งานเครื่องยนต์แกส๊ โซลีน 93 รูปที่ 4.30 ระบบเชือ้ เพลงิ ในระบบอีเอฟไอ ถงั เช้ือเพลงิ ปม๊ั เชือ้ เพลงิ ทอ่ เช้ือเพลงิ กรองเชื้อเพลงิ ตัวควบคุม ท่อสง่ เชอ้ื เพลิง แรงดนั เชือ้ เพลงิ ท่อเช้อื เพลงิ กลบั ถงั แรงดันสงู หัวฉดี หัวฉดี สตารต์ เย็น แรงดันต่ำ� รปู ท่ี 4.31 แผนผังการทำ� งานของระบบเช้อื เพลิงในระบบอเี อฟไอ 2.2 ระบบน�ำอากาศ ระบบน�ำอากาศ ดังรูปท่ี 4.32 เริ่มการทำ� งานโดยอากาศบรสิ ทุ ธิ์จาก กรองอากาศจะไหลเข้าสู่มาตรวัดการไหลของอากาศและดันแผ่นวัดให้เปิดออก ขนาดความกว้างของ แผ่นวดั นนั้ ขึน้ อยกู่ ับความเรว็ ของอากาศ ขณะทไี่ หลเขา้ สหู่ อ้ งไอดี ปรมิ าณของอากาศทไี่ อดีจะถูกตรวจ จบั ไดโ้ ดยการเปดิ กวา้ งของลน้ิ เรง่ จากน้ันอากาศจะไหลเขา้ สู่ท่อรว่ มไอดีและตรงไปยงั ห้องเผาไหม้ ถา้ ใน ขณะนัน้ เครื่องยนตเ์ ย็นอยู่ ลน้ิ อากาศจะเปดิ เพอ่ื ใหอ้ ากาศไหลเขา้ สหู่ ้องไอดีไดโ้ ดยตรงโดยไม่ผา่ นล้นิ เร่ง ลน้ิ อากาศนนั้ ปอ้ นอากาศจำ� นวนทเ่ี พยี งพอเขา้ สหู่ อ้ งไอดเี พอื่ เพม่ิ ความเรว็ รอบเดนิ เบา ( จนถงึ รอบเดนิ เบา เรว็ ) ไม่วา่ ขณะนนั้ ล้ินเรง่ จะเปดิ หรือปดิ อยู่ ปริมาณของไอดนี ั้นถกู ตรวจจบั ได้โดยมาตรวัดการไหลของ อากาศ (อเี อฟไอแบบแอล) หรือโดยตัวตรวจจับแรงดันในท่อรว่ มไอดี (อีเอฟไอแบบดี) แผนผังการท�ำงาน ของระบบนำ� อากาศแบบอเี อฟไอแบบดแี ละแบบแอลแสดงดงั รูปท่ี 4.31
94 บทท่ี 4 ระบบจ่ายนำ้� มันเช้อื เพลงิ รูปที่ 4.32 ระบบนำ� อากาศของระบบอเี อฟไอแบบดี L-EFI มาตรวัดการ ท่อน้ำ� ไอดี เรือนลิน้ เรง่ หอ้ งไอดี ท่อร่วม ไหลองอากาศ กรองอากาศ ลิน้ อากาศ D-EFI กรองอากาศ เรือนลน้ิ เรง่ ห้องไอดี ท่อร่วมไอดี ลิน้ อากาศ ตัวตรวจจับแรงดันในทอ่ ร่วมไอดี รปู ที่ 4.33 แผนผงั ระบบน�ำอากาศของระบบอีเอฟไอแบบดแี ละแบบแอล 2.3 ระบบควบคุมทางอิเล็กทรอนิกส์ ระบบควบคุมทางอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงรวมถึงตัว ตรวจจับต่าง ๆ (ตรวจจับสภาพการท�ำงานของเคร่ืองยนต์) คอมพิวเตอร์ซ่ึงท�ำหน้าท่ีค้นหาปริมาณการ ฉดี เชือ้ เพลิง จงั หวะการฉีดเชื้อเพลิงทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกบั สัญญาณท่ีได้รับจากตวั ตรวจจับตา่ ง ๆ ตวั ตรวจจับต่าง ๆ เหลา่ นี้วดั ปรมิ าณของไอดี สภาวะของเครือ่ งยนต์ อณุ หภมู ินำ้� หลอ่ เยน็ และอากาศ การเร่งเคร่ืองยนต์หรอื ลดความเรว็ เครื่องยนต์ ฯลฯ และส่งสัญญาณเหลา่ นใี้ หก้ บั คอมพวิ เตอร์ อีกตัวหนึ่ง ซึ่งคอมพิวเตอร์จะค�ำนวณหาช่วงเวลาการฉีดเช้ือเพลิงที่ถูกต้อง โดยใช้ข้อมูลพ้ืนฐานจาก สัญญาณเหล่าน้ี จากนั้นจงึ ส่งสญั ญาณการฉีดท่ีจ�ำเปน็ ไปยังหวั ฉดี ต่อไป ระบบฉีดเช้ือเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ในเคร่ืองยนต์บางรุ่นจะมีตัวความต้านทานต่อเข้ากับวงจร การฉดี เช้อื เพลงิ อย่ดู ว้ ย เพอ่ื ปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กดิ ความรอ้ นสูงและชว่ ยท�ำให้หวั ฉีดทำ� งานไดอ้ ย่างแน่นอน หัวฉีดสตาร์ตเย็นจะท�ำงานในขณะที่ติดเครื่องยนต์ในขณะท่ีอากาศเย็น ช่วงเวลาการฉีดจะถูก ควบคมุ ด้วยสวิตช์ควบคมุ เวลา ส่วนวงจรคอมพิวเตอรข์ องระบบอเี อฟไอจะมกี ารปอ้ งกนั ในกรณี ที่แรง เคลือ่ นไฟฟา้ ตกคร่อมด้วยเมนรเี ลย์ เช่นเดยี วกันวงจรป๊ัมเชือ้ เพลิงของระบบอเี อฟไอกม็ รี เี ลยป์ ระกอบอยู่
งานเครือ่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน 95 ดว้ ย ซง่ึ จะเปดิ ใหป้ ๊มั เชอ้ื เพลิงทำ� งานในขณะสตารต์ เครื่องยนตห์ รือในขณะท่เี คร่ืองยนตท์ �ำงาน และจะ ปิดปม๊ั เมื่อเครอื่ งยนตด์ บั รูปท่ี 4.34 เปน็ วงจรของระบบควบคุมอเิ ล็กทรอนกิ สข์ องเครอ่ื งยนตอ์ ีเอฟไอ รูปที่ 4.34 วงจรของระบบควบคุมอเิ ล็กทรอนกิ ส์ของเครื่องยนตอ์ ีเอฟไอ ตัวตรวจจับสัญญาณ รายละเอยี ด มาตรวดั การไหลของอากาศ มาตรวดั การไหลของอากาศ ประกอบอยกู่ บั ระบบ ไอดี จะตรวจจับปริมาณของไอดีด้วยมุมการเปดิ (อีเอฟไอแบบแอล) ของแผน่ วัด จากน้นั แปลงไปเป็นสัญญาณแรง เคล่อื นไฟฟา้ ดว้ ยโพเทนเชียนมิเตอร์ ตัวตรวจจับแรงดนั ในทอ่ รว่ มไอดี ตรวจจับแรงดันในท่อรวม โดยอาศยั แผน่ ซลิ ิคอน (อเี อฟไอแบบดี) ชิน้ เล็ก ๆ ที่ติดอยูใ่ นห้องผลึกด้วยสุญญากาศ ของตัวตรวจจับ เมื่อมีสุญญากาศของท่อร่วม สญั ญาณปริมาณไอดี ไอดีมากระท�ำบนด้านหนึ่งของแผ่นซิลิคอนช้ิน เลก็ ๆ นั้น แรงกดดนั จะเกดิ ขน้ึ เป็นอัตราสว่ น กับแรงดันท่ีเปล่ียนแปลงไปกับค่าความต้านทาน ของแผน่ ซิลิคอน การเปล่ยี นแปลงจะถกู แปลง และขยายโดยไอซี ไฮเบิร์ดทสี่ รา้ งรวมอยู่ไปเป็น แรงเคลอ่ื นไฟฟา้ ซึง่ จะถกู ส่งไปยงั อซี ยี ูในรปู ของ สญั ญาณ
96 บทท่ี 4 ระบบจา่ ยนำ�้ มันเชื้อเพลงิ ตวั ตรวจจบั สญั ญาณ รายละเอยี ด สญั ญาณจุดระเบิด การเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้าของขดลวดปฐมภูมิของคอยล์ (IG) จุดระเบิดจะถูกตรวจจับและส่งไปยังอีซียูในรูปของสัญญาณ ซึ่งอีซยี ูจะก�ำหนดจังหวะการฉีดเช้อื เพลิงได้ ให้สอดคลอ้ งไป ตวั ตรวจจบั อณุ หภูมนิ ้�ำหล่อเย็น กับรอบของเครอื่ งยนต์ (THW) ตรวจจบั อณุ หภมู ิน้ำ� หลอ่ เย็นโดยอาศยั เทอร์มสิ เตอร์ จากนัน้ ตวั ตรวจจบั อณุ หภูมอิ ากาศ จะเปล่ยี นแปลงไปเปน็ แรงดันไฟฟ้าและส่งสัญญาณนไี้ ปให้กับ (THA) อซี ียู จะติดตั้งอยู่ในมาตรวัดการไหลของอากาศ (อเี อฟไอแบบแอล) สญั ญาณสตารต์ หรอื ในหม้อกรองอากาศ (อเี อฟไอแบบดี) จะตรวจวดั อุณหภมู ิ (STA) ของอากาศโดยอาศยั เทอร์มสิ เตอรเ์ ช่นกัน จากนัน้ จะเปล่ียน ตัวตรวจจบั ต�ำแหน่งลนิ้ เรง่ ไปเปน็ แรงดันไฟฟ้าและสง่ สัญญาณน้ไี ปให้กบั อีซยี ู (IDL/PSW) ตรวจจับการท�ำงานของมอเตอรส์ ตารต์ ที่แรงดนั ไฟฟา้ ขัว้ ST ของสวติ ชจ์ ุดระเบดิ และส่งสัญญาณเหล่าน้ีไปยงั อซี ยี เู พื่อเป็น ตวั ตรวจจบั ออกซิเจน การแจง้ วา่ ขณะนั้นเคร่ืองยนต์กำ� ลังสตาร์ต (OX) ติดตั้งอยู่บนแกนของล้ินเร่งของเรือนลิ้นเร่ง ซ่ึงใช้ควบคุม ปริมาณของไอดีท่ีเข้าสู่เคร่ืองยนต์ จะตรวจจับต�ำแหน่งการ เปิดของล้ินเร่งในรูปของแรงดันไฟฟ้าและส่งสัญญาณน้ันไป ยังอซี ยี ู ซ่งึ อีซียูจะตัดสินวา่ ขณะใดเครือ่ งยนต์เดินเบาอยู่ หรือ ท�ำงานในสภาพจะเร่งสุดหรือเล็กน้อย ตดิ ตัง้ อยู่ในท่อรว่ มไอเสีย ทำ� หนา้ ที่ตรวจจบั ปรมิ าณของกา๊ ซ ออกซเิ จนท่หี ลงเหลืออยูใ่ นกา๊ ซไอเสีย จากนนั้ แปลงใหก้ ลาย เป็นแรงดันไฟฟ้าท่ีเปลี่ยนแปลงค่าไปได้และส่งสัญญาณน้ัน ไปยังอซี ียู นอกจากน้ียงั ช่วยคอมพิวเตอร์ตรวจหาอตั ราสว่ น ความหนาแน่นของสว่ นผสมอากาศ และเชื้อเพลงิ ท่ถี ูกสง่ ให้ กบั เคร่อื งยนต์
งานเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน 97 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ บทท่ี 4 ระบบจ่ายน�ำ้ มันเชอื้ เพลงิ ตอนที่ 1 อธิบาย (หมายถึง การให้รายละเอียดเพิ่มเติม ขยายความ ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่าง ประกอบ) ตอบแบบสน้ั 1. อธิบายระบบนำ้� มนั เช้ือเพลงิ 2. อธบิ ายระบบน�ำ้ มนั เช้ือเพลงิ แก๊สโซลนี 3. อธบิ ายระบบนำ�้ มนั เชื้อเพลิงดเี ซล 4. น�้ำมันเบนซินมีคุณสมบัติอะไรบา้ ง 5. ลักษณะการเผาไหม้ซ้�ำซอ้ นแบง่ เป็น 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง อธบิ าย 6. อธบิ ายคา่ ออกเทน 7. ระบบเชอ้ื เพลงิ แกส๊ โซลนี มสี ว่ นประกอบอะไรบา้ ง 8. อธบิ ายชนดิ และหลกั การท�ำงานพน้ื ฐานของคาร์บูเรเตอร์ 9. หวั ฉีดเชื้อเพลงิ มหี ลกั ในการทำ� งานอย่างไร 10. อธิบายสญั ญาณสตาร์ต (STA) ตอนท่ี 2 อธบิ ายคำ� ศัพท์ (หมายถึง แปลค�ำศพั ท์ ใหร้ ายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ขยายความ ถา้ มีตวั อยา่ ง ให้ยกตวั อย่างประกอบ) ตอบแบบสนั้ 1. Gasoline Fuel System 2. Diesel Fuel System 3. Combustion 4. Detonation 5. Octane Number 6. Distributorless 7. Electrical Pump 8. Venturi 9. Floating Circuit 10. Air Bleed
98 บทที่ 4 ระบบจา่ ยนำ้� มันเชื้อเพลงิ ตอนที่ 3 จงเลอื กคำ� ตอบขอ้ ท่ีถูกทีส่ ดุ 1. คณุ ภาพของน�้ำมันเช้อื เพลงิ ในการปอ้ งกนั การน็อคของเคร่อื งยนต์วัดไดจ้ ากคา่ อะไร ก. เลขออกซเิ ดชัน ข. เลขการระเหยเป็นไอ ค. ออกเทน ง. เลขการหลอมละลาย 2. เมอื่ สว่ นผสมของไอดีบางสว่ นระเบดิ กอ่ นทีจ่ ะถกู เผาไหม้ดว้ ยกา๊ ซสนั ดาปเปน็ ผลมาจากอะไร ก. ดีโทเนชนั ข. การชิงจดุ ระเบิด ค. น้�ำมนั ออกเทนต�ำ่ ง. เคร่อื งยนตห์ ยุดชะงัก 3. เมื่อส่วนผสมของไอดีบางส่วนจุดระเบิดตัวเองก่อนท่ีจะถูกจุดระเบิดด้วยประกายไฟจากหัวเทียน เปน็ ผลมาจากอะไร ก. ดโี ทเนชนั ข. การชงิ จุดระเบิด ค. น้ำ� มันออกเทนตำ่� ง. เครือ่ งยนต์หยดุ ชะงัก 4. นายชา่ งสมศกั ดิ์ กลา่ ววา่ “หากการสันดาปไม่สมบูรณ์ ไอเสยี จะมกี ๊าซ HC และ CO เจอื ปนอยู่” นายชา่ งสมใจ กลา่ วเสริมว่า “นอกจากนนั้ ยังคงมี CO2 และ H2O ด้วยเช่นกนั ” ใครกล่าวถูกตอ้ ง ก. นายชา่ งสมศักดิ ์ ข. นายช่างสมใจ ค. ถูกทั้งค ู่ ง. ผดิ ทง้ั คู่ 5. สำ� หรบั เครื่องยนตท์ ใี่ ชก้ ารจดุ ระเบิดดว้ ยประกายไฟจะใช้ระบบเชอ้ื เพลิง 2 ระบบ ได้แก่ข้อใด ก. คารบ์ เู รเตอร์และน้�ำมนั ดีเซล ข. หวั ฉดี เชอ้ื เพลิงและน้�ำมันดเี ซล ค. คอคอดและลูกลอย ง. หัวฉดี เชอ้ื เพลิงและคารบ์ เู รเตอร์ 6. ข้อความดังกลา่ วเป็นจรงิ ส�ำหรับป๊ัมเชอ้ื เพลงิ แบบไฟฟา้ ยกเว้นข้อใด ก. ตดิ ตง้ั ระหวา่ งท่อทางเดินเช้อื เพลงิ หรอื ในถงั เชื้อเพลงิ ข. ตดิ ตั้งท่ีเส้ือสูบหรอื ฝาสบู ค. ลดโอกาสในการเกิดเวเปอร์ล็อค ง. ตัดการจา่ ยนำ้� มนั เม่อื ปดิ สวิตช์สตารต์ 7. ตวั ตรวจจบั ออกซิเจนไม่ได้ท�ำงานในขอ้ ใด ก. สง่ สัญญาณไปยงั หนว่ ยควบคมุ ให้ทราบถงึ ปรมิ าณออกซิเจนในท่อไอเสีย ข. ชว่ ยในการปรบั ไอดที ีม่ สี ว่ นผสมหนาเกินไป ค. ชว่ ยลดปรมิ าณกา๊ ซพษิ ในท่อไอเสยี ง. สง่ สัญญาณไปยงั หน่วยควบคมุ ใหท้ ราบถึงต�ำแหนง่ ของล้นิ ปกี ผเี สอ้ื
งานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลนี 99 8. ในต�ำแหน่งดงั รปู ไอดีควรมีสว่ นผสมอตั ราสว่ นประมาณเทา่ ไร ก. 16 – 18 ข. 14 – 16 ค. 11 – 13 ง. 8 – 11 9. ข้อใดไมใ่ ช่สารทีใ่ สล่ งไปในน�้ำมนั เช้ือเพลงิ แบบแกส๊ โซลนี ก. สารป้องกันการนอ็ ค ข. สารปอ้ งกนั สนิม ค. สารป้องกนั การรวมตัวของออกซเิ จน ง. สารปอ้ งกันการกดั กร่อน 10. ข้อใดไม่ใช่ตวั ตรวจจบั สญั ญาณในระบบอีเอฟไอ ก. ตวั ตรวจจบั อุณหภมู ิของอากาศ ข. ตวั ตรวจจบั ตำ� แหน่งลนิ้ เร่ง ค. ตวั ตรวจจบั ออกซเิ จน ง. ตัวตรวจจบั คารบ์ อนไดออกไซด์ ตอนท่ี 4 กิจกรรมการฝึกทักษะ (ใหค้ วามสำ� คญั การทำ� งานเป็นทมี งาน) 1. จากบัญชีรายช่อื นกั ศกึ ษาหมายเลข 1 – 10 มารวมกันเปน็ กลุ่มที่ 1 11 – 20 กล่มุ ที่ 2 21 – 30 กลมุ่ ท่ี 3 31 – 40 กล่มุ ที่ 4 เลือกหัวหน้ากล่มุ งานระบบจา่ ยน้ำ� มนั เช้ือเพลงิ ระดบั 4 ประชมุ คณะท�ำงาน แบ่งหน้าทแี่ ละความรับผิดชอบ จับฉลากเลอื กกจิ กรรมตอ่ ไปนี้ จัดเตรียมสื่อ อปุ กรณ์ ตวั อย่าง ท่ชี ว่ ย สนบั สนุนการนำ� เสนอให้เกดิ ความชดั เจนและครบสาระการเรยี นรู้ บรหิ ารเวลากลมุ่ ละ 20 นาที น�ำเสนอ ดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ / แผ่นใส 1. จดั บอร์ดเชงิ ปฏิบัตกิ าร “ระบบจ่ายนำ�้ มนั เชือ้ เพลิง” 2. สนทนาเชิงปฏิบัตกิ าร “สว่ นประกอบของระบบเช้ือเพลงิ แก๊สโซลนี ” 3. อภปิ ราย (Discuss) “การเผาไหมเ้ ปน็ สงิ่ จ�ำเป็น หรือ ไม่จำ� เป็น” 4. แตล่ ะกลุ่มงานปฏบิ ตั ิตามใบงานที่ 3 “เรอ่ื งการถอดลูกสบู และก้านสูบออกจากเสื้อสูบ” และใบ งานที่ 4 “เร่ืองการถอดประกอบลิน้ จากฝาสูบ”
100 ใบงานท่ี 4.1 การถอดลกู สูบและฝาสปู ออกจากเส้อื สูบ 4.1ใบงานที่ เรื่อง การถอดลกู สบู และกา้ นสบู ออกจากเส้อื สูบ จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษาสามารถถอดลกู สูบและก้านสูบออกจากเสื้อสบู เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ 1. ประแจบลอ็ ก 2. มดี ปาดขอบ (Ring - Ridge Remover) 3. เครอ่ื งมือช่างพื้นฐาน ขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน 1. ถา่ ยน้�ำมนั เครอ่ื งออกและถอดอ่างน�้ำมนั 2. หมนุ เพลาขอ้ เหวยี่ งลงจนกระทัง่ สูบท่ี 1 เลอ่ื นลง มาทีต่ �ำแหนง่ BDC จะมเี คร่อื งหมาย “1” กำ� กับไวท้ ีฝ่ ากา้ นสูบ ถ้าไมม่ ใี หท้ �ำเคร่อื งหมายเอง มฉิ ะนั้นการประกอบกลบั ฝากา้ น สบู อาจจะสลับกบั ก้านสบู ของสบู อ่ืน 3. ถอดสลักเกลยี วทย่ี ดึ ฝากา้ นสูบออก พรอ้ มถอด แบรงิ่ ตวั ล่างด้วย
งานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลนี 101 4. ใช้ปลอกน�ำร่อง (Rod - Bolt Guide Sleeves) หรือปลอกโลหะอน่ื ๆ สวมท่สี ลกั เกลยี ว ก้านสูบ ดันลูกสูบข้นึ จนพน้ ปากกระบอกสบู 5. หมนุ เพลาข้อเหวย่ี งให้สูบอ่นื ๆ เลอ่ื นลงมาแทน ท�ำซ้�ำขอ้ 2 ถงึ 4 6. ใช้มีดปาดขอบ ตัดรอยที่เกิดข้ึนจากการเสียดสีของแหวนลูกสูบ โดยใส่เครื่องมือลงใน กระบอกสูบแลว้ หมุน คำ� ถามทา้ ยการปฏิบัตงิ าน 1. สรปุ ขั้นตอนการถอดลูกสูบและก้านสบู ออกจากเส้ือสูบ 1.1 ……………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 ……………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 ……………………………………………………………………………………………………………………… 1.4 ………………………………………………………………………………………………………………………
102 ใบงานที่ 4.1 การถอดลกู สบู และฝาสูปออกจากเส้อื สูบ 2. เหตุผลอะไรต้องมีการขดู คราบปะเก็นของเดิมออก 2.1 …………………………………………………………………………………………………………… 2.2 …………………………………………………………………………………………………………… 2.3 …………………………………………………………………………………………………………… สรปุ ผลและวจิ ารณ์การปฏบิ ัติ ……………………………………………………………………………………………………………………………………..... ...…………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………... ........................................................................................................................................ ความเหน็ ของครูผู้สอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………..... ...…………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………... ........................................................................................................................................ ……..…………………………………………… ครผู ูส้ อน ……..…………………………………………… ผู้ควบคมุ การฝึก ……..…………………………………………… วนั ที่ / เดอื น / พ.ศ.
งานเครอื่ งยนต์แกส๊ โซลีน 103 4.2ใบงานที่ เร่อื ง การถอดประกอบลน้ิ จากฝาสบู จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เพ่ือใหน้ กั ศึกษาสามารถถอดล้นิ ออกจากฝาสูบ เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ 1. ประแจแหวน 2. เครื่องกดสปรงิ ล้นิ 3. รางส�ำหรับเรียงลิ้น ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงาน 1. หลังจากถอดฝาสูบออกจากเสือ้ สูบแลว้ วางฝาสูบ ลงบนโตะ๊ ท�ำงานเตรยี มพร้อมสำ� หรับการถอดลนิ้ 2. ประกอบเคร่ืองมือกดสปริงลิ้นเข้ากับลิ้นตัวที่ จะถอด ขันเกลยี วท่ดี ้ามจนกระท่งั ปากของเครือ่ งมอื ประกบกับ ฝาสูบและสปรงิ ลนิ้ 3. ดนั คานกดของเครอ่ื งกดสปรงิ ลน้ิ ปากของเครอ่ื งมอื ด้านทต่ี ดิ กบั สปรงิ ลนิ้ จะดนั สปริงให้จมลง แหวนล็อคทก่ี ้านลิ้น จะห้อยตวั ใช้มอื ถอดออก 4. ถ้าปลายของก้านลิ้นบานออกไม่สามารถถอด ออกได้ ให้เจียระไนออกเลก็ นอ้ ย
104 ใบงานท่ี 4.2 การถอดประกอบลิ้นจากฝาสูบ 5. เรยี งลน้ิ ในรางให้ถูกต�ำแหน่งท่ีถอดออก เพือ่ ไมใ่ ห้ การประกอบกลบั ผิดลำ� ดับ 6. การประกอบกลบั ให้ท�ำตามขัน้ ตอนยอ้ นกลับของ การถอด ค�ำถามท้ายการปฏบิ ัตงิ าน 1. อธิบายข้ันตอนการถอดลิ้นออกจากฝาสูบ 1.1 ……………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 ……………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 ……………………………………………………………………………………………………………………… 1.4 ……………………………………………………………………………………………………………………… สรุปผลและวจิ ารณก์ ารปฏิบัติ ……………………………………………………………………………………………………………………………………..... ...…………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………... ความเหน็ ของครูผู้สอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………..... ...…………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………... ……..…………………………………………… ครูผ้สู อน ……..…………………………………………… ผคู้ วบคุมการฝกึ ……..…………………………………………… วนั ที่ / เดอื น / พ.ศ.
5 ระบบหลอ่ ลนื่ เครือ่ งยนต์ จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (Behavioral Objectives) หลงั จากศกึ ษาจบบทเรียนนีแ้ ลว้ นกั ศึกษาจะมคี วามสามารถดังน้ี 1. อธิบายเกย่ี วกบั หน้าทแี่ ละส่วนประกอบของระบบหลอ่ ลนื่ ได้ 2. แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั น�้ำมันหล่อลื่น 3. อ่านเครอ่ื งแสดงในระบบหล่อลื่นได้ 4. สรุปปัญหาทีเ่ กิดข้ึนกบั ระบบหล่อล่นื ได้ 5. วางแผนการบรกิ ารระบบหลอ่ ลนื่ ได้
5 ระบบหลอ่ ลน่ื เครอ่ื งยนต์ หนา้ ท่ีของระบบหล่อล่ืน การหลอ่ ลน่ื เป็นสิ่งสำ� คญั ส�ำหรบั การท�ำงานของเครอ่ื งยนต์ เนอ่ื งจากภายในเครื่องยนตม์ ชี ิ้นสว่ น ท่เี คลอื่ นไหวและเสียดสีกันมาก แม้ว่าผวิ หน้าของชิน้ ส่วนทเี่ กิดการเสียดสจี ะเรียบ แต่เม่อื เสยี ดสกี นั จะ ทำ� ใหเ้ กดิ ความรอ้ น ชนิ้ สว่ นทง้ั สองอาจจะหลอมตดิ กนั ทำ� ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ เครอื่ งยนตไ์ ด้ การหลอ่ ลนื่ จึงมีหน้าที่ส�ำคัญคือ ลดการเสียดสีของช้ินส่วนต่าง ๆ และลดการสูญเสียก�ำลังเน่ืองจากการเสียดสี นอกจากนั้นยงั ช่วยระบายความรอ้ นอุดการรั่วซึมลดความดังของเสียงและทำ� ความสะอาดชน้ิ สว่ นตา่ งๆ อกี ดว้ ย ระบบหล่อล่ืนจะท�ำหน้าที่จ่ายน้�ำมันหล่อล่ืนไปยังทุกส่วนที่มีการเคล่ือนไหวภายในเครื่องยนต์ รปู ท่ี 5.1 แสดงระบบหล่อลน่ื ส�ำหรับเครื่องยนต์ 4 สบู วางราวลนิ้ ไว้ด้านบน ป๊มั นำ�้ มัน (Oil Pump) จะ สบู น�้ำมนั ข้ึนจากอา่ งนำ�้ มนั (Oil Tank) แล้วส่งไปยงั กรองน�้ำมัน (Oil Filter) เพ่ือแยกเอาส่ิงสกปรกและ เศษโลหะขนาดใหญอ่ อก จากนั้นกจ็ ะไหลออกมาหล่อลน่ื เมนแบรง่ิ (Main Bearing) ซึง่ รองรับเพลา ข้อเหว่ียง น�้ำมันบางส่วนจะไหลจากเมนแบร่ิงผ่านรูน้�ำมันที่เจาะไว้ในเพลาข้อเหว่ียงเพ่ือหล่อลื่นแบร่ิง กา้ นสูบ (Rod Bearing) และฉีดผ่านรบู นกา้ นสบู ไปยงั ด้านในของกระบอกสูบ ดังรปู ที่ 5.2 เพื่อหล่อลนื่ ลูกสูบและแหวนลูกสูบต่อไป
งานเครื่องยนต์แกส๊ โซลีน 107 รปู ท่ี 5.1 ระบบหลอ่ ลืน่ ภายในเครือ่ งยนต์ รปู ที่ 5.2 รนู �้ำมนั บนกา้ นสบู ในขณะเดียวกันน�้ำมันจะไหลขึ้นไปตอนบนเพื่อหล่อเลี้ยงฝาสูบ เพลาลูกเบ้ียว และราวลิ้น หลังจากนำ้� มนั ไดห้ ล่อเล้ียงทุกสว่ นของเครอ่ื งยนต์แลว้ ก็จะหยดกลบั ลงไปในอ่างน้�ำมันเพื่อไหลวนต่อไป น�้ำมนั หล่อล่นื เมอื่ สมยั 40 ปกี อ่ น น้�ำมนั หลอ่ ล่นื เครื่องยนตเ์ กอื บจะเป็นเพยี งนำ้� มนั แรธ่ รรมดา ซึง่ ไมไ่ ด้ผสม สารเพ่ิมคุณภาพ หรืออาจผสมเพียงสารป้องกันปฏิกิริยาออกซิเดชัน เพื่อช่วยยืดอายุการใช้งานของ น�้ำมนั หลอ่ ล่นื เท่านนั้ เคร่ืองยนตใ์ นสมยั นน้ั ตอ้ งยกเคร่อื งใหม่เพ่ือเปล่ยี นแปลงชิน้ สว่ นทส่ี กึ หรอเนือ่ งจาก คราบเขม่าสะสมหลงั จากการใช้งานเพยี งประมาณ 45,000 กโิ ลเมตร ในขณะท่ผี ูใ้ ช้รถยนตเ์ ปลี่ยนถ่าย นำ้� มนั เครื่องทุก ๆ 1,600 กโิ ลเมตร หรอื นอ้ ยกวา่ นน้ั ในปัจจบุ ันเครื่องยนต์ส่วนใหญจ่ ะมอี ายุประมาณ 150,000 กโิ ลเมตร กอ่ นยกเครอื่ งเพอ่ื เปล่ียน ช้ินส่วนท่ีสึกหรอ ในขณะทร่ี ะยะเวลาการเปลย่ี นถ่ายนำ�้ มันเครอื่ งยืดออกไปถงึ 5,000 ถงึ 8,000 กิโลเมตร ทั้งนี้เป็นผลจากการพัฒนาร่วมกันระหว่างผู้ผลิตเครื่องยนต์และผู้ผลิตน�้ำมันหล่อลื่น น้�ำมันหล่อล่ืนใน ปัจจบุ ันไดถ้ กู พัฒนาข้นึ โดยผสมสารเพิม่ คณุ ภาพ ซึ่งได้จากสารสังเคราะหห์ ลายชนดิ เพ่อื ใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านในสภาพปจั จบุ ัน น้�ำมันหล่อล่ืนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนในปัจจุบัน ต้องท�ำหน้าท่ีหล่อล่ืนช้ินส่วนเคลื่อนไหวทุกชิ้น เพอ่ื ป้องกันการสกึ หรอ ลดแรงเสียดทาน และเพมิ่ ประสทิ ธิภาพของเคร่ืองยนต์ นอกจากนี้ ยงั ท�ำหน้าที่ เปน็ ซีลเพอื่ รักษากำ� ลงั อดั ในกระบอกสบู และระบายความรอ้ นอีกด้วย หนา้ ท่ีหลักท่สี ำ� คญั อีกประการหนึง่ ของนำ้� มันเคร่ืองคือ ตอ้ งรกั ษาและปอ้ งกนั เคร่อื งยนต์จากของเสยี ท่ไี ด้จากการเผาไหม้ เช่น เขมา่ และ
108 บทท่ี 5 ระบบหลอ่ ลื่นเคร่อื งยนต์ กรดกำ� มะถนั นำ�้ มนั เครอื่ งทด่ี จี ะตอ้ งชว่ ยชะลา้ งและกระจายคราบเขมา่ ในเครอื่ งยนตแ์ ละจะตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิ เป็นดา่ ง เพื่อท�ำปฏกิ ริ ิยากบั กรดกำ� มะถนั ทีไ่ ดจ้ ากการเผาไหม้ เพือ่ ป้องกันการกดั กรอ่ นและสนมิ คณุ สมบัตทิ ี่สำ� คัญของน�ำ้ มนั เครอื่ งเพอื่ ที่จะท�ำหน้าท่ีข้างตน้ พอสรุปไดด้ ังนี้ 1. น้�ำมนั เคร่อื งจะต้องมีความหนืดถกู ต้อง 2. นำ้� มันเครอ่ื งจะตอ้ งไม่เส่อื มสภาพเรว็ เกนิ ไป 3. น้ำ� มันเครือ่ งต้องสามารถปกปอ้ งเคร่อื งยนตไ์ ดใ้ นทุกสภาวะการทำ� งาน น�้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์แก๊สโซลีนผลิตขึ้นจากน�้ำมันพื้นฐาน และสารเพิ่มคุณภาพในปริมาณ ที่พอเหมาะหลายชนิด พอสรปุ ไดด้ งั น้ี 1. สารเพม่ิ ดชั นคี วามหนดื (Viscosity Index Improvers) 2. สารชะล้างและกระจายคราบเขม่า (Detergency and Dispersancy Additives) 3. สารป้องกนั ปฏกิ ริ ิยาออกซเิ ดชัน (Oxidation Inhibitors) 4. สารปอ้ งกันการกดั กร่อน (Corrosion Inhibitors) 5. สารเพมิ่ ความเป็นด่าง (Alkaline Additives) 6. สารปอ้ งกันการสกึ หรอ (Anti - Wear Additives) 7. สารรบั แรงกดสูง (Extreme Pressure Additives) 8. สารป้องกันฟอง (Anti - Foam Additives) 9. สารลดจดุ ไหลเท (Pour Point Depressants) น�ำ้ มันหล่อล่นื เมื่อใชง้ านไประยะหนงึ่ นำ�้ มันพื้นฐานและสารเพิม่ คณุ ภาพบางตัวข้างบนจะถูกใช้ หมดสภาพไปเร่ือย ๆ น้ำ� มนั ทีเ่ ริ่มเสื่อมสภาพจะมคี วามหนืดเปลีย่ นแปลงไป และเกดิ สารเคมีจำ� พวกกรด ที่มีอ�ำนาจการกัดกร่อน พร้อมท้ังสารเพ่ิมคุณภาพจะเริ่มหมดไป ด้วยเหตุนี้ การเปล่ียนถ่ายน�้ำมันเคร่ือง ใหม่ท่ีมีความหนืดถูกต้องและมีสารเพ่ิมคุณภาพเต็มจ�ำนวน จะช่วยให้เครื่องยนต์ท�ำงานได้อย่างเต็ม ประสทิ ธภิ าพต่อไป ส่ิงเจือปนในน้�ำมันหล่อล่ืนอ่ืน ๆ เช่น เศษโลหะจากการสึกหรอ เขม่า น้�ำ และตัวเน้ือน้�ำมัน พื้นฐานที่เสื่อมคุณภาพแล้วจะเพ่ิมปริมาณขึ้นอยู่ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าจะมีหม้อกรองน้�ำมันช่วยกรองสาร เหล่านี้แล้ว แต่ยังมีส่ิงเจือปนขนาดเล็กแขวนลอยอยู่ในน้�ำมันได้ เน่ืองจากผลของสารเพ่ิมคุณภาพ ประเภทกระจายเขม่า แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อใช้น�้ำมันหล่อล่ืนไประยะหนึ่ง สารเจือปนเหล่าน้ีจะมีเกิน ก�ำหนดท่สี ารกระจายคราบเขมา่ สามารถกระจายได้ คราบเขม่าเหลา่ นี้จะจับตัวเป็นกอ้ นกอ่ ใหเ้ กดิ โคลน (Sludge) ในน้ำ� มนั ทำ� ใหน้ �้ำมันเสอื่ มสภาพและตอ้ งเปลีย่ นถ่ายนำ้� มนั เคร่อื งในทสี่ ุด จากการเส่ือมสภาพของน้�ำมนั ข้างต้นเป็นการยากท่ีผใู้ ชน้ ำ้� มนั จะสังเกตไดว้ ่า นำ้� มนั หลอ่ ลื่นทใี่ ช้ อยู่ได้เส่ือมสภาพไปมากน้อยเท่าไรแล้ว ผู้ใช้จึงควรเปลี่ยนถ่ายน้�ำมันหล่อล่ืนตามระยะเวลาที่ผู้ผลิต เครื่องยนต์ไดก้ ำ� หนดไว้ ซ่ึงระยะเวลาดงั กลา่ วไดม้ าจากประสบการณ์ของผู้ผลติ เคร่ืองยนต์ และคุณภาพ ของนำ้� มันหลอ่ ลนื่ ตามทผ่ี ผู้ ลติ เครือ่ งยนตไ์ ดแ้ นะนำ� ไว้
งานเครอื่ งยนต์แกส๊ โซลีน 109 การแบ่งชนิดของน�้ำมันหล่อลื่นถือเอาค่าความหนืด (Viscosity) และการบริการ (Servicing Rate) เป็นดัชนีหลัก ซ่งึ ระบไุ วโ้ ดยสถาบนั ปโิ ตรเลยี มอเมริกนั (American Petroleum Institute, API) โดยจะแบง่ ไว้ 7 ระดบั สำ� หรบั เครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี ไดแ้ ก่ SA, SB, SC, SD, SE, SF และ SG ซงึ่ ในปจั จบุ นั เหลอื เพยี ง SF และ SG เท่าน้ันที่ใช้ในเครือ่ งยนต์ของรถยนตส์ มยั ใหม่ นำ้� มนั หล่อล่นื ระดับ SF เร่มิ ตน้ น�ำมาใชเ้ มือ่ ปี ค.ศ. 1981 มีประสทิ ธภิ าพในการปอ้ งกนั การเกิด โคลน การสึกหรอ การอุดตนั และการเกดิ ตะกอน ไดด้ กี วา่ น้�ำมนั หล่อลน่ื ระดับต่�ำกว่า SE ลงไป อยา่ งไรกด็ ี แนวโนม้ ในการผลติ และใช้น�ำ้ มันหลอ่ ล่นื ระดบั SF จะลดน้อยลง หลงั จากมีการนำ� นำ้� มนั หลอ่ ลน่ื ระดับ SG เข้ามาใชเ้ มอ่ื ปี ค.ศ. 1989 ซึง่ ใหผ้ ลในการป้องกนั การเกิดตะกอน การสึกหรอ สนมิ การกดั กรอ่ น ปฏิกริ ิยา ออกซเิ ดชนั ไดด้ ีกวา่ ระดบั SF เพื่อสมรรถนะสงู สุดควรใชน้ ำ�้ มนั หลอ่ ลืน่ ระดับ SG ส�ำหรับเครื่องยนต์ แกส๊ โซลีนปัจจุบัน การระบุระดับของนำ้� มันหล่อลื่นโดยการใช้ความหนดื จะแสดงถงึ ความหนา (Thickness) ของ ฟิลม์ น�ำ้ มนั ไม่ไดเ้ ป็นตวั ดชั นีบอกระดบั การใช้งานหนัก (Heavy - Duty) หรือเบา หมายความว่า นำ�้ มนั หล่อล่ืนท่มี ีดัชนีความหนืดเป็น SAE5W - 30 อาจจะมดี ชั นบี รกิ ารเปน็ SF หรือ SG หรือท้งั SF และ SG กไ็ ด้ การเลอื กใช้น้ำ� มันหลอ่ ลื่นใหเ้ หมาะสมกับเคร่ืองยนต์ใหต้ รวจสอบกับคมู่ ือประจำ� รถ ปัจจุบันนำ�้ มนั ทีผ่ ลติ ออกจ�ำหน่ายจะยึดถอื คา่ ดัชนคี วามหนืดตามมาตรฐาน SAE (Society of Automotive Engineers) ซ่ึงจะแสดงเป็นตัวเลข เช่น SAE20, SAE30, SAE40, SAE50 เป็นตน้ ตวั เลข ท่ตี ่างกันหมายถงึ ระดบั ความหนดื ทต่ี า่ งกัน เช่น SAE20 จะมีความหนดื นอ้ ยกวา่ SAE40 ทรี่ ะดับอณุ หภูมิ 210 องศาฟาเรนไฮต์ (ตวั เลขยิ่งมาก ความหนดื ยิ่งมาก) อย่างไรก็ตาม บางครั้งอาจเห็นตวั อักษรขา้ ง ภาชนะบรรจุน้ำ� มนั หล่อลนื่ เปน็ SAE40W ตัวอักษร “W” คือ Winter หรอื ใช้ในฤดหู นาว โดยจะวดั ค่า ความหนดื ที่อณุ หภมู ิ 0 องศาฟาเรนไฮต์ ถ้าเปรยี บเทยี บนำ้� มนั หล่อล่นื SAE40 กบั SAE40W จะไดว้ ่า นำ�้ มนั หล่อล่นื SAE40W มคี วามหนืดน้อยกวา่ SAE40 (SAE40W ทดสอบที่อุณหภมู ิ 0 องศาฟาเรนไฮต์ แต่ SAE40 ทดสอบทอ่ี ณุ หภมู ิ 210 องศาฟาเรนไฮต)์ ดังนั้น นำ้� มันหล่อลื่นทมี่ ตี วั อักษร W จะใชง้ านใน ภูมอิ ากาศหนาวเย็นได้ดีกวา่ น้�ำมันหลอ่ ลน่ื หลายความหนดื (Multi Viscosity Oil) เชน่ นำ�้ มันหลอ่ ล่ืน SAE20W - 50 หมายถงึ ทอ่ี ุณหภมู ิ 0 องศาฟาเรนไฮต์ น้ำ� มันหล่อลื่นจะมคี า่ ความหนืดเทา่ กบั SAE20W แต่เมอ่ื อุณหภมู สิ งู ข้ึนจนถงึ 210 องศาฟาเรนไฮต ์ จะมีค่าความหนืดเท่ากบั SAE50 ส่วนประกอบน�้ำมนั หล่อลนื่ 1. ปั๊มน้�ำมัน ปั๊มน�้ำมันที่ใช้ในเคร่ืองยนต์ลูกสูบมี 2 ชนิด คือ ชนิดเฟือง (Gear - Type Oil Pump) และชนิดโรเตอร์ (Rotor - Type Oil Pump) ดงั รูปที่ 5.3 และ 5.4 ตามล�ำดับ
110 บทท่ี 5 ระบบหลอ่ ลนื่ เครอื่ งยนต์ รูปที่ 5.3 ปม๊ั นำ้� มันชนิดเฟือง รปู ท่ี 5.4 ปัม๊ นำ้� มันชนิดโรเตอร์ ปั๊มน้�ำมนั ชนดิ เฟืองจะมเี ฟืองขบกันอยู่ 1 คู่ ดังรปู ท่ี 5.4 น้�ำมันหล่อลนื่ จะไหลจากชอ่ งทางเข้าปมั๊ (Pump Inlet) เขา้ ไปในช่องวา่ งระหว่างฟนั เฟืองในขณะท่ีเฟืองหา่ งออกจากกัน จากนน้ั เม่ือเฟืองหมุน เขา้ มาขบกัน จะเกดิ แรงบีบดนั ใหน้ �ำ้ มนั หล่อลื่นไหลออกท่ีช่องทางออกของปัม๊ รปู ที่ 5.5 เฟอื งภายในปมั๊ ปั๊มนำ้� มนั ชนดิ โรเตอร์จะประกอบด้วยโรเตอร์ตัวใน (Inner Rotor) ซง่ึ มเี พลาปม๊ั (Pump Drive Shaft) ตดิ อย่แู ละโรเตอรต์ ัวนอก (Outer Rotor) เพลาขับของโรเตอรต์ วั ในจะถกู หมุนเพื่อไปขบั โรเตอร์ ตวั นอก ดงั รูปที่ 5.5 นำ้� มันหล่อลน่ื จะไหลจากช่องทางเข้าปั๊ม (Pump Inlet) เข้าไปในช่องวา่ งระหว่างพู (Lobes) ของโรเตอร์ตวั นอก จากน้นั เมอื่ โรเตอร์ตัวในหมนุ พูเขา้ มาในชอ่ งวา่ งดังกลา่ ว จะเกิดแรงบบี ดัน ให้น�้ำมันหลอ่ ล่นื ไหลออกที่ชอ่ งทางออกของป๊ัม
งานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลนี 111 รปู ท่ี 5.6 โรเตอรภ์ ายในปม๊ั การส่งก�ำลังมาขับปั๊มน้�ำมันให้ท�ำงานสามารถกระท�ำได้ในหลายวิธี ในเคร่ืองยนต์ชนิดเพลา ลกู เบยี้ วอยใู่ นเสอื้ สบู อาจจะใชเ้ ฟอื งบนเพลาลกู เบยี้ วซง่ึ ใชใ้ นการขบั เพลาจานจา่ ย (Ignition Distributor Shaft) มาขับเพลาของปัม๊ ด้วยกไ็ ด้ ดงั รปู ท่ี 5.7 เครอ่ื งยนต์บางประเภทขบั เพลาจานจ่ายโดยตรงด้วย เพลาลกู เบีย้ วท่วี างไวต้ อนบน (Overhead Camshaft) กรณีเช่นนี้อาจจะใช้เพลาสำ� หรับขบั ป๊มั น�้ำมัน แยกต่างหาก ดงั รูปที่ 5.8 กไ็ ด้ รูปท่ี 5.7 การใช้เฟืองบนเพลาลูกเบย้ี วขบั เพลาจานจ่าย รูปท่ี 5.8 เพลาส�ำหรบั ขับปม๊ั น้ำ� มนั แยก (Ignition Distributor Shaft) และเพลาของปัม๊ 2. ลิ้นระบายความดัน เพ่ือป้องกันความดันน้�ำมันหล่อล่ืนมากเกินไป ระบบหล่อล่ืนจึงมีล้ิน ระบายความดัน (Pressure Relief Valve หรือ Pressure Regulator Valve) เพื่อลดแรงดันน�้ำมัน ดังกล่าว ดังรูปท่ี 5.1 และ 5.3 ภายในลิ้นระบายความดันจะมีเม็ดลูกปืน (Ball) หรือเข็มแทง (Plunger) ยนั อยกู่ บั สปรงิ รบั แรง (Spring - Loaded) เมอื่ ระดบั ความดนั นำ้� มนั หลอ่ ลนื่ ขนึ้ ไปถงึ คา่ ทตี่ งั้ ไว้ เมด็ ลกู ปนื หรือเข็มแทงจะไปกดสปริงลง ดังรูปที่ 5.9 ท�ำให้ช่องทางเดินกลับของน้�ำมันหล่อล่ืนเปิดออกให้น�้ำมัน ไหลกลับไปยังอ่างน�้ำมัน เพ่ือลดปริมาณน�้ำมันและความดันลง ปกติแล้วปั๊มน�้ำมันจะสูบน�้ำมันขึ้นไป ในปริมาณทมี่ ากกวา่ ความต้องการของเครอื่ งยนต์เลก็ น้อย
112 บทท่ี 5 ระบบหล่อลืน่ เครอื่ งยนต์ รปู ท่ี 5.9 การทำ� งานของลน้ิ ระบายความดันแบบลกู ปืน 3. ออยล์คูลเลอร์ (Oil Cooler) ดังรปู ท่ี 5.1 และ 5.10 เปน็ ชดุ อปุ กรณ์ทใี่ ช้ระบายความรอ้ น ของน�ำ้ มนั หลอ่ ลน่ื มที งั้ แบบแลกเปลี่ยนระบายความร้อนกับอากาศ และแลกเปล่ียนความรอ้ นกับน�ำ้ รูปที่ 5.10 ชดุ ออยล์คูลเลอร์ น�้ำมันหล่อล่นื จะไหลออกจากกรองน้�ำมันตามท่อไหลเขา้ (Inlet Hose) ไปยงั ตอนบนของรังผึ้ง (Radiator Tank) ซ่ึงภายในจะเป็นหลอดวางตัวสลับไปมา น�้ำมันหล่อล่ืนจะไหลไปตามหลอดจากบน ลงลา่ งเพอื่ ระบายความรอ้ นออก จากนน้ั จงึ ไหลกลบั ไปตามทอ่ ทางออกกลบั เขา้ สกู่ รองนำ้� มนั และเครอื่ งยนต์ ดงั รปู ท่ี 5.11 โดยทั่วไปมักจะวางรังผึ้งของชุดออยล์ คูลเลอร์ไว้ตอนหน้าของเครื่องยนต์เพื่อให้แลก เปลี่ยนความรอ้ นกบั อากาศไดส้ ะดวก รูปท่ี 5.11 การไหลของน้ำ� มันหลอ่ ลนื่ ผ่านออยล์คูลเลอร์
งานเครอื่ งยนตแ์ ก๊สโซลีน 113 4. กรองน�้ำมันหลอ่ ลืน่ กรองนำ้� มันหลอ่ ล่นื (Oil Filter) ดงั รปู ท่ี 5.1 และ 5.12 จะเปน็ ส่วน ประกอบหน่ึงของระบบหลอ่ ลื่น จัดเป็นกรองนำ้� มันหลอ่ ลืน่ ชนิดติดตั้งภายนอก นำ้� มนั เครอ่ื งที่สูบข้ึนมา โดยปั๊มก่อนที่จะจ่ายไปหล่อลื่นเคร่ืองยนต์ จะต้องถูกกรองด้วยกรองน้�ำมันหล่อล่ืนให้สะอาดเสียก่อน ดา้ นในของกรองนำ้� มนั เครอ่ื งจะมีจบี ของกระดาษกรอง ดังรปู ท่ี 5.13 เพอ่ื ดักอนุภาคของส่ิงสกปรกและ คาร์บอนขณะที่น้�ำมนั ไหลผ่าน รูปที่ 5.12 กรองน้�ำมนั หล่อลืน่ ภายในกรองนำ�้ มนั หล่อล่นื จะมสี ปริงรบั แรงกดล้ินไหลออ้ ม (Bypass Valve) เอาไว้ สปรงิ จะกด ให้ลิ้นไหลอ้อมเปิดในกรณีที่กรองน�้ำมันหล่อล่ืนเร่ิมตัน เพื่อป้องกันการขาดการหล่อล่ืนของเคร่ืองยนต์ โดยจะปล่อยให้น้�ำมันหล่อล่ืนไหลผ่านเข้าเคร่ืองยนต์ไปเลยโดยไม่ต้องกรอง อย่างไรก็ตาม เพื่อป้องกัน การเกิดเหตกุ ารณ์น้ี ควรเปล่ยี นกรองนำ�้ มันหลอ่ ล่ืนภายในระยะเวลาทีก่ ำ� หนด รปู ท่ี 5.13 จีบกระดาษกรองทอี่ ยู่ในกรองนำ้� มนั หล่อล่ืน กรองนำ้� มันหลอ่ ลนื่ บางชนิดจะมลี ิน้ ปอ้ งกนั การไหลยอ้ น (Anti - Drainback Valve) ดงั รปู ท่ี 5.13 ชว่ ยให้กรองนำ้� มันหล่อล่ืนมีน�ำ้ มนั ขังอยู่ไว้ตลอดเวลาในขณะทดี่ ับเครือ่ งยนตไ์ ว้ เมอ่ื ติดเครอ่ื งยนต์ น้�ำมันที่ขงั อยใู่ นกรองจะถกู ส่งเข้าไปหลอ่ ลนื่ เครอื่ งยนตใ์ นทันที เปน็ การลดการสกึ หรอของเคร่อื งยนต์
114 บทที่ 5 ระบบหลอ่ ลน่ื เคร่อื งยนต์ เคร่ืองยนต์บางชนิดจะใช้กรองน�้ำมันหล่อล่ืน ชนิดตดิ ตง้ั ภายใน ดังรูปท่ี 5.14 ซงึ่ จะสอดอยดู่ า้ นใน ของอา่ งน้ำ� มนั และประกบติดกบั ปม๊ั น�้ำมนั โดยตรง การ เปลี่ยนกรองน�้ำมันหล่อลื่นกระท�ำได้โดยถอดฝาระบาย (Drain Plug) ออก รปู ท่ี 5.14 กรองน�้ำมันหล่อล่ืนชนดิ ตดิ ตั้งภายใน เครอ่ื งแสดงความดันในระบบหล่อล่ืน 1. เครื่องแสดงความดันน้�ำมันหล่อล่ืน เป็นเคร่ืองมือที่อยู่บนแผงหน้าปัด ซึ่งจะคอยเตือน ผขู้ บั ขีใ่ หท้ ราบว่า ระดับความดันน้ำ� มนั หลอ่ ล่ืนในเครือ่ งยนตผ์ ดิ ปกติ มอี ยู่ 3 ชนิด ดังนี้ 1.1 ชนดิ ไฟแสดงผล (Indicator Light) หลอดไฟจะต่ออนกุ รมกบั แบตเตอร่ี สวิตชต์ ิด เครอ่ื ง (Ignition Start) และสวิตช์ความดนั นำ้� มนั (Oil - Pressure Switch) ดังรูปที่ 5.15 สวิตชค์ วามดนั น�้ำมันจะปิดในขณะท่ีเครอื่ งยนต์ไม่ท�ำงาน เมอื่ หมุนกญุ แจเพือ่ ตดิ เคร่ืองยนต์ หลอดไฟจะสว่างหลังจาก เครื่องยนต์ตดิ แล้ว ระบบหล่อล่นื ในเครอ่ื งยนต์จะสร้างความดนั ขึน้ ซ่ึงจะไปดนั สวติ ช์ความดนั นำ�้ มนั ให้ เปดิ หลอดไฟจะดับ เมื่อใดกต็ ามท่คี วามดันในระบบหลอ่ ลื่นตกลงต่�ำกวา่ คา่ ต่�ำสดุ ทต่ี ้งั ไว้ สวิตชค์ วามดนั น้ำ� มนั จะปดิ และไฟจะสว่างขน้ึ รูปท่ี 5.15 วงจรไฟฟ้าของเคร่อื งแสดงความดนั น�ำ้ มนั ชนดิ ไฟแสดงผล
งานเครือ่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี 115 1.2 ชนิดเคร่ืองวัดไฟฟ้า (Electric Gauge) รูปที่ 5.16 แสดงเคร่ืองวัดความดันน�้ำมัน หล่อล่ืนชนดิ ไฟฟา้ (แบบแอนะล็อก) ภายในหนว่ ยแสดงผลหน้าจอจะมีขดลวดเหนยี่ วน�ำ (Coil) ซึง่ จะ สร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้ากับอารเ์ มเจอร์ ภายในเครื่องยนตจ์ ะมแี ผน่ ไดอะแฟรมตดิ อยกู่ ับหนา้ สัมผสั แบบ เลอ่ื น (Sliding Contact) แรงดันน�้ำมันจะดันแผ่นไดอะแฟรมให้โก่งตัวข้ึน ซึ่งจะท�ำให้หน้าสัมผัสแบบ เลื่อน เคล่ือนที่ไปตามแนวของตัวตา้ นทาน (Resistance) แรงดันน้�ำมนั ทเ่ี พมิ่ ขึน้ จะไปเพ่มิ ความต้านทาน ในวงจร ซึง่ จะลดการไหลกระแสไฟ ท�ำใหข้ ดลวดเหนีย่ วน�ำด้านขวาดึงเขม็ ท่ตี ดิ กบั อาร์เมเจอรไ์ ปทางด้าน ขวา แสดงให้เห็นบนหน้าปัดว่าความดันเพิ่มข้ึน รปู ที่ 5.16 วงจรไฟฟา้ ของเครอ่ื งแสดงความดนั น้ำ� มนั ชนิดไฟฟา้ 1.3 ชนดิ เคร่ืองวดั อิเลก็ ทรอนิกสห์ รอื ดจิ ติ อล ดงั รูปที่ 5.17 ใชร้ ะบบอิเล็กทรอนิกสเ์ พอื่ ควบคุมการแสดงผลใหเ้ ป็นกราฟแทง่ หรอื เป็นตัวเลขดจิ ิตอลสำ� หรับรถยนตส์ มัยใหม่ รูปที่ 5.17 เคร่ืองแสดงความดนั นำ้� มันชนดิ อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ บบกราฟแท่งและแบบดิจติ อล 2. เครื่องแสดงระดับน้�ำมันหล่อล่ืน เคร่ืองแสดงระดับน�้ำมันหล่อล่ืนหรือที่เรียกว่า ก้านวัด ระดับน�้ำมัน (Dipstick) ดงั รปู ท่ี 5.18 ใช้ในการวัดระดบั นำ�้ มันหลอ่ ลน่ื โดยลำ� กา้ นจะแหย่ลงไปในอา่ ง นำ้� มัน ในการตรวจสอบระดบั น้ำ� มันใหด้ ึงก้านวดั ขึ้นมา สงั เกตดทู ่ตี อนปลายของก้านซง่ึ จะมีเครอ่ื งหมาย บอกระดบั ของนำ�้ มนั หลอ่ ลน่ื วา่ เตม็ (Full) หรอื ตอ้ งเตมิ เพม่ิ (Empty) ดงั รปู ที่ 5.19 บรเิ วณหดู งึ ของกา้ นวดั จะมซี ลี ยางสวมพอดกี บั หลอด เพื่อปอ้ งกนั อากาศหรือสงิ่ สกปรกไหลเข้าไปในเคร่ือง
116 บทท่ี 5 ระบบหลอ่ ลน่ื เคร่ืองยนต์ รูปท่ี 5.18 กา้ นวัดระดับนำ้� มันหล่อล่นื รูปท่ี 5.19 การตรวจสอบระดบั น้�ำมนั ท่แี สดงบนก้านวัด ปัญหาที่เกดิ ขึ้นกับระบบหล่อลืน่ ความผดิ ปกติในการท�ำงานของระบบหลอ่ ลน่ื เกิดจากสาเหตหุ ลัก 2 ประการ คอื 1) น�ำ้ มันหล่อลืน่ พรอ่ งหรือหายไปจากเคร่อื งยนต์เรว็ กวา่ ปกติ หรอื ที่ช่างเคร่ืองยนต์เรยี กอาการนวี้ ่า เคร่ืองยนต์กนิ น�ำ้ มัน เคร่อื ง และ 2) ระดับความดนั นำ�้ มันหลอ่ ล่นื ตำ่� ซึ่งสงั เกตจากเครอื่ งแสดงผล ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. เคร่อื งยนต์กนิ น�้ำมนั เคร่อื ง โดยทว่ั ไประบบหล่อลื่นจัดเปน็ ระบบปิด ซงึ่ น้�ำมนั หลอ่ ลื่นจะ ไหลเวียนในระบบโดยไม่สูญหายไปไหน ดังนั้น การที่น้�ำมันหล่อลื่นหายหรือพร่องไปจากระบบได้ต้อง มสี าเหตุ ซ่งึ สามารถสรปุ ได้ คือ ถกู เผาไหม้ (Burning) ไปในขณะทเี่ คร่อื งยนตท์ �ำงาน หรอื การร่ัวไหล (Leaking) ออกจากระบบ ซง่ึ ปจั จยั หลกั ทที่ ำ� ใหเ้ ครอื่ งยนตก์ นิ นำ้� มนั เครอ่ื ง คอื ความเรว็ รอบของเครอื่ งยนต์ ความสกึ หรอของเคร่ืองยนต์ และรอยตอ่ ต่าง ๆ ของเครอ่ื งยนต์
งานเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลนี 117 1.1 ความเร็วรอบของเคร่ืองยนต์ เคร่ืองยนต์ท่ีท�ำงานด้วยความเร็วรอบสูงจะท�ำให้ อณุ หภมู ขิ องนำ้� มนั หลอ่ ลนื่ สงู ขนึ้ ดว้ ย ยงั ผลใหค้ วามหนดื ของนำ�้ มนั ลดลง นำ้� มนั หลอ่ ลนื่ จงึ อาจจะไหลผา่ น แหวนลกู สบู ขนึ้ ไปยงั หอ้ งเผาไหมไ้ ดง้ า่ ย ซง่ึ จะไปถกู เผาไหมร้ วมกบั นำ�้ มนั เชอ้ื เพลงิ นอกจากนี้ ความเรว็ รอบ ท�ำงานที่สูงยังท�ำให้แรงเหว่ียงหนีศูนย์ของน�้ำมันท่ีหล่อล่ืนเพลาข้อเหวี่ยงมากข้ึนด้วย น้�ำมันจึงมีโอกาส ที่จะถกู สาดข้นึ ไปท่กี ระบอกสบู มากขึน้ ซึง่ จะไหลผา่ นแหวนลูกสบู เขา้ ไปมากเช่นกนั 1.2 ความสกึ หรอของเครอ่ื งยนต์ เครอ่ื งยนตท์ สี่ กึ หรอจะมชี อ่ งวา่ งใหน้ ำ�้ มนั หลอ่ ลนื่ ไหลขน้ึ ไป ถูกเผาไหม้รวมกับน้�ำมันเช้ือเพลิงได้ง่าย น�้ำมันหล่อลื่นที่ถูกเผาไหม้จะเกิดเป็นเขม่าเกาะตามหัวเทียน ล้ิน แหวน และลูกสูบ ยิ่งท�ำให้ช้ินส่วนเหล่าน้ีสึกหรอมากข้ึนไปอีก ช่องว่างก็ย่ิงมากขึ้น ส่งผลให้การ ส้ินเปลอื งน�้ำมันหล่อลนื่ จงึ เพิม่ ขึ้นเรอ่ื ย ๆ 1.3 รอยต่อต่าง ๆ ของเครือ่ งยนต์ รูปท่ี 5.20 แสดงตำ� แหนง่ ตา่ ง ๆ ในเคร่ืองยนต์ ซึง่ มี โอกาสทจี่ ะเกดิ การรวั่ ไหลของนำ้� มนั หลอ่ ลน่ื สาเหตเุ บอื้ งตน้ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ การรวั่ ตามแนวตอ่ ของชนิ้ สว่ นตา่ ง ๆ ของเครอื่ งยนต์ คอื การผนึก (Sealing) เสื่อมสภาพ การตรวจหาต�ำแหนง่ ทรี่ ัว่ ซึมอาจจะใช้วิธตี รวจสอบ ตำ� แหนง่ ทีน่ ำ�้ มนั หลอ่ ลื่นหยดลงพน้ื ซึง่ เป็นวิธที ีง่ ่ายที่สุด หรอื ใชเ้ ครือ่ งมือตรวจสอบรอยร่ัวกไ็ ด้ รปู ที่ 5.20 บริเวณตา่ ง ๆ ในเครื่องยนต์ท่มี โี อกาสเกดิ การร่วั ไหลของน�้ำมันหลอ่ ลื่นได้ 2. ระดับความดันน�้ำมันหล่อล่ืนต�่ำ ในบางครั้งขณะขับรถ สัญญาณแสดงว่าระดับน้�ำมัน หล่อลื่นต�่ำไดป้ รากฏขึ้นมาบนจอแสดงผล ซงึ่ อาจจะเปน็ ไปไดท้ รี่ ะดบั น�้ำมนั หลอ่ ล่ืนในระดบั ลดลง สาเหตุ ประการแรกทนี่ า่ จะเปน็ ไดค้ อื ตัวผา่ นนำ�้ มนั (Oil Pickup) ดงั รูปท่ี 5.3 อาจจะหลดุ หรอื อ่างน�ำ้ มนั ท่โี ดน กระแทกจากเบ้ืองล่าง อาจจะไปดันใหต้ วั ผา่ นนำ้� มนั เอยี งก็ได้ สาเหตอุ น่ื อาจจะเนอ่ื งจากระบบหล่อลน่ื อุดตันเพราะโคลนหรอื การผนึกทม่ี ากเกินไป
118 บทท่ี 5 ระบบหล่อลื่นเครือ่ งยนต์ ตรวจสอบระดับนำ�้ มนั หล่อลื่นจากก้านวดั ถ้าน้ำ� มันยังอยใู่ นระดับปกติ เครื่องแสดงความดนั น้ำ� มันอาจชำ� รุดใหเ้ ปล่ียนใหม่ ถา้ ระดบั ความดันนำ�้ มันต�่ำจริง ความผดิ ปกติอาจจะเกิดขึ้นจากเคร่ืองยนต์ ซงึ่ ถา้ ไม่แกไ้ ขจะสง่ ผลต่อการเสียหายอย่างมากต่อเคร่ืองยนตไ์ ด้ สาเหตุท่ที ำ� ใหค้ วามดันน�ำ้ มันหลอ่ ลื่นต่ำ� สรุปได้ดงั น้ี ก) สปรงิ ของลิ้นระบายหกั หรอื อ่อนตัวเกนิ ไป ข) ป๊มั นำ้� มนั เสยี หาย ค) เกดิ การรวั่ ในระบบน�ำ้ มันหลอ่ ล่ืน ง) ระบบน�ำ้ มนั อดุ ตัน จ) นำ�้ มันหล่อลนื่ ไม่พอหรือบางเกนิ ไป ฉ) แบร่ิงของเครอ่ื งยนต์สกึ หรอ ช) เกิดการรว่ั ทต่ี วั กรองน้�ำมัน ปะเก็น สาเหตุที่ท�ำใหค้ วามดนั น�ำ้ มนั หล่อลนื่ สงู เกนิ ไป สรปุ ได้ดังน้ี ก) เกิดการตดิ ขดั ในลิน้ ระบาย ข) สปรงิ ในลิน้ ระบายมีความยืดหย่นุ ผิดขนาด ค) เกดิ การอดุ ตันในระบบ ง) นำ้� มันข้นหรอื หนาเกนิ ไป การบรกิ ารระบบหล่อล่นื เมื่อมีการถอดประกอบเคร่ืองยนต์ ควรถอดอ่างน้�ำมันมาล้างท�ำความสะอาด รวมท้ังทางเดิน น�้ำมนั ในเพลาข้อเหว่ียงและเส้ือสบู ด้วย 1. การตรวจสอบระดบั นำ้� มนั จอดรถบนพ้นื ผิวเรียบไมเ่ อยี ง ดับเคร่อื งยนต์แลว้ รอสกั ครเู่ พอ่ื ให้น�้ำมันหยดลงอ่างให้หมด เปิดฝากระโปรงแล้วดึงก้านวัดระดับน้�ำมันมาเช็ดให้สะอาด แล้วใส่กลับลง ไปใหม่ ดึงขนึ้ มาอีกครงั้ เพอื่ ตรวจสอบระดับของน้ำ� มนั ความสกปรก ความใสหรอื ขนุ่ อาจจะลองหยด น้ำ� มันลงบนน้ิวแล้วลองขยี้ดคู วามสาก สงั เกตกล่นิ วา่ มีนำ�้ มนั เช้ือเพลิงปนอยหู่ รือไม่ ถา้ น้�ำมนั หล่อล่ืนยัง คงสภาพดใี หเ้ ตมิ เพ่มิ ถ้าพรอ่ งหรอื เสอื่ มสภาพให้เปล่ียนใหม่ 2. การเปล่ียนถ่ายน้�ำมันหล่อล่ืน การเปลี่ยนถ่ายน้�ำมันหล่อลื่นทุกครั้งที่ถึงเวลาท่ีก�ำหนด โดยท่วั ไปจะอยู่ที่ 5,000 ถงึ 10,000 กโิ ลเมตร ตามชนดิ และเกรดของนำ�้ มัน ยกรถข้ึนโดยใช้เคร่ืองมอื ยกดงั รปู ท่ี 5.21 หรอื อาจจะใชห้ ลมุ ตรวจชว่ งล่างก็ได้ น�ำถาดรองมาไว้ใตอ้ า่ งน�ำ้ มัน ถอดแปน้ เกลยี วอุดท่ี อา่ งนำ�้ มนั ออก ปล่อยใหน้ ้�ำมนั หลอ่ ลน่ื เก่าไหลออกให้หมด จากนน้ั ใสแ่ ปน้ เกลียวอุดกลับเข้าไป เติมน้�ำมนั หล่อล่นื ใหม่ลงไปจนถึงระดับ เดนิ เครือ่ งยนต์สกั พัก ดบั เคร่ืองยนต์ ตรวจสอบระดบั น�ำ้ มนั อีกครงั้ เติมเพ่ิม จนถึงระดบั
งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 119 รปู ท่ี 5.21 การเปล่ยี นถ่ายน�ำ้ มันหลอ่ ลน่ื บันทึกข้อมูลของการเปลี่ยนน�้ำมันลงในบัตรบันทึก (ปกติจะแขวนมาพร้อมกับบรรจุภัณฑ์ของ น�้ำมันหล่อล่ืน) เช่น เลขกิโลที่จะต้องเข้ารับการบริการอีกครั้ง ชนิดของน้�ำมันท่ีเปล่ียน เป็นต้น ก�ำจัด น้ำ� มนั หลอ่ ลื่นเก่าในบรเิ วณท่ีเหมาะสม 3. การเปล่ียนกรองน�้ำมันหล่อล่ืน เปล่ียนกรองน�้ำมัน หล่อล่ืนใหม่ทุกคร้ังท่ีมีการเปล่ียนถ่ายน�้ำมันหล่อลื่น ให้ลองคลาย กรองน�้ำมันหล่อลื่นออกด้วยมือก่อน ถ้าไม่ออกให้ใช้ประแจถอด กรองน�้ำมัน การเปล่ียนกรองน�้ำมันเคร่ืองซ่ึงอาจจะมีลักษณะเป็น โซ่หรือเป็นฝาถอดหรือถ้าไม่มีให้ใช้ไขควงเจาะเข้าไปในกรองน้�ำมัน เคร่ือง แล้วหมุนออก ดังรูปท่ี 5.22 กรองน�้ำมันตัวใหม่ท่ีจะน�ำ มาเปลี่ยนให้หยดน้�ำมันหล่อลื่นลงไปเล็กน้อย และควรทาจาระบี บริเวณซีลยางของกรองน�้ำมัน เพื่อใหซ้ ีลอ่อนตัวลงการประกอบจะ แนน่ ขน้ึ หมนุ กรองน�้ำมนั ตวั ใหม่ดว้ ยมือจนกระทัง่ รู้สึกตงึ แลว้ จึงใช้ ประแจขนั เขา้ อกี ประมาณ 3/4 รอบ 4. การบริการอ่างน�้ำมัน ถอดสลักเกลียวท่ียึดอ่าง รปู ท่ี 5.22 การถอดกรอง น้�ำมันเครื่องออก เม่ือถอดสลักเกลียวออกหมดแล้วพบว่าอ่าง น�ำ้ มนั หล่อลน่ื ยงั ตดิ อยู่ ใหใ้ ชค้ อ้ นยางเคาะเบา ๆ จะหลดุ จากนน้ั ใชเ้ กรยี งขดู คราบปะเกน็ ของเดมิ ทอ่ี ยทู่ อี่ า่ งออก นำ� อา่ ง ไปทำ� ความสะอาดในอา่ งทำ� ความสะอาด ควรทำ� ความสะอาดทง้ั ภายนอกและภายในเพอื่ ท่จี ะตรวจสอบ รอยรว่ั ไดง้ า่ ย ใชเ้ กรยี งขดู คราบปะเกน็ ของเดมิ ทอ่ี ยทู่ ใี่ ตเ้ ครอ่ื ง ระมดั ระวงั อยา่ ขดู แรงเนอ่ื งจากเครอื่ งยนต์ เป็นอะลูมิเนียมซ่ึงเป็นรอยขูดขีดได้ง่าย ท�ำความสะอาดตัวผ่านน้�ำมันและปั๊มน�้ำมันด้วย หลังจาก ท�ำความสะอาดแล้ว ทาน้�ำมันหล่อลื่นบาง ๆ ลงบนปะเก็นใหม่เพ่ือให้การยึดจับดีขึ้น จากน้ันประกอบ กลบั ไปทอี่ า่ งนำ�้ มนั และใตเ้ ครอ่ื งยนต์ กวดสลกั เกลยี วเรยี งใหแ้ นน่ กอ่ น จากนน้ั ใชป้ ระแจแรงบดิ ขนั อกี คร้งั
120 บทท่ี 5 ระบบหลอ่ ลน่ื เครื่องยนต์ 5. การบรกิ ารปม๊ั นำ้� มนั ปม๊ั นำ�้ มนั ไมต่ อ้ งการการบรกิ ารในขณะทำ� งานปกติ ถา้ ปม๊ั สกึ หรอมาก จะไมส่ ามารถรักษาระดับความดันในการสบู ได้ ให้เปลีย่ นใหม่ (ไมน่ ิยมนำ� ปม๊ั ท่เี สียไปซอ่ มแล้วน�ำกลับมา ใชใ้ หม่) การเปลยี่ นปม๊ั นำ้� มันใหป้ ฏิบตั ิตามคูม่ ือประจำ� รถ 6. การบริการลน้ิ ระบาย เช่นเดยี วกับป๊มั น�ำ้ มนั ถา้ ช�ำรดุ ใหถ้ อดออกแลว้ เปล่ยี นใหม่ 7. การบริการเคร่ืองแสดงความดันน�้ำมัน เช่นเดียวกับปั๊มน้�ำมัน ถ้าช�ำรุดให้ถอดออก แล้วเปล่ยี นใหม่
งานเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี 121 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทักษะ บทที่ 5 ระบบหลอ่ ล่นื เครอ่ื งยนต์ ตอนท่ี 1 อธิบาย (หมายถึง การให้รายละเอียดเพิ่มเติม ขยายความ ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่าง ประกอบ) ตอบแบบส้ัน 1. อธิบายหนา้ ท่ขี องระบบหลอ่ ล่นื 2. อธิบายน�้ำมันหลอ่ ลน่ื 3. คณุ สมบัติท่ีสำ� คัญของน�ำ้ มนั เครื่องประกอบด้วยอะไรบ้าง 4. น�้ำมันหล่อล่ืนเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีนผลิตข้ึนจากน้�ำมันพื้นฐานและสารเพิ่มคุณภาพประกอบด้วย อะไรบ้าง 5. ปัจจุบนั น้�ำมนั ท่ีผลิตออกมาจำ� หน่ายจะยดึ ถือค่าดชั นคี วามหนดื ตามมาตรฐานอะไร 6. อธิบายสว่ นประกอบของระบบหล่อลนื่ 7. เคร่ืองแสดงในระบบหลอ่ ลนื่ ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง 8. ปัญหาอะไรบ้างท่ีเกิดขึ้นกบั ระบบหล่อลืน่ 9. สาเหตุอะไรท่ที ำ� ให้ความดนั น�ำ้ มันหลอ่ ล่นื สงู เกินไป 10. การบรกิ ารระบบหลอ่ ลน่ื ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง ตอนที่ 2 อธบิ ายคำ� ศัพท์ (หมายถึง แปลค�ำศัพท์ ใหร้ ายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ ขยายความ ถา้ มีตวั อยา่ ง ใหย้ กตัวอย่างประกอบ) ตอบแบบสน้ั 1. Main Bearing 2. Rod Bearing 3. Viscosity 4. Sludge 5. Oil Cooler 6. Indicator Light 7. Dipstick 8. Electric Gauge 9. Sealing 10. Oil Pickup
122 บทท่ี 5 ระบบหลอ่ ล่นื เครือ่ งยนต์ ตอนที่ 3 จงเลอื กคำ� ตอบขอ้ ท่ถี ูกทีส่ ดุ 1. ป๊ัมน้�ำมันทใ่ี ช้ในเครือ่ งยนต์ของรถมี 2 ชนิด มีความหมายสอดคลอ้ งกบั ข้อใด ก. ชนดิ เฟอื งและชนิดลูกสบู ข. ชนิดโรเตอรแ์ ละชนดิ ลูกสบู ค. ชนดิ โรเตอรแ์ ละชนดิ เฟอื ง ง. ชนิดไหลเตม็ และชนดิ ไหลออ้ ม 2. อปุ กรณข์ อ้ ใดไมส่ ามารถวดั ความดนั ของนำ้� มนั หล่อลนื่ ได้ ก. ก้านวัด ข. เครือ่ งแสดงแบบแสงไฟ ค. เครือ่ งแสดงแบบดิจติ อล ง. เคร่ืองแสดงแบบเข็ม 3. ดัชนีบริการทีบ่ ่งชีว้ า่ น�ำ้ มันหลอ่ ลน่ื ท่เี หมาะทจี่ ะใชก้ บั เครือ่ งยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟคือขอ้ ใด ก. SE ข. CE ค. SF ง. SG 4. ลิ้นระบายในระบบหล่อลน่ื ทำ� หนา้ ทอ่ี ะไร ก. ปรับความดนั ใหต้ ำ่� ท่ีสุด ข. ป้องกนั ความดันไมใ่ ห้สงู เกนิ ไป ค. ป้องกันการขาดการหลอ่ ล่ืน ง. ใหน้ �้ำมันไหลอ้อมกรองทอ่ี ุดตนั 5. เครอ่ื งยนต์สูญเสียน�ำ้ มันหลอ่ ล่ืนเน่อื งจากสาเหตใุ ด ก. ระเหยกลายเปน็ ไอ ข. ถูกเผาในห้องเผาไหม้ ค. ควบแนน่ ง. รวั่ เข้าไปในระบบสง่ กำ� ลัง 6. นำ้� มนั หลอ่ ลน่ื สามารถผา่ นเขา้ ไปในหอ้ งเผาไหมไ้ ด้ 2 ทาง คอื บรเิ วณรอบ ๆ ลนิ้ ไอดี ไอเสยี และขอ้ ใด ก. หวั ฉดี นำ้� มันเชอ้ื เพลงิ ข. ปะเกน็ ทอ่ ร่วมไอเสยี ค. ทอ่ ร่วมไอดี ง. แหวนลกู สบู 7. สาเหตทุ ท่ี ำ� ใหเ้ กิด “การกนิ น้�ำมนั เครือ่ ง” คอื ขอ้ ใด ก. น้ำ� มันหล่อลน่ื หนกั เกนิ ไปและแบร่ิงแนน่ เกนิ ไป ข. เครอ่ื งยนต์ท�ำงานทรี่ อบสงู และสกึ หรอเกินไป ค. การเดนิ ทางท่สี ั้นและอากาศเยน็ ง. การเปลี่ยนน�้ำมันหลอ่ ลน่ื บ่อยและสปริงล้ินอ่อนเกินไป 8. สารใดไม่ได้ถูกผสมลงไปในน�้ำมันหล่อลน่ื ก. สารเพ่มิ ดัชนคี วามหนืด ข. สารชะล้างและกระจายคราบเขม่า ค. สารปอ้ งกนั ปฏกิ ิรยิ าออกซเิ ดชัน ง. สารเพิม่ เน้อื มวลของนำ�้ มัน 9. สาเหตทุ ีท่ ำ� ใหค้ วามดนั น�ำ้ มนั หลอ่ ลืน่ ต�่ำคือขอ้ ใด ก. สปรงิ ของลน้ิ ระบายหกั หรืออ่อนตัวเกินไป ข. ป๊ัมนำ้� มนั เสยี หาย ค. เกิดการรั่วในระบบน้�ำมันหลอ่ ลื่น ง. ถูกทกุ ขอ้
งานเครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลีน 123 10. ข้อใดไมใ่ ชส่ าเหตทุ ่ที �ำให้ความดันน�ำ้ มนั หลอ่ ลื่นสูงเกิน ก. เกดิ การติดขัดในล้นิ ระบาย ข. สปรงิ ในลิ้นระบายมคี วามยดื หย่นุ ผดิ ขนาด ค. การอดุ ตนั ในระบบ ง. น�้ำมนั บางเกินไป ตอนที่ 4 กจิ กรรมการฝึกทกั ษะ (ให้ความส�ำคัญการทำ� งานเปน็ ทมี งาน) 1. แบ่งกล่มุ ตามความสมัครใจ 4 กลุ่ม จ�ำนวนเทา่ ๆ กนั เลอื กหวั หนา้ ฝ่ายระบบหล่อล่นื เครื่องยนต์ ระดบั 5 ประชมุ คณะทำ� งาน แบ่งหนา้ ทแี่ ละความรับผิดชอบ จบั ฉลากเลอื กกจิ กรรมต่อไปนี้ จดั เตรียม สอื่ อปุ กรณ์ ตัวอยา่ ง ทีช่ ่วยสนบั สนนุ การนำ� เสนอให้เกดิ ความชดั เจนและครบสาระการเรยี นรู้ บรหิ าร เวลากลุม่ ละ 25 นาที นำ� เสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ / แผน่ ใส 1. จัดบอร์ดเชงิ ปฏบิ ัติการ “ระบบหลอ่ ลน่ื เคร่ืองยนต”์ 2. สนทนาเชิงปฏิบัติการ “ปญั หาท่เี กดิ ขนึ้ กบั ระบบหล่อลน่ื ” 3. อภิปราย (Discuss) “เคร่อื งแสดงในระบบหล่อลืน่ เปน็ สง่ิ จำ� เป็น หรอื ไม่จำ� เปน็ ” 4. แตล่ ะกลุ่มงานปฏิบัตติ ามใบงานที่ 5 “เรือ่ งการใส่แหวนลูกสบู ” (บรหิ ารเวลากลมุ่ ละ 30 นาท)ี
124 ใบงานท่ี 5.1 การใสแ่ หวนลกู สูบ 5.1ใบงานที่ เรือ่ ง การใส่แหวนลกู สูบ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เพื่อให้นักศึกษาสามารถใสแ่ หวนลูกสูบ ความร้เู บื้องตน้ แหวนลูกสบู จะตอ้ งมีขนาดพอดกี บั กระบอกสบู และร่องทอี่ ยูบ่ นลกู สูบ ปกตแิ หวนจะมาเปน็ ชดุ ซ่งึ มีขนาดพอดกี บั ลูกสบู โดยทั่วไปจะมีคมู่ อื การติดต้ังมาด้วย ให้ปฏิบตั ิตามอย่างระมดั ระวงั การใสแ่ หวน กลบั ทางจะท�ำให้ก�ำลงั อัดของเครื่องยนต์เสยี และกินน้�ำมนั เครือ่ งมาก เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ 1. คมี ถอดแหวน 2. เครื่องมอื ช่างพนื้ ฐาน ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน 1. ใช้คีมถอดแหวนจับเข้าแหวนวงที่จะถอด บีบคีม ดา้ มคีมจะถา่ งใหแ้ หวนอา้ ออก 2. ดึงแหวนออกจากลูกสบู เรม่ิ จากแหวนอดั ไป ยังแหวนนำ้� มัน 3. ตรวจสอบสภาพของรอ่ งแหวน ผวิ ของลกู สูบ ถึงความสึกหรอตา่ ง ๆ 4. น�ำแหวนใหม่ท่ีจะเปลี่ยนมาตรวจสอบกับ ร่องแหวนวา่ ขนาดพอดหี รือไม่
งานเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลีน 125 5. ใส่แหวนน้ำ� มนั คอ่ ย ๆ ใสป่ ลายข้างหน่งึ ของแหวนในร่องแล้วหมนุ ลูกสบู วนจนร่องกนิ แหวน เขา้ ไปจนหมด 6. ใช้คมี ถอดแหวนใสแ่ หวนอดั ค�ำถามท้ายการปฏบิ ตั งิ าน 1. อธิบายข้นั ตอนการถอดประกอบแหวนลูกสบู มาพอสังเขป …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เครอื่ งมอื ดังรูปใช้งานอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………........… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………
126 ใบงานที่ 5.1 การใส่แหวนลูกสบู สรปุ ผลและวิจารณก์ ารปฏิบตั ิ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ความเหน็ ของครูผู้สอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……..…………………………………………… ครผู สู้ อน ……..…………………………………………… ผูค้ วบคมุ การฝกึ ……..…………………………………………… วนั ท่ี / เดอื น / พ.ศ.
6 ระบบระบายความรอ้ น ของเครือ่ งยนต์ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) หลงั จากศึกษาจบบทเรยี นนแี้ ลว้ นกั ศึกษาจะมีความสามารถดังน้ี 1. อธบิ ายเกี่ยวกบั ระบบระบายความร้อนได้ 2. บอกสว่ นประกอบและการทำ� งานของระบบระบายความรอ้ นได้ 3. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับเคร่ืองแสดงในระบบหล่อลืน่ ได้ 4. สรปุ ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ กบั ระบบหล่อเย็น 5. ปฏิบตั กิ ารตรวจสอบระบบระบายความรอ้ นได้
6 ระบบระบายความร้อน ของเคร่อื งยนต์ ระบบระบายความรอ้ นของเครอ่ื งยนต์ เครอื่ งยนตท์ ำ� หนา้ ทเี่ ปลย่ี นพลงั งานความรอ้ นทไ่ี ดร้ บั มาจากการเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลงิ ไปเปน็ พลงั งาน กลในการหมนุ เพลาลอ้ ซง่ึ โดยธรรมชาติแล้วความรอ้ นทเ่ี กดิ จากการเผาไหม้น้ี ไมส่ ามารถที่จะเปล่ยี นรูป เป็นพลังงานกลได้ท้งั หมด 1 ใน 3 ของความรอ้ นทีไ่ ดจ้ ากการสนั ดาปเช้อื เพลิงกับอากาศในเครอ่ื งยนต์จะ สญู เสยี ไป โดยการถา่ ยเทความรอ้ นผา่ นชนิ้ สว่ นตา่ ง ๆ ของเครอื่ งยนต์ เช่น เส้ือสูบ ฝาสูบ ลูกสูบ และลน้ิ ดังนนั้ ถา้ หากชน้ิ สว่ นต่าง ๆ เหลา่ น้ไี มไ่ ดร้ บั การระบายความรอ้ นที่ดแี ละเพียงพอแล้ว จะทำ� ใหเ้ ครอ่ื งยนต์ ได้รบั ความเสยี หายและก่อให้เกิดอนั ตรายได้ การระบายความรอ้ นในเคร่อื งยนต์จึงมีความส�ำคัญ เพราะ ถา้ หากวา่ มกี ารระบายความรอ้ นนอ้ ยเกนิ ไปเครอื่ งยนตจ์ ะรอ้ นมาก ชนิ้ สว่ นตา่ ง ๆ อาจจะชำ� รดุ แตกเสยี หาย ลกู สบู และลน้ิ อาจจะไหม้ เครอื่ งยนตอ์ าจจะเกดิ การกระตกุ และระบบหลอ่ ลน่ื จะทำ� งานไดไ้ มด่ ี แตถ่ า้ หาก มกี ารระบายความรอ้ นมากเกนิ ไปเครอ่ื งยนต์จะเย็น ท�ำให้สนิ้ เปลอื งน้�ำมนั เชือ้ เพลิง นอกจากระบบระบายความร้อนจะช่วยป้องกันความเสียหายแก่ช้ินส่วนของเคร่ืองยนต์อันเนื่อง มาจากความรอ้ นแล้ว ยังควบคมุ อณุ หภมู ขิ องเครอ่ื งยนตใ์ หเ้ หมาะสมตลอดทุกสภาวะการท�ำงาน และยงั เป็นแหล่งจา่ ยความรอ้ นภายในห้องโดยสาร (ส�ำหรบั รถยนตใ์ นประเทศหนาว) อีกดว้ ย
งานเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลีน 129 การระบายความร้อนแบ่งออกได้เป็น 2 ระบบ คือ ระบบระบายความร้อนด้วยอากาศ และ ระบบระบายความรอ้ นดว้ ยของเหลว การระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ (Air Cooling System) สว่ นใหญจ่ ะใชก้ บั เครอื่ งยนตข์ นาดเลก็ สูบเดียว เช่น เคร่ืองยนต์รถจักรยานยนต์ ดังรูปท่ี 6.1 โดยการใช้อากาศท่ีผ่านเครื่องยนต์เป็นตัวรับ ความร้อนท่ีระบายจากเครื่องยนต์ เสื้อสูบและฝาสูบจะออกแบบให้มีลักษณะเป็นครีบ (Fin) เพื่อเพ่ิม เนื้อท่ีการระบายความร้อนให้กับอากาศ อาจจะมีพัดลมติดอยู่ตรงล้อช่วยแรง และมีแผ่นโลหะบังคับ ทิศทางลมให้ผา่ นบริเวณตวั เคร่อื ง เพื่อที่จะให้การระบายความร้อนดขี น้ึ ระบบระบายความร้อนดว้ ยของเหลว (Liquid Cooling System) ส่วนใหญอ่ าศัยน�้ำเป็นตวั กลาง (Medium Fluid) ท่ีรับความรอ้ นซ่งึ ระบายออกจากเคร่อื งยนต์ และน�ำ้ จะพาความรอ้ นไประบายออก ที่อากาศ น้�ำจะเย็นลงและไหลเวียนกลับไปรับความร้อนจากเคร่ืองยนต์ใหม่ ระบบระบายความร้อน ด้วยของเหลวสามารถควบคุมอุณหภูมิของเคร่ืองยนต์ได้ดีกว่า และช่วยให้เคร่ืองยนต์เย็นเร็วกว่าระบบ ระบายความรอ้ นด้วยอากาศ รูปที่ 6.1 ระบบระบายความร้อนด้วยอากาศโดยใชค้ รบี ระบายความรอ้ น
130 บทท่ี 6 ระบบระบายความร้อนของเครอ่ื งยนต์ ส่วนประกอบและการทำ�งานของระบบระบาย ความร้อน 1. Header tank 6. Coolant pump and thermostat Valve 2. Electric fan thermal Switch 7. Coolant / oil heat exchanger (S version only) 3. Electric fan 8. Heater 4. Radiator 9. Throttle body 5. Temperature gauge and warning lamp sensor รูปที่ 6.2 ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของระบบระบายความร้อน ระบบระบายความรอ้ นด้วยน�้ำในเครื่องยนต์ประกอบหลกั 5 ส่วน ดงั รปู ที่ 6.2 ดงั น้ี 1. หม้อนำ้� หรือรงั ผ้ึง (Radiator) ท�ำหนา้ ทีถ่ ่ายเทความร้อนจากน้�ำให้อากาศดว้ ยการรบั นำ�้ ท่ีมีความร้อนจากเส้ือสูบ และท�ำให้เย็นลงโดยให้อากาศที่พัดผ่านรับเอาความร้อนจากน�้ำในหม้อน้�ำไป หมอ้ นำ้� ประกอบดว้ ยหมอ้ นำ�้ สว่ นบนและหม้อน�ำ้ สว่ นลา่ ง ระหวา่ งหมอ้ น�ำ้ ส่วนบนและสว่ นลา่ งจะมีทอ่ นำ�้ เล็กๆหลายทอ่ เชื่อมอยู่ทำ� ให้น้ำ� แยกไหลไปตามทอ่ ตรงบริเวณท่อนำ้� เล็กๆเหล่าน้ีจะมีโลหะเช่ือมตดิ เป็น ครีบ มีลักษณะคล้ายรังผึ้งเพื่อให้เกิดพ้ืนที่ผิวส�ำหรับระบายความร้อนได้มาก โดยความร้อนของน้�ำจะ ถา่ ยเทความรอ้ นให้กับอากาศท่พี ัดผา่ น
งานเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลีน 131 2. ปั๊มน้�ำ (Water Pump) ปั๊มน้�ำส่วนใหญ่จะเป็นปั๊มแบบหอยโข่ง (Centrifugal Pump) ติดตั้งอยู่บนบริเวณหน้าของเส้ือสูบ และรับก�ำลังหมุนมาจากสายพาน ปั๊มจะดูดน้�ำจากหม้อน�้ำส่วนล่าง ผ่านเข้าตัวป๊ัมของท่อน้�ำขา้ งล่าง และไหลออกจากปม๊ั เข้าหมนุ เวยี นอย่ใู นช่องวา่ งภายใน เสอื้ สูบ และฝา สูบเพื่อรับความร้อนจากส่วนต่าง ๆ น�้ำที่ได้รับความร้อนแล้วจะไหลออกจากเสื้อสูบทางท่อน้�ำข้างบน ผ่านเทอร์โมสตัตเข้าไปยังหม้อน้�ำส่วนบน จากนั้นก็ไหลผ่านบริเวณรังผ้ึงเพ่ือถ่ายเทความร้อนให้แก่ อากาศต่อไป 3. ทางน้�ำไหลในตัวเคร่ืองยนต์ (Water Passage) ชอ่ งวา่ งทีอ่ ยูภ่ ายในเนือ้ โลหะที่ใช้ทำ� เปน็ เสอ้ื สบู และฝาสูบ ใชเ้ ปน็ ทางให้น้�ำไหลผา่ นเพอ่ื ระบายความรอ้ นออกจากเครือ่ งยนต์ ทางน�้ำไหลนจ้ี ะมี รอบกระบอกสูบ และตลอดความยาวช่วงชักของลูกสูบ เพื่อเป็นการป้องกันการขยายตัวไม่เท่ากัน ของกระบอกสูบ 4. เทอร์โมสตัต (Thermostat) จะติดตงั้ ไวต้ รงท่อนำ้� ทีไ่ หลเข้าหม้อน�้ำสว่ นบน เทอรโ์ มสตตั จะเปิดและปิดโดยอัตโนมัติด้วยความร้อนที่มีในน้�ำที่ไหลผ่าน โดยปกติลิ้นน้ีจะปิดและไม่ยอมให้น�้ำไหล ผ่านออกไปจากเส้ือสูบได้ ถ้าอณุ หภูมขิ องน�้ำยงั ไมร่ ้อนถงึ จุดท่ีกำ� หนดใหเ้ ปิด น�ำ้ ก็จะไหลวนเวียนและรับ ความร้อนเพ่ิมจากภายในเสื้อสูบ และฝาเสื้อสูบจนกระท่ังความร้อนของน�้ำน้ันสูงถึงอุณหภูมิที่ก�ำหนด เทอร์โมสตัตนี้ก็จะเปิดให้น�้ำไหลผ่านเข้าสู่หม้อน้�ำ และคายความร้อนให้กับอากาศอุณหภูมิของน�้ำ ที่กำ� หนดให้เทอรโ์ มสตัตเปิด จะอยู่ประมาณ 65 องศาเซลเซียส 5. พดั ลม (Fan) เมอื่ นำ้� รอ้ นไหลผา่ นบรเิ วณรงั ผงึ้ พดั ลมทอ่ี ยหู่ ลงั หมอ้ นำ�้ กจ็ ะทำ� หนา้ ทเ่ี ปา่ ลม ใหพ้ ดั ผา่ นหมอ้ นำ้� และพาเอาความรอ้ นออกจากนำ้� ไป จากนน้ั กจ็ ะไหลลงสหู่ มอ้ นำ�้ สว่ นลา่ งและไหลเวยี น ตอ่ ไป หมอ้ นำ้� หมอ้ นำ้� ดงั รปู ที่ 6.3 เปน็ อปุ กรณแ์ ลกเปลย่ี นความรอ้ นชนดิ หนง่ึ ประกอบดว้ ยชน้ิ สว่ นหลกั 3 สว่ น คือ แกนกลางของหม้อน้ำ� (Radiator Core) ถงั เข้า (Inlet Tank) และถังออก (Outlet Tank) โดยทวั่ ไป แกนกลางของหม้อน�้ำทำ� มาจากอะลมู ิน่มั และส่วนทีเ่ ป็นถังอาจจะท�ำมาจากพลาสติกหรือโลหะ สำ� หรับ หม้อน้�ำชนิดไหลลง (Down - Flow Radiator) แกนกลางจะประกอบไปด้วยชดุ ของท่อซ่ึงจะวางเรียงกนั โดยเช่ือมต่อถังเข้าและถังออก และชุดของครีบซ่ึงจะเป็นแผ่นโลหะวางเรียงเป็นชั้น ๆ ประกบอยู่กับ ท่อ น�้ำจะไหลภายในทอ่ ลงจากถังเข้าไปยงั ถังออก ขณะทอ่ี ากาศจะไหลผ่านครบี เพอ่ื ดึงระบายความร้อน จากนำ�้ โดยส่วนใหญ่รถยนตน์ ง่ั จะใช้หม้อน�ำ้ แบบไหลขวาง (Cross - Flow Radiator) ดงั รปู ท่ี 6.4 ซ่งึ สว่ นทเี่ ป็นทอ่ จะวางในแนวนอน โดยถงั เขา้ และถงั ออกจะวางทางดา้ นซา้ ยหรือขวาตรงขา้ มกนั หมอ้ น้ำ� แบบขวางจะมขี นาดความสงู ต�ำ่ ลง ซึง่ จะเปน็ การลดขนาดความสูงของหอ้ งเครือ่ งดว้ ย
132 บทที่ 6 ระบบระบายความร้อนของเครือ่ งยนต์ รปู ท่ี 6.4 หม้อน�้ำชนิดไหลขวาง รูปท่ี 6.3 หม้อน้�ำชนิดไหลลง ปม๊ั นำ้� ปั๊มน้ำ� ดงั รปู ที่ 6.5 เปน็ ป๊มั ชนิดใบพดั (Impeller) จะตดิ ตงั้ อยู่บรเิ วณตอนหนา้ ของเคร่อื งยนต์ และถูกขับให้หมุนโดยสายพานพลู เลย์ของเพลาข้อเหวยี่ ง ดงั รูปท่ี 6.6 จะสามารถหมนุ วนน้�ำหล่อเย็นได้ มากถึง 30,000 ลิตรต่อช่ัวโมง ในขณะที่ใบพัดหมุน กลีบใบท่ีโค้งของใบพัดจะสูบน้�ำหล่อเย็นจาก ตอนลา่ งของหมอ้ น�้ำ แล้วปล่อยออกผ่านทางออกของป๊มั ไปสู่ทางน้ำ� ไหลในตวั เคร่อื งต่อไป รปู ท่ี 6.5 ส่วนประกอบของป๊ัมน้ำ�
งานเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี 133 รูปท่ี 6.6 ต�ำแหน่งของปัม๊ น�ำ้ ในเครอื่ งยนต์ เพลาของใบพัดจะรองรับไว้ด้วยแบริ่งและซีลซ่ึงไม่ต้องการการหล่อล่ืน ซีลจะป้องกันไม่ให้ น�้ำหล่อเย็นไหลย้อนไปยังแบริ่ง ในเครื่องยนต์บางแบบอาจจะใช้สายพานเด่ียวขับร่วมกับอุปกรณ์อื่น ๆ ดังรปู ที่ 6.7 หรืออาจจะขบั โดยเฟืองท่ีต่อออกจากเพลาขอ้ เหวี่ยงโดยตรงกไ็ ด้ รูปที่ 6.7 การใชส้ ายพานเดย่ี วขบั ปมั๊ น้ำ� และอุปกรณ์อน่ื ๆ
134 บทที่ 6 ระบบระบายความรอ้ นของเครือ่ งยนต์ ทางน�้ำไหลในตัวเครื่อง น้�ำหล่อเย็นที่สูบขึ้นมาโดยปั๊มจะไหลข้ึนไปพักที่โพรงร่องน้�ำ (Water Jacket) ก่อน จากนั้น น�้ำหลอ่ เยน็ จึงไหลผา่ นทางน�้ำไหลในตวั เคร่อื ง ดังรูปท่ี 6.8 ข้ึนไปยงั ฝาสบู แลว้ จึงไหลกลับไปยังหม้อน้�ำ รูปท่ี 6.8 ทางนำ้� ไหลในตวั เคร่ือง โพรงร่องน�้ำจะเป็นช่องว่างเปิดระหว่างผิวของ กระบอกสบู กบั เสอ้ื สบู หรอื ฝาสบู ดงั รปู ท่ี 6.9 เพอ่ื ใหค้ วามรอ้ น จากเคร่อื งยนตร์ ะบายสู่ น�ำ้ หลอ่ เย็นที่ขังอยู่ภายในโพรง รปู ท่ี 6.9 โพรงรอ่ งน�้ำในช้นิ ส่วนตา่ ง ๆ ของเคร่ืองยนต์
งานเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน 135 เทอร์โมสตัต เทอรโ์ มสตัต ดังรูปที่ 6.10 เปน็ ลน้ิ ท่ีท�ำงานด้วยความร้อนท่ขี ้ึนอยูก่ ับอุณหภมู ขิ องน�ำ้ หลอ่ เยน็ ท�ำหน้าท่ีควบคุมการไหลของน้�ำหล่อเย็นจากเครื่องยนต์ไปยังหม้อน�้ำ เทอร์โมสตัตจะวางอยู่ในช่องทาง นำ้� ไหลทเ่ี ชอื่ มระหวา่ งฝาสบู กบั หมอ้ นำ้� ดังรูปที่ 6.8 ลน้ิ (Valve) ที่อยใู่ นเทอร์โมสตตั จะปิดหรือเปดิ ตาม การเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมขิ องนำ้� หลอ่ เยน็ เมอื่ เครื่องยนต์เยน็ ล้ินในเทอร์โมสตตั จะปิด ดังรปู ที่ 6.11 ซา้ ย และเมอื่ เครื่องยนต์เริม่ ร้อนลนิ้ จะเปิด ดงั รปู ท่ี 6.11 ขวา รูปท่ี 6.10 เทอร์โมสตัต รูปที่ 6.11 การท�ำงานของล้นิ ในเทอรโ์ มสตัต การปิดทางเดินไม่ใหน้ ้ำ� หล่อเยน็ ไหลไปส่หู มอ้ น้�ำโดยเทอรโ์ มสตตั ขณะทเ่ี ครอื่ งยนต์เย็นเปน็ การ อุ่นเครื่องยนตท์ ี่ดี เพราะความรอ้ นจะอยู่ในเคร่ืองยนต์แทนที่จะถูกพาไปยังหมอ้ น�้ำเพ่อื ระบายออก ซ่ึงจะ ลดระยะเวลาในการอนุ่ เคร่ืองให้น้อยลง ประหยดั น้�ำมนั และลดมลพษิ จากทอ่ ไอเสยี ล้ินของเทอรโ์ มสตตั จะเปดิ ตามอุณหภมู ิทีร่ ะบไุ ว้ โดยทว่ั ไปจะมี 2 คา่ คอื ท่ี 85°C และ 91°C และจะเปิดเต็มท่ีดว้ ยอณุ หภมู ทิ ส่ี ูงขน้ึ ประมาณ 20°C ตัวอย่างเชน่ ที่ 91°C ลน้ิ จะเริ่มเปิด และจะเปดิ เตม็ ทีท่ ่อี ุณหภมู ปิ ระมาณ 102 °C เปน็ ต้น
136 บทที่ 6 ระบบระบายความร้อนของเคร่ืองยนต์ พัดลม 1. ใบพัด ปริมาณของอากาศที่ไหลเข้ามาปะทะหน้าเครื่อง (หม้อน�้ำ) ของรถยนต์ที่ว่ิงด้วย ความเรว็ สงู นนั้ เพยี งพอตอ่ การระบายความรอ้ น ซงึ่ ในบางครงั้ หมอ้ นำ�้ ตอ้ งการใหม้ อี ากาศไหลผา่ นเพม่ิ เตมิ เพ่ือป้องกันการเดือดของน�้ำหล่อเย็น โดยเฉพาะในขณะที่รถยนต์ติดเคร่ืองท้ิงไว้หรือว่ิงด้วยความเร็วต�่ำ จงึ มกี ารใชพ้ ดั ลมเพอื่ ชว่ ยในเหตกุ ารณด์ งั กลา่ ว พดั ลมทใ่ี ชใ้ นการดงึ อากาศผา่ นหมอ้ นำ้� ในรถยนตม์ ี 2 แบบ คอื แบบพัดลมกล (Mechanical Fan) และพดั ลมไฟฟา้ (Electrical Fan) รูปท่ี 6.12 พดั ลมกล รถยนต์ท่ีมีการวางเครื่องยนต์ตามยาวขับเคล่ือนล้อหลังน้ัน นยิ มใช้พัดลมกลซึง่ ขบั ด้วยเพลาของป๊ัมน�ำ้ ดังรปู ท่ี 6.12 ใบพัดจะ ทำ� จากโลหะหรอื พลาสตกิ หลอ่ ซงึ่ อาจจะมจี ำ� นวนใบตงั้ แต่ 4 ถงึ 7 ใบ โดยมีโครง (Shroud) ครอบใบพัดไว้เพื่อควบคุมทิศทางของลม ดังรปู ท่ี 6.13 ประสิทธิภาพจะดีขึน้ รูปท่ี 6.13 โครงครอบพัดลม ส�ำหรับรถยนต์ที่มีการวางเครื่องยนต์แบบวางขวางขับเคล่ือนล้อหน้าน้ัน โดยท่ัวไปจะใช้พัดลม ไฟฟา้ ดงั รปู ที่ 6.14 ซง่ึ ใชม้ อเตอรไ์ ฟฟา้ ในการหมนุ ใบพดั โดยมสี วติ ชเ์ ทอรโ์ มสตตั (Thermostat Switch) ควบคุมการตัดต่อวงจรของมอเตอร์ไฟฟ้าตามอุณหภูมิท่ีตั้งไว้ ตัวอย่างเช่น ถ้าตั้งสวิตช์เทอร์โมสตัต ใหท้ ำ� งานท่ี 93°C สวิตชจ์ ะตอ่ วงจรใหพ้ ดั ลมหมุนท�ำงาน เมอ่ื อุณหภมู ขิ องน�ำ้ หล่อเยน็ ข้นึ ไปถึง 93°C และจะตดั วงจรหยุดพดั ลม เม่ืออณุ หภมู ิลดตำ�่ ลงกว่าคา่ ทต่ี ั้งไวน้ ี้ ในรถยนตท์ มี่ ีเครอ่ื งปรบั อากาศมกั จะ พ่วงสวิตช์ท�ำงานของเคร่ืองปรับอากาศไว้กับสวิตช์เทอร์โมสตัตน้ี เพื่อให้พัดลมหมุนตลอดเวลาที่ เครื่องปรบั อากาศท�ำงาน
งานเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี 137 รปู ท่ี 6.14 พัดลมไฟฟ้า รูปท่ี 6.15 พัดลมไฟฟา้ ทใี่ ช้กับเคร่อื งยนตว์ างขวาง ทั้งพดั ลมกลและพดั ลมไฟฟ้าจะเปน็ ชนดิ ดูดลม (Pull - Type Fan) ซ่งึ จะวางหลงั หมอ้ น้ำ� เพื่อดูด อากาศจากหน้ารถให้ไหลผ่านไปยังตัวเคร่ือง 2. สายพานขับ (Drive Belt) มีลักษณะเป็นยางวงเหนียวพิเศษใช้ในการส่งก�ำลังระหว่าง เพลาส่เู พลา มี 3 ชนิดท่นี ยิ มใชใ้ นการขบั ระบบระบายความร้อน (ป๊มั หรือพดั ลม) คือ 1) แบบร่องตวั วี (V - Belt) ดงั รปู ท่ี 6.16 ซงึ่ มลี กั ษณะหนา้ ตดั เปน็ รปู ตวั วี วางพาดบนรอ่ งของพลู เลยไ์ ดพ้ อดี ความเสยี ดทาน ระหว่างสายพานกับร่องของพูลเลย์จะเป็นตัวส่งก�ำลัง 2) แบบซ่ี (Ribbed Type Belt) ดังรูปท่ี 6.17 จะมลี ักษณะเป็นรอ่ งตัววีเล็ก ๆ เรียงกันหลาย ๆ ร่อง เน่อื งจากมีหน้าสมั ผัสมากข้ึน จงึ ส่งก�ำลงั ไดด้ ีกวา่ แบบรอ่ งตวั วีแบบธรรมดา และ 3) แบบร่องฟัน (Tooth Belt) ดังรูปท่ี 6.17 ซ่งึ จะใชเ้ ฟืองโซแ่ ทนพลู เลย์ ในการส่งกำ� ลัง รปู ท่ี 6.16 สายพานแบบร่องตัววี รูปท่ี 6.17 สายพายแบบรอ่ งฟัน
138 บทท่ี 6 ระบบระบายความร้อนของเครอื่ งยนต์ ส่วนประกอบอนื่ ๆ ของระบบ ระบายความร้อน 1. ฝาหมอ้ น้ำ� แรงดนั ฝาหม้อน�้ำแรงดัน (Radiator Pressure Cap) ดังรูปที่ 6.18 ท�ำหน้าที่ผนึกระบบระบาย ความร้อนให้ เป็นระบบปิด เพ่ือไม่ให้น้�ำหล่อเย็นสูญหายไปจากระบบ เนื่องจากการระเหยกลายเป็นไอและเพ่ิมความดันให้กับ ระบบ ซงึ่ จะเป็นการเพิ่มจุดเดือดของน�้ำหล่อเย็น อันเป็น การเพ่ิมประสิทธิภาพของการหลอ่ เยน็ ให้ดขี ึ้น รูปที่ 6.18 ฝาหม้อน้�ำแรงดัน ณ ความดนั บรรยากาศปกติ (ประมาณ 101 kPa) น�้ำจะเดอื ดท่ี 100°C ซึ่งถ้าความดนั ของอากาศ เพม่ิ ขน้ึ อุณหภมู จิ ุดเดอื ดกจ็ ะเพิ่มขนึ้ ดว้ ย ตวั อย่างเช่น ถา้ เพิม่ ความดนั ของน�้ำเป็น 103 kPa จะทำ� ให้ จุดเดือดของน�้ำกลายเป็น 127°C ซึ่งจะท�ำให้ผลต่างระหว่างอุณหภูมิของน้�ำหล่อเย็นกับอุณหภูมิของ อากาศภายนอกมากขนึ้ ทำ� ให้การถ่ายเทความร้อนระหว่างนำ�้ หล่อเยน็ กับบรรยากาศดขี นึ้ ตามไปด้วย อยา่ งไรกต็ าม ความดนั ทำ� งานในระบบระบายความรอ้ นจะตอ้ งเปน็ ไปตามขอ้ กำ� หนดของบริษทั ผู้ผลิตรถยนต์ ถา้ ความดันทำ� งานต�่ำเกนิ ไปจะท�ำน้�ำหลอ่ เย็นเดือดได้ง่าย หรอื ถา้ สงู เกนิ ไปอาจจะท�ำให้ หม้อน�ำ้ รั่วแตกหรอื สายยางระเบดิ ฉกี ขาดได้ ดงั น้ัน ฝาหม้อน�ำ้ แรงดันจงึ มีล้ินระบายความดนั (Pressure Relief Valve) เพือ่ ปอ้ งกันความดันหมอ้ น้ำ� สูงเกนิ ไป โดยลิ้นจะยกตวั ข้ึนเพอ่ื ระบายน้ำ� หล่อเย็น (และ ความดัน) ออกไปสถู่ ังพกั (Expansion Tank) ดังรูปที่ 6.19 ซา้ ย นอกจากน้ี ฝาหม้อนำ�้ แรงดนั ยังมลี ้นิ ระบายสญุ ญากาศ (Vacuum Relief Valve) ทำ� หน้าที่ ป้องกันไม่ให้เกดิ สุญญากาศขึ้นในระบบระบายความร้อน ซึ่งจะท�ำความเสียหายใหก้ บั หมอ้ น�้ำ ในขณะที่ เครือ่ งยนต์ดับและเร่มิ ทจ่ี ะเยน็ ตวั ลง ปรมิ าตรของน้�ำหล่อเยน็ จะลดลงกว่าตอนท่ีเครือ่ งยนตท์ �ำงาน ซึ่งจะ ทำ� ใหเ้ กดิ สญุ ญากาศขนึ้ ในระบบ ดงั นั้น ความดนั ของน�ำ้ หล่อเยน็ ในถงั พกั จะสงู กว่าในระบบ ซ่ึงแรงดันนี้ จะไปดันให้ลิน้ ระบายสญุ ญากาศยบุ ตวั ลง เพอื่ เปดิ ให้น�้ำหลอ่ เย็นในถงั พักไหลกลับมาเติมคนื ให้กบั ระบบ ดงั รูปท่ี 6.19 ขวา
งานเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี 139 รูปที่ 6.19 การท�ำงานของล้ินระบายความดันและลน้ิ ระบายสุญญากาศในฝาหมอ้ น้�ำแรงดัน 2. ถังพกั นำ้� หลอ่ เยน็ ระบบระบายความร้อนรถยนต์ท่ัวไปจะมีถังพักน�้ำหล่อเย็น ท�ำจากพลาสติกซึ่งภายในบรรจุน้�ำ หล่อเยน็ แยกตวั ออกมาจากหม้อนำ้� ดังรปู ท่ี 6.20 โดยมที ่อน�ำ้ ลน้ (Overflow Tube) เปน็ ทอ่ ยางเชื่อม ต่อระหวา่ งถงั กบั หมอ้ นำ้� เมื่อเคร่อื งยนตม์ คี วามรอ้ นสูง นำ�้ หล่อเยน็ ทีข่ ยายตัวจะไหลผา่ นทอ่ น�้ำล้นไปพกั ไวใ้ นถงั และเม่ือเครอ่ื งยนตเ์ ย็นน�้ำหล่อเย็นหดตัวลง ทำ� ให้เกดิ สุญญากาศขึ้นในระบบจะเกดิ กาลกั น้�ำ นำ� น้�ำหล่อเย็นจากถงั พกั ไหลกลบั ไปยงั หมอ้ น้�ำ ระบบระบายความรอ้ นทม่ี ถี งั พกั จะเปน็ ระบบปดิ โดยนำ้� หลอ่ เยน็ จะสามารถถา่ ยเทไปมาระหวา่ ง หม้อน�้ำกับถังพักตามอุณหภูมิท�ำงานของเคร่ืองยนต์ ซ่ึงจะท�ำให้น�้ำหล่อเย็นอยู่ในระบบด้วยปริมาณท่ี เหมาะสม เพอ่ื ให้ประสทิ ธิภาพในการระบายความรอ้ นสงู สดุ นอกจากน้ี ถังพกั ยงั ชว่ ยกำ� จดั ฟองอากาศ ในนำ�้ หลอ่ เย็น ซ่งึ เปน็ ตัวลดประสทิ ธิภาพของการระบายความร้อนลงด้วย รปู ที่ 6.20 ถังพกั นำ�้ หล่อเยน็
140 บทที่ 6 ระบบระบายความร้อนของเคร่ืองยนต์ เครื่องแสดงอณุ หภูมใิ นระบบหล่อลืน่ 1. เครือ่ งแสดงอณุ หภูมิของน�้ำหล่อเย็น เครื่องแสดงอณุ หภมู ิของน้ำ� หล่อเยน็ เปน็ เครอ่ื งมือทอี่ ยู่บนแผงหนา้ ปดั จะคอยเตือนผ้ขู บั ข่ี ใหท้ ราบวา่ ระดบั อุณหภูมนิ ำ�้ หลอ่ เยน็ ในเครือ่ งยนต์สูงเกนิ ซงึ่ มีสาเหตมุ าจากปริมาณน�้ำหล่อเยน็ ลดตำ�่ ลง หรอื เครือ่ งยนต์เกดิ ปญั หาขน้ึ มอี ยู่ 3 ชนิด ดังน้ี 1.1 ชนิดไฟแสดงผล (Indicator Light) หลอดไฟจะต่ออนุกรมกับแบตเตอรี่ สวิตช์ ติดเครอ่ื ง (Ignition Start) และสวิตชส์ ง่ ค่าอุณหภมู ิ (Temperature Sending Switch) ดังรูปท่ี 6.21 ภายในสวิตช์ส่งค่าอุณหภูมิจะมีลวดอุณหสถิต (Thermostatic Blade) ซึ่งน�ำไฟฟ้าได้บรรจุอยู่ เม่ือ อณุ หภมู นิ ำ้� หลอ่ เยน็ สงู มากเกนิ จดุ เดอื ด ความรอ้ นจะไปทำ� ใหล้ วดอณุ หสถติ ขยายตวั ขน้ึ ไปแตะกบั ขวั้ ไฟฟา้ ทอี่ ยใู่ นสวติ ชส์ ่งค่าอณุ หภมู ซิ ่งึ จะเป็นการต่อวงจรใหส้ มบรู ณ์ ไฟแสดงผลจะสวา่ งขึ้น รูปท่ี 6.21 วงจรไฟฟา้ ของเครื่องแสดงอุณหภูมิน้�ำหล่อเยน็ ชนดิ ไฟแสดงผล 1.2 ชนดิ เครอื่ งวดั ไฟฟา้ (Electric Gauge) รปู ท่ี 6.22 แสดงเครอ่ื งวดั อณุ หภมู นิ ำ�้ หลอ่ เยน็ ชนดิ ไฟฟา้ (แบบอะนาลอ็ ก) การทำ� งานจะเหมอื นกบั เครอื่ งวดั ความดนั นำ้� มนั หลอ่ ลนื่ ภายในหนว่ ยแสดงผล หนา้ จอ จะมีขดลวดเหนยี่ วน�ำ (Coil) ซงึ่ จะสร้างสนามแมเ่ หล็กไฟฟ้ากับอารเ์ มเจอร์ เครอ่ื งสง่ สญั ญาณ (Engine Sendind Unit) จะจุ่มอยู่ในน้�ำหล่อเย็น เม่ือความร้อนขึ้นสูง ตัวต้านทานภายในเครื่องส่ง สัญญาณจะลดลง กระแสไฟจะไหลเข้าขดลวดด้านขวาได้มากข้ึน ค่าสนามแม่เหล็กก็จะมากขึ้น ซึ่งจะ เหนี่ยวนำ� เข็มท่ีตดิ กบั อารเ์ มเจอรไ์ ปทางดา้ นขวา แสดงใหเ้ หน็ บนหนา้ ปดั วา่ อณุ หภูมิเพ่ิมขึ้น
งานเครื่องยนต์แกส๊ โซลนี 141 รูปท่ี 6.22 วงจรไฟฟ้าของเครอ่ื งแสดงอณุ หภมู นิ �้ำหล่อเยน็ ชนิดไฟฟา้ 1.3 ชนิดเครื่องวัดอิเล็กทรอนิกส์หรือดิจิตอล ดังรูปที่ 6.23 ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อควบคมุ การแสดงผลใหเ้ ป็นกราฟแท่งหรือเปน็ ตวั เลขดจิ ิตอล สำ� หรับรถยนต์สมยั ใหม่ รปู ที่ 6.23 เคร่อื งแสดงอณุ หภมู ิน้�ำหลอ่ เยน็ ชนิดอิเล็กทรอนกิ ส์แบบกราฟแทง่ และแบบดิจติ อล 2. เคร่ืองแสดงระดบั น้ำ� หล่อเยน็ ถังพักน้�ำหลอ่ เย็นสว่ นใหญจ่ ะเปน็ พลาสติกใส ซง่ึ สามารถมองเห็นแนวของระดบั นำ้� หลอ่ เย็นได้ การตรวจสอบระดับน�้ำหล่อเย็นเร่ิมต้นจากการเปิดฝากระโปรงรถแล้วส่องดูระดับน้�ำหล่อเย็น ซึ่งควร จะอยรู่ ะหว่างเครื่องหมายรอ้ น (Hot) และเยน็ (Cold) รถยนต์บางชนดิ จะมีไฟแสดงระดับน้ำ� หล่อเยน็ ต�่ำ (Low Coolant - Indicator Light) แสดงผล อยบู่ นหน้าปดั ตวั จบั สญั ญาณระดบั น้ำ� หลอ่ เยน็ (Coolant - Level Sensor) ดงั รปู ที่ 6.24 ภายในถงั พัก จะตอ่ กบั หลอดไฟแสดงผล กระเด่ืองเลก็ ๆ ท่ีอยูท่ ่ีปลายตวั จบั สญั ญาณจะเคลื่อนทข่ี ึน้ หรอื ลงตามระดบั ของน้ำ� หลอ่ เย็นในถงั พกั เม่ือระดับน้ำ� หล่อเย็นลดลงต�่ำมาก กระเดอ่ื งจะตกลง วงจรจะตอ่ ทำ� ใหไ้ ฟสว่าง
142 บทที่ 6 ระบบระบายความรอ้ นของเคร่ืองยนต์ รปู ที่ 6.24 ตวั จับสญั ญาณระดบั น้�ำหลอ่ เยน็ ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ กบั ระบบหลอ่ เย็น ปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับระบบหล่อเย็นจ�ำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1) เคร่ืองยนต์ความร้อนสูง 2) เครอื่ งยนตร์ อ้ นชา้ และ 3) นำ้� หล่อเย็นรว่ั ซ่งึ ตอ้ งท�ำการวิเคราะหถ์ งึ สาเหตุ ตรวจสอบ และแกไ้ ข 1. สาเหตุทที่ ำ� ให้น�้ำหล่อเยน็ สญู หายไปจากระบบ มขี อ้ สังเกต 2 ประการ ที่เป็นตัวบ่งชใี้ ห้ทราบวา่ นำ�้ หลอ่ เยน็ ร่วั ออกจากระบบ คอื 1) ระบบตอ้ ง เติมนำ�้ หลอ่ เยน็ เพิม่ บ่อย และ 2) เกดิ คราบตะกรนั ข้ึนบริเวณตำ� แหนง่ ทร่ี ่วั การร่ัวของน�้ำหล่อเย็นมีทั้งแบบร่ัวภายนอกและรั่วภายใน โดยท่ัวไปการรั่วภายนอกจะเกิดขึ้น บนทอ่ ยางที่เชอ่ื มต่อหม้อน้�ำกบั เครอื่ งยนต์ หรือข้อบริเวณข้อต่อคอยลห์ รอื ทอ่ ในหม้อน้ำ� ขอ้ ต่อหรอื ฝา ของถงั พกั นำ�้ หลอ่ เย็น และเพลาของปมั๊ น�ำ้ ซง่ึ สามารถสังเกตได้งา่ ย การร่ัวภายในเกิดข้ึนเมื่อน�้ำหล่อเย็นร่ัวเข้าไปอยู่ในชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองยนต์ เช่น การรั่ว ในทางเดนิ นำ�้ หลอ่ เยน็ ภายในเครอ่ื งยนต์ การรวั่ ภายในนสี้ งั เกตอาการไดจ้ ากการตอ้ งเตมิ นำ้� หลอ่ เยน็ บอ่ ย ๆ และเกิดควันขาวออกจากท่อไอเสีย การร่ัวภายในจะสร้างความเสียหายให้กับเคร่ืองยนต์ น้�ำหล่อเย็น อาจจะไปรวมตวั กบั นำ้� มนั หลอ่ ลนื่ ซงึ่ เปน็ สาเหตทุ ที่ ำ� ใหเ้ กดิ สนมิ ในเครอื่ งยนต์ ถา้ ไหลเขา้ ไปในกระบอกสบู อาจท�ำให้ฝาสูบ เส้อื สบู ลูกสบู หรือกา้ นสบู คดงอแตกร้าวได้ 2. สาเหตทุ ีท่ ำ� ให้เครอื่ งยนต์ความรอ้ นสูง มสี าเหตุหลายประการทท่ี �ำใหเ้ ครือ่ งยนต์ความรอ้ นขนึ้ สงู เชน่ 2.1 ระดับของนำ�้ หลอ่ เย็นลดลงมากเนอื่ งจากเกิดการร่ัวข้ึนในระบบ 2.2 มสี นิมหรอื คราบเกิดข้ึนภายในทอ่ ทางเดนิ น้�ำหล่อเย็น ทำ� ใหน้ �ำ้ หมุนเวยี นได้ไม่ดี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316