Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคต้น

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคต้น

Published by ์Nuttaporn Suddee, 2021-01-23 12:07:07

Description: ใช้เป็นคู่มือครูสำหรับการเรียนการสอนพลศึกษา ป.2 ประกอบด้วยเนื้อหากีฬาแชร์บอลและกิจกรรมการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน

Keywords: แผนการจัดการเรียนการสอน

Search

Read the Text Version

194 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ - หลังจากเล่มฝึกจบ ครจู ะสรุปผลการฝกึ สิ่งท่ีได้ จากการฝึกและเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นซกั ถาม 2. ขน้ั อธบิ ายสาธติ (10 นาที) 2.1 ครใู ห้นกั เรียนชมคลิปวิดีโอท่ีเก่ียวกบั ทกั ษะ - นักเรียนอธิบายทักษะการ การ สไลด์ และวง่ิ และสไลด์ซิกแซก 2.2 ครูถามคาถามนกั เรียนวา่ สไลด์ วิ่งและสไลด์ซิกแซก 2.2.1 นักเรียนเคยเห็นการสไลด์ หรือการว่ิง ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง (IQ) สไลด์จากกีฬาอะไรบ้าง จงตอบมาอย่างน้อย 3 ชนิดกีฬา แนวคาตอบ : บาสเกตบอล ฟุตบอล แชร์บอล 2.3 ครูอธิบายและสาธติ รว่ มกับนกั เรียนใน ทักษะการเคล่อื นไหวแบบเคลื่อนที่ โดยมหี วั ข้อ ดงั นี้ 1) สไลด์ 2) วงิ่ และสไลด์ซิกแซก 2.4 ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามข้อสงสยั กอ่ นการฝึกทักษะ 3. ข้นั การฝกึ หัดทักษะ (20 นาที) 3.1 แบบฝกึ ที่ 1 ฝกึ ทา่ ทางทักษะการสไลด์ เน้น - นักเรยี นได้ฝกึ ทักษะที่ ความเข้าใจ ฝึกไปเพอ่ื อะไร แล้วมีวธิ ีการฝึก ไดเ้ รียนจนเกดิ ความ ชานาญ (SQ) อยา่ งไร โดยมีครูใหค้ าแนะนา - แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 แถว ครูให้นักเรียนยืน ขยายแถว หลังกรวยที่กาหนด ฝึกท่าทางทักษะ การสไลด์ ระยะทางฝกึ 10 เมตร - เร่มิ ฝกึ ฟังสญั ญาญนกหวีดออกรอบละคนใน แต่ละแถว - ทาเฉพาะขาไป จนครบทุกคนแล้วจึงทากลับ - ปฏิบตั คิ นละ 2-3 รอบ เนน้ การแกวง่ แขน ควบค่กู บั การกา้ วชิดกา้ ว

195 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้    = ครู       = นักเรียน    = กรวยยืน       = เส้นเร่ิม 3.2 แบบฝึกที่ 2 ฝึกท่าทางทักษะว่ิงสไลด์ = ทศิ ทางการสไลด์ ซิกแซก เน้นความเขา้ ใจ ทาไปเพ่ืออะไร แล้วทา ขาไป อย่างไร โดยมีครูให้คาแนะนา = ทศิ ทางการสไลด์ - แบ่งนักเรยี นออกเป็น 4 แถว ครใู ห้นกั เรียนยืน ขากลับ ขยายแถว หลังกรวยท่ีกาหนด ฝึกท่าทางทักษะว่ิง และสไลด์ซิกแซก ระยะทางฝกึ 6 เมตร - เร่ิมฝกึ ฟังสัญญาญนกหวีดออกรอบละคนใน แตล่ ะแถว - ทาเฉพาะขาไป จนครบทุกคนแลว้ จึงทากลบั - ปฏิบัตคิ นละ 2-3 รอบ เนน้ การแกว่งแขน ควบคู่กบั การก้าวชิดกา้ ว    = ครู    = นกั เรยี น    = กรวยยืน    = กรวยสาหรบั    ซิกแซก    = เส้นเร่มิ

196 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ - ครูสรปุ ส่ิงท่ไี ด้จากการฝึก และเปิดโอกาสให้ นักเรียนซักถามข้อสงสยั ตลอดการฝึก = ทศิ ทางการสไลด์ 4.ขั้นการนาไปใช้ (10 นาที ) 4.1 เล่นเกม “เตย” - นกั เรยี นมีการคิด - ครูใหน้ กั เรียนเล่น “เตย” - วธิ กี ารเลน่ แบง่ ผู้เล่นออกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายละ วางแผนในวธิ ีการเลน่ เทา่ ๆ กัน ฝ่ายหนึ่งเปน็ ฝา่ ยรุก อีกฝ่ายเป็นฝา่ ยรับ รวมถึงมกี ารกระตุ้นให้ - ผู้เล่นท่ีเป็นฝ่ายรุกจะยืนอยู่หน้าทางเข้าเส้นแรก ตนเองและเพื่อน มคี วาม ของสนาม สว่ นผเู้ ล่นของฝา่ ยรบั ท้ังจะยนื อยู่ตามเส้น สนกุ สนานในเกมการ ท่ีตอี ยู่ทว่ั สนาม แข่งขัน (PQ, AQ) - ฝ่ายรุกจะต้องว่ิงเข้าไปขา้ งในจนสดุ ทางหรอื ผา่ น เสน้ สุดทา้ ย โดยท่ีไม่ใหฝ้ า่ ยรับแปะตัวได้ สว่ น ฝา่ ยรบั จะวิง่ ไล่แปะตัวผู้เล่นฝ่ายรุกได้บนเสน้ เท่านั้น ฝ่ายรกุ ที่เข้าไปด้านในสุดแล้วออกมาทีเ่ ส้น เร่มิ ได้ ให้ตะโกนดงั ๆ ว่า“เตย” กาหนดเวลา 2 นาที หลังจากนัน้ จะผลดั เปล่ยี นจากฝ่ายรบั ไปเปน็ ฝ่ายรุก และจากฝ่ายรุกไปเป็นฝา่ ยรับ - เมื่อเร่ิมเล่น ครูจะให้สัญญาณนกหวีด ฝ่ายรุก จะวิ่งฝ่าด่านฝ่ายรับเข้าไป โดยจะใช้การวิ่งสไลด์ หลอกล่อ หรือว่ิงแนวตรงก็ได้แล้วแต่ความสามารถ ของแต่ละคน ผู้เล่นที่เป็นฝ่ายรับจะต้องแปะตัว ผ้เู ล่นที่เป็นฝ่ายรกุ ให้ได้ - กติกา กาหนด 2 นาที ตอ่ รอบ ฝ่ายรกุ ที่โดนฝา่ ย รบั แปะตัวต้องออกจากสนาม การแพ้ชนะ เมอ่ื หมดเวลาจะนับจานวนผู้เลน่ ฝา่ ยรกุ ทีเ่ ขา้ ไปดา้ น ในสุดแล้วออกมาได้ ฝา่ ยใดมีจานวนผเู้ ลน่ ที่ ออกมาเส้นเร่มิ ได้มากท่สี ุดฝา่ ยน้ันเปน็ ฝ่ายชนะ

สาระการเรยี นรู้ 197 ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ = ฝ่ายรุก = ฝ่ายรับ = เส้นเรม่ิ = เส้นหลงั สดุ - หลังจากเล่มเกมจบ ครูจะสรุปผลการเล่น สิ่งท่ีได้ จากการเล่นเกม และเปดิ โอกาสให้นกั เรียนซักถาม 5.ข้นั สรุปและสุขปฎิบัติ (10 นาที ) 5.1 ครสู รปุ เนื้อหาท่ีไดเ้ รยี นในชวั่ โมงเรยี น 5.2 ครถู ามคาถามนกั เรียนว่า - นักเรยี นได้ฝกึ ประมวล 5.2.1 ครใู หต้ วั แทนนกั เรยี นออกมาแสดง ความคิดรวบยอดอีกครง้ั หลังจากเรยี นโดยการ ท่าทางการเคล่ือนไหวแบบเคลื่อนทใ่ี หเ้ พ่อื น แลกเปลีย่ น การถาม นกั เรยี นดู แลว้ ถามว่าแตล่ ะท่าเรียกวา่ ท่าอะไร และตอบกบั ครผู สู้ อน แนวคาตอบ ท่าใดท่าหนงึ่ 1) สไลด์ 2) ว่ิงและ - นกั เรยี นรจู้ ักการดแู ล สไลดซ์ ิกแซก รักษาความสะอาดอวยั วะ 5.2.2 หลกั การของการว่งิ สไลด์ คอื อะไร แนวคาตอบ การกา้ วชิดก้าว 5.3ครูให้นักเรียนไปลา้ งหน้า ล้างมือ ดื่มน้า และ ต่างๆ ของรา่ งกายตนเอง หลังจากเลน่ กฬี า กลับมาเขา้ แถว - นกั เรยี นไดฝ้ ึกความ

198 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ 5.4ครูสารวจอปุ กรณ์และของใช้สว่ นตัวของนักเรียน รับผิดชอบในการตรวจ 5.5 ครูใหน้ กั เรยี นบันทึกหัวข้อเร่ืองท่ีเรียนในชว่ั โมงน้ี สอบและแก้ไขในเรื่อง ลงในหนงั สือเรียนหน้า 52 (อาจมีการเปลย่ี นแปลง) ของการนาของใช้มา 5.6 ครูปล่อยเลิกแถว โรงเรียน (IQ, MQ, AQ) 5.7ครูพานกั เรียนเดนิ แถวกลบั ห้องเรียนกอ่ นเป็นฝา่ ยชนะ 7. สื่อการสอน/แหลง่ การเรียนรู้ - สื่อการสอน นกหวีด หนงั สือเรยี นวิชาสขุ ศกึ ษา กรวย แผ่นยางมาร์กเกอร์ Whistle และพลศึกษา ป..2 เลม่ 1 Cones Markers A Book กระดานไวทบ์ อรด์ ปากกาไวทบ์ อรด์ แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวท์บอร์ด เรอ่ื งทีส่ อนในชวั่ โมง - แหล่งการเรียนรู้ Whiteboard eraser poster/Image media เกรยี งไกร อินทรชัย. 2559. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เล่ม 2. พิมพ์ครงั้ ท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ริ้นท์กรุ๊ป จากดั . ณฐั พร สุดดี. 2561. เทคนิคการสอนเกมมูลฐาน. กรุงเทพมหานคร: คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . (อดั สาเนา) ถาวร วรรณศิริ. 2551. สขุ ศึกษาและพลศึกษา : ฟุตบอล ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5-6. พิมพ์คร้ังที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ร้ินท์กรุ๊ป จากดั . สรุ เชษฐ์ วิศวธรี านนท์. 2561. กฬี าแชร์บอลและทักษะการเคลือ่ นไหวขัน้ พ้นื ฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พมิ พค์ รงั้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พริน้ ท์กรุ๊ป จากัด.

199 8. คาศัพทภ์ าษาอังกฤษ ความหมาย - - การเคลอ่ื นไหวแบบเคลื่อนที่ ลาดบั คาศัพทภ์ าษาองั กฤษ 1 Locomotor Skills สไลด์ ว่งิ และสไลด์ซกิ แซก 2 Slide การเคลอ่ื นไหวข้ันพ้ืนฐาน 3 Zigzag Run and Slide Footwork อุปกรณ์ของใชใ้ นการเรยี นพลศกึ ษา 4 Basic Movement Skills นกหวีด 5 P.E Supplies หนังสอื เรียน 6 Whistle กรวย 7 Book แผน่ ยางมาร์กเกอร์ 8 Cone กระดานไวท์บอร์ด 9 Marker ปากกาไวท์บอร์ด 10 White board แปรงลบกระดานไวทบ์ อรด์ 11 Whiteboard pen โปสเตอร์ / POWERPOINTเรื่องท่สี อนในชวั่ โมง 12 Whiteboard eraser 13 poster/Image media 9. การวดั และประเมนิ ผล เคร่อื งมือ แบบสงั เกต ลาดับ เร่อื ง แบบตรวจสอบ แบบสังเกต 1 สังเกตความสนใจและการมีส่วนรว่ มตลอดชั้นเรยี น 2 สารวจเครอื่ งแตง่ กายและบักทกึ คะแนนความรับผดิ ชอบและคะแนนสขุ ปฏบิ ัติ 3 สงั เกตการตอบคาถามระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

200 โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ฝ่ายประถม แบบประเมินความสนใจ การมีส่วนร่วมในกจิ กรรม และผลสาเร็จของการฝกึ ทักษะและการนาไปใช้ วนั ที่ ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปีการศกึ ษา.......................... หน่วยการเรียนร้.ู ..................................... เรือ่ ง...................................................................ระดบั ชนั้ .......................... ระดับ 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรงุ /เพ่ิมเตมิ ) PQ นกั เรียน 80% ขึ้นไป ฝึกทักษะหรือเลน่ นักเรียน 60%-80% ฝกึ ทักษะหรอื เลน่ นกั เรยี นนอ้ ยกวา่ 60%ฝกึ ทักษะหรอื เลน่ สมรรถภาพ เกมเพ่อื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพ่ือพฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพือ่ พัฒนาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย ทางกาย MQ นกั เรียน 80% ข้นึ ไปใหค้ วามร่วมมือ นกั เรยี น 60%-80%ใหค้ วามรว่ มมอื นกั เรียนนอ้ ยกวา่ 60%ใหค้ วาม คณุ ธรรม กับครใู นการจัดกจิ กรรมเป็นอยา่ งดี กบั ครูในการจดั กจิ กรรมเป็นอย่างดี ร่วมมอื กับครใู นการจดั กิจกรรมเปน็ จรยิ ธรรม ยอมรับการเป็นผนู้ า ผูต้ ามท่ีดี เชอ่ื ยอมรับการเป็นผู้นา ผูต้ ามที่ดี เชอ่ื อย่างดี ยอมรับการเป็นผนู้ า ผตู้ ามท่ี ฟงั ครู ฟังครู ดี เชือ่ ฟังครู นักเรียน 80% ขน้ึ ไปมคี วามกระตอื รอื ร้น นั ก เรี ย น 60% -80% มี มี ค วาม นั กเรีย น น้ อย กว่า 60% มี ความ แตง่ กายเรยี บรอ้ ยพร้อมท่ีจะเรยี น กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม AQ เจตคติ ชว่ ยเหลอื และแนะนาเพื่อนใหป้ ฎบิ ตั ิ ท่ีจะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพ่ือน ที่จะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพ่ือน ระเบยี บวนิ ยั ในห้องเรียนได้ ให้ปฎบิ ตั ิระเบียบวินัยในห้องเรียนได้ ใหป้ ฎิบตั ิระเบียบวินัยในห้องเรยี นได้ IQ ความรู้ นกั เรยี น 80% ข้ึนไปสามารถอธบิ าย นักเรยี น 60%-80% สามารถอธบิ าย นักเรียนน้อยกว่า 60% สามารถ ความ เนอ้ื หาทีเ่ รยี นไปได้อยา่ งครบถว้ นและ เนอื้ หาท่เี รียนไปไดอ้ ยา่ งครบถว้ นและ อธิบายเน้ือหาที่เรียนไปได้อย่าง เขา้ ใจ ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง ครบถว้ นและถกู ต้อง นกั เรียน 80% ขึน้ ไปสามารถปฏบิ ตั ิ นักเรยี น 60%-80% สามารถปฏบิ ตั ิ นักเรยี นนอ้ ยกวา่ 60% สามารถ SQ ทักษะ ทกั ษะที่เรยี นในชั่วโมงไดอ้ ยา่ ง ทักษะที่เรยี นในชัว่ โมงได้อย่าง ปฏบิ ตั ิทักษะท่เี รยี นในชว่ั โมงได้ ครบถ้วนและถกู ตอ้ งได้ ครบถว้ นและถูกต้องได้ อย่างครบถ้วนและถกู ต้องได้ ระดบั คุณภาพ ระดบั 3 หมายถึง จานวนนกั เรยี น 80% ขึ้นไป ระดับ 2 หมายถึง จานวนนกั เรียน 60-80% ระดบั 1 หมายถึง จานวนนักเรียนอ้ ยกวา่ 60% ลงชือ่ ...........................................................ผูป้ ระเมิน

201 โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม บันทึกหลังสอน กลุม่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2/...... หน่วย ทกั ษะการเคลื่อนไหวข้ันพื้นฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรยี น ตน้ เรื่อง การเคล่ือนไหวแบบเคลื่อนที่ (Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาที) - สไลด์ (Slide) - ว่ิงและสไลด์ซกิ แซก (Zigzag Run and Slide Footwork) วันท่ี..........เดอื น.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น..-.......................น. 1. ผลการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอปุ สรรค(ก่อนสอน-ระหวา่ งสอน-หลังสอน) ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกไ้ ขเพ่ือใช้ในการสอนครัง้ ต่อไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...................................................... (………………………………………………………..) ผูส้ อน

202 โรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ฝา่ ยประถม แผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2 หนว่ ย ทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรยี น ตน้ เรอ่ื ง การเคลอ่ื นไหวแบบเคล่อื นที่ (Locomotor Skills) เวลาเรียน 1 คาบ (60 นาที) ว่งิ ข้ามสง่ิ กีดขวาง (Running over Obstacles) - การลอดสิ่งกีดขวาง (Pass Through Obstacles) 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 3 การเคลื่อนไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล พ 3.1: เขา้ ใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา พ 3.2: รกั การออกกาลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏบิ ตั ิเปน็ ประจาอยา่ งสม่าเสมอ มวี ินัย เคารพสิทธิ กฏกติกา มนี ้าใจ มจี ติ วญิ ญาณในการแข่งขนั และชืน่ ชมในสนุ ทรีภาพของการกฬี า 2. ตวั ชี้วัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคุมการเคล่ือนไหวรา่ งกาย ขณะอยู่กับที่ เคล่ือนท่ี และใช้อปุ กรณป์ ระกอบ พ 3.1 ป.2/2: เล่นเกมเบด็ เตล็ดและเข้ารว่ มกิจกรรมทางกายท่ีวิธีเลน่ อาศัยการเคล่ือนไหวเบือ้ งตน้ ทง้ั แบบอยูก่ ับที่ เคล่ือนที่และใช้อปุ กรณ์ประกอบ 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 นักเรยี นสามารถอธิบายหลกั การฝึกว่งิ ข้ามส่งิ กีดขวาง การลอดส่งิ กีดขวางได้ถกู ต้อง (IQ) 3.2 นักเรียนสามารถปฎบิ ตั ทิ ักษะการว่ิงขา้ มสิ่งกีดขวาง การลอดสิง่ กดี ขวางได้ถูกต้องอย่างน้อย 80% ของจานวนนักเรียนทั้งหมด (SQ) 3.3 นักเรียนสามารถพัฒนาสมรรถภาพดา้ นความอดทนของระบบไหลเวยี นโลหติ (Cardiorespiratory Endurance) ของกล้ามเน้ือขา (Muscular Endurance) ดา้ นความเร็ว(Speed) และความคลอ่ งแคล่ว วอ่ งไว (Agility) จากการเลน่ เกมและการฝึกปฏบิ ตั ิ (PQ) 3.4 นกั เรียนสามารถแต่งกายถูกระเบยี บและปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบ (MQ) 3.5 นักเรียนได้มีความกระตือรือร้นในการเขา้ เรียนและสนกุ สนานในการเล่นเกม (AQ) 4. สาระสาคญั การฝึกวงิ่ ขา้ มและลอดสง่ิ กดี ขวาง เปน็ ทกั ษะการเคล่ือนไหวท่ฝี ึกใหผ้ ู้เลน่ ใชก้ ลา้ มเนื้อขา แขนและลาตัวใน การเคลอ่ื นทตี่ ่าเพ่ือลอด หรอื ขา้ มวัตถุที่ขวางกัน้ ทิศทางในการวิง่ ซงึ่ เป็นทักษะที่นักเรยี นจาเป็นต้องเรยี นรหู้ ลกั การ กา้ วเทา้ ย่อขา ลาตวั การว่ิงสปริงข้นึ ก่อนกา้ วข้ามส่งิ กดี ขวาง โดยหากฝกึ ฝนใหเ้ กดิ ความชานาญและคล่องตัว จะ ทาให้นาไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวัน และการเล่นกีฬาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

203 5. ผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวัง นักเรียน 80% สามารถปฏบิ ัติไดต้ ามจุดประสงค์การเรยี นรู้และสามารถนาเอาความรูไ้ ปใชไ้ ดอ้ ยา่ ง คล่องแคลว่ ในการเรยี นการสอนรายวิชาอนื่ และชวี ิตประจาวัน 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ ทกั ษะการเคลื่อนไหวแบบอยู่กบั ที่ 1.ขั้นเตรยี ม / อบอ่นุ รา่ งกาย (15 นาที) - นกั เรยี นมีความเขา้ ใจและ (Locomotor Skills) คือ การที่ร่างกาย 1.1 ครเู ดินไปรบั นักเรยี น แลว้ พานักเรียนไป ปฎิบัติตามคาสงั่ ครูผ้สู อน หรอื อวัยวะตา่ งๆ เคล่อื นไหวและเคล่ือนที่ สถานทเี่ รยี น (สนาม 3) - นักเรียนมีความเป็น ดว้ ย ในทนี่ ีจ้ ะกลา่ วถงึ วิ่งขา้ มสิง่ กดี ขวาง 1.2 ครใู ห้นกั เรียนวางถุงยา่ มในชัน้ วางของ โดย ระเบียบเรยี บร้อยภายใน และการลอดสิ่งกดี ขวาง ใหน้ ักเรยี นชายไว้แถวล่างของชน้ั วาง และ แถวตามทก่ี าหนด 1. วง่ิ ขา้ มส่ิงกีดขวาง (Running over นักเรียนหญงิ วางไวแ้ ถวบนของช้ันวางของ - นักเรยี นมคี วามพร้อมใน Obstacles) 1.3 ครใู หน้ กั เรยี นเข้าแถว 4 แถว การเรยี นทัง้ ทางด้าน ร่างกาย จิตใจและอารมณ์ - กะระยะท่เี ราจะกา้ วข้าม เมื่อได้ระยะให้ - นักเรียนเคารพกติกา ภายในหอ้ งเรยี น, แตง่ กาย ยกเทา้ ที่อย่ดู ้านหนา้ ขึ้น เรียบรอ้ ย (MQ) - ยกเขา่ ให้สูงพ้นส่ิงกดี ขวาง - ถีบเทา้ ทีอ่ ยู่ดา้ นหลงั ยกเขา่ ยกสะโพกข้ึน - แขนแกว่งตามธรรมชาติ = ครู = นักเรยี น - ลาตัวกม้ ไปด้านหนา้ 1.4 ครสู ารวจเครื่องแต่งกายและของใชส้ ว่ นตวั 1.5 อบอุ่นรา่ งกาย(Warm – Up)ครใู หน้ กั เรยี น - นกั เรียนบรหิ ารร่างกาย ขยายแถวหนงึ่ ช่วงแขนเพ่ืออบอุ่นร่างกาย และอวยั วะต่างๆ ได้ 1.5.1 ครูนานักเรยี นยดื เหยียดกล้ามเน้ือ 5 ทา่ เหมาะสมตามวยั (SQ) ท่าที่ 1 บรหิ ารคอ ซ้ายและขวา ข้างละ 10 ครง้ั  ทา่ ที่ 2 หมนุ เอว ซ้าย และขวา ข้างละ 10 คร้ัง 

204 สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ ท่าท่ี 3 ท่าบริหารกล้ามเน้ือหัวไหล่ ลาตัวและ ต้นขา จับคู่หันหน้าเข้ากัน นามือมาจับบ่าเพื่อน ตรงขา้ ม แล้วถอยหลงั คอ่ ยๆ กดตวั ให้ต่าลง  2. การลอดส่ิงกีดขวาง (Pass Through Obstacles) ท่าท่ี 4 ท่าบริหารกล้ามเน้ือแขน หัวไหล่ และ - กม้ ตวั ยอ่ เขา่ ให้ต่า ลาตัว จับคู่หันหลังชิดกัน เอาแขนคล้องกันและ - ถ้าส่งิ กดี ขวางต่ามากให้ถบี ขาแลว้ พุ่งตัว กัน ฝ่ังหนึ่งกม้ ตัว อกี ฝ่งั หนง่ึ หงายตวั เข้าไป - ถ้าส่ิงกีดขวางไมต่ ่ามากใหก้ ้าวเทา้ ยอ่ ตวั ผ่านเขา้ ไปก่อน  ทา่ ท่ี 5 วิ่งรอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร)  1.6 พัฒนาสมรรถภาพรา่ งกาย - นกั เรียนพัฒนาสมรรถ 1.6.1 ครูให้นักเรียนใช้ทักษะการเคล่ือนไหวข้ัน ภาพดา้ นความอดทนของ ระบบไหลเวยี นโลหิต ความ พื้นฐานในการฝกึ สมรรถภาพทางกาย  - ให้นักเรียนยืนเข้าแถวเป็น 4 แถว หัวแถวยืน อดทนของกล้ามเนื้อขา ความเรว็ และความ หลังเส้นท่กี าหนด - เร่ิมฝึก ให้นักเรียนปฏิบัติตามสัญญาณนกหวีด คล่องแคล่ววอ่ งไว จากการ ฟงั คาสั่งการเปล่ยี นท่าทางการเคลอ่ื นไหวจากครู ฝึกปฏบิ ตั ิ (PQ)

205 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้  = นกั เรียน 4แถว      = มาร์กเกอร์ = เส้นเริม่ และ เสน้ สิ้นสดุ = ทิศทางการว่งิ    ท่าที่ 1 ก้าวชิดก้าวด้านข้าง (SLIDE) ระยะทาง 10 เมตร ทา่ ท่ี 2 ก้าวชิดกา้ วด้านหน้า(Gallop) ทา่ ที่ 3 ก้าวเขยง่ (SKIP) ระยะทาง 10 เมตร

206 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ ท่าท่ี 4 ก้าวกระโดด (HOPPING) ระยะทาง 10 เมตร ท่าท่ี 5 กระโดดเท้าคูไ่ ปขา้ งหนา้ (JUMPING) ระยะทาง 10 เมตร ทา่ ท่ี 6 วิง่ กลับตัว (Shuttle) ระยะทาง 10 เมตร ท่าท่ี 7 ว่ิงซิกแซก (Zigzag Skills) ระยะทาง 10 เมตร - หลังจากฝึกจบ ครูจะสรุปผลการฝึก สิ่งท่ีได้ จากการฝึก และเปิดโอกาสให้นักเรยี นซกั ถาม

207 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ 2. ขน้ั อธิบายสาธิต (10 นาท)ี - นักเรียนอธิบายทักษะว่ิง 2.1 ครใู ห้นักเรียนชมคลปิ วิดีโอท่ีเกย่ี วกับทกั ษะ ข้ามส่ิงกีดขวาง การลอดส่ิง การวง่ิ ขา้ มและลอดส่ิงกดี ขวาง กีดขวาง ได้อย่างถูกต้อง 2.2 ครถู ามคาถามนกั เรยี นวา่ (IQ) 2.2.1 ให้นักเรยี นยกตัวอยา่ งเหตกุ ารณ์ในชีวติ ประจาวนั ทีเ่ ก่ียวกับการว่งิ ขา้ มและลอดสง่ิ กีดขวาง แนวคาตอบ : กระโดดขา้ มแอ่งน้า มดุ ใต้โต๊ะ 2.3 ครอู ธบิ ายและสาธิตรว่ มกับนักเรยี นใน ทกั ษะการวงิ่ ข้ามและลอดส่งิ กดี ขวาง 2.4 ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นซกั ถามข้อสงสัย ก่อนการฝกึ ทักษะ 3. ขนั้ การฝึกหดั ทกั ษะ (20 นาที) - นักเรยี นได้ฝกึ ทักษะท่ี 3.1 แบบฝึกที่ 1 ฝกึ ทกั ษะการวงิ่ ข้ามสงิ่ กีดขวาง ได้เรียนจนเกดิ ความ เนน้ ความเขา้ ใจ ฝึกไปเพ่อื อะไร แลว้ มวี ิธีการฝกึ ชานาญ (SQ) อย่างไร โดยมีครใู หค้ าแนะนา - แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 แถว ครูให้นักเรียนยืน ขยายแถว หลังกรวยที่กาหนด ฝึกทักษะการ ว่ิงข้ามส่งิ กีดขวาง ระยะทางฝกึ 10 เมตร - เร่ิมฝกึ ฟังสัญญาญนกหวดี ออกรอบละคนในแต่ = ครู ละแถว ทาเฉพาะขาไป จนครบทกุ คนแล้วจึงทากลบั - ปฏิบัตคิ นละ 2-3 รอบ     = นกั เรียน   = กรวยยืน    = เสน้ เรม่ิ = ขาไป    = ขากลบั    =สิ่งกดี ขวาง   

208 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ 3.2 แบบฝึกท่ี 2 ฝกึ ทกั ษะการวิง่ ลอดสิ่งกีดขวาง - แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 แถว ครูให้นักเรียนยืน = ครู ขยายแถว หลังกรวยที่กาหนด ฝึกทักษะการ วิง่ ลอดสิ่งกีดขวาง ระยะทางฝึก 10 เมตร - เร่มิ ฝกึ ฟังสญั ญาญนกหวีดออกรอบละคนในแต่ ละแถว ทาเฉพาะขาไป จนครบทุกคนแล้วจงึ ทากลับ - ปฏิบัติคนละ 2-3 รอบ        = นักเรียน    = กรวยยืน    = เส้นเรม่ิ    = ขาไป    = ขากลบั - ครสู รุปส่ิงท่ีได้จากการฝกึ และเปดิ โอกาสให้ = ห่วงสาหรบั ลอด นักเรียนซกั ถามข้อสงสยั ตลอดการฝึกเล่น 4.ขัน้ การนาไปใช้ (10 นาที ) - นกั เรียนมกี ารคดิ 4.1 เลน่ เกม “เสือกินวัว” วางแผนในวิธกี ารเลน่ - ครูใหน้ กั เรยี นเล่นเกม “เสือกนิ ววั ” รวมถึงมีการกระตุ้นให้ - วิธีการเลน่ ครเู ลอื กผ้เู ล่นคนหนง่ึ เป็นวัว อีก ตนเองและเพื่อน มคี วาม คนหนง่ึ เปน็ เสอื ผ้เู ลน่ ทเี่ หลอื นอกนน้ั จับมือกัน สนกุ สนานในเกมการ ยนื ล้อมวงเป็นคอกววั ให้ววั อยู่กลางวง ส่วนเสือ แข่งขัน (PQ, AQ) อยนู่ อกวง - เริ่มเล่น เสือต้องพยายามจะเข้าไปในคอกเพ่ือ จับวัวกิน คอกก็ต้องจบั มือกันแน่นๆ ไม่ให้เสือฝ่า เข้าไปได้ เสือต้องพยายามหาคอกด้านที่คิดว่าไม่ แน่นหนา และฝ่าเข้าไป เม่ือเข้าไปได้เสือต้อง พยายามหาคอกด้านท่ีคิดว่าไม่แน่นหนา และฝ่า

209 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ เข้าไป เม่ือเข้าไปได้ก็ไล่จับวัวให้ได้ วัวจะว่ิงหนี ออกไปนอกคอก พอเสือจะตามไปคอกก็ต้อง พยายามกันไว้ ถ้าเสือฝ่าออกไปได้ ก็จะวิ่งไล่จับวัว ววั ก็ว่ิงเข้ามาหลบในคอกได้เหมือนเดิม หากเสือจับ วัวได้ก็ถือว่าการเล่นส้ินสุดลง จะเปลี่ยนให้ผู้เล่นคู่ ใหมม่ าเปน็ เสือกบั ววั แทนผเู้ ลน่ คู่เก่าที่จะไปเปน็ คอก - เสือและวัวสามารถกาหนดได้มากกว่า 1 ตัว และเกมสามารถกาหนดเวลาได้ในกรณีที่เสือไม่ สามารถจับวัวได้ ให้ยตุ กิ ารเล่น แล้วเปลย่ี นเป็น ผ้เู ล่นค่ใู หมแ่ ทน - หลังจากเล่มเกมจบ ครูจะสรุปผลการเล่น ส่ิงท่ีได้ จากการเล่นเกม และเปิดโอกาสให้นักเรียนซกั ถาม 5.ข้ันสรปุ และสุขปฎบิ ัติ (5 นาที ) - นักเรียนไดฝ้ ึกประมวล 5.1 ครสู รุปเน้อื หาท่ีไดเ้ รียนในช่วั โมงเรยี น ความคดิ รวบยอดอีกครั้ง 5.2 ครูถามคาถามนกั เรียนว่า หลังจากเรยี นโดยการ แลกเปล่ียน การถาม 5.2.1 “ลอด”กบั “คลาน”ตา่ งกันอยา่ งไร และตอบกบั ครผู สู้ อน แนวคาตอบ : ลอดจะใช้การก้มตัวให้ต่าและย่อ - นักเรยี นรจู้ กั การดแู ล ขา ส่วนคลานจะใช้คุกเข่า ใช้การเดินเขา่ รักษาความสะอาดอวัยวะ ต่างๆ ของรา่ งกายตนเอง 5.2.2 “ข้าม”กบั “กรโดด”ต่างกนั อยา่ งไร หลังจากเลน่ กีฬา แนวคาตอบ ข้าม คือ ท่าทางการพุ่งไปข้างหนา้ - นกั เรียนได้ฝึกความ ใชก้ ารสปริงข้อเทา้ หลงั และเหยียดเทา้ อกี ขา้ งไป รับผดิ ชอบในการตรวจ วางข้างหนา้ (คลา้ ยการกระโจน) สว่ นการกระโดด สอบและแก้ไขในเร่ือง คือ การพ่งุ ตัวขน้ึ ขา้ งบนไปในแนวดิ่ง แล้วปล่อย ของการนาของใชม้ า ให้ตกลงมาพรอ้ มกบั ย่อขา เพ่ือลดแรงกระแทก

210 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ 5.3 ครูให้นักเรียนไปล้างหน้า ล้างมือ ด่ืมน้าส่วน โรงเรยี น (IQ, MQ, AQ) และกลบั มาเข้าแถว 5.4 ครูสารวจอปุ กรณแ์ ละของใชส้ ว่ นตัวของนักเรยี น 5.5 ครูใหน้ ักเรียนบันทึกหวั ข้อเรื่องท่ีเรยี นในชัว่ โมงนี้ ลงในหนังสือเรยี นหน้า52 (อาจมีการเปลยี่ นแปลง) 5.6 ครปู ลอ่ ยเลิกแถว 5.7ครูพานกั เรยี นเดนิ แถวกลบั ห้องเรียนก่อนเป็นฝา่ ยชนะ 7. ส่ือการสอน/แหลง่ การเรยี นรู้ - สื่อการสอน นกหวีด หนงั สอื เรยี นวิชาสขุ ศึกษา กรวย แผ่นยางมาร์กเกอร์ Whistle และพลศกึ ษา ป..2 เล่ม 1 Cones Markers A Book กระดานไวทบ์ อร์ด ปากกาไวท์บอรด์ แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวทบ์ อร์ด เรอ่ื งที่สอนในชัว่ โมง - แหลง่ การเรียนรู้ Whiteboard eraser poster/Image media เกรยี งไกร อนิ ทรชัย. 2559. สขุ ศึกษาและพลศึกษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เลม่ 2. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ริน้ ท์กรุป๊ จากัด. ณฐั พร สุดดี. 2561. เทคนิคการสอนเกมมูลฐาน. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (อดั สาเนา) ถาวร วรรณศิริ. 2551. สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา : ฟตุ บอล ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5-6. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ร้นิ ท์กรปุ๊ จากดั .

211 สุรเชษฐ์ วิศวธรี านนท.์ 2561. กีฬาแชร์บอลและทักษะการเคล่อื นไหวขนั้ พื้นฐาน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 เล่ม 1. พิมพ์คร้ังที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พรน้ิ ท์กร๊ปุ จากัด. 8. คาศัพท์ภาษาอังกฤษ ความหมาย การเคล่ือนไหวแบบเคล่ือนที่ ลาดับ คาศพั ทภ์ าษาองั กฤษ ว่ิงข้ามสงิ่ กีดขวาง 1 Locomotor Skills การลอดสงิ่ กดี ขวาง 2 Running over Obstacles การเคลอื่ นไหวข้นั พื้นฐาน 3 Pass Through Obstacles อุปกรณ์ของใชใ้ นการเรียนพลศึกษา 4 Basic Movement Skills นกหวดี 5 P.E Supplies หนงั สือเรยี น 6 Whistle กรวย 7 Book แผ่นยางมารก์ เกอร์ 8 Cone กระดานไวท์บอรด์ 9 Marker ปากกาไวทบ์ อร์ด 10 White board แปรงลบกระดานไวทบ์ อร์ด 11 Whiteboard pen โปสเตอร์ / POWERPOINTเรอื่ งท่สี อนในช่ัวโมง 12 Whiteboard eraser 13 poster/Image media 9. การวัดและประเมินผล เครื่องมือ แบบสังเกต ลาดบั เรื่อง แบบตรวจสอบ แบบสังเกต 1 สงั เกตความสนใจและการมีส่วนร่วมตลอดช้นั เรียน 2 สารวจเคร่อื งแต่งกายและบักทึกคะแนนความรบั ผดิ ชอบและคะแนนสขุ ปฏิบตั ิ 3 สงั เกตการตอบคาถามระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

212 โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม แบบประเมินความสนใจ การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรม และผลสาเรจ็ ของการฝึกทักษะและการนาไปใช้ วนั ที่ ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปีการศกึ ษา.......................... หน่วยการเรียนร้.ู ..................................... เรือ่ ง...................................................................ระดับชั้น.......................... ระดับ 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรุง/เพ่มิ เตมิ ) PQ นกั เรียน 80% ขึน้ ไป ฝึกทกั ษะหรอื เลน่ นักเรยี น 60%-80% ฝกึ ทักษะหรือเลน่ นกั เรียนน้อยกว่า60%ฝึกทกั ษะหรอื เล่น สมรรถภาพ เกมเพ่อื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพอ่ื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพื่อพัฒนาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย ทางกาย MQ นกั เรียน 80% ขน้ึ ไปใหค้ วามร่วมมือ นกั เรยี น 60%-80%ให้ความรว่ มมอื นกั เรยี นนอ้ ยกวา่ 60%ให้ความ คณุ ธรรม กับครใู นการจัดกจิ กรรมเปน็ อยา่ งดี กบั ครูในการจดั กจิ กรรมเป็นอย่างดี รว่ มมือกบั ครูในการจัดกิจกรรมเปน็ จรยิ ธรรม ยอมรับการเป็นผนู้ า ผู้ตามทด่ี ี เชอ่ื ยอมรับการเป็นผ้นู า ผู้ตามทีด่ ี เชอื่ อยา่ งดี ยอมรับการเป็นผู้นา ผ้ตู ามที่ ฟงั ครู ฟังครู ดี เชอื่ ฟังครู นักเรียน 80% ขึน้ ไปมคี วามกระตือรอื ร้น นั ก เรี ย น 60% -80% มี มี ค วาม นั กเรีย น น้ อย กว่า 60% มี ความ แตง่ กายเรยี บรอ้ ยพรอ้ มท่จี ะเรยี น กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม AQ เจตคติ ชว่ ยเหลอื และแนะนาเพอ่ื นใหป้ ฎบิ ตั ิ ท่ีจะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพ่ือน ท่ีจะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพื่อน ระเบยี บวนิ ยั ในหอ้ งเรียนได้ ให้ปฎบิ ตั ริ ะเบียบวินยั ในห้องเรยี นได้ ให้ปฎบิ ัตริ ะเบียบวินยั ในหอ้ งเรยี นได้ IQ ความรู้ นกั เรยี น 80% ข้ึนไปสามารถอธิบาย นักเรยี น 60%-80% สามารถอธบิ าย นักเรียนน้อยกว่า 60% สามารถ ความ เนอ้ื หาทีเ่ รียนไปได้อยา่ งครบถว้ นและ เนอื้ หาท่เี รียนไปไดอ้ ยา่ งครบถว้ นและ อธิบายเนื้อหาที่เรียนไปได้อย่าง เขา้ ใจ ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง ครบถ้วนและถกู ต้อง นกั เรียน 80% ขึน้ ไปสามารถปฏบิ ตั ิ นักเรียน 60%-80% สามารถปฏบิ ตั ิ นักเรียนนอ้ ยกว่า 60% สามารถ SQ ทักษะ ทักษะที่เรยี นในชั่วโมงได้อยา่ ง ทักษะที่เรยี นในช่ัวโมงได้อย่าง ปฏบิ ัติทกั ษะทเี่ รยี นในชว่ั โมงได้ ครบถ้วนและถกู ตอ้ งได้ ครบถว้ นและถูกต้องได้ อย่างครบถ้วนและถูกตอ้ งได้ ระดบั คุณภาพ ระดบั 3 หมายถึง จานวนนกั เรยี น 80% ข้ึนไป ระดับ 2 หมายถึง จานวนนกั เรียน 60-80% ระดบั 1 หมายถึง จานวนนักเรียนอ้ ยกวา่ 60% ลงช่ือ...........................................................ผปู้ ระเมนิ

213 โรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝา่ ยประถม บนั ทึกหลงั สอน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2/...... หน่วย ทกั ษะการเคล่ือนไหวขั้นพืน้ ฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรียน ตน้ เรอื่ ง การเคลอ่ื นไหวแบบเคลือ่ นที่ (Locomotor Skills) เวลาเรียน 1 คาบ (60 นาที) วง่ิ ขา้ มสงิ่ กีดขวาง (Running over Obstacles) - การลอดส่ิงกดี ขวาง (Pass Through Obstacles) วันท.่ี .........เดือน.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น..-.......................น. 1. ผลการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค(ก่อนสอน-ระหวา่ งสอน-หลังสอน) ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ไขเพอื่ ใช้ในการสอนครง้ั ต่อไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...................................................... (………………………………………………………..) ผู้สอน

214 โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 หนว่ ย ทักษะการเคลอ่ื นไหวขั้นพน้ื ฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรยี น ตน้ เรือ่ ง การเคล่อื นไหวแบบเคล่ือนท่ี (Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาท)ี - การเดนิ บนคานทรงตวั (Walk on Balance Beam) - เดนิ ข้ึนและเดินลงคานทรงตัว (Walk up and Walk down on Balance Beam) - การกระโดดจากทส่ี งู (Jumping from High) 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 3 การเคลอ่ื นไหว การออกกาลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล พ 3.1: เขา้ ใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา พ 3.2: รกั การออกกาลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏบิ ัติเป็นประจาอยา่ งสมา่ เสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฏกติกา มนี า้ ใจ มีจติ วิญญาณในการแขง่ ขัน และชื่นชมในสุนทรภี าพของการกีฬา 2. ตัวช้วี ัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคุมการเคล่ือนไหวรา่ งกาย ขณะอยู่กบั ท่ี เคล่ือนท่ี และใช้อปุ กรณป์ ระกอบ พ 3.1 ป.2/2: เลน่ เกมเบด็ เตลด็ และเข้ารว่ มกิจกรรมทางกายที่วิธีเลน่ อาศัยการเคล่อื นไหวเบ้ืองตน้ ทง้ั แบบอย่กู ับท่ี เคลื่อนท่แี ละใช้อุปกรณ์ประกอบ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธบิ ายหลกั การเดนิ บนคานทรงตัว เดินขน้ึ และเดนิ ลงคานทรงตวั การกระโดดจากท่ี สูงไดถ้ ูกตอ้ ง (IQ) 3.2 นกั เรียนสามารถปฎิบัตทิ ักษะการเดนิ บนคานทรงตวั เดนิ ขนึ้ และเดินลงคานทรงตัว การกระโดดจากทส่ี ูง ได้ถูกตอ้ งอยา่ งน้อย 80% ของจานวนนกั เรยี นทงั้ หมด (SQ) 3.3 นกั เรยี นสามารถพัฒนาสมรรถภาพด้านความอดทนของระบบไหลเวยี นโลหิต (Cardiorespiratory Endurance) ของกลา้ มเนื้อขา (Muscular Endurance) ดา้ นความเร็ว(Speed) และความคลอ่ งแคล่ว วอ่ งไว (Agility) จากการเล่นเกมและการฝึกปฏบิ ัติ (PQ) 3.4 นกั เรียนสามารถแต่งกายถกู ระเบียบและปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บ (MQ) 3.5 นกั เรียนได้มีความกระตือรือร้นในการเข้าเรยี นและสนกุ สนานในการเลน่ เกม (AQ) 4. สาระสาคญั การทรงตวั นัน้ เป็นปจั จัยหนง่ึ ทใ่ี ชใ้ นการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประกอบไปด้วยการรักษาสมดุล และการควบคมุ ท่าทาง การฝกึ ยืนทรงตวั บนไมก้ ระดาน จะช่วยใหร้ า่ งกายมกี ารปรับตวั เพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนรู้

215 ปอ้ งกันตอบสนองได้ดเี ม่ือเกดิ การสูญเสียการทรงตัว และตอบสนองต่อการล้มได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ดังนัน้ การ ฝึกการทรงตวั ท่ีถูกต้องจะส่งผลให้นกั เรียนสามารถรักษาสมดลุ ของรา่ งกายได้ และยงั นาไปส่กู ารทากจิ กรรมและ การเลน่ กฬี าได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 5. ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวัง นักเรียน 80% สามารถปฏบิ ัติได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้และสามารถนาเอาความร้ไู ปใช้ได้อยา่ ง คลอ่ งแคล่วในการเรยี นการสอนรายวิชาอืน่ และชีวติ ประจาวัน 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ ทักษะการเคลื่อน ไหวแบบ อยู่กับ ที่ 1.ขน้ั เตรียม / อบอนุ่ รา่ งกาย (15 นาท)ี - นกั เรียนมคี วามเขา้ ใจและ (Locomotor Skills) คือ การท่ีร่างกาย 1.1 ครูเดนิ ไปรับนักเรียน แล้วพานกั เรียนไป ปฎบิ ัติตามคาสงั่ ครูผู้สอน หรืออวัยวะต่างๆ เคล่ือนไหวและเคล่ือนที่ สถานท่ีเรยี น (สนาม 3) - นักเรียนมคี วามเปน็ ด้วย ในท่ีนี้จะกล่าวถึง การเดินบนคานทรง 1.2 ครใู ห้นกั เรียนวางถุงยา่ มในชนั้ วางของ โดย ระเบยี บเรยี บร้อยภายใน ตัว (Walk on Balance Beam) เดินข้ึนและ ใหน้ กั เรียนชายไว้แถวลา่ งของชั้นวาง และ แถวตามทก่ี าหนด เดินลงคานทรงตัว (Walk up and Walk นกั เรยี นหญงิ วางไวแ้ ถวบนของชน้ั วางของ - นักเรียนมคี วามพร้อมใน down on Balance Beam) และการกระโดด 1.3 ครใู หน้ กั เรียนเข้าแถว 4 แถว การเรียนทง้ั ทางดา้ น จากท่ีสงู (Jumping from High) รา่ งกาย จิตใจและอารมณ์ 1. การเดินบนคานทรงตัว (Walk on - นักเรยี นเคารพกตกิ า Balance Beam) ภายในหอ้ งเรียน, แตง่ กาย การเดินบนราวทรงตัวแบบแบน เป็น เรยี บร้อย (MQ) การฝึกการทรงตัวบนพื้นที่แคบๆ คล้ายไม้ กระดาน การรักษาสมดุลและการวางเท้า = ครู = นักเรียน บนราวทรงตัวทาไดโ้ ดย 1.4 ครูสารวจเครื่องแต่งกายและของใช้สว่ นตัว - กางแขนระดบั ไหล่ - หลงั ตรงยดื ตวั ข้ึน 1.5 อบอ่นุ ร่างกาย(Warm – Up)ครใู หน้ ักเรียน - นักเรียนบริหารรา่ งกาย - สายตามองตรงไปด้านหน้า วางเท้าให้ ปลายเท้าชไ้ี ปดา้ นหนา้ ขยายแถวหนงึ่ ชว่ งแขนเพ่ืออบอุน่ รา่ งกาย และอวยั วะต่างๆ ได้ 1.5.1 ครูนานกั เรยี นยดื เหยยี ดกล้ามเนือ้ 5 ท่า เหมาะสมตามวัย (SQ) - มีเท้านาและเท้าตาม ทา่ ที่ 1 บริหารคอ ซ้ายและขวา ขา้ งละ 10 ครง้ั

216 สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ 2. เดินขึ้นและเดินลงคานทรงตัว (Walk ท่าท่ี 2 หมุนแขนซ้าย up and Walk down on Balance Beam) ขวา พรอ้ มกัน หมุนมา เป็นทักษะที่เกิดจากการท่ีเดินชานาญ ข้างหน้า10 คร้ัง ไปข้าง จากการเดินบนคานทรงตัว มีวิธีการ หลงั 10 ครัง้ คือ กางแขน ตามองข้างหน้า การ เดินทรงตัวขึ้นที่สูงน้าหนักตัวจะอยู่ที่ เท้าหน้า การเดินลงน้าหนักตัวจะอยู่ ท่าท่ี 3 ท่าบริหารกล้ามเนื้อหัวไหล่ ลาตัวและ ท่ีเท้าหลัง ต้นขา จับคู่หันหน้าเข้ากัน นามือมาจับบ่าเพ่ือน ตรงขา้ ม แล้วถอยหลงั คอ่ ยๆ กดตัวใหต้ ่าลง ท่าที่ 4 ท่าบรหิ ารหวั ไหล่ แขนและมือในท่าดนั มือ เดนิ ข้ึน ท่าท่ี 5 วงิ่ รอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร) เดนิ ลง 3.การกระโดดจากทสี่ งู (Jumping from High) เป็นทักษะการกระโดดสองขาที่ปฏิบัติบนท่ี ต่างระดับ มีวิธีการกระโดดไปข้างหน้าต้อง 1.6 พัฒนาสมรรถภาพรา่ งกาย - นกั เรียนพฒั นาสมรรถ ฝึกเหว่ียงแขนกระโดดอยู่กับที่ก่อน เม่ือ 1.6.1 ครูให้นักเรียนใช้ทักษะการเคล่ือนไหวข้ัน ภาพด้านความอดทนของ พร้อมให้ออกแรงถีบที่ฝ่าเท้าสปริงปลาย พ้นื ฐานในการฝึกสมรรถภาพทางกาย ระบบไหลเวยี นโลหิต ความ เทา้ แลว้ ลงไปข้างหน้าดว้ ยการย่อเข่า - ให้นักเรียนยืนเข้าแถวเป็น 4 แถว หัวแถวยืน อดทนของกล้ามเนื้อขา ความเร็ว และความ

217 สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้   หลงั เส้นท่กี าหนด คลอ่ งแคลว่ ว่องไว จากการ - เริ่มฝึก ให้นักเรียนปฏิบัติตามสัญญาณนกหวีด ฝึกปฏบิ ตั ิ (PQ) ฟงั คาส่งั การเปล่ียนทา่ ทางการเคล่ือนไหวจากครู  = นักเรยี น 4แถว   = มารก์ เกอร์ = เสน้ เริม่ และ เสน้ ส้ินสดุ = ทิศทางการว่งิ    ท่าที่ 1 ก้าวชิดก้าวด้านข้าง (SLIDE) ระยะทาง 10 เมตร  ท่าที่ 2 ก้าวชิดก้าวด้านหน้า(Gallop) ทา่ ที่ 3 ก้าวเขยง่ (SKIP) ระยะทาง 10 เมตร 

218 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ ท่าที่ 4 ก้าวกระโดด (HOPPING) ระยะทาง 10 เมตร ท่าท่ี 5 กระโดดเทา้ คู่ไปขา้ งหน้า (JUMPING) ระยะทาง 10 เมตร ท่าท่ี 6 วิง่ กลับตัว (Shuttle) ระยะทาง 10 เมตร ท่าที่ 7 ว่ิงซิกแซก (Zigzag Skills) ระยะทาง 10 เมตร - หลังจากฝึกจบ ครูจะสรุปผลการฝึก สิ่งที่ได้ จากการฝกึ และเปดิ โอกาสให้นักเรยี นซักถาม 2. ข้ันอธิบายสาธิต (10 นาที) 2.1 ครใู หน้ ักเรียนชมคลปิ วิดีโอท่เี ก่ยี วกบั การ เดนิ บนคานทรงตัว เดนิ ขึ้นและเดินลงคานทรง

219 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ ตัว การกระโดดจากท่ีสงู 2.2 ครถู ามคาถามนักเรยี นวา่ - นักเรียนอธิบายทักษะการ 2.2.1 นักเรยี นรไู้ หมว่า ทาไมนักกายกรรมเวลา เคล่ือนไหวแบบเคลื่อนที่ เดนิ ทรงตวั บนท่ีสูงต้องมไี ม้ยาว หรือตอ้ งเดินกางแขน ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (IQ) แนวคาตอบ : เพื่อชว่ ยให้เดนิ ทรงตวั ไปขา้ งหนา้ ได้ 2.3 ครอู ธิบายและสาธติ รว่ มกบั นักเรียนในการเดนิ บนคานทรงตวั เดินข้ึนและเดนิ ลงคานทรงตัว การ กระโดดจากทสี่ งู 2.4 ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามข้อสงสัย กอ่ นการฝกึ ทักษะ 3. ขั้นการฝกึ หดั ทกั ษะ (20 นาที) - นักเรียนไดฝ้ กึ ทักษะท่ี 3.1 แบบฝกึ ที่ 1 ฝกึ ทักษะการเดนิ บนคานทรง ไดเ้ รียนจนเกดิ ความ ตวั เดินขึ้นและเดนิ ลงคานทรงตัว การกระโดด ชานาญ (SQ) จากทีส่ งู เนน้ ความเข้าใจ ฝึกไปเพ่อื อะไร แลว้ มี วธิ กี ารฝกึ อย่างไร โดยมคี รใู ห้คาแนะนา - แบ่งนกั เรียนออกเปน็ 4 แถว ครใู หน้ กั เรียนฝกึ ทกั ษะการเดินบนคานทรงตวั เดินขนึ้ และเดนิ ลง คานทรงตวั การกระโดดจากทสี่ ูง - ปฏิบัติคนละ 2-3 รอบ    = ทศิ ทางการวิ่งไป = ทิศทางการวิง่ กลบั =คานทรงตัว = ครู                 = นักเรียน = กรวยยืน = เสน้ เริ่ม

220 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ 3.2 แบบฝึกที่ 2 ฝึกทักษะการเดินข้ึนและเดินลง คานทรงตวั = ทศิ ทางการวิ่งไป - แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 แถว ครูให้นักเรียน = ทิศทางการว่ิงกลบั ยืนขยายแถว หลังกรวยท่ีกาหนด ฝึกทักษะเดิน ขน้ึ และเดนิ ลงคานทรงตวั - เริ่มฝึก ฟังสญั ญาญนกหวดี ออกรอบละคนในแต่ ละแถว ทาเฉพาะขาไป จนครบทุกคนแลว้ จงึ ทากลบั - ปฏบิ ตั ิคนละ 2 รอบ - ครูใหน้ ักเรยี นฝกึ เดนิ ข้ึนและกระโดดจากทส่ี งู บริเวณด้านข้าง อีกคนละ 2 รอบ  = คานทรงตัว ระดบั สูง  = ครู     = นกั เรยี น  = กรวยยนื - ครสู รปุ สิ่งทไ่ี ดจ้ ากการฝึก และเปิดโอกาสให้ = เส้นเร่ิม นกั เรียนซักถามข้อสงสัยตลอดการฝึก = จุดกระโดดลง 4.ข้นั การนาไปใช้ (15 นาที ) - นกั เรยี นมกี ารคิด 4.1 ครใู หน้ ักเรียนเล่นอุปกรณ์เคร่ืองเล่นเป็นฐาน วางแผนในวธิ ีการเล่น เพื่อฝึกการเดินการเดินบนคานทรง เดินข้ึนและ รวมถงึ มกี ารกระต้นุ ให้ เดินลงคานทรงตัว และการกระโดดจากท่ีสูง ตนเองและเพ่ือน มคี วาม และทักษะอืน่ ๆ สนุกสนานในเกมการ - ครูแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม 1 กลุ่ม เล่น 1 แขง่ ขัน (PQ, AQ) ฐาน ฐานละ 3 นาที

221 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ 3 1 =ขา้ มลอดสงิ่ กดี ขวาง 2 2 =เดินทรงตัวบนเส้น 4 เดินบนพื้นตา่ งระดับ 3 =เดินสะพานโค้ง 1 4 =เดินขนึ้ ทีส่ ูงแลว้ กระโดด / เดนิ ขน้ึ 4.2 หลังจากเล่มฐานกิจกรรมจบ ครูจะสรุปผลการเล่น สง่ิ ทไ่ี ด้จากการเลน่ และเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถาม ทีส่ งู และเดนิ ลง 5.ขั้นสรุปและสุขปฎบิ ัติ (5 นาที ) - นกั เรยี นได้ฝกึ ประมวล 5.1 ครสู รุปเนือ้ หาที่ไดเ้ รียนในชวั่ โมงเรียน ความคดิ รวบยอดอีกครง้ั 5.2 ครถู ามคาถามนกั เรียนวา่ หลังจากเรียนโดยการ 5.2.1 สิง่ ทส่ี าคัญในการชว่ ยให้การกระโดดลง แลกเปล่ียน การถาม และตอบกบั ครูผสู้ อน จากทีส่ งู ไม่เกิดการบาดเจ็บ คืออะไร แนวคาตอบ : การย่อตัวแล้วงอเข่า เพื่อช่วยลด - นกั เรียนรจู้ กั การดูแล การบาดเจ็บ หากกระดูกเกิดการกระแทกกนั รกั ษาความสะอาดอวัยวะ 5.3 ครูให้นักเรียนไปล้างหน้า ล้างมือ ด่ืมน้าส่วน ตา่ งๆ ของรา่ งกายตนเอง หลังจากเล่นกฬี า และกลับมาเข้าแถว 5.4 ครสู ารวจอปุ กรณแ์ ละของใชส้ ว่ นตัวของนกั เรยี น - นักเรียนได้ฝกึ ความ 5.5 ครใู ห้นักเรียนบันทึกหวั ข้อเรื่องท่ีเรียนในช่วั โมงนี้ รับผดิ ชอบในการตรวจ ลงในหนังสือเรยี นหน้า 52 (อาจมีการเปล่ยี นแปลง) สอบและแก้ไขในเรื่อง ของการนาของใชม้ า 5.6 ครูปล่อยเลกิ แถว 5.7ครพู านกั เรยี นเดนิ แถวกลบั ห้องเรยี นก่อนเป็นฝา่ ยชนะ โรงเรยี น (IQ, MQ, AQ)

222 7. สอ่ื การสอน/แหลง่ การเรยี นรู้ - ส่อื การสอน นกหวีด หนงั สอื เรยี นวชิ าสขุ ศกึ ษา กรวย แผน่ ยางมาร์กเกอร์ Whistle และพลศกึ ษา ป..2 เลม่ 1 Cones Markers A Book กระดานไวทบ์ อรด์ ปากกาไวท์บอรด์ แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวทบ์ อรด์ เรอ่ื งทส่ี อนในช่วั โมง - แหลง่ การเรยี นรู้ Whiteboard eraser poster/Image media เกรียงไกร อินทรชยั . 2559. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เลม่ 2. พิมพ์คร้ังที่ 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ริ้นท์กรปุ๊ จากดั . ณฐั พร สดุ ดี. 2561. เทคนิคการสอนเกมมูลฐาน. กรงุ เทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . (อดั สาเนา) ถาวร วรรณศิร.ิ 2551. สุขศึกษาและพลศึกษา : ฟตุ บอล ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5-6. พิมพ์ครง้ั ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พริน้ ท์กรปุ๊ จากดั . สุรเชษฐ์ วิศวธีรานนท์. 2561. กฬี าแชร์บอลและทักษะการเคล่ือนไหวขัน้ พื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พมิ พ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พร้ินท์กรปุ๊ จากัด.

223 8. คาศัพทภ์ าษาองั กฤษ ความหมาย การเคลื่อนไหวแบบเคล่ือนที่ ลาดับ คาศพั ท์ภาษาอังกฤษ การเดนิ บนคานทรงตวั 1 Locomotor Skills เดินข้ึนและเดนิ ลงคานทรงตัว 2 Walk on Balance Beam การกระโดดจากทีส่ งู 3 Walk up and Walk down on Balance Beam การเคล่อื นไหวข้ันพน้ื ฐาน 4 Jumping from High อุปกรณ์ของใชใ้ นการเรียนพลศกึ ษา 5 Basic Movement Skills นกหวีด 6 P.E Supplies หนังสือเรียน 7 Whistle กรวย 8 Book แผ่นยางมารก์ เกอร์ 9 Cone กระดานไวทบ์ อรด์ 10 Marker ปากกาไวท์บอร์ด 11 White board แปรงลบกระดานไวทบ์ อรด์ 12 Whiteboard pen โปสเตอร์ / POWERPOINTเรื่องทสี่ อนในชวั่ โมง 13 Whiteboard eraser 14 poster/Image media 9. การวัดและประเมินผล เครือ่ งมือ แบบสงั เกต ลาดับ เรอื่ ง แบบตรวจสอบ แบบสงั เกต 1 สงั เกตความสนใจและการมีส่วนรว่ มตลอดชั้นเรยี น 2 สารวจเครือ่ งแต่งกายและบกั ทึกคะแนนความรบั ผดิ ชอบและคะแนนสุขปฏิบัติ 3 สังเกตการตอบคาถามระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

224 โรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม แบบประเมินความสนใจ การมีส่วนรว่ มในกิจกรรม และผลสาเรจ็ ของการฝึกทกั ษะและการนาไปใช้ วนั ที่ ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปีการศกึ ษา.......................... หน่วยการเรียนร้.ู ..................................... เร่อื ง...................................................................ระดับชั้น.......................... ระดับ 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรุง/เพ่มิ เติม) PQ นกั เรียน 80% ขึน้ ไป ฝึกทักษะหรือเลน่ นกั เรียน 60%-80% ฝึกทักษะหรอื เลน่ นกั เรียนนอ้ ยกวา่ 60%ฝกึ ทักษะหรอื เล่น สมรรถภาพ เกมเพ่อื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพ่ือพฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพื่อพัฒนาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย ทางกาย MQ นกั เรียน 80% ขน้ึ ไปใหค้ วามร่วมมือ นกั เรยี น 60%-80%ใหค้ วามรว่ มมอื นกั เรยี นน้อยกวา่ 60%ใหค้ วาม คณุ ธรรม กับครใู นการจัดกจิ กรรมเป็นอยา่ งดี กับครใู นการจดั กจิ กรรมเป็นอย่างดี รว่ มมือกบั ครูในการจัดกิจกรรมเปน็ จรยิ ธรรม ยอมรับการเป็นผนู้ า ผูต้ ามท่ีดี เชอ่ื ยอมรับการเป็นผ้นู า ผตู้ ามท่ีดี เชอื่ อยา่ งดี ยอมรับการเป็นผูน้ า ผ้ตู ามที่ ฟงั ครู ฟงั ครู ดี เชือ่ ฟังครู นักเรียน 80% ขึน้ ไปมคี วามกระตอื รอื รน้ นั ก เรี ย น 60% -80% มี มี ค วาม นั กเรีย น น้ อย กว่า 60% มี ความ แตง่ กายเรยี บรอ้ ยพร้อมท่ีจะเรยี น กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม AQ เจตคติ ชว่ ยเหลอื และแนะนาเพื่อนใหป้ ฎบิ ตั ิ ที่จะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพื่อน ท่ีจะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพื่อน ระเบยี บวนิ ยั ในหอ้ งเรียนได้ ใหป้ ฎิบัติระเบียบวินัยในห้องเรยี นได้ ให้ปฎบิ ัตริ ะเบียบวินยั ในหอ้ งเรยี นได้ IQ ความรู้ นกั เรยี น 80% ข้ึนไปสามารถอธบิ าย นักเรยี น 60%-80% สามารถอธิบาย นักเรียนน้อยกว่า 60% สามารถ ความ เนอ้ื หาทีเ่ รียนไปได้อยา่ งครบถว้ นและ เนอื้ หาที่เรยี นไปไดอ้ ยา่ งครบถว้ นและ อธิบายเนื้อหาที่เรียนไปได้อย่าง เขา้ ใจ ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง ครบถ้วนและถกู ต้อง นกั เรียน 80% ขึน้ ไปสามารถปฏบิ ตั ิ นักเรียน 60%-80% สามารถปฏบิ ตั ิ นักเรียนน้อยกว่า 60% สามารถ SQ ทักษะ ทักษะที่เรยี นในชั่วโมงไดอ้ ยา่ ง ทกั ษะทีเ่ รยี นในช่ัวโมงได้อย่าง ปฏิบตั ิทกั ษะทเี่ รยี นในช่วั โมงได้ ครบถ้วนและถกู ตอ้ งได้ ครบถว้ นและถกู ต้องได้ อย่างครบถ้วนและถูกตอ้ งได้ ระดบั คุณภาพ ระดบั 3 หมายถึง จานวนนักเรยี น 80% ขึ้นไป ระดับ 2 หมายถึง จานวนนกั เรียน 60-80% ระดบั 1 หมายถึง จานวนนักเรยี นอ้ ยกว่า 60% ลงชื่อ...........................................................ผ้ปู ระเมนิ

225 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝา่ ยประถม บันทึกหลังสอน กลุม่ สาระการเรยี นรู้ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2/...... หน่วย ทกั ษะการเคลื่อนไหวข้ันพื้นฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรียน ตน้ เรอ่ื ง การเคลื่อนไหวแบบเคลือ่ นท่ี (Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาท)ี การเดินบนคานทรงตัว (Walk on Balance Beam) - เดนิ ขน้ึ และเดนิ ลงคานทรงตวั (Walk up and Walk down on Balance Beam) - การกระโดดจากทส่ี งู (Jumping from High) วันท่ี..........เดือน.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น..-.......................น. 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ปญั หาและอุปสรรค(ก่อนสอน-ระหวา่ งสอน-หลังสอน) ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกไ้ ขเพื่อใชใ้ นการสอนครงั้ ต่อไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...................................................... (………………………………………………………..) ผู้สอน

226 โรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝา่ ยประถม แผนการจดั การเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 หนว่ ย ทักษะการเคลอ่ื นไหวขั้นพนื้ ฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรียน ตน้ เร่อื ง การเคลือ่ นไหวแบบเคล่ือนที่ (Locomotor Skills) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาท)ี - ทา่ ทางการเข้าท่ี-ระวงั -ไป (4 Point Star) 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 3 การเคลอื่ นไหว การออกกาลงั กาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล พ 3.1: เข้าใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า พ 3.2: รกั การออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเล่นกีฬา ปฏิบตั ิเปน็ ประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินยั เคารพสิทธิ กฏกติกา มีนา้ ใจ มจี ิตวญิ ญาณในการแข่งขนั และชน่ื ชมในสุนทรภี าพของการกีฬา 2. ตวั ช้วี ัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคุมการเคลอื่ นไหวรา่ งกาย ขณะอยู่กับท่ี เคล่อื นท่ี และใชอ้ ุปกรณ์ประกอบ พ 3.1 ป.2/2: เลน่ เกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วมกิจกรรมทางกายที่วิธีเลน่ อาศัยการเคล่ือนไหวเบื้องตน้ ท้ัง แบบอยูก่ ับที่ เคล่ือนท่แี ละใช้อุปกรณ์ประกอบ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 นกั เรยี นสามารถอธิบายหลักการของทักษะการเขา้ ที่-ระวัง-ไป ได้ถกู ต้อง (IQ) 3.2 นักเรียนสามารถปฎิบัติทักษะการเข้าท-ี่ ระวัง-ไป ไดถ้ ูกตอ้ งอย่างน้อย 80% ของจานวนนกั เรียน ทงั้ หมด (SQ) 3.3 นกั เรียนสามารถพฒั นาสมรรถภาพด้านความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต (Cardiorespiratory Endurance) ของกลา้ มเนื้อขา (Muscular Endurance) ดา้ นความเร็ว(Speed) และความคล่องแคลว่ วอ่ งไว (Agility) จากการเลน่ เกมและการฝึกปฏิบัติ (PQ) 3.4 นกั เรยี นสามารถแต่งกายถกู ระเบียบและปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บ (MQ) 3.5 นักเรียนได้มีความกระตือรือรน้ ในการเข้าเรียนและสนุกสนานในการเล่นเกม (AQ 4. สาระสาคัญ ท่าทางในการว่ิง (เขา้ ที่-ระวัง-ไป) เป็นทักษะพ้นื ฐานในการปล่อยตวั นักกีฬาออกจากจุดเริ่มต้น (start) ซ่ึง บุคคลท่ีได้รับการฝึกฝนในท่าทางทักษะการปล่อยตัวท่ีถูกต้องจนเกิดความชานาญจะส่งผลให้ได้เปรียบผู้อ่ืน สามารถออกตัวได้เร็วกว่าผู้ท่ีไม่ได้รับการฝึกฝน ดังนั้นนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 จึงควรได้รับความรู้

227 และการฝึกฝนทักษะท่าทางในการว่งิ ออกจากจุดเร่ิมต้นที่ถกู ตอ้ ง เพ่ือจะได้นาไปปรับใช้ในการทากจิ กรรม การเล่น เกม และเล่นกีฬาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5. ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวัง นักเรยี น 80% สามารถปฏิบัติได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้และสามารถนาเอาความรู้ไปใชไ้ ดอ้ ยา่ ง คลอ่ งแคลว่ ในการเรียนการสอนรายวชิ าอ่ืน และชวี ิตประจาวนั 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ 1.ข้ันเตรียม / อบอุ่นรา่ งกาย (15 นาที) - นกั เรยี นมคี วามเขา้ ใจและ สาระการเรียนรู้ 1.1 ครูเดนิ ไปรบั นักเรียน แลว้ พานกั เรียนไป ปฎิบัติตามคาส่ังครูผูส้ อน ทักษะการเคล่อื นไหวแบบอยู่กบั ที่ สถานทเ่ี รยี น (สนาม 3) - นักเรยี นมคี วามเป็น (Locomotor Skills) คอื การท่รี ่างกาย 1.2 ครูให้นกั เรยี นวางถุงยา่ มในชน้ั วางของ โดย ระเบียบเรยี บร้อยภายใน หรอื อวัยวะตา่ งๆ เคลอื่ นไหวและเคลือ่ นท่ี ใหน้ ักเรียนชายไวแ้ ถวลา่ งของชนั้ วาง และ แถวตามท่กี าหนด ด้วย ในทนี่ ้ีจะกล่าวถงึ - ทา่ ทางการเข้าที่- นักเรยี นหญงิ วางไวแ้ ถวบนของชน้ั วางของ - นักเรยี นมคี วามพรอ้ มใน ระวัง-ไป 1.3 ครูให้นกั เรยี นเข้าแถว 4 แถว การเรยี นทั้งทางดา้ น 1. ท่าทางการเขา้ ที่-ระวัง-ไป (4 Point รา่ งกาย จติ ใจและอารมณ์ Star) จะใช้ในการเล่นหรอื แข่งขันกรีฑา - นักเรียนเคารพกติกา โดยมวี ธิ กี าร ดงั น้ี ภายในห้องเรยี น, แตง่ กาย เรยี บรอ้ ย (MQ) = ครู = นกั เรยี น 1.4 ครูสารวจเครอื่ งแต่งกายและของใช้ส่วนตัว 1.5 อบอนุ่ รา่ งกาย(Warm – Up)ครใู ห้นักเรยี น - นกั เรียนบรหิ ารรา่ งกาย ขยายแถวหนง่ึ ชว่ งแขนเพื่ออบอนุ่ รา่ งกาย และอวัยวะต่างๆ ได้ 1.5.1 ครนู านกั เรียนยืดเหยียดกล้ามเนือ้ 5 ท่า เหมาะสมตามวัย (SQ) 1.1 ท่าทางการตั้งต้นก่อนออกวง่ิ “เข้าท”ี่ ท่าท่ี 1 บริหารคอ ซา้ ยและขวา ขา้ งละ มี 4 จังหวะ จงั หวะท่ี 1 ยนื เท้าซา้ ยอยู่ดา้ นหน้าชดิ เส้น 10 ครัง้ เรม่ิ ปลายเทา้ ขวาอยู่หา่ งจากส้นเทา้ ซ้าย ในแนวระนาบประมาณ 1 ช่วงไหล่ ด้านหลัง

228 สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ ท่าท่ี 2 หมนุ แขนซา้ ย ขวา พร้อมกัน หมนุ มา ขา้ งหนา้ 10 ครัง้ ไปข้าง หลัง 10 ครง้ั จงั หวะท่ี 2 ถอยขาซ้ายไปด้านหลงั ปลาย ท่าที่ 3 ท่าบริหารกล้ามเนื้อหัวไหล่ ลาตัวและ เทา้ ซา้ ยอยูห่ ่างจากส้นเท้าขวา ในแนว ต้นขา จับคู่หันหน้าเข้ากัน นามือมาจับบ่าเพื่อน ระนาบประมาณ 1 ในแนวระนาบ ตรงขา้ ม แล้วถอยหลังค่อยๆ กดตวั ให้ตา่ ลง ประมาณ 1 ช่วงไหล่ดา้ นหลงั ท่าที่ 4 ทา่ บริหารหวั ไหล่ แขนและมอื ในทา่ ดนั มือ จังหวะที่ 3 ย่อเข่าน่งั ลงบนส้นเท้าซา้ ย ท่าท่ี 5 ว่ิงรอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร) 1.6 พฒั นาสมรรถภาพรา่ งกาย - นกั เรียนพฒั นาสมรรถ 1.6.1 ครูให้นักเรียนใช้ทักษะการเคลื่อนไหวขั้น ภาพดา้ นความอดทนของ พ้นื ฐานในการฝกึ สมรรถภาพทางกาย ระบบไหลเวยี นโลหติ - ให้นักเรียนยืนเข้าแถวเป็น 4 แถว หัวแถวยืน ความอดทนของกลา้ มเนื้อ หลังเสน้ ท่ีกาหนด ขา ความเรว็ และความ

229 สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ จงั หวะที่ 4 วางแขนทั้งสองข้างที่เสน้ เรมิ่ ความกว้างประมาณ 1 ชว่ งไหล่ โดยใช้ - เริ่มฝึก ให้นักเรียนปฏิบัติตามสัญญาณนกหวีด คล่องแคล่ววอ่ งไว จาก นวิ้ ช้ีและน้วิ โป้งวางขนานกับเสน้ เรม่ิ แขน ตงึ นา้ หนกั ตวั อยดู่ ้านหน้า(บนแขน) ตา ฟังคาสง่ั การเปลย่ี นท่าทางการเคล่ือนไหวจากครู การฝึกปฏบิ ตั ิ (PQ) มองตรงไปข้างหน้า      = นักเรียน 4แถว  = มาร์กเกอร์ = เส้นเร่ิมและ เส้นสิ้นสดุ = ทิศทางการวิ่ง     ท่าที่ 1 ก้าวชิดก้าวด้านข้าง (SLIDE) ระยะทาง 10 เมตร  ทา่ ท่ี 2 ก้าวชดิ กา้ วด้านหน้า(Gallop) 1.2 ท่าทางเมื่อได้ยินคาว่า “ระวงั ” ยกสะโพกขึ้น นา้ หนักตัวท้ิงไปดา้ นหน้า ไหล่และศรี ษะโน้มไปอยู่เหนอื เสน้ เร่ิม ทา่ ท่ี 3 ก้าวเขยง่ (SKIP) ระยะทาง 10 เมตร

230 สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ 1.3 ท่าทางเม่ือได้ยินคาว่า “ไป” ใหถ้ บี ท่าที่ 4 ก้าวกระโดด (HOPPING) ระยะทาง 10 เทา้ หลังอย่างแรงและเร็ว ยกตวั ขึน้ แล้ว เมตร ก้าวขาท่ีอย่ดู า้ นหลงั มาด้านหนา้ ท่าท่ี 5 กระโดดเท้าคู่ไปขา้ งหนา้ (JUMPING) ระยะทาง 10 เมตร  ท่าท่ี 6 วงิ่ กลบั ตัว (Shuttle) ระยะทาง 10 เมตร ท่าท่ี 7 วิ่งซิกแซก (Zigzag Skills) ระยะทาง 10  เมตร - หลังจากฝึกจบ ครูจะสรุปผลการฝึก ส่ิงที่ได้ จากการฝกึ และเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถาม 2. ขนั้ อธบิ ายสาธิต (10 นาที) - นกั เรยี นอธบิ ายทักษะ 2.1 ครใู หน้ ักเรยี นชมคลิปวดิ ีโอทเ่ี ก่ียวกับ ทา่ ทางการเข้าที่-ระวัง- ทา่ ทางการเข้าท่ี-ระวัง-ไป ไป ได้อย่างถูกต้อง (IQ) 2.2 ครถู ามคาถามนักเรียนว่า

231 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ 2.2.1 คาสั่ง “การเข้าที่ ระวงั ไป” ใชใ้ นกฬี าอะไร แนวคาตอบ : กรีฑา 2.3 ครอู ธิบายและสาธติ ร่วมกบั นักเรียนในทา่ ทาง การเขา้ ท-ี่ ระวงั -ไป 2.4 ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามข้อสงสยั กอ่ นการฝึกทักษะ 3. ข้ันการฝึกหัดทักษะ (20 นาท)ี - นกั เรียนไดฝ้ กึ ทักษะท่ี 3.1 แบบฝึกที่ 1 ฝึกทักษะท่าทางการเข้าที่-ระวัง- ได้เรยี นจนเกิดความ ไป เน้นความเข้าใจ ฝึกไปเพื่ออะไร แล้วมีวิธีฝึก ชานาญ (SQ) อย่างไร โดยมีครใู หค้ าแนะนา - แบง่ นักเรียนออกเป็น 4 แถว ครูให้นักเรียนฝกึ ทา่ ทางการเข้าท่ี-ระวงั -ไป - ครใู หน้ กั เรยี นยนื ฝึกอยู่กบั ท่ี เมือ่ ได้ยนิ คาว่า “ไป” ใหว้ ิง่ ออกตัว 3-4 กา้ ว แล้วเดนิ กลบั มาทเ่ี ดิม - ปฏบิ ตั คิ นละ 3-4 รอบ = ครู     = นกั เรยี น  = เสน้ เรมิ่  = ทศิ ทางการวิ่ง  ออกตวั 3.2 แบบฝึกที่ 2 ฝึกทักษะการเข้าที่-ระวัง-ไป ระยะทาง 10 เมตร

232 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ - แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 แถว ครูให้นักเรียน ฝกึ ท่าทางการเข้าท-ี่ ระวัง-ไป = ครู - ครใู ห้นกั เรยี นยืนฝึกอยกู่ บั ที่ เมอื่ ได้ยินคาวา่ “ไป” ให้วิ่งออกตัวไปข้างหน้าระยะทาง 10 เมตร แล้วเดินกลบั มาตอ่ ท้ายแถวดงั เดมิ - ปฏบิ ตั ิคนละ 3-4 รอบ   = นักเรยี น = กรวยเสน้ ชัย  = เส้นเริม่   = ทศิ ทางการวิง่  ออกตวั - ครูสรปุ ส่งิ ทไ่ี ด้จากการฝกึ และเปิดโอกาสให้ นักเรียนซักถามข้อสงสัยตลอดการฝกึ 4.ขัน้ การนาไปใช้ (15 นาที ) - นกั เรียนมกี ารคิด 4.1 ครูให้นักเรียนเล่นเกม “วิ่งผลัดเข้าท่ี-ระวัง- วางแผนในวธิ ีการเลน่ รวมถงึ มีการกระตุ้นให้ ไป” ระยะทาง 10 เมตร - แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 แถว เท่าๆ กัน ครูให้ ตนเองและเพื่อน มคี วาม นักเรียน ทุกคนทาท่าทางการเข้าท่ี-ระวัง-ไป วิ่ง สนกุ สนานในเกมการ ไปถึงฝ่ังตรงข้าม แล้วไปแตะตัวเพื่อนที่กาลัง แข่งขนั (PQ, AQ) ทาทา่ “เข้าท-ี่ ระวงั -ไป” - เพื่อนท่ีถูกแตะตัวต้องวิ่งกลับมาแตะตัวเพื่อน ฝง่ั ตรงขา้ มต่อไป ทาจนครบทกุ คน - ทีมใดทาครบทุกคนเสร็จก่อนทีมนั้นเป็นผชู้ นะ

233 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้  = ครู     = นักเรยี น = กรวยเส้นชัย = เสน้ เรมิ่ = ทศิ ทางการว่งิ ไป  = ทศิ ทางการว่งิ กลบั   4.2 หลังจากเล่มเกมจบ ครูจะสรุปผลการเล่น ส่ิงที่ได้จากการเล่นเกม และเปิดโอกาสให้นักเรียน ซกั ถาม 5.ขั้นสรปุ และสุขปฎิบตั ิ (5 นาที ) - นกั เรียนไดฝ้ กึ ประมวล 5.1 ครสู รุปเนื้อหาท่ีไดเ้ รยี นในชั่วโมงเรียน ความคดิ รวบยอดอีกครง้ั 5.2 ครูถามคาถามนกั เรียนวา่ หลังจากเรยี นโดยการ 5.2.1 ลกั ษณะของ”นิ้วมอื ” ทว่ี างไปกบั พื้นใน แลกเปลี่ยน การถาม และตอบกบั ครูผู้สอน ท่าเข้าที่ มรี ปู ร่างคลา้ ยสตั ว์ชนดิ ใด - นกั เรียนรจู้ ักการดูแล แนวคาตอบ : นกกางปกี 5.2.2 ลักษณะของการวางเท้าในท่า “เข้าท”ี่ จะ รกั ษาความสะอาดอวัยวะ ต่างๆ ของร่างกายตนเอง มีลกั ษณะแบบใด แนวคาตอบ : เทา้ ใดเท้าหน่ึงอยหู่ น้า อีกเทา้ อยู่ หลังจากเลน่ กฬี า - นกั เรียนได้ฝึกความ ดา้ นหลัง 5.3 ครูให้นักเรียนไปล้างหน้า ล้างมือ ดื่มน้าส่วน รับผิดชอบในการตรวจ สอบและแก้ไขในเร่ือง และกลบั มาเข้าแถว 5.4 ครสู ารวจอปุ กรณ์และของใชส้ ่วนตวั ของนกั เรียน ของการนาของใชม้ า โรงเรยี น (IQ, MQ, AQ)

234 สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ 5.5 ครใู หน้ ักเรียนบันทึกหวั ข้อเร่ืองที่เรยี นในชัว่ โมงนี้ ลงในหนงั สือเรียนหน้า 52 (อาจมีการเปล่ียนแปลง) 5.6 ครูปล่อยเลิกแถว 5.7ครูพานักเรยี นเดนิ แถวกลบั หอ้ งเรียนก่อนเปน็ ฝา่ ยชนะ 7. สอื่ การสอน/แหล่งการเรียนรู้ - สือ่ การสอน นกหวีด หนงั สือเรยี นวิชาสขุ ศึกษา กรวย แผ่นยางมาร์กเกอร์ Whistle และพลศกึ ษา ป..2 เลม่ 1 Cones Markers A Book กระดานไวทบ์ อร์ด ปากกาไวท์บอร์ด แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวทบ์ อรด์ เร่ืองท่สี อนในชั่วโมง - แหล่งการเรยี นรู้ Whiteboard eraser poster/Image media เกรยี งไกร อินทรชยั . 2559. สุขศึกษาและพลศึกษา ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 เลม่ 2. พิมพ์คร้งั ท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอร์พรน้ิ ท์กรปุ๊ จากดั . ณัฐพร สดุ ดี. 2561. เทคนิคการสอนเกมมลู ฐาน. กรงุ เทพมหานคร: คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . (อดั สาเนา) ถาวร วรรณศริ ิ. 2551. สุขศึกษาและพลศกึ ษา : ฟุตบอล ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5-6. พิมพ์ครง้ั ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอรพ์ รน้ิ ท์กรุ๊ป จากดั . สรุ เชษฐ์ วศิ วธีรานนท์. 2561. กฬี าแชร์บอลและทักษะการเคลือ่ นไหวขน้ั พื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 1. พมิ พ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พร้ินท์กรปุ๊ จากดั .

235 8. คาศพั ทภ์ าษาอังกฤษ ความหมาย การเคลื่อนไหวแบบเคล่ือนที่ ลาดับ คาศัพทภ์ าษาองั กฤษ ท่าทางการเขา้ ที่-ระวัง-ไป 1 Locomotor Skills 2 4 Point Star การเคล่อื นไหวขน้ั พ้ืนฐาน อปุ กรณ์ของใชใ้ นการเรียนพลศึกษา 3 Basic Movement Skills นกหวีด 4 P.E Supplies หนงั สือเรยี น 5 Whistle กรวย 6 Book แผ่นยางมาร์กเกอร์ 7 Cone กระดานไวท์บอรด์ 8 Marker ปากกาไวทบ์ อร์ด 9 White board แปรงลบกระดานไวทบ์ อร์ด 10 Whiteboard pen โปสเตอร์ / POWERPOINTเร่อื งทีส่ อนในชั่วโมง 11 Whiteboard eraser 12 poster/Image media 9. การวัดและประเมนิ ผล เครื่องมอื แบบสังเกต ลาดับ เร่ือง แบบตรวจสอบ แบบสงั เกต 1 สงั เกตความสนใจและการมสี ่วนร่วมตลอดช้ันเรยี น 2 สารวจเครื่องแตง่ กายและบกั ทกึ คะแนนความรับผดิ ชอบและคะแนนสขุ ปฏิบตั ิ 3 สังเกตการตอบคาถามระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

236 โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ฝ่ายประถม แบบประเมนิ ความสนใจ การมีส่วนร่วมในกจิ กรรม และผลสาเร็จของการฝกึ ทักษะและการนาไปใช้ วนั ที่ ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปีการศึกษา.......................... หน่วยการเรียนร.ู้ ..................................... เรือ่ ง...................................................................ระดบั ชน้ั .......................... ระดับ 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรงุ /เพ่ิมเติม) PQ นกั เรยี น 80% ขึน้ ไป ฝึกทักษะหรือเลน่ นักเรยี น 60%-80% ฝกึ ทักษะหรอื เลน่ นกั เรียนนอ้ ยกว่า60%ฝกึ ทักษะหรือเลน่ สมรรถภาพ เกมเพ่อื พฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพ่ือพฒั นาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย เกมเพ่อื พัฒนาสมรรถภาพโดยไมเ่ หนอ่ื ย ทางกาย MQ นกั เรยี น 80% ข้นึ ไปใหค้ วามร่วมมือ นกั เรยี น 60%-80%ใหค้ วามรว่ มมอื นกั เรยี นนอ้ ยกว่า 60%ใหค้ วาม คณุ ธรรม กับครใู นการจัดกจิ กรรมเป็นอยา่ งดี กบั ครูในการจดั กจิ กรรมเป็นอย่างดี ร่วมมือกับครใู นการจดั กจิ กรรมเปน็ จรยิ ธรรม ยอมรับการเป็นผนู้ า ผูต้ ามท่ีดี เชอ่ื ยอมรับการเป็นผู้นา ผูต้ ามที่ดี เชอ่ื อย่างดี ยอมรับการเปน็ ผนู้ า ผูต้ ามที่ ฟังครู ฟังครู ดี เชื่อฟงั ครู นกั เรยี น 80% ขึน้ ไปมคี วามกระตอื รอื ร้น นั ก เรี ย น 60% -80% มี มี ค วาม นั กเรีย น น้ อย กว่า 60% มี ความ แตง่ กายเรยี บรอ้ ยพร้อมท่ีจะเรยี น กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม กระตือรือร้น แต่งกายเรียบร้อยพร้อม AQ เจตคติ ช่วยเหลอื และแนะนาเพื่อนใหป้ ฎบิ ตั ิ ท่ีจะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพ่ือน ที่จะเรียนช่วยเหลือและแนะนาเพื่อน ระเบียบวนิ ยั ในหอ้ งเรียนได้ ให้ปฎบิ ตั ิระเบียบวินยั ในห้องเรียนได้ ใหป้ ฎบิ ตั ริ ะเบยี บวินยั ในหอ้ งเรยี นได้ IQ ความรู้ นักเรยี น 80% ข้ึนไปสามารถอธบิ าย นักเรยี น 60%-80% สามารถอธบิ าย นักเรียนน้อยกว่า 60% สามารถ ความ เน้อื หาทีเ่ รียนไปได้อยา่ งครบถว้ นและ เนอื้ หาท่เี รียนไปไดอ้ ยา่ งครบถว้ นและ อธิบายเน้ือหาที่เรียนไปได้อย่าง เขา้ ใจ ถกู ตอ้ ง ถกู ต้อง ครบถ้วนและถกู ตอ้ ง นกั เรยี น 80% ขึ้นไปสามารถปฏบิ ตั ิ นักเรียน 60%-80% สามารถปฏบิ ตั ิ นักเรยี นนอ้ ยกว่า 60% สามารถ SQ ทักษะ ทักษะที่เรยี นในชั่วโมงไดอ้ ยา่ ง ทักษะที่เรยี นในชัว่ โมงได้อย่าง ปฏบิ ัติทกั ษะท่เี รียนในชัว่ โมงได้ ครบถ้วนและถูกตอ้ งได้ ครบถว้ นและถูกต้องได้ อย่างครบถ้วนและถกู ต้องได้ ระดบั คุณภาพ ระดบั 3 หมายถึง จานวนนักเรยี น 80% ขึ้นไป ระดับ 2 หมายถึง จานวนนกั เรียน 60-80% ระดบั 1 หมายถึง จานวนนักเรียนอ้ ยกวา่ 60% ลงช่ือ...........................................................ผปู้ ระเมิน

237 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม บันทึกหลงั สอน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2/...... หนว่ ย ทักษะการเคล่ือนไหวขั้นพ้นื ฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรยี น ตน้ เรือ่ ง การเคลื่อนไหวแบบเคล่ือนที่ (Locomotor Skills) เวลาเรียน 1 คาบ (60 นาท)ี - ท่าทางการเข้าที่-ระวงั -ไป (4 Point Star) วันที่..........เดือน.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น..-.......................น. 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ปัญหาและอุปสรรค(กอ่ นสอน-ระหวา่ งสอน-หลังสอน) ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกไ้ ขเพอ่ื ใช้ในการสอนครัง้ ต่อไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...................................................... (………………………………………………………..) ผูส้ อน

238 โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2 หน่วย ทักษะการเคลอ่ื นไหวขั้นพื้นฐาน (Basic Movement Skills) ภาคเรยี น ตน้ เรื่อง การเคล่ือนไหวแบบเคลือ่ นทแ่ี ละประกอบอปุ กรณ์ เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาที) - การวิ่งออ้ มหลกั (Shuttle Run) - การวิง่ เป้ยี ว (Flag Race) 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 3 การเคลือ่ นไหว การออกกาลงั กาย การเลน่ เกม กฬี าไทย และกีฬาสากล พ 3.1: เขา้ ใจ มีทกั ษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา พ 3.2: รักการออกกาลงั กาย การเลน่ เกม และการเลน่ กีฬา ปฏบิ ัตเิ ปน็ ประจาอยา่ งสมา่ เสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฏกติกา มีนา้ ใจ มจี ิตวิญญาณในการแขง่ ขัน และชืน่ ชมในสุนทรภี าพของการกีฬา 2. ตวั ช้วี ัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคุมการเคล่ือนไหวรา่ งกาย ขณะอยู่กับท่ี เคลอื่ นที่ และใชอ้ ปุ กรณ์ประกอบ พ 3.1 ป.2/2: เลน่ เกมเบด็ เตล็ดและเข้าร่วมกจิ กรรมทางกายทว่ี ธิ เี ล่นอาศัยการเคลื่อนไหวเบอ้ื งต้นทงั้ แบบอยูก่ ับท่ี เคล่ือนทีแ่ ละใช้อปุ กรณ์ประกอบ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 นักเรยี นสามารถอธิบายหลกั การของทักษะการว่ิงออ้ มหลัก การวงิ่ เปีย้ วไดถ้ ูกต้อง (IQ) 3.2 นกั เรยี นสามารถปฎิบัติทักษะการวิ่งอ้อมหลัก การวิ่งเปีย้ ว ได้ถูกต้องอย่างน้อย 80% ของจานวน นักเรียนทงั้ หมด (SQ) 3.3 นกั เรยี นสามารถพัฒนาสมรรถภาพดา้ นความอดทนของระบบไหลเวยี นโลหติ (Cardiorespiratory Endurance) ของกล้ามเน้ือขา (Muscular Endurance) ดา้ นความเรว็ (Speed) และความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว (Agility) จากการเลน่ เกมและการฝึกปฏิบัติ (PQ) 3.4 นักเรียนสามารถแต่งกายถูกระเบยี บและปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบ (MQ) 3.5 นกั เรยี นได้มีความกระตือรอื ร้นในการเขา้ เรยี นและสนกุ สนานในการเล่นเกม (AQ 4. สาระสาคัญ การวิ่งอ้อมหลักและการว่ิงเป้ียว เป็นเกมกีฬาที่ช่วยส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเคล่ือนไหวเบื้องต้น อันได้แก่ ทักษะการวิ่ง ทักษะการหยุดว่ิง ทักษะการกลับตัว และ ทักษะการวิ่งอ้อมหลัก เป็นต้น อีกท้ังยังช่วย เสริมสร้างสมรรถภาพร่างกายด้านความแข็งแรง และความคล่องแคล่วว่องไว รวมถึงการมีน้าใจเป็นนักกีฬา รู้จักแพ้

239 รูจ้ ักชนะ รจู้ ักอภัย อีกดว้ ย ดังนน้ั นักเรียนจงึ สมควรไดร้ ับความรู้ในเรื่องของหลักการวิ่งออ้ มหลัก โดยผ่านการฝึกทักษะ วง่ิ เป้ียว และกฎกตกิ าในการว่ิงเป้ียวที่ถูกต้อง เพ่ือจะไดน้ าไปปฏิบตั ิได้อย่างถูกต้อง และเกิดประสิทธผิ ลต่อตนเอง 5. ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั นักเรยี น 80% สามารถปฏิบตั ิได้ตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้และสามารถนาเอาความรู้ไปใชไ้ ด้อยา่ ง คลอ่ งแคลว่ ในการเรยี นการสอนรายวชิ าอนื่ และชวี ิตประจาวัน 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ ทักษะการเคลื่อน ไหวแบบ อยู่กับ ท่ี 1.ขนั้ เตรียม / อบอ่นุ รา่ งกาย (15 นาที) - นกั เรยี นมคี วามเข้าใจและ (Locomotor Skills) คือ การท่ีร่างกาย 1.1 ครเู ดนิ ไปรบั นักเรยี น แลว้ พานักเรยี นไป ปฎบิ ัตติ ามคาสัง่ ครผู ู้สอน หรืออวัยวะต่างๆ เคลื่อนไหวและเคลื่อนท่ี สถานท่ีเรยี น (สนาม 3) - นกั เรียนมคี วามเปน็ ด้วย ในที่นี้จะกล่าวถึง การว่ิงอ้อมหลัก 1.2 ครใู ห้นักเรยี นวางถุงยา่ มในชั้นวางของ โดย ระเบยี บเรียบร้อยภายใน การว่งิ เปีย้ ว ให้นกั เรียนชายไวแ้ ถวล่างของชน้ั วาง และ แถวตามทก่ี าหนด 1.การวงิ่ ออ้ มหลัก (Shuttle Run) นักเรียนหญงิ วางไว้แถวบนของช้นั วางของ - นักเรยี นมคี วามพร้อมใน คอื การวิง่ ออ้ มจุดหรอื หลักท่ีกาหนดไว้ให้ 1.3 ครูใหน้ ักเรยี นเข้าแถว 4 แถว การเรียนทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจและอารมณ์ เรว็ ที่สุด โดยผ้วู ิ่งจะตอ้ งวิง่ วนไปทางขวา - นักเรยี นเคารพกติกา ภายในห้องเรยี น, แต่งกาย ของตนเอง ถ้าเปน็ หลกั ท่ีมน่ั คงแข็งแรงให้ เรยี บรอ้ ย (MQ) ใชม้ ือซ้ายจบั หลกั เหวีย่ งตวั อ้อมหลักใหเ้ ร็ว ทีส่ ุด แต่ถ้าเปน็ หลักทไี่ ม่ม่ันคงให้วิ่งอ้อม หลกั โดยไมแ่ ตะต้องกบั หลัก ใหใ้ ช้การ = ครู = นักเรยี น ชะลอความเร็วขณะอ้อมหลักและแกว่ง แขนช่วยในการทรงตัว โดยแกว่งแขนซา้ ย 1.4 ครูสารวจเคร่อื งแต่งกายและของใชส้ ่วนตัว สน้ั ๆ และแกวง่ แขนขวายาวๆ 1.5 อบอนุ่ ร่างกาย(Warm – Up)ครูใหน้ กั เรยี น - นักเรียนบรหิ ารรา่ งกาย ขยายแถวหนง่ึ ชว่ งแขนเพื่ออบอุ่นรา่ งกาย และอวยั วะต่างๆ ได้ เหมาะสมตามวัย (SQ) 1.5.1 ครนู านักเรยี นยืดเหยียดกลา้ มเน้ือ 5 ทา่ ทา่ ท่ี 1 บริหารคอ ซ้ายและขวา ข้างละ 10 ครง้ั

240 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ 2.การว่งิ เปี้ยว (Flag Race) เปน็ เกมการเล่นของไทยชนดิ หนึง่ นยิ ม ทา่ ที่ 2 หมนุ แขนซา้ ย แขง่ ขันและเลน่ กันในหมู่เด็กๆ จะแข่งขนั กัน ขวา พรอ้ มกัน หมุนมา ระหวา่ งผ้เู ลน่ 2 ฝา่ ยทม่ี จี านวนผู้เล่นเทา่ ๆ ขา้ งหน้า10 ครงั้ ไปข้าง กัน จะผลดั กนั วง่ิ ไลแ่ ตะตัวกนั ระหว่างหลัก 2 หลัง 10 ครัง้ หลกั ฝ่ายใดแตะได้กอ่ นจะเปน็ ฝา่ ยชนะ โดย ท่าท่ี 3 ท่าบริหารกล้ามเน้ือหัวไหล่ ลาตัวและ ต้องอาศยั ทักษะการว่ิงออ้ มหลกั การรบั และ ต้นขา จับคู่หันหน้าเข้ากัน นามือมาจับบ่าเพ่ือน ส่งส่งิ ของในการเล่น ตรงขา้ ม แล้วถอยหลังคอ่ ยๆ กดตัวให้ต่าลง ทา่ ที่ 4 ทา่ บริหารหัวไหล่ แขนและมอื ในทา่ ดนั มือ วิธีการเล่น แบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 ฝ่ายเท่าๆ กัน แต่ละฝ่ายจะยืนอยู่ด้านหลังหลักของ ตนเอง เมื่อเร่ิมแข่งขัน ผู้เล่นคนแรกจะออกว่ิง ไปพร้อมกับห่วงยาง 1 อัน โดยวิ่งไปอ้อมหลัก ของฝ่ายตรงข้าม แล้วพยายามไล่กวดฝ่ายตรง ข้ามให้ทัน เมื่อวิ่งกลับมาท่ีหลักของตนเอง จะต้องส่งห่วงยางท่ีถอื อยูใ่ นมือให้กับผเู้ ล่นคน ทา่ ท่ี 5 วงิ่ รอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร) ต่อไปออกไปวิ่งไล่กวดฝ่ายตรงข้ามต่อ ถ้าฝ่าย ใดฝ่ายหนึ่งไล่กวดอีกฝ่ายทันให้เอาห่วงยางท่ี ถืออยู่แตะตัวฝ่ายตรงข้าม ก็จะได้คะแนน ให้กับทีมของตัวเอง แต่ยังไม่ถือว่าชนะ ต้อง เริ่มแข่งขันใหม่จนกว่าจะมีฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดทา คะแนนได้ 2 คะแนนก่อนหรือแตะตัวฝ่ายตรง 1.6 พฒั นาสมรรถภาพร่างกาย - นักเรยี นพัฒนาสมรรถ ข้ามได้ 2 คร้ังก่อน จงึ จะถือวา่ เป็นฝ่ายชนะ 1.6.1 ครูให้นักเรียนใช้ทักษะการเคลื่อนไหว ภาพด้านความอดทนของ *หากในระหว่างการเล่นมีผู้เล่นทีมหนึ่งทา ขัน้ พนื้ ฐานในการฝึกสมรรถภาพทางกาย ระบบไหลเวยี นโลหติ ความ ห่วงยางหล่นพื้น ให้ผู้เล่นทีมตรงข้ามท่ีว่ิงไล่ - ให้นักเรียนยืนเข้าแถวเป็น 4 แถว หัวแถวยืน อดทนของกลา้ มเนื้อขา กวดมาเอาห่วงยางตนเองไปแตะท่ีห่วงที่อยู่ หลังเส้นที่กาหนด ความเร็ว และความ

241 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ บนพ้ืนจะถือวา่ ชนะ - เริ่มฝึก ให้นักเรียนปฏิบัติตามสัญญาณนกหวีด คล่องแคลว่ ว่องไว จากการ **ในขณะแข่งขันผู้เล่นจะต้องยืนเรียงกัน ฟงั คาส่ังการเปลย่ี นท่าทางการเคลือ่ นไหวจากครู ฝกึ ปฏบิ ตั ิ (PQ) ตามลาดับเหมือนกัน ตอนเริ่มต้นแข่งขันจะ  = นักเรียน 4แถว ไม่มีการสับเปลี่ยนตาแหน่งกันในระหว่าง      แขง่ ขนั เดด็ ขาด = มารก์ เกอร์ = เส้นเร่มิ และ เสน้ สน้ิ สดุ = ทศิ ทางการว่งิ การจบั หรอื ถือห่วงยาง    ท่าที่ 1 ก้าวชิดก้าวด้านข้าง (SLIDE) ระยะทาง 10 เมตร ทา่ ที่ 2 ก้าวชิดก้าวด้านหน้า(Gallop) ทา่ ที่ 3 ก้าวเขยง่ (SKIP) ระยะทาง 10 เมตร

242 สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ ท่าท่ี 4 ก้าวกระโดด (HOPPING) ระยะทาง 10 เมตร ท่าที่ 5 กระโดดเท้าค่ไู ปขา้ งหน้า (JUMPING) ระยะทาง 10 เมตร ท่าท่ี 6 วิง่ กลบั ตวั (Shuttle Run)ระยะทาง 10 เมตร ท่าที่ 7 ว่ิงซิกแซก (Zigzag Skills) ระยะทาง 10 เมตร - หลังจากฝึกจบ ครูจะสรุปผลการฝึก ส่ิงท่ีได้ จากการฝึก และเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซักถาม 2. ขั้นอธิบายสาธิต (10 นาท)ี - นักเรียนอธิบายทักษะ 2.1 ครใู ห้นกั เรยี นชมคลิปวดิ ีโอท่เี ก่ียวกับการว่งิ ท่าทางการว่ิงอ้อมหลัก ออ้ มหลัก การวง่ิ เปย้ี ว การว่ิ งเปี้ ย วได้ อ ย่ าง 2.2 ครถู ามคาถามนักเรียนวา่ ถกู ต้อง (IQ)

243 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ 2.2.1 การวิง่ ออ้ มหลกั กับการวงิ่ กลับตวั ต่างกันอย่างไร แนวคาตอบ : การวิง่ ออ้ มหลัก คือ การวงิ่ อ้อมจุด หรือหลักทกี่ าหนด ส่วนการว่ิงกลับตัว คือ การ หมนุ ตวั หรอื หันตัวมายังทศิ ทางตรงกนั ขา้ ม 2.3 ครอู ธิบายและสาธิตรว่ มกบั นักเรียนในทา่ ทาง การว่งิ อ้อมหลกั การวิ่งเปยี้ ว 2.4 ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามข้อสงสยั ก่อนการฝกึ ทักษะ 3. ขั้นการฝกึ หดั ทกั ษะ (20 นาที) - นักเรียนได้ฝึกทักษะที่ 3.1 แบบฝกึ ท่ี 1 ฝกึ ทักษะทา่ ทาง“การว่งิ อ้อมหลกั ” ไดเ้ รียนจนเกิดความ เน้นความเข้าใจ ฝึกไปเพอ่ื อะไร แล้วมีวธิ ีฝึก ชานาญ (SQ) อยา่ งไร โดยมีครใู หค้ าแนะนา - แบ่งนกั เรยี นออกเป็น 4 แถว ครูใหน้ กั เรียนฝึก ทา่ ทางการการวิง่ อ้อมหลัก ระยะทาง 10 เมตร โดยให้ฟังสัญญาณนกหวีดจากครู ปฏิบัตริ อบละ คนของแตล่ ะแถว - ปฏิบัติคนละ 3-4 รอบ    = นกั เรียน = เสน้ เรม่ิ = ทิศทางการวงิ่  = หลักหรือกรวย   