. —' * ร. - . ..- ^ — \" - K' S£iuaudQuciu9i> บเวพุทร โกน พร:รรรบวโรกน (บุญบ! ทุผสบุบบุโน||.ร.๙) www.kalyanamitra.org
ระเบียบปฏิบ้ตฃองชาวพุทธ โดย พระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโฬ ป.ธ. ร) วัดฌญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร ฟ็ายเผยแผ่พระพุทธศาสนา กรมการศาสนา กองศาสนศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๔๑ www.kalyanamitra.org
ระพืยบปฏิบ้ติของชาวพุทธ โดย พระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.ธ. ๙) ฝายเผยแฝพระพุทธศาสนา กองศาสนศึกษา กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ จัดพิมพ์ครั้งที่ ๒๐๕ พ.ศ. ๒๕๔๑ จำนวน ๑๘,000 เล่ม พิ|[จน์จักษรโดย สุกานดา สดใส วัลลภ เลิศศรี พิมพ์ที่ โรงพิมพ์การศาสนา กรมการศาสนา 314-316 ปากซอยบานบาตร ถนนบำรุงเมือง ปอมปราบพุ กทม. 10100 นายปกรณ์ ดันสคุล ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา โทร. 223-3351, 223-5548 www.kalyanamitra.org
ทึ่ ศธ0304/ j[0925 กรมการคารนา กระทรวงสืกษารการ กทม.!0300 b ffrm 2541 ฬึ่ธง ชออโ^ญาคพิมพ์หนง(เอ นมัสการ พระธรรมวโรคม ^เวขกรมการศาสนา มความประสงพ์จะจัดพิมพ์พมังสือ \"ระฒยบปฎิป้ติของชาวทุทธ\" ^งพระคุณเจัาไจัเรฃบเรยงพ เป็นหนังสือ?!มเนื้อนาสาระด เหมาะสมอย่างยิ่งที่จะจัดพิมพ์เนยนพรไปดาม หน่วยงาน สถานสืก!ราต่าง ๅ แสะประราชนที่มความสนใจ เที่อเป็นการเผยแผ่หส้กธรรมทางทรรคุทร ดาสนาอกทางหนี่ง จงนมัสการมาเพึ่อชออบุญาตจัดพิมพ์หนังสืธจั'กล่าว จำ นวน 18,000 เล่ม หวังว่าคง ไติรํบความฒตตาสืวยดเย่นเคย ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งมา ณ โอกาสนื้ ขอนมัสการสืวยความเคารพอย่างยิ่ง T> Me'.จั^ •^rvvjvu (นายพิกพ กาญขนะ:) อรบสิกรมการสาสนา กองคาสนสืการา โทร. 2822452 โทรสาร 2822445 www.kalyanamitra.org
คำ อนุโมทนา หนังสือ \"ระฌียบปฎิบ้ดของชาวพทธ\" เล่มนี้ ข้าพเจ้าได้ รวบรวมระเบียบปฎิบ้ตที่พุทธศาสนิกชนควรปฎิบ้ดในโอกาสด่าง ๆ ไว้ โดยยึดหลักเกณฑ์และแนวปรนัติตามที่ท่านบุรพาจารย์ได้'!างไว้ เพื่อให้ชาวพุทธปฎินัติได้อย่างคูกด้องแสะเทมา^^^^มแด่พิรีนินใ ดามหน้าที่ของชาวพุทธที่ติ ทั้งในงานมงคลและงานอวมงคล รวมทั้งในวิถีชีวิตประจำวันทั้วไป จึงนับว่าหนังสือเล่มนี้จะอำนวย ประโยชน์แก่พุทธบริษัทเป็นอย่างมาก โตยบีผู้สนใจและผ้มีจิต- ศรัทธาได้ขออนุญาตจัตพิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานด่าง ใ รวมถีง ๒๐๔ ครั้ง และหนังสือเล่มนี้กรมการศาสนาได้ขออนุญาตจัตพิมพ์ ฌื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘ จำนวน ๑๐,000 เล่ม ซึ่งได้เผยแพร่ไป หมตแล้ว ในการพิมพ์ครั้งที่ ๒๐๕ นี้ กรมการศาสนาได้ขออนุญาต จัตพิมพ์อีก จำ นวน ๑๘,๐๐๐ เล่ม เพื่อเผยแพร่แก่หน่วยงาน องค์กร คลอตจนผู้สนใจทั้วไป ข้าพเจ้าบีความยึนติอนุญาตให้จัต พิมพ์ได้ตามความประสงค์พรอมกับขออนุโมทนาสาธุการในคุส ธรรมวิทยาทานครั้งนี้เป็นอย่างยิ่ง (พระธรรมวโรดม) (บุญมา คุณสมปนฺโน ป.ธ.๙) ๓๖ วัตเบญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร www.kalyanamitra.org
คำ นำ ในฐานะที่ทุทธ?กสนาฟ้นศาสนาประจำชาติ สมควรอย่างยิ่งที่คนไทย ผ้นับถือพระา^ทธศาส'นาจะค้ยงทีสาใรJรู้ ความเขาใจเกยวกับพระ'พทธ- ศาสนาเป็นอย่างสื สามารถนำหลักธรรมคำสอนไปใขในชวิคประจำ'รันไส ตามสมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระเบียบปฎิ'น้ดทางพระพุทธศาสนาใน ฟ้ธึกรรมด่างๆ ชี๋งในบี'จจุบันถือว่าเป็นวิถืชีวิดของชาวพุทรส่วนทนึ๋ง พุทธศาสนกชนควรจะปป็บัติได้ยย่า■รคูสด้ย^ จึงจะถือว่าเป็นชาวพุทธ อย่างแท้จรง กรมการศาสนาได้เ'หนความส่ากัญดังคส่าว จึงได้จัดพิมพหนังถือ \"ระเบียบปฎิบัตของชาวพุทธ\" จำ นวน ๏๘,000 เล่ม ชึงเรยบเรยงโดย พระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมปนฺโน ป.ธ.๙) วัดเบญจมบพิดร กรุงเทพ บหานคร และพระคุณเจึาผู้เรียบเรียงได้เมดดาอบุญาดใท้จัดพินพดวย ความ!)นสื กรมการศาสนาหวังว่าหนังถือเล่นนี้จักอำนวยปวะไอชที^1ค่พุาาร สาสนกชนเป็นอย่างมาก จึงขอกราบขอบพระคุณพระคุณเจ้าผู้เรยบเรียง ไว้ ณ โอกาสนี้ (นายพิภพ กาญจนะ) อธบดกรมการศาสนา www.kalyanamitra.org
สารบญ หน้า ระฌียบปฎิบตของชาวพุทธ ๑ ระเบียบปฏิบ้ดในชีวิตประจำวัน ๑ ระเบียบปฏิบ้ดการจัดที่บูชาพระประจำน้านเรือน ๑ - ที่บูชาพระรัดนตรัย ๑ - พระพุทธรูปปางมารวิชัย ๒ - พระพุทธรูปประจำวันเกิด ๒ เครื่องสักการบชาพระรัดนดรัย ๓ - ธูปสำหรับบูชาพระพุทธเจ้า - เทียนสำหรับบูชาพระธรรม ๔ - ดอกไม้สำหรับบูชาพระสงฆ์ ๕ ๖ - สถานที่ตั้งที่บูชาพระรัดนดรัย ๘ ระเบียบปฎิบ้ตการบูชาพระประจำวัน - การบูชาพระประจำวัน ©0 - การบูชาพระก่อนออกจากบ้าน ๑0 ๑๐ - การสวดมนต์ก่อนนอน ๑๒ - การน้อมระสีกกิงม้บีพระคุณและอุปการคุณ ๑๕ - คาถาเสกหมอนก่อนนอน ๑๖ - การบูชาพระชณะเกิดความไม่สบายใจ ๑๗ - การบูชาพระก่อนจะตัดสินใจเรื่องสำคัญ ๑๘ www.kalyanamitra.org
ระเบียบปฎิน้ตการบำเพ็ญสมาธิประจำวัน หน้า - ความมุ่งหมายในการบำเพ็ญสมาธิ - วิธิปฎิบ้ดก่อนบำเพ็ญสมาธิ ๑๙ ๑๙ - วิธีนั่งบำเพ็ญสมาธิ ๒๐ - คำบริกรรมขณะบำเพ็ญสมาธิ ๒๒ - กำหนดเวลานั่งบำเพ็ญสมาธิ ๒๒ ระเบียบปฎิบ้ตการสำรวจชีวิตประจำวัน ๒๒ - การสำรวจผลได้ผลเสืยของครอบครัว ๒®' - การสำรวจผลได้ผลเสียของตัวเอง ๒๓ - การวางแผนวิถีชีวิตวันต่อไป ๒๔ ระเบียบปฎิบ้ตการทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ - การทำบุญตักบาตรประจำวัน ๒๔ - การทำบุญที่มีผลานิสงส์มาก ๒๖ - บีจจัยวัดอุสิงของสำหรับทำบุญบริสุทธิ้ ๒๖ - เจตนาของผู้ถวายบริสุทธิ้ - ผลานิสงส์เจตนาบริสุทธิ้ ๒๗ - โทษของเจตนาไม่บริสุทธิ้ ๒๘ - พระภิกษุสามเณรเป็นผู้บริสุทธิ้ ๒๘ ๒๙ - วิธีปฎิบ้ตในการตักบาตรพระสงฆ์ ๒๙ ๓๐ - คำอธิษฐานก่อนตักบาตร ๓๑ - คำอธิษฐานก่อนตักบาตรอีกแบบหนึ่ง - การกรวตนํ้าอุทิศส่วนคุศล ๓๑ - การทำบุญตักบาตรวันเภิต ๓๒ ๓๓ www.kalyanamitra.org ๓๔
- การทำบุญตักบาตรสะเดาะเคราะห์ หน้า - กำลังพระนพเคราะห์ ๓๕ - กำหนดเวลาพระนพเคราะห์เสวยอายุ ๓๕ - กำหนดเวลาพระเคราะห์เฃ้าแทรกเสวยอายุ - การทำบุญตักบาดรครบรอบปีแต่งงาน ๓๖ - การทำบุญตักบาดรครบรอบปีสีงมรณกรรม ๔๐ ๔๔ ของบรรพบุรุษ ๔๔ - การทำบุญตักบาดรคราวเทศกาล ๔๕ ระเบียบปฎิบตการรักษามารยาทในสังคม ๔๖ ระเบียบปฏิน้ฅการนงพับเพียบ - อิริยาบถการนํ่งพับเพียบ ๔๖ ๔๖ - วิธีการนงพับเพียบ ๔๖ - วิธีการนั่งพับเพียบได้นาน - วิธีการเปลี่ยนนั่งพับเพียบ ๔๘ ระเบียบปฏิบดการประณมมือ ๔๘ ๔๙ - การประณมมือ - วิธีการประณมมือ ๔๙ ๔๙ ระเบียบปฎิบ้ตการไหว้ ๕๐ - การไหว้ - วิธีการไหว้พระรัดนดรัย ๕๐ ๕๐ - วิธีการไหว้บุคคลและไหว้ศพ - การไหว้บุคคลผู้มือาวุโสมากกว่าและไหว้ศพ ๕๑ ๕๑ www.kalyanamitra.org
- การไหว้บุคคลผ้มีอาวุโสเสมอกัน หน้า - การรบไหว้บุคคลผู้มอาวุโสน้อยกว่า ๕๒ ระเบียบปฎิบ้ตการนงคุกเข่า ๕๒ - การนั่งคุกเข่า ๕๓ - วิธีการนั่งคุกเข่าสำหรบชาย - วิธีการนั่งคุกเข่าสำหรับหญิง ๕๓ ๕๓ ระเบียบปฎิบีตการกราบ ๕๓ - การกราบ ๕๔ - วิธีการกราบพระรัตนตรัย ๕๔ - วิธีการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์สำหรับชาย ๕๔ - วิธีการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์สำหรับหญิง - วิธีการกราาบบบบุคคคคลลแแลละะกกรราบศพ ๕๕ ระเบียบปฏิบีตการแสดงความเคารพพระสงฆ์ ๕๕ การลุก๕ชน^ยนรบพระสง,ฆ่^ ๕๖ - การให้ที่นั่งแก่พระสงฆ์ ๕๗ - การตามส่งพระสงฆ์ ๕๗ - การหลีกทางให้แก่พระสงฆ์ ๕๘ - วิธีปฎิบ้ตเมื่อพระสงฆ์เดินตามมาข้างหลัง ๕๘ - วิธีปฎิน้ดิเมื่อเดินสวนทางกับพระสงฆ์ - วิธีปฎิบ้ตเมื่อพบพระสงฆ์ยืนอยู่ ๕ส - วิธีปฎิบ้ตเมื่อพบพระสงฆ์นั่งอยู่ ๕๙ - วิธีเดินตามหลังพระสงฆ์ ๖๐ ๖๑ ๖๑ ๖๑ www.kalyanamitra.org
ระเบียบปฏิน้ดการไปหาพระสงฆ์ที่วัด หน้า - ฐานะของพระสงฆ์ ๖๒ - การเตรียมตัวเบื้องต้น ๖๒ - วิธีปฎิบ้ตขณะถึงที่อยู่ของพระสงฆ์ ๖๓ - วิธีปฎิบ้ตขณะสนทนาตับพระสงฆ์ ๖๔ ระเบียบปฎิบ้ตการใช้คำพูดกับพระสงฆ์ต่างชั้น ๖๕ - การใช้คำทลสมเด็จพระสังฆราช ๖๖ - การใช้คำพูดตับสมเด็จพระราชาคณะ ๖๖ และพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป ๖๗ - การใช้คำพูดตับพระราชาคณะชั้นสามัญลงมา - การใช้คำพูดตับพระธรรมดาสามัญทั่วไป ๖๗ ๖๘ ระเบียบปฏิบดการวับสิ่งของจากพระสงฆ์ ๖๘ - ขณะพระสงฆ์ยืนอยู่หรีอทั่งบนอาสนะสูง ๖๘ - ขณะพระสงฆ์ทั่งเต้าอี้ - ขณะพระสงฆ์ทั่งตับพื้น ๖ร ๖ร ระเบียบปฎิป้ตการประกอบพิธีกรรม ๗๑ ระเบียบปฎิน้ตการหาฤกษ์งามยามคื - ความหมายของฤกษ์ ๗๑ - ฤกษ์งามยามด็ทางคด็โลก ๗๑ - ฤกษ์งามยามด็ทางคด็ธรรม ๗๑ ๗๒ - การดูฤกษ์งามยามดีดามหลักเหตุผล ๗๓ www.kalyanamitra.org
- ประโยชน์ของการหาฤกษ์งามยามดี หน้า - โทษของการถือฤกษ์ทางคดีโลก ๗๓ - วิธีปฎิบ้ตเกี่ยวกับฤกษ์ตามหลักเหตุผล ๗๔ ระเบียบปฏิบ้ดคารจัดสลานที่ทำบุญ ๗๕ - การจัดสถานที่ทำบุญ ๗๖ - สถานที่ตั้งโต๊ะหมู่บูชาพระรัตนตรัย ๗๖ ๗๗ - สถานที่จัดเป็นอาสน์สงฆ์ ๗๘ - สถานที่นั่งสำหรับเจ้าภาพและผู้ร่วมงาน ๗๙ - การจัดตั้งภาชนะนํ้ามนต์ - ภาชนะนํ้ามนต์ ๘0 - เทียนสำหรับทำนํ้ามนต์ ๘๑ ระเบียบปฎิบ้ตการนิมนต์พระสงฆ์ ๘๑ ๘๑ - การนิมนต์พระสงฆ์ ๘๑ - การนิมนต์พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ งานมงคลนั่วไป ๘๒ - การนิมนต์พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ๘๒ งานมงคลสมรส ๘๓ - การนิมนต์พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ๘๔ งานทำบุญอายุ ๘๕ ๘๖ - การนิมนต์พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ งานทำบุญสะเดาะเคราะห์ - การนิมนต์พระสงฆ์ประกอบพิธีงานอวมงคล - วิธีนิมนต์พระสงฆ์ www.kalyanamitra.org
- ฃ้อที่ควรระวัง๓ยวกับการนิมนต์พระ หน้า - ตัวอย่างฎีกานิมนต์พระสงฆ์ ระเบียบปฏิบดการใช้ดายสายสิญจน์ ๘๗ - ความหมายของด้ายสายสิญจน์ ๘๘ - ประโยชน์ของพิธีกรรมต่างๆ ๘$ - ความนิยมในการใช้ด้ายสายสิญจน์ ๘$ - การวงด้ายสายสิญจน์รอบบ้านเรือน $๑ - วิธีการวงด้ายสายสิญจน์ $๒ - การใช้ด้ายสายสิญจน์ทอดบังสุกุล $๓ - การใช้ด้ายสายสิญจน์ทำมงคล ส๓ ระเบียบปฏิบ้ดการมอบเทียนชนวนแก่^หญ' $๔ $๕ - การเตรืยมอุปกรณ์เครื่องใช้ $๖ - วิธีการถือเชิงเทียนชนวน ๙๖ - วิธีการมอบเชิงเทียนชนวน ๙๖ - วิธีการรับเชิงเทียนชนวนจากผู้ใหญ่ ๙๗ - ข้อควรสังวรระวัง ๙๗ ระเบียบปฏิน้ดการจุดเครื่องสักการบูชา ๙๘ - พิธีทำ บุญงานมงคล ๙๙ - คำบูชาพระรัตนตรัย ๙๙ - วิธีกราบพระรัตนตรัย ๑๐๐ - คำระถืกถืงพระรัตนตรัยขณะกราบ ๑๐๑ - การจุตเทียนนํ้ามนต์ ๑๐๑ - พิธีบำ เพ็ญกุศลสวตพระอภิธรรม ๑๐๑ www.kalyanamitra.org ๑๐๒
- ฟิธีบำ เพ็ญกุศลโดยมีพระธรรมเทศนา หน้า และพระสวดรับเทศน์ ๑ ©๓ - วิธีการปฎิบํตเมื่อพระเทศน์ 00๔ - วิธีการปฎิบํตเมื่อพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ ๑๐๕ - วิธีการปฎิบํดเมื่อพระสงฆ์สวดพระอภิธรรม ๑๐๖ - วิธีการปฎิบ้ตเมื่อพระสงฆ์สวดถวายพรพระ ๑๐๗ - วิธีการปฎิบํดเมื่อพระสงฆ์สวดมาติกาบังสุกุล ๑๐๗ ระเบียบปฎิน้ตการอาราธนาศีลเป็นตน ๑๐๙ - พิธีทำบุญงานมงคล ๑๐๙ - วิธีปฎิบํติในการอาราธนา ๑๐๙ - วิธีการรับศีล 6)6)๔ - การอาราธนาพระปริดร ๑๑๕ - พิธีทำบุญงานอวมงคล ๑๑๕ - ลำดับการกล่าวคำอาราธนา ๑๑๖ ๑๑๖ - วิธีบำเพ็ญกุศลสวดพระอภิธรรม ๑๑๖ ระเบียบปฏิน้ตการจัดข้าวบูชาพระพุทธ ๑๑๗ ๑๑๘ - เหตุผลในการจัดข้าวบูชาพระพุทธ ๑๑๙ - ความบุ่งหมายชองการจัดข้าวบูชาพระพุทธ ๑๒๐ - วิธีการจัดภัตตาหารบูชาพระพุทธ ๑๒๐ - วิธีการถวายข้าวบูชาพระพุทธ - การลาข้าวพระพุทธ ๑๒๐ ระเบียบปฏิบ้ตการประเคนพระสงฆ์ - การประเคนพระ www.kalyanamitra.org
- ลักษณะการประIคนพระที่ลูกต้อง หน้า - ลักษณะการประเคนพระที่ไม่ลูกต้อง ๑๒๐ - วิธีการประเคนพระ ๑๒๑ ระเบียบปฎิบ้ตการจัดภัตตาหารถวายพระสงฆ์ ๑๒๒ - อาหารที่ต้องห้ามสำหรับพระภิกษุสงฆ์ ๑๒๓ - อาหารที่สมควรแก่พระภิกษุสงฆ์ ๑๒๓ - วิธีการจัดภัตตาหารถวายพระสงฆ์ ๑๒๕ ระเบียบปฎิบีตการจัดเครื่องไทยธรรมถวายพระสงฆ์ ๑๒๕ - เครื่องไทยธรรม - สิงของที่ประเคนถวายพระไต้เวลาเช้าชั่วเที่ยง ๑๒๖ ๑๒๖ - สิงของที่ประเคนถวายพระไต้ตลอตเวลา ๑๒๗ - สิงของที่ทรงห้ามมิให้พระภิกษุจับต้อง ๑๒๘ - สิงของที่ไม่สมควรประเคนถวายพระสงฆ์ ๑๒๘ - ตัวอย่างในการเขียนใบปวารณาถวายป'จจัย ๑๒^ ระเบียบปฏิบตการกรวดนํ้าอุทิศส่วนกุศล ๑๒๙ - เหตุผลในการกรวตนํ้า ๑๓๐ - ความม่งหมายของการกรวดนํ้า ๑๓๐ - วิธีปฎิบ้ตในการกรวดนํ้า ๑๓๑ ๑๓๑ ระเบียบปฏิบดการประคอบพิธีศพ ๑๓๔ ระเบียบปฏิบีตการจัดพิธีศพ ๑๓๔ - วิธีปฎิบ้ตเบื้องต้นเกี่ยวภับศพ ๑๓๔ - วิธีปฎิบ้ตการแจ้งขอมรณบัดร ๑๓๔ www.kalyanamitra.org
หน้า - การขอพระราชทานนํ้าอาบศพ และเครื่องประกอบเกียรติศพ ๑๓๕ - วิธีขอพระราชทานนํ้าอาบศพ และเครื่องประกอบเกียรติศพ ๑๓๗ - แบบหนังสือขอพระราชทานกฑบถวายบังคมลาตาย ๑๓๘ - การพิมพ์การ์ดกำหนดการรดนํ้าศพ ๑๓๘ ระเบียบปฏิบ้ดการจัดสถานที่รดนํ้าศพ ๑๓๙ - สถานที่สมควรจัดเปีนที่รดนํ้าศพ ๑๓๙ - สถานที่ดั้งโต๊ะหม่บุชาพระรัดนดรัย ๑๕๑ - วิธีการอาบนํ้าศพ ๑๔๒ - สถานที่ดั้งเตียงประติษฐานศพสำหรับรดนํ้า ๑๔๒ - วิธีการรดนํ้าศพ ๑๔๔ - วิธีการจัดศพลงหบ ๑๔๔ ระเบียบปฏิน้ดการจัดสถานที่ดั้งศพ ๑๔๕ - สถานที่สมควรจัดเปีนที่ดั้งศพ ๑๔๕ - สถานที่ดั้งโต๊ะหม่บูชาพระรัดนดรัย ๑๔๖ - สถานที่ดั้งอาสน์สงฆ์สำหรับพระสงฆ์ สวดพระอภิธรรม ๑๔๖ - สถานที่ดั้งศพ ๑๔๗ - สถานที่ดั้งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๑๔๘ - สถานที่ดั้งรูปของผู้ดาย ๑๔๘ - อุปกรณ์เครื่องใช้ในพิธีศพ ๑๔๙ www.kalyanamitra.org
ระเบียบปฎิบ้ตการจัดงานบำเพ็ญกุศลศพ หน้า - การจัดพิธีบำเพ็ญกุศลบังสุกุลปากโกศศพ ๑๕๑ หรือบำกหีบศพ 6)๕๑ - การจัดพิธีสวดพระอภิธรรมประจำคืน ๑๕๓ - การจัดงานบำเพ็ญกุศลสัดตมวาร ๑๕๔ - การจัดงานบำเพ็ญกุศล ๒ วัน ๑๕๔ - การจัดงานบำเพ็ญกุศลวันเดียว ๑๕๕ - การจัดงานบำเพ็ญกุศลบัญญาสมวาร ๑๕๖ - การจัดงานบำเพ็ญกุศลสตมวาร ๑๕๗ ระเบียบปฏิบ้ตการบรรจุศพ ๑๕๘ - การกำหนดวันบรรจุศพ ๑๕๘ - สถานที่บรรจุศพ ๑๕๙ - การเตรืยมอุปกรณ์เครื่องใช้ในพิธีบรรจุศพ ๑๖0 - วิธีปฎิบํตในการประกอบพิธีบรรจุศพ ๑๖๑ ระเบียบปฏิบํตการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ ๑๖๓ ๑๖๓ หรืองานผาปนกิจศพ ๑๖๔ - การกำหนดงาน ๑๖๕ - การเดรืยมงานเบื้องต้น ๑๖๕ - การจัดดั้งศพบำเพ็ญกุศลก่อนพระราชทาน ๑๖๗ เพลิงศพหรือฌาปนภิจศพ - การจัดงานบำเพ็ญกุศล ๒ วัน - การจัดงานบำเพ็ญกุศลวันเดียว www.kalyanamitra.org
ระเบียบปฏิน้ดคารจัดพิธีบังสุกุล หน้า - การเตรียมงานเบื้องต้น - การทอดผ้าภูษาโยง ๑๖๙ - การเก็บผ้าภูษาโยง ๑๖๙ - การทอดต้ายสายสิญจน์ ๑๖๙ - การเก็บต้ายสายสิญจน์ ๑๗0 ๑๗๐ ระเบียบปฏิบ้ตการทอดผ้าบังสุกุล ๑๗๑ ๑๗๑ - วิธีการทอดผ้าบังสุกุลที่อาสน์สงฆ์ - การทอดผ้าบังสุกุลที่เมรุ ๑๗๑ ระเบียบปฏิน้ตการเชิญผู้มีเกียรติขึ้นทอดผ้าบังสุกุลที่เมรุ ๑๗๒ - วิธีการเชิญผ้มีเกียรติขึ้นทอดผ้าบังสุกุล ๑๗๓ ๑๗๓ - ลำดับการเชิญผ้มีเกียรติ ๑๗๔ - วิธีปฏิบัติการประกอบพิธีพระราชทานเพลิงศพ ระเบียบปฎิน้ตการไปงานศพ ๑๗๕ ๑๗๖ - การไปงานรดนํ้าศพ ๑๗๖ - วิธีปฏิบัติการรดนํ้าศพคฤหัสถ์ ๑๗๗ - วิธีปฏิบัติการรดนํ้าศพพระสงฆ์ ๑๗๘ - การไปงานตั้งศพบำเพ็ญกุศล ๑๗๘ - วิธีปฏิบัติการแสดงความเคารพศพคฤหัสถ์ ๑๗๘ - วิธีปฏิบัติการแสดงความเคารพศพพระสงฆ์ ๑๘๐ - การไปงานเผาศพ ๑๘๐ - ลำดับการขึ้นเมรุเผาศพ ๑๘๑ - วิธีปฏิบัติการเผาศพ ๑๘๒ www.kalyanamitra.org
หน้า ระเบียบปฎิบตการทำบุญเก็บอ้เ ๑๘๓ - การเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในพิธี ๑๘๓ - การกำหนดเวลาเก็บอ้ฐิ ๑๘๓ - วิธีปฎิฟ้ตในการเก็บอ้เ ๑๘๖ ระเบียบปฏิบดการทำบุญฉลองอ้เ ๑๘๗ - การกำหนดงานทำบุญฉลองอ้ฐิ ๑๘๗ - สถานที่จัดงานทำบุญฉลองอ้เ ๑๘๘ - การเดรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในพิธีทำบุญฉลองอ้ฐิ ๑๘๘ - การจัดงานทำบุญฉลองอ้เ ๑๘๙ ระเบียบปฎิบตการทำบุญบรรจุอ้เ ๑๙© - การกำหนดวันทำบุญบรรจุอ้ฐิ ๑๙๐ - การเดรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการทำบุญบรรจุอ้เ ๑๙๐ - สถานที่บรรจุอ้ฐิ ๑๙๑ - การจัดงานทำบุญบรรจุอ้ฐิ ๑๙๑ - วิธีปฎิบ้ดในการบรรจุอ้ฐิ ๑๙๒ ระเบียบปฏิบดการประกอบพิธีลอยอังคาร ๑๙๒ - การกำหนดวันประกอบพิธีลอยอังคาร ๑๙๒ - สิง*บองที่ควรเดรียมไปใช้ในการลอยอังคาร ๑๙๓ - วิธีปฎิบ้ดในการลอยอังคาร ๑๙๓ - ช้อเสนอแนะเพื่อพิจารณา ๑๙๕ www.kalyanamitra.org
ระเบียบปฏิบ้ตของชาวพุทธ ระเบียบปฏิบตในชีวิตประจำว้น ระเบียบปฎิบตการจ้ดที่บูชาพระประจำบ้านเรือน ที่บูชาพระรืตนฅรืย - พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ผู้นับถือพระพุทธศาสนานิยมจัด ที่บุชาพระรัตนตรัยไว้ประจำบ้านเรือนชองตนๆ สำ หรับเป็นที่ สักการบูชา เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่บ้านเรือนด้วยและเพื่อ ความอยู่เย็นเป็นสุชฃองบุคคลทั้งหลายในครอบครัวด้วย ที่บูชา พระรัตนตรัยนั้น ประกอบด้วยสิงสำคัญ ๔ อย่าง คือ:- ๑. พระพุทธรูป ๑ องค์ เป็นอย่างบ้อย (นิยมพระพุทธ รูปปางมารวิชัย) ๒. กระถางรป ๑ ลูก ๓. เชิงเทียน ๑ คู่ เป็นอย่างบ้อย ๔. แจกัน ๑ คู่ เป็นอย่างน้อย และมีโต๊ะสำหรับรองพระพุทธรูปใบ้สูงเด่นขึ้นพอสมควร ถ้า อาคารบ้านเรือนใม่กว้างชวาง นิยมมีหิ้งพระติตกับช้างฝา ถ้า อาคารบ้านเรือนใหญ่โตกว้างชวาง นิยมมีโต๊ะหม่บูชาพระจัตใว้ เป็นสถานที่พเศษบ้องหนึ่งด่างหาก นิยมเรืยกว่า \"บ้องพระ'' ประจำบ้านเรือน www.kalyanamitra.org
พระพฑธรูปปางมารวิชัย -• พระพุทธรูปปางมารวิชัย คือ พระพุทธรูปแบบทรงชนะ พญามาร มีพระพุทธลักษณะดังนี้ คือ เป็นพระพุทธรูปนั่งชัด สมาธิราบ (คือ ชาชวาทับชาซ้าย) หรือนั่งขัดสมาธิเพชร (คือ ชาชวาชัดกับชาซ้าย) พระทัตถ์ซ้ายวางหงายไว้ที่หน้าดัก พระหัตถ์ ชวาวางควรไว้ที่หัวเช่าชวา นี้วพระหัตถ์ชวาทั้ง ๕ ชี้ลง ณ พื้นดิน - พระพุทธรูปปางมารวิชัยนี้ นิยมกันว่า เป็นพระพุทธรูป ที่ป้องกันภยันตราย ความเสนียดจัญไรทุกประการรักษาคุ้มครอง ผู้ลักการบูชาให้มีความสุชความเจริญร่งเรือง ความสำเร็จในส์งที่ ประสงค์จำนงหมายอันชอบธรรมทุกประการ พระพุทธรูปประจำวินเกิด - พระพุทธรูปที่นิยมอัญเชิญมาตั้งที่บูชานั่น นอกจากพระ- พุทธรูปปางมารวิชัย ซึ่งเป็นพระประธาน ณ ที่บูชานั่นแล้วยัง นิยมอัญเชิญพระพุทธรูปบูชาประจำวันเกิดชองเจ้าบ้านมาตั้ง ณ ที่บูชาหันด้วย เพี่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเอง พระพุทธรูปบูชา ประจำวันเกิด มีดังนี้ะ- ๑. คนเกิดวันอาทิตย์ พระพุทธรูปยืน ปางถวายเนตร พระ หัตถ์ทั้งสองห้อยลง (พระหัตถ์ชวาวาง ทับพระหัตถ์ซ้าย อยู่ช้างหน้า) ๒. คนเกิดวันจันทร์ พระพุทธรูปยืน ปางห้ามญาดิ ยกพระ หัดถ์ชวาแบอยู่ระดับหน้าอก พระหัตถ์ www.kalyanamitra.org
ซ้ายห้อยอยู่ข้างตัว หรือพระพุทธรูป ยืนปางห้ามสมุทร ยกพระหัตถ์ทั้งสอง แบอยู่ระตับหน้าอก ๓. คนเกิดวนอังคาร พระพุทธรูปปางไสยาสน้ (นอน) หรือ พระพุทธรูปปางลีลา ปางก้าวหน้า พระหัตถ์ซ้ายห้อยอยู่ข้างตัว พระหัตถ์ ขวายกขึ้นแบอยู่ระตับหน้าอก กำอัง ย่างพระบาทเดิน ๔. คนเกิดวันพุธ พระพุทธรูปยืน ปางอุ้มบาตร ๕. คนเกิดวันพฤหัสบสื พระพุทธรูปปางนั่งขัดสมาธิเพชร (ขา ขวาขัดกับขาซ้าย) ๖. คนเกิดวันศุกร์ พระพุทธรูปยืน ปางทรงรำฟ็ง พระ หัดถ์ทั้งสองวางหับกันไว้ที่หน้าอก ๗. คนเกิดวันเสาร์ พระพุทธรูปนั่ง ปางนาคปรก เครื่องสักการบูชาพระรัตนตรัย - เครื่องอักการบชาพระรัตนตรัยนั่น ชาวพุทธไทยเรานิยม นำมาบูชาเป็นประจำเสมอ ในการประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธ- ศาสนาทั้งงานมงคล และงานอวมงคล มี ๓ อย่าง คือ:- 0. ธูป ๒. เฑืยน ผ. ดอกไม้ www.kalyanamitra.org
๔ ธูปสำหร้บบูชาพระพทธเจ้า - ธูปนั้น สำ หรับบุชาพระพทธเจ้า นิยมจุดบุชาครั้งละ ๓ ดอก เป็นอย่างน้อย โดยมีความมุ่งหมายว่า พระพุทธเจ้านั้น พระองค์ทรงมีพระคุณเป็นอันมาก ยากที่จะพรรณนาให้สินสุดได้ แต่เมื่อประมวลกล่าวเฉพาะพระคุณที่เป็นใหญ่เป็นประธานแห่ง พระคุณทั้งปวง คงมี ๓ ประการ คือ:- ๑. พระป'ญญาธิคุณ ๒. พระบริสุทธิคุณ ๓. พระมหากรุณาธิคุณ ธูปทัง ๓ ดอกนัน สำ หรับจุดเพื่อบุชาพระพุทธคุณทั้ง ๓ ประการ นี้ แต่บางท่านก็อธิบายความมุ่งหมายแดกต่างออกไปว่า ธูป ๓ ดอกนั้น เพื่อบุชาพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ ประเภท คือ:- ๑. อดีดสัมพุทธะ พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีต ๒. อนาคตสัมพุทธะ พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอนาคต ๓. ฟ้จจุบันสัมพุทธะ พระพุทธเจ้าในปจจุบัน - ธูปสำหรับจุดบุชาพระพุทธเจ้านั้น นิยมใช้ธูปมีกลิ่นหอม โดยมีความมุ่งหมายว่า ธรรมดากลิ่นธูปนี้เป็นกลิ่นหอมที่น่าอัศจรรย์ กว่ากลิ่นหอมต่าง ๆ ที่ชาวโลกนิยมใช้กัน - กลิ่นหอมที่ชาวโลกนิยมใช้กันอยู่ทุกชนิด เมื่อบุคคลได้ สูดกสินแล้วเป็นเหตุทำให้กิเลสฟูตัวขึ้น ทำ ให้จิดใจฟ้งซ่านไม่สงบ สํวนกสินหอมชองธูปบัน เมื่อบุคคลได้สูดกลิ่นแล้วเป็นเหตุทำให้ กิเลสยุบตัวลง ทำ ให้จิตใจสงบไม่ฟ้งซ่าน www.kalyanamitra.org
- อนึ่ง ธูปนั้นแม้จะลูกไฟไหม้หมดไปแล้ว แต่กลิ่นหอม ของธูปนี้ก็ยังหอมหวนอบอวลอยู่ในบริเวณนั้นได้เป็นเวลานาน ฉันใด พระคุณของพระพุทธเจ้า ก็เป็นที่ซาบซึ้งเข้าถึงจิดใจ ของบุคคลทั้งหลาย โดยที่สุด แม้แต่มหาโจรใจเหี้ยม เช่น องคุลิมาลโจร เป็นด้น ย่อมทำให้ผู้นั้นมีจิตใจสงบระงับจากการ ทำความชั่ว หันหน้าเข้าส่ความดี และแม้พระพุทธเจ้าจะได้ เสด็จดับข้นธปรินิพพานไปนานถึง ๒ พันปีเศษแล้วก็ดาม แต่ พระพุทธคุณก็ยังปรากฎซาบซึ้งตริงอยู่กับจิตใจของพุทธศาส- นิกชนทั้งหลายดลอดมาจนกระทั้งทุกวันนี้ ฉันนั้น เทียนสำหรบบูชาพระธรรม - เทียนสำหรับบุชาพระธรรม นิยมจุดบุชาครั้งละ ๒ เล่ม เป็นอย่างน้อย โดยมีความบุ่งหมายว่า พระศาสนธรรมคำทั้งสอน ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น แยกออกได้เป็น ๒ ประเภทได้ใน คำว่า \"ธมฺโม ทุพฺพิโธ\" แปลว่า \"พระธรรมมี ๒ อย่าง\" ดีอ:- ๑. พระวินัย สำ หรับแกหัดกายและวาจาให้เป็นระเบียบ เรียบร้อย ๒. พระธรรม สำ หรับอบรมจิตใจให้สงบระงับจากความชั่ว ทุจริตทุกประการ เทียนที่นิยมจุดบุชาครั้งละ ๒ เล่ม ก็เพื่อบุชาพระวินัยเล่ม ๑ และบุชาพระธรรม อีกเล่ม ๑ www.kalyanamitra.org
- เทียนสำหรับบชาพระธรรมนั้น นิยมใช้เทียนขนาดใหญ่ พอสมควรแก่เชิงเทียน ความนิยมใช้เทียนจุดบูชาพระธรรมนั้น โดยมีความมุ่งหมายว่า ธรรมดาเทียนนี้ บุคคลจุดขึ้น ณ สถานที่ใด ย่อมกำจัดความมีดในสถานที่นั้นให้หายหมดไป ทำ ให้เกิดแสงสว่าง ขึ้น ณ สถานที่แห่งนั้น ฉันใด - พระคาสนธรรมคำสังสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น บุคคลใดมาสืกษาอบรมเกิดความรู้ความเช้าใจขึ้นแล้ว ย่อมกำจัด ความมีด คือ โมหะ ความโง่เขลาเบาฟ้ญญาในจิตใจของบุคคล นั้นให้หายหมดไป ทำ ให้เกิดแสงสว่าง คือ ฟ้ญญาขึ้นภายใน จิดใจของดน ฉันนั้น ดอกไม้สำหรับบูชาพระสงฆ์ - ดอกไม้สำหรับบูชาพระสงฆ์นั้น โดยมีความมุ่งหมายว่า ธรรมดาดอกไม้นานาพันธุ เมื่อยังอยู่ ณ สถานทเกิดของมัน ก็ย่อมมีความสวยงามตามสมควรแก่สภาพของพัน^ม้นั้นๆ ครั้น เราเก็บดอกไม้นานาพันธุเหล่านั้นมากองรวมกันไว้โดยมิได้จัดสรร ย่อมหาความเป็นระเบียบมิได้ ย่อมไม่สวยงาม ไม่น่าดู ไม่น่าชม ต่อเมื่อนายมาลาการ คือ ช่างดอกไม้ผู้ฉลาด มาจัดสรรดอกไม้ เหล่ามัน โดยจัดใส่แจกัน หรือจัดใส่พานประดับให้เช้าระเบียบ แล้ว ย่อมเป็นระเบียบเรืยบร้อยเกิดความสวยงามน่าดู น่าชม ฉันใด - บรรดาพระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย สมัยเมื่อ ยังเป็นคฤหัสถ์อยู่ม้านเรือนของดน ๆ ย่อมมีกิรืยามารยาททางกาย www.kalyanamitra.org
๗ ทางวาจา และจิตใจ เรียบร้อยตามสมควรแก่ภูมิชันแห่งตระกล ฃองตนๆ หยาบบ้าง ปานกลางบ้าง ละเอียดบ้าง ครั้นคฤหัสถ์ เหล่านั้น ซึ่งต่างชาติกัน ต่างตระกลกัน มีนิสัยอัธยากัยต่างๆ กัน มีศรัทธาเลื่อมใสเข้ามาบวชอยู่ร่วมกัน ถ้าไม่มีระเบียบปฎิบ้ดเป็น แบบแผนเดียวกัน พระสงฆ์สาวกเหล่านั้นก็จะหาความเป็น ระเบียบมิได้ ย่อมไม่เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธาเลื่อมใสของผู้ได้ประสบ พบเห็น ครั้นเมื่อพระพุทธเจ้าผู้เปรียบเสมือนนายมาลาการผู้ฉลาด ได้ทรงวางพระธรรมวินัยไว้เป็นแบบแผนประพฤติปฎิบ้ติจัตพระสงฆ์ สาวกเหล่านั้นใบ้ประพฤติปฎินัติอยู่ในระเบียบเดียวกัน จิงเกิด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย น่าเคารพ น่าสักการบูชา ฉันนัน - อนึ่ง ดอกไม้ล่าหรับใช้บูชาพระสงฆ์ นิยมใช้ดอกไม้ที่ เพยบพร้อมด้วยลักษณะ ๓ ประการ ดีอ:- ๑. มีสีสวย ๒. มีกลิ่นหอม cn. กำลังสดชื่น ดอกไม้ที่บูชาพระประจำวัน นั้น นิยมจัดเปลื่ยนใบ้สดอยู่เสมอ สันเป็นนิมิตหมายแห่งความสดชื่น ความร่งเรีองไม่นิยมปล่อยใบ้ เที่ยวแบ้ง เพฑะความเหี่ยวแบ้ง เป็นนิมิตหมายแห่งความหดหู่ใจ ความเลื่อมโทรม เป็นด้น - บุคคลผู้บูชาพระด้วยดอกไม้ที่มีสีสวย แต่ไม่มีกลิ่นหอม เช่น บูชาพระด้วยดอกไม้พลาสติก หรีอดอกไม้ประติษเ เป็นด้น ต่อไปในภายหม้า บุคคลผู้นั้นจะได้อะไรๆ ก็ถ้วนแต่มี www.kalyanamitra.org
รูปร่างลักษณะดี มีรูปสวย แต่คุณภาพไม่ดี ดังคำพังเพยว่า ''สวยแต่รูป แต่จูบไม่หอม'' - บุคคลผู้บูชาพระด้วยดอกไม้มีกลิ่นหอม แต่มีสีไม่สวย ต่อไปในภายหม้า บุคคลผู้นนจะได้อะไรๆ ก็ล้วนแต่มีคุณภาพดี แต่มีรูปร่างลักษณะไม่สวย ไม่งดงาม โดยที่สุดแม้จะได้คู่ครอง ก็ได้มีคนรูปร่างขี้เหร่ แต่นํ้าใจดี ดังคำพังเพยว่า \"ถึงรูปชํ่'ว ตัวดำ แต่นํ้าใจดี'' - บุคคลผู้บูชาพระด้วยดอกไม้กำลังสดชื่น ต่อไปในภายหน้า บุคคลผู้นั้นจะได้อะไรๆ ก็ล้วนแต่เป็นชองใหม่ๆ ไม่ด้องใช้ชอง ที่เชาใช้แล้ว เป็นมีอหนึ่ง ไม่ด้องเป็นมีอสองรองใคร ดังดัวอย่าง เช่น ชูชกมอายุแก่คราวป ได้นางอมิตดดาซึ่งเป็นสาวแรกรุ่น คราวลูกหลาน เป็นภรรยา เพราะอามิสงส์ที่ชูชกได้เคยบูชาพระ ด้วยดอกบัวดูมที่กำลังสดชื่น ฉะนั้น - บุคคลผู้บูชาพระด้วยดอกไม้ที่บอบชํ้าเหี่ยวแห้งต่อไปใ■น ภายหม้า บุคคลผู้นั้นจะได้อะไร ๆ ก็ล้วนแต่เป็นชองเก่า ๆ เหี่ยวๆ แห้งๆ เป็นชองที่ฝานมีอผู้อื่นมาแล้ว ดัวอย่าง เช่น นางอมิดดดาได้ชูชกแก'คราวปเป็นสามี เพราะโทษที่ได้เคยบูชา พระด้วยดอกไม้ที่บอบชํ้าเที่ยว ๆ ฉะนั้น สถานที่ตั้งที่บูชาพระร้ตนตรัย - ที่บูชาพระนั้น มิยมตั้งหันหม้าไปทางทิศตะวันออกเพราะ เป็นทิศที่พระพุทธเจ้าประหับนั้งตวัสรู้พระสัมมาสัมโพฐญาณ www.kalyanamitra.org
เป็นทิศแห่งความสำเร็จความประสงค์ ถ้าสถานที่ไม่อำนวย ก็นิยม ดั้งหันหน้าไปทางทิศเหนือ ถ้าสถานที่ไม่อำนวยก็นิยมดั้งหันหน้า ไปทางทิฬต้ ทิฬดทิศหนึ่ง ในบรรดาทิศทั้ง ๓ นี้ - แต่ไม่นิยมจัดดั้งที่บูชาพระ ให้หันหน้าไปทางทิศดะวันตก เพราะถือกันว่า เป็นทิศดรงกันข้ามกับทิศดะวันออกซึ่งเป็นทิศ แห่งความสำเร็จความประสงค์ ทิศตะวันดกจึงเป็นทิศแห่งความ ไม่สำเร็จความประสงค์ เป็นทิศอัสดงคดแห่งพระอาทิตย์ เป็น ทิศแห่งความดับ เป็นทิศแห่งความเส์อม ซึ่งเป็นนิมิตหมาย แห่งความไม่เจริญ ไม่รุ่งเรือง - ที่บูชาพระนั้น นิยมจัดดั้งไว้ทางด้านหัวนอน และจัดให้ อยู่ ณ ที่สูงพอสมควร หรือนิยมจัดดั้งไว้ ณ ห้องใดห้องหนึ่ง เป็นพิเศษ นิยมเรืยกว่า \"ห้องพระ\" ซึ่งเป็นสถานที่อันเป็นที่ เคารพโดยเฉพาะ ทุกคนที่เข้าไป ณ สถานที่นั้น สมควรแสดง ความเคารพทุกครั้งที่เข้าไป - ที่บูชาพระนั้น นิยมจัดดั้งไว้ ณ สถานที่นั้นคงเมื่อคน เดินผ่านไปมา ไม่เกิดความนั้นสะเทือน ไม่โยกโคลง ไม่นั้นคลอน นิยมถือกันสืบมาว่า ถ้าบ้านใด ที่บูชาพระไม่นั้นคง นั้นคลอน โยกโคลง พระพุทธรูปด้องนั้นสะเทือนอยู่เป็นนิตย์ คนในบ้านนั้น จะหาความสงบสุขได้ยาก มักจะเกิดความระสำระสายเดือดร้อน อยู่รั้าไป www.kalyanamitra.org
๑๐ ระเบียบปฏิบ้ตการบูชาพระประจำวัน การบูชาพระประจำวัน - ธรรมดาชาวพุทธย่อมมีชีวิตจิตใจ เนื่องด้วยพระรัตนตรัย มีพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งที่ระลึกในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพี่อให้ ตนมีความประพฤติดีประพฤติชอบ มีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้า ปราศจากภัยอันตรายต่างๆ และมีความอยู่เย็นเป็นสุข พ้นจาก ความอยู่ร้อนนอนทุกข์นานาประการ ฉะนั้น จึงนิยมเคารพ สักการบูชาพระรัตนตรัยเป็นประจำ วันละ ๒ ครั้ง เป็นอย่างน้อย ดีอ:- ๑. ดอนเช้า ก่อนออกจากบ้านไปประกอบภารกิจ การงาน ๒. ดอนกลางคืน ก่อนนอนพักผ่อน หรือนิยมสักการ- บูชาพระรัตนตรัยเป็นกรณีพิเศษอีก ๒ คราว คือ:- ๑. คราวเกิดความไม่สบายไจ ๒. คราวจะตัดสินไจเรื่องสำคัญ การบูชาพระก่อนออกจากใ}'าน - ทุกวัน เวลาเช้า ก่อนออกจากบ้านเรือนไปประกอบ ภารกิจการงานต่างๆ เมื่อแต่งกายเรืยบร้อยแก้ว ชาวพุทธ นั้งหลายผู้เคร่งต่อศาสนาย่อมนิยมเช้าห้องพระ หรือไปที่บูชาพระ นั้งคุกเข่า จุตเครื่องสักการบูชาพระ คือ:- www.kalyanamitra.org
๑๑ ๑. จุดเทียนเล่มท)วาของพระพทธรูปก่อน แล้วจุดเทียน เล่มซ้าย ๒. จุดธูป ๓ ดอก แล้วฟ้กที่กระถางธูป แล้วกราบพระรัดนตรัย แบบเบญจางคประดิษฐ์ (คือ ตังหน้าผาก ฝ่ามือทั้งสอง และหัวเข่าทั้งสองลงจรดพื้น) ๓ ครัง แล้วประณม มือกล่าวคำบุชาพระรัตนดรัย ตังนี้ะ- นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุฑธัสสะ'1 (กล่าว ๓ หน) อิมินา สักกาเรนะ ทุทธัง อะภิปูชะยามิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ อิมินา สักกา!รนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิฯ แล้วทั้งจิตอธิษฐานขอพร และขออำนาจคุณพระรัดนตรัยโปรด คุ้มครองป้องตันอภิบาลรักษาให้ตนมืจิตใจมันคงอยู่ในคุณงาน ความดี ปราศจากอุปสรรคตัยอันตรายทุกประการ ขอให้สำเร็จ ในสิงประสงค์จำนงหมายอันชอบธรรมทุกประการ แล้วกราบแบบ เบญจางคประดิษฐ์อีก ๓ ครั้ง พร้อมตับระลึกถึงพระรัตนตรัย ขณะกราบตังนี้: กราบครั้งที่ ๑ ระลึกว่า พุฑโธ ฒ นาโถ พระพุทธเจ้า เป็นที่พี่งของข้าพเจ้า กราบครั้งที่ ๒ ระลึกว่า ธัมโม เม นาโถ พระธรรม เป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า www.kalyanamitra.org
๑๒ กราบครั้งที่ ๓ ระลึกว่า สังโฆ เม นาโถ พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า เมื่อกราบพระรัดนตรัยครบ ๓ ครั้งแล้ว นิยมดับเทียนเลึยก่อน แล้ว เป็นเสร็จฟิธีบูชาพระก่อนออกจากบ้านเรือนไปประกอบ ภารกิจการงานประจำรัน การสวดมนต์ก่อนนอน - ชาวพุทธทั้งหลายผ้มีความเลื่อมใสมั่นคงในพระพุทธ- ศาสนานั้น ก่อนที่จะพักผ่อนหลับนอนประจำรัน นิยมสวดมนต์ ก่อนนอน เป็นภารกิจสุดท้ายประจำรัน โดยมีวิธีปฎิบ้ตดังนี้ะ- - จุดเครื่องลักการบูชาพระรัดนตรัย คือ จุดเทียน ๒ เล่ม และจุดธป ๓ ดอก เป็นอย่างน้อย บ้กธูปไท้เรืยบร้อยแล้ว มั่งคุกเข่าประณมมือ กราบพระรัดนดรัย ๓ ครั้ง แล้วประณม มือกล่าวคำบูชาพระรัดนฅรัย ดังต่อไปนี้ะ- นะโม ตัสสะ ภะคะวะโด อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะฯ (กล่าว ๓ หน) อิมินา สักคาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ อิมินา สักกา!รนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิฯ กราบพระรัดนดรัยแบบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้ง พร้อมลับ ระลึกลึงพระรัดนดรัยขณะกราบ ดังนี้:- www.kalyanamitra.org
๑๓ กราบครั้งที่ ๑ ระสิกว่า พทโธ เม นาโถ พระพุทธเจ้า กราบครั้งที่ ๒ ระสิกว่า เป็นที่พึ่งท)องจ้าพเจ้า กราบครั้งที่ ๓ ระสิกว่า ธัมโม เม นาโถ พระธรรม เป็นที่พึ่งของจ้าพเจ้า สังโฆ เม นาโถ พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งของจ้าพเจ้า เสร็จแล้ว นั่งพับเพียบประณมมือ ตั้งใจสวดมนต์ต่อไป ดังนี้:- บทนอบน้อมพระรตนตร้ย นะโม ฅสสะ ภะคะวะโด อะระหะโด สัมมาสัมพุฑธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโด อะระหะโด สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโด อะระหะโด สัมมาสัมพุฑธัสสะฯ บทพระไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง สัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง สัจจามิ สังฆัง สะระณัง สัจฉามิ ทติสัมริเ พุทธัง สะระเนง สัจฉามิ ฑุติยัมริ) ธัมมัง สะระณัง สัจฉามิ ฑุดิยัมริ) สังฆัง สะระณัง สัจฉามิ ดะดิสัมริ) พุทธัง สะระณัง สัจจามิ ดะติยัมริ) ธัมมัง สะระณัง สัจจามิ ดะดิสัมริ) สังฆัง สะระณัง สัจจามิฯ www.kalyanamitra.org
๑๔ บทสรรเสริญพระพุทธคุณ อิติปี โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมคุทโธ วิชชา จะระผะสัม!]นโน สุคะโด โลกะวิทู อะนุฅดะโร าเริละทัมมะ สาระลิ สัตลา เทวะมะนสสานัง พุฑโธ ภะคะวาติฯ บทสรรเสริญพระธรรมคุณ สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏเโก อะกาลิโก เอหิ!]สสิโก โอปะนะยิโก ป้จจัตตัง เวทิตัพโพ วิญณูหีติฯ บทสรรเสริญพระสังฆคุณ สุปะฏิ!]นโน ภะคะวะโต สะวะกะสังโฆ, อุชุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ณูายะปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะ กะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิตัง สัตตาริ ปุริสะสุคานิ, อัฏฐะ ปุริสะปคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต, สาวะกะสังโฆ, อา'หเนยโย ปา'สุเนยโย ตักขิเณยโย อัญชะลี กะระณีโย อะ'นุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลอัสสาติฯ บทแผ่เมตตาก่อนนอน อะตัง สุฃิโต โหมิ นิททุกโข อะเวโร อัพยาปัชโกเ อะนิโฆ สุขี อัตตาตัง ปะริหะรามีฯ ขอข้าพเจ้าจงลิงความสุข ปราศจากความทุกข์ ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่มีความคับแค้นใจ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาคน ใ'ค้พ้นจากทุกข์ภัย■ทั้งปวงเถิดฯ www.kalyanamitra.org
๑๕ สัพเพ สัตตา สุฃิตา โหนตุ นิฑทุกฃา อะเวรา อัพยาป้ชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ ท)อสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงถึงความสุท) ปราศจากความทุกข์ ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่มีความคับแค้นไจ จงมีความสุท)กายสุท)ใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งปวงเถิดฯ การน้อมระลึกถึงพระผู้มีพระคุณและอุปการคุณ - เมื่อกล่าวคำแฝเมตตาจบแล้ว พึงทั้งใจห้อมระถึกถึง พระคุณของบิดามารดาผู้บังเถิดเกล้าของตนกล่าวคือ ท่านเป็นผู้ ไค้ให้กำเนิดแก่ตนมา ท่านไค้มีเมตตากรุณาอุปถัมภ์คํ้าชู เลี้ยงดู ตนมาทั้งแต่เริ่มถือปฏิสนธิในครรภ์จนกระทั้งเติบใหญ่ ท่านไค้ อุปถัมภ์บำรุงให้มีความสุขความเจริญรุ่งเรืองนานาประการ แล้ว หมอบกราบพระคุณของบิดามารดาครั้งหนึ่ง ค้ายการกราบแบบ เบญจางคประติษฐ์ - ต่อแต่ทั้น พึงระถึกถึงอุปการคุณของครูอาจารย์ผู้ประสิทธิ้ ประสาทวิชาความรู้ให้แก่ตน แล้วหมอบกราบครั้งหนึ่ง ค้วยการ กระพ่มมีอกราบ ไม่ต้องแบมีอกราบภับพื้น - ต่อแต่ทั้น พึงระถึกถึงบุคคลทั้งหลายผู้ที่มีอุปการคุณ แก่ตน โดยไค้ช่วยเหลือเกื้อกูลให้ตนมีความสุขความเจริญ แล้ว หมอบกราบอีกครั้งหนึ่ง โดยการกระพุ่มมีอกราบเช่นเดียวถัน www.kalyanamitra.org
๑๖ - ครั้นแล้ว ลุกขึ้นนั่งคุกฟากราบพระรัตนตรัย ๓ ครั้ง และขณะหมอบกราบทุกครั้ง พงระสีกสืงพระรัตนตรัยดังกล่าวแล้ว เป็นเสร็จพิธีสวตมนต์ก่อนนอน - ในการสวดมนต์ก่อนนอนนี้ ชาวพุทธทั้งหลายผู้เคร่งครัด ต่อศาสนา โดยมากนิยมอบรมนั่งสอนลูกหลานทุกคนให้ปฎิบ้ด เป็นกิจวัตรประจำวัน โดยที่ลุตแม้แต่ลูกหลานที่ยังเล็กๆ อยู่ ก็สอนให้เข้าห้องพระ กราบพระเสืยก่อน แล้วจีงเข้านอน หรือ สอนให้กราบพระรัตนตรัยและกราบบิดามารตาครูอาจารย์ลงที่หมอน ๓ ครั้งก่อนแล้วจึงนอนได้ - ล้าชาวพุทธทั้งหลายส่วนมากอบรมนั่งสอนลูกหลานของ ตนๆ ให้สวดมนต์ไหว้พระ หรือให้กราบพระเล็ยก่อนแล้วจึงนอน ได้เช่นนี้ ย่อมจะเป็นเหตุให้เยาวชนทั้งหลายมีความกดัญณูกตเวที ต่อผู้มีพระคุณและอุปการคุณ ซึ่งจะเป็นเหตุให้เยาวชนทั้งหลาย มีหลักที่ยีดเหนี่ยวแห่งจิตใจ และเป็นที่เชื่อแน่ได้ว่า ล้าเด็กยังมี ความเคารพพระรัตนตรัยเป็นหลักแห่งจิตใจอยู่ จะไม่กลายเป็น คนอกดัญณู จะไม่เล็ยคน ในอนาคตแน่แห้ คาถาเสกหมอนก่อนนอน - ห่านบุรพาจารย์ได้สอนไว้ว่า ก่อนนอนเวลาครคืนทุกครั้ง ให้เสกหมอนด้วยคาถาว่า \"ฆะเฎสิ ฆะเฏสิ กึงการะฌา ฆะเฏสิ อะหังปี ตัง ชานามิ ชานามิ\" ดังนี้ ๓ ครั้ง แล้วใช้มือขวา ตบหมอนเพียงเบาๆ ๓ ครั้ง แล้วจึงนอน จะทำให้เกิตความ www.kalyanamitra.org
๑๗ เสีกตัวก่อนที่จะมีภัยอันตรายเกิดขืน เช่น จะร้สีกตัวตื่นขืนก่อน ขณะที่จะมีขโมยขึ้นบ้านเรือน เป็นด้น การบูชาพระฃณะเกิดความไฝสบายใจ - ขณะใดเกิดความไม่สบายใจ เกิดความกอัดกลุ้มใจ เกิด ความตับแค้นใจ เกิดความทุกข์ใจ เป็นด้น ชาวพุทธทั้งหสาย ผู้มั่นอยู่ในคุณพระรตนตรัย นิยมเข้าห้องพระ หรือไปที่บูชาพระ จุตเครื่องอักการบูชาพระรัตนตรัย ทำ จิตใจให้สงบอยู่ภับพระ- รัตนตรัย โดยปฎิบัตตังนี้ะ- - จุตเทียน และ ธูป ที่บูชาพระ แล้วมั่งคุกเช่าประณมมีอ กล่าวคำบูชาพระ ตังนี้ะ- นะโม ดัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมมาสัมพุทธัสสะฯ (กล่าว ๓ หน) อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิฯ จบแล้ว กราบพระรัตนตรัยแบบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครัง พร้อมภับระสิกถึงพระรัตนตรัยขณะกราบ ตังนี้ะ- กราบครั้งที่ ๑ ระถึกว่า พุทโธ เม นาโถ พระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า www.kalyanamitra.org
๑๘ กราบครั้งที่ ๒ ระลึกว่า ธัมโม เม นาโถ พระธรรม กราบครั้งที่ ๓ ระลึกว่า เป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า สังโฆ เม นาโถ พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า เสร็จแล้ว พีงนํ่งพับเพียบประณมมือ หรือนั่งขัดสมาธิ มือทั้งสอง วางหงายไว้ที่หน้าดัก โดยวางมือซ้ายอยู่ล่าง วางมือขวาหงาย อยู่บน หลับตาน้อมมืกลึงคุณพระรัตนตรัยเป็นอารมณ์ ทำจิตใจ ให้สงบระงับ ความทุกข์ใจเป็นต้นจะหายหมดใป จะเกิดความ สุขใจขึ้นมาอย่างน่าอัศจรรย์ การบูชาพระก่อนจะตดสินใจเรื่องสำคัญ - เมื่อต้องการจะดัดสินใจเรื่องสำคัญ ก็พีงปฎิบ้ตเช่นเคียว กับที่กล่าวมาแล้ว ครันทำจิตใจให้สงบระงับอยู่กับพระรัตนตรัย แล้ว พีงน้อมมืกลึงเรื่องสำดัญที่จะดัดสินใจนั้น นำมาพีนิจ- พิจารณาอย่างรอบคอบ ทั้งทางใต้และทางเลึย ทุกประการจะเกิด ความเตามความเป็นจริง เพราะมืพระบาลีรับรองว่า \"สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ\" แปลความว่า \"บุคคล ผู้มืจิตทั้งนั่นคีแล้ว ย่อมเทั้วลึงตามความเป็นจริง\" ดังนี้ www.kalyanamitra.org
๑๙ ระเบียบปฎิบตการบำเพ็ญสมาธิประจำวัน ความมุ่งหมายในการบำเพ็ญสมาธิ - การบำเพ็ญสมาธิประจำวันนี้ เป็นการฟิกสมาธิฃั้นต้น มีความมุ่งหมายเพื่อฟิกอบรมจิตใจที่มีกระแสจิดฟ้งซ่านไปใน อารมณ์ต่าง ๆ ให้กระแสจิตมารวมกันดั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว ที่ต้องการ ในการประกอบภารกิจในชีวิตประจำวัน ทำให้กระแส จิตเกิดพลังเข้มแข็งมั่นคงไม่หวั่นไหวง่าย - ธรรมดากระแสนํ้าที่ไหลแยกออกไปหลายสาย พลังของ กระแสนํ้านั้นย่อมอ่อนกำลังลง ไม่สามารถจะนำไปใช้ให้สำเร็จ ประโยชใ?ใต้ แต่ถ้าทำเขื่อนดั้นกระแสนั้าเหล่านั้นให้ไหลไปรวม เป็นสายเดียวกันไต้ พลังของกระแสนั้านั้นย่อมไหลแรงขึ้น สามารถใช้กระแสนั้านั้นให้สำเร็จประโยชใ?ใต้นานาประการ เซ่น ใช้ผลิตไฟฟ้าพลังนั้าเป็นต้น ฉันใด - จิตใจของคนเราก็เหมีอนกัน ถ้าปล่อยให้คิดฟ้งซ่านไป ในอารมณ์ต่างๆ พลังกระแสจิตก็จะอ่อนลงๆ จนกลายเป็นคน ใจอ่อน ทำอะไรไม่สำเร็จ จะทำอะไรก็ไม่ไว้ใจตัวเอง ไม่เป็นตัว ของตัวเอง แต่ถ้าไต้ฟิกอบรมจิตให้เป็นสมาธิมั่นคงอยู่กับอารมณ์ เดียวตามที่ต้องการไต้แล้ว กระแสจิตก็มีพลังมหาศาลสามารถ นำไปใช้ให้สำเร็จประโยชใ?ใต้อเนกประการเป็นประโยชใโอย่างยิ่ง แก่ใJคคลที่ทำงานต้วยการใช้สมองใช้สติ ป'ญญา ใโกบริหาร ผู้นำ หมู่คณะ และในการสืกษาเล่าเรียน 'นกเรียน 'นักสืกษาที่มีจิตใจ www.kalyanamitra.org
1ร>๐ มั่นคงมีสมาธิสี ไม่๓ดความคิดฟังซ่านในขณะเรียน ย่อมเรียน วิชาการต่าง ๆ มีความเข้าใจไค้สีและรวดเร็วถกค้องดามความ เป็นจริง มีความทรงจำไค้แม่นยำสี ไม่ลืมเลือนง่าย มีพระบาลี พุทธภาษิตตรัสรับรองไว้ว่า \"สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ\" แปลความว่า \"บุคคลผู้มีจิดใจเป็นสมาธิมั่นคงสีแล้ว ย่อมเมั่วลืง ดามความเป็นจริง\" ดังนี้ฯ วิธีปฏิบตกํอนบำเพ็ญสมาธิ - ผู้จะเริ่มบำเพ็ญสมาธิ พึงจุดเครื่องสักการบูชาพระ- รัตนตรัย คือ ธูป เทียน แล้วมั่งคุกเข่า ประณมมีอ กล่าวคำ นอบน้อมบูชาพระรัตนตรัย ตามลำดับต่อไปนี้:- คำ บูชาพระริตนตรัย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะฯ (กล่าว ๓ หน) อิมินา สักกา!รนะ พุทธง อะกิปูชะยามิ อิมินา สักกา!รนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ อิมินา สักกา!รนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิ คำ นอบน้อมพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะรันติง อะภิวา!ฑมิฯ (กราบ) สวากฃาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิฯ (กราบ) www.kalyanamitra.org
๒๑ สุปะฏิป็นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ (กราบ) คำ แฝเมตตา อะหัง สุฃิโฅ โหมิ นิททุกโฃ อะทโร อัพยาปัชโฌ อะนีโฆ สุขี อัดตานง ปะริหะรามิฯ ขอข้าพเจ้าจงถึงความสุข ปราศจากความทุกข์ ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่มีความคับแค้นใจ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตน ให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งปวง เถิดฯ สัพเพ สัตตา สุขีตา โหนตุ นิททุกขา อะเวรา อัพยา ปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จนถึงความสุข ปราศจากความทุกข์ ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่มีความคับแค้นใจ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งปวง เถิดฯ คำ บูชาพระรัตนตรัยดวยการบำเพ็ญสมาธิ เมายะ สัมมาทุธัมมะปะฏิปตติยา ระตะนัตตะอัง ปูเชมิฯ ข้าพเจ้าขอบูชา ซึ่งพระรัตนตรัย ด้วยการประพฤติธรรม อันสมควรแก่ธรรมนี้ฯ จบแล้วกราบ ๑ ครั้ง แล้วนงบำเพ็ญสมาธิ www.kalyanamitra.org
วิธึนังบำเพ็ญสมาธิ - ผ้บำเพ็ญสมาธิพึงนํ่งฃ้'ดสมาธิราบ คือ ฃาฃวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย วางมือหงายไว้บนหน้าตักดั้งตัวดรงมองทอด สายดาไปข้างหน้าประมาณ ๒ ศอก แล้วหลับดา มืสติลัมป- ชัญญะระลึกร้สีกตัวอยู่เสมอ กำหนดลมหายใจเข้า-ออก พร้อม กับระลึกลึงพระพุทธคุณเป็นอารมณ์ คำ บริกรรมฃณะบำเพ็ญสมาธิ - ผู้บำ เพ็ญสมาธิ พึงนึกลึงคำบริกรรม ดามวิธีอานาปา- นสสติ คือ การกำหนดลมหายใจเข้า-ออก พร้อมกับพุทธานฺสสติ ตังนะ- - ขณะหายใจเข้า น้กลึงพระพุทธคุณว่า \"พุท\" - ขณะหายใจออก นึกลึงพระพุทธคุณว่า \"โธ\" พึงมืสติลัมปชัญญะระลึกร้ลึกตัวอยู่เสมอ กำหนดลึงลมหายใจ เข้าออก และพระพุทธคุณควบคู่กันอย่างนี้ดลอดไป กำ หนดเวลานั่งบำเพ็ญสมาธิ - ผู้เริ่มบำเพ็ญสมาธิ ควรนั่งบำเพ็ญสมาธิด้วยระยะเวลาลันๆ เพึยง ๑๐-๑๕ นาที ไปพลางก่อน ครั้นเมื่อร่างกายเกิดความ เคยชินต่อการนั่งแล้ว พึงเพิ่มเวลานั่งให้มากขึ้นดามลำตับ - เวลานั่งสมาธิเหมาะที่สุด คือ เวลากลางคืนก่อนนอน ซึ่งเป็นเวลาเงียบสงัดเหมาะแก่การบำเพ็ญสมาธิ www.kalyanamitra.org
๒๓ - ก่อนจะเลิกนั่งบำเพ็ญสมาธิ พ็งลุกขึ้นนั่งคุกเข่ากราบ พระรัดนครัย ๓ ครั้งก่อน แล้วจึงเลิกนั่งๆ ระเบียบปฎิบตการสำรวจชีวิตประจำวัน การสำรวจผลได้ผลเสียของครอบครัว - ดอนหัวคร หลังจากรับประทานอาหารดรเสร็จแล้ว ครอบครัวชาวพุทธที่ดีที่มีความอยู่เย็นเป็นสุฃ นิยมประชุมพบปะ ลังสรรค์ลันระหว่างบุคคลในครอบครัว คือ พ่อ แม่ และลูกๆ ไต่ถามลัน ปรึกษาหารือลันและลันลิงผลงานในชีวิดประจำวัน ที่ฝานมาแล้วโดยย่อ ดังนี้:- ๑. ใครทำความคืเต่นอะไรบ้าง? ๒. ใครทำความผิดพลาดอะไรบ้าง? ๓. ใครมีอุปสรรคชัดข้องในการดำเนินชีวิดอย่างไรบ้าง? ๔. ใครมีบ้ญหาชัดข้องใจอะไรบ้าง? เป็นต้น - ทั้งนี้ โดยมีพ่อและแม่เป็นที่ปรึกษา เป็นผู้ใบ้การแนะนำ พรั้าสอน และพ่อแม่จะต้องพร้อมที่จะยกย่องสรรเสริญลูกผู้ทำ ความคื ทั้งพร้อมที่จะใบ้อลัยในความผิดพลาดชองลูกในเมื่อลูก ยอมรับสารภาพและสำนิกผิดแล้ว - เมื่อปฎิบ้ดไต้ดังนี้ทุกวัน หรือส่วนมาก เชื่อแน่ไต้ว่าลูกๆ จะมีความกดัญณกดเวทีต่อพ่อแม่ ล้าครอบครัวชาวพุทธส่วนมาก www.kalyanamitra.org
๒๔ ปฎิบ้ตได้ดังกล่าวแล้ว เยาวชนทั้งหลายซองชาติไทยจะเป็นเด็กสี ที่น่ารก จะไม่เกิดฟ้ญหาแก่สังคมแน่แท้ การสำรวจผลได้ผลเสียของตัวเอง - ชาวพุทธผู้มั่นอยู่ในพระศาสนธรรมคำสอนของพระพุทธ- ศาสนา ก่อนนอนทุกวัน นิยมสำรวจวิถีชีวิตซองตนเองในรอบวัน ที่ฝานมาแล้ว เป็นการทำงบประมาณชีวิตประจำวัน ทั้งแด่เริ่ม ตื่นนอนเช้าดลอตมาจนถีงเวลานอนสืนนี้ ได้ตำเนินชีวิตไปอย่างไร ได้กำไร หรือซาดทุน กล่าวคือะ- - ล้าประพฤติสุจริตทางกาย ทางวาจา และทางใจมากกว่า ประพฤติทุจริต นับว่าได้กำไรชีวิต ชีวิตล่วงไปโดยไม่เปล่า ปราศจากประโยชน์ คือ คุณงามความสี - ล้าประพฤติทุจริตทางกาย ทางวาจา และทางใจมากกว่า ประพฤติสุจริต นับว่า ซาดทุนชีวิต ชีวิตล่วงไปโดยเปล่า ปราศจากประโยชน์ คือ คุณงามความสี ซํ้ายังประพฤติชั่วทุจริต เป็นเหตุทำให้ชีวิตเศร้าหมองตื่าทรามลงอีกด้วย - เมื่อได้สำรวจแล้ว ทราบว่า ได้กำไรชีวิต ก็พงปลื้มปีติ ยินดีว่า วันนี้ ชีวิตความเป็นอยู่ซองเรานิประโยชน์ ได้สร้างสม อบรมบุญวาสนาบารนิอันจะเป็นปุพเพกตปุญญดาสำหรับตนใน ภพชาติด่อ ๆ ไป - เมื่อสำรวจแล้ว ทราบว่า ซาดทุนชีวิต ก็ฟ็งตำหนิดัวเอง ว่า ไม่สมควรประพฤติอย่างนั้น แล้วทั้งจิตอธิษฐานว่า จะไม่ ประพฤติชั่วทุจริตอย่างนั้นอีกด่อไป จะทั้งใจประพฤติแด่สุจริต www.kalyanamitra.org
๒๕ - ด้วยวิธีการปฎิปดิอย่างนี้เป็นประจำทุกคืน หลังจากบูชาพระ สวดมนต์แล้ว จะเป็นเหตุให้เป็นคนไม่ประมาทลืมตัว ไม่ปล่อยตัว ให้ถลำลงไปไนความชั่วเสียหายจนสายเกินแก้ และจะเป็นเหตุ ให้ประพฤติสุจริตลันเป็นคุณงามความคืได้มากกว่าประพฤติทุจริต ลันเป็นความชั่วเสียหาย จะเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยบุญวาสนามีเพิ่ม มากยิ่งๆ ขึ้น จนกว่าจะล่วงลับตับขันธ์ไปคามอายุขัย การวางแผนวิถีชีวิตว้นต่อไป - เวลาเช้า ก่อนจะออกจากบ้านไปประกอบภารกิจการงาน หาเลี้ยงชีพประจำวัน หลังจากบูชาพระรัคนตรัยแล้ว นิยมติค วางแผนการ วางโครงการล่วงหน้าเสียก่อนโคยย่อตังนี้:- ๑. จะไปติคต่อลับไตร ที่ไหน เมื่อไร? ๒. จะไปทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร? ๓. จะทำอะไรก่อน จะทำอะไรภายหลัง ๔. จะทำอย่างไร จึงจะได้ผลดีมากกว่าผลเสีย? เป็นด้น - เมื่อได้วางแผนการ วางโครงการ ไว้เริยบร้อยแล้ว ครั้น ออกจากบ้านไปแล้ว ก็ม่งหน้าไปทำภารกิจการงานตามแผนที่ได้ วางไว้ - เมื่อปฏิบัติได้ตังนี้ ความผิคพลาคในการคำเนินชีวิต ประจำวัน จะเกิคมีน้อยที่สุค หรืออาจไม่เกิคมีเลย จะมีแต่ความ เรืยบร้อยและได้ผลดี ได้กำไรชีวิต ไม่ปล่อยไห้กาลเวลาล่วงเลย ไปโคยเปล่าปราศจากประโยชน์ www.kalyanamitra.org
๒๖ ระเบียบปฏิป้ตการทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ การทำบุญตักบาตรประจำวัน - ชาวพุทธที่ฟ้นคฤหัสถ์ผ้อยู่ครองเรือน มีฐานะเป็นอุบาสก บริษัทและอุบาสิกาบรืหัท ซึ่งมีหน้าที่จะต้องช่วยกันบำรุงรักษา พระพุทธศาสนาไว้ให้ดำรงอยู่และให้เจริญรุ่งเรืองสิบไปเพื่อเป็น ประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม ตลอดถึงชาวโลกด้วย - พระพุทธเจ้าไต้ตรัสเพระธรรมแล้ว ทรงเทศนาสังสอน พุทธบริษัท ๔ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระสงฆ์ พุทธสาวกเป็นผู้รับมรดก ทรงจำพระศาลนธรรมคำสังสอนชอง พระพุทธเจ้าไว้ พระพุทธศาสนาจึงยังดำรงอยู่ไต้ตลอดมาจน กระทั่งฟ้จจุษันนี้ - พระสงฆ์พุทธสาวกทั้งหลาย ย่อมดำรงชีวิตอยู่ไต้ด้วย ฟ้จจัยที่ทายกอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายจัดถวาย ตราบใดที่ทายก อุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายยังบริจาคฟ้จจัยช่วยอุปกัมถ์บำรุงพระสงฆ์ อยู่ พระสงฆ์ก็ยังคืกษาเล่าเรืยนทรงจำรักษาพระพุทธศาสนาไว้ไต้ ตราบนั้น - หากทายกอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายเลิกบริจาคฟ้จจัยช่วย อุปกัมถ์บำรุงพระสงฆ์เมื่อใด เมื่อนั้น พระสงฆ์ก็จะดำรงชีพอยู่ ไม่ไต้ และพระพุทธศาสนาก็จะอันดรธานเส์อมสูญไปโดยไม่ต้อง สงสัย www.kalyanamitra.org
๒๗ - เพราะฉะนั้น การที่ทายกอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายช่วยกัน บริจาคฟ้จจัยอุปถัมภ์บำรุงด้วยการทำบุญกักบาตรพระสงฆ์เวลาเช้า ประจำวันนี้ จึงนับได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งที่ได้ช่วยกันสืบต่ออาย พระพุทธศาสนาให้ดำรงอยู่ และให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไปได้ตลอด กาลนาน - ความจริง การกักบาตรประจำวันนี้เป็นวิธีการสร้างบุญ วาสนาบารมีอันจะเป็นปุพเพกตปุญญตาสำหรับตนต่อไปในอนาคต โตยตรง และเป็นผลดีที่ได้ช่วยอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนา โตยอ้อม - การกักบาตรประจำวันนี้ นิยมอัตทำตามกำอังศรัทธาและ ตามความสามารถแห่งกำอังทรัพย์เท่าที่จะทำได้ โตยไม่เกิตความ เดีอตร้อนในการครองชีพ เช่น กักบาตรวันละ ๑ รูปบ้าง ๒ รูป บ้าง ๓ รปบ้าง เป็นด้น การทำบุญฑึ่มีผลานิสงส์มาก - การทำบุญในพระพุทธศาสนาที่มีผลานิสงส์มาก เช่น การทำบุญกักบาตรพระสงฆ์เป็นด้น จะด้องประกอบพร้อมด้วย องภ์คุฌ ๓ ประการ ดีอ:- ๑. นัจจัยวัตอุสิงของสำหรับทำบุญบริสุทธิ้ ๒. เจตนาของผู้ถวายบริสุทธิ้ และ ๓. พระภิกษุสามเณรเป็นผู้บริสุทธิ้ www.kalyanamitra.org
๒๘ ป้จจ้ยว้ตถสิ่งฃองสำหรับทำบุญบริสุทธิ - ความบริสุทธิ้ฃองฟ้'จจัยวัตถุสิงของที่นำมาทำบุญนั้น มี ลกษณะดังนี้: ๑. เงินที่นำมาจับจ่ายใช้สอยซื้อหาวัตถุสิงของนั้นต้องเป็น เงินที่ไต้มาต้วยการประกอบสัมมาอาชีวะ เกิตขึ้นจากหยาดเหงื่อ แรงงานของตนโตยตรง ๒. สิงของที่นำมาทำบุญนั้นเป็นของบริสุทธิ้ คือ มิไต้ เบียดเบียนชีวิตคนและสัตว์อื่น เช่น ฆ่าสัตว์มาทำบุญ เป็นต้น ๓. วัตถุสิงของที่นำมาทำบุญนั้นเป็นของมีคุณภาพดี และ เป็นส่วนที่ดีที่สุดในบรรดาสิงของที่มีอยู่ เช่น ข้าวสุกที่นำมาดักบาตร นั้นก็เป็นข้าวปากหม้อ แกงก็เป็นแกงถ้วยแรกที่ดักออกจากหม้อ เป็นต้น ๔. วัตถุสิงของนั้นสมควรแก่สมณบริโภค ไม่เกิดโทษแก่ พระกิกบุสามเณร และมีประมาณเพียงพอแก่ความต้องการ เจตนาของผู้ถวายบริสูทธิ - เจตนา คือ ความตั้งใจของผู้ทำบุญนั้น ต้องบริสุทธิ้ใน กาลทั้ง ๔ คือะ- ๑. ปุพพเจตนา ความตั้งใจก่อนจะทำบุญ มีความเลื่อมใส ศรัทธา ไม่มีความตระหนี่ถี่เหนียว ไม่มีความเสียดาย www.kalyanamitra.org
๒๙ ๒. มุญจนเจตนา ความตั้งใจขณะทำบุญ มีความเลื่อมใส ศรัทธา มีความปลาบปลื้มปีติยินดีในการทำบุญนั้น ๓. อปรเจตนา ความตั้งใจหลังจากทำบุญไปแล้วภายใน ๗ วัน หวนระลึกถึงการทำบุญที่ล่วงมาแล้ว มีความปีติโสมนัส ในบุญกุศลนั้น ไม่มีความเสิยดาย ๔. อปราปรเจตนา ความตั้งใจภายหลังจาก ๗ วัน ไปแล้ว แม้เป็นเวลานานๆ หวนระลึกนกถึงการทำบุญครั้งใดก็ปลาบปลื้ม ปีติโสมนัสครั้งนั้น ผลานิสงส์เจตนาบริสุทธิ - บุคคลที่ทำบุญด้วยเจตนาความตั้งใจบริสุทธิ้ทั้ง ๔ กาล ดังกล่าวแล้ว ต่อไปในอนาคตเมื่อเกิดในภพใหม่ชาติใหม่ย่อมจะ มีความสุขความเจริญรุ่งเรืองตั้งแต่เกิดจนตลอดอายุขัยในภพและ ชาตินั้นๆ โทษฃองเจตนาไม่บริสุทธี้ - ล้าปุพพเจตนา ความตั้งใจก่อนจะทำบุญไม่บริสุทธิ้ เมื่อ เกิดในภพใหม่ชาติใหม่ เบื้องด้นแห่งชีวิต คือ ตั้งแต่เกิดจนถึง อายุ ๒๕ ปี จะมีแต่ความทุกข์ยากลำบากเดือดร้อน จะหาความ สุขได้ยาก จะเริ่มมีความสุขความเจริญตั้งแต่อายุ ๒๖ ปี เป็นด้น ไปจนตลอดอายุขัย www.kalyanamitra.org
- ถ้ามุญจนเจตนา ความตั้งใจขณะทำบุญไม่บริสุทธิ้จะทำ ให้เกิดความทุกข์ยากลำบากเดือดร้อนตั้งแต่อายุ ๒๖ ปี จนถึง อายุ ๕๐ จะเริ่มม่ความสุขตั้งแต่อายุ ๕๑ ปี เป็นด้นไป จนดลอด อายุขัย - ถ้าอปรเจดนา ไม่บริสุทธิ้ ดือ ปีกเสิยดาย จะทำให้เกิด เป็นทุกข์ยากลำบากเดือดร้อนตั้งแต่อายุ ๕๑ เป็นด้นไป จนถึง อายุ ๗๕ ปี หลังจากนั้นจึงจะมีความสุขจนดลอดอายุขัย - ถ้าอปราปรเจดนา ไม่บริสุทธิ้ จะทำให้เกิดความทุกข์ยาก ลำบากเดือดร้อนตั้งแต่อายุ ๗๖ ปี เป็นด้นไปจนดลอดอายุขัย - อนึ่ง บุคคลที่ทำบุญให้ทานแล้ว ปีกเสืยดายในภายหลัง ดือ อปรเจตนาและอปราปรเจดนาไม่บริสุทธิ้ เมื่อเกิดในภพใหม่ ชาติใหม่ แม้จะเป็นคนรารวยเป็นเศรษฐี แต่ก็เป็นเศรษฐีขี้เหนียว เพราะโทษที่เกิดจากการทำบุญให้ทานแล้วปีกเสิยดายในภายหลัง พระภิกษุสามเณรเปีนผ้บริสุทธึ - พระกิกบุสามเณรเป็นผู้บริสุทธิ้นั้น ได้แก่ พระกิกบุ สามเณรผู้เป็นบุญเขดนั้นเป็นผู้บริสุทธิ้ คือ ปราศจากราคะ โทสะ โมหะ โดยสินเชิง หมายถึงพระอริยบุคคล หรือ - พระภิกษุสามเณรเป็นผู้มีสืลบริสุทธิ้ และเป็นผู้กำลัง ปฎิฟ้ตเพื่อกำขัดราคะ โทสะ โมหะ - เพราะเหตุนั้น บุคคลผู้จะทำบุญในพระพุทธศาสนา จึง ปียมพิจารณาเลือกบุญเฃดที่เหมาะสม ดังพระบาลืว่า \"วิเจยฺย www.kalyanamitra.org
๓๑ ทานํ ทาตพฺพํ วิเจ!เย ฑานํ สุคตปฺปสฏฐํ\" แปลความว่า \"ฟ็งเลือกให้ทาน การเลือกให้ทาน พระตถาคตเจ้าทรงสรรเสริญ ไว้แล้ว\" ดังนี้ วิธีปฎิบตในการตักบาตรพระสงฆ์ - เมื่อนำภัตตาหารออกจากบ้านไปรอคอยดักบาตรอยู่นั้น นิยมตั้งใจว่าจะทำบุญดักบาตรแก่พระภิกษุสงฆ์สามเณรในพระ- พุทธศาสนา โตยไม่เฉพาะเจาะจงแก่พระภิกษุสามเณรรูปใด รูปหนึ่ง เมื่อพระภิกษุหรือสามเณรรูปใดผ่านมา ณ ที่นั้นก็ตั้งใจ ดักบาตรแก่พระภิกษุหรือสามเณรรูปนั้น และรูปอื่นๆ ต่อไป ตามลำดับ - การตั้งใจดักบาตรแบบไม่เป็นการเจาะจงอย่างนี้มีผลานิสงส์ มากกว่าการตั้งใจดักบาตรโตยเจาะจงแก่พระภิกษุหรือสามเณร รูปใดรูปหนึ่งโดยเฉพาะ คำ อธิษฐานก่อนตักบาตร - ก่อนจะดักบาตรนั้น นิยมตั้งจิตอธิษฐานก่อน โดยลือ ขันข้าวห้วยมือตั้งสองจ้าง นั้งกระหย่ง ยกขันข้าวฃึ้นเสมอ หบ้าผากพร้อมภับกล่าวคำอธิษฐานก่อนบริจาคทำษุญห้วยวัตถุ สิงของทุกชนิด ดังนี้:- \"สุฑินนัง วะตะ เม ทานัง อาสะวักฃะยาวะหัง โหตุ'' www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216