Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานเชื่อมและโลหะแผ่น 20100 1004

งานเชื่อมและโลหะแผ่น 20100 1004

Published by nutthajee07, 2020-05-26 02:42:52

Description: ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของกระบวนการเชื่อมและโลหะแผ่น หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน การเลือกใช้วัสดุ เครื่องมืออุปกรณ์งานเชื่อม ท่าเชื่อม รอยต่อที่ใช้งานเชื่อมและการแล่นประสาน กี่ประกอบติดตั้งเครื่องมืออุปกรณ์งานเชื่อมแก๊ส การแล่นประสาน ( Brazing ) และเชื่อมไฟฟ้า การเริ่มต้นอาร์ก การเชื่อมเดินแนว ต่อมุม ต่อตัวที เครื่องจักรและเครื่องมือที่ใช้ในงานโลหะแผ่น การเขียนแบบแผ่นคลี่ การถ่ายแบบ การเข้าขอบ การทำตะเข็บ การย้ำหมุด การบัดกรี (Soldering) การขึ้นรูปด้วยการพับ ตัด ม้วน เคาะ และประกอบชิ้นงาน

Search

Read the Text Version

20100-1004

งานเชื่อมและโลหะแผน่ เบือ้ งตน้

จดุ ประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. รแู้ ละเขา้ ใจเขา้ ใจหลกั การกระบวนการเชอ่ื มแกส๊ การเชือ่ มไฟฟา้ และงานโลหะแผน่ 2. มีทกั ษะเกี่ยวกับการปฏบิ ัติงานเชื่อมแกส๊ เชื่อม ไฟฟ้าและงานโลหะแผน่ การใชแ้ ละปรบั แต่ง 3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดใี นการทางานดว้ ยความ เป็นละเอยี ดรอบคอบปลอดภัย และเปน็ ระเบียบสะอาด ตรงตอ่ เวลาและมีความซือ่ สัตย์ รบั ผิดชอบและรกั ษา สภาพแวดลอ้ ม

สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้ หลักการกระบวนการเชือ่ มแกส๊ และการ เชื่อมไฟฟา้ 2. เชื่อมแล่นประสานและตัดแผน่ เหลก็ กล้าคารบ์ อนดว้ ย แก๊ส 3. เชือ่ มอาร์กลวดหุม้ ฟลักซ์แผ่นเหลก็ กลา้ คารบ์ อน 4. เขียนแบบแผ่นคลี่ลงแผ่นงานตามแบบ 5. ข้นึ รปู ผลิตภณั ฑ์โลหะแผ่นตามแบบ

หนว่ ยท่ี 1 ความรู้เบื้องตน้ ในการเชื่อมแกส๊ ความปลอดภยั ในงานเชือ่ มแกส๊ 1. พื้นท่ใี นการปฏบิ ตั ิงานในการเช่อื มแก๊สจะต้องมกี าร ระบายอากาศอย่างเพียงพอ พื้นตอ้ งปราศจากนา้ มนั หรอื สง่ิ ที่เปน็ สารไวไฟหา้ มต้งั อยู่บรเิ วณใกล้ ๆ ควรต้งั หา่ ง ประมาณ 10 เมตร 2. โตะ๊ สาหรบั ฝึกงานเชือ่ มแก๊สจะตอ้ งปูพืน้ ด้วยอฐิ ทนไฟ 3. ถา้ จาเป็นตอ้ งเชือ่ มแก๊สที่ไมใ่ ช่โต๊ะฝึกงาน ต้องระวัง อย่าใหเ้ ปลวไฟโดนพืน้ ปูนซเี มนต์เพราะพื้นปูนซเี มนต์เมื่อ โดนความร้อนจะระเบิดแตกออกมาต้องนาแผ่นเหล็กมา ปิดบนพื้นปนู ซเี มนต์กอ่ น

4. ทอ่ บรรจุแกส๊ ออกซิเจนและทอ่ บรรจแุ ก๊ส อะเซทิลีนจะต้องยดึ ผกู มดั ให้ตดิ กับโต๊ะหรือรถเขน็ ผนงั เพื่อไมใ่ ห้ทอ่ ล้มแล้วอาจเกิดอุบตั ิเหตุ 5. ท่อบรรจแุ ก๊สทีม่ ลี กั ษณะเหมือนกนั เช่น ทอ่ บรรจุแกส๊ ออกซิเจนกับท่อบรรจุแก๊สคารบ์ อนได ออกไซด์ ควรมีสญั ลักษณ์ของสีทต่ี วั ท่อไว้ เพือ่ ไมใ่ ห้ เกิดความสับสนในการนาไปใช้

6. ทอ่ บรรจแุ ก๊สออกซเิ จนและท่อบรรจุแกส๊ อะเซทิลนี ท่ี มแี กส๊ บรรจุเตม็ และไม่มแี กส๊ บรรจตุ อ้ งมฝี าครอบหวั ทอ่ ไว้ ทีห่ วั ท่อเสมอเพื่อป้องกันเวลาขนย้ายไมใ่ ห้วาล์วหัวท่อ บรรจแุ กส๊ ออกซเิ จนและทอ่ บรรจุแกส๊ อะเซทิลนี กระแทก ทาใหแ้ ตกหกั ได้ 7.ทอ่ บรรจแุ กส๊ ออกซิเจนและทอ่ บรรจุแกส๊ อะเซทิลีนทีไ่ ม่มีแก๊สควรมีป้ายแสดงบอกแกส๊ หมด 8. ทีเ่ กบ็ ท่อบรรจแุ ก๊สควรมกี ารแยกท่อบรรจแุ กส๊ ออกจากกนั ระหวา่ งแกส๊ ออกซิเจนและแกส๊ อะเซทิลีน

9. ห้องทใ่ี ช้เก็บท่อบรรจแุ ก๊ส ควรมีป้ายเตือนสติ เช่น อนั ตรายหา้ มสบู บหุ รห่ี รอื หา้ มทาใหเ้ กิดประกายไฟ 10. ไมค่ วรใชน้ ้ามันหรือจาระบีกบั ขอ้ ต่อเคร่อื ง ควบคุมความดนั ในการประกอบเขา้ กบั ทอ่ บรรจุแก๊ส ออกซิเจนและทอ่ บรรจแุ กส๊ อะเซทิลีนอาจทาใหเ้ กิด ระเบิดได้

11. กอ่ นเช่อื มตอ้ งตรวจสอบดวู า่ สายยางเช่ือมแกส๊ ทีใ่ ช้ในการเชื่อมอยใู่ นสภาพชารุดหรือไม่ ถา้ ท่อบรรจุ แก๊สออกซเิ จนชารุดโดยเฉพาะสายยางเช่อื มแกส๊ อะเซทิลีนจะเปน็ อนั ตรายต่อผเู้ ชื่อมได้ ต้องเปลีย่ น และแก้ไขเสียกอ่ น 12. ถ้าสายยางเช่อื มแก๊สยาวไม่พอห้าม ใช้ท่อทองแดงในการตอ่ สายยางเช่อื มแก๊ส โดยเฉพาะสายยางเชื่อมแกส๊ อะเซทิลีน

13. ชา่ งเชือ่ มต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอนั ตรายจาก การเชือ่ มแก๊ส มถี ุงมอื ปลอกแขน แว่นตาเชื่อมแกส๊ โดยเฉพาะแวน่ ตาเช่ือมแก๊สตอ้ งสวมแว่นตาเชอ่ื มแก๊สทุก คร้ังในการเชือ่ ม 14.ไม่ควรวางท่อบรรจแุ กส๊ อะเซทิลีนในลักษณะ นอน เพราะสารอะซีโตนท่อี ยู่ในท่อบรรจแุ กส๊ อะเซทิลนี ไหลออกมากบั แกส๊ อาจทาให้เคร่อื ง ควบคมุ ความดนั แกส๊ เสียหายได้

15. ขณะจดุ ไฟใหใ้ ช้อปุ กรณ์จดุ ไฟ (Friction Lighter) เทา่ นน้ั ห้ามใชไ้ ม้ขีดหรือไฟแช็กเพราะเปลวไฟอาจไหมม้ ือผจู้ ดุ ได้ 16. อย่าเก็บไฟแช็กไวใ้ นกระเป๋าเส้อื หรือกระเปา๋ กางเกง เพราะอาจโดนความร้อนหรือสะเกด็ ไฟอาจทา ให้เกิดระเบิดได้ 17. ไม่ควรใชแ้ ก๊สออกซิเจนแทนลมในการพ่นสี เพราะอาจเกิดอนั ตรายแกผ่ ูป้ ฏบิ ัติงานได้ 18. อยา่ เช่อื มงานใกล้ทอ่ บรรจแุ กส๊ เพราะ ความร้อนจากการเชือ่ มอาจทาให้เกิดระเบิดได้

19. อย่าทง้ิ หัวเช่อื มแก๊สที่เปลวไฟติดอยู่ โดยท่ผี เู้ ช่ือม ไม่อยูใ่ นท่ปี ฏบิ ัติงาน 20. ไมค่ วรใช้คีมล็อกในการเปิดปิดวาล์วหัวท่อบรรจุ แก๊สอะเซทิลีนควรใช้ประแจของทอ่ บรรจุแกส๊ อะเซทิลีน 21. ควรเปิดวาลว์ หวั ท่อบรรจุแก๊สอะเซทิลีนประมาณ 1/4-1/2 รอบพร้อมทงั้ ท้งิ ประแจคาไว้ท่วี าล์วหวั ทอ่ บรรจุ แกส๊ เพื่อท่เี มื่อเกิดอบุ ตั ิเหตุจะไดป้ ิดได้ทันที 22. ถา้ ต้องการทดสอบรอยรัว่ ของแกส๊ ออกซเิ จน และแกส๊ อะเซทิลนี ให้ใช้นา้ สบหู่ รือน้าผงซักฟอก

23. ถา้ เกิดปญั หาอบุ ตั ิเหตใุ หป้ ิดวาลว์ ท่ที อ่ บรรจแุ ก๊สเช้อื เพลงิ กอ่ น 24. ควรมีถังดบั เพลงิ ติดไว้ สามารถหยิบใชไ้ ดง้ า่ ยเมื่อเกิดเหตุ เพลิงไหม้ ควรติดถังที่สงู จากพน้ื ไวป้ ระมาณ 1 เมตรเหน็ ได้อย่าง ชัดเจน และมีคู่มืออธิบายวิธกี ารใชต้ ิดไว้ข้าง ๆ ถงั และถงั อยหู่ า่ ง กันประมาณ 30 เมตร 25. มีการตรวจเช็กถงั ดับเพลิงอยู่เสมอเมื่อถึงเวลาในการเติม สารเคมี 26. หลงั จากปฏิบตั ิงานเสรจ็ เรยี บรอ้ ย เก็บเครอ่ื งมือ อุปกรณ์ เขา้ ทีใ่ ห้เรยี บรอ้ ยและทาความสะอาดพน้ื โรงงานทีป่ ฏิบตั งิ านให้ สะอาดทุกครัง้

เครือ่ งมอื และอุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นการเชือ่ มแกส๊ 1. อปุ กรณก์ ารปอ้ งกันส่วนบุคคล (Personal Safety) 1.1 ถุงมอื หนัง (Gloves)

1.2 เสื้อคลมุ หนงั (APRON) เสอ้ื คลุมหนัง 1.3 แว่นตาเชื่อมแกส๊ (Goggles)

2. ทอ่ บรรจแุ กส๊ ออกซิเจนและอะเซทิลนี (OXYGEN AND ACETYLENE CYLINDER) เป็นทรงกระบอกชนิ้ เดียวตลอด ทำจำกเหลก็ กล้ำเป็นทอ่ ที่ ไมม่ ตี ะเข็บ มคี วำมหนำประมำณ 10 มม. บรรจแุ กส๊ ออกซิเจน 220 ฟุต3 ขนำด 6 เมตร3 ใชค้ วำมดนั ท่ี 2200 psi สีที่ตัวท่อ จะทำด้วย สเี ขียว หรือ สดี า

เสน้ ผ่านศูนย์กลางภายใน 215 มม. เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง ภายนอก 225 มม. สงู ประมาณ 1400 มม. ทค่ี อขวดจะใช้ ประกอบเข้ากบั มาตรวัดความดนั ล้นิ ปิด-เปิดทอ่ จะ ประกอบอยู่ทส่ี ่วนบนของหวั ท่อ เป็นประตปู ิดเปิดแกส๊ ท่ี ทาด้วยทองเหลือง การกาหนดมาตรฐานท่อแกส๊ ออกซิเจนโดย ICC (Interstate Commerce Commission) ท่ี 3360 psi โดยทอ่ ไมไ่ ด้รับความเสียหาย

ทอ่ แก๊สอะเซทิลนี ควำมสูงประมำณ 1025 มม. เส้นผ่ำนศูนย์กลำงภำยใน 305 มม. บรรจุแก๊สได้ 275 ฟตุ 3 อัดทีค่ วำม ดนั 275 psi ที่อณุ หภมู ิ 20 C ทำ ด้วยเหล็กเหนยี วม้วนข้ึนรูปและเชื่อม สญั ลักษณ์สีที่ตัวท่อจะทำดว้ ย สีน้าตาล หรือ สีเหลือง ติดต้ังเซฟตี้ ปลัก๊ (Safety Plug) ติดต้ังไว้ที่ใต้ถังและคอถังอย่ำงละ 2 ตวั เซฟตี้ปลก๊ั ตัวโครงทำดว้ ยทองเหลืองตรงกลำงมรี ูและอัดดว้ ยตะกว่ั ควำมดนั ในท่อ เพม่ิ ข้ึนเกินกว่ำที่กำหนด ตะกว่ั จะเกดิ กำรละลำย ทำให้แก๊สไหลผ่ำน ออกมำก่อนที่จะระเบิด

ภำยในท่อแก๊สอะเซทิลีนต้องใสส่ ำรอะซโี ตน (Acetone) พวกเศษหิน (Monolithic Filler) และผงแอสเบสทอส (Asbestos fine) สำรพวกนี้ดดู ซึม อะเซทิลีน เพ่อื รักษำควำมดนั ของแก๊สอะเซทิลีน ไมใ่ ห้เกิน 15 psi ถ้ำสงู ถึง 30 psi ก็อำจเกดิ ระเบิดได้ สว่ นหวั ของแก๊สอะเซทิลีนจะทำเป็นแกน สี่เหลีย่ มขนำด 38 นิ้วข้ึนมำที่ทำเพือ่ ใหเ้ กิดกำรเปิด จะใช้ประแจบล็อคทีท่ ำขึน้ มำสำหรบั ใช้เปิด 1 - 1 รอบ 4 2

เครือ่ งควบคุมความดนั แกส๊ ออกซิเจนและแกส๊ อะเซทิลนี (Oxygen Regulator and Acetylene Regulator)

เกจวัดความดนั ต่า เกจวดั ความดนั สงู ขอ้ ต่อทางออกแกส๊ ข้อตอ่ แก๊สเขา้ สกรู ปรับความดนั แก๊ส

กฎ สำหรับกำรปฏบิ ตั ิเมือ่ ใช้เครือ่ งควบคมุ ควำมดันแก๊ส 1. ก่อนประกอบเครื่องควบคมุ ความดนั แก๊สกับท่อบรรจุ แก๊สออกซเิ จน ใหเ้ ปิดและปิดวาล์วที่ทอ่ บรรจแุ ก๊สอยา่ ง รวดเรว็ วธิ ีนีเ้ รียกว่า แคร๊กกริง้ (Cracking) เพื่อไลฝ่ นุ่ ที่อยู่ บริเวณทางออกของแกส๊ เพื่อปอ้ งกันไม่ให้ฝุ่นละอองเข้าไป ในเครือ่ งควบคุมความดนั แก๊สและอุดตนั ภายใน 2. การเปิดวาล์วทีห่ วั ทอ่ บรรจุแก๊สควรเปิดอยา่ งชา้ ๆ เพื่อไมใ่ หช้ น้ิ ส่วนภายในเครือ่ งควบคุมความดันแกส๊ ไดร้ ับ แรงกระแทก เปน็ การยืดอายกุ ารใช้งานเคร่อื งควบคมุ ความ ดันแกส๊

3. ขนาดของความดนั แก๊สควรใชต้ ามข้อแนะนา หรือข้อกาหนดไว้ 4. หลังจากเลิกใช้งานแลว้ ใหค้ ลายสกรูปรับ ความดนั ออก และเปิดวาลว์ ที่หวั เชือ่ มแก๊สเพื่อไล่ แก๊ส ออกเพราะถา้ ไม่คลายออกเมือ่ เปิดแก๊สเขา้ แก๊สความ ดนั สงู ไหลเข้ามาอยา่ งรวดเรว็ อาจทาใหเ้ ครื่องควบคุม ความดนั แก๊สเสียหายได้ 5. หา้ มใชค้ ีมหรือประแจเลือ่ นขันข้อต่อใหใ้ ช้ ประแจปากตายขนาดเดียวกบั นัตเทา่ นั้น 6. การทดสอบแกส๊ รัว่ ใหใ้ ชน้ า้ ฟองสบหู่ รือน้าที่ ผสมกบั ผงซักฟอก

4. ทอร์ชเชื่อมและหวั ทิพ (TORCH AND TIP) วำวล์ปิดเปิดแก๊สอะเซทิลีน ลำตัว หอ้ งผสมแก๊ส หัวทิพ วำวล์ปิดเปิดแก๊ส ออกซิเจน

ลาตวั (BODY) มลี ักษณะเปน็ ทรงกระบอก ทด่ี ้ำนล่ำงจะมีเกลียวทต่ี ่อกบั สำยยำง โดยทีเกลยี วจะมลี ิ้น (Valve) เปิดปิดทำงเดินของ แก๊สออกซเิ จนและแกส๊ อะเซทิลีน

ห้องผสมแก๊ส (MIXER) จะเปน็ ห้องทแ่ี ก๊สออกซิเจนและแก๊สอะเซทลิ ีนไหล ออกมำจำกลิ้นเปิดปิดแก๊สมำรวมตวั ทีห่ ้องนี้ เมื่อรวมตวั แลว้ จะไหลออกไปที่หวั ทพิ เพือ่ เป็นเปลวไฟใช้งำนตอ่ ไป เกลียวด้ำนนอกทด่ี ้ำมทอร์ช มี 2 ตวั ตัวแรกจะใชส้ ำหรบั ต่อเข้ำกบั ข้อต่อของสำยยำงแกส๊ ออกซเิ จนบรเิ วณเกลยี วจะมี ตัวอกั ษร OXY และเป็นเกลยี วขวำ ส่วนอีกเกลยี วจะตอ่ เข้ำกบั ท่อสำยยำงของแก๊สอะเซทิลีนบริเวณเกลียวจะมีตัวอกั ษร ACE และเปน็ เกลยี วซำ้ ย

ทอรช์ เชื่อม แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. ทอรช์ เชื่อมแบบสมดลุ ความดนั (Equal Pressure Torch) นยิ มใชก้ ันมำกเหมำะกับแก๊สท่มี คี วำมดันสงู โดยที่ แก๊สท้ัง 2 นจ้ี ะไหลได้เองเข้ำสู่หอ้ งผสมของภำยในดำ้ ม เชือ่ ม และออกสหู่ วั ทิพถกู เผำไหมเ้ ปน็ เปลวไฟใช้สำหรับ กำรเชื่อม

2. ทอรช์ เชือ่ มแบบหวั ฉีด (INJECTOR TORCH) ลกั ษณะภำยนอกเหมือนกบั ทอร์ชเชื่อมแบบสมดลุ ควำมดนั ใช้ กับแก๊สอะเซทิลีนควำมดันตำ่ ทำงเข้ำของแกส๊ ออกซิเจนในห้อง ผสมแกส๊ เปน็ หัวฉดี (INJECT) จะออกแบบให้แก๊สออกซิเจน ไหลผ่ำนและควำมเร็วนีจ้ ะดูดเอำแกส๊ อะเซทิลีนเข้ำไปด้วย แก๊สอะเซทลิ ีนจะไหลไปรวมตวั ในห้องผสมแก๊สกอ่ นที่จะ ออกมำทีห่ ัวทิพเปน็ เปลวเชือ่ ม

หวั ทิพ (Tip Welding) เป็นชิน้ ส่วนที่อยู่ปลำยของด้ำมเชือ่ มทำมำจำกทองแดงผสม

5. สายยางเชือ่ มแก๊สและข้อต่อ (HOSE AND CONNECTION) เปน็ อปุ กรณส์ ำหรบั นำส่งแก๊สท่อี อกมำ จำกมำตรวัดควำมดันแก๊ส ไปยงั ทอร์ชเชื่อมและหวั ทิพ สายยางเชอ่ื มแก๊ส ออกซเิ จน สายยางเชอ่ื มแก๊สอะเซทิลีน

คณุ สมบัติของสายยางมีดังนี้ 1. ไมท่ ำปฏกิ ริยำกับแกส๊ ที่ส่งผ่ำน 2. มคี วำมแข็งแรงทนแรงดันได้ดี 3. มคี วำมยืดหยุ่นได้ดี อ่อนตวั ได้งำ่ ย

นตั และนิปเปลิ นัต (Nut) รูปร่ำงภำยนอกมีลกั ษณะเปน็ หกเหลี่ยม ทำ จำกทองเหลอื ง เกลียวขวำแก๊สออกซิเจนเกลียวซ้ำยแก๊ส อะเซทิลีน นตั ของแก๊สอะเซทิลีน นิปเปลิ นัตของแกส๊ ออกซิเจน นปิ เปลิ (Nipple) มีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอกสอดอยู่ในรนู ตั สว่ นหำงจะมีรูปร่ำงเรียว และ ขนึ้ ลอนเพื่อสวมเข้ำกบั สำยยำง

6. อปุ กรณจ์ ดุ ไฟ (SPARKLIGHTER) ใชจ้ ุดไฟสำหรบั งำนเชอ่ื มแก๊ส เพ่ือให้เกิดควำมปลอดภัยแก่ผเู้ ชื่อม ประกอบด้วยแกนถำ่ น ภำยในถว้ ยจะมแี กนเหลก็ กล้ำซง่ึ ทำเปน็ คมคลำ้ ย ตะไบ เมอ่ื ใช้มอื บังคบั ให้แกนถ่ำนถกู บั แท่งเหลก็ จะเกิดเป็นประกำยไฟ เพ่อื ไปจุดไฟแกนถ่ำนเมื่อใช้ไปเรื่อยจะสกึ หรอจนไม่สำมำรถทำให้เกิด ประกำยไฟได้ สำมำรถถอดเปล่ยี นได้เพรำะแกนถ่ำนทำเปน็ เกลียวเพื่อใช้ ถอดเขำ้ ออกได้

7. ชุดทาความสะอาดหัวทิพ (TIP CLEANER) ทำควำมสะอำดหัวทิพภำยในรขู องหวั ทิพทพิ คลีนเนอร์จะ อยู่ในตลับโลหะหรือตลับพลำสตกิ ตัวทิพคลีนเนอร์จะมี ลักษณะกลมรอบ ๆ มฟี นั คลำ้ ยตะไบกลม มขี นำดเล็กไปจน ถึงขนำดใหญ่วำงเรียงอยู่ในตลบั และยังมีตะไบขนำดเลก็ ๆ อีก 1 อัน

8. ตวั กันไฟกลับและชุดกนั ไฟกลบั (FLASHBACK ASVESTOR)

หน่วยท่ี 2 กระบวนการเชื่อมแก๊ส การเชื่อมแกส๊ (Gas Welding) คือ กระบวนกำรเชื่อม ที่ได้ควำมร้อนจำกเปลวไฟระหว่ำงแก๊สเชื้อเพลงิ กบั แก๊สออกซิเจน แก๊สเชื้อเพลงิ มีหลำยชนิด ได้แก่ แก๊สอะเซทิลีน มีเทน แก๊สโพ รเพน ฯลฯ ซึ่งจะมกี ำรให้ควำมร้อนในเปลวของกำรเชือ่ มแก๊สที่ แตกต่ำงกนั แตท่ ี่นิยมใชก้ ันคือ แก๊สอะเซทิลีนกับแก๊สออกซเิ จน แก๊สอะเซทิลีนผสมกบั แก๊สออกซิเจนในอตั รำสว่ นประมำณ 1 : 1 โดยปริมำตร เปลวไฟที่ได้เกิดจำกกำรลกุ ไหม้จะมีควำมร้อนทีอ่ ุณ ภูมิประมำณ 6000F (องศำฟำเรนไฮต์) หรือ 3315C (องศำเซน เซยี ส) ซึ่งเหมำะแกก่ ำรเชื่อมเหลก็ และโลหะผสมต่ำง ๆ ซึ่งเรียก วิธเี ชื่อมแบบนีว้ ่ำ ออกซี -อะเซทิลีน (Oxy - acetylene)

ชนดิ ของแกส๊ เชอ้ื เพลงิ ความรอ้ นสูงสุดโดยประมาณ ออกซเิ จน + อะเซทิลีน 3,316 C หรือ 6,000 F ออกซเิ จน + โพรเพน 2,500 C หรือ 4,600 F ออกซิเจน + ไฮโดรเจน 2,400 C หรือ 4,300 F อากาศ + อะเซทิลีน 2,500 C หรือ 4,500 F อากาศ + โพรเพน 1,750 C หรือ 3,200 F ตารางท่ี 2 ความรอ้ นสงู สุดของแก๊สเชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ

เปลวไฟทใ่ี ชใ้ นการเชื่อม 1. เปลวลด (Carburizing Flame) เกิดจำก กำรผสมของแก๊สอะเซทิลีน 2 ส่วน แก๊สออกซเิ จน 1 ส่วน มีอุณหภูมิประมำณ 2800 C

2. เปลวกลาง (Neutral Flame) เกิดจำก กำรผสมของแก๊สอะเซทิลนี 1 ส่วน แก๊สออกซเิ จน 1 ส่วน มีอุณหภมู ิประมำณ 3200 C

3. เปลวเพ่มิ (OXIDIZING FLAME) เกิดจำก กำรผสมของแก๊สอะเซทิลนี 1 ส่วน แก๊สออกซิเจน 2 ส่วน อุณหภูมิประมำณ 3400 C

รอยต่อและชนดิ ของรอยตอ่ 1. รอยตอ่ ชน (Butt Joint)

2. รอยตอ่ เกย (LAP JOINT)

3. รอยต่อมมุ (CORNER JOINT)

4. รอยตอ่ ขอบ (EDGE JOINT)

5. รอยตอ่ ตัวที (T JOINT)

ทา่ เชอ่ื ม (WELDING POSITION) ทำ่ เชือ่ มที่ใช้ในกำรเชือ่ ม มี 4 ทำ่ 1. ทา่ ราบ (Flat Position)

2. ทา่ ขนานนอน (HORIZANTAL POSITION)

3. ทา่ ตั้ง (VERTICAL POSITION)

4. ทา่ เชอ่ื มเหนือศรษี ะ (OVERHEAD POSITION)

ท่ำเชื่อมตำมมำตรฐำนสำกล ISO 9606/1994 International Standard Organization 1. PA คือ ท่าราบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook