิ ีการสอน กจิ กรรมการเคล่ือนไหวและกีฬาพ้ืนเมืองไทยและ นาเสนอโดยการติดบอรด์ เผยแพรค่ วามรู้หรือนาเสนอ ผ่านสือ่ ออนไลน์ วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม : 1 ผู้สอน : ผ.ศ.ณฐั พร สดุ ดี 16.3 สอื่ การสอน (Media) เขียนกระดาน สอื่ นาเสนอในรูปแบบ Powerpoint media สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ เว็บไซต์ รูปภาพบนฟวิ เจอร์บอร์ด

ฉ 16.4 การตดิ ต่อส่อื สารกบั นสิ ติ ผา่ นระบบเครอื ข่าย 16.4.1 รูปแบบและวธิ กี ารใช้งาน: อีเมล์/Email Facebook LINE 16.4.2 ระบบจดั การการเรียนรู้ (LMS) ทใ่ี ช้ Blackboard Doing by Learning ให้ ปฏิบัติ 80 % 16.5 จานวนชั่วโมงที่ใหค้ าปรกึ ษาแกน่ ิสิต 4.0 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 16.6 การประเมนิ ผล กจิ กรรมกำรประเมิน ร้อยละ เกณฑ์การวดั ผล การวดั และประเมนิ ผล 100 % 1) คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 40 % - ระเบียบวนิ ัย (การเข้าชน้ั เรยี นตรงเวลา, ความตง้ั ใจในชว่ั โมงเรียน) - การแต่งกาย และการดูแลความสะอาดส่วนตน - ความรับผดิ ชอบในผลงานหรอื หนา้ ท่ีทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย - ความมีน้าใจ เออ้ื เฟ้อื เผ่อื แผ่และช่วยเหลือแบง่ ปนั 2) ประเมินทักษะ 60 % - ประเมินความรู้ - ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางาน/บทบาทในการทากจิ กรรมเด่ียวและกลุ่ม - ประเมินการวพิ ากษ์/นาเสนอผลงาน/ประเมินตนเอง 17. รำยชื่อหนงั สืออ่ำนประกอบ 17.1 หนงั สอื บงั คบั 1. ชชั ชัย โกมารทตั . (2549). กฬี ำพ้ืนเมอื งไทยภำคกลำง : ศกึ ษำ และวเิ ครำะห์ ควำมเปน็ มำ วิธเี ลน่ และคณุ คำ่ . กรงุ เทพมหานคร: สถาพรบคุ๊ ส์. 2. ชัชชัย โกมารทัต. (2549). กฬี ำพ้นื เมืองไทยภำคเหนือ : ศึกษำ และวเิ ครำะห์ ควำมเปน็ มำ วธิ เี ล่น และคณุ คำ่ . กรุงเทพมหานคร: สถาพรบคุ๊ ส์. 3. ชัชชยั โกมารทัตและคณะ. (2549). กีฬำพืน้ เมอื งไทยภำค ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ : ศกึ ษำ และวเิ ครำะห์ควำมเปน็ มำ วิธีเล่น และคุณค่ำ. กรุงเทพมหานคร: สถาพร

ช บุ๊คส.์ 4. ชชั ชัย โกมารทัตและคณะ. (2549). กฬี ำพื้นเมืองไทยภำคใต้: ศกึ ษำ และ วิเครำะห์ควำม เป็นมำ วธิ ีเลน่ และคุณค่ำ. กรงุ เทพมหานคร: สถาพรบคุ๊ ส.์ 5. ดวงพร ศริ สิ มบัติ. (2539). กิจกรรมเข้ำจงั หวะ. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์ โอเดยี ร์สโตร์. 6. สรุ เชษฐ์ วศิ วธรี านนท์. (2560). กฬี ำแชรบ์ อลและทกั ษะกำรเคลอื่ นไหวขั้น พ้ืนฐำน. กรงุ เทพมหานคร. 7. Wuest. D. A. and Bucher C. A. (1999). Foundations of physical education and sport. (13th Edition) Boston: WCB/McGraw-Hill. 8. Arnheim, D. D. and Pestolesi, R. A. (1978). Elementary physical education : a developmental approach. (2nd edition). Saint Louis: Mosby. 9. Landy, J. M. and Landy, M. J. (1992). Ready to use P.E. activities: for grades K-2. University of Virginia: Parker Publishing Company. 17.2 หนงั สื่ออ่านเพม่ิ เติม 17.3 บทความวจิ ยั /บทความวิชาการ (ถา้ ม)ี 17.4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรอื เว็บไซต์ที่เกย่ี วขอ้ ง 18. กำรประเมินกำรสอน 18.1 การประเมินการสอน ผำ่ นระบบ CUCAS - SCE 18.2 การปรับปรุงจากผลการประเมนิ การสอนคร้ังที่ผา่ นมา - ปรับปรงุ เนื้อหาการสอน - ปรับปรงุ วิธีการสอน - ฯลฯ 19. หมำยเหตุ



บทท่ี 1 กจิ กรรมการเคลอื่ นไหวสาหรับเดก็ เล็ก Movement Activities for Preschool Child บทนา เด็กเล็กหรือเรียกว่าวัยเด็กตอนต้น เป็นวัยก่อนเข้าเรียน โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงอายุ 3 -6 ปี ในช่วงวัยนี้ ผู้ปกครองมักจะส่งเด็กไปอยู่ในสถานรับเลี้ยงเด็ก หรือโรงเรียนเตรียมความ พร้อมสาหรับเด็กเล็ก ก่อนที่จะเข้าเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น การท่ีให้เด็กเล็กเข้า โรงเรียนก็เพ่ือเป็นการเตรยี มความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สงั คม สติปัญญา ให้เด็ก ได้มีความคุ้นเคยกับบุคคลอื่นที่ไม่ใช่บุคคลในครอบครัว สิ่งแวดล้อมท่ีไม่เหมือนท่ีบ้าน เป็นการ วางรากฐานที่จะใหเ้ ด็กกา้ วสสู่ ังคมที่จะพฒั นาใหเ้ ด็กมีการเจรญิ เตบิ โตที่ดขี ึน้ การจดั กจิ กรรมการ เคลอ่ื นไหว เป็นหวั ใจหลักในการพฒั นาเดก็ ตงั้ แต่เลก็ จนเขา้ สู่โรงเรยี นในชว่ งอายุต่าง ๆ กิจกรรม การเคล่อื นไหวเป็นสิ่งจาเป็นสาหรบั มนุษย์ ทุกคนควรได้ฝึกฝนการเคล่ือนไหวท่ถี กู ตอ้ งต้ังแต่เด็ก โดยใช้สือ่ กลาง คือ กิจกรรมทางกายหรอื การเลน่ เป็นเครอื่ งมือในการทาจะให้เด็กไดเ้ จรญิ เตบิ โต อย่างสมบูรณ์และแข็งแรง เพราะเด็กจะเกิดการเรียนรู้ได้เร็วผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมการเล่น มากกว่าการท่องจาในห้องเรียน การเลือกกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายให้เหมาะสมกับเด็กใน แต่ละวัยจึงมีความสาคัญ ซ่ึงต้องสอดคล้องกับพัฒนาการตามวัยของเด็กท่ีควรจะเป็นทั้งในด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญา หากเด็กได้รับการส่งเสริมให้ได้เคลื่อนไหวท่ีถูกต้อง จะ ส่งผลดีท้ังต่อสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตได้ เด็กจะเรียนรู้และนาวิธีที่ถูกต้องไปใช้ในการ ฝึกฝนหรอื เลน่ ต่อไปในอนาคตกับผอู้ ืน่ ๆ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ความหมายและความสาคัญของกิจกรรมการเคล่ือนไหวสาหรับเด็กเล็ก การเข้าใจความหมายและการเห็นความสาคัญของกิจกรรมการเคล่ือนไหวในวัยเด็กเป็น จุดเริ่มต้นสาหรับผู้ที่มีหน้าที่และเกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการทางด้าน การเคลื่อนไหวท่ีเหมาะสม ก่อนที่จะสร้างโอกาสและรูปแบบกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน การเคลื่อนไหวพ้ืนฐานของเด็ก ทั้งการใช้ร่างกายเป็นส่ือในการประกอบกิจกรรมของเด็กซึ่งจะมีผล ต่อพัฒนาการของระบบกล้ามเนื้อ พัฒนาการการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน รวมถึงพัฒนาการการ ประสานสัมพันธ์ของระบบอวัยวะต่าง ๆ ที่ช่วยในการทรงตัวและการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ ดงั นั้นการได้รู้ถึงความหมายและความสาคัญเป็นอันดับแรกจะทาให้ผู้จัดกิจกรรมสามารถออกแบบ กิจกรรมสาหรับเดก็ เล็กได้อย่างถูกตอ้ งและส่งผลดตี ่อร่างกายและพัฒนาการตอ่ เด็กเองในอนาคต

2 ชิตินทรีย์ บุญมา และคณะ (2558) ได้กล่าวถึงการจัดกิจกรรมการเคล่ือนไหวท่ีพัฒนาการ เรียนรู้สาหรับเด็กไว้ว่า วัยแรกเกิดถึง 5 ปี เป็นช่วงวัยท่ีอยู่ระหว่างการมีพัฒนาการทางกลไกการ เคล่ือนไหว(Motor Development) กิจกรรมทางกายท่ีเหมาะสมในช่วงวัยน้ีจึงต้องเป็นกิจกรรมที่ ได้รับการออกแบบให้ส่งเสริมพัฒนาการด้านการเคล่ือนไหวพ้ืนฐาน(Fundamental Movement) ของเดก็ เล็ก ได้แก่ กิจกรรมการเดิน การทรงตัว การวิง่ กระโดด ปนี ปา่ ย ขวา้ งปา เป็นต้น ทาญิการ์ ศรีสมภาร (2562) ได้กล่าวถึง กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็ก เล็กไว้ว่า ผู้ปกครองและคุณครูสามารถส่งเสริมและพัฒนากล้ามเน้ือ โดยจัดกิจกรรมและร่วมเล่นกับ เดก็ ๆ เช่น การทรงตัว การเดิน การว่ิง การกระโดด การคลาน การนอน การเอียงตัว เปน็ ต้น เพราะจะ ช่วยทาให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงเพิ่มข้ึน และยังช่วยเสริมสร้างการประสานงานของระบบประสาท ส่วนกลางกับกล้ามเน้ือ ส่งผลให้มือ เท้า ตา เคล่ือนไหว สัมพันธ์กัน ซึ่งการทากิจกรรมสามารถทาที่ บ้าน หรือนอกบ้านได้ การทากิจกรรมนอกบ้าน สภาพแวดล้อมจะช่วยทาให้เด็กเกิดทักษะการสงั เกต การปรับตัวอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น และจะสร้างความทรงจาดี ๆ ได้อีกด้วย ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ สามารถ แบง่ เป็น 1. กิจกรรมการเล่น คือ กิจกรรมที่สอดคล้องกับธรรมชาติของเด็ก ท่ีสามารถเรียนรู้ได้ ด้วยตนเอง เช่น กิจกรรมเล่นปีนป่าย กิจกรรมวิ่งเล่นในสนาม กิจกรรมการเล่นว่าว กิจกรรมการ เดินทรงตัวบนเส้นตรง กิจกรรมการเล่นต่อบล็อค โดยเฉพาะการเล่นบทบาทสมมติ (Role Playing) ซ่ึง ถอื วา่ เป็นกจิ กรรมสร้างสรรคส์ าหรับเด็กปฐมวยั 2. กิจกรรมออกกาลังกายสาหรับเด็ก คือ กิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ ที่เล่นได้ทั้งกลางแจ้ง และในร่ม รวมถึงกิจกรรมการเล่นกีฬา เช่น การป่ันจักรยาน การเล่นฮูลาฮูป การเล่นโยคะ การว่ิง แข่ง การเล่นปิงปอง การเลน่ แบดมินตัน กจิ กรรมการโยนรับลกู บอล กิจกรรมโยนบอลเข้าตะกร้า กิตตยิ า ธนกาลมารวย (2553) ไดก้ ลา่ วถงึ ความสาคัญของการเคลื่อนไหวตอ่ เดก็ ไวด้ ังน้ี 1. การร้อง เล่น เต้นรา เป็นกิจกรรมหนึ่งที่เด็ก ๆ ชอบ เพราะเป็นกิจกรรมท่ีตอบสนอง ตอ่ ธรรมชาติของเด็กท่ไี ม่อยนู่ ่ิงและชอบเคลอ่ื นไหวร่างกายอยตู่ ลอดเวลา 2. เด็กได้เรียนรู้การเคล่ือนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น เดิน ว่ิง กระโดดโลดเต้น ชู มือ หมุนตัว ส่ายเอว เพ่ือท่ีจะสามารถพัฒนาทักษะในการเคล่ือนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพยง่ิ ขึน้

3 3. สุขภาพร่างกายของเด็กแข็งแรง และพัฒนาอวัยวะทุกส่วนของเด็กให้มีความสัมพันธ์ กันอย่างดีในการเคล่ือนไหว เพราะการท่ีเด็กได้เคล่ือนไหวร่างกายในการเต้นราตามจังหวะและ เสยี งดนตรีนัน้ เปน็ การทเ่ี ดก็ ไดอ้ อกกาลงั กายโดยตรง 4. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก เพราะการท่ีเด็กได้คิดค้นท่าทางการเคล่ือนไหวรา่ งกาย อย่างอิสระผ่านทางเสียงเพลงเช่น การเคล่ือนไหวเล่นบทบาทสมมุติตามเพลง การเคล่ือนไหวร่างกายกับ อุปกรณต์ า่ ง ๆ ซ่ึงเป็นการฝึกทักษะการคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละจนิ ตนาการใหแ้ ก่เด็กได้ดีมากทีเดยี ว 5. เด็กเกิดความมั่นใจในตนเอง เพราะกิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะนั้นเป็นกิจกรรมท่ีไม่ ปิดก้ันในการที่เด็กได้แสดงออกถึงอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด และความเป็นตัวของตัวเองได้อย่าง อสิ ระ ซงึ่ สง่ ผลในการพัฒนาความเปน็ เอกลกั ษณแ์ ละความม่นั ใจในตนเองแก่เด็กตอ่ ไป 6. เด็กได้ทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น เพราะโดยส่วนใหญ่แล้วกิจกรรมการเคลื่อนไหวและ จังหวะจะเป็นกิจกรรมที่เด็กได้ทาร่วมกับผู้อื่น เช่น เต้นราในจังหวะต่าง ๆ เช่น จังหวะวอลซ์ จังหวะชะชะช่า ร่วมกับเพ่ือน ซึ่งการท่ีเด็กได้เต้นรา เคลื่อนไหวร่างกายร่วมกับผู้อ่ืนนั้น เป็นการ พัฒนาทักษะทางสังคมใหก้ ับเด็กไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 7. การท่ีเด็กได้เคล่ือนไหวร่างกายตามจังหวะเพลง และเสียงดนตรีนั้น ช่วยให้เด็กสนุกสนาน เบกิ บาน ผ่อนคลายความเครียด ซ่ึงเปน็ ผลท่ที าให้เดก็ เปน็ คนมอี ารมณด์ ี ยม้ิ แยม้ แจม่ ใส 8. การรอ้ ง เต้น เล่นสนุกช่วยพัฒนาสติปัญญาและการเรียนรู้ของเด็ก เช่น ในด้านภาษา เดก็ ได้เรยี นรู้ด้านภาษาผ่านทางเนือ้ เพลง ไดเ้ รยี นรูด้ ้านคณติ ศาสตรผ์ ่านทางจังหวะของดนตรี 9. เดก็ ได้เรียนรู้วฒั นธรรมและเอกลักษณ์ประจาชาติของประเทศตา่ ง ๆ เชน่ การรา การ เตน้ ระบาฮาวาย การเตน้ แบบจนี การเต้นแบบแขก 10. เด็กมคี วามสามัคคีและปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงของกลุ่ม เชน่ การออกกาลงั กายตามเพลง พร้อมกับเพื่อนๆ นอกจากนี้กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะยังช่วยฝึกการเป็นผู้นา ผู้ตาม ให้แก่เด็กอีกด้วย เชน่ ให้เด็กทาท่าทางเคลื่อนไหวร่างกายเป็นผู้นาแล้วให้เพอ่ื นปฏิบตั ิตาม โดยมี การสบั เปล่ยี นหมุนเวยี นกนั ไป จุฑามาศ วงศสุวรรณ (2548) ได้กล่าวถึงการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะแบงออก เปน 2 กิจกรรม คอื สวนที่เปนกิจกรรมพืน้ ฐานและสวนท่ีเปนกจิ กรรมสัมพันธเนื้อหาโดยมีจุดมุงหมาย เพ่อื ให เดก็ ไดแสดงออกโดยการเคลอื่ นไหว และเปนการเตรยี มความพรอมทางดานรางกายใหกับเดก็ ท่ี สาคญั ตองคานงึ ถึงกิจกรรมท่จี ดั ตองเหมาะสมกับวัย และพฒั นาการทางรางกายของเดก็ ดวย

4 กล่าวโดยสรุป กิจกรรมการเคลื่อนไหวสาหรับเด็กเล็ก จึงเป็นกิจกรรมทีก่ ระตุ้นใหเ้ ด็ก เกิดการแสดงออกทางด้านอารมณ์ ความรู้สึกจากจินตนาการและทักษะ เป็นสิ่งท่ีมี ความสาคัญอย่างมาก เพราะเป็นพ้ืนฐานที่จะพัฒนาไปสู่การเคลื่อนไหวในข้ันสูง อีกท้ังเป็น กิจกรรมที่ช่วยพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาการระบบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ พฒั นาการเคล่อื นไหว รวมถงึ พฒั นาการประสานสัมพันธข์ องระบบอวัยวะต่าง ๆ ไปพรอ้ ม ๆ กนั อีกด้วย ท้ังช่วยใหเ้ ด็กไดพ้ ัฒนาทกั ษะความจา และทกั ษะการฟงั โดยรปู แบบของกิจกรรม การเคล่ือนไหวน้ันจะเป็นเกม การละเล่นต่าง ๆ หรือกีฬา เป็นต้น ซ่ึงต้องเป็นกิจกรรมท่ีมี ประโยชนต์ อ่ พัฒนาการเด็กอย่างถกู ต้องและเหมาะสมตามวัยดว้ ย

5 บทสรปุ กิจกรรมการเคล่ือนไหวสาหรับเด็กเล็ก เป็นการออกแบบวิธีการสอนทักษะการ เคลื่อนไหวอย่างอิสระเพ่ือให้กิจกรรมที่จัดบรรลุวัตถุประสงค์ของการพัฒนาการเคลื่อนไหว ร่างกายของเด็กเล็กให้เป็นไปตามหลักพัฒนาการ 3 ด้าน คือ 1)ด้านระบบกล้ามเน้ือมัดเล็กและ มัดใหญ่ 2) ด้านการเคลอื่ นไหวขัน้ พืน้ ฐาน และ 3) ด้านพฒั นาการการประสานสมั พันธ์ของระบบ อวัยวะต่าง ๆ ที่ช่วยในการทรงตัวและการเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ เช่น การเคล่ือนไหว ประกอบจังหวะดนตรี ประกอบเสียงเพลง การเคลื่อนไหวท่ีส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ การควบคุมการเคล่ือนไหวของตนเองได้ เพ่ือให้เด็กได้เจริญเติบโตอย่าง สมบูรณ์ มีผลตอ่ การพัฒนาการเดก็ ด้วยเหตุผลดังกล่าวการจัดกิจกรรมการเคล่ือนไหวสาหรับเด็กเล็กจึงมีความสาคัญ เพราะเป็น กิจกรรมที่จะทาให้เด็กเรียนรู้ว่าการใช้ร่างกายแต่ละส่วนที่ถูกต้องว่าจะต้องทาอย่างไร จะเคล่ือนไหว แบบใด เด็กจะมีโอกาสได้คิด ได้ประเมินความสามารถของตนเอง ได้รับการฝึกการใช้กล้ามเน้ือมัดใหญ่ กลา้ มเน้อื มดั เลก็ ไดร้ ะบายออกทางความรูส้ ึก ผ่อนคลายความตงึ เครียด ทางกาย-ทางใจ อกี ด้วย ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวสาหรับเด็กเล็ก จะเสริมสร้างให้ เด็กช่วยเหลือตัวเองได้เร็วข้ึน กิจกรรมเหล่าน้ีจะช่วยพัฒนาทักษะทางความคิด รวมทั้งความ สมดลุ ของร่างกาย อกี ท้ังยังช่วยส่งเสรมิ สขุ ภาพให้กบั เด็กได้อย่างดอี ีกดว้ ย ภาพกิจกรรมเพอ่ื นพ้องพน่ี ้องป.1 ปกี ารศึกษา 2562 ภาพกจิ กรรมวนั เอกลกั ษณไ์ ทย ปกี ารศกึ ษา 2561 ท่ีมา: เวบ็ ไซตโ์ รงเรยี นสาธติ จุฬาฯ ฝา่ ยประถม, 2562 ทมี่ า: เวบ็ ไซตโ์ รงเรียนสาธติ จุฬาฯ ฝ่ายประถม, 2562

6 คาถามทา้ ยบท 1. จากความหมายและความสาคญั ของการจัดกจิ กรรมการเคลื่อนไหวสาหรับเด็กเล็ก ขอให้ เขยี นชอ่ื กิจกรรมท่ีเหมาะสาหรับเดก็ เลก็ มา 8 กิจกรรม โดยเลอื กเขียนพัฒนาการท่ีเด็กไดร้ ับจาก การรว่ มกจิ กรรมมา 1 ด้าน พรอ้ มทัง้ อธิบายสั้น ๆ ลาดบั ชอื่ กิจกรรม พฒั นาการทไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม อธิบายเพ่ิมเติม 1.ด้านระบบกล้ามเนอื้ มดั เล็ก มัดใหญ่ 2.ดา้ นการเคลอ่ื นไหว 3.ด้านการประสานสมั พนั ธ์ของระบบ อวยั วะต่าง ๆ ตวั อยา่ ง เดินบนเสน้ 3. ดา้ นการประสานสัมพนั ธ์ เป็นการทางานของตาและเท้า ของระบบอวัยวะตา่ ง ๆ ผู้เดินจะทาอย่างไหร่จะเดินบน เส้นไดต้ ลอดระยะทางทกี่ าหนด ตวั อย่าง จับโฟมเตะขา 1.ดา้ นระบบกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ออกแรงที่กลม้ เน้อื มัดใหญ่ คือ ขาและเทา้ 1 2 3 4 5 6 7 8

7 รายการอา้ งองิ ภาษาไทย กิตติยา ธนกาลมารวย.(2561). กิจกรรมการเคล่ือนไหวเสริมทักษะพัฒนาการเด็ก. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2562, จาก http://talkaboutsex.thaihealth.or.th/ knowledge/ จุฑามาศ วงศสุวรรณ. (2548). การเคล่ือนไหวประกอบจงั หวะทมี่ ีผลตอประสิทธภิ าพใน การเคล่ือนไหวของเด็กทม่ี ีความบกพร่องทางสตปิ ัญญา. สารนิพนธ์ปริญญา วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการกฬี า มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ชติ นิ ทรีย์ บญุ มา และคณะ. (2558). คมู่ ือการจดั กิจกรรมทางกายเพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้ สาหรับเด็ก. กรงุ เทพมหานคร : สานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ . (เอกสารอดั สาเนา) ทาญกิ าร์ ศรสี มภาร. (2561). แนวทางการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการทางด้านร่างกายสาหรับเดก็ ปฐมวัย. สบื ค้นเมอ่ื 10 มิถุนายน 2561, จาก https://www.youngciety.com/article /journal/body-development.html

บทที่ 2 ลักษณะของเดก็ เลก็ Characteristics of Preschool Children การจัดการกิจกรรมการเคลื่อนไหว ผู้สอนจะต้องพบกับความแตกต่างอย่างหลากหลาย ของผ้เู รยี น ทั้งวัยเด็กเล็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ หรือแม้แตว่ ัยชรา ซงึ่ ผสู้ อนจะต้องเข้าใจพฤติกรรมหรือ ลักษณะเฉพาะบางประการของผูเ้ รียนในวัยนัน้ ๆ ดงั น้ันในการจัดกจิ กรรมจะตอ้ งมีการวางแผนให้ ตรงตามพัฒนาการในแต่ละวัย นักจิตวิทยาพัฒนาการได้มีการศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงในตัว ผู้เรียน ท้ังการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายและพัฒนาการด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ ความสามารถ ทางภาษา การปรับตัว เป็นต้น โดยศึกษาว่าในแต่ละช่วงวัย มนุษย์มีแบบแผนของการ เปลี่ยนแปลงเช่นใด ซ่ึงผู้สอนสามารถนาผลการศึกษานี้มาเป็นประโยชน์เพ่ือทาความเข้าใจผู้เรยี น ในแต่ละช่วงวัย เพ่ือให้สามารถจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับลักษณะและพัฒนาการของ ผ้เู รยี นได้อยา่ งแท้จรงิ พฒั นาการของเด็กเล็ก เยาวพา เดชะคุปต์ (2542) ได้ให้ความหมายพัฒนาการเด็ก หมายถึง กระบวนการหรือ ลาดับซ่ึงเกิดขึ้นในตัวเด็กตลอดระยะเวลาที่เด็กมีการเปล่ียนแปลง จากเด็กทารกท่ีไม่สามารถ ช่วยเหลอื ตนเองได้จนเป็นบคุ คลท่สี ามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ นิตยา คชภักดี (2557) ได้ให้ความหมายพัฒนาการเด็ก หมายถึง กระบวนการ เปล่ียนแปลงด้านคุณภาพ และประสิทธิภาพของการทาหน้าท่ีต่างๆ ของเด็กในการทาหน้าท่ีให้มี ประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน สามารถทาสิ่งท่ียาก และซับซ้อนข้ึนได้ รวมถึงการเพิ่มทักษะใหม่และ ความสามารถในการปรบั ตัวในภาวะใหมข่ องเดก็ ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา (2560) ได้ให้ความหมายพัฒนาการเด็ก คือ กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลักษณะและพฤติกรรมท่ีมีทิศทางและรูปแบบท่ีแน่นอน จากช่วงระยะเวลาหน่ึงไปสู่ อีกช่วงระยะเวลาหน่ึง โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้จนเจริญเติบโตอย่างเต็มที่พร้อมที่จะทา กจิ กรรมอย่างน้ัน ทาให้เพ่ิมความสามารถของบุคคลในการทาหน้าท่ีต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถทาหน้าที่ที่สลับซับซ้อนยุ่งยากได้ ตลอดจนเพิ่มทักษะใหม่และความสามารถในการ ปรบั ตวั ต่อภาวะใหม่ของบคุ คลผู้น้นั

9 องค์การอนามัยโลก WHO (2019) ได้ให้ความหมายการพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง การพัฒนา ครอบคลุมท้งั ทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ ความรู้ ความเขา้ ใจ และสังคม ระหวา่ งอายุ 0-8 ปี Ocklenburg, Shpancer, Tower, and LoBue (2019) ได้ให้ความหมายพัฒนาการเด็ก หมายถึง การเปล่ียนแปลงทางร่างกายและจิตใจอย่างรวดเร็วท่ีเด็กได้รับตั้งแต่แรกเกิดถึงวัยรุ่น กระบวนการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดจากการรับรู้ทางประสาทสัมผัสและทักษะการเคลื่อนไหวส่งผล ต่อความสามารถทางภาษาและความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ซึ่งได้รับอิทธิพลอย่าง มากจากพันธกุ รรม สภาพแวดลอ้ ม และทักษะการเรียนรขู้ องเดก็ กล่าวโดยสรุป ความหมายของพัฒนาการเด็ก คือ หมายถึง กระบวนการท่ีมนุษย์ เปลี่ยนแปลงลักษณะและพฤติกรรมและประสิทธิภาพของการทาหน้าท่ีต่าง ๆ ต้ังแต่ทารก จนถึงวัยผู้ใหญ่ ซ่ึงการเจริญเติบโตและการพัฒนามีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคม โดยทาหน้าท่ีให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สามารถทาส่ิงที่ยาก และ ซบั ซอ้ นข้ึนได้ ซึ่งการพฒั นาและการเจริญเติบโตน้ี ได้รับอิทธิพลจากพันธุกรรม สภาพแวดล้อม และทกั ษะการเรียนรู้ของเด็ก ลักษณะของเดก็ เล็ก การเจริญเติบโตของเด็กทางด้านร่างกาย อวัยวะ หน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ และพฤติกรรมท่ี ปรากฏข้ึน เป็นรูปแบบที่แน่นอนและเกิดขึ้นเป็นลาดับขั้นตอน ประสบการณ์และสภาพแวดล้อมถือ เป็นองค์ประกอบรองที่ช่วยต่อเติมเสริมพัฒนาการต่าง ๆ พันธุกรรมจะเป็นตัวกาหนดวุฒิภาวะ ซึ่ง เด็กแต่ละคนมีมาต้ังแต่กาเนิด เป็นสิ่งสาคัญท่ีให้เด็กแต่ละวัยมีความพร้อมทาส่ิงต่าง ๆ ได้ (Gesell, 1880-1961) โดยแบง่ ออกเป็น 4 ด้านดังน้ี 1. พัฒนาการทางด้านร่างกาย (Physical Development) เป็นการเปล่ียนแปลงของร่างกาย มกี ารเปล่ียนแปลงขนาดรูปร่าง และวุฒิภาวะทางกายภาพของร่างกาย รวมถึงความสามารถทางกายภาพ และการประสานการทางานของอวัยวะส่วนต่าง ๆ 2. พัฒนาการทางด้านอารมณ์ (Emotional Development) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางด้านความร้สู ึกและการตอบสนองทางอารมณต์ ่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ในรปู แบบท่ีเหมาะสม 3. พัฒนาการทางด้านสังคม (Social Development) เป็นกระบวนการได้รับความรู้และ ทักษะท่จี าเปน็ ต่อการปรบั ตัวทางด้านสังคมและการสร้างความสมั พันธ์ระหว่างบุคคล

10 4. พัฒนาการทางด้านสติปัญญา (Intellectual Development) เป็นการเปลี่ยนแปลงทาง สติปัญญา ความคิด การใช้ภาษา ความสามารถในการให้เหตุผลแก้ปัญหาและจัดระเบียบความคิด ซ่งึ เก่ยี วข้องกบั การเติบโตทางกายภาพของสมอง  เด็กเล็กวยั อนุบาล (อายุ 3-6 ปี) Freud (1856-1939) ได้ให้ความสาคัญของเด็กวัย 5 ขวบแรกของชีวิต ว่าเป็นวัยที่สาคัญ ที่สุด วัยนี้เป็นรากฐานของพัฒนาการด้านบุคลิกภาพ เด็กแต่ละคนจะมีบุคลิกภาพอย่างไรข้ึนอยู่กับ การเปล่ียนแปลงชีวภาพของร่างกาย โดยร่างกายจะเปล่ยี นแปลงบริเวณแห่งความพึงพอใจเป็นระยะ ๆ ในช่วงอายุต่าง ๆ กัน และถ้าบริเวณแห่งความพึงพอใจต่าง ๆ นี้ได้รับการตอบสนองเต็มท่ี เด็กจะมี พัฒนาการท่ีดีและสมบูรณ์ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าไม่ได้รับการตอบสนองเต็มที่ก็จะทาให้เกิดการ สะสมปัญหาและแสดงออกเมื่อเดก็ โตขึ้น พฒั นาการทางด้านร่างกาย (Physical Development) โดยทั่วไป เด็กชายจะมีรูปร่างโตกว่าเด็กผู้หญิง แต่เด็กหญิงมีความก้าวหน้าทางพัฒนาการ ทางด้านร่างกายมากกว่าทุกด้าน เด็กวัยนี้มีความก้าวหน้าทางด้านรูปร่าง ทั้งกล้ามเน้ือ และกระดูก มาก สามารถท่ีจะเดินได้อย่างคล่องแคล่ว ว่ิงและกระโดดได้ ทาให้เด็กวัยน้ีจะไม่ค่อยอยู่น่ิง ความสัมพันธ์ระหว่างตาและมือ ยังไม่สมบูรณ์ เด็กวัยนี้ยังมีความลาบากในการที่จะใช้สายตามองสิ่ง หน่ึงอย่างต้ังใจ กล้ามเน้ือมัดใหญ่มีความก้าวหน้ามากกว่าพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก การพัฒนา ทางด้านร่างกายทั่วไปของเด็กวัยน้ีไม่ได้หมายความว่าเด็กทุกคนจะพัฒนาตามรูปแบบน้ี ขึ้นอยู่กับ ความแตกต่างระหว่างบุคคล เด็กบางคนช้า บางคนเร็ว การพัฒนาทางร่างกายจะเป็นเครื่องชี้ความ พรอ้ มของเด็กในการอ่านเขยี นดว้ ย พฒั นาการทางด้านอารมณ์ (Emotional Development) อารมณ์ถือได้ว่ามีบทบาทสาคัญต่อชีวิตของเด็กทุกคน วัยเด็กเล็กถือเป็นระยะวิกฤตของ พัฒนาการทางด้านอารมณ์ การส่งเสริม และช่วยให้เด็กมีความสุข เบิกบานจะเป็นรากฐานสาคัญใน การปรับตัวเวลาท่ีเป็นผู้ใหญ่ อารมณ์ของเด็กวัยนี้มักจะเป็นไปอย่างเปิดเผย การแสดงอารมณ์ของ เด็กมักจะเกิดข้ึน อย่างกะทันหัน แต่มักจะเปลี่ยนได้ง่าย อารมณ์ของเด็กวัยน้ีท่ีพบโดยทั่วไปก็คือ

11 ความกลวั ความวิตกกังวล ความโกรธ ความอิจฉาริษยา เด็กวัยนี้ยังไมม่ ีการควบคุมอารมณ์ และมกั จะ เผชิญกับปัญหาเกี่ยวกับการควบคุม ความกลัวของเด็กวัยนี้ อาจจะเกิดจากจินตนาการ นอกจากน้ี เด็กจะมีความวิตกกังวลและความคับข้องใจเกี่ยวกับการทาอะไรไม่ได้สมดังปรารถนา เพราะขาด ทักษะทงั้ ทางด้านร่างกายและสติปญั ญา พฒั นาการทางด้านสงั คม (Social Development) Erikson(1968) เรียกเด็กวัยน้ีว่า เป็นวัยแห่งการรู้สึกผิด เป็นวัยที่เต็มไปด้วยพลังงานที่จะเร่ิม งาน มีความคิดริเร่ิมท่ีจะทาสิ่งใหม่ ๆ ชอบประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเองอย่างอิสระควรจะ พยายามช่วยเหลือและสนับสนุนมากกว่าดุหรือห้าม เพราะการดุและห้ามอาจจะทาให้เด็กมีความ ขดั แย้งในใจและร้สู ึกผิด ในระยะสุดท้ายของวัยอนุบาล เด็กชายและหญิงจะเร่ิมแสดงพฤติกรรมที่บ่ง ถึงความแตกต่างระหว่างเพศ เด็กชายจะทาตนเหมือน “ผู้ชาย” เด็กหญิงจะทาตนเหมือน “ผู้หญิง” การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่และเพื่อนร่วมวัยในระยะแรกของวัยอนุบาล เด็กมักจะชอบเล่นคน เดียว แต่เมื่อโตขึ้นจะมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนมากข้ึน จะมีการร่วมมือเป็นมิตร และมีความเข้าใจใน ความรู้สึกของเพื่อนเพิ่มขึ้น นอกจากน้ี Bandura (1986) เด็กวัยน้ีจะเลียนแบบจากตัวแบบโดยการ สังเกตพฤติกรรมจากตัวแบบ การเรียนรู้จึงเกิดข้ึน พัฒนาการสังคมของเด็กจึงข้ึนอยู่กับการอบรม เลี้ยงดู บางครอบครัวมักจะสนับสนุนและให้แรงเสริมพฤติกรรมของเด็กท่ีเรียบร้อยและเงียบ บางครอบครัวให้แรงเสริมพฤติกรรมที่ค่อนข้างก้าวร้าว แต่ที่สาคัญท่ีสุดก็คือ ความรักและความ อบอุ่นท่ีเด็กได้รับจากพ่อแม่ ทาให้เด็กกล้าท่ีจะมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ตัวแบบในส่ิงแวดล้อมรอบตัว เด็ก เช่น บิดา มารดา ผู้สอน และเพื่อนร่วมวัย รวมทั้งส่ิงท่ีเห็นจากโทรทัศน์ จะมีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมของเด็กวัยน้ีมาก ดังน้ันเด็กวัยน้ีควรจะได้รับการเรียนรู้โดยการสังเกตเกี่ยวกับพฤติกรรม เสริมสร้างสังคมดา้ นตา่ ง ๆ พฒั นาการทางด้านสตปิ ัญญา (Intellectual Development) Piaget (1970) ได้กล่าวถึงพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาโดยท่ัวไปของเด็กวัยอนุบาลว่า เด็กวัยน้ีเป็นวัยที่สามารถใช้สัญลักษณ์แทนส่ิงของ วัตถุ และสถานท่ีได้ สามารถใช้ภาษาอธิบายส่ิง ต่าง ๆ และบอกเล่าเร่ืองราว ประสบการณ์ของตนเองได้ รวมท้ังมีการสร้างจินตนาการและการ ประดิษฐ์ แต่บางคร้ังเด็กอาจจะไม่สามารถแยกส่ิงที่ตนเองสร้างจินตนาการจากความจริง นอกจากน้ี เวลาท่ีทาอะไรจะมีความต้ังใจทีละอย่าง ยังไม่มีความสามารถที่จะพิจารณาหลาย ๆ อย่างปนกัน อีก ทง้ั ยงั ไม่มีความสามารถในการจัดลาดับ เวลาจะตัดสนิ ใจทาอะไรขึน้ อยกู่ ับการรับรู้ยังไม่รู้จักเหตุผล

12  เดก็ วยั ประถมศกึ ษา (อายุ 6-12 ป)ี พัฒนาการทางด้านร่างกาย (Physical Development) การเจริญเติบโตทางร่างกายของเด็กวัยน้ีจะช้ากว่าเด็กวัยอนุบาล โดยทั่วไปเด็กจะมีรูปร่างสูง และค่อนข้างจะผอมลงกว่าวัยอนุบาล ช่วงอายุ 6-7 ปี เด็กชายและเด็กหญิงจะมีขนาดเท่า ๆ กัน ท้ังน้าหนักและส่วนสูง พออายุระหว่าง 9 – 10 ปี เด็กชายจะโตกว่าเด็กหญิง แต่ตอนหลังระหว่างอายุ 12-13 ปี เด็กหญิงจะโตกว่าเด็กชาย พัฒนาการของกล้ามเน้ือกระดูก และระบบประสาทจะเพ่ิมขึ้น เดก็ ชายมพี ัฒนาการของกล้ามเน้อื เร็วกวา่ เด็กหญิง การใช้ทักษะของการเคลือ่ นไหวเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ ใหญ่ ๆ ใช้การได้ดี เมื่ออายุประมาณ 7 ปี การใช้และบังคับกล้ามเนื้อต่าง ๆ ทั้งใหญ่และย่อยจะดีขึ้น มาก และสามารถท่ีจะประสานกันได้ดี ทาให้เด็กวัยนี้สนุกในการลองความสามารถในการกระโดดสูง กระโดดระยะทางไกล ๆ กระโดดเชือก เตะฟุตบอล โยนฟุตบอล และป่ันจักรยาน รวมทั้งเด็กวัยน้ี พยายามที่จะฝึกทักษะทางการเคลื่อนไหว การประสานระหว่างมือและตาของเด็กวัยนี้จะดีข้ึน กว่า เด็กอนุบาลสามารถที่จะอ่าน เขยี น และวาดรปู ไดด้ ีขึ้น พัฒนาการทางด้านอารมณ์และจติ ใจ (Emotional Development) เด็กวัยนี้เป็นวัยท่ีเต็มไปด้วยความร่าเริง เบิกบาน เด็กจะสนุกสนานในการเล่น แต่เด็กวัยน้ีจะ รจู้ ัดควบคุมอารมณ์ไดด้ ีข้ึน แต่เด็กบางคนยังมีความกลัว เช่น กลวั สัตว์ กลัวความมืด กลัวท่ีสูง กลัว ฟ้าผ่า ฟ้าร้อง แต่ส่ิงท่ีเด็กวัยนี้กลัวที่สุดก็คือ กลัวว่าจะถูกล้อ เพราะแตกต่างกับเพ่ือนนอกจากความ กลัว เด็กวัยนี้ยังมีความวิตกกังวลมากอาจจะแสดงพฤติกรรมที่แตกต่างกัน บางคนอาจจะซึม ไม่ตั้งใจ เรียน นอนหลับในห้องเรียน บางคนอาจแสดงออกโดยการไม่อยู่น่ิง มีอารมณ์ เปล่ียนแปลงง่าย หรือ แสดงพฤติกรรมท่ีทาความแปลกใจให้แก่คนอ่ืน เด็กวัยนี้เวลาท่ีมีอารมณ์โกรธอาจจะมีต่อสู้กันทาง ร่างกาย หรืออาจจะใช้คาพูดไม่เหมาะสมหรือบางคร้ังอาจจะไม่พูดกับคนที่ทาให้โกรธ การแสดงออก อารมณ์โกรธจะแตกต่างกันในเด็กผู้หญงิ และเด็กผู้ชาย พัฒนาการทางด้านสังคม (Social Development) เด็กวัยประถมศึกษาเป็นวัยท่ีเริ่มที่จะใช้เวลาส่วนมากอยู่กับเพื่อนร่วมวัย และเร่ิมเรียนรู้ท่ีจะ ให้ความร่วมมือ รู้จักให้และรับ เด็กจะเลียนแบบพฤติกรรมต่าง ๆ จากเพื่อน เพ่ือนจะมีความสาคัญ และมอี ิทธพิ ลต่อพฤติกรรมทัศนคติและค่านิยมของเดก็ วัยนี้ ดังนั้นปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนจึงสาคัญ มาก เด็กวัยนี้จะมีสังคมพิเศษเฉพาะของเด็ก เด็กมักจะรวมกลุ่มตามเพศ การเล่นเกมต่าง ๆ ก็มักจะ

13 แบ่งตามเพศ เด็กวัยน้ีจะรู้จักว่าอะไรผิดอะไรถูก โดยใช้มาตรฐานของผู้ใหญ่เป็นเกณฑ์ นอกจากนี้ การมเี พ่อื นสนทิ กส็ าคัญสาหรับเด็กวัยนี้ เด็กทสี่ ามารถปรบั ตัวให้เขา้ กบั เพ่ือน ๆ ในวัยนจ้ี ะไมม่ ีปัญหา ในการปรับตัวเวลาท่ีเป็นผู้ใหญ่ พฒั นาการทางด้านสตปิ ญั ญา (Intellectual Development) วัยนี้เด็กชายมีความสามารถคิดเหตุผลเชิงตรรกได้ รับรู้สิ่งแวดล้อมได้ตามความเป็นจริง พิจารณา เปรียบเทียบโดยใช้เกณฑ์หลาย ๆ อย่าง โดยเฉพาะในการจัดของเป็นกลุ่ม พัฒนาการ ทางด้านภาษาและการใช้สัญลักษณ์เจริญก้าวหน้ามาก เด็กจะเริ่มเข้าใจกฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ อย่างมีเหตุผล และเข้าใจความหมายของบทเรียนท้ังทางคณิตศาสตร์ ภาษาและการอ่าน มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับ สงิ่ แวดลอ้ มและสามารถอธิบายได้ เด็กวัยนี้มักจะสนใจ คาโคลงหรอื กลอน ที่สอดคล้องกัน หรือปัญหา ตา่ ง ๆ ที่จะต้องแกด้ ้วยความคดิ เหตุผล ถ้าแกไ้ ด้กจ็ ะมคี วามภูมใิ จ กล่าวโดยสรุป ลักษณะของเด็ก ในที่น้ีจะแบ่งออกเป็น 2 ช่วงวัย คือ 1.เด็กเล็กวัยอนุบาล มีอายุ 3-6 ปี 2.เด็กวัยประถมศึกษา มีอายุ 6-12 ปี โดยทั้ง 2 ช่วงวัย จะประกอบด้วยพัฒนาการ ท้ังหมด 4 ด้าน คือ 1. พัฒนาการทางด้านร่างกาย (Physical Development) 2. พัฒนาการ ทางด้านอารมณ์และจิตใจ (Emotional Development) พัฒนาการทางด้านสังคม (Social Development) พัฒนาการทางด้านสติปัญญา (Intellectual Development) พัฒนาการทั้ง 4 ด้านจะพัฒนาได้ด้วยการมีประสบการณ์และการอยู่กับสภาพแวดล้อมถือท่ีดี ซ่ึงจะช่วยส่งเสริม ใหม้ ีพัฒนาการทดี่ ตี ามไปดว้ ย

14 งานวจิ ัยท่เี ก่ยี วข้องกับพัฒนาการของเดก็ ปฐมวัยและประถมศึกษาตอนตน้ พัชร พรหมภักดี (2548) วิจัยเร่ือง การวิเคราะห์บทบาทของรายการ \"สู้เพ่ือแม่\" ในการ ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กและสถาบันครอบครัว ผลการวิจัยพบว่า ส่วนของเนื้อหา เกม มีเกมที่นาเสนอในรายการ \"สู้เพ่ือแม\"่ ชว่ ยส่งเสรมิ พัฒนาการทั้ง 4 ดา้ นของเด็กผู้เข้าแข่งขัน ไดแ้ ก่ พัฒนาการทางด้านร่างกาย พัฒนาการทาง ด้านสติปัญญา พัฒนาการทางด้านอารมณ์และ บุคลิกภาพ และพัฒนาการทางดา้ นสงั คม ศศิวิมล เชื่อมชิต (2552) วิจัยเรื่อง การส่งเสรมิ พฒั นาการของเด็กเลก็ ผ่านการเล่นและการแสดง ผลการวิจัยพบว่า การแสดงสามารถนามาบูรณาการกับรูปแบบกิจกรรมการเล่น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ ของเด็กเล็กได้ โดยการเล่นและการแสดงสามารถส่งเสริมพัฒนาการต่าง ๆ ของเด็กได้ดังน้ี 1) พัฒนาการด้านร่างกาย เด็ก ๆ ได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเน้ือมัดเล็กในระหว่างการเล่น กิจกรรม และเกิดความเชื่อในส่ิงท่ีกาลังสมมุติอยู่ทาให้พยายามทากิจกรรมและเคลื่อนไหวร่างกายด้วย ตัวเอง 2) พัฒนาการทางด้านสติปัญญา เด็ก ๆ ได้เรียนรู้ลักษณะและลาดับความสัมพันธ์ของสิ่งที่อยู่ รอบ ๆ ตัว เกิดการคิดอย่างเป็นระบบ เรียงลาดับเหตุการณ์อย่างเป็นเหตุและเป็นผลได้อย่างต่อเน่ือง 3) พัฒนาการทางด้านภาษา เด็ก ๆ ได้เรียนรู้คาศัพท์ใหม่ ๆ ทั้งไทยและภาษาอังกฤษ การเล่นและการ แสดงบทบาทสมมติยังกระตุ้นให้เกิดกระบวนการสื่อสาร เด็กๆ กล้าโต้ตอบด้วยการพูดและท่าทางมาก ขน้ึ 4)พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคม เดก็ ๆ ไดเ้ รียนรู้จกั พื้นฐานในการเข้าสังคม เชน่ การรอคอย การ เข้าคิว การชว่ ยเหลอื และแบ่งปันผู้อืน่ และจากการวเิ คราะห์ข้อมูล พบว่า การสง่ เสริมพฒั นาการของเด็ก เล็ก ผ่านการเล่นและการแสดงสามารถส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาได้มากที่สุด รองลงมาเป็น พัฒนาการทางด้านอารมณ์และสังคม พัฒนาการทางด้านภาษา พัฒนาการทางด้านร่างกาย ตามลาดับ ซงึ่ การพัฒนาการท้งั ส่ีด้านนี้จะเป็นส่วนสาคัญให้กับเด็ก ในการเตรียมพร้อมท่จี ะกา้ วเข้าสู่โลกหรือสังคม ภายนอกไดเ้ ปน็ อย่างดี นิธิภัทร กมลสุข (2557) ทาการวิจัยเรื่อง เตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สู่เด็ก ปฐมวัย ผลการวิจัยพบว่า ความสาคัญในพัฒนาการเพ่ือใหเขาใจธรรมชาติของเด็กในวัยนี้ ท่ีกอใหเกิดแนวทางการสงเสริมพัฒนาการ ท้ัง 4 ดาน คือดานรางกาย อารมณ สังคมและสติ ปญญา ตลอดจนการสงเสริมใหเด็กมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักถึงหนาท่ีความรับผิดชอบ มีจิต อาสา มีจิตใจที่ดีงามรูจักการรอคอย มีการเอื้อเฟอแบงปน อันกอใหเกิดความสามัคคีในหมูคณะ

15 ซึ่งผลจากการท่ีในแตละชวงวัยมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว พอแมควรรีบสงเสริมสนับสนุนให เด็กมีพัฒนาการที่ดตี ั้งแตใน ชวงวัยน้ี โดยใชปจจัยท้ัง 5 ประการ คือ อาหาร การดูแลใหความรัก เอาใจใส การเลนท่ีสมวัย การใชภาษาและส่ิงแวดลอม ที่ทุกปจจัยลวนมีสวนชวยสงเสริม พัฒนาการทุกดานของเด็ก ท้ังด้านการเคลื่อนไหว ความคิดสร้างสรรค ความรับผิดชอบใน ชีวติ ประจาวนั การเขา้ สงั คมและด้านภาษา สริ ินทร ลัดดากลม บุญเชิดชู (2558) ทาการวิจยั เรอ่ื ง STEM TO STEAM PLUS STREAM AND STEMM ในการจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ผลการวิจัยพบว่า การส่ือสารการ นาแนวคิดSTEM มาใชในการจัดประสบการณระดับปฐมวัย ควรเปนรูปแบบ STEM TO STEAM PLUS STREAM AND STEMM โดยใชหลัก Triple P Plus P ประกอบดวย 1) Plearn - Based Classroom (ห องเรียนท่ีแสนเพลิดเพลิน) 2) Project - Based Learning (การเรียนรูทใี่ ชโครงการเปนฐาน) 3) Problem - Based Learning (การเรียนรูท่ีใชปญหาเปนฐาน) ผนวกกบั Professional – Based Teaching (การจัด ประสบการณการเรียนรูอยางผู้สอนมืออาชีพ) ผ่านการจัดหลักสูตรท่ีผสานกับกิจกรรมประจาวันตาม หลักสูตร ก่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างสมดุลและมีความหมาย นาไปสูการพัฒนาเด็กใหมีทักษะการเรียนรู ในการศึกษาระดบั ท่ีสูงขึ้นและการดารงชีวิตตอไป สุวรรณี สร้อยเสนา และสิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2559) ทาการวิจัยเร่ือง ผลการจัด กิจกรรมเคลอื่ นไหวเชิงพิลาทีสท่มี ีต่อพฒั นาการดา้ นรา่ งกายของเด็กปฐมวัย ผลการวจิ ยั พบว่า เด็ก ปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมเคล่ือนไหวเชิงพิลาทีสก่อนและหลังการทดลอง มีระดับคะแนน พัฒนาการด้านร่างกายแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ p<.01 ทั้งโดยรวมและ รายทักษะ คือ ทักษะการเดิน ทักษะการยืน ทักษะการกระโดด โดยการจัดกิจกรรมเคล่ือนไหว เชิงพิลาทีสส่งผลต่อพัฒนาการด้านร่างกายโดยรวมร้อยละ 79 และรายทักษะคือ ทักษะการเดิน ร้อยละ 73 ทักษะการยืนรอ้ ยละ 80 และทกั ษะการกระโดดร้อยละ 85 ตามลาดับ แสดงว่าการจัด กิจกรรมเคล่ือนไหวเชิงพิลาทีส ช่วยให้พัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยโดยรวมและราย ทกั ษะเปล่ียนแปลงเพิ่มขึ้นอยา่ งชัดเจน ปิยนันท์ พูลโสภา (2560) ทาการวิจัยเรื่อง การพัฒนาการเล่น เพ่ือการเรียนรู้ของเด็ก ปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 ผลการวิจัยพบว่า การส่งเสริมการเล่นเพื่อเด็กปฐมวัยในศตวรรษท่ี 21

16 ผสู้ อนผูป้ กครองควรปล่อยให้เด็กได้เล่น สาหรับเด็กแล้วการเล่นเปน็ สว่ นสาคัญของชีวิตมีคณุ คา่ ต่อ การพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การเล่นช่วยส่งเสริมการทางานเป็น ทีม เป็นกลุ่ม เพ่ือความสาเรจ็ ของเป้าหมายเดียวกัน ท้ังนีเ้ ดก็ จะเรียนรู้การแบ่งปันเรยี นรู้การระวัง รักษาของเล่นร่วมกันกับเพ่ือนและเรียนรู้การเข้าสังคม การเล่นทาให้เด็กเรียนรู้การรู้จักดัดแปลง คิดยืดหยุ่น เช่นการเล่นสร้าง จากไม้บล็อกเป็นบ้าน ก้านกล้วยเป็นม้า การเล่นยังช่วยฝึกให้เด็ก เรียนรู้การรอคอย ฝึกความอดทน ซึ่งจะเป็นลักษณะนิสัยท่ีติดตัวและเป็นประโยชน์ต่อเด็กใน อนาคตการเล่นเก่ียวกับบทบาทและอาชีพต่าง ๆ ของบุคคลในชุมชน ทาให้เด็กเรียนรู้เก่ียวกับ อาชีพ รวมถึงการเรยี นรู้เกยี่ วกบั สงั คม ซ่งึ จะมีผลทาใหเ้ ด็กคิดถึงอนาคตและบทบาทของบคุ คลตา่ ง ๆ ในสังคมเพราะการเล่นทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ผา่ นประสาทสัมผัสทั้ง 5 เช่น การเล่นทราย การ วาดภาพ การเลน่ สีนา้ จะทาใหเ้ ขาไดพ้ ัฒนากลา้ มเนื้อได้ฝกึ การจาแนก การสังเกต และที่สาคญั คือ เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ให้เด็กได้ทากิจกรรมกลางแจ้งที่อาจต้องอยู่ กลางแดดลม เช่น เล่นเคร่ืองเล่นสนาม การขี่จักรยาน ซ่ึงเป็นกิจกรรมที่จะทาให้เด็กได้ฝึกทักษะ ทั้งทางการมองเห็น การคิดตัดสินใจ และได้ฝึกการทรงตัว ส่ิงสาคัญถัดมาผู้สอนผู้ปกครองควร สื่อสารกับเด็ก สอนให้เดก็ มีสติมีสมาธิในการฟัง โดยการเงยี บและต้ังใจฟังสิ่งทีไ่ ด้ยิน หรือการสอน ให้ลกู ฟงั เพลงเพียงอยา่ งเดยี ว โดยไม่ทากิจกรรมอืน่ ควบคไู่ ปดว้ ย นอกจากน้ีเม่ือลูกสามารถฟังได้แล้ว ผู้สอน ผู้ปกครองควรให้โอกาสเด็กได้พูด ส่ือความรู้สึก ของตนเองออกมาด้วยซ่ึงน่ันจะช่วยสอนการส่ือสารของเด็ก ท่ีจะพยายามบอกให้ถึงความรู้สึกและ ความต้องการของตนเอง ยิ่งไปกว่าน้ันเด็กยังได้เรียนรู้มารยาทและจริยธรรมเบื้องต้น ซึ่งคือเร่ืองของ การให้เกียรติกันในการรับฟังสิ่งท่ีผู้อื่นพูด และผู้อ่ืนก็ต้องฟังเราพูด ผู้สอน ผู้ปกครองควรต้ังคาถาม เพิ่มเติมให้แก่เด็กเพื่อฝึกทักษะทางการคิดวิเคราะห์ ควรต้ังคาถามแบบปลายเปิด ต้ังคาถามเกี่ยวกับ สิ่งที่เด็กเห็นหรือส่ิงท่ีเด็กเล่นและทากิจกรรมหรือตั้งคาถามเกี่ยวกับเพลง เมื่อเด็กเข้าใจในการท่ีจะ สื่อสารแล้วสิ่งสาคัญถัดมาผู้สอนและผู้ปกครองควรสอนเด็กเก่ียวกับวัฒนธรรมประเพณีและปลูกฝัง จิตสานึกที่ดีงามให้กับเด็ก เพราะเป็นเร่ืองท่ีสาคัญที่เด็กยุคปัจจุบันขาดไปคือ เร่ืองของวัฒนธรรม มารยาททางสังคม และจิตสานึก ส่ิงเหล่านี้เป็นส่ิงที่จะต้องเร่ิมปลูกฝังตั้งแต่วัยเด็กเพื่อให้ติดตัวของ พวกเขาไปเม่ือโตขึ้น ดังนั้นพ่อแม่ไม่ควรเพกิ เฉยต่อส่ิงเหล่านี้ สอนให้รู้จกั ขอบคุณ ขอโทษ และสอน ให้เห็นใจผู้อื่น ตักเตือนและบอกเหตุผลเมื่อเขาทาผิดเพื่อให้ลูกเข้าใจและไม่ทาอย่างนั้นอีก ทั้งนี้การ ควรปลูกฝังควรเริ่มสร้างระเบียบ ข้อตกลง เง่ือนไข อย่างง่าย ๆ ในเบื้องต้น เพื่อให้เด็กเรียนรู้ในการ ปรับตัวที่ต้องทาตามข้อตกลง หรือเงื่อนไข วัยเด็กไม่ใช่แค่เล่นเพียงอย่างเดียวแต่เด็ก ๆ จะต้องเริ่ม

17 หัดที่จะใช้ชีวิตอย่างมีระบบระเบียบบ้าง รวมไปถึงการเริ่มฝึกเรื่องระเบียบวินัย เพื่อเป็นการเรียนรู้ที่ จะจัดการชีวิตอย่างเป็นข้ันตอน การเรียนรู้ท่ีจะปฏิบัติตามกฎ ซึ่งต่อไปจะทาให้พวกเขาสามารถทา ตามกฎหมายและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้ ผู้ปกครองควรควบคุมการใช้สื่อและเทคโนโลยี รวมไป ถึงอุปกรณ์และเทคโนโลยีเป็นส่ิงที่เข้าถึงง่าย ทั้งโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตและอินเตอร์เน็ต ส่ิงเหล่าน้ี มีทั้งข้อดีและข้อเสีย เม่ือหากจาเป็นต้องใช้ควรมีการเลือกเกมท่ีเหมาะสมกับการพัฒนาสมองและ ทักษะของเด็กมีการจากัดการใช้ให้เหมาะสมเพื่อไม่ให้มีปัญหากับสายตา พ่อแม่เองก็จะควรเป็น ตัวอย่างในการใช้เทคโนโลยีเหล่าน้ีด้วย โดยไม่ใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีเหล่าน้ีตลอดเวลา เช่น ไม่ เล่นหรือใช้งานในเวลาทานข้าว หรือทาการบ้าน ดังน้ันพวกเขาควรจะต้องได้รับการฝึกให้ช่วยเหลือ ตัวเอง ได้ลองตัดสินใจอะไรเองบ้างเพราะจะทาให้พวกเขาได้ฝึกทักษะในการคิดวิเคราะห์ และการ ตัดสินใจ ซึ่งอาจนาไปสู่ทักษะการเป็นผู้นาหรอื ทักษะอ่ืน ๆ เช่น การเลือกของเล่น การเลือกสีท่ีชอบ หรือการอดทนรอ ลองให้เด็กคิดหาวิธีการผ่านอุปสรรคบางอย่างเองบ้าง เพราะการเรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์จะเกิดข้นึ หลงั จากทพ่ี วกเขาไดใ้ ช้ความคดิ ในการตดั สนิ ใจ กัญชพร ตันทอง (2560) ทาการวิจัยเร่ือง การเต้นบัลเล่ต์เพ่ือพัฒนาและเสริมสร้าง บุคลิกภาพสาหรับเด็กปฐมวัย กรณีศึกษา สถาบันดนตรีเคพีเอ็น เซ็นทรัลแจ้งวัฒนะ ผลการวิจยั พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างมีพัฒนาการด้านเสริมสร้างบุคลิกภาพ เสริมสร้างกล้ามเน้ือ สมรรถนะทางร่างกาย จิตใจ และทักษะ สังคม เพ่ิมขึ้น คิดเป็น 2.42, 2.51, 2.12, 2.67 และ 2.43 เท่า ตามลาดับ และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายของ ทักษะทั้ง 5 ด้าน ลดลงจากชว่ ง 21-33 เปอร์เซ็นต์ เหลือช่วง 4-7 เปอร์เซ็นต์ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการเต้นบัลเล่ต์ ช่วยเสริมสร้างทักษะและบุคลิกภาพให้กับผู้เรียนและหลักสูตร The Royal Academy of Dance ใน ระ ดั บ Grade Pre-Primary in dance แ ล ะ Grade Primary in dance ส าม ารถ น าม า ประยุกต์ใชใ้ นการเรียนการสอนสาหรับเดก็ ปฐมวัยได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ อรุณี หรดาล (2560) ทาการวิจัยเร่ือง พัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย: แนวทางการส่งเสริม และพัฒนา ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมและพัฒนาด้านร่างกายให้แก่เด็ก ปฐมวัย ได้แก่ 1) การจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2) การจัดประสบการณ์ท่ีคานึงถึงความ ปลอดภัยของเด็ก 3) การจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุข และ 4) การจัด ประสบการณ์แบบพ่อ แม่ ผู้ปกครอง และชุมชนมีสว่ นร่วมในการจดั ประสบการณเ์ พือ่ พัฒนาเด็กปฐมวัยด้านร่างกาย

18 กล่าวโดยสรุป งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัยและประถมศึกษา ตอนต้นจะเก่ียวข้องกับกิจกรรมการเล่น เกม และนันทนาการต่าง ๆ ท่ีช่วยในการส่งเสริม พัฒนาการของเด็ก ซ่ึงส่วนมากจะเน้นไปท่ีพัฒนาการทางด้านร่างกายผ่านการใช้กิจกรรม ตา่ ง ๆ เข้ามาช่วยในการพฒั นาเด็กใหส้ มบรู ณ์ และมีพัฒนาการทส่ี มวยั

19 บทสรุป เดก็ เลก็ ในทีน่ ี้ คอื เดก็ ท่อี ยู่ในวัยอนุบาล และวัยประถมศึกษาตอนต้น ถอื ว่าเป็นช่วงที่สาคัญ ที่สุดสาหรับการสร้างรากฐานทางสติปัญญา บุคลิกภาพ ความสามารถทางเรียนรู้ พฤติกรรมทาง สังคม และยังเป็นชว่ งเวลาทส่ี มองมพี ัฒนาการอย่างรวดเร็วท่สี ุด เด็กวัยอนุบาล จะมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย คือ เด็กต้องการการฝึกฝนกล้ามเน้ือมัด เล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่อย่างสม่าเสมอ เพ่ือให้กล้ามเน้ือเจริญเติบโต แข็งแรง เด็กเร่ิมชว่ ยเหลือ ตนเองได้ เช่น อาบน้า แต่งตัว ใส่รองเท้า พัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กเริ่มมีลักษณะ อารมณ์แบบผู้ใหญ่ คือ ดีใจ โกรธ อิจฉา กังวล ก้าวร้าว เด็กจะแสดงความโกรธด้วยการกรีดร้อง ด้ิน หรือทาร้ายตัวเอง เวลาเล่นก็จะแสดงความพอใจหรือไม่พอใจอย่างเห็นได้ชัด เมื่อได้ยินเสียง ฟ้าร้องก็จะกลัว พัฒนาการทางด้านสังคม เด็กเริ่มรู้จักการแบ่งปันส่ิงของกับเพ่ือน รู้จักเห็นใจ ผู้อ่ืน พัฒนาการด้านสติปัญญา สาหรับกิจกรรมที่เด็กในวัยปฐมวัยให้ความสนใจ คือ การวาด ภาพ เล่นตัวต่อ ร้องเพลง เต้นเข้าจังหวะ ฟังนิทาน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่พัฒนาสติปัญญา ทาให้ เกิดความสนุกสนานและยังช่วยกระตุ้นเด็กให้มีพื้นฐานของการพัฒนาโดยองค์รวมและเกิดการ เรียนรู้ชั่วชีวิต กิจกรรมท่ีออกแบบอย่างเหมาะสมและจัดโดยผู้ดูแลเด็กท่ีได้รับการฝึกฝนจะ สามารถช่วยใหเ้ ด็ก ๆ ไดร้ ับการพัฒนาและเรยี นร้ทู กั ษะที่จาเปน็ เด็กวัยประถมศึกษาตอนต้น เป็นวัยที่เริ่มเรียนหนังสือมีลักษณะอยากรู้ อยากเห็น อยาก ทดลอง อยากร่วมมือ ช่างพูด ช่างซักถาม อยากทราบเหตุผลว่าสิ่งต่าง ๆ เกิดข้ึนนั้น เกิดขึ้นได้ อย่างไร มีความสนใจมากกว่าวัยปฐมวัย เด็กหญิงจะเรียนได้ดีกว่าเด็กชายในอายุเท่ากัน พัฒนาการทางด้านร่างกาย กล้ามเนื้อและระบบประสาทจะทางานประสานกันได้ดี กล้ามเน้ือมี ความแข็งแรงทาให้ทากิจกรรมกลางแจ้งได้คล่องแคล่ว กล้ามเน้ือมัดเล็กจะเจริญเติบโตเพิ่มข้ึน ทาให้เขยี นหนังสือได้เป็นตัวอักษรไดส้ วยขน้ึ เขียนได้เร็วขึ้น สามารถทางานที่ตอ้ งใช้ความประณีต ไดเ้ พ่ิมขึ้น เชน่ การเยบ็ ผา้ การทางานฝีมือ พัฒนาการทางดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมอารมณ์ได้ดี ขึ้น เด็กจะเลิกกลัวส่ิงท่ีไม่มีตัวตน สัตว์และปรากฏการณ์ธรรมชาติ แต่จะกลัวการไม่มีเพ่ือน กลัว เรียนไม่ดี กลัวถูกว่า ถูกดุ กลัวไม่รัก พัฒนาการทางด้านสังคม เด็กในวัยนี้จะเริ่มมีการสร้าง สัมพันธภาพกับบุคคลอ่ืน มีการเรียนรู้กติกาการเล่นในกติกาสังคม เด็กวัยน้ีจะเรียนรู้และฝึกฝน กิจกรรมในการเล่นต่าง ๆ ส่วนสังคมกลุ่มเพื่อนมักจะเป็นสังคมเฉพาะเพศเดียวกัน สาหรับ พัฒนาการทางด้านสติปัญญา เด็กจะเข้าใจในส่ิงที่ตนได้รับทางประสาทสัมผัส และนาสิ่งท่ีได้ยิน

20 ได้เห็น ได้สัมผัส ได้รับรู้ มารวบรวมอยา่ งมีระบบแบบแผน รู้จักสญั ลกั ษณ์ และความหมายของส่ิง ตา่ ง ๆ รูจ้ ักการวางแผน ดัดแปลงการกระทาต่าง ๆ อย่างมีเหตผุ ล เขา้ ใจระเบียบและคาสง่ั ได้ดีข้ึน สามารถเข้าใจในภาษาเขียน ได้ดีและเร่ิมคดิ เลขในใจได้ ส่ิงสาคญั ในการดูแลเด็กสาหรับผ้ใู หญ่เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการของในเบื้องต้น คือ ผู้ใหญ่ควร ใช้เวลาอยู่กับเด็กให้มากที่สุดเพื่อที่จะสังเกตและเรียนรู้สิ่งรอบตัวที่เกิดข้ึนกับเด็กอย่างละเอียด ผู้ใหญ่ จะได้เรียนรู้ว่าเด็กมีลักษณะอย่างไร พัฒนาการอย่างไร ควรดูแลและจัดกิจกรรมเพ่ือเพ่ิมความ สนุกสนานและรอยย้ิมให้กับเด็กอย่างสม่าเสมอตลอดเวลา ซึ่งจะทาให้เด็กมีอารมณ์และจิตใจท่ีดีส่งผล ทาให้เกิดความสุขกบั ตัวเด็กอย่างยง่ั ยืน สาหรับการจัดกิจกรรมให้เด็กเล็ก จะต้องจัดกิจกรรมที่สามารถควบคุมดูแลได้อย่างท่ัวถึง เหมาะสมกับลักษณะและพัฒนาการของเด็ก และให้เด็กได้มีเวลาได้พักเป็นช่วง ๆ ในการเล่นกิจกรรม ที่สาคัญสิ่งท่ีควรจะระวังในวัยนี้คือ ศีรษะ เพราะกระดูกกะโหลกของเด็กยังอ่อน เวลาศีรษะกระทบ ของแข็งก็อาจจะเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ผู้สอนจะต้องอธิบายให้เด็กในวัยน้ีได้ฟังอันตรายที่อาจจะ เกดิ ขน้ึ กอ่ นการจัดกิจกรรมทุกคร้ัง เพอ่ื เด็กกจ็ ะไดร้ ู้จะระวงั ตนเอง ตัวอย่างกิจกรรมการเล่นที่เป็นไป ตามลกั ษณะของเด็กและส่งเสรมิ พัฒนาการมดี ังน้ี

2 กจิ กรรมการเล่นทีพ่ ัฒนาทาง จุดประสงค์กิจกรรม อุปกรณ์ ข 1. เพอ่ื พฒั นากลา้ มเน้อื มดั ใหญ่ 1. ลกู บอลยิมขนาด 55-75 1. แบ่งเดก็ อ และฝกึ การประสานสมั พนั ธ์ เซนตเิ มตร แถว ยืนฝ่งั ล ระหว่างกลา้ มเนือ้ มือและตา 2.กระสอบขนาด 1 x 1 เมตร 2. เมือ่ ได้สัญ 2. เพ่ือให้เด็กใช้มือควบคุม บอลยิมวางบ ส่ิงของไดเ้ ปน็ ระยะเวลาหน่ึงได้ พาลูกบอลไ แลว้ ไปตอ่ ท 3. เด็กทอ่ี ย เดมิ ทาไปเร 4. หากมีมา ทาครบทกุ ค ประโยชนข์ องการจัดกิจกรรม  มพี ัฒนาการทางกลา้ มเนื้อมือ แขนและขาที่ดีขน้ึ  เดก็ ได้เรยี นรู้จกั พยายาม และอดทน ในการพาบอล ไปใหถ้ งึ เป้าหมาย

21 งด้านร่างกาย / เกมขนไขไ่ ดโนเสาร์ ขน้ั ตอนการจัดกิจกรรม ข้อเสนอแนะ ออกเปน็ กลุม่ ใน 1 กลุ่มแบ่งเป็น 4 1. ให้จับคูเ่ ดก็ ที่มคี วามคลอ่ งแคลว่ ใกล้เคียงกัน ละ 2 แถว 2. หากเด็กคนใดเล่นไม่ได้ ให้ผู้สอนให้คาแนะนา ญญาณเริ่มเลน่ ใหเ้ ดก็ หยบิ ลูก และเดินประกบระหว่างการเล่นเพ่ือเป็นการให้ บนกระสอบแล้วจับกระสอบยกข้ึน กาลงั ใจและชว่ ยเหลือ ไปวางให้เพ่อื นท่ียืนอยู่ฝง่ั ตรงข้าม 3. กจิ กรรมนีช้ ่วยส่งเสรมิ พัฒนาการด้านกล้ามเนอื้ มือ ท้ายแถว กล้ามเน้ือแขน ขา ในเดก็ และการทางานประสานกัน ยู่ฝ่ังตรงข้ามพาลูกบอลกลับไปที่ ระหว่างอวัยวะตา มือ และความแข็งแรงของร่างกาย รื่อย ๆ จนครบทุกคน 4. กจิ กรรมนเ้ี ปน็ กิจกรรมกลางแจ้งหรอื กิจกรรม ากกว่า 1 กลมุ่ ให้แข่งขนั กลุ่มใด ในร่มกไ็ ด้ สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมเสรี คนก่อน เป็นผู้ชนะ ซึ่งจะเล่นเปน็ กลุ่มย่อย กลมุ่ ใหญ่ หรือแข่งขันกนั ก็ ได้

2  ไดค้ วามสามคั คี การชว่ ยเห กิจกรรมการแขง่ ขันกฬี าสี ปกี ารศกึ ษา 2561 ท่มี า: เวบ็ ไซตโ์ รงเรียนสาธติ จุฬาฯ ฝา่ ยประถม, 2561

22 หลอื กัน การให้อภยั กนั และกนั

2 กจิ กรรมการเลน่ ท่ีพัฒนาทางการเคล จุดประสงค์กิจกรรม อุปกรณ์ 1. เพื่อฝึกความคล่องแคล่ว 1. เชื อกหรือผ้ าที่ มี ความ 1. จัดเด็กออก ว่องไว ยาว 1 ฟุต จานวนชิ้นเท่ากับ (เชอื ก) คนละ 1 2. เพ่ื อ ฝึ ก ก ารป ระ ส าน จานวนเด็ก 2. เมื่อผู้สอนให สัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือ 2. นาฬกิ าจบั เวลา เหน็บไว้ท่ีเอวขอ ขาและตา ในเวลาท่ีกาหน รวมกัน กลุ่มใดไ 3. เดก็ ที่ถกู ดงึ ห ประโยชน์ของการจัดกิจกรรม  กล้ามเน้ือจะมีความแขง็ แรง และอดทน  เด็กไดร้ ูจ้ ักความพยายาม โดยใช้ความคล่องแคล่ววอ่ งไว ในการหลบหลีกเข้าไปดงึ เชือก และหนไี ม่ใหถ้ ูกดึง กิจกรรมการแข่งขนั กีฬาสี ปกี ารศกึ ษา 2561 ท่ีมา: เว็บไซต์โรงเรยี นสาธติ จฬุ าฯ ฝ่ายประถม, 2561

23 ล่อื นไหวสาหรับเดก็ เลก็ / เกมดึงหาง ขนั้ ตอนการจัดกิจกรรม ข้อเสนอแนะ กเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละเท่า ๆ กัน และแจกหาง 1.ควรตรวจสอบการเหน็บเชือกที่เอว 1 เส้น เด็กยนื คนละฝั่ง ของทกุ คน ใหอ้ ยใู่ นบริเวณทีต่ กลงกนั ห้สัญญาณเริ่มเล่น ให้ทั้งสองกลุ่มไปดึงเชือกที่ 2. ใช้กิจกรรมน้ีกระตุ้นพัฒนาการด้าน องฝ่ายตรงข้าม ดึงให้ได้จานวนชิ้นมากที่สุด รา่ งกายในเรื่องความคล่องแคล่ววอ่ งไว นด เม่ือหมดเวลาให้แต่ละกลุ่มนาเชือกมานับ 3. กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมกลางแจ้ง ควร ได้เชอื กจานวนมากสุด เปน็ ผู้ชนะ เล่นบนสนามหญ้าท่ีมีบริเวณกว้าง หางไปแล้วยังเล่นได้ตอ่ จนกว่าจะหมดเวลา

2 กจิ กรรมการเล่นทสี่ อดคล้องกับการเคล จุดประสงค์กิจกรรม อุปกรณ์ ขน้ั 1. เพ่ือให้เด็กมีความคิดรวบ 1. ไข่พลาสติก หลากสี 1. แบ่งเด็กออ ยอดในเรอื่ งจานวนหรือตัวเลข 2. กะละมัง หรือสระน้าเป่า แจกที่ช้อนไขค่ น 2. เพื่อฝึกการประสานสัมพนั ธ์ ลม ขนาด 1.5 x 1.5 เมตร 2. เมื่อผู้สอนให ระหวา่ งกล้ามเน้อื มอื และตา 3. ถังน้าสาหรับใส่ไข่พลาสติก กลุ่มไปตักไข่ โด 3. เพ่ือให้เด็กรู้จักค่าจานวน ท่ีเด็กตกั มาได้ เทา่ จานวนกลุ่ม 2 ตักไข่สีแดง ค นบั สามารถนบั เลข 1-100 ได้ 4. ท่ชี ้อนไข่ เท่ากับจานวนเด็ก น้ากลุ่มของตน กาหนด เม่ือหม ของตนเอง กลุ่ม ประโยชน์ของการจดั กิจกรรม  เดก็ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับสี และจานวน  เดก็ มีกล้ามเนื้อมอื ทีแ่ ข็งแรงขึน้  เด็กมีความสุขและสนุกทีไ่ ดเ้ ล่น กจิ กรรมการแข่งขันกฬี าสี ปกี ารศกึ ษา 2561 ทมี่ า: เวบ็ ไซต์โรงเรยี นสาธติ จฬุ าฯ ฝ่ายประถม, 2561

24 ลือ่ นไหวสาหรับเดก็ เลก็ / กจิ กรรมตกั ไข่ นตอนการจัดกจิ กรรม ขอ้ เสนอแนะ อกเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละเท่า ๆ กัน 1. กิจกรรมน้ีเหมาะสาหรับเดก็ วัยอนบุ าล คนละอัน 2. ใช้กระตุ้นเด็กที่มีปัญหาเร่ืองการใช้สายตา ห้สัญญาณเริ่มเล่น ให้ผู้เรียนท้ัง 2 การใช้กล้ามเนือ้ มือ ดยให้กลุ่มที่ 1 ตักไข่สีเขียว กลุ่มท่ี 3. กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมกลางแจ้ง หรือ คร้ังละ 1 ลูก ตักแล้วให้ไปใส่ในถัง กิจกรรมในรม่ ก็ได้ สามารถนาไปใช้ใน นเองแล้วกลับมาตักใหม่ ในเวลาที่ การจัดกิจกรรมเสรี ซ่ึงจะเล่นเป็นกลุ่มย่อย มดเวลาให้แต่ละกลุ่มนับไข่ในถังน้า กลุ่มใหญ่ หรอื แข่งขนั กันก็ได้ มใดได้จานวนไข่มากสุด เป็นผู้ชนะ

25 คาถามท้ายบท 1. จงขียนบอกลกั ษณะเด่นของเดก็ ในช่วงวัยต่าง ๆ ในแตล่ ะด้าน (10 คะแนน) ชว่ งอายุ ดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ดา้ นสงั คม สตปิ ัญญา 3 ปี 4-5 ปี 5-6 ปี 7 ปี 8 ปี 9 ปี

26 รายการอ้างอิง กัญชพร ตันทอง. (2560). การเต้นบัลเล่ต์เพ่ือพัฒนาและเสริมสร้างบุคลิกภาพสาหรับเด็กปฐมวัย กรณี ศึกษา สถาบันดนตรีเคพีเอ็น เซ็นทรัลแจ้งวัฒนะ. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 9(1) (มกราคม – มถิ ุนายน 2560): 128 – 140. กิจกรรมการแข่งขันกีฬาสี. (2561). สืบค้นเมือ่ 2 กมุ ภาพันธ์ 2561, จาก http://www.satitchula.org/index2562August.html ทวศี ักด์ิ สิริรัตน์เรขา. (2560). พฒั นาการเด็ก. สืบคน้ เม่อื จาก http://www.happyhome clinic.com/sp02-development.htm นิตยา คชภกั ด.ี (2557). Windows of Opportunity หนา้ ตา่ งแหง่ โอกาส: ความสาคัญของ การพัฒนาเด็กปฐมวัย. สืบค้นเม่ือ จาก https://thaichilddevelopment.com/new/2- 3-58ea2.pdf ปิยนนั ท์ พูลโสภา. (2560). การพัฒนาการเลน่ เพอ่ื การเรียนรขู้ องเด็กปฐมวัยในศตวรรษท่ี 21. วารสารศกึ ษาศาสตร์ปริทัศน์ 32 (1): 20 – 27. พชั ร พรหมภกั ด.ี (2548). การวิเคราะหบ์ ทบาทของรายการ \"ส้เู พื่อแม่\" ในการส่งเสริมพฒั นาการ ของเด็กและสถาบันครอบครัว. วิทยานิพนธป์ รญิ ญามหาบัณฑติ ภาควิชาการประชาสัมพนั ธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . นิธิภัทร กมลสุข. (2557). เตรียมความพรอมเพ่ือพัฒนาการเรียนรูสูเด็กปฐมวัย. FEU ACADEMIC REVIEW. 7 (2) (ธนั วาคม 2556 – พฤษภาคม 2557): 37 – 47. เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). กิจกรรมสาหรบั เดก็ ปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพแ์ ม็ค จากัด. ศศิวิมล เชื่อมชิต . (2552) . การส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเล็กผ่านการเล่นและการแสดง . วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . สิรินทร ลัดดากลม บุญเชิดชู. (2558). Stem to Steam Plus Stream And Stemm. วารสาร ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 13 (1) (มิถุนายน – ตุลาคม 2558): 6 – 16. สุวรรณี สร้อยเสนา และสิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2559). ผลการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวเชิงพิลา ทีสที่มีต่อพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 11 (1) (มกราคม - มิถุนายน 2559): 90 – 101.

27 อรุณี หรดาล. (2560). พัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย: แนวทางการส่งเสริมและพัฒนา. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. 10 (1): 100 – 112. Bandura, A. (1986). Social learning and personality development. New York: Holt. Erikson, E. (1968). Childhood and society. (2nd edition). New York: Norton Freud, S. (2011). A general introduction to psychoanalysis. [Online]. Availablefrom https://eduardolbm.files.wordpress. com/2014/10/ ageneral introduction-to-psychoanalysis-sigmund-freud.pdf [10 August 2018] Ocklenburg, S., Shpancer, N., Tower, R. B., and LoBue, V. (2019). Child development. Retrived from: https://www.psychologytoday.com/us/basics/child-development Piaget, J. (1971). The theory of stages in cognitive development. New York: McGraw-Hill. World Healh Organization. (2019). Early child development. Retrived from: https://www.who.int/topics/child_development/en/

27 บทที่ 3 การเคลือ่ นไหวและกิจกรรมสาหรับเดก็ เล็ก Movement Skills and Activities for Preschool Child หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในตัวชี้วัดและสาระการ เรียนรู้แกนกลางสุขศึกษาและพลศึกษาได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้กิจกรรมการเคล่ือนไหว การ ออกกาลังกาย การเล่นเกมและกีฬา เป็นเครื่องมือในการพัฒนาโดยรวมท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมท้ังสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา 2 สาระท่ีเป็น กรอบเน้ือหาหรือขอบข่ายองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาที่ เก่ียวขอ้ งกับการเคลอื่ นไหว คือ 1. การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ ผูเ้ รียนจะได้เรยี นรเู้ รื่องธรรมชาติ ของการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์ ปัจจยั ทม่ี ีผลตอ่ การเจริญเติบ ความสัมพันธ์ เช่ือมโยงในการทางานของระบบต่างๆของร่างกาย รวมถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อให้เจริญเติบโต และมพี ฒั นาการทีส่ มวัย 2. การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ผ้เู รียนได้เรียนรู้เร่ืองการเคล่ือนไหวในรูปแบบต่าง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้ง ประเภทบุคคล และประเภททีมอย่างหลากหลายท้ังไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบยี บ และขอ้ ตกลงในการเขา้ รว่ มกิจกรรมทางกาย และกฬี า และความมีน้าใจนักกฬี า สาระการเรียนรู้การเคล่ือนไหวจะเริ่มฝึกฝนตั้งแต่ระดับก่อนอนุบาลจนถึงระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งจะทาให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีข้ึน เหมาะสมตามวัย การฝึกการ เคลื่อนไหวควรมีความต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในบางทักษะที่เป็นพ้ืนฐาน มีลาดับ ขั้นตอน เป็นการเคล่ือนไหวที่ค่อนข้างซับซ้อน อย่างเช่น บาสเกตบอล หรือลีลาศ เป็นต้น การที่ไม่เคยไดฝ้ ึกทกั ษะตามลาดับข้นั ตอน อาจทาใหข้ าดโอกาสในการพัฒนา ไมส่ ามารถที่ จะเข้าใจในทักษะการเคล่ือนไหวท่ีซับซ้อนและปฏิบัติได้ เนื่องจากขาดการเรียนรู้การ เคลื่อนไหวในขั้นพ้ืนฐานอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามทักษะเหล่าน้ีต้องอาศัยการฝึกฝน บูรณาการตามเง่ือนไขท่ีหลากหลายของทักษะการเคลื่อนไหวที่หลากหลายเช่นกัน ในทุก