Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคต้น

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคต้น

Published by ์Nuttaporn Suddee, 2021-01-23 12:07:07

Description: ใช้เป็นคู่มือครูสำหรับการเรียนการสอนพลศึกษา ป.2 ประกอบด้วยเนื้อหากีฬาแชร์บอลและกิจกรรมการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน

Keywords: แผนการจัดการเรียนการสอน

Search

Read the Text Version

144 สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ ใบงานวชิ าสุขศกึ ษา (Worksheet) ประกอบดว้ ย 1. ใบงานเรือ่ งสขุ ปฏบิ ตั ิ 5 คะแนน 2. ใบงานเรื่องการรกั ษาความสะอาดของ ใชแ้ ละเคร่ืองแต่งกาย 5 คะแนน 2.ขนั้ ทดสอบข้อเขยี น (40 นาที) 2.1 ครูชแ้ี จงรายละเอยี ดการสอบพลศึกษา - นักเรยี นทาข้อสอบ สขุ ศึกษา และใบงานสุขศึกษา และทาใบงานไดต้ าม ข้อตกลงของกติกา - จานวนข้อ - ขน้ั ตอนวธิ กี ารทาข้อสอบ การสอบ - ตรวจสอบการเขยี นช่ือ ช้ัน เลขท่ีใส่ กระดาษคาตอบ - ระยะเวลาในการสอบ วิชาละ 20 นาที รวม 20 นาที - ระยะเวลาในการทาใบงานสขุ ศกึ ษา 10 นาที 2.2 ครใู ห้นักเรียนชกั ถามหากมีขอ้ สงสัย 2.3 ครูใหน้ ักเรยี นเริม่ ทาข้อสอบและใบงาน 2.4 ครคู วบคุมการสอบ และเรียกเกบ็ ข้อสอบ และการดาษคาตอบตามเลขที่ เพ่ือความเป็น ระเบียบเรยี บร้อย 3.ขนั้ สรุป (10 นาที) - นกั เรยี นได้ฝกึ 3.1 ครสู รุปเนื้อหาการเรยี นวิชาพลศึกษา ประมวลความคิด รวบ ยอดอีกคร้งั หลังการ ช่วงท่ี 1 ภาคตน้ ทผ่ี ่านมา สอบโดยแลกเปลี่ยน 3.2 ครูอธิบายถึงการเรียนวิชาพลศึกษาในช่วงท่ี การถามและตอบกบั 1 ของภาคปลายให้ นั กเรียนฟั งโดยคร่าว 3.3 ครูนัดหมายการเรียนการสอนกับ ครูผ้สู อน นกั เรยี นในคาบเรียนตอ่ ไป

145 7. สือ่ การสอน/แหลง่ การเรยี นรู้ - สื่อการสอน ขอ้ สอบพลศกึ ษาและสุขศกึ ษา ใบงานสุขศึกษา 8. คาศัพทภ์ าษาองั กฤษ ความหมาย ลาดับ คาศพั ท์ภาษาองั กฤษ สขุ ศึกษา 1 Health Education กฬี าแชรบ์ อล 2 Chairball สอบข้อเขยี น 3 Subjective test ใบงาน 4 Worksheet

146 โรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม บันทกึ หลงั สอน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2/...... หนว่ ย กฬี าแชร์บอล (Football), สขุ ศึกษา (Health Education) ภาคเรียน ปลาย เร่ือง สอบข้อเขยี นสุขศกึ ษาและพลศึกษา (Subjective test) เวลาเรียน 1 คาบ (60 นาที) ใบงานวชิ าสุขศกึ ษา (Worksheet) วนั ที.่ .........เดอื น.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น.-.......................น. 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... 2. ปญั หาและอุปสรรค (ก่อนสอน-ระหว่างสอน-หลงั สอน) ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกไ้ ขเพ่อื ใช้ในการสอนครั้งต่อไป ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... .…………....................................................... (………………………………………………………..) ผูส้ อน

147 โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝา่ ยประถม แผนการจดั การเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 หนว่ ย ทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรยี น ตน้ เร่ือง ทักษะการเคล่ือนไหวแบบอยู่กับท่ี (Non-Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาท)ี - กม้ ตวั (Bending) - ยดื หรอื เหยยี ดตัว (Stretching) - บิดตวั (Twisting) - หมนุ ตัว (Turning) - แกว่งหรอื เหวีย่ งแขน (Swinging) - เอยี งตวั (Swaying) - โยกตวั (Rocking) - การดัน (Pushing) – การดึง (Pulling) 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 3 การเคลอื่ นไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล พ 3.1: เข้าใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา พ 3.2: รกั การออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเล่นกีฬา ปฏบิ ตั เิ ปน็ ประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฏกติกา มนี ้าใจ มีจติ วิญญาณในการแขง่ ขัน และชนื่ ชมในสุนทรีภาพของการกีฬา 2. ตัวช้ีวัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคุมการเคลอ่ื นไหวร่างกาย ขณะอยู่กับที่ เคลือ่ นที่ และใช้อปุ กรณ์ประกอบ พ 3.1 ป.2/2: เล่นเกมเบ็ดเตลด็ และเข้าร่วมกิจกรรมทางกายท่ีวธิ ีเลน่ อาศัยการเคล่อื นไหวเบอ้ื งตน้ ทง้ั แบบอยู่กับที่ เคล่ือนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 นกั เรยี นสามารถอธิบายความหมายและประโยชน์ของทักษะการเคลอ่ื นไหวข้ันพืน้ ฐานได้ (IQ) 3.2 นักเรียนสามารถอธิบายความหมายและประโยชน์ของทกั ษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับทไ่ี ด้ (IQ) 3.3 นกั เรียนสามารถปฎบิ ตั ิทักษะการเคล่ือนไหวแบบอยู่กับที่ (SQ) 3.4 นักเรียนสามารถพัฒนาสมรรถภาพความเรว็ (Speed) ความคล่องแคล่ววอ่ งไว(Agility) การทรงตวั (Balance)ความอดทนของกล้ามเนอื้ (Muscle Endurance) และการประสานสมั พนั ธ์ (Coordination) จากการเลน่ เกมและการฝกึ ปฏิบตั ิ (PQ) 3.5 นักเรยี นสามารถแตง่ กายถกู ระเบยี บและปฏิบัตติ ามกฎระเบียบ (MQ) 3.6 นกั เรยี นได้มีความกระตือรอื ร้นในการเข้าเรยี นและสนกุ สนานในการเลน่ เกม (AQ)

148 4. สาระสาคัญ คนเราทกุ คนจาเป็นต้องมีการเคลื่อนไหว เพราะเนื่องจากธรรมชาตสิ รา้ งให้สิ่งมชี ีวติ ทุกชนิดมีอวยั วะที่ตอ้ ง ทางานหรือเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงในมนุษย์น้ันการเคลื่อนไหวของร่างกายถือได้ว่าเป็นพื้นฐานสาคัญในการ ดารงชีวิตและการประกอบกิจกรรมต่างๆ อีกทง้ั การเคล่ือนไหวของอวัยวะต่างๆ ภายในรา่ งกาย อนั ได้แก่ แขน ขา ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย โดยใช้กิจกรรมการเดิน การวิ่ง การออกกาลังกาย การยกของ การปีนป่าย เป็นต้น จะช่วยให้ร่างกายมีความเจริญเติบโตและแข็งแรง มีบุคลิกภาพท่ีดี มีประสิทธิภาพในการ ทางานในชีวิตประจาวันมากข้ึน ดังน้ัน นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 จึงต้องเรียนรู้เก่ียวกับทักษะการ เคลื่อนไหวพ้นื ฐาน เพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจในหลักการและความสาคัญของการเคลอ่ื นไหวข้ันพื้นฐาน สามารถนาไป ปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชีวิตของตนเองได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 5. ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั นักเรียน 80% สามารถปฏิบัติไดต้ ามจดุ ประสงค์การเรียนรู้และสามารถนาเอาความรไู้ ปใช้ในการเรียนการ สอนรายวิชาอ่นื และชวี ิตประจาวันได้ 6. กระบวนการจดั การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ - นักเรยี นมีความเข้าใจและ ทักษะการเคลอื่ นไหวขั้นพ้นื ฐาน (Basic 1.ขนั้ เตรยี ม / อบอนุ่ ร่างกาย (10 นาที) ปฎิบัตติ ามคาสั่งครูผ้สู อน - นักเรียนมคี วามเป็น Movement Skills) 1.1 ครูเดินไปรับนักเรยี น แล้วพานกั เรียนไป ระเบียบเรยี บร้อยภายใน แถวตามทก่ี าหนด ส่ิงมชี ีวติ ทกุ ชนดิ จาเปน็ ต้องมีการเคลอ่ื นไหว สถานทเี่ รยี น (สนาม 3) - นักเรียนมีความพร้อมใน การเรียนทัง้ ทางด้าน ในการดารงชีวิต มนุษย์ก็เช่นกันเม่ือมีการ 1.2 ครใู หน้ กั เรียนวางถุงย่ามในชนั้ วางของ โดย ร่างกาย จิตใจและอารมณ์ - นกั เรียนเคารพกติกา เคล่ือนไหว อวัยวะต่างๆ ในร่างกายก็ย่อม ใหน้ ักเรียนชายไว้แถวลา่ งของช้ันวาง และ ภายในห้องเรยี น, แต่งกาย เรยี บรอ้ ย (MQ) มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลาด้วยเช่นกัน นกั เรยี นหญงิ วางไว้แถวบนของช้นั วางของ เช่น ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบหายใจ 1.3 ครูให้นักเรยี นเข้าแถว 4 แถว ระบบขับถ่าย ถ้าคนเราไม่มีการเคล่ือนไหว เป็นระยะเวลานานๆ เช่นผู้ป่วยท่ีนอนติด กับเตียง จะทาให้อวัยวะและระบบต่างๆ ของร่างกายเกดิ ผลกระทบได้ การเคลอ่ื นไหวอย่างถูกวธิ ีจะทาให้ อวัยวะทกุ สว่ นไดท้ างานสมั พันธก์ นั เชน่ = ครู = นกั เรยี น ตากับมือ ตากับขา นอกจากน้ันแลว้ ระบบ 1.4 ครูสารวจเครือ่ งแต่งกายและของใชส้ ่วนตวั

149 สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ ตา่ งๆ ภายในร่างกายกจ็ ะทางานอย่างมี 1.5 อบอุน่ รา่ งกาย(Warm – Up)ครูใหน้ กั เรยี น ประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย เชน่ ระบบ ขยายแถวหนึ่งชว่ งแขนเพื่ออบอุน่ ร่างกาย หายใจ เมอ่ื มีการหายใจเข้าและออกจาก 1.5.1 ครนู านกั เรียนยดื เหยียดกล้ามเนื้อ 5 ท่า - นกั เรียนบรหิ ารรา่ งกาย การออกกาลงั กาย ปอดและหัวใจจะมกี าร ท่าที่ 1 ดดั น้วิ มอื ข้างซ้ายและขวา ขา้ งละ และอวยั วะต่างๆ ได้ ทางานควบคู่ไปด้วย ซ่ึงจะทาให้ปอดและ 10 วินาที เหมาะสมตามวยั (SQ) หัวใจแข็งแรงขึ้น ทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน หมายถึง การเคล่ือนไหวร่างกายในชีวิตประจาวัน เช่น ยืน เดิน น่ัง ก้มตัว ยกของ ปีนป่าย กระโดด สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ลกั ษณะ คอื ท่าท่ี 2 หมุนแขนซ้ายขวา พร้อมกัน หมุนมา 1) การเคล่ือนไหวแบบอยูก่ ับท่ี (Non- ข้างหนา้ 10 ครั้ง ไปขา้ งหลัง 10 ครงั้ Locomotor Skills) 2) การเคล่ือนไหวแบบเคล่อื นท่ี (Locomotor Skills) 3) การเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ (Manipulative Skills) ประโยชน์ของการฝกึ ทักษะการ เคลอ่ื นไหวใหถ้ กู ต้อง ทา่ ท่ี 3 หมุนขอ้ เทา้ ข้างซ้ายและขวา ขา้ งละ 1. ทาให้กลา้ มเน้อื และข้อตอ่ ต่างๆ แขง็ แรง 10 ครัง้ 2. ทาใหอ้ วัยวะต่างๆ ทางานสัมพนั ธก์ ันได้ ดี มีความคล่องตวั 3. ทาใหจ้ ติ ใจเบกิ บานแจม่ ใส ทกั ษะการเคลอื่ นไหวแบบอยู่กับท่ี (Non- Locomotor Skills) คือ การที่ร่างกาย หรอื อวยั วะต่างๆ เคลื่อนไหวแตไ่ ม่ได้ ท่าที่ 4 ยนื ย่อและยดื 10 ครงั้ เคล่อื นที่ ได้แก่ 1. ก้มตัว (Bending) คือ การเคลอื่ นไหว รา่ งกายสว่ นแขน หัวไหล่ ลาตัว โดยผฝู้ ึก จะตอ้ งโน้มลาตวั เอนไปด้านหน้าและเอา ปลายนิ้วมอื แตะไปทป่ี ลายเท้า

150 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ ทา่ ท่ี 5 ว่ิงรอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร) 2. ยืดหรือเหยียดตัว (Stretching) คอื 1.6 พฒั นาสมรรถภาพร่างกาย - นักเรยี นพัฒนา การเคล่อื นไหวรา่ งกายสว่ นต้นขา และ - ครูใหน้ ักเรยี นเล่น “เกมกระตา่ ยขาเดียว” สมรรถภาพความเรว็ ความ ลาตวั โดยผ้ฝู กึ จะต้องบิดลาตัว และเอวไป - วิธกี ารเลน่ แบง่ ผู้เลน่ ออกเป็น 2 ฝา่ ย ฝ่ายละ คลอ่ งตวั การทรงตวั ความ ทางดา้ นข้างพร้อมกับโยกลาตัวเอนไป เทา่ ๆ กัน ฝา่ ยหนงึ่ เป็นกระต่าย อกี ฝ่ายเป็น อดทนของกล้ามเน้ือ และ ดา้ นหนา้ ขา้ งซา้ ยหรือขวา ขาหนา้ เขา่ งอ เป็นคนหนี กลุ่มกระตา่ ยจะยืนอยู่รอบๆ วงกลม การประสานสมั พนั ธ์ จาก ขาหลังตึง - เมอื่ เริม่ เลน่ กระต่ายจะกระโดดขาเดียวเข้าไปใน การเลน่ เกมและการฝึก ปฏบิ ตั ิ (PQ) วงกลม เพือ่ แตะตัวผเู้ ลน่ ท่ีอยู่ในวงกลม กระตา่ ย สามารถเปลย่ี นตวั ผูเ้ ล่นไดโ้ ดยกระโดดขาเดียว ออกมาแปะมือเพอื่ นในทีม ให้เข้าไปเลน่ แทน - เมื่อหมดเวลาการเล่น ใหน้ ับจานวนผู้เล่นท่ีโดน 3. บิดตวั (Twisting) คือ การเคล่ือนไหว แตะตัว แล้วเปล่ียนให้ฝ่ายกระต่ายไปเปน็ คนหนี รา่ งกายสว่ นหัวไหล่ ลาตวั เอว โดยผ้ฝู กึ จะต้อง ฝ่ายคนหนมี าเปน็ กระตา่ ย บดิ ตัวไปทางดา้ นขา้ งพร้อมกับบิดหวั ไหล่ - หลังจากท้งั 2 ฝา่ ยเสรจ็ สิ้นการเป็นกระตา่ ย ให้ สรุปว่าทมี ใดแตะตวั ผ้เู ล่นไดจ้ านวนมากสดุ ทมี น้ันเป็นฝา่ ยชนะ 4.หมุนตัว (Turning) คือ การเคลอื่ นไหว = คน(หน)ี รา่ งกายส่วนหัวไหล่ ลาตวั เอว โดยผฝู้ ึก = กระต่าย(ไล่) จะตอ้ งบดิ ตวั ไปทางด้านข้างพรอ้ มกบั บิด หัวไหล่ไปพร้อมๆ กนั

151 สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ - หลังจากเล่มเกมจบ ครูจะสรุปผลการเล่น ส่ิงที่ได้ จากการเลน่ เกม และเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนซกั ถาม 2. ขน้ั อธิบายสาธิต (10 นาที) - นักเรียนอธบิ ายทกั ษะ 2.1 ครูให้นักเรยี นชมคลปิ วดิ โี อทีเ่ กยี่ วกับทกั ษะการ ทกั ษะการก้มตัว การ เคลือ่ นไหวแบบอยู่กบั ท่ี ยดื หรอื เหยียดตัว การ 2.2 ครูถามคาถามนักเรยี นว่า บิดตวั การหมนุ ตัว การ 2.2.1 ทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับท่ี คอื อะไร แกวง่ หรือเหว่ียงแขน 5. แกว่งหรอื เหว่ยี งแขน (Swinging) คอื แนวคาตอบ : การที่ร่างกาย หรืออวัยวะตา่ งๆ การเอยี งตัว การโยกตวั - การเคลื่อนไหวร่างกายสว่ นแขนและลาตวั เคลื่อนไหวแต่ไม่ไดเ้ คล่ือนที่ การดนั การดงึ ไดอ้ ย่าง โดยผฝู้ กึ จะต้องยืนเอนตวั ไปดา้ นหน้าเล็กนอ้ ย 2.2.2 ใหย้ กตัวอย่างทักษะการเคลอื่ นไหว ถกู ต้อง (IQ) แขนงอ แกวง่ แขนขนานลาตวั กามอื หลวมๆ แบบอยกู่ ับทม่ี า 2-3 ทกั ษะ แนวคาตอบ : การกม้ ตวั การอยี งตัว การหมนุ ตวั 2.3 ครอู ธิบายและสาธิตรว่ มกับนักเรียนใน ทักษะการเคลือ่ นไหวแบบอยู่กับท่ี โดยมีหัวข้อ แบบที่ 1 ดงั น้ี 1) ก้มตัว 2) ยืดหรือเหยียดตวั 3) บิดตัว 4) หมุนตวั 5) แกว่งหรือเหว่ยี งแขน 6) เอียงตัว - การเคล่อื นไหวรา่ งกายส่วนแขนและ 7) โยกตวั 8) การดัน 9) การดงึ ลาตวั โดยผ้ฝู ึกจะต้องยนื กางแขน เหว่ยี ง 2.4 ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นซกั ถามข้อสงสัย แขนหมนุ ไปรอบตวั ระดับหัวไหล่ ก่อนการฝึกทักษะ แบบท่ี 2 3. ข้นั การฝึกหัดทักษะ (20 นาท)ี - นกั เรยี นไดฝ้ ึกทักษะที่ 3.1 แบบฝกึ ที่ 1 ฝึกท่าทางทักษะการเคล่ือนไหว ได้เรยี นจนเกิดความ แบบอยกู่ ับท่ี โดยเน้นความเข้าใจ ฝึกไปเพือ่ อะไร ชานาญ (SQ) แล้วมีวธิ กี ารฝึกอย่างไร โดยมีครูให้คาแนะนา 6. เอียงตัว (Swaying) คือ การเคล่ือนไหว - แบ่งนักเรยี นออกเป็น 4 แถว ครูใหน้ กั เรยี นยืน รา่ งกายส่วนลาตัวและไหล่ โดยผู้ฝึกจะต้อง ขยายแถว และยืนบนจุดมาร์กเกอร์ท่กี าหนด ยืนนามือมาจับเอว ใช้การโยกตัวไปทาง ดา้ นซ้ายหรือขวา  = ครู      = นักเรยี น  

152 สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ 7. โยกตัว (Rocking) คอื การเคลอ่ื นไหว - เร่มิ ฝกึ เรียงลาดบั ทักษะ ดังนี้ 1) ก้มตวั 2) ยดื แบบใชก้ ารทรงตวั ของรา่ งกายใหม้ ีความ หรอื เหยยี ดตัว 3) บิดตัว 4) หมนุ ตัว 5) แกวง่ หรือ สมดลุ ทางด้านซา้ ยและขวา ผฝู้ กึ จะตอ้ งนา เหวีย่ งแขน แขนมากอดรัดหัวเขา่ แลว้ ใชก้ ารเอนตวั ไป 6) เอียงตวั 7) โยกตัว 8) การดนั 9) การดึง ทางดา้ นซา้ ย ขวา ดา้ นหน้าหรอื หลงั 3.2 แบบฝกึ ที่ 2 คดิ ท่ากายบริหาร โดยใชท้ กั ษะ การเคลอ่ื นไหวแบบอยกู่ บั ท่ี - ครูให้นักเรียนท้ัง 4 แถวไปคิดท่าการอบอุ่นร่างกาย มา แถวละ 2 ท่า แล้วออกมาเป็นผนู้ าเพอื่ นในห้อง ให้ ออกมานาทั้งแถว โดยมีครใู ห้คาแนะนาเพิม่ เตมิ - ผลดั กันนาจนครบทุกแถว 8. การดนั (Pushing) คอื การผลกั ส่ิงของให้   = ครู ไปข้างหนา้ โดยผฝู้ กึ จะตอ้ งออกแรงท่มี ือ แขน หวั ไหล่ ลาตวั ต้นขาและฝา่ เทา้    = ผนู้ า      = ผ้ตู าม    - ครูสรปุ รูปแบบการฝกึ และเปิดโอกาสให้ นกั เรยี นซักถามข้อสงสยั ตลอดการฝึกเลน่ 9. การดงึ (Pulling) คอื การออกแรงเพื่อดงึ สิ่งของเขา้ หาลาตัว โดยผฝู้ ึกจะตอ้ งออกแรงท่ี 4.ขัน้ การนาไปใช้ (10 นาที ) - นกั เรียนมกี ารคดิ มอื แขน หวั ไหล่ ลาตวั ต้นขาและฝา่ เทา้ 4.1 เล่นเกม “เลียนแบบทา่ ทาง” วางแผนในวิธีการเลน่ - ครูจะมีป้ายข้อความ ยกขึ้นให้นักเรียนดู เม่ือเห็น รวมถงึ มีการกระตุ้นให้ ข้อความให้ทาท่าทางตามข้อความอยู่กับที่ โดยทุก ตนเองและเพือ่ น คร้งั ท่เี ปลี่ยนการยกข้อความจะมีสัญญาณนกหวีด มีความสนุกสนานในเกม 1) ท่าต้นไม้ 2) ท่าไม้กางเขน 3) ท่าเครือ่ งบิน 4) ท่า การแข่งขนั (PQ, AQ) เก้าอ้ี 5) ท่าก้มตัว 6) ยืดหรือเหยียดตัว 7) บิดตัว 8) หมุนตัว 9) แกว่งหรือเหวี่ยงแขน 10) เอียงตัว 11) โยกตวั 12) การดนั 13) การดึง - ครูสรปุ ผลของการเลน่ “เกมเลียนแบบทา่ ทาง” และเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามข้อสงสัย

สาระการเรยี นรู้ 153 ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ท่าเคร่อื งบนิ 5.ขั้นสรปุ และสุขปฎบิ ัติ (10 นาที ) - นกั เรียนไดฝ้ ึกประมวล 5.1 ครสู รปุ เน้ือหาที่ไดเ้ รียนในชว่ั โมงเรียน ความคดิ รวบยอดอีกครั้ง 5.2 ครูถามคาถามนักเรยี นว่า หลังจากเรียนโดยการ 5.2.1 ครใู ห้ตัวแทนนักเรียนออกมาแสดง แลกเปล่ยี น การถาม ทา่ ทางการเคลื่อนไหวแบบอยู่กับทใ่ี หเ้ พ่อื น และตอบกบั ครูผ้สู อน นักเรยี นดู แลว้ ถามวา่ แต่ละท่าเรยี กว่าทา่ อะไร - นกั เรียนร้จู ักการดแู ล แนวคาตอบ ท่าใดท่าหนงึ่ 1)ทา่ ตน้ ไม้ 2)ทา่ ไม้กางเขน รกั ษาความสะอาดอวัยวะ 3)ทา่ เคร่ืองบนิ 4)ท่าเก้าอ้ี 5)ทา่ ก้มตวั 6)ยืดหรือ ตา่ งๆ ของรา่ งกายตนเอง เหยียดตวั 7)บดิ ตวั 8)หมุนตวั 9)แกวง่ หรอื เหวย่ี งแขน หลังจากเล่นกีฬา 10)เอียงตวั 11)โยกตัว12)การดนั 13)การดึง - นักเรยี นได้ฝึกความ 5.3 ครใู ห้นกั เรียนไปล้างหน้า ล้างมือ ด่ืมน้า และ รับผดิ ชอบในการตรวจ กลับมาเขา้ แถว สอบและแกไ้ ขในเรื่อง 5.4 ครูสารวจอปุ กรณ์และของใชส้ ่วนตวั ของนักเรยี น ของการนาของใช้มา 5.5 ครใู ห้นักเรยี นบันทึกหัวข้อเร่ืองที่เรยี นในชั่วโมงน้ี โรงเรียน (IQ, MQ, AQ) ลงในหนงั สือเรยี นหน้า 52 (อาจมีการเปลี่ยนแปลง) 5.6ครูปล่อยเลกิ แถว 5.7ครูพานกั เรียนเดนิ แถวกลบั ห้องเรยี นก่อนเป็นฝา่ ยชนะ

154 7. สอ่ื การสอน/แหล่งการเรยี นรู้ - สื่อการสอน นกหวดี หนังสือเรยี นวิชาสขุ ศึกษา กรวย แผ่นยางมาร์กเกอร์ Whistle และพลศกึ ษา ป..2 เล่ม 1 Cones Markers A Book กระดานไวทบ์ อร์ด ปากกาไวทบ์ อร์ด แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวทบ์ อร์ด เรื่องทสี่ อนในชวั่ โมง Whiteboard eraser poster/Image media - แหลง่ การเรยี นรู้ เกรียงไกร อินทรชยั . 2559. สขุ ศึกษาและพลศึกษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เลม่ 2. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พร้ินทก์ รปุ๊ จากัด. ณฐั พร สุดดี. 2561. เทคนิคการสอนเกมมลู ฐาน. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . (อดั สาเนา) ถาวร วรรณศิริ. 2551. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา : ฟุตบอล ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5-6. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ร้นิ ท์กรุ๊ป จากดั . สุรเชษฐ์ วิศวธีรานนท์. 2561. กีฬาแชร์บอลและทักษะการเคล่ือนไหวขนั้ พืน้ ฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 เลม่ 1. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พร้ินท์กร๊ปุ จากดั .

155 8. คาศพั ท์ภาษาองั กฤษ ความหมาย กม้ ตวั ลาดับ คาศัพทภ์ าษาอังกฤษ ยดื หรือเหยียดตัว 1 Bending บิดตัว 2 Stretching หมุนตวั 3 Twisting แกวง่ หรือเหว่ียงแขน 4 Turning เอยี งตวั 5 Swinging โยกตัว 6 Swaying การดนั 7 Rocking การดงึ 8 Pushing การเคลือ่ นไหวขั้นพน้ื ฐาน 9 Pulling อุปกรณ์ของใช้ในการเรียนพลศึกษา 10 Basic Movement Skills นกหวดี 11 P.E Supplies หนงั สือเรยี น 12 Whistle กรวย 13 Book แผ่นยางมารก์ เกอร์ 14 Cone กระดานไวทบ์ อรด์ 15 Marker ปากกาไวทบ์ อร์ด 16 White board แปรงลบกระดานไวทบ์ อรด์ 17 Whiteboard pen โปสเตอร์ / POWERPOINTเรื่องทส่ี อนในช่วั โมง 18 Whiteboard eraser 19 poster/Image media 9. การวัดและประเมินผล เครือ่ งมือ แบบสงั เกต ลาดับ เรื่อง แบบตรวจสอบ แบบสังเกต 1 สังเกตความสนใจและการมีส่วนรว่ มตลอดช้ันเรยี น 2 สารวจเคร่อื งแต่งกายและบักทกึ คะแนนความรบั ผิดชอบและคะแนนสุขปฏิบัติ 3 สังเกตการตอบคาถามระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

156 โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝา่ ยประถม แบบประเมินความสนใจ การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรม และผลสาเร็จของการฝกึ ทักษะและการนาไปใช้ วันที่ ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปกี ารศกึ ษา.......................... หนว่ ยการเรียนร้.ู ..................................... เร่อื ง...................................................................ระดบั ชั้น.......................... ระดับ 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรงุ /เพ่ิมเตมิ ) PQ นักเรยี น 80% ขน้ึ ไป ฝกึ ทักษะหรือเล่น นกั เรยี น 60%-80% ฝึกทักษะหรือเล่น นกั เรยี นนอ้ ยกว่า60%ฝกึ ทกั ษะหรือเล่น สมรรถภาพ เกมเพื่อพัฒนาสมรรถภาพโดยไม่เหนอื่ ย เกมเพือ่ พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอื่ ย เกมเพ่อื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอื่ ย ทางกาย MQ นกั เรียน 80% ขน้ึ ไปให้ความร่วมมอื นกั เรยี น 60%-80%ใหค้ วามร่วมมอื นักเรยี นนอ้ ยกวา่ 60%ให้ความ คุณธรรม กับครใู นการจดั กจิ กรรมเป็นอยา่ งดี กับครใู นการจดั กจิ กรรมเปน็ อยา่ งดี รว่ มมือกบั ครใู นการจดั กจิ กรรมเปน็ จรยิ ธรรม ยอมรับการเป็นผู้นา ผตู้ ามทีด่ ี เชอื่ ยอมรบั การเป็นผู้นา ผ้ตู ามท่ีดี เชอ่ื อยา่ งดี ยอมรับการเปน็ ผนู้ า ผ้ตู ามที่ ฟังครู ฟังครู ดี เชอื่ ฟงั ครู นักเรียน 80% ข้นึ ไปมคี วามกระตอื รอื ร้น นั ก เรี ย น 60% -80% มี มี ค วาม นั กเรีย น น้ อย กว่า 60% มี ความ แตง่ กายเรยี บรอ้ ยพรอ้ มทีจ่ ะเรยี น กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม AQ เจตคติ ช่วยเหลอื และแนะนาเพอ่ื นให้ปฎบิ ตั ิ ที่จะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพื่อน ที่จะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพ่ือน ระเบยี บวินยั ในห้องเรยี นได้ ให้ปฎิบตั ิระเบียบวินยั ในหอ้ งเรียนได้ ให้ปฎิบตั ิระเบียบวินัยในห้องเรียนได้ IQ ความรู้ นักเรียน 80% ข้นึ ไปสามารถอธิบาย นกั เรยี น 60%-80% สามารถอธบิ าย นักเรียนน้อยกว่า 60% สามารถ ความ เน้อื หาทีเ่ รียนไปได้อยา่ งครบถว้ นและ เนอ้ื หาท่เี รียนไปได้อย่างครบถ้วนและ อธิบายเน้ือหาที่เรียนไปได้อย่าง เขา้ ใจ ถกู ต้อง ถูกตอ้ ง ครบถว้ นและถูกต้อง นกั เรียน 80% ขนึ้ ไปสามารถปฏบิ ตั ิ นักเรยี น 60%-80% สามารถปฏบิ ตั ิ นักเรยี นน้อยกวา่ 60% สามารถ SQ ทักษะ ทกั ษะทีเ่ รียนในชั่วโมงไดอ้ ยา่ ง ทกั ษะทีเ่ รยี นในช่วั โมงได้อย่าง ปฏบิ ัติทักษะท่เี รียนในชั่วโมงได้ ครบถ้วนและถูกตอ้ งได้ ครบถว้ นและถกู ต้องได้ อยา่ งครบถ้วนและถกู ตอ้ งได้ ระดบั คณุ ภาพ ระดับ 3 หมายถงึ จานวนนกั เรียน 80% ขึ้นไป ระดับ 2 หมายถงึ จานวนนกั เรยี น 60-80% ระดับ 1 หมายถึง จานวนนักเรียนอ้ ยกวา่ 60% ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน

157 โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝ่ายประถม บนั ทกึ หลงั สอน กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2/...... หนว่ ย ทักษะการเคล่ือนไหวขั้นพ้ืนฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรียน ตน้ เร่อื ง ทักษะการเคลื่อนไหวแบบอยกู่ ับที่ (Non-Locomotor Skills) เวลาเรียน 1 คาบ (60 นาท)ี - กม้ ตวั (Bending) - ยดื หรือเหยียดตวั (Stretching) - บิดตวั (Twisting) - หมนุ ตัว (Turning) - แกว่งหรอื เหวี่ยงแขน (Swinging) - เอยี งตวั (Swaying) - โยกตัว (Rocking) - การดัน (Pushing) – การดึง (Pulling) วนั ท.่ี .........เดือน.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น..-.......................น. 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค(ก่อนสอน-ระหวา่ งสอน-หลังสอน) ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกไ้ ขเพ่ือใชใ้ นการสอนครง้ั ต่อไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...................................................... (………………………………………………………..) ผูส้ อน

158 โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝา่ ยประถม แผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 หนว่ ย ทักษะการเคลื่อนไหวข้ันพื้นฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรียน ตน้ เรื่อง การเคลอ่ื นไหวแบบเคลอ่ื นที่ (Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาท)ี - เดิน (Walk) - เดนิ ตามจังหวะ (March) - ว่ิง (Run) - การหยดุ เดนิ หยุดวง่ิ (Stopping) 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 3 การเคลอ่ื นไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล พ 3.1: เขา้ ใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา พ 3.2: รักการออกกาลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏบิ ตั เิ ป็นประจาอยา่ งสมา่ เสมอ มีวินยั เคารพสทิ ธิ กฏกติกา มีน้าใจ มจี ติ วญิ ญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสนุ ทรภี าพของการกฬี า 2. ตวั ชีว้ ดั พ 3.1 ป.2/1: ควบคุมการเคลอื่ นไหวร่างกาย ขณะอยู่กับท่ี เคล่อื นที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ พ 3.1 ป.2/2: เล่นเกมเบด็ เตลด็ และเข้าร่วมกจิ กรรมทางกายท่วี ิธเี ลน่ อาศยั การเคล่ือนไหวเบ้ืองต้นท้งั แบบอยกู่ ับท่ี เคล่ือนท่แี ละใช้อปุ กรณ์ประกอบ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 นักเรยี นสามารถอธบิ ายหลักการเคลื่อนไหวแบบเคล่ือนท่ใี นท่าเดิน เดินตามจงั หวะ วิ่ง การหยุดเดนิ หยดุ วงิ่ ได้ถูกต้อง (IQ) 3.2 นักเรียนสามารถปฎบิ ตั ิทักษะการเดนิ การวิ่ง การหยุดวง่ิ -เดิน และการกลบั ตวั ไดถ้ ูกต้องอย่างนอ้ ย 80 % ของจานวนนักเรียนทง้ั หมด (SQ) 3.3 นกั เรียนสามารถพฒั นาสมรรถภาพ ดา้ นความเรว็ (Speed) และความคล่องแคล่วว่องไว(Agility) จาก การเลน่ เกมและการฝกึ ปฏบิ ัติ (PQ) 3.4 นกั เรยี นสามารถแต่งกายถกู ระเบยี บและปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ (MQ) 3.5 นกั เรียนได้มีความกระตือรือร้นในการเข้าเรียนและสนกุ สนานในการเล่นเกม (AQ)

159 4. สาระสาคญั การเคลื่อนไหวร่างกายแบบเคลื่อนท่ีที่ถูกต้องจะเป็นพ้ืนฐานนาไปสู่การมีบุคลิกภาพและสุขภาพท่ีดี เช่น การเดิน ลาตัวจะต้องตั้งตรง ไม่ก้มหน้าหรือแอ่นอก รวมถึงท่าทางการหยุดเดิน การหยุดวิ่งด้วย ดังนั้น เด็ก นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ควรได้รับการฝึกฝนทักษะการเคล่ือนไหวแบบเคล่ือนท่ีท่ีถูกต้องอย่าง สม่าเสมอ เพ่ือให้เกิดความชานาญ สามารถนาไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันและการทากิจกรรมร่วมกับ ผู้อนื่ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 5. ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง นกั เรยี น 80% สามารถปฏบิ ตั ิไดต้ ามจุดประสงค์การเรียนรู้และสามารถนาเอาความรู้ไปใช้ได้อยา่ ง คลอ่ งแคล่วในการเรียนการสอนรายวิชาอน่ื และชวี ติ ประจาวัน 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ 1.ขั้นเตรยี ม / อบอุ่นรา่ งกาย (10 นาที) - นักเรียนมีความเข้าใจและ สาระการเรยี นรู้ 1.1 ครเู ดินไปรบั นักเรียน แลว้ พานักเรยี นไป ปฎิบตั ิตามคาส่งั ครูผสู้ อน ทักษะการเคล่อื นไหวแบบเคลือ่ นที่ สถานทเ่ี รยี น (สนาม 3) - นักเรยี นมีความเป็น (Locomotor Skills) คอื การทร่ี า่ งกาย 1.2 ครูใหน้ ักเรยี นวางถุงย่ามในชนั้ วางของ โดย ระเบียบเรยี บรอ้ ยภายใน หรืออวัยวะตา่ งๆ เคลอื่ นไหวและเคลื่อนท่ี ใหน้ ักเรียนชายไวแ้ ถวลา่ งของช้ันวาง และ แถวตามที่กาหนด จากจดุ หนึ่งไปจุดหนง่ึ ดว้ ย ในทน่ี จ้ี ะกลา่ วถึง นกั เรยี นหญิงวางไวแ้ ถวบนของช้นั วางของ - นกั เรียนมคี วามพร้อมใน 1 เดนิ (Walk) ลาตัวตั้งตรง มองตรงไป 1.3 ครใู หน้ ักเรยี นเข้าแถว 4 แถว การเรียนท้ังทางด้าน ข้างหนา้ ยดื อกขน้ึ ก้าวเทา้ ไม่ยาว ไม่ส้นั ร่างกาย จติ ใจและอารมณ์ จนเกินไป แกวง่ แขนสมั พันธก์ ับขาที่ก้าว - นกั เรยี นเคารพกตกิ า ภายในห้องเรียน, แต่งกาย เรยี บร้อย (MQ)  = ครู = นักเรียน 1.4 ครสู ารวจเคร่ืองแต่งกายและของใชส้ ่วนตวั 1.5 อบอุ่นร่างกาย(Warm – Up)ครใู ห้นกั เรียน - นักเรียนบริหารรา่ งกาย ขยายแถวหนงึ่ ชว่ งแขนเพ่ืออบอุน่ รา่ งกาย และอวยั วะต่างๆ ได้ 1.5.1 ครนู านกั เรยี นยดื เหยยี ดกล้ามเนื้อ 5 ท่า เหมาะสมตามวัย (SQ) 

160 สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ 2. เดินตามจงั หวะ (March) คอื การเดนิ ทา่ ท่ี 1 ดดั นว้ิ มอื ทีม่ ีลกั ษณะเดยี วกัน พร้อมกนั ผฝู้ กึ จะต้อง ข้างซ้ายและขวา ขา้ งละ ยดื หลงั ตรง มองไปขา้ งหน้า แกวง่ แขนข้าง 10 วนิ าที เดยี วกัน เดนิ ก้าวเทา้ พรอ้ มกัน 3. วงิ่ (Run) ศรี ษะตงั้ ตรงมองตรงไปขา้ งหน้า ทา่ ที่ 2 หมุนแขนซ้าย ขวา พร้อมกัน หมนุ มา โน้มตัวมาดา้ นหน้าเลก็ น้อยปล่อยหัวไหล่ตาม ข้างหนา้ 10 ครงั้ ไปขา้ ง หลงั 10 คร้ัง สบายไมต่ ้องเกรง็ ขอ้ ศอกงอ แกวง่ แขน ทา่ ที่ 3 หมุนขอ้ เท้า ทา่ ที่ 4 ยนื ยอ่ เฉียดข้างลาตัว ลงพืน้ แบบเต็มเท้า เขา่ งอ ขา้ งซ้ายและขวา และยืด 10 ครัง้ เลก็ น้อย ไมค่ วรเหยยี ดตรง ข้างละ 10 คร้งั ***ถา้ ตอ้ งการวงิ่ ให้เรว็ ให้ลงพน้ื ดว้ ยปลายเทา้ (Forefoot Strike running) แต่ถา้ ต้องการ วงิ่ ใหไ้ ด้นาน หรือวิ่งเพอ่ื สุขภาพควรลงพน้ื ด้วยสน้ เทา้ (Heet Strike running)  ท่าท่ี 5 ว่งิ รอบ  สนาม 2 รอบ (200 เมตร) 1.6 พัฒนาสมรรถภาพรา่ งกาย - ครูใหน้ กั เรยี นเลน่ “เกมแปะแข็ง” - วิธกี ารเลน่ แบง่ ผเู้ ลน่ ออกเปน็ 2 ฝ่าย ฝ่ายละ เทา่ ๆ กนั ฝา่ ยหน่งึ เป็นฝ่ายไล่ อกี ฝ่ายหนึ่งเป็น ฝ่ายหนี

161 สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ 4. การหยดุ เดนิ หยุดวิ่ง (Stopping) - ฝา่ ยไลจ่ ะตอ้ งวงิ่ ไปแตะฝ่ายหนี ฝา่ ยหนเี มอ่ื ถูก - นกั เรียนพัฒนา การหยุดเดิน โดยการก้าวเท้าข้างใดข้างหน่ึง แตะตวั แล้วจะต้องยืนตวั แข็งอยู่กบั ที่ จนกว่า สมรรถภาพความเร็ว และ ไปข้างหน้า แลว้ นาเทา้ ท่ีอยดู่ ้านหลังมาชดิ เพือ่ นในทมี จะวง่ิ มาชว่ ยโดยการ“แตะกลบั ” ความคล่องแคล่วว่องไว จาก การหยดุ วิ่งมี 2 แบบ - กาหนดเวลาเล่นรอบละ 1 นาที ผลัดกันเป็น การเลน่ เกมและการฝึก 1) หยุดโดยใชเ้ ท้าใดเท้าหนงึ่ อยู่หน้า ฝ่ายไล่และฝ่ายหนี เม่ือหมดเวลาให้นับคนท่ีเหลือ ปฏบิ ตั ิ (PQ) (Stride Stop) ทาเหมือนกบั การเดนิ แลว้ ฝา่ ยใดเหลือมากกว่า ฝา่ ยนนั้ เป็นผู้ชนะ หยดุ แตต่ อ้ งย่อตัวลง กดสะโพกให้ต่าเพ่ือ ทาใหท้ รงตวั ไดด้ ีขึ้น 2) การกระโดดหยดุ (Jump Stop) ใชเ้ ท้า = ฝ่ายหนี ใดเทา้ หนง่ึ กระโดดลงสู่พ้ืนดว้ ยขาทัง้ สอง ปลายเท้าอยู่ระดบั เดยี วกับนา้ หนกั ตวั ที่ = ฝา่ ยไล่ เทา้ ทั้งสอง ยอ่ ตวั กางแขนออกเพ่ือทรงตวั - หลังจากเล่มเกมจบ ครูจะสรุปผลการเล่น สิ่งที่ได้ จากการเล่นเกม และเปิดโอกาสให้นกั เรยี นซกั ถาม 2. ขัน้ อธิบายสาธิต (10 นาท)ี - นักเรยี นอธบิ ายทกั ษะ  2.1 ครูให้นักเรียนชมคลปิ วิดโี อทเ่ี ก่ียวกับทักษะการ ทกั ษะการเดนิ การเดิน  เดิน การเดนิ ตามจงั หวะ ว่ิง การหยุดเดนิ หยุดวง่ิ ตามจงั หวะ การวิ่ง การ 2.2 ครถู ามคาถามนักเรียนว่า หยุดเดนิ หยดุ วง่ิ ได้ 2.2.1 ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวแบบเคล่ือนที่ คอื อะไร อยา่ งถูกต้อง (IQ) แนวคาตอบ : การท่ีร่างกายหรอื อวัยวะตา่ งๆ เคล่อื นไหวและเคล่ือนท่ีจากจุดศูนย์กลางท่ีอยู่ 2.2.2 ให้ยกตัวอยา่ งทกั ษะการเคลอื่ นไหว แบบเคล่ือนที่มา 2-3 ทักษะ แนวคาตอบ : เดิน ว่ิง กรโดด 2.3 ครอู ธิบายและสาธติ ร่วมกับนกั เรียนใน ทักษะการเคลอื่ นไหวแบบเคล่ือนท่ี โดยมีหวั ข้อ ดังนี้ 1) เดนิ 2) เดนิ ตามจังหวะ 3) ว่ิง 4) การ หยุดเดนิ หยดุ วิ่ง

162 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ 2.4 ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนซกั ถามข้อสงสัย ก่อนการฝกึ ทักษะ 3. ขน้ั การฝกึ หดั ทกั ษะ (20 นาท)ี - นกั เรยี นไดฝ้ กึ ทักษะที่ 3.1 แบบฝึกที่ 1 ฝึกท่าทางทักษะการเคล่ือนไหว ไดเ้ รียนจนเกดิ ความ แบบเคลือ่ นที่ โดยเนน้ ความเข้าใจ ทาไปเพื่ออะไร ชานาญ (SQ) แล้วทาอยา่ งไร โดยมคี รใู ห้คาแนะนา - แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 แถว ครูให้นักเรียนยืน ขยายแถว หลังกรวยทีก่ าหนด ระยะทางฝึก 10 เมตร    = ครู    = นกั เรยี น       = กรวย        = ทศิ ทางการฝึก - เรมิ่ ฝึก เรยี งลาดบั ทกั ษะ ดงั น้ี 1) เดิน 2) เดิน ตามจงั หวะ 3) วิ่ง 4) การหยุดเดิน หยุดว่ิง ฟังสัญญาญนกหวดี ออกรอบละคนในแตล่ ะแถว - ทาเฉพาะขาไป จนครบทุกคนแล้วจึงทากลบั - ปฏิบัตคิ นละ 2-3 รอบ 3.2 แบบฝึกท่ี 2 ทาเป็นฐาน 4 ฐาน ให้นกั เรียน ทาตามคาสงั่ เรียกวา่ “ฐานทาตามคาส่ัง” - แบบฝึก 3.2 ในแตล่ ะฐาน - ฐานท่ี 1 ให้นกั เรียน ฐานที่ 4 ให้นกั เรยี น ใช้เวลา 2 นาที รวมทง้ั สน้ิ ใช้ เดนิ ไปและเดนิ กลบั มา เดิน 4 ก้าว แลว้ เวลาไม่เกนิ 10 นาที ฐานที่ 2 ให้นกั เรียน แตะมอื เพือ่ นคนต่อไป วิ่งบนมาร์กเกอร์ ว่ิงไป หยุดเดิน ทาไป และกลับ มาแตะมอื ฐานท่ี 3 ให้นกั เรียน แบบนเี้ รื่อยๆ แล้ว เพื่อนคนตอ่ ไป เดนิ ในท่ามารช์ กลับมาแตะมอื “แกวง่ แขนยกเข่าสงู ” เพื่อนคนต่อไป แลว้ กลบั มาแตะมอื เพอ่ื นคนตอ่ ไป

163 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ - ครูสรุปส่ิงทไี่ ดจ้ ากการฝึก และเปิดโอกาสให้ นกั เรียนซกั ถามข้อสงสัยตลอดการฝกึ เล่น 4.ขัน้ การนาไปใช้ (10 นาที ) - นักเรียนมกี ารคิด 4.1 เล่นเกม “เกมรถไฟ เปา่ ยิ้งฉบุ ” วางแผนในวธิ กี ารเลน่ - วิธีการเล่น แบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายละ รวมถึงมีการกระตนุ้ ให้ เทา่ ๆ กนั ตนเองและเพื่อน มคี วาม - เร่มิ เล่น ให้ผู้เล่นฝึกร้องเพลงก่อน เม่ือผู้เล่นทุกคน สนกุ สนานในเกมการ ร้องเพลงได้แล้ว ใหฝ้ กึ ประกอบท่าทาง แข่งขนั (PQ, AQ) “ซ้ายและกซ็ า้ ย ขวาและก็ขวา ข้างหนา้ ข้างหลัง ขา้ งหนา้ ๆ ๆ ใครขวางหนา้ เราเป่ายิง้ ฉบั ” - ให้ผู้เล่นยืนจับคู่และหันหน้าเข้าหากัน เร่ิมร้อง เพลงพรอ้ มทาท่าประกอบ - เมื่อร้องจบใครเป่าย้ิงฉุบแพ้ ให้ไปยืนต่อแถว ด้านหลงั จนเหลอื คนสุดท้ายจะเปน็ ผชู้ นะ 5.ข้ันสรปุ และสุขปฎบิ ัติ (10 นาที ) - นกั เรยี นได้ฝกึ ประมวล 5.1 ครสู รปุ เน้อื หาที่ไดเ้ รยี นในช่วั โมงเรยี น ความคิดรวบยอดอีกครง้ั 5.2 ครถู ามคาถามนักเรียนว่า หลงั จากเรียนโดยการ แลกเปล่ียน การถาม 5.2.1 ครูใหต้ ัวแทนนกั เรียนออกมาแสดง และตอบกบั ครูผู้สอน ทา่ ทางการเคล่ือนไหวแบบเคล่ือนที่ใหเ้ พื่อน - นักเรยี นรู้จักการดูแล นกั เรยี นดู แลว้ ถามวา่ แต่ละท่าเรยี กว่าท่าอะไร รักษาความสะอาดอวัยวะ แนวคาตอบ ทา่ ใดท่าหน่ึง 1) เดนิ 2) เดนิ ตาม ต่างๆ ของรา่ งกายตนเอง จังหวะ 3) วิ่ง 4) การหยุดเดิน หยดุ วง่ิ หลงั จากเลน่ กฬี า - นกั เรียนไดฝ้ กึ ความ 5.2.1 การหยดุ เดนิ และหยดุ วงิ่ ต่างกันอย่างไร

164 สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ แนวคาตอบ หยุดว่ิงจะใช้การทรงตวั และใช้การ รบั ผิดชอบในการตรวจ ยอ่ ตัวมากกวา่ หยุดเดนิ สอบและแก้ไขในเรื่อง 5.3ครูให้นักเรียนไปลา้ งหน้า ล้างมือ ด่ืมน้า และ ของการนาของใชม้ า กลบั มาเข้าแถว โรงเรยี น (IQ, MQ, AQ) 5.4ครสู ารวจอปุ กรณ์และของใชส้ ว่ นตัวของนักเรียน 5.5 ครใู หน้ กั เรยี นบันทึกหัวข้อเรื่องที่เรยี นในชว่ั โมงน้ี ลงในหนังสือเรยี นหน้า 52 (อาจมีการเปลีย่ นแปลง) 5.6ครปู ล่อยเลิกแถว 5.7ครูพานกั เรียนเดนิ แถวกลบั ห้องเรยี นก่อนเป็นฝา่ ยชนะ 7. สื่อการสอน/แหลง่ การเรยี นรู้ - ส่อื การสอน นกหวดี หนงั สือเรยี นวิชาสขุ ศกึ ษา กรวย แผน่ ยางมาร์กเกอร์ Whistle และพลศกึ ษา ป..2 เลม่ 1 Cones Markers A Book กระดานไวทบ์ อรด์ ปากกาไวทบ์ อรด์ แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวท์บอร์ด เรื่องท่สี อนในช่ัวโมง - แหลง่ การเรยี นรู้ Whiteboard eraser poster/Image media เกรยี งไกร อินทรชยั . 2559. สุขศกึ ษาและพลศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 เล่ม 2. พิมพ์ครงั้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พรน้ิ ท์กรุ๊ป จากัด. ณัฐพร สุดดี. 2561. เทคนิคการสอนเกมมูลฐาน. กรงุ เทพมหานคร: คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. (อดั สาเนา)

165 ถาวร วรรณศิร.ิ 2551. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา : ฟุตบอล ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5-6. พิมพ์ครงั้ ที่ 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอร์พรน้ิ ท์กรุ๊ป จากัด. สุรเชษฐ์ วศิ วธรี านนท์. 2561. กีฬาแชรบ์ อลและทักษะการเคลอ่ื นไหวขั้นพ้นื ฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 1. พมิ พค์ รง้ั ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พรน้ิ ท์กรุป๊ จากัด. 8. คาศัพท์ภาษาอังกฤษ ลาดับ คาศัพทภ์ าษาองั กฤษ ความหมาย การเคลอ่ื นไหวแบบเคลื่อนท่ี 1 Locomotor Skills - เดิน เดนิ ตามจังหวะ 2 Walk ว่ิง ว่ิงลงพื้นดว้ ยปลายเทา้ 3 March วง่ิ ลงพืน้ ด้วยส้นเทา้ หยดุ โดยใช้เท้าใดเท้าหนึง่ อยู่หน้า 4 Run การกระโดดหยุด การหยุดเดิน หยดุ ว่งิ 5 Forefoot Strike running การเคลือ่ นไหวข้ันพ้นื ฐาน อปุ กรณ์ของใช้ในการเรียนพลศกึ ษา 6 Heet Strike running นกหวดี หนังสือเรยี น 7 Stride Stop กรวย แผ่นยางมารก์ เกอร์ 8 Jump Stop กระดานไวท์บอร์ด ปากกาไวท์บอร์ด 9 Stopping แปรงลบกระดานไวท์บอร์ด โปสเตอร์ / POWERPOINTเรือ่ งท่ีสอนในชัว่ โมง 10 Basic Movement Skills 11 P.E Supplies 12 Whistle 13 Book 14 Cone 15 Marker 16 White board 17 Whiteboard pen 18 Whiteboard eraser 19 poster/Image media 9. การวดั และประเมินผล เครื่องมือ แบบสังเกต ลาดับ เรื่อง แบบตรวจสอบ แบบสงั เกต 1 สังเกตความสนใจและการมสี ่วนรว่ มตลอดชนั้ เรียน 2 สารวจเครอ่ื งแต่งกายและบกั ทึกคะแนนความรับผิดชอบและคะแนนสขุ ปฏบิ ัติ 3 สงั เกตการตอบคาถามระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

166 โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม แบบประเมนิ ความสนใจ การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรม และผลสาเรจ็ ของการฝึกทักษะและการนาไปใช้ วนั ที่ ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปีการศกึ ษา.......................... หน่วยการเรียนร้.ู ..................................... เรือ่ ง...................................................................ระดับชั้น.......................... ระดับ 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรุง/เพ่มิ เตมิ ) PQ นกั เรียน 80% ขึน้ ไป ฝึกทักษะหรอื เลน่ นักเรยี น 60%-80% ฝกึ ทักษะหรือเลน่ นกั เรียนน้อยกว่า60%ฝึกทกั ษะหรอื เล่น สมรรถภาพ เกมเพ่อื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพอ่ื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพื่อพัฒนาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย ทางกาย MQ นกั เรียน 80% ขน้ึ ไปใหค้ วามร่วมมือ นกั เรยี น 60%-80%ให้ความรว่ มมอื นกั เรยี นนอ้ ยกวา่ 60%ให้ความ คณุ ธรรม กับครใู นการจัดกจิ กรรมเปน็ อยา่ งดี กบั ครูในการจดั กจิ กรรมเป็นอย่างดี รว่ มมือกบั ครูในการจัดกิจกรรมเปน็ จรยิ ธรรม ยอมรับการเป็นผนู้ า ผูต้ ามทด่ี ี เชอ่ื ยอมรับการเป็นผู้นา ผู้ตามทีด่ ี เชอื่ อยา่ งดี ยอมรับการเป็นผู้นา ผ้ตู ามที่ ฟงั ครู ฟังครู ดี เชอื่ ฟังครู นักเรียน 80% ขึน้ ไปมคี วามกระตือรอื ร้น นั ก เรี ย น 60% -80% มี มี ค วาม นั กเรีย น น้ อย กว่า 60% มี ความ แตง่ กายเรยี บรอ้ ยพรอ้ มท่ีจะเรยี น กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม AQ เจตคติ ชว่ ยเหลอื และแนะนาเพื่อนใหป้ ฎบิ ตั ิ ท่ีจะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพ่ือน ท่ีจะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพื่อน ระเบยี บวนิ ยั ในหอ้ งเรียนได้ ให้ปฎบิ ตั ริ ะเบียบวินยั ในหอ้ งเรยี นได้ ให้ปฎบิ ัตริ ะเบียบวินยั ในหอ้ งเรยี นได้ IQ ความรู้ นกั เรยี น 80% ข้ึนไปสามารถอธิบาย นักเรยี น 60%-80% สามารถอธบิ าย นักเรียนน้อยกว่า 60% สามารถ ความ เนอ้ื หาทีเ่ รียนไปได้อยา่ งครบถว้ นและ เนอื้ หาท่เี รียนไปไดอ้ ยา่ งครบถว้ นและ อธิบายเนื้อหาที่เรียนไปได้อย่าง เขา้ ใจ ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง ครบถ้วนและถกู ต้อง นกั เรียน 80% ขึน้ ไปสามารถปฏบิ ตั ิ นักเรียน 60%-80% สามารถปฏบิ ตั ิ นักเรียนนอ้ ยกว่า 60% สามารถ SQ ทักษะ ทักษะที่เรยี นในชั่วโมงไดอ้ ยา่ ง ทักษะที่เรยี นในช่วั โมงได้อย่าง ปฏบิ ตั ิทกั ษะทเี่ รยี นในชว่ั โมงได้ ครบถ้วนและถกู ตอ้ งได้ ครบถว้ นและถูกต้องได้ อย่างครบถ้วนและถูกตอ้ งได้ ระดบั คุณภาพ ระดบั 3 หมายถึง จานวนนกั เรยี น 80% ข้ึนไป ระดับ 2 หมายถึง จานวนนกั เรียน 60-80% ระดบั 1 หมายถึง จานวนนักเรียนอ้ ยกวา่ 60% ลงช่ือ...........................................................ผปู้ ระเมนิ

167 โรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝ่ายประถม บันทกึ หลังสอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 2/...... หนว่ ย ทกั ษะการเคลื่อนไหวข้ันพื้นฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรียน ตน้ เรือ่ ง การเคล่ือนไหวแบบเคลื่อนท่ี (Locomotor Skills) เวลาเรียน 1 คาบ (60 นาท)ี - เดิน (Walk) - เดินตามจงั หวะ (March) - ว่งิ (Run) - การหยุดเดิน หยุดว่งิ (Stopping) วันท่ี..........เดอื น.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น..-.......................น. 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ปญั หาและอปุ สรรค(กอ่ นสอน-ระหวา่ งสอน-หลังสอน) ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกไ้ ขเพื่อใชใ้ นการสอนคร้งั ต่อไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...................................................... (………………………………………………………..) ผู้สอน

168 โรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝา่ ยประถม แผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 หนว่ ย ทักษะการเคลอื่ นไหวข้ันพืน้ ฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรยี น ตน้ เร่อื ง การเคล่อื นไหวแบบเคลอ่ื นท่ี (Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาที) - ก้าวเขยง่ (Skipping) - กา้ วกระโดด (Jupping)- ควบมา้ (Galloping) - การกลับตัว (Shuttle Run) 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 3 การเคล่ือนไหว การออกกาลงั กาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล พ 3.1: เขา้ ใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า พ 3.2: รักการออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเลน่ กีฬา ปฏิบตั เิ ป็นประจาอยา่ งสม่าเสมอ มวี ินัย เคารพสิทธิ กฏกติกา มนี ้าใจ มีจติ วิญญาณในการแข่งขนั และช่ืนชมในสนุ ทรภี าพของการกีฬา 2. ตวั ชวี้ ัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคุมการเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ขณะอยู่กับท่ี เคลอื่ นท่ี และใช้อปุ กรณ์ประกอบ พ 3.1 ป.2/2: เลน่ เกมเบ็ดเตลด็ และเขา้ ร่วมกจิ กรรมทางกายที่วิธเี ลน่ อาศยั การเคล่อื นไหวเบือ้ งต้นทั้ง แบบอยกู่ ับท่ี เคล่ือนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 นกั เรียนสามารถอธิบายหลักการเคล่ือนไหวแบบเคลอ่ื นท่ใี นทา่ ก้าวเขย่ง ก้าวกระโดด ควบมา้ การกลับตวั ได้ถกู ต้อง (IQ) 3.2 นักเรียนสามารถปฎิบัติทักษะทา่ ก้าวเขย่ง ก้าวกระโดด ควบม้า การกลบั ตวั ได้ถูกต้องอย่างนอ้ ย 80 % ของ จานวนนักเรียนท้ังหมด (SQ) 3.3 นักเรียนสามารถพฒั นาสมรรถภาพด้านความอดทนของกลา้ มเนื้อขา(Muscular Endurance) ดา้ น ความเร็ว(Speed) และความคลอ่ งแคล่วว่องไว(Agility) จากการเล่นเกมและการฝึกปฏิบัติ (PQ) 3.4 นกั เรียนสามารถแต่งกายถูกระเบยี บและปฏิบัติตามกฎระเบยี บ (MQ) 3.5 นกั เรียนได้มีความกระตือรือรน้ ในการเขา้ เรยี นและสนุกสนานในการเล่นเกม (AQ)

169 4. สาระสาคญั การว่ิงก้าวเขย่ง ก้าวกระโดด ควบม้า เป็นทักษะท่ีนาเอาท่าทางการวิ่งมาผสมผสานกับการเขย่งข้อเท้า การกระโดด และการสไลด์ โดยเกิดจากการสปริงข้อเท้าท้ังสองข้างขึ้นพ้นพ้ืน พร้อมกับดึงเท้าที่อยู่ข้างหลังเอาไป ไว้ข้างหน้าคล้ายๆ กัน รวมถึงทักษะการกลับตัวท่ีต้องเกิดจากการเกร็งข้อเท้าก่อนท่ีจะหมุนตัวด้วย ทักษะที่กล่าว มาข้างต้นถ้านักเรียนได้รับการฝึกฝนบ่อยๆ จะช่วยทาให้นักเรียนมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและกระดูกบริเวณ ขาและข้อเทา้ สง่ ผลตอ่ การดาเนินชวี ติ ประจาวนั และการเลน่ กฬี า 5. ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั นกั เรียน 80% สามารถปฏิบตั ิได้ตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้และสามารถนาเอาความรูไ้ ปใช้ได้อย่าง คล่องแคล่วในการเรียนการสอนรายวิชาอ่นื และชวี ติ ประจาวัน 6. กระบวนการจดั การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ - นักเรียนมคี วามเข้าใจและ ทักษะการเคลอ่ื นไหวแบบอยู่กับที่ 1.ขน้ั เตรียม / อบอนุ่ ร่างกาย (10 นาที) ปฎบิ ตั ิตามคาสั่งครผู ู้สอน - นกั เรียนมคี วามเปน็ (Locomotor Skills) คือ การทรี่ ่างกาย 1.1 ครเู ดนิ ไปรับนักเรยี น แลว้ พานักเรียนไป ระเบยี บเรยี บร้อยภายใน แถวตามทีก่ าหนด หรอื อวยั วะต่างๆ เคลอื่ นไหวและเคล่ือนท่ี สถานทเ่ี รยี น (สนาม 3) - นกั เรยี นมีความพร้อมใน การเรยี นทงั้ ทางดา้ น ดว้ ย .ในทนี่ ้ีจะกล่าวถงึ ทกั ษะการกา้ วเขยง่ 1.2 ครูให้นักเรียนวางถุงยา่ มในช้นั วางของ โดย รา่ งกาย จิตใจและอารมณ์ - นกั เรยี นเคารพกติกา กา้ วกระโดด ควบม้า การกลบั ตัว ให้นกั เรยี นชายไว้แถวล่างของชนั้ วาง และ ภายในหอ้ งเรยี น, แตง่ กาย เรยี บรอ้ ย (MQ) 1. ก้าวเขยง่ (Skipping) คือ การกระโดด นักเรยี นหญงิ วางไวแ้ ถวบนของช้ันวางของ ด้วยขาข้างเดียว คล้ายการ Hop แต่เขา่ 1.3 ครใู ห้นักเรียนเข้าแถว 4 แถว จะไมย่ กขึ้นสูง บางครงั้ ยงั สามารถพบั ขาท่ ยกไปด้านหลังได้อีกด้วย = ครู = นักเรยี น 1.4 ครูสารวจเครอื่ งแต่งกายและของใช้ส่วนตัว   1.5 อบอุ่นร่างกาย(Warm – Up)ครูให้นกั เรยี น - นกั เรียนบริหารร่างกาย ขยายแถวหนึ่งช่วงแขนเพื่ออบอนุ่ ร่างกาย และอวยั วะต่างๆ ได้ 2. ก้ าวกระโดด (Hopping) คื อ ก าร 1.5.1 ครูนานักเรยี นยดื เหยียดกลา้ มเนื้อ 5 ทา่ เหมาะสมตามวัย (SQ) กระโดดด้วยขาข้างเดียว โดยใช้ขาข้างที่ ถนัดในการกระโดด ส่วนขาอีกข้างให้งอ หัวเข่าและยกสูงระดับสะโพกเพ่ือรักษา

170 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ สมดุลของร่างกาย แขนตรงข้ามกับขาที่ ทา่ ท่ี 1 บรหิ ารคอ ซา้ ยและขวา ขา้ งละ 10 คร้ัง ไม่ได้ใช้กระโดดให้ยกสูงเพื่อรักษาสมดุล เช่นกัน ลงสู่พ้ืนด้วยขาข้างที่ใช้กระโดด ด้วยการย่อเข่าผอ่ นแรง ทา่ ท่ี 2 ดัดนิ้วมือซ้ายและขวา ข้างละ 10 วนิ าที  3. ควบม้า (Galloping) คือ การก้าวเท้า ท่าท่ี 3 หมนุ ลาตัวไปขา้ งหน้า-ข้างหลงั 10 ใดเท้าหนึ่งนา แล้วก้าวอีกเท้าหน่ึงเข้าไป รอบ ชิดเส้นเท้านา โดยน้าหนักตัวจะอยู่ท่ีเท้า นา เท้าไหนนาจะตอ้ งนาตลอดแลว้ ปลาย เทา้ ไม่เปดิ ท่าท่ี 4 ท่าลาตัว หัวไหล่และแขนข้างซ้ายและ ขวา ขา้ งละ 10 ครั้ง  4. การกลับตัว (Shuttle Run) คือ การ ท่าท่ี 5 วงิ่ รอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร) หยุดตัวท่ีเป้าหมายโดยมีเท้านาและเท้าตาม กลับตัวด้านท่ีขาอยู่ด้านหลัง โดยท้ิงน้าหนัก ที่ปลายเท้าและบิดตัวกลับมา แขนกางออก เล็กน้อยเพื่อรกั ษาสมดุล ถีบขาท่ีอยู่ด้านหลัง ออกมาวางดา้ นหน้าแลว้ ออกว่ิงต่อไป

171 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้  1.6 พฒั นาสมรรถภาพร่างกาย - นักเรยี นพัฒนา  ครใู หน้ ักเรยี นเล่นเกม “เปา่ ย้ิงฉุบชิงเมือง” สมรรถภาพด้านความอดทน กลา่ วโดยสรปุ เป็นทักษะต่อเนื่องจากการ เดินหรือวิง่ ใชก้ ารหมุนตวั หรือกลับหลงั - ให้นักเรียนแบ่งเป็น 6 ทมี เท่าๆ กัน แถว ของกล้ามเนอื้ ขา ความเร็ว หนั เพอ่ื เคลื่อนท่ีกลับมาเส้นทางเดิม ท่ี 1 แขง่ ขันกบั แถวท่ี 2 แถวที่ 3 แขง่ ขันกบั แถว และความคล่องแคลว่ วอ่ งไว ท่ี 4 แถวที่ 5 แข่งขนั กับแถวท่ี 6 จาก การเลน่ เกมและการฝึก - เริ่มเล่น โดยครูจะให้สัญญาณนกหวีด ให้ ปฏบิ ตั ิ (PQ) นักเรียนคนที่ยืนคนแรกของแต่ละแถววิ่งไปข้างหน้า บนจุดมาร์กเกอร์กทวี่ างไว้ “เป่ายิ้งฉุบ” กัน หากใคร ชนะจะได้ยืนอยู่ คนที่แพ้ต้องออกจากจุดมาร์กเกอร์ แล้ววิ่งไปต่อท้ายแถวเดิม คนใหม่ของแถวท่ี “เป่าย้ิงฉุบ ”แพ้ จะต้องรีบวิ่งออกมาบน มาร์กเกอร์ เพื่อ“เป่ายิ้งฉุบ”กับคนเดิม ใครแพใ้ ห้ ว่ิงไปต่อหลัง ปฏิบัติเหมือนเดิม ไปเรื่อยๆ กาหนดเวลาการเลน่ 8 นาที เกณฑ์การชนะ จนกว่าจะมีคนในแถวทีมใดทีม หนง่ึ ว่ิงไปยืนบนมาร์กเกอร์แผ่นสุดท้ายของทมี ฝั่ง ตรงข้ามก่อนถือวา่ เปน็ ผู้ชนะ  = นกั เรยี น 6 ทีม       = มาร์กเกอร์ = ทิศทางการวิ่ง ของทีม  = ทศิ ทางการวิ่ง ของทมี    = เส้นชยั ของทมี    - หลังจากเล่มเกมจบ ครูจะสรุปผลการเล่น สิ่งที่ได้ = เส้นชยั ของทมี จากการเลน่ เกม และเปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถาม 

172 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ 2. ข้นั อธบิ ายสาธิต (10 นาท)ี - นกั เรียนอธิบายทักษะ 2.1 ครใู หน้ ักเรยี นชมคลิปวดิ ีโอทีเ่ กย่ี วกับทักษะ กา้ วเขยง่ ก้าวกระโดด การ กา้ วเขย่ง - กา้ วกระโดด - ควบม้า - การ ควบม้า การกลบั ตัว กลบั ตวั ได้อยา่ งถูกต้อง (IQ) 2.2 ครูถามคาถามนักเรยี นวา่ 2.2.1 ให้ นั ก เรี ย น ช่ ว ย อ ธิ บ า ย แ ล ะ เปรียบเทียบท่าของแขน เมื่อต้องยกขาไป ข้างหน้า และค้างไว้นานๆ และท่าของแขนเม่ือ ตอ้ งเคลือ่ นทีโ่ ดยการเดนิ หรอื ว่งิ ว่าทาอย่างไร แนวคาตอบ : การที่ขาจะยกขน้ึ คา้ งไว้ไม่ว่าจะ อยกู่ ับที่ หรือเคลื่อนที่ แขนจะต้องกางออกเม่ือ ชว่ ยในการทรงตวั จะกางลักษณะงอข้อศอก เล็กนอ้ ย ส่วนการเดินหรือการวง่ิ จะใช้การแกว่ง แขนช่วยนอกจากจะชว่ ยในการทรงตวั จะทาให้ เคล่อื นที่ได้เร็วขึ้นดว้ ย 2.3 ครอู ธบิ ายและสาธิตรว่ มกับนกั เรียนใน ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวแบบเคล่ือนท่ี โดยมหี วั ขอ้ ดงั น้ี 1) ทกั ษะการก้าวเขยง่ 2) ก้าวกระโดด 3) ควบม้า 4) การกลบั ตวั 2.4 ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามข้อสงสัย ก่อนการฝึกทักษะ 3. ขั้นการฝึกหดั ทกั ษะ (20 นาท)ี - นกั เรียนไดฝ้ กึ ทักษะท่ี 3.1 แบบฝกึ ที่ 1 ฝึกท่าทางทักษะการเคลื่อนไหว ได้เรียนจนเกิดความ แบบเคลื่อนท่ี โดยเนน้ ความเขา้ ใจ ฝึกไปเพ่ืออะไร ชานาญ (SQ) แล้วมีวธิ ีการฝกึ อยา่ งไร โดยมีครใู ห้คาแนะนา - แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 แถว ครูให้นักเรียนยืน ขยายแถว หลังกรวยท่ีกาหนด ระยะทางฝกึ 10 เมตร

173 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้    = ครู    = นักเรยี น    = กรวย           = ทศิ ทางการฝึก - เริ่มฝึก เรียงลาดบั ทกั ษะ ดงั นี้ 1) ทักษะการกา้ ว เขยง่ 2) กา้ วกระโดด 3) ควบม้า 4) การกลบั ตัว ฟังสัญญาญนกหวีดออกรอบละคนในแตล่ ะแถว - ทาเฉพาะขาไป จนครบทุกคนแล้วจึงทากลับ - ปฏบิ ตั คิ นละ 2-3 รอบ - แบบฝึก 3.2 ในแตล่ ะฐาน ใช้เวลา 2 นาที รวมทัง้ สน้ิ ใช้ 3.2 แบบฝกึ ที่ 2 ทาเป็นฐาน 4 ฐาน ให้นกั เรยี น เวลาไมเ่ กิน 10 นาที ทาตามคาส่งั เรยี กวา่ “ฐานทาตามคาส่งั ” - ฐานท่ี 1 ให้นกั เรียน ฐานท่ี 2 ให้นักเรียน ก้าวเขยง่ ไปและกลบั ฐานที่ 4 ให้ ก้าวกระโดดไปและ มาแตะมอื เพ่ือนคน นักเรยี น เดนิ หรือวิ่งแล้วกลบั ต่อไป กลบั มาแตะมอื เพอ่ื น ตัวไปและกลับ คนต่อไป ฐานที่ 3 ใหน้ ักเรียน มาแตะมอื ควบมา้ ไปและกลับ เพือ่ นคนตอ่ ไป มาแตะมอื เพือ่ นคน - ครสู รุปส่งิ ท่ไี ดจ้ ากการฝกึ และเปดิ โอกาสให้ นกั เรียนซักถามข้อสงสยั ตลอดการฝกึ เล่น 4.ข้นั การนาไปใช้ (10 นาที ) - นกั เรียนมีการคดิ 4.1 เล่นเกม “เกมกระตา่ ยขาเดยี ว” วางแผนในวิธกี ารเลน่ - ครใู หน้ ักเรยี นเลน่ “เกมกระต่ายขาเดยี ว” รวมถงึ มีการกระตุน้ ให้ - วธิ กี ารเลน่ แบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ฝ่าย ฝา่ ยละ ตนเองและเพื่อน มีความ เทา่ ๆ กัน ฝ่ายหน่งึ เปน็ กระต่าย อกี ฝ่ายเปน็ สนุกสนานในเกมการ

174 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ เป็นคนหนี กลมุ่ กระตา่ ยจะยืนอยรู่ อบๆ วงกลม แข่งขัน (PQ, AQ) - เมื่อเริ่มเล่น กระตา่ ยจะกระโดดขาเดยี วเข้าไปใน วงกลม เพอ่ื แตะตวั ผูเ้ ล่นท่ีอยใู่ นวงกลม กระต่าย สามารถเปลีย่ นตวั ผเู้ ลน่ ได้โดยกระโดดขาเดยี ว ออกมาแปะมือเพ่ือนในทีม ให้เข้าไปเลน่ แทน - เมอ่ื หมดเวลาการเล่น ให้นบั จานวนผู้เลน่ ท่โี ดน แตะตวั แลว้ เปลย่ี นใหฝ้ า่ ยกระต่ายไปเป็นคนหนี ฝ่ายคนหนีมาเปน็ กระตา่ ย - หลังจากทัง้ 2 ฝ่ายเสรจ็ สนิ้ การเปน็ กระต่าย ให้ สรปุ ว่าทมี ใดแตะตวั ผเู้ ล่นไดจ้ านวนมากสุด ทีม นน้ั เป็นฝา่ ยชนะ = คน(หน)ี = กระตา่ ย(ไล่) - หลังจากเล่มเกมจบ ครูจะสรุปผลการเล่น ส่ิงท่ีได้ จากการเล่นเกม และเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นซกั ถาม 5.ข้ันสรปุ และสุขปฎิบตั ิ (10 นาที ) - นักเรยี นได้ฝึกประมวล 5.1 ครสู รุปเน้ือหาท่ีไดเ้ รียนในชว่ั โมงเรยี น ความคดิ รวบยอดอีกคร้ัง 5.2 ครูถามคาถามนกั เรียนวา่ หลงั จากเรยี นโดยการ 5.2.1 ครใู ห้ตวั แทนนักเรียนออกมาแสดง แลกเปล่ียน การถาม ทา่ ทางการเคลื่อนไหวแบบเคลอื่ นทใ่ี ห้เพือ่ น และตอบกบั ครผู ้สู อน นักเรียนดู แลว้ ถามว่าแตล่ ะท่าเรียกวา่ ทา่ อะไร - นักเรียนรจู้ ักการดูแล แนวคาตอบ ท่าใดท่าหนึง่ 1) ทกั ษะการกา้ ว รักษาความสะอาดอวยั วะ เขย่ง 2) กา้ วกระโดด 3) ควบมา้ 4) การกลบั ตัว ต่างๆ ของรา่ งกายตนเอง 5.2.2 การกลับตวั กบั การหมนุ ตัวตา่ งกันอยา่ งไร หลังจากเล่นกฬี า

175 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ แนวคาตอบ : การกลบั ตัวมเี ทา้ ใดเท้าหนึ่งอยู่ - นักเรียนได้ฝกึ ความ ข้างหนา้ เม่ือกลบั หลงั หนั เทา้ ทอ่ี ย่ขู ้างหนา้ จะ รับผดิ ชอบในการตรวจ เปล่ยี นมาเป็นเทา้ หลัง เทา้ ท่ีอยู่ข้างหลังจะมา สอบและแก้ไขในเร่ือง เป็นเท้าหน้า การหมนุ ตวั คือ การทอ่ี วัยวะทัง้ ของการนาของใชม้ า ตัวหมุน ไมจ่ าเปน็ ต้องมีเท้านา เทา้ ตาม หรอื โรงเรียน (IQ, MQ, AQ) อาจจะยนื เปน็ เท้าคู่กไ็ ด้ 5.3ครูให้นักเรียนไปลา้ งหน้า ล้างมือ ดื่มน้า และ กลบั มาเขา้ แถว 5.4ครูสารวจอุปกรณ์และของใชส้ ว่ นตวั ของนักเรียน 5.5 ครูให้นักเรยี นบันทึกหวั ข้อเร่ืองท่ีเรยี นในชั่วโมงนี้ ลงในหนงั สือเรยี นหน้า 52 (อาจมีการเปลยี่ นแปลง) 5.6 ครูปล่อยเลิกแถว 5.7ครพู านกั เรยี นเดนิ แถวกลบั หอ้ งเรียนกอ่ นเปน็ ฝา่ ยชนะ 7. สอื่ การสอน/แหลง่ การเรยี นรู้ - ส่ือการสอน นกหวีด หนังสอื เรยี นวชิ าสขุ ศึกษา กรวย แผ่นยางมาร์กเกอร์ Whistle และพลศึกษา ป..2 เลม่ 1 Cones Markers A Book กระดานไวทบ์ อรด์ ปากกาไวท์บอร์ด แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวทบ์ อร์ด เรือ่ งทส่ี อนในช่ัวโมง Whiteboard eraser poster/Image media

176 - แหล่งการเรยี นรู้ เกรยี งไกร อนิ ทรชยั . 2559. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ริ้นท์กรุ๊ป จากัด. ณัฐพร สุดดี. 2561. เทคนิคการสอนเกมมูลฐาน. กรงุ เทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . (อัดสาเนา) ถาวร วรรณศริ ิ. 2551. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา : ฟุตบอล ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5-6. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอรพ์ รน้ิ ท์กรุ๊ป จากัด. สรุ เชษฐ์ วิศวธรี านนท์. 2561. กีฬาแชร์บอลและทักษะการเคลอื่ นไหวขนั้ พืน้ ฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 1. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พริ้นท์กรปุ๊ จากัด. 8. คาศพั ท์ภาษาอังกฤษ ความหมาย - - การเคล่ือนไหวแบบเคล่ือนที่ ลาดับ คาศัพทภ์ าษาอังกฤษ 1 Locomotor Skills กา้ วเขย่ง ก้าวกระโดด 2 Skipping - การกลบั ตัว 3 Jupping การเคลือ่ นไหวขัน้ พน้ื ฐาน 4 Shuttle Run อปุ กรณ์ของใชใ้ นการเรยี นพลศึกษา 5 Basic Movement Skills นกหวดี 6 P.E Supplies หนังสือเรียน 7 Whistle กรวย 8 Book แผน่ ยางมารก์ เกอร์ 9 Cone กระดานไวทบ์ อรด์ 10 Marker ปากกาไวทบ์ อร์ด 11 White board แปรงลบกระดานไวท์บอร์ด 12 Whiteboard pen โปสเตอร์ / POWERPOINTเรื่องท่สี อนในช่ัวโมง 13 Whiteboard eraser 14 poster/Image media 9. การวัดและประเมินผล เครือ่ งมอื แบบสังเกต ลาดับ เร่อื ง แบบตรวจสอบ แบบสงั เกต 1 สังเกตความสนใจและการมีส่วนรว่ มตลอดชนั้ เรียน 2 สารวจเคร่อื งแตง่ กายและบักทกึ คะแนนความรับผิดชอบและคะแนนสุขปฏบิ ัติ 3 สังเกตการตอบคาถามระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

177 โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ฝ่ายประถม แบบประเมินความสนใจ การมีส่วนร่วมในกจิ กรรม และผลสาเร็จของการฝึกทักษะและการนาไปใช้ วนั ที่ ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปกี ารศกึ ษา.......................... หน่วยการเรียนร้.ู ..................................... เรือ่ ง...................................................................ระดับชัน้ .......................... ระดับ 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรุง/เพิ่มเติม) PQ นกั เรียน 80% ขึน้ ไป ฝึกทักษะหรือเลน่ นักเรยี น 60%-80% ฝกึ ทกั ษะหรือเลน่ นักเรยี นนอ้ ยกวา่ 60%ฝึกทกั ษะหรือเล่น สมรรถภาพ เกมเพ่อื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพ่ือพฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพือ่ พัฒนาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย ทางกาย MQ นกั เรียน 80% ขน้ึ ไปใหค้ วามร่วมมือ นกั เรยี น 60%-80%ใหค้ วามร่วมมอื นักเรยี นนอ้ ยกวา่ 60%ให้ความ คณุ ธรรม กับครใู นการจัดกจิ กรรมเป็นอย่างดี กบั ครูในการจดั กจิ กรรมเป็นอย่างดี ร่วมมอื กับครูในการจัดกจิ กรรมเปน็ จรยิ ธรรม ยอมรับการเป็นผนู้ า ผูต้ ามที่ดี เชอ่ื ยอมรับการเป็นผ้นู า ผตู้ ามทดี่ ี เชอ่ื อย่างดี ยอมรับการเปน็ ผนู้ า ผ้ตู ามที่ ฟงั ครู ฟังครู ดี เช่อื ฟงั ครู นักเรียน 80% ขึน้ ไปมคี วามกระตอื รอื ร้น นั ก เรี ย น 60% -80% มี มี ค วาม นั กเรีย น น้ อย กว่า 60% มี ความ แตง่ กายเรยี บรอ้ ยพร้อมท่ีจะเรยี น กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม AQ เจตคติ ชว่ ยเหลอื และแนะนาเพื่อนให้ปฎบิ ตั ิ ท่ีจะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพื่อน ท่ีจะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพื่อน ระเบยี บวนิ ยั ในหอ้ งเรียนได้ ให้ปฎบิ ตั ริ ะเบียบวินัยในห้องเรยี นได้ ใหป้ ฎบิ ัติระเบยี บวินยั ในหอ้ งเรียนได้ IQ ความรู้ นกั เรยี น 80% ข้ึนไปสามารถอธบิ าย นักเรยี น 60%-80% สามารถอธิบาย นักเรียนน้อยกว่า 60% สามารถ ความ เนอ้ื หาที่เรียนไปได้อยา่ งครบถว้ นและ เนอื้ หาท่เี รียนไปไดอ้ ยา่ งครบถ้วนและ อธิบายเน้ือหาที่เรียนไปได้อย่าง เขา้ ใจ ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง ครบถ้วนและถกู ตอ้ ง นกั เรียน 80% ขึน้ ไปสามารถปฏบิ ตั ิ นักเรียน 60%-80% สามารถปฏบิ ตั ิ นกั เรยี นน้อยกว่า 60% สามารถ SQ ทักษะ ทักษะที่เรยี นในชั่วโมงไดอ้ ย่าง ทักษะที่เรยี นในช่ัวโมงได้อยา่ ง ปฏิบัตทิ กั ษะทเี่ รยี นในช่วั โมงได้ ครบถ้วนและถกู ตอ้ งได้ ครบถว้ นและถูกต้องได้ อย่างครบถ้วนและถูกตอ้ งได้ ระดบั คุณภาพ ระดบั 3 หมายถึง จานวนนกั เรยี น 80% ขึ้นไป ระดับ 2 หมายถึง จานวนนกั เรียน 60-80% ระดบั 1 หมายถึง จานวนนักเรียนอ้ ยกวา่ 60% ลงชอื่ ...........................................................ผปู้ ระเมิน

178 โรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝา่ ยประถม บนั ทึกหลังสอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2/...... หนว่ ย ทกั ษะการเคล่ือนไหวขั้นพน้ื ฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรยี น ตน้ เรื่อง การเคล่อื นไหวแบบเคลอ่ื นที่ (Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาท)ี - กา้ วเขยง่ (Skipping) - กา้ วกระโดด (Jupping)- ควบมา้ (Galloping) - การกลับตวั (Shuttle Run) วันท.่ี .........เดือน.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น..-.......................น. 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ปญั หาและอุปสรรค(กอ่ นสอน-ระหวา่ งสอน-หลังสอน) ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ไขเพื่อใช้ในการสอนครัง้ ต่อไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...................................................... (………………………………………………………..) ผู้สอน

179 โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝ่ายประถม แผนการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 หน่วย ทักษะการเคลอ่ื นไหวข้ันพื้นฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรยี น ตน้ เร่อื ง การเคลื่อนไหวแบบเคล่ือนท่ี (Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาท)ี - กระโดดขาเดยี ว (Single leg Jump) - กระโดดสองขา (Jumping) – กระโจน (Leaping) 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 3 การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล พ 3.1: เขา้ ใจ มีทกั ษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า พ 3.2: รกั การออกกาลงั กาย การเลน่ เกม และการเล่นกีฬา ปฏบิ ัตเิ ปน็ ประจาอย่างสม่าเสมอ มวี ินัย เคารพสทิ ธิ กฏกติกา มีนา้ ใจ มีจติ วญิ ญาณในการแข่งขนั และชน่ื ชมในสนุ ทรีภาพของการกฬี า 2. ตัวช้ีวัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคุมการเคลื่อนไหวรา่ งกาย ขณะอยู่กบั ที่ เคลอ่ื นที่ และใช้อปุ กรณป์ ระกอบ พ 3.1 ป.2/2: เลน่ เกมเบ็ดเตล็ดและเข้ารว่ มกิจกรรมทางกายท่ีวิธีเล่นอาศยั การเคล่ือนไหวเบ้อื งตน้ ทัง้ แบบอยู่กับท่ี เคลื่อนท่ีและใช้อปุ กรณ์ประกอบ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายหลักการเคลื่อนไหวแบบเคลือ่ นทีใ่ นทา่ กระโดดขาเดียวกระโดดสองขากระโจนได้ถกู ตอ้ ง(IQ) 3.2 นกั เรียนสามารถปฎบิ ัติทักษะทา่ กระโดดขาเดียว กระโดดสองขา กระโจนได้ถูกต้องอยา่ งนอ้ ย 80 % ของจานวนนักเรียนทั้งหมด (SQ) 3.3 นกั เรยี นสามารถพัฒนาสมรรถภาพด้านความอดทนของระบบไหลเวยี นโลหิต (Cardiorespiratory Endurance)ของกลา้ มเนื้อขา(Muscular Endurance) ดา้ นความเร็ว(Speed) และความคล่องแคลอ่ วอ่ งไว(Agility) จากการเลน่ เกมและการฝึกปฏบิ ัติ (PQ) 3.4 นักเรยี นสามารถแต่งกายถูกระเบียบและปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ (MQ) 3.5 นักเรียนได้มีความกระตือรอื รน้ ในการเข้าเรยี นและสนกุ สนานในการเล่นเกม (AQ) 4. สาระสาคญั การเคลื่อนไหวในลักษณะของการกระโดด เป็นการเคลื่อนไหวท่ีอาศัยแรงสปริงของกล้ามเน้ือขาและเท้า เพ่อื ดีดตวั ใหพ้ ้นจากพื้น และขณะลงสู่พื้นการเกร็งตวั ของกลา้ มเนื้อขาและเท้า เพือ่ รองรับน้าหนักและแรงกระแทก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวพื้นฐานท่ีนาไปสู่การเล่นกีฬาและการเคล่ือนไหวในชีวิตประจาวัน ดังนั้นหากนักเรียนได้ ฝึกฝนทักษะการก้าวกระโดดในรูปแบบต่างๆ จะส่งผลให้นักเรียนมีกล้ามเนื้อขาและเท้าท่ีแข็งแรง มีการยืดหยุ่น หากทาไดอ้ ยา่ งถกู ต้องก็จะสามารถป้องกันการบาดเจ็บจากการเล่นกฬี าและการเคล่ือนไหวในชีวติ ประจาวันได้

180 5. ผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวงั นักเรยี น 80% สามารถปฏิบตั ิได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้และสามารถนาเอาความรู้ไปใชไ้ ดอ้ ยา่ ง คล่องแคลว่ ในการเรียนการสอนรายวิชาอนื่ และชีวติ ประจาวนั 6. กระบวนการจดั การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ - นกั เรียนมคี วามเข้าใจและ ทกั ษะการเคล่อื นไหวแบบอยู่กบั ที่ 1.ขั้นเตรียม / อบอนุ่ ร่างกาย (10 นาที) ปฎิบัตติ ามคาสัง่ ครผู ูส้ อน - นกั เรียนมีความเป็น (Locomotor Skills) คือ การทีร่ ่างกาย 1.1 ครเู ดนิ ไปรบั นักเรยี น แลว้ พานักเรียนไป ระเบยี บเรียบรอ้ ยภายใน แถวตามท่กี าหนด หรอื อวัยวะตา่ งๆ เคลอ่ื นไหวและเคลื่อนท่ี สถานทเี่ รยี น (สนาม 3) - นกั เรียนมีความพรอ้ มใน การเรียนทง้ั ทางด้าน ดว้ ย ในทนี่ ้จี ะกลา่ วถึง ทกั ษะกระโดดขา 1.2 ครูให้นักเรยี นวางถุงยา่ มในช้ันวางของ โดย ร่างกาย จติ ใจและอารมณ์ - นกั เรียนเคารพกตกิ า เดยี ว กระโดดสองขา กระโจน ให้นกั เรยี นชายไวแ้ ถวลา่ งของชั้นวาง และ ภายในหอ้ งเรยี น, แต่งกาย เรียบร้อย (MQ) 1. กระโดดขาเดียว (Single leg Jump) นักเรียนหญงิ วางไวแ้ ถวบนของชั้นวางของ คือ การส่งตวั ไปด้านบนในแนวดิ่งแล้วลงสู่ 1.3 ครูให้นักเรียนเข้าแถว 4 แถว พนื้ ดว้ ยเท้าข้างเดิมงอเขา่ เพ่ือผอ่ นน้าหนัก ตวั ยกแขนงอศอกเพือ่ ชว่ ยในการทรงตวั = ครู = นกั เรยี น 1.4 ครสู ารวจเคร่อื งแต่งกายและของใชส้ ว่ นตัว 1.5 อบอุ่นร่างกาย(Warm – Up)ครใู หน้ กั เรียน - นักเรียนบรหิ ารรา่ งกาย 2. กระโดดสองขา (Jumping) ขยายแถวหน่งึ ชว่ งแขนเพื่ออบอุน่ รา่ งกาย และอวัยวะตา่ งๆ ได้ คอื การส่งตวั ไปด้านบนในแนวดิ่งแล้วลงสู่ 1.5.1 ครนู านักเรียนยืดเหยยี ดกลา้ มเนอ้ื 5 ท่า เหมาะสมตามวัย (SQ) พื้นด้วยเท้าทั้งสองข้าง งอเข่าเพ่ือผ่อน ทา่ ที่ 1 บริหารคอ น้าหนักตัว ยกแขนงอศอกเพ่ือช่วยในการ ซ้ายและขวา ข้างละ 10 ครั้ง ทรงตัว ท่าท่ี 2 ดัดนิ้วมือซา้ ย และขวา ขา้ งละ 10 วินาที

181 สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ 3. กระโจน (Leaping) คือ การส่งตัวไป ท่าท่ี 3 หมุนลาตัวไป ข้างหน้าด้วยเท้าหลังแล้วลงสู่พื้นด้วย ขา้ งหน้า-ขา้ งหลงั ปลายเท้าอีกข้างหนึ่ง งอเข่าเพ่ือผ่อน 10 รอบ น้าหนกั ท่าท่ี 4 ทา่ ลาตัว หัวไหล่ และแขนข้างซ้ายและขวา ข้างละ 10 คร้ัง ทา่ ที่ 5 วง่ิ รอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร) 1.6 พฒั นาสมรรถภาพร่างกาย - นักเรียนพัฒนาสมรรถ 1.6.1 ครูให้นักเรียนใช้ทักษะการเคลื่อนไหวขั้น ภาพด้านความอดทนของ พนื้ ฐานในการฝึกสมรรถภาพทางกาย ระบบไหลเวียนโลหติ ความ - ให้นักเรียนยืนเข้าแถวเป็น 4 แถว หัวแถวยืน อดทนของกลา้ มเน้ือขา หลงั เส้นทก่ี าหนด ความเร็ว และความ - เร่ิมฝึก ให้นักเรียนปฏิบัติตามสัญญาณนกหวีด คล่องแคล่ววอ่ งไว จากการ ฟังคาสั่งการเปล่ียนท่าทางการเคลือ่ นไหวจากครู ฝึกปฏบิ ัติ (PQ)      = นักเรียน 4แถว  = มาร์กเกอร์ = เสน้ เรมิ่ และ เสน้ สน้ิ สดุ = ทิศทางการวิง่   

182 สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ ท่าที่ 1 ก้าวชิดก้าวด้านข้าง (SLIDE) ระยะทาง 10 เมตร ท่าท่ี 2 ก้าวชดิ ก้าวดา้ นหนา้ (Gallop) ทา่ ที่ 3 ก้าวเขย่ง (SKIP) ระยะทาง 10 เมตร ทา่ ที่ 4 กระโดดเท้าค่ไู ปข้างหน้า (JUMPING) ระยะทาง 10 เมตร - หลังจากฝึกจบ ครูจะสรุปผลการเล่น ส่ิงที่ได้จาก การฝกึ และเปดิ โอกาสให้นกั เรียนซกั ถาม 2. ข้นั อธบิ ายสาธติ (10 นาที) - นักเรยี นอธบิ ายทักษะ- 2.1 ครูให้นักเรยี นชมคลปิ วิดโี อท่ีเกยี่ วกับทกั ษะการ กระโดดขาเดียว กระโดดขาเดียว กระโดดสองขา กระโจน กระโดดสองขา กระโจน

183 สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ 2.2 ครูถามคาถามนกั เรยี นว่า ได้อยา่ งถูกต้อง (IQ) 2.2.1 ให้นกั เรยี นชว่ ยอธิบายและเปรียบเทยี บ ท่าของแขน ในทกั ษะการกระโดดขาเดยี ว กระโดด สองขา กระโจน วา่ เปน็ อยา่ งไร แนวคาตอบ : กระโดดขาเดยี ว กระโดดสองขา กระโจน ลักษณะของแขนจะคลา้ ยๆ กัน คือ ต้องแกว่งแขนก่อนการกระโดด 2.3 ครูอธิบายและสาธิตรว่ มกับนกั เรยี นใน ทักษะการเคล่อื นไหวแบบเคล่ือนท่ี โดยมีหัวข้อ ดังน้ี 1) กระโดดขาเดยี ว 2) กระโดดสองขา 3) กระโจน 2.4 ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรยี นซกั ถามข้อสงสัย กอ่ นการฝกึ ทักษะ 3. ขัน้ การฝกึ หดั ทกั ษะ (20 นาท)ี - นักเรยี นได้ฝกึ ทักษะที่ 3.1 แบบฝกึ ท่ี 1 ฝกึ ท่าทางทักษะการเคล่ือนไหว ได้เรียนจนเกดิ ความ แบบเคลื่อนท่ี โดยเนน้ ความเขา้ ใจ ทาไปเพื่ออะไร ชานาญ (SQ) แล้วทาอย่างไร โดยมคี รูใหค้ าแนะนา - แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 แถว ครูให้นักเรียนยืน ขยายแถว หลงั กรวยที่กาหนด ระยะทางฝึก 10 เมตร    = ครู    = นักเรยี น    = กรวย           = ทศิ ทางการฝึก - เร่ิมฝึก เรยี งลาดับทักษะ ดงั นี้ 1) กระโดดขา เดียว 2) กระโดดสองขา 3) กระโจน ฟังสัญญาญนกหวดี ออกรอบละคนในแต่ละแถว

184 สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ - ทาเฉพาะขาไป จนครบทุกคนแลว้ จึงทากลบั - แบบฝกึ 3.2 ในแต่ละฐาน ใช้เวลา 2 นาที รวมทง้ั สน้ิ ใช้ - ปฏบิ ตั ิคนละ 2-3 รอบ เวลาไม่เกิน 10 นาที 3.2 แบบฝกึ ที่ 2 ทาเปน็ ฐาน 4 ฐาน ใหน้ ักเรยี น ทาตามคาส่งั เรียกว่า “ฐานทาตามคาสงั่ ” - ฐานท่ี 1 ให้นกั เรยี น ฐานที่ 4 ให้ ก้าวเขยง่ ไปและ นกั เรยี น เดิน ฐานท่ี 2 ใหน้ ักเรยี น กลับ มาแตะมือ หรือว่งิ แล้ว กา้ วกระโดดไปและ เพอื่ นคนต่อไป กลับตัวไป กลับมาแตะมอื เพ่อื น และกลบั มา ฐานที่ 3 ให้นกั เรยี น คนตอ่ ไป ควบมา้ ไปและกลับ แตะมือ มาแตะมอื เพ่ือนคน เพือ่ นคน ต่อไป - ครูสรุปส่งิ ทีไ่ ด้จากการฝึก และเปดิ โอกาสให้ นักเรียนซักถามข้อสงสัยตลอดการฝกึ เลน่ 4.ขัน้ การนาไปใช้ (10 นาที ) - นักเรียนมกี ารคดิ 4.1 เล่นเกม “เกมกระตา่ ยขาเดียว” วางแผนในวธิ กี ารเล่น - ครูใหน้ กั เรียนเลน่ “เกมกระต่ายขาเดยี ว” รวมถงึ มีการกระตุน้ ให้ - วธิ กี ารเลน่ แบง่ ผู้เล่นออกเปน็ 2 ฝา่ ย ฝ่ายละ ตนเองและเพ่ือน มีความ เท่าๆ กนั ฝ่ายหนึง่ เปน็ กระต่าย อกี ฝ่ายเป็น สนุกสนานในเกมการ เปน็ คนหนี กลุ่มกระต่ายจะยืนอยู่รอบๆ วงกลม แข่งขนั (PQ, AQ) - เม่ือเร่ิมเล่น กระต่ายจะกระโดดขาเดียวเข้าไปใน วงกลม เพื่อแตะตัวผู้เล่นที่อยู่ในวงกลม กระต่าย สามารถเปล่ียนตัวผู้เล่นได้โดยกระโดดขาเดียว ออกมาแปะมอื เพื่อนในทมี ให้เข้าไปเลน่ แทน - เมอื่ หมดเวลาการเล่น ให้นบั จานวนผู้เลน่ ที่โดน แตะตวั แลว้ เปลยี่ นใหฝ้ ่ายกระตา่ ยไปเป็นคนหนี ฝ่ายคนหนีมาเปน็ กระตา่ ย - หลังจากทงั้ 2 ฝา่ ยเสร็จส้นิ การเป็นกระต่าย ให้ สรุปว่าทีมใดแตะตัวผ้เู ลน่ ไดจ้ านวนมากสดุ ทมี นัน้ เปน็ ฝ่ายชนะ

สาระการเรียนรู้ 185 ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ = คน(หน)ี = กระต่าย(ไล่) - หลังจากเล่มเกมจบ ครูจะสรุปผลการเล่น ส่ิงท่ีได้ จากการเล่นเกม และเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นซกั ถาม 5.ขั้นสรปุ และสุขปฎบิ ตั ิ (10 นาที ) - นกั เรยี นได้ฝึกประมวล 5.1 ครูสรปุ เนอ้ื หาที่ไดเ้ รยี นในชั่วโมงเรียน ความคดิ รวบยอดอีกคร้งั 5.2 ครูถามคาถามนกั เรยี นวา่ หลงั จากเรยี นโดยการ แลกเปลย่ี น การถาม 5.2.1 ครูใหต้ วั แทนนักเรียนออกมาแสดง และตอบกบั ครผู ู้สอน ทา่ ทางการเคลื่อนไหวแบบเคลอ่ื นท่ใี ห้เพือ่ น - นกั เรียนรจู้ กั การดูแล นกั เรยี นดู แล้วถามว่าแต่ละท่าเรยี กวา่ ท่าอะไร รักษาความสะอาดอวยั วะ แนวคาตอบ ท่าใดท่าหนงึ่ 1) กระโดดขาเดยี ว ต่างๆ ของรา่ งกายตนเอง 2) กระโดดสองขา 3) กระโจน หลงั จากเลน่ กฬี า - นกั เรยี นไดฝ้ กึ ความ 5.2.2 เกมทใ่ี ช้ “การกระโดดขาเดยี ว” ใน รบั ผิดชอบในการตรวจ การเลน่ คอื เกมอะไร แนวคาตอบ เกมกระตา่ ยขาเดยี ว หรือเกม กระโดดขาเดยี ว สอบและแก้ไขในเร่ือง 5.3ครูให้นักเรียนไปล้างหน้า ล้างมือ ด่ืมน้า และ ของการนาของใชม้ า กลบั มาเข้าแถว โรงเรียน (IQ, MQ, AQ) 5.4ครูสารวจอปุ กรณแ์ ละของใชส้ ว่ นตวั ของนักเรียน 5.5 ครูใหน้ ักเรียนบันทึกหวั ข้อเรื่องที่เรียนในช่วั โมงน้ี ลงในหนงั สือเรียนหน้า 52 (อาจมีการเปล่ยี นแปลง) 5.6ครูปล่อยเลกิ แถว 5.7ครูพานกั เรยี นเดนิ แถวกลบั ห้องเรียนกอ่ นเป็นฝา่ ยชนะ

186 7. สื่อการสอน/แหลง่ การเรียนรู้ - ส่อื การสอน นกหวดี หนังสอื เรยี นวชิ าสขุ ศึกษา กรวย แผน่ ยางมาร์กเกอร์ Whistle และพลศกึ ษา ป..2 เลม่ 1 Cones Markers A Book กระดานไวท์บอร์ด ปากกาไวท์บอร์ด แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวทบ์ อรด์ เรอื่ งทีส่ อนในชัว่ โมง Whiteboard eraser poster/Image media - แหล่งการเรียนรู้ เกรียงไกร อินทรชยั . 2559. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 เลม่ 2. พิมพ์ครั้งท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ร้ินท์กรุป๊ จากดั . ณัฐพร สุดดี. 2561. เทคนิคการสอนเกมมลู ฐาน. กรุงเทพมหานคร: คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. (อดั สาเนา) ถาวร วรรณศริ ิ. 2551. สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา : ฟตุ บอล ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5-6. พิมพ์ครั้งท่ี 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จากดั . สรุ เชษฐ์ วิศวธรี านนท์. 2561. กีฬาแชร์บอลและทักษะการเคล่ือนไหวข้นั พ้นื ฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 เล่ม 1. พมิ พ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พรนิ้ ท์กรุ๊ป จากดั . 8. คาศัพท์ภาษาองั กฤษ ความหมาย - - การเคล่ือนไหวแบบเคล่ือนท่ี ลาดบั คาศพั ท์ภาษาอังกฤษ 1 Locomotor Skills กระโดดขาเดยี ว กระโดดสองขา 2 Single leg Jump 3 Jumping

187 ลาดบั คาศพั ทภ์ าษาองั กฤษ ความหมาย 4 Leaping กระโจน 5 Basic Movement Skills การเคลื่อนไหวขั้นพ้ืนฐาน 6 P.E Supplies อปุ กรณ์ของใชใ้ นการเรียนพลศึกษา 7 Whistle นกหวดี 8 Book หนงั สอื เรยี น 9 Cone กรวย 10 Marker แผน่ ยางมารก์ เกอร์ 11 White board กระดานไวทบ์ อรด์ 12 Whiteboard pen ปากกาไวทบ์ อร์ด 13 Whiteboard eraser แปรงลบกระดานไวท์บอร์ด 14 poster/Image media โปสเตอร์ / POWERPOINTเรื่องท่ีสอนในชว่ั โมง 9. การวดั และประเมินผล เครอื่ งมอื แบบสงั เกต ลาดับ เร่อื ง แบบตรวจสอบ แบบสังเกต 1 สังเกตความสนใจและการมสี ่วนร่วมตลอดชั้นเรียน 2 สารวจเครอ่ื งแต่งกายและบักทึกคะแนนความรับผิดชอบและคะแนนสขุ ปฏิบตั ิ 3 สังเกตการตอบคาถามระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

188 โรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ฝ่ายประถม แบบประเมินความสนใจ การมีส่วนรว่ มในกิจกรรม และผลสาเร็จของการฝกึ ทกั ษะและการนาไปใช้ วนั ที่ ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปีการศกึ ษา.......................... หน่วยการเรียนร้.ู ..................................... เรอ่ื ง...................................................................ระดบั ชน้ั .......................... ระดับ 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง/เพ่ิมเติม) PQ นกั เรียน 80% ขึน้ ไป ฝึกทักษะหรอื เล่น นกั เรียน 60%-80% ฝกึ ทกั ษะหรือเลน่ นกั เรยี นนอ้ ยกว่า60%ฝกึ ทกั ษะหรือเลน่ สมรรถภาพ เกมเพ่อื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพ่อื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพือ่ พัฒนาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย ทางกาย MQ นกั เรียน 80% ขน้ึ ไปใหค้ วามร่วมมือ นักเรียน 60%-80%ใหค้ วามร่วมมอื นกั เรยี นนอ้ ยกว่า 60%ให้ความ คณุ ธรรม กับครใู นการจัดกจิ กรรมเป็นอย่างดี กบั ครูในการจดั กจิ กรรมเป็นอย่างดี ร่วมมอื กับครใู นการจัดกจิ กรรมเปน็ จรยิ ธรรม ยอมรับการเป็นผนู้ า ผูต้ ามท่ีดี เชอ่ื ยอมรับการเป็นผู้นา ผูต้ ามท่ีดี เชอ่ื อย่างดี ยอมรับการเปน็ ผนู้ า ผูต้ ามที่ ฟงั ครู ฟงั ครู ดี เชื่อฟังครู นักเรียน 80% ขึน้ ไปมคี วามกระตอื รอื รน้ นั ก เรี ย น 60% -80% มี มี ค วาม นั กเรีย น น้ อย กว่า 60% มี ความ แตง่ กายเรยี บรอ้ ยพร้อมท่ีจะเรยี น กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม AQ เจตคติ ชว่ ยเหลอื และแนะนาเพื่อนใหป้ ฎิบตั ิ ท่ีจะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพื่อน ที่จะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพ่ือน ระเบยี บวนิ ยั ในหอ้ งเรียนได้ ใหป้ ฎบิ ตั ิระเบียบวินัยในห้องเรียนได้ ใหป้ ฎบิ ตั ิระเบียบวนิ ยั ในหอ้ งเรยี นได้ IQ ความรู้ นกั เรยี น 80% ข้ึนไปสามารถอธบิ าย นกั เรียน 60%-80% สามารถอธิบาย นักเรียนน้อยกว่า 60% สามารถ ความ เนอ้ื หาทีเ่ รียนไปได้อยา่ งครบถว้ นและ เน้อื หาท่เี รียนไปไดอ้ ยา่ งครบถ้วนและ อธิบายเน้ือหาท่ีเรียนไปได้อย่าง เขา้ ใจ ถูกตอ้ ง ถูกต้อง ครบถ้วนและถกู ตอ้ ง นกั เรียน 80% ขึน้ ไปสามารถปฏิบตั ิ นกั เรียน 60%-80% สามารถปฏบิ ตั ิ นักเรียนน้อยกวา่ 60% สามารถ SQ ทักษะ ทักษะที่เรยี นในชั่วโมงไดอ้ ยา่ ง ทักษะทีเ่ รยี นในชัว่ โมงไดอ้ ย่าง ปฏบิ ตั ิทักษะท่เี รียนในชัว่ โมงได้ ครบถ้วนและถกู ตอ้ งได้ ครบถว้ นและถูกต้องได้ อย่างครบถ้วนและถูกต้องได้ ระดบั คุณภาพ ระดบั 3 หมายถึง จานวนนักเรียน 80% ขึ้นไป ระดับ 2 หมายถึง จานวนนกั เรยี น 60-80% ระดบั 1 หมายถึง จานวนนักเรียนอ้ ยกวา่ 60% ลงชือ่ ...........................................................ผปู้ ระเมนิ

189 โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝ่ายประถม บนั ทกึ หลังสอน กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2/...... หนว่ ย ทักษะการเคล่ือนไหวขั้นพืน้ ฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรียน ตน้ เร่อื ง การเคลอ่ื นไหวแบบเคลอ่ื นที่ (Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาที) - กระโดดขาเดยี ว (Single leg Jump) - กระโดดสองขา (Jumping) – กระโจน (Leaping) วันท.ี่ .........เดือน.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น..-.......................น. 1. ผลการจัดการเรยี นรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค(กอ่ นสอน-ระหว่างสอน-หลังสอน) ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกไ้ ขเพ่อื ใช้ในการสอนคร้งั ตอ่ ไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...................................................... (………………………………………………………..) ผูส้ อน

190 โรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม แผนการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 หน่วย ทักษะการเคลอ่ื นไหวข้ันพนื้ ฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรยี น ตน้ เรือ่ ง การเคลื่อนไหวแบบเคล่ือนที่ (Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาที) - สไลด์ (Slide) - วง่ิ และสไลด์ซกิ แซก (Zigzag Run and Slide Footwork) 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 3 การเคล่ือนไหว การออกกาลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล พ 3.1: เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา พ 3.2: รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบตั ิเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินยั เคารพสิทธิ กฏกติกา มนี ้าใจ มจี ติ วญิ ญาณในการแขง่ ขัน และช่ืนชมในสนุ ทรภี าพของการกฬี า 2. ตัวชว้ี ัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กบั ที่ เคลอื่ นที่ และใช้อุปกรณป์ ระกอบ พ 3.1 ป.2/2: เล่นเกมเบ็ดเตลด็ และเข้ารว่ มกจิ กรรมทางกายท่ีวิธีเล่นอาศัยการเคล่อื นไหวเบอ้ื งต้นทัง้ แบบอย่กู ับที่ เคล่ือนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธิบายหลักการฝกึ การเคลื่อนท่แี บบสไลด์ และวิง่ และสไลด์ซิกแซกได้ถูกต้อง (IQ) 3.2 นักเรียนสามารถปฎบิ ัติทักษะการเคล่ือนที่แบบสไลด์ และวิง่ และสไลด์ซิกแซกได้ถกู ต้องอย่างน้อย 80 % ของจานวนนักเรยี นทงั้ หมด (SQ) 3.3 นักเรียนสามารถพัฒนาสมรรถภาพดา้ นความอดทนของระบบไหลเวียนโลหติ (Cardiorespiratory Endurance)ของกล้ามเน้ือขา(Muscular Endurance) ดา้ นความเร็ว(Speed) และความคล่องแคลว่ วอ่ งไว(Agility) จากการเล่นเกมและการฝกึ ปฏิบัติ (PQ) 3.4 นกั เรียนสามารถแต่งกายถูกระเบียบและปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ (MQ) 3.5 นักเรียนได้มีความกระตือรือร้นในการเข้าเรียนและสนกุ สนานในการเลน่ เกม (AQ) 4. สาระสาคัญ การสไลด์ คือ การเคลื่อนท่ีไปด้านข้าง เท้าใช้การก้าวชิดก้าวชิด จังหวะจะติดกัน แขนควนแกว่งไปด้วย สาหรับการว่ิงและสไลด์ซิกแซก เป็นการผสมผสานกันระหว่างการสไลด์ และการวิ่งอ้อมหลักในลักษณะฟันปลา เป็นการวิง่ เปล่ียนทศิ ทางจากขวาไปซ้าย จากซ้ายไปขวา ส่งผลให้ผู้วิ่งมีพัฒนาการทางด้านสมรรถภาพในด้านความ คล่องแคล่วว่องไว ซึ่งเป็นพ้ืนฐานสาคัญในการเคลื่อนไหวร่างกายที่นาไปสู่การดารงชีวิตประจาวัน และการเล่น

191 กีฬา ฉะน้ันหากนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ได้เรียนรู้หลักการและวิธีการสไลด์และว่ิงและสไลด์ซกิ แซกที่ ถูกต้อง นกั เรียนจะสามารถนาไปปรบั ใช้ในการดารงชวี ิตประจาวนั และการเล่นกีฬาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 5. ผลการเรยี นรูท้ ค่ี าดหวงั นักเรยี น 80% สามารถปฏบิ ตั ิได้ตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้และสามารถนาเอาความรู้ไปใชไ้ ดอ้ ย่าง คล่องแคลว่ ในการเรยี นการสอนรายวชิ าอนื่ และชีวติ ประจาวนั 6. กระบวนการจดั การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ - นกั เรียนมีความเขา้ ใจและ ทกั ษะการเคล่ือนไหวแบบอยู่กับท่ี 1.ขน้ั เตรียม / อบอนุ่ รา่ งกาย (10 นาที) ปฎบิ ตั ิตามคาสั่งครูผ้สู อน - นักเรียนมีความเป็น (Locomotor Skills) คอื การท่รี า่ งกาย 1.1 ครเู ดนิ ไปรับนักเรียน แลว้ พานกั เรยี นไป ระเบยี บเรยี บรอ้ ยภายใน แถวตามทีก่ าหนด หรอื อวัยวะตา่ งๆ เคลอื่ นไหวและเคลื่อนที่ สถานทเ่ี รียน (สนาม 3) - นักเรยี นมีความพร้อมใน การเรยี นท้ังทางด้าน ดว้ ย ในท่นี จ้ี ะกลา่ วถงึ การสไลด์ และการว่งิ 1.2 ครใู ห้นกั เรียนวางถุงย่ามในช้ันวางของ โดย ร่างกาย จติ ใจและอารมณ์ - นักเรยี นเคารพกตกิ า และสไลด์ซิกแซก ใหน้ ักเรยี นชายไว้แถวล่างของชัน้ วาง และ ภายในห้องเรยี น, แตง่ กาย เรยี บรอ้ ย (MQ) 1. สไลด์ (Slide) คือ การเคล่ือนที่ไป นกั เรยี นหญงิ วางไว้แถวบนของช้ันวางของ ดา้ นข้าง แลว้ นาขาอกี ขา้ งมาชิด แขนควร 1.3 ครใู หน้ กั เรียนเข้าแถว 4 แถว แกวง่ ไปดว้ ย วธิ ีการ คือ กา้ วชิด กา้ วชดิ จงั หวะจะตดิ กัน = ครู = นักเรียน 1.4 ครสู ารวจเคร่ืองแต่งกายและของใช้สว่ นตวั   1.5 อบอุน่ ร่างกาย(Warm – Up)ครใู ห้นักเรียน - นกั เรยี นบริหารร่างกาย ขยายแถวหน่งึ ช่วงแขนเพ่ืออบอนุ่ รา่ งกาย และอวัยวะต่างๆ ได้ 1.5.1 ครนู านักเรยี นยดื เหยยี ดกลา้ มเนือ้ 5 ทา่ เหมาะสมตามวัย (SQ) ท่าท่ี 1 บริหารคอ ซ้ายและขวา ข้างละ 10 ครั้ง  ท่าท่ี 2 ดัดน้วิ มือซา้ ย และขวา ข้างละ 10 วนิ าที

192 สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ 2. การว่ิงและสไลด์ซกิ แซก (Zigzag ทา่ ที่ 3 หมนุ ลาตัวไป Run and Slide Footwork) ขา้ งหน้า-ข้างหลงั 1) การวิ่งซิกแซก (Zigzag Run) ใชเ้ ม่ือ 10 รอบ มรี ะยะห่างระหว่างส่ิงกีดขวางพอสมควร - เมือ่ จะวง่ิ ไปทางขวาใหก้ า้ วเท้าขวาไป ทศิ ทางท่ตี อ้ งการ ท่าที่ 4 ทา่ ลาตวั หวั ไหล่ - ถบี เทา้ ซา้ ยสง่ ตวั ตามไป และแขนข้างซ้ายและขวา ขา้ งละ 10 ครง้ั ทา่ ท่ี 5 วง่ิ รอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร)  1.6 พัฒนาสมรรถภาพรา่ งกาย 1.6.1 ครูให้นักเรียนใช้ทักษะการเคลื่อนไหวข้ัน - นักเรียนพัฒนาสมรรถ พื้นฐานในการฝึกสมรรถภาพทางกาย ภาพดา้ นความอดทนของ - ให้นักเรียนยืนเข้าแถวเป็น 4 แถว หัวแถวยืน ระบบไหลเวยี นโลหติ ความ หลังเสน้ ท่กี าหนด อดทนของกลา้ มเน้ือขา  - เร่ิมฝึก ให้นักเรียนปฏิบัติตามสัญญาณนกหวีด ความเร็ว และความ 2) การสไลด์ซิกแซก (Slide Footwork) ใช้ ฟงั คาส่ังการเปลีย่ นท่าทางการเคลอื่ นไหวจากครู คลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว จากการ เม่อื มรี ะยะห่างระหวา่ งส่งิ กดี ขวางที่จากดั - เมอ่ื จะสไลด์ไปทางขวาให้กา้ วเทา้ ซ้ายไป ฝึกปฏบิ ตั ิ (PQ) ด้านข้าง - วางเท้าซา้ ยให้คร่อม หรืออยตู่ รงกลาง  ระหวา่ งส่ิงกีดขวาง - ถีบตัวดว้ ยเท้าซ้ายสง่ ตวั ไปด้านขา้ ง  = นักเรียน 4แถว  = มาร์กเกอร์ = เสน้ เริ่มและ เส้นสิน้ สดุ = ทศิ ทางการวิง่   

193 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ ท่าท่ี 1 ก้าวชิดก้าวด้านข้าง (SLIDE) ระยะทาง 10 เมตร  ท่าท่ี 2 ก้าวชิดกา้ วด้านหนา้ (Gallop)  ท่าที่ 3 กา้ วเขยง่ (SKIP) ระยะทาง 10 เมตร ทา่ ท่ี 4 กระโดดเท้าคู่ไปขา้ งหน้า (JUMPING) ระยะทาง 10 เมตร ท่าที่ 5 ก้าวกระโดด (HOPPING) ระยะทาง 10 เมตร