Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NRRUEmpSat60-62

NRRUEmpSat60-62

Published by qa.nrru, 2020-12-22 08:54:55

Description: NRRUEmpSat60-62

Search

Read the Text Version

79 ปีการศึกษา หัวขอ้ ประเมิน 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ อ ิ ส ร ะ เ ป ็ น ไ ป ต า ม เ กณ ฑ ์ ท่ี สำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) กำหนด การประเมนิ ผ้เู รียน 9. การประเมินผู้เรียนว่ามีความรู้ ความสามารถตามวัตถุประสงค์ ของรายวิชา ผ่านการพิจารณา 0.66 มาก 4.36 0.49 มาก 4.38 0.59 มาก จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก ำ กั บ 4.54 ที่สดุ มาตรฐานวิชาการ ทั้งรายละเอียด ของรายวิชา (มคอ.3 และ มคอ.4) ข้อสอบและผลการสอบ 4. ด้านสิง่ สนับสนุนการเรยี นรู้ ผลความพึงพอใจต่อการบริหาร หลักสูตรด้านสิ่งสนับสนุนการ 4.11 0.71 มาก 3.84 0.70 มาก 4.06 0.69 มาก เรียนรใู้ นภาพรวมทกุ ดา้ น 1. อาคารเรียน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ (Workshop) ท่ี 3.67 1.05 มาก 3.59 0.67 มาก 3.95 0.50 มาก พกั นกั ศึกษา มคี วามพรอ้ มตอ่ การ จัดการศกึ ษา 2. ทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เ ช ่ น อ ุ ป ก ร ณ ์ เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ ห้องสมุด ตำรา 4.08 0.88 มาก 3.91 0.75 มาก 4.05 0.50 มาก หนังสือ แหล่งเรยี นรู้ ฐานขอ้ มูลมี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ต ่ อ ก า ร จั ด การศกึ ษา 3. มีการบำรุงดูแล รักษา ทรัพยากรให้เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.96 0.91 มาก 4.00 0.62 มาก 4.05 0.59 มาก อย่างมีประสทิ ธิภาพ 4. เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการ 4.21 0.72 มาก 4.00 0.62 มาก 4.33 0.48 มาก เรยี นการสอนมีความเหมาะสม 5. มีการจัดพื้นที่สำหรับนักศึกษา และอาจารย์ได้พบปะแลกเปลี่ยน 3.96 0.95 มาก 4.00 0.76 มาก 4.19 0.68 มาก ความคิดเห็น หรือทำงานร่วมกัน 6. มีการให้บริการคอมพวิ เตอร์ 4.13 0.74 มาก 4.05 0.72 มาก 4.10 0.77 มาก และอินเตอรเ์ น็ตความเรว็ สงู (เฉพาะหลกั สูตรบัณฑติ ศกึ ษา ตอบข้อ 7-9 เพิ่มเตมิ ) 7. มกี ารจัดสรรงบประมาณให้ 4.00 0.00 มาก 4.00 1.00 มาก 4.17 0.98 มาก นกั ศกึ ษาเพ่อื ทำวจิ ยั

80 ปกี ารศึกษา หวั ขอ้ ประเมนิ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั 8. มีหอ้ งทำงานวจิ ัย (ซ่งึ ไมใ่ ช่ 4.33 0.58 มาก 3.33 0.58 ปาน 3.83 0.75 มาก หอ้ งเรยี น) เพ่ือให้นกั ศกึ ษาเขา้ กลาง ใช้ได้สะดวกในการทำวิจัย 9. มอี ปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมือ 4.67 0.58 มาก 3.67 0.58 มาก 3.83 0.98 มาก พนื้ ฐานทจี่ ำเปน็ และเหมาะสมใน ทสี่ ุด การทำวิจยั จากตารางที่ 9 การสำรวจความพึงพอใจของอาจารย์คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ต่อการบริหารหลักสตู ร ปีการศึกษา 2562 พบว่า อาจารย์มีความพึงพอใจต่อด้านนกั ศึกษามากทีส่ ุด โดยความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ทสี่ ุด คะแนนเฉลยี่ 4.56 รองลงมาคือดา้ นหลกั สูตร การเรียนการสอน และการประเมินผู้เรยี น และ ดา้ นอาจารย์ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 4.47 และ 4.44 ตามลำดับ สำหรับด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ อาจารย์มีความพงึ พอใจนอ้ ยทส่ี ดุ คะแนนเฉลี่ย 4.06 และความพงึ พอใจของอาจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ต่อการบริหารหลักสตู รในภาพรวม ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 เมื่อจำแนกตาม 4 ด้าน มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 4.57 4.67 4.46 4.11 4.45 4.54 4.47 4.28 4.28 4.56 4.47 4.44 4.06 4.38 3.84 ปกี ารศกึ ษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ด้านนกั ศกึ ษา ด้านหลักสตู รการเรยี นการสอน และการประเมนิ ผเู้ รียน ด้านอาจารย์ ดา้ นสง่ิ สนับสนุนการเรียนรู้ ภาพรวมทกุ ดา้ น ภาพที่ 20 ความพึงพอใจของอาจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ต่อการบริหารหลักสูตร ปีการศึกษา 2560 – 2562 จากภาพท่ี 20 ความพึงพอใจของอาจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ต่อการบรหิ ารหลักสตู ร จำแนกตาม 4 ด้าน ปีการศึกษา 2560 – 2562 พบว่า อาจารย์มีความพึงพอใจต่อด้านนักศึกษาอยู่ระดับมากที่สุดทั้ง 3 ปี การศึกษา ซง่ึ ดา้ นนกึ ศกึ ษามีความพึงพอใจใกล้เคยี งกับดา้ นหลักสูตรการเรียนการสอน และการประเมินผูเ้ รียน แต่ในปีการศึกษา 2561 และ 2562 ด้านหลักสูตรการเรียนการสอน และการประเมินผู้เรียนมีความพึงพอใจ

81 ลดลงอยู่ในระดับมาก มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากันที่ 4.47 ลำดับรองลงมาคือด้านอาจารย์ สำหรับด้านสิ่งสนับสนุน การเรียนรู้ มีความพงึ พอใจน้อยที่สดุ และเม่อื พิจารณาแนวโนม้ ของแตล่ ะด้าน ร่วมทง้ั ภาพรวมของทกุ ด้านแล้ว พบว่า ความพึงพอใจมแี นวโนม้ ลดลง

82 ตอนที่ 3 ความคดิ เหน็ ตอ่ ผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย 3.1 ความคิดเห็นต่อผลการดำเนนิ งานท่ีสอดคล้องกับอตั ลักษณข์ องมหาวิทยาลยั อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี าคือ “ที่พึ่งของท้องถิ่น” โดยมีการดำเนินงานตาม แผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย สรุปได้เป็น 5 ประเด็น ได้แก่ การให้โอกาสทาง การศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษาและประชาชนในท้องถิ่น การบริการวิชาการเพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนใน ท้องถิ่น การอนุรักษ์ส่งเสริมและถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถิ่น การวิจัยและถ่ายทอด เทคโนโลยีและนวตั กรรมสทู่ ้องถน่ิ และความรว่ มมอื กับชุมชนและหนว่ ยงานภายนอกในการพฒั นาท้องถิน่ โดยความคิดเห็นของบุคลากรต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย มรี ายละเอยี ดแสดงตามตารางที่ 10 – 28 ดงั ตอ่ ไปน้ี ตารางที่ 10 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรของ มหาวิทยาลยั ในภาพรวม (ท้งั สายวชิ าการและสายสนบั สนุน) ทม่ี ีตอ่ ผลการดำเนนิ งานทีส่ อดคล้องกับอัตลักษณ์ ของมหาวิทยาลัย ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานท่ี สอดคล้องกับอัตลกั ษณข์ อง 4.32 0.68 มาก 4.20 0.73 มาก 4.35 0.67 มาก มหาวิทยาลยั รวมทุกดา้ น 1. การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษา แกน่ ักเรียนนกั ศึกษาและ 4.37 0.64 มาก 4.14 0.74 มาก 4.40 0.65 มาก ประชาชนในท้องถิน่ 2. มีการบริการวิชาการเพือ่ เพิม่ ศกั ยภาพของชุมชนใน 4.33 0.67 มาก 4.24 0.71 มาก 4.35 0.66 มาก ท้องถ่นิ 3. มีการอนุรกั ษส์ ง่ เสรมิ และ ถ่ายทอดศลิ ปวัฒนธรรมและ 4.34 0.68 มาก 4.15 0.74 มาก 4.38 0.65 มาก ประเพณขี องทอ้ งถิน่ 4. มกี ารวิจยั และถ่ายทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ 4.25 0.72 มาก 4.32 0.69 มาก 4.29 0.68 มาก ท้องถิน่ 5. มคี วามร่วมมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในการ 4.29 0.69 มาก 4.15 0.77 มาก 4.33 0.69 มาก พัฒนาทอ้ งถ่ิน จากตารางที่ 10 ในปีการศกึ ษา 2562 บุคคลากรมหาวทิ ยาลัยมคี วามพึงพอใจตอ่ ผลการดำเนินงาน ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีคะแนนเฉลี่ย 4.35 เมื่อพิจารณาใน

83 แตล่ ะประเด็นพบวา่ ทกุ ประเด็นอยู่ในระดับมาก โดยประเดน็ การใหโ้ อกาสทางการศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษา และประชาชนทอ้ งถิ่นมีคะแนนเฉลีย่ สงู สุด คือ 4.40 อยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ มีการอนุรักษ์ส่งเสริมและ ถ่ายทอดศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น และ มกี ารบริการวิชาการเพ่ือเพิม่ ศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น มคี ะแนนเฉล่ีย 4.38 และ 4.35 ตามลำดบั และความพึงพอใจของบุคลากรมหาวิทยาลัยต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของ มหาวทิ ยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 เมอ่ื จำแนกตาม 5 ประเดน็ มีรายละเอยี ดดังนี้ 4.37 4.34 4.33 4.32 4.32 4.40 4.38 4.35 4.33 4.35 4.29 4.25 4.29 4.24 4.20 4.14 4.15 4.15 ปกี ารศกึ ษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 การให้โอกาสทางการศึกษาแกน่ ักเรยี นนกั ศกึ ษาและประชาชนในทอ้ งถน่ิ มกี ารอนุรกั ษ์ส่งเสรมิ และถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมและประเพณีของทอ้ งถ่ิน มีการบรกิ ารวิชาการเพอื่ เพมิ่ ศกั ยภาพของชุมชนในทอ้ งถน่ิ มคี วามรว่ มมือกบั หน่วยงานภายนอกในการพฒั นาทอ้ งถ่นิ มกี ารวจิ ยั และถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสู่ทอ้ งถิ่น ผลการดาเนินงานท่สี อดคล้องกับอัตลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลยั รวมทุกดา้ น ภาพที่ 21 ความพึงพอใจของบุคลากรมหาวิทยาลัยต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 จากภาพท่ี 21 ความพงึ พอใจของบุคลากรมหาวทิ ยาลัยต่อผลการดำเนินงานท่ีสอดคล้องกับอัตลักษณ์ ของมหาวิทยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 พบว่า ในปีการศึกษา 2560 กบั 2562 มีระดบั ความพึงพอใจใน แต่ละประเด็นคล้ายคลึงกัน คือ การให้โอกาสทางการศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษาและประชาชนในท้องถิ่น มี ระดบั ความพงึ พอใจมากทส่ี ุด รองลงมาคือ มีการอนรุ ักษ์สง่ เสรมิ และถา่ ยทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของ ท้องถิ่น มีการบริการวิชาการเพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกใน การพัฒนาท้องถิ่น สำหรับประเด็นมีการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ท้องถิ่น ระดับความพึง พอใจน้อยที่สุด ในปีการศึกษา 2561 ระดับความพึงพอใจแตกต่างออกไป คือ มีการวิจัยและถ่ายทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ท้องถิ่น มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมาคือ มีการบริการวิชาการเพื่อเพ่ิม ศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น และในอีก 3 ประเด็นที่เหลือ คือ การอนุรักษ์ส่งเสริมและถ่ายทอด ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถิ่น มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถิน่ และ การ

84 ให้โอกาสทางการศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษาและประชาชนในท้องถิ่น มีระดับความพึงพอใจใกล้เคียงกัน และ เม่อื พจิ ารณาแนวโนม้ พบวา่ ทกุ ประเดน็ มแี นวโน้มความพงึ พอใจสงู ข้นึ ตารางที่ 11 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสาย วิชาการของมหาวิทยาลัยในภาพรวม ที่มีต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2560 – 2562 ปีการศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานที่ สอดคล้องกับอตั ลกั ษณ์ของ 4.35 0.68 มาก 4.43 0.69 มาก 4.45 0.64 มาก มหาวทิ ยาลัยรวมทกุ ดา้ น 1. การใหโ้ อกาสทางการศึกษา แกน่ ักเรียนนักศกึ ษาและ 4.41 0.63 มาก 4.49 0.66 มาก 4.50 0.62 มาก ประชาชนในทอ้ งถน่ิ 2. มีการบรกิ ารวิชาการเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพของชมุ ชนใน 4.38 0.66 มาก 4.44 0.68 มาก 4.45 0.63 มาก ท้องถน่ิ 3. มกี ารอนรุ ักษส์ ่งเสรมิ และ ถ่ายทอดศลิ ปวัฒนธรรมและ 4.33 0.70 มาก 4.41 0.69 มาก 4.48 0.62 มาก ประเพณขี องทอ้ งถนิ่ 4. มกี ารวิจยั และถา่ ยทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ 4.28 0.73 มาก 4.38 0.71 มาก 4.37 0.65 มาก ท้องถน่ิ 5. มีความร่วมมอื กบั หน่วยงานภายนอกในการ 4.33 0.69 มาก 4.42 0.69 มาก 4.43 0.68 มาก พฒั นาท้องถิ่น จากตารางที่ 11 ในปีการศึกษา 2562 บุคลากรสายวิชาการของมหาวิทยาลัย มีความพึงพอใจต่อ ผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวทิ ยาลัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีคะแนนเฉลี่ย 4.45 เมื่อพิจารณาใน แต่ละประเด็นพบว่า ทุกประเด็นอยู่ในระดับมาก โดยประเด็นการให้โอกาสทางการศึกษาแก่ นักเรียนนกั ศึกษาและประชาชนท้องถิ่นมีคะแนนเฉล่ียสงู สดุ คอื 4.50 รองลงมา คอื มกี ารอนุรกั ษ์ส่งเสริมและ ถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น มีการบริการวิชาการเพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น มี ความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถ่นิ และ มกี ารวิจยั และถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม สู่ทอ้ งถนิ่ มีคะแนนเฉลย่ี 4.48 4.45 4.43 และ 4.37 ตามลำดับ และความพึงพอใจของบุคลากรสายวิชาการของมหาวิทยาลัย ตอ่ ผลการดำเนนิ งานทีส่ อดคล้องกับอัต ลักษณ์ของมหาวทิ ยาลัย ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 เม่อื จำแนกตาม 5 ประเด็น มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

85 4.41 4.49 4.50 4.48 4.45 4.38 4.44 4.41 4.42 4.43 4.45 4.43 4.33 4.33 4.38 4.35 4.37 4.28 ปกี ารศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษาแกน่ กั เรยี นนกั ศึกษาและประชาชนในทอ้ งถน่ิ มีการบริการวชิ าการเพอ่ื เพม่ิ ศักยภาพของชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ มกี ารอนุรักษส์ ่งเสรมิ และถา่ ยทอดศิลปวฒั นธรรมและประเพณีของทอ้ งถ่นิ มีความร่วมมือกบั หนว่ ยงานภายนอกในการพฒั นาท้องถน่ิ มกี ารวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสทู่ อ้ งถ่นิ ผลการดาเนนิ งานท่สี อดคล้องกบั อตั ลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลยั รวมทกุ ด้าน ภาพที่ 22 ความพึงพอใจของบุคลากรสายวิชาการของมหาวิทยาลัยต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัต ลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลยั ปีการศึกษา 2560 – 2562 จากภาพที่ 22 ความพึงพอใจของบุคลากรสายวิชาการของมหาวิทยาลัย ต่อผลการดำเนินงานท่ี สอดคลอ้ งกบั อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 พบว่า ในทกุ ปีการศกึ ษาบุคลากรมีระดับ ความพึงพอใจในประเด็นการให้โอกาสทางการศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษาและประชาชนในท้องถิ่น มากที่สุด ในระดับรองลงมา ในปีการศึกษา 2560 และ 2561 เหมือนกันคือในประเด็นมีการบริการวิชาการเพื่อเพิ่ม ศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น แต่ในปีการศึกษา 2562 เป็นประเด็นมีการอนุรักษ์ส่งเสริมและถ่ายทอด ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถิน่ สำหรับระดับความพึงพอใจน้อยทส่ี ุดในทุกปีการศึกษา คอื ประเด็นมี การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ท้องถิ่น และเมื่อพิจารณาแนวโน้ม พบว่า ทุกประเด็นมี แนวโนม้ ความพึงพอใจสูงขึ้น ตารางที่ 12 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสาย สนับสนุนของมหาวิทยาลัยในภาพรวม ที่มีต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปี การศกึ ษา 2560 – 2562 รายการ ปีการศกึ ษา 2560 2561 2562 ผลการดำเนินงานท่ี x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ สอดคลอ้ งกับอตั ลกั ษณ์ของ มหาวทิ ยาลยั รวมทุกดา้ น 4.27 0.69 มาก 4.25 0.65 มาก 4.22 0.70 มาก

86 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั 1. การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษา แกน่ ักเรียนนกั ศกึ ษาและ 4.31 0.68 มาก 4.28 0.65 มาก 4.25 0.70 มาก ประชาชนในท้องถิน่ 2. มกี ารบรกิ ารวชิ าการเพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพของชมุ ชนใน 4.26 0.71 มาก 4.24 0.64 มาก 4.20 0.69 มาก ท้องถิ่น 3. มีการอนุรักษส์ ง่ เสรมิ และ ถ่ายทอดศลิ ปวฒั นธรรมและ 4.34 0.65 มาก 4.27 0.68 มาก 4.26 0.69 มาก ประเพณีของท้องถ่ิน 4. มีการวิจัยและถา่ ยทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ 4.22 0.70 มาก 4.21 0.63 มาก 4.17 0.72 มาก ท้องถิ่น 5. มคี วามรว่ มมือกับ หน่วยงานภายนอกในการ 4.24 0.69 มาก 4.23 0.66 มาก 4.21 0.69 มาก พฒั นาทอ้ งถนิ่ จากตารางที่ 12 ในปกี ารศึกษา 2562 บคุ ลากรสายสนบั สนนุ ของมหาวิทยาลัย มคี วามพึงพอใจต่อ ผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีคะแนนเฉลี่ย 4.22 เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็นพบว่า ทุกประเด็นอยู่ในระดับมาก โดยประเด็นมีการอนุรักษ์ส่งเสริมและ ถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ 4.26 รองลงมาคือ การให้โอกาสทาง การศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษาและประชาชนท้องถิ่น มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนา ท้องถ่นิ มีการบริการวิชาการเพื่อเพ่ิมศักยภาพของชุมชนในท้องถนิ่ และมีการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและ นวัตกรรมสู่ท้องถ่ิน มีคะแนนเฉล่ีย 4.25 4.21 4.20 และ 4.17 ตามลำดับ และความพึงพอใจของบุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัย ต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้อง กับอัตลกั ษณข์ องมหาวิทยาลยั ปีการศึกษา 2560 – 2562 เมือ่ จำแนกตาม 5 ประเดน็ มรี ายละเอียดดังน้ี

87 4.34 4.27 4.28 4.24 4.23 4.21 4.25 4.26 4.25 4.31 4.20 4.21 4.22 4.17 4.26 4.24 4.22 4.27 ปกี ารศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 มีการอนุรกั ษ์ส่งเสรมิ และถ่ายทอดศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณขี องทอ้ งถิ่น การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษาแกน่ ักเรยี นนกั ศึกษาและประชาชนในทอ้ งถนิ่ มกี ารบริการวชิ าการเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพของชุมชนในทอ้ งถนิ่ มคี วามรว่ มมอื กบั หน่วยงานภายนอกในการพัฒนาทอ้ งถ่ิน มีการวจิ ัยและถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสทู่ อ้ งถิ่น ผลการดาเนนิ งานทสี่ อดคลอ้ งกับอัตลักษณข์ องมหาวทิ ยาลยั รวมทกุ ดา้ น ภาพที่ 23 ความพึงพอใจของบุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลยั ต่อผลการดำเนินงานทีส่ อดคล้องกับอตั ลกั ษณ์ของมหาวิทยาลัย ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 จากภาพที่ 23 ความพึงพอใจของบุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัย ต่อผลการดำเนินงานท่ี สอดคล้องกับอตั ลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 และ 2562 พบวา่ บุคลากรมีระดับความพึงพอใจ ในประเด็นมีการอนุรักษ์ส่งเสริมและถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถิ่นมากที่สุด ในระดับ รองลงมาคอื การให้โอกาสทางการศกึ ษาแกน่ ักเรียนนกั ศึกษาและประชาชนในท้องถ่นิ แต่ในปกี ารศกึ ษา 2561 พบว่า บุคลากรมีระดับความพึงพอใจในประเด็นการให้โอกาสทางการศึกษาแกน่ ักเรียนนักศึกษาและประชาชน ในทอ้ งถน่ิ มากทส่ี ดุ และรองลงมาคอื การอนรุ ักษส์ ง่ เสริมและถา่ ยทอดศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณีของท้องถ่ิน มีการบริการวิชาการเพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น และมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการ พัฒนาท้องถิ่น สำหรับประเด็นมีการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ท้องถิ่นนั้น ระดับความพึง พอใจนอ้ ยทีส่ ดุ และเม่อื พจิ ารณาแนวโน้ม พบวา่ ทุกประเด็นมแี นวโนม้ ความพงึ พอใจลดลง

88 และความพึงพอใจของบุคลากรต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทาลัย ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 เมอื่ แยกตามหน่วยงานภายในมหาวทิ ยาลัย 16 หน่วยงาน ประกอบด้วย 01 คณะครศุ าสตร์ 09 สำนกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 02 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 10 สำนกั คอมพวิ เตอร์ 03 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 11 สำนักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น 04 คณะวิทยาการจัดการ 12 สำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม 05 คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม 13 สถาบันภาษา 06 คณะสาธารณสุขศาสตร์ 14 สถาบันวจิ ัยและพัฒนา 07 บัณฑติ วิทยาลัย 15 สถาบนั วิจัยไม้กลายเปน็ หนิ ฯ 08 สำนกั งานอธกิ ารบดี 16 หน่วยตรวจสอบภายใน มีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 13 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ ครศุ าสตร์ ทม่ี ตี ่อผลการดำเนนิ งานที่สอดคล้องกับอตั ลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานท่ี สอดคล้องกบั อัตลกั ษณข์ อง 4.33 0.65 มาก 4.49 0.59 มาก 4.47 0.58 มาก มหาวทิ ยาลยั รวมทกุ ดา้ น 1. การให้โอกาสทางการศกึ ษา มาก 4.50 0.58 มาก 4.50 0.58 มาก แก่นักเรยี นนักศึกษาและ 4.38 0.62 ทส่ี ุด ประชาชนในทอ้ งถนิ่ 2. มีการบรกิ ารวิชาการเพือ่ เพม่ิ ศกั ยภาพของชุมชนใน 4.32 0.66 มาก 4.46 0.60 มาก 4.45 0.58 มาก ทอ้ งถน่ิ 3. มีการอนรุ กั ษส์ ง่ เสรมิ และ 4.37 0.62 มาก 4.53 0.55 มาก 4.50 0.56 มาก ถา่ ยทอดศิลปวฒั นธรรมและ ท่สี ดุ ทส่ี ุด ประเพณขี องท้องถ่ิน 4. มีการวิจัยและถา่ ยทอด เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสู่ 4.28 0.69 มาก 4.47 0.63 มาก 4.42 0.59 มาก ทอ้ งถนิ่ 5. มีความร่วมมอื กับ หน่วยงานภายนอกในการ 4.31 0.64 มาก 4.47 0.61 มาก 4.48 0.58 มาก พฒั นาทอ้ งถ่นิ

89 ตารางที่ 14 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ทมี่ ีตอ่ ผลการดำเนินงานท่ีสอดคลอ้ งกบั อตั ลักษณข์ องมหาวทิ ยาลัย ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั ผลการดำเนนิ งานที่ สอดคล้องกับอตั ลกั ษณ์ของ 4.35 0.66 มาก 4.43 0.70 มาก 4.48 0.69 มาก มหาวทิ ยาลยั รวมทกุ ดา้ น 1. การใหโ้ อกาสทางการศึกษา แกน่ ักเรียนนกั ศกึ ษาและ 4.38 0.59 มาก 4.47 0.71 มาก 4.48 0.68 มาก ประชาชนในทอ้ งถน่ิ 2. มีการบริการวชิ าการเพื่อ เพม่ิ ศกั ยภาพของชมุ ชนใน 4.35 0.64 มาก 4.43 0.71 มาก 4.49 0.69 มาก ทอ้ งถิ่น 3. มกี ารอนรุ ักษส์ ่งเสรมิ และ 4.35 0.67 มาก 4.42 0.69 มาก 4.51 0.67 มาก ถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมและ ทสี่ ดุ ประเพณขี องท้องถ่นิ 4. มีการวจิ ยั และถ่ายทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ 4.32 0.71 มาก 4.39 0.70 มาก 4.43 0.68 มาก ท้องถ่นิ 5. มีความรว่ มมือกับ หน่วยงานภายนอกในการ 4.35 0.67 มาก 4.45 0.69 มาก 4.47 0.71 มาก พฒั นาทอ้ งถนิ่ ตารางที่ 15 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานที่ สอดคล้องกับอัตลกั ษณข์ อง 4.33 0.66 มาก 4.26 0.71 มาก 4.37 0.63 มาก มหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. การให้โอกาสทางการศกึ ษา แก่นักเรยี นนกั ศกึ ษาและ 4.41 0.62 มาก 4.34 0.67 มาก 4.47 0.61 มาก ประชาชนในทอ้ งถิ่น

90 รายการ ปกี ารศึกษา 2560 2561 2562 2. มกี ารบริการวิชาการเพ่อื x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ เพิม่ ศกั ยภาพของชุมชนใน 4.38 0.65 มาก 4.28 0.71 มาก 4.35 0.62 มาก ทอ้ งถนิ่ 3. มกี ารอนรุ กั ษ์สง่ เสรมิ และ 4.28 0.67 มาก 4.24 0.73 มาก 4.39 0.59 มาก ถา่ ยทอดศิลปวัฒนธรรมและ ประเพณีของทอ้ งถนิ่ 4.27 0.71 มาก 4.22 0.73 มาก 4.30 0.65 มาก 4. มกี ารวจิ ยั และถ่ายทอด เทคโนโลยีและนวตั กรรมสู่ 4.31 0.68 มาก 4.24 0.71 มาก 4.35 0.69 มาก ท้องถน่ิ 5. มีความรว่ มมือกับ หน่วยงานภายนอกในการ พัฒนาทอ้ งถน่ิ ตารางที่ 16 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ วิทยาการจัดการ ที่มีต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานที่ สอดคล้องกับอัตลกั ษณ์ของ 4.28 0.75 มาก 4.46 0.68 มาก 4.38 0.66 มาก มหาวทิ ยาลยั รวมทุกดา้ น 1. การให้โอกาสทางการศึกษา มาก 4.57 0.64 มาก 4.40 0.65 มาก แก่นักเรยี นนักศึกษาและ 4.34 0.70 ที่สุด ประชาชนในทอ้ งถนิ่ 2. มีการบรกิ ารวชิ าการเพือ่ เพม่ิ ศักยภาพของชุมชนใน 4.30 0.72 มาก 4.49 0.65 มาก 4.41 0.65 มาก ท้องถน่ิ 3. มกี ารอนรุ ักษส์ ง่ เสรมิ และ ถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมและ 4.26 0.80 มาก 4.45 0.70 มาก 4.43 0.64 มาก ประเพณีของทอ้ งถ่ิน 4. มกี ารวิจยั และถา่ ยทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ 4.18 0.78 มาก 4.37 0.74 มาก 4.30 0.67 มาก ท้องถน่ิ 5. มคี วามรว่ มมอื กับ หน่วยงานภายนอกในการ 4.29 0.75 มาก 4.43 0.68 มาก 4.35 0.71 มาก พฒั นาทอ้ งถ่ิน

91 ตารางที่ 17 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม ที่มตี ่อผลการดำเนินงานทีส่ อดคลอ้ งกับอตั ลักษณข์ องมหาวิทยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานท่ี สอดคลอ้ งกบั อตั ลกั ษณ์ของ 4.20 0.70 มาก 4.22 0.70 มาก 4.28 0.66 มาก มหาวิทยาลัยรวมทุกด้าน 1. การใหโ้ อกาสทางการศึกษา แก่นกั เรยี นนกั ศกึ ษาและ 4.28 0.71 มาก 4.27 0.72 มาก 4.38 0.63 มาก ประชาชนในท้องถิ่น 2. มกี ารบริการวชิ าการเพ่ือ เพิม่ ศักยภาพของชมุ ชนใน 4.27 0.67 มาก 4.24 0.69 มาก 4.35 0.65 มาก ทอ้ งถิ่น 3. มีการอนุรกั ษ์ส่งเสรมิ และ ถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมและ 4.22 0.72 มาก 4.21 0.68 มาก 4.31 0.66 มาก ประเพณีของท้องถิ่น 4. มีการวจิ ัยและถ่ายทอด เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสู่ 4.07 0.73 มาก 4.19 0.72 มาก 4.16 0.70 มาก ทอ้ งถิน่ 5. มีความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในการ 4.15 0.69 มาก 4.20 0.69 มาก 4.20 0.68 มาก พฒั นาทอ้ งถิน่ ตารางที่ 18 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ สาธารณสุขศาสตร์ ที่มีต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนินงานที่ 4.53 0.52 มาก 4.56 0.55 มาก 4.42 0.57 มาก สอดคลอ้ งกบั อัตลกั ษณ์ของ ที่สุด ทีส่ ดุ มหาวทิ ยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. การให้โอกาสทางการศกึ ษา มาก 4.59 0.49 มาก 4.50 0.57 มาก แกน่ ักเรยี นนกั ศกึ ษาและ 4.52 0.50 ทสี่ ุด ที่สดุ ประชาชนในท้องถ่ิน 2. มกี ารบรกิ ารวชิ าการเพ่อื 4.65 0.48 มาก 4.59 0.49 มาก 4.43 0.56 มาก เพ่มิ ศักยภาพของชมุ ชนใน ท่ีสดุ ทีส่ ุด ทอ้ งถิ่น

92 รายการ ปกี ารศึกษา 2560 2561 2562 3. มีการอนุรักษส์ ่งเสรมิ และ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ถา่ ยทอดศิลปวฒั นธรรมและ ประเพณขี องทอ้ งถิ่น 4.55 0.50 มาก 4.59 0.56 มาก 4.43 0.56 มาก 4. มกี ารวิจัยและถ่ายทอด ทีส่ ดุ ทส่ี ุด เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ ทอ้ งถิ่น 4.45 0.61 มาก 4.48 0.62 มาก 4.32 0.60 มาก 5. มคี วามร่วมมอื กับ หน่วยงานภายนอกในการ 4.48 0.50 มาก 4.55 0.56 มาก 4.43 0.56 มาก พฒั นาทอ้ งถ่ิน ท่สี ดุ ตารางที่ 19 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากร บัณฑิตวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนินงานที่ สอดคล้องกบั อัตลกั ษณข์ อง 3.94 0.77 มาก 4.02 0.48 มาก 4.10 0.70 มาก มหาวทิ ยาลยั รวมทุกดา้ น 1. การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษา แกน่ กั เรยี นนักศกึ ษาและ 4.10 0.83 มาก 4.11 0.33 มาก 4.40 0.49 มาก ประชาชนในท้องถิ่น 2. มกี ารบรกิ ารวิชาการเพอ่ื เพิ่มศักยภาพของชุมชนใน 4.00 0.77 มาก 4.00 0.47 มาก 4.00 0.77 มาก ทอ้ งถิน่ 3. มกี ารอนุรกั ษ์สง่ เสรมิ และ ถา่ ยทอดศิลปวฒั นธรรมและ 4.00 0.77 มาก 3.89 0.56 มาก 4.00 0.77 มาก ประเพณขี องท้องถน่ิ 4. มีการวิจัยและถา่ ยทอด เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสู่ 3.70 0.78 มาก 4.11 0.57 มาก 4.00 0.77 มาก ท้องถิน่ 5. มีความรว่ มมอื กับ หน่วยงานภายนอกในการ 3.90 0.70 มาก 4.00 0.47 มาก 4.10 0.70 มาก พฒั นาทอ้ งถิน่

93 ตารางที่ 20 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสำนักงาน อธิการบดี ท่ีมีต่อผลการดำเนินงานทสี่ อดคล้องกบั อัตลกั ษณ์ของมหาวิทยาลัย ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปีการศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนินงานท่ี สอดคลอ้ งกบั อัตลกั ษณข์ อง 4.40 0.63 มาก 4.30 0.59 มาก 4.16 0.66 มาก มหาวิทยาลัยรวมทุกดา้ น 1. การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษา แกน่ ักเรียนนักศกึ ษาและ 4.41 0.60 มาก 4.32 0.63 มาก 4.21 0.66 มาก ประชาชนในท้องถ่ิน 2. มกี ารบริการวิชาการเพ่อื เพิ่มศกั ยภาพของชุมชนใน 4.38 0.64 มาก 4.30 0.58 มาก 4.14 0.65 มาก ท้องถน่ิ 3. มกี ารอนุรกั ษส์ ง่ เสรมิ และ ถา่ ยทอดศลิ ปวฒั นธรรมและ 4.47 0.60 มาก 4.32 0.58 มาก 4.20 0.67 มาก ประเพณขี องท้องถ่นิ 4. มีการวจิ ัยและถ่ายทอด เทคโนโลยีและนวตั กรรมสู่ 4.37 0.64 มาก 4.28 0.56 มาก 4.14 0.66 มาก ทอ้ งถน่ิ 5. มคี วามรว่ มมอื กับ หน่วยงานภายนอกในการ 4.35 0.67 มาก 4.30 0.61 มาก 4.14 0.67 มาก พฒั นาทอ้ งถ่ิน ตารางที่ 21 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสำนัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปี การศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั ผลการดำเนนิ งานท่ี สอดคลอ้ งกบั อัตลกั ษณ์ของ 3.86 0.69 มาก 3.95 0.79 มาก 4.10 0.76 มาก มหาวิทยาลัยรวมทกุ ด้าน 1. การให้โอกาสทางการศึกษา แก่นักเรียนนกั ศึกษาและ 4.03 0.60 มาก 4.08 0.71 มาก 4.14 0.80 มาก ประชาชนในทอ้ งถ่นิ 2. มกี ารบริการวิชาการเพ่อื เพม่ิ ศกั ยภาพของชุมชนใน 3.89 0.78 มาก 4.05 0.79 มาก 4.11 0.75 มาก ท้องถน่ิ

94 รายการ ปีการศกึ ษา 2560 2561 2562 3. มีการอนุรักษ์ส่งเสรมิ และ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ถา่ ยทอดศลิ ปวัฒนธรรมและ 4.03 0.60 มาก 4.00 0.82 มาก 4.20 0.75 มาก ประเพณขี องทอ้ งถ่นิ 4. มกี ารวิจัยและถา่ ยทอด 3.68 0.78 มาก 3.82 0.78 มาก 3.97 0.77 มาก เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ ท้องถนิ่ 3.68 0.68 มาก 3.79 0.87 มาก 4.06 0.75 มาก 5. มีความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในการ พัฒนาทอ้ งถิ่น ตารางที่ 22 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสำนัก คอมพวิ เตอร์ ทีม่ ีต่อผลการดำเนินงานทส่ี อดคล้องกับอตั ลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานที่ สอดคล้องกับอตั ลกั ษณ์ของ 4.25 0.89 มาก 4.50 0.63 มาก 4.42 0.70 มาก มหาวิทยาลยั รวมทุกด้าน 1. การให้โอกาสทางการศึกษา แก่นกั เรยี นนักศึกษาและ 4.36 0.85 มาก 4.50 0.63 มาก 4.38 0.74 มาก ประชาชนในทอ้ งถ่ิน 2. มกี ารบริการวชิ าการเพอ่ื เพิ่มศกั ยภาพของชมุ ชนใน 4.23 0.84 มาก 4.50 0.63 มาก 4.38 0.74 มาก ทอ้ งถน่ิ 3. มกี ารอนรุ กั ษส์ ง่ เสรมิ และ ถ่ายทอดศลิ ปวฒั นธรรมและ 4.27 0.88 มาก 4.50 0.63 มาก 4.46 0.63 มาก ประเพณขี องทอ้ งถิ่น 4. มีการวิจัยและถ่ายทอด เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสู่ 4.18 0.99 มาก 4.50 0.63 มาก 4.38 0.74 มาก ทอ้ งถน่ิ 5. มคี วามร่วมมือกับ หนว่ ยงานภายนอกในการ 4.23 0.89 มาก 4.50 0.63 มาก 4.46 0.63 มาก พฒั นาทอ้ งถ่ิน

95 ตารางที่ 23 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสำนัก ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ที่มีต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานท่ี 4.44 0.50 มาก 4.59 0.46 มาก 4.40 0.76 มาก สอดคลอ้ งกับอัตลกั ษณ์ของ ที่สุด มหาวิทยาลัยรวมทุกด้าน 1. การให้โอกาสทางการศึกษา มาก 4.64 0.44 มาก 4.39 0.76 มาก ที่สุด ทีส่ ดุ แก่นักเรยี นนกั ศึกษาและ 4.59 0.50 ประชาชนในทอ้ งถิน่ 2. มีการบรกิ ารวิชาการเพอ่ื 4.45 0.54 มาก 4.55 0.45 มาก 4.39 0.76 มาก เพิม่ ศกั ยภาพของชุมชนใน ที่สดุ ท้องถิน่ 3. มกี ารอนุรักษ์ส่งเสรมิ และ 4.45 0.54 มาก 4.64 0.44 มาก 4.44 0.76 มาก ถา่ ยทอดศิลปวฒั นธรรมและ ทีส่ ดุ ประเพณขี องทอ้ งถ่ิน 4. มีการวิจัยและถ่ายทอด 4.32 0.45 มาก 4.55 0.45 มาก 4.39 0.76 มาก เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ ทส่ี ุด ทอ้ งถิ่น 5. มคี วามรว่ มมือกบั 4.41 0.48 มาก 4.59 0.50 มาก 4.39 0.76 มาก หนว่ ยงานภายนอกในการ ทสี่ ุด พฒั นาท้องถิ่น ตารางท่ี 24 ค่าเฉล่ยี ( x ) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคดิ เห็นของบุคลากรสำนักศิลปะ และวฒั นธรรม ท่มี ีตอ่ ผลการดำเนินงานทสี่ อดคลอ้ งกับอตั ลักษณ์ของมหาวิทยาลยั ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานที่ 4.58 0.53 มาก 4.42 0.61 มาก 4.51 0.65 มาก สอดคล้องกบั อัตลกั ษณข์ อง ทีส่ ดุ ที่สดุ มหาวทิ ยาลัยรวมทกุ ดา้ น 1. การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษา มาก 4.56 0.45 มาก 4.67 0.47 มาก แกน่ ักเรียนนักศกึ ษาและ 4.63 0.43 ทส่ี ุด ทส่ี ุด ท่สี ดุ ประชาชนในท้องถ่นิ 2. มีการบรกิ ารวิชาการเพ่อื เพ่ิมศักยภาพของชมุ ชนใน 4.50 0.71 มาก 4.22 0.80 มาก 4.33 0.82 มาก ทอ้ งถิ่น

96 รายการ ปกี ารศกึ ษา 2560 2561 2562 3. มกี ารอนุรักษ์ส่งเสรมิ และ x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมและ ประเพณขี องทอ้ งถิ่น 4.75 0.43 มาก 4.67 0.44 มาก 4.67 0.47 มาก 4. มกี ารวจิ ยั และถ่ายทอด ที่สุด ท่สี ดุ ท่สี ุด เทคโนโลยีและนวตั กรรมสู่ ทอ้ งถนิ่ 4.38 0.66 มาก 4.33 0.69 มาก 4.33 0.82 มาก 5. มีความร่วมมอื กับ หน่วยงานภายนอกในการ 4.63 0.43 มาก 4.33 0.69 มาก 4.56 0.68 มาก พฒั นาทอ้ งถ่นิ ที่สุด ทส่ี ุด ตารางที่ 25 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสถาบัน ภาษา ทมี่ ตี อ่ ผลการดำเนนิ งานทีส่ อดคลอ้ งกบั อตั ลักษณ์ของมหาวทิ ยาลัย ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานที่ สอดคลอ้ งกับอัตลกั ษณ์ของ 4.33 0.96 มาก 4.33 0.50 มาก 4.33 0.54 มาก มหาวทิ ยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษา มาก 4.33 0.50 มาก 4.67 0.47 มาก แกน่ กั เรียนนักศกึ ษาและ 4.33 0.96 ท่ีสุด ประชาชนในทอ้ งถนิ่ 2. มีการบรกิ ารวชิ าการเพอื่ เพิ่มศกั ยภาพของชมุ ชนใน 4.33 0.96 มาก 4.33 0.50 มาก 4.33 0.47 มาก ท้องถิ่น 3. มกี ารอนุรกั ษส์ ง่ เสรมิ และ ถา่ ยทอดศลิ ปวัฒนธรรมและ 4.33 0.96 มาก 4.33 0.50 มาก 4.33 0.47 มาก ประเพณขี องทอ้ งถนิ่ 4. มกี ารวิจัยและถา่ ยทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ 4.33 0.96 มาก 4.33 0.50 มาก 4.00 0.82 มาก ทอ้ งถน่ิ 5. มคี วามร่วมมอื กับ หนว่ ยงานภายนอกในการ 4.33 0.96 มาก 4.33 0.50 มาก 4.33 0.47 มาก พฒั นาท้องถ่ิน

97 ตารางที่ 26 คา่ เฉลยี่ ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคดิ เหน็ ของบุคลากรสถาบันวิจัย และพฒั นา ที่มตี อ่ ผลการดำเนินงานที่สอดคลอ้ งกบั อตั ลักษณ์ของมหาวิทยาลยั ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานที่ สอดคล้องกับอัตลกั ษณ์ของ 4.16 0.73 มาก 4.34 0.60 มาก 4.27 0.73 มาก มหาวทิ ยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. การใหโ้ อกาสทางการศึกษา แก่นักเรียนนกั ศกึ ษาและ 4.20 0.75 มาก 4.36 0.67 มาก 4.25 0.72 มาก ประชาชนในทอ้ งถิ่น 2. มกี ารบรกิ ารวชิ าการเพ่ือ เพม่ิ ศักยภาพของชุมชนใน 4.10 0.70 มาก 4.36 0.67 มาก 4.33 0.75 มาก ทอ้ งถิน่ 3. มีการอนรุ ักษ์ส่งเสรมิ และ ถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมและ 4.30 0.78 มาก 4.27 0.64 มาก 4.25 0.72 มาก ประเพณขี องทอ้ งถนิ่ 4. มีการวิจัยและถ่ายทอด เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสู่ 4.10 0.70 มาก 4.36 0.51 มาก 4.25 0.72 มาก ท้องถิน่ 5. มคี วามร่วมมือกบั หนว่ ยงานภายนอกในการ 4.10 0.70 มาก 4.36 0.51 มาก 4.25 0.72 มาก พัฒนาท้องถ่นิ ตารางท่ี 27 คา่ เฉลยี่ ( x ) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดบั ความคิดเห็นของบุคลากรสถาบันวิจัย ไม้กลายเป็นหินฯ ที่มีต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานท่ี สอดคล้องกบั อตั ลกั ษณ์ของ 4.25 0.62 มาก 4.10 0.71 มาก 4.31 0.70 มาก มหาวทิ ยาลัยรวมทุกดา้ น 1. การใหโ้ อกาสทางการศึกษา แกน่ กั เรียนนักศกึ ษาและ 4.15 0.65 มาก 4.20 0.75 มาก 4.35 0.59 มาก ประชาชนในท้องถิ่น 2. มีการบรกิ ารวชิ าการเพื่อ เพิม่ ศักยภาพของชุมชนใน 4.20 0.60 มาก 4.20 0.75 มาก 4.24 0.73 มาก ทอ้ งถ่นิ

98 รายการ ปีการศึกษา 2560 2561 2562 3. มีการอนรุ กั ษส์ ่งเสรมิ และ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ถ่ายทอดศลิ ปวฒั นธรรมและ 4.35 0.57 มาก 4.10 0.70 มาก 4.24 0.81 มาก ประเพณีของทอ้ งถิ่น 4. มกี ารวิจยั และถ่ายทอด 4.25 0.62 มาก 3.80 0.60 มาก 4.29 0.67 มาก เทคโนโลยีและนวตั กรรมสู่ ท้องถ่ิน 4.30 0.64 มาก 4.20 0.75 มาก 4.41 0.69 มาก 5. มีความรว่ มมือกับ หน่วยงานภายนอกในการ พฒั นาท้องถ่นิ ตารางที่ 28 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรหน่วย ตรวจสอบภายใน ที่มีต่อผลการดำเนินงานที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีการศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานท่ี 4.56 0.53 มาก 4.00 0.68 มาก 4.16 0.51 มาก สอดคล้องกบั อัตลกั ษณ์ของ ทีส่ ุด มหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. การใหโ้ อกาสทางการศึกษา มาก 4.00 0.63 มาก 4.20 0.40 มาก แกน่ ักเรียนนักศกึ ษาและ 4.80 0.40 ทสี่ ุด ประชาชนในทอ้ งถ่ิน 2. มีการบริการวิชาการเพื่อ 4.60 0.49 มาก 4.00 0.63 มาก 4.20 0.40 มาก เพมิ่ ศักยภาพของชุมชนใน ที่สดุ ท้องถิน่ 3. มีการอนุรกั ษส์ ่งเสรมิ และ 4.60 0.49 มาก 4.20 0.75 มาก 4.40 0.49 มาก ถ่ายทอดศลิ ปวฒั นธรรมและ ทส่ี ดุ ประเพณีของท้องถน่ิ 4. มีการวิจัยและถ่ายทอด เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ 4.40 0.80 มาก 3.80 0.75 มาก 4.00 0.63 มาก ทอ้ งถิ่น 5. มีความรว่ มมือกับ หนว่ ยงานภายนอกในการ 4.40 0.49 มาก 4.00 0.63 มาก 4.00 0.63 มาก พฒั นาท้องถ่นิ

99 ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 การให้โอกาสทางการศึกษาแกน่ กั เรยี นนกั ศึกษาและประชาชนในทอ้ งถนิ่ การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษาแกน่ ักเรยี นนักศึกษาและประชาชนในทอ้ งถน่ิ มกี ารบริการวชิ าการเพอื่ เพิม่ ศักยภาพของชุมชนในทอ้ งถนิ่ มีการบริการวชิ าการเพ่อื เพ่มิ ศักยภาพของชุมชนในทอ้ งถน่ิ มกี ารอนุรักษ์ส่งเสรมิ และถา่ ยทอดศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณขี องทอ้ งถิน่ มีการอนุรกั ษส์ ง่ เสรมิ และถ่ายทอดศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณขี องทอ้ งถิน่ มีการวจิ ยั และถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสู่ทอ้ งถ่นิ มีการวิจยั และถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมส่ทู อ้ งถน่ิ มคี วามร่วมมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถ่นิ มคี วามร่วมมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในการพฒั นาทอ้ งถน่ิ ผลการดาเนนิ งานทีส่ อดคลอ้ งกบั อตั ลกั ษณข์ องมหาวิทยาลยั รวมทุกดา้ น ผลการดาเนนิ งานทส่ี อดคล้องกบั อตั ลักษณ์ของมหาวิทยาลยั รวมทุกด้าน ภาพที่ 24 ความพึงพอใจของบคุ ลากรคณะครศุ าสตร์ ต่อผลการดำเนนิ งาน ภาพท่ี 25 ความพึงพอใจของบคุ ลากรคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ทีส่ อดคล้องกับอตั ลักษณข์ องมหาวิทยาลัย ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ตอ่ ผลการดำเนนิ งานทส่ี อดคล้องกบั อัตลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลยั ปี การศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 การให้โอกาสทางการศึกษาแกน่ ักเรยี นนักศกึ ษาและประชาชนในทอ้ งถน่ิ การให้โอกาสทางการศกึ ษาแกน่ ักเรยี นนกั ศกึ ษาและประชาชนในทอ้ งถน่ิ มกี ารบริการวิชาการเพือ่ เพิม่ ศักยภาพของชมุ ชนในทอ้ งถนิ่ มกี ารบริการวิชาการเพอื่ เพิ่มศักยภาพของชุมชนในทอ้ งถน่ิ มกี ารอนรุ กั ษ์สง่ เสรมิ และถา่ ยทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของทอ้ งถิ่น มกี ารอนรุ กั ษส์ ง่ เสรมิ และถา่ ยทอดศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณขี องทอ้ งถน่ิ มกี ารวิจัยและถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวตั กรรมสทู่ อ้ งถ่นิ มีการวจิ ัยและถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมสทู่ อ้ งถ่นิ มคี วามร่วมมือกบั หนว่ ยงานภายนอกในการพฒั นาทอ้ งถิ่น มคี วามรว่ มมือกบั หน่วยงานภายนอกในการพฒั นาท้องถ่นิ ผลการดาเนนิ งานที่สอดคล้องกบั อัตลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลัยรวมทกุ ด้าน ผลการดาเนินงานท่ีสอดคลอ้ งกับอัตลักษณข์ องมหาวิทยาลัยรวมทุกดา้ น ภาพท่ี 26 ความพึงพอใจของบคุ ลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาพที่ 27 ความพงึ พอใจของบคุ ลากรคณะวทิ ยาการจัดการ ตอ่ ผลการ ต่อผลการดำเนินงานทีส่ อดคล้องกับอัตลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลยั ปกี ารศกึ ษา ดำเนนิ งานทส่ี อดคล้องกบั อัตลกั ษณ์ของมหาวิทยาลยั ปีการศึกษา 2560 – 2560 – 2562 2562

100 ปีการศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 การให้โอกาสทางการศึกษาแกน่ กั เรยี นนกั ศึกษาและประชาชนในทอ้ งถน่ิ การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษาแกน่ ักเรยี นนกั ศกึ ษาและประชาชนในทอ้ งถน่ิ มกี ารบรกิ ารวชิ าการเพ่ือเพม่ิ ศกั ยภาพของชุมชนในทอ้ งถน่ิ มีการบรกิ ารวิชาการเพอ่ื เพิ่มศกั ยภาพของชุมชนในทอ้ งถน่ิ มีการอนรุ กั ษส์ ่งเสรมิ และถ่ายทอดศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณขี องทอ้ งถ่นิ มกี ารอนรุ กั ษ์สง่ เสรมิ และถ่ายทอดศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณีของทอ้ งถิ่น มีการวจิ ยั และถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวตั กรรมสทู่ อ้ งถ่นิ มกี ารวจิ ยั และถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมส่ทู อ้ งถ่ิน มีความรว่ มมือกบั หน่วยงานภายนอกในการพฒั นาทอ้ งถ่ิน มคี วามรว่ มมือกบั หน่วยงานภายนอกในการพฒั นาทอ้ งถิน่ ผลการดาเนนิ งานทส่ี อดคล้องกบั อตั ลักษณข์ องมหาวิทยาลยั รวมทกุ ดา้ น ผลการดาเนนิ งานทส่ี อดคลอ้ งกบั อตั ลกั ษณ์ของมหาวิทยาลัยรวมทกุ ดา้ น ภาพที่ 28 ความพึงพอใจของบคุ ลากรคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ต่อผล ภาพที่ 29 ความพึงพอใจของบคุ ลากรคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ต่อผลการ การดำเนินงานทส่ี อดคลอ้ งกับอตั ลกั ษณ์ของมหาวิทยาลัย ปกี ารศกึ ษา ดำเนินงานทส่ี อดคล้องกบั อตั ลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2560 – 2562 2562 ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 การใหโ้ อกาสทางการศึกษาแกน่ กั เรยี นนกั ศึกษาและประชาชนในทอ้ งถน่ิ การให้โอกาสทางการศึกษาแกน่ กั เรยี นนกั ศกึ ษาและประชาชนในทอ้ งถนิ่ มกี ารบริการวิชาการเพ่ือเพ่ิมศักยภาพของชมุ ชนในทอ้ งถนิ่ มีการบรกิ ารวิชาการเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพของชุมชนในทอ้ งถนิ่ มีการอนรุ กั ษส์ ง่ เสรมิ และถา่ ยทอดศิลปวฒั นธรรมและประเพณีของทอ้ งถ่ิน มกี ารอนรุ กั ษส์ ่งเสรมิ และถา่ ยทอดศิลปวฒั นธรรมและประเพณีของทอ้ งถ่ิน มีการวิจยั และถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสทู่ อ้ งถน่ิ มกี ารวจิ ัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวตั กรรมสู่ทอ้ งถนิ่ มคี วามรว่ มมือกบั หน่วยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถิ่น มีความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในการพฒั นาท้องถิ่น ผลการดาเนนิ งานท่สี อดคล้องกบั อตั ลกั ษณข์ องมหาวิทยาลยั รวมทกุ ดา้ น ผลการดาเนินงานที่สอดคล้องกบั อัตลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลัยรวมทกุ ดา้ น ภาพที่ 30 ความพงึ พอใจของบคุ ลากรบัณฑิตวิทยาลยั ต่อผลการ ภาพท่ี 31 ความพึงพอใจของบุคลากรสำนกั งานอธิการบดี ต่อผลการ ดำเนินงานท่ีสอดคล้องกบั อตั ลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลยั ปกี ารศกึ ษา 2560 – ดำเนนิ งานทส่ี อดคล้องกับอัตลกั ษณ์ของมหาวิทยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 2562

101 ปีการศึกษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษาแกน่ กั เรยี นนกั ศึกษาและประชาชนในทอ้ งถนิ่ การใหโ้ อกาสทางการศึกษาแกน่ กั เรยี นนกั ศกึ ษาและประชาชนในทอ้ งถนิ่ มีการบริการวชิ าการเพอื่ เพมิ่ ศกั ยภาพของชมุ ชนในทอ้ งถนิ่ มกี ารบริการวิชาการเพ่ือเพมิ่ ศักยภาพของชุมชนในทอ้ งถนิ่ มีการอนรุ กั ษส์ ่งเสรมิ และถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมและประเพณขี องทอ้ งถ่นิ มกี ารอนุรักษ์ส่งเสรมิ และถ่ายทอดศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีของทอ้ งถิ่น มกี ารวิจยั และถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวตั กรรมส่ทู อ้ งถิ่น มกี ารวิจัยและถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสทู่ อ้ งถน่ิ มีความร่วมมือกบั หน่วยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถนิ่ มคี วามรว่ มมอื กบั หน่วยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถิน่ ผลการดาเนินงานทสี่ อดคลอ้ งกับอตั ลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลัยรวมทกุ ดา้ น ผลการดาเนินงานที่สอดคลอ้ งกบั อตั ลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลยั รวมทกุ ด้าน ภาพท่ี 32 ความพงึ พอใจของบคุ ลากรสำนกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยี ภาพท่ี 33 ความพงึ พอใจของบคุ ลากรสำนกั คอมพวิ เตอร์ ต่อผลการ สารสนเทศ ตอ่ ผลการดำเนินงานทส่ี อดคล้องกับอตั ลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลัย ดำเนินงานที่สอดคล้องกบั อัตลักษณ์ของมหาวทิ ยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 การใหโ้ อกาสทางการศึกษาแกน่ ักเรยี นนักศกึ ษาและประชาชนในทอ้ งถนิ่ การให้โอกาสทางการศกึ ษาแกน่ กั เรยี นนกั ศึกษาและประชาชนในทอ้ งถนิ่ มกี ารบรกิ ารวิชาการเพ่อื เพิม่ ศักยภาพของชมุ ชนในทอ้ งถนิ่ มีการบรกิ ารวชิ าการเพอื่ เพมิ่ ศักยภาพของชุมชนในทอ้ งถนิ่ มกี ารอนรุ ักษส์ ่งเสรมิ และถา่ ยทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของทอ้ งถิ่น มกี ารอนุรักษ์ส่งเสรมิ และถา่ ยทอดศิลปวฒั นธรรมและประเพณีของทอ้ งถ่นิ มกี ารวิจยั และถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสูท่ อ้ งถ่นิ มีการวจิ ัยและถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมส่ทู อ้ งถิน่ มีความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในการพฒั นาทอ้ งถิ่น มีความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานภายนอกในการพัฒนาทอ้ งถิน่ ผลการดาเนินงานทสี่ อดคลอ้ งกับอัตลักษณข์ องมหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน ผลการดาเนนิ งานท่สี อดคล้องกบั อตั ลกั ษณข์ องมหาวิทยาลยั รวมทุกด้าน ภาพท่ี 34 ความพึงพอใจของบุคลากรสำนกั ส่งเสรมิ วชิ าการและงาน ภาพที่ 35 ความพงึ พอใจของบคุ ลากรสำนกั ศลิ ปะและวัฒนธรรม ตอ่ ผล ทะเบยี น ต่อผลการดำเนินงานท่สี อดคล้องกับอตั ลักษณข์ องมหาวทิ ยาลัย ปี การดำเนินงานทส่ี อดคล้องกับอัตลักษณข์ องมหาวิทยาลัย ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 การศึกษา 2560 – 2562

102 ปีการศกึ ษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 การให้โอกาสทางการศกึ ษาแกน่ กั เรยี นนกั ศึกษาและประชาชนในทอ้ งถนิ่ การให้โอกาสทางการศกึ ษาแกน่ กั เรยี นนักศกึ ษาและประชาชนในทอ้ งถน่ิ มกี ารบรกิ ารวชิ าการเพือ่ เพ่มิ ศกั ยภาพของชุมชนในทอ้ งถน่ิ มีการบริการวิชาการเพอื่ เพิม่ ศกั ยภาพของชมุ ชนในทอ้ งถนิ่ มีการอนรุ ักษ์สง่ เสรมิ และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของทอ้ งถน่ิ มกี ารอนุรักษส์ ่งเสรมิ และถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมและประเพณขี องทอ้ งถ่ิน มกี ารวจิ ัยและถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสทู่ อ้ งถ่ิน มีการวจิ ัยและถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมส่ทู อ้ งถ่ิน มคี วามร่วมมือกบั หน่วยงานภายนอกในการพฒั นาทอ้ งถ่นิ มคี วามร่วมมือกบั หนว่ ยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถ่ิน ผลการดาเนินงานที่สอดคลอ้ งกับอัตลักษณ์ของมหาวทิ ยาลัยรวมทุกด้าน ผลการดาเนินงานทสี่ อดคล้องกบั อตั ลักษณ์ของมหาวิทยาลยั รวมทุกด้าน ภาพท่ี 36 ความพึงพอใจของบคุ ลากรสถาบนั ภาษา ตอ่ ผลการดำเนนิ งานท่ี ภาพท่ี 37 ความพึงพอใจของบคุ ลากรสถาบนั วิจยั และพัฒนา ตอ่ ผลการ สอดคลอ้ งกับอัตลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 ดำเนนิ งานทส่ี อดคลอ้ งกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 การให้โอกาสทางการศกึ ษาแกน่ กั เรยี นนกั ศึกษาและประชาชนในทอ้ งถนิ่ การใหโ้ อกาสทางการศกึ ษาแกน่ กั เรยี นนักศกึ ษาและประชาชนในทอ้ งถน่ิ มกี ารบรกิ ารวิชาการเพ่อื เพม่ิ ศกั ยภาพของชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ มกี ารบริการวชิ าการเพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพของชมุ ชนในทอ้ งถนิ่ มกี ารอนุรกั ษ์ส่งเสรมิ และถา่ ยทอดศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณขี องทอ้ งถิน่ มีการอนรุ ักษส์ ่งเสรมิ และถา่ ยทอดศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณขี องทอ้ งถ่ิน มีการวิจยั และถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสูท่ อ้ งถนิ่ มกี ารวจิ ยั และถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสู่ทอ้ งถิน่ มีความร่วมมือกบั หนว่ ยงานภายนอกในการพฒั นาท้องถน่ิ มคี วามร่วมมือกบั หน่วยงานภายนอกในการพฒั นาทอ้ งถิ่น ผลการดาเนินงานที่สอดคลอ้ งกับอัตลักษณข์ องมหาวทิ ยาลัยรวมทุกดา้ น ผลการดาเนนิ งานทส่ี อดคลอ้ งกับอตั ลักษณข์ องมหาวทิ ยาลัยรวมทกุ ด้าน ภาพท่ี 38 ความพึงพอใจของบุคลากรสถาบนั วิจยั ไมก้ ลายเปน็ หนิ ฯ ตอ่ ผล ภาพที่ 39 ความพงึ พอใจของบุคลากรหน่วยตรวจสอบภายใน ตอ่ ผลการ การดำเนนิ งานทส่ี อดคลอ้ งกบั อตั ลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลัย ปกี ารศกึ ษา ดำเนนิ งานท่สี อดคลอ้ งกับอัตลักษณม์ หาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2560 – 2562 2562

103 จากภาพที่ 24 – 39 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจของบุคลากรจากทั้ง 16 หน่วยงาน ต่อผลการ ดำเนินงานท่ีสอดคล้องกับอัตลักษณ์มหาวิทยาลยั ใน 5 ประเด็น ได้แก่ การให้โอกาสทางการศึกษาแกน่ ักเรยี น นักศึกษาและประชาชนในท้องถิ่น มีการบริการวิชาการเพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น มีการอนุรักษ์ ส่งเสริมและถา่ ยทอดศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณขี องท้องถ่นิ มีการวจิ ัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่ท้องถิ่น และ มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถิ่น รวมทั้งแนวโน้มของระดับความพึง พอใจในปกี ารศึกษา 2560 – 2562 พบว่า บุคลากรของคณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ และคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความคิดเห็นที่คล้ายคลึงกันทัง้ ระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุดในประเด็น การให้โอกาสทางการศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษาและประชาชนในท้องถิ่น เช่นเดียวกับ บัณฑิตวิทยาลยั สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักคอมพวิ เตอร์ สำนกั ส่งเสริมวิชาการและงาน ทะเบียน และ สถาบันภาษา ที่มีความพึงพอใจมากที่สุดในประเด็นดังกล่าว และความพึงพอใจน้อยที่สุดใน ประเด็น มีการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ท้องถิ่น เมื่อพิจารณาแนวโน้มของความพึงพอใจ พบวา่ คณะครุศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาการจดั การ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม และสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับความพึงพอใจมีแนวโน้มสูงขึ้นในทุกประเด็น ยกเว้น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแนวโน้มมีความแตกต่างออกไปคือ ประเด็นมีการบริการวิชาการเพื่อเพ่ิม ศกั ยภาพของชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ ระดบั ความพงึ พอใจมีแนวโนม้ ลดลง สำหรับแนวโน้มความพึงพอใจของบัณฑิตวิทยาลัย สำนักคอมพิวเตอร์ สำนักส่งเสริมวิชาการและงาน ทะเบียน และ สถาบันภาษา มีความแตกต่างกัน คือ บัณฑิตวิทยาลัย ประเด็นมีการบริการวิชาการเพื่อเพ่ิม ศกั ยภาพของชมุ ชนในท้องถ่นิ และ มกี ารอนุรักษส์ ง่ เสริมและถา่ ยทอดศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณขี องท้องถ่ิน แนวโน้มไม่มีความแตกต่างกันในแต่ละปีการศึกษา แต่อีก 3 ประเด็นได้แก่ การให้โอกาสทางการศึกษาแก่ นักเรียนนักศึกษาและประชาชนในท้องถิ่น มีการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ท้องถิ่น และ มี ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถิ่น มีแนวโน้มสูงขึ้น สำนักคอมพิวเตอร์ ประเด็นการให้ โอกาสทางการศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษาและประชาชนในท้องถิ่น แนวโน้มไม่มีความแตกต่างกันในแต่ละปี การศึกษา แต่อีก 4 ประเด็นที่เหลอื มีแนวโน้มสูงขึ้น สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มีเพียงประเด็นมี การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ท้องถิ่นที่มีแนวโน้มสูงขึ้น อีก 4 ประเด็นที่เหลือมีแนวโน้ม ลดลง และ สถาบันภาษา ประเด็นการให้โอกาสทางการศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษาและประชาชนในท้องถิ่นมี แนวโน้มสูงขึ้น ประเด็นมีการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ท้องถิ่นมีแนวโน้มลดลง และ 3 ประเด็นท่ีเหลือแนวโน้มไม่มคี วามแตกตา่ งกันในแต่ละปกี ารศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ ในปีการศกึ ษา 2560 และ 2562 ระดบั ความพงึ พอใจมากทส่ี ุดในประเด็น การ ให้โอกาสทางการศึกษาแก่นักเรียนนักศึกษาและประชาชนในท้องถิ่น แต่ในปีการศึกษา 2561 ระดับความพึง พอใจมากที่สุดในประเด็น มีการบริการวิชาการเพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น สำหรับความพึงพอใจ

104 นอ้ ยที่สุดมคี วามเห็นคล้ายคลึงกับหน่วยงานอืน่ ๆ ในประเดน็ มกี ารวจิ ัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม สทู่ อ้ งถ่นิ แต่ระดบั ความพึงพอใจของบุคลากรคณะสาธารณสุขศาสตร์มีแนวโน้มลดลงในทกุ ประเด็น สำนักงานอธิการบดี และ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มีความพึงพอใจมากที่สุดในประเด็น มีการ อนรุ กั ษส์ ง่ เสรมิ และถ่ายทอดศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถ่ิน แต่มีความตา่ งกันในประเด็นที่มีความพึง พอใจน้อยที่สุด และแนวโน้มของความพึงพอใจ โดยสำนักงานอธิการบดีมีความพึงพอใจน้อยที่สุดในประเด็น มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถิ่น และระดับความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงาน อธิการบดีมีแนวโน้มลดลงในทุกประเดน็ สำหรับสำนักศิลปะและวัฒนธรรมมีความพึงพอใจน้อยที่สุดแตกต่าง กันทุกปีการศึกษา โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นประเด็น มีการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ ท้องถิ่น ปีการศึกษา 2561 ประเด็น มีการบริการวิชาการเพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น และ ปี การศึกษา 2562 มีการบริการวิชาการเพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น และประเด็น มีการวิจัยและ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวตั กรรมสู่ท้องถ่ิน และแนวโนม้ ความพึงพอใจในประเด็นการให้โอกาสทางการศึกษา แกน่ ักเรยี นนกั ศกึ ษาและประชาชนในท้องถิ่นมีแนวโน้มสงู ข้ึน แตอ่ กี 4 ประเด็นมีแนวโนม้ ลดลง สถาบันวิจัยและพัฒนา มีความพึงพอใจที่แตกต่างกันทุกปีการศึกษา โดยในปีการศึกษา 2560 พึง พอใจมากที่สุดในประเด็น มีการอนุรักษ์ส่งเสริมและถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถิ่น และใน 3 ประเด็น คือ มีการบริการวิชาการเพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่น มีการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรมสทู่ ้องถ่ิน และ มีความรว่ มมอื กับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถน่ิ มรี ะดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด ปีการศึกษา 2561 ในทุกประเด็นมีระดับความพึงพอใจสูงพอ ๆ กัน ยกเว้นประเด็น มีการอนุรักษ์ ส่งเสริมและถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถิ่น ที่มีระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด และ ปี การศกึ ษา 2562 พึงพอใจมากทสี่ ุดในประเด็นมีการบริการวชิ าการเพ่ือเพิ่มศกั ยภาพของชุมชนในท้องถิ่น ส่วน อีก 4 ประเด็นที่เหลือมีระดับความพึงพอใจที่ไม่แตกต่างกัน และความพึงพอใจทุกประเด็นมีแนวโน้มสูงข้ึน ยกเว้นประเดน็ มีการอนุรกั ษ์ส่งเสรมิ และถา่ ยทอดศิลปวฒั นธรรมและประเพณีของท้องถิน่ สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ มีความพึงพอใจมากที่สุดในแต่ละปีการศึกษาแตกต่างกัน โดยในปี การศึกษา 2560 เป็นประเด็น มีการอนุรักษ์ส่งเสริมและถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถิ่น ปี การศึกษา 2561 และ 2562 เป็นประเด็น มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาท้องถิ่น และ ความพึงพอใจทุกประเด็นมีแนวโน้มสูงขึ้น ยกเว้นประเด็น มีการอนุรักษ์ส่งเสริมและถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม และประเพณีของท้องถน่ิ หน่วยตรวจสอบภายใน ความพึงพอใจตอ่ ทั้ง 5 ประเด็นไม่มีความแตกต่างกนั และระดับความพึงพอใจ มีแนวโน้มลดลงทกุ ประเดน็

105 3.2 ความคิดเห็นต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวทิ ยาลัย ผลการดำเนินงานตามจดุ เน้น จุดเด่น หรือความเช่ียวชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลัย มี 5 ด้าน ได้แก่ เป็นผนู้ ำทางดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เปน็ ผูน้ ำของประเทศในการผลิตครูและบคุ ลากร ทางการศึกษามืออาชีพ ร้อยละของงานวิจัยเพ่ือพัฒนาตอ่ ยอดภูมิปัญญาท้องถ่ินของจังหวัดนครราชสมี า ด้าน อาหาร ผ้า และการท่องเที่ยว ต่อจำนวนงานวิจัยทั้งหมด สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน บรรพชีวินระดับนานาชาติที่โดดเด่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และการสืบสานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำรใิ นการแก้ปญั หาและใช้ประโยชนจ์ ากดนิ เค็มของจงั หวดั นครราชสีมา โดยความคิดเห็นของบุคลากรตอ่ ผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ ของมหาวทิ ยาลยั มรี ายละเอียดแสดงตามตารางท่ี 29 – 47 ดงั ตอ่ ไปน้ี ตารางที่ 29 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรของ มหาวทิ ยาลัยในภาพรวม (ท้ังสายวิชาการและสายสนบั สนนุ ) ทม่ี ีตอ่ ผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จดุ เด่น หรือ ความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลัย ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ผลการดำเนินงานตามจดุ เนน้ จุดเดน่ หรอื ความเชี่ยวชาญ 4.20 0.73 มาก 4.20 0.73 มาก 4.23 0.72 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. เปน็ ผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษ 4.13 0.75 มาก 4.14 0.74 มาก 4.20 0.72 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 2. เปน็ ผู้นำของประเทศในการ ผลิตครแู ละบุคลากรทางการ 4.29 0.71 มาก 4.24 0.71 มาก 4.28 0.70 มาก ศกึ ษามืออาชีพ 3. รอ้ ยละของงานวิจัยเพอ่ื ต่อ ยอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินของ จงั หวัดนครราชสีมาด้านอาหาร 4.13 0.75 มาก 4.15 0.74 มาก 4.18 0.72 มาก ผ้า และการทอ่ งเที่ยวต่อจำนวน งานวจิ ยั ทง้ั หมด 4. สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหลง่ เรยี นรู้ด้านบรรพชวี ิน 4.31 0.70 มาก 4.32 0.69 มาก 4.32 0.69 มาก ระดับนานาชาติทีโ่ ดดเด่นใน เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 5. การสืบสานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดำริในการ 4.13 0.75 มาก 4.15 0.77 มาก 4.16 0.76 มาก แกป้ ญั หาและใชป้ ระโยชนจ์ าก ดินเค็มของจงั หวดั นครราชสมี า

106 จากตารางที่ 29 ในปีการศึกษา 2562 ความคิดเห็นของบุคลากรในภาพรวมต่อผลการดำเนินงาน ตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีคะแนนเฉลี่ย 4.23 เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็นพบว่าทุกประเด็นอยู่ในระดับมาก โดยประเด็นสถาบันวิจัยไม้กลายเป็น หินฯ เป็นแหล่งเรยี นรู้ด้านบรรพชีวนิ ระดับนานาชาติทีโ่ ดดเดน่ ในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ มคี ะแนนเฉล่ียสูงสุด คือ 4.32 รองลงมาคือประเด็นการเป็นผู้นำของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ มี คะแนนเฉลีย่ 4.28 และความคิดเห็นของบุคลากรในภาพรวมต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความ เช่ยี วชาญเฉพาะของมหาวิทยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 เมอื่ จำแนกตาม 5 ประเด็น มีรายละเอยี ดดงั นี้ 4.314.29 4.32 4.32 4.28 4.20 4.24 4.23 4.134.134.13 4.20 4.204.184.16 4.144.154.15 ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 สถาบันวจิ ัยไมก้ ลายเปน็ หินฯ เป็นแหล่งเรยี นรดู้ า้ นบรรพชวี ินระดบั นานาชาติทีโ่ ดดเด่นในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เปน็ ผนู้ าของประเทศในการผลิตครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามอื อาชีพ เปน็ ผู้นาดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ รอ้ ยละของงานวิจยั เพอื่ ตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ของจังหวัดนครราชสีมาดา้ นอาหาร ผ้า และการท่องเท่ียวต่อจานวนงานวจิ ัยทัง้ หมด การสืบสานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริในการแก้ปญั หาและใช้ประโยชน์จากดนิ เคม็ ของจังหวดั นครราชสมี า ผลการดาเนินงานตามจดุ เน้น จดุ เดน่ หรือความเช่ยี วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลัยรวมทกุ ดา้ น ภาพที่ 40 ความคดิ เห็นของบุคลากรในภาพรวมต่อผลการดำเนนิ งานตามจุดเน้น จดุ เด่น หรือความเชี่ยวชาญ เฉพาะของมหาวทิ ยาลัย ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 จากภาพที่ 40 ความคิดเห็นของบุคลากรในภาพรวมต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือ ความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 พบว่า ทุกปีการศึกษา ในประเด็น สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับนานาชาติที่โดดเด่นในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ มีระดับความพึงพอใจสูงที่สุด และรองลงมาคือประเด็นการเป็นผู้นำของประเทศในการผลิตครูและ บุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ ส่วนอีก 3 ประเด็น ได้แก่ เป็นผู้นำด้านการศึกษาพิเศษในภาค

107 ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ร้อยละของงานวิจัยเพ่ือต่อยอดภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ของจังหวดั นครราชสีมาด้านอาหาร ผ้า และการท่องเที่ยวต่อจำนวนงานวิจัยทั้งหมด และ การสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในการ แก้ปัญหาและใชป้ ระโยชน์จากดินเค็มของจังหวัดนครราชสีมา มีความพึงพอใจไม่แตกต่างกันมากนัก และเม่ือ พิจารณาแนวโน้มพบว่า ทุกประเด็นแนวโน้มของระดับความพึงพอใจสูงขึ้น ยกเว้นในประเด็น เป็นผู้นำของ ประเทศในการผลิตครแู ละบุคลากรทางการศึกษามอื อาชีพ ที่ระดับความพึงพอใจมแี นวโนม้ ลดลง ตารางที่ 30 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสาย วิชาการของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวทิ ยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ผลการดำเนินงานตามจดุ เนน้ จดุ เดน่ หรอื ความเช่ียวชาญ 4.20 0.75 มาก 4.24 0.77 มาก 4.30 0.72 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. เปน็ ผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษ 4.12 0.75 มาก 4.16 0.78 มาก 4.25 0.72 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 2. เปน็ ผู้นำของประเทศในการ ผลิตครแู ละบคุ ลากรทางการ 4.31 0.72 มาก 4.30 0.74 มาก 4.37 0.69 มาก ศึกษามอื อาชพี 3. รอ้ ยละของงานวจิ ัยเพื่อตอ่ ยอดภูมิปัญญาท้องถนิ่ ของ จังหวดั นครราชสมี าดา้ นอาหาร 4.15 0.76 มาก 4.17 0.78 มาก 4.24 0.73 มาก ผา้ และการท่องเท่ียวต่อจำนวน งานวิจยั ทง้ั หมด 4. สถาบันวิจัยไมก้ ลายเป็นหินฯ เป็นแหลง่ เรยี นรดู้ ้านบรรพชีวิน 4.32 0.72 มาก 4.37 0.71 มาก 4.41 0.68 มาก ระดบั นานาชาตทิ ี่โดดเดน่ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5. การสืบสานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริในการ 4.12 0.78 มาก 4.18 0.82 มาก 4.24 0.77 มาก แก้ปญั หาและใช้ประโยชนจ์ าก ดนิ เค็มของจงั หวดั นครราชสมี า จากตารางที่ 30 ในปีการศึกษา 2562 ความคิดเห็นของบคุ ลากรสายวิชาการต่อผลการดำเนินงาน ตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีคะแนนเฉล่ีย 4.30 เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็นพบว่าทุกประเด็นอยู่ในระดับมาก โดยประเด็นสถาบันวิจัยไม้กลายเป็น หินฯ เป็นแหล่งเรยี นร้ดู ้านบรรพชวี นิ ระดับนานาชาติท่ีโดดเด่นในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มคี ะแนนเฉล่ียสูงสุด

108 คือ 4.41 รองลงมาคือประเด็นการเป็นผู้นำของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ มี คะแนนเฉลีย่ 4.37 และความคิดเห็นของบุคลากรสายวิชาการต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความ เชย่ี วชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 เมื่อจำแนกตาม 5 ประเด็น มีรายละเอียดดังนี้ 4.324.31 4.37 4.41 4.20 4.37 4.30 4.30 4.124.154.12 4.24 4.254.244.24 4.164.174.18 ปีการศึกษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 สถาบันวจิ ยั ไมก้ ลายเป็นหินฯ เปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นบรรพชวี นิ ระดบั นานาชาติท่ีโดดเดน่ ในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ เปน็ ผนู้ าของประเทศในการผลิตครูและบคุ ลากรทางการศึกษามอื อาชพี เปน็ ผู้นาด้านการศกึ ษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ รอ้ ยละของงานวิจยั เพ่ือต่อยอดภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ของจังหวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร ผ้า และการทอ่ งเท่ียวตอ่ จานวนงานวจิ ัยท้ังหมด การสืบสานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดารใิ นการแก้ปญั หาและใชป้ ระโยชน์จากดินเค็มของจงั หวัดนครราชสีมา ผลการดาเนินงานตามจุดเนน้ จดุ เด่น หรือความเชย่ี วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั รวมทกุ ดา้ น ภาพที่ 41 ความคิดเห็นของบุคลากรสายวิชาการในภาพรวมต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือ ความเช่ียวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัย ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 จากภาพที่ 41 ความคิดเห็นของบุคลากรสายวิชาการในภาพรวมต่อผลการดำเนินงานตาม จดุ เน้น จดุ เด่น หรือความเช่ยี วชาญเฉพาะของมหาวิทยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 พบว่า ทุกปีการศึกษา ในประเด็นสถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับนานาชาติที่โดดเด่นในเอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้ มีระดับความพึงพอใจสูงที่สุด และรองลงมาคือประเด็นการเป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ ส่วนอีก 3 ประเด็น ได้แก่ เป็นผู้นำด้านการศึกษาพิเศษในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ รอ้ ยละของงานวิจยั เพ่ือต่อยอดภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ของจงั หวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร ผ้า และการท่องเที่ยวต่อจำนวนงานวิจัยทั้งหมด และ การสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในการ แก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากดินเค็มของจังหวัดนครราชสีมา มีความพึงพอใจไม่แตกต่างกันมากนัก และทุก ประเดน็ มแี นวโนม้ ความพงึ พอใจสงู ขน้ึ

109 ตารางที่ 31 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสาย สนับสนุนของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวทิ ยาลยั ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนินงานตามจดุ เนน้ จดุ เดน่ หรือความเชย่ี วชาญ 4.20 0.72 มาก 4.15 0.67 มาก 4.13 0.70 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. เป็นผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษ 4.15 0.73 มาก 4.11 0.66 มาก 4.13 0.71 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครูและบคุ ลากรทางการ 4.26 0.74 มาก 4.17 0.63 มาก 4.16 0.71 มาก ศกึ ษามืออาชพี 3. รอ้ ยละของงานวิจยั เพอ่ื ต่อ ยอดภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ของ จงั หวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร 4.11 0.76 มาก 4.12 0.70 มาก 4.10 0.67 มาก ผ้า และการทอ่ งเทีย่ วต่อจำนวน งานวิจัยท้ังหมด 4. สถาบันวจิ ยั ไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหลง่ เรยี นรูด้ ้านบรรพชวี ิน 4.31 0.64 มาก 4.25 0.63 มาก 4.21 0.67 มาก ระดับนานาชาติทโ่ี ดดเดน่ ใน เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 5. การสืบสานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริในการ 4.15 0.75 มาก 4.11 0.72 มาก 4.06 0.76 มาก แก้ปัญหาและใชป้ ระโยชนจ์ าก ดนิ เค็มของจงั หวัดนครราชสมี า จากตารางท่ี 31 ในปกี ารศึกษา 2562 ความคิดเหน็ ของบคุ ลากรสายสนบั สนนุ ต่อผลการดำเนินงาน ตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีคะแนนเฉล่ีย 4.13 เมื่อพิจารณาในแต่ละประเด็นพบว่าทุกประเด็นอยู่ในระดับมาก โดยประเด็นสถาบันวิจัยไม้กลายเป็น หนิ ฯ เปน็ แหลง่ เรียนรดู้ ้านบรรพชีวินระดับนานาชาติที่โดดเด่นในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มีคะแนนเฉล่ียสูงสุด คือ 4.21 รองลงมาคือประเด็นการเป็นผู้นำของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ มี คะแนนเฉลย่ี 4.16 และความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุนต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความ เชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 เมอื่ จำแนกตาม 5 ประเดน็ มีรายละเอยี ดดังน้ี

110 4.31 4.25 4.21 4.26 4.174.114.124.114.15 4.164.134.10 4.13 4.20 4.06 4.15 4.15 4.11 ปีการศกึ ษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 สถาบนั วจิ ยั ไมก้ ลายเปน็ หนิ ฯ เป็นแหล่งเรยี นรู้ดา้ นบรรพชีวินระดับนานาชาติทโ่ี ดดเด่นในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ เป็นผู้นาของประเทศในการผลิตครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามืออาชพี เป็นผู้นาดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ รอ้ ยละของงานวจิ ัยเพ่อื ตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินของจังหวดั นครราชสมี าดา้ นอาหาร ผ้า และการท่องเทย่ี วตอ่ จานวนงานวจิ ัยทั้งหมด การสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดารใิ นการแก้ปญั หาและใชป้ ระโยชน์จากดินเค็มของจังหวดั นครราชสีมา ผลการดาเนินงานตามจุดเน้น จดุ เด่น หรอื ความเช่ยี วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั รวมทุกด้าน ภาพที่ 42 ความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุนในภาพรวมต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือ ความเชย่ี วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลัย ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 จากภาพที่ 42 ความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุนในภาพรวมต่อผลการดำเนินงานตาม จุดเนน้ จุดเด่น หรือความเช่ียวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลยั ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 พบวา่ ทุกปีการศึกษา ในประเด็นสถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับนานาชาติที่โดดเด่นในเอเชีย ตะวันออก เฉียงใต้ มีระดับความพึงพอใจสูงที่สุด และรองลงมาคือประเด็นการเป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ ส่วนอีก 3 ประเด็น ได้แก่ เป็นผู้นำด้านการศึกษาพิเศษในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละของงานวิจยั เพื่อต่อยอดภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ของจังหวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร ผ้า และการท่องเที่ยวต่อจำนวนงานวิจัยทั้งหมด และ การสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในการ แก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากดินเค็มของจังหวัดนครราชสีมา มีความพึงพอใจไม่แตกต่างกันมากนัก และทุก ประเด็นมแี นวโน้มความพงึ พอใจลดลง และความคิดเห็นของบุคลากรต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ ของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 เมื่อแยกตามหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย 16 หน่วยงาน มี รายละเอยี ดดังน้ี

111 ตารางที่ 32 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ ครุศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ปีการศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานตามจดุ เนน้ จดุ เดน่ หรอื ความเชยี่ วชาญ 4.27 0.71 มาก 4.38 0.63 มาก 4.44 0.62 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลัยรวมทกุ ดา้ น 1. เปน็ ผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษ 4.24 0.74 มาก 4.32 0.61 มาก 4.42 0.63 มาก ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครูและบคุ ลากรทางการ 4.32 0.66 มาก 4.41 0.62 มาก 4.49 0.64 มาก ศกึ ษามอื อาชพี 3. รอ้ ยละของงานวจิ ัยเพอื่ ต่อ ยอดภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของ จงั หวดั นครราชสีมาด้านอาหาร 4.20 0.76 มาก 4.31 0.67 มาก 4.39 0.63 มาก ผา้ และการทอ่ งเทีย่ วตอ่ จำนวน งานวิจัยท้งั หมด 4. สถาบันวจิ ยั ไม้กลายเป็นหินฯ เปน็ แหลง่ เรยี นร้ดู ้านบรรพชวี ิน 4.36 0.65 มาก 4.49 0.58 มาก 4.50 0.61 มาก ระดับนานาชาตทิ ีโ่ ดดเดน่ ใน เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 5. การสืบสานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริในการ 4.23 0.75 มาก 4.39 0.67 มาก 4.41 0.61 มาก แกป้ ัญหาและใชป้ ระโยชนจ์ าก ดนิ เค็มของจังหวดั นครราชสมี า ตารางที่ 33 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความ เช่ียวชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานตามจดุ เน้น จุดเด่น หรือความเชยี่ วชาญ 4.21 0.71 มาก 4.25 0.77 มาก 4.35 0.73 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลัยรวมทกุ ดา้ น 1. เป็นผู้นำด้านการศึกษาพเิ ศษ 4.15 0.71 มาก 4.19 0.77 มาก 4.31 0.76 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

112 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครแู ละบุคลากรทางการ 4.32 0.71 มาก 4.29 0.76 มาก 4.39 0.71 มาก ศึกษามืออาชพี 3. ร้อยละของงานวิจัยเพอ่ื ต่อ ยอดภูมิปัญญาท้องถ่นิ ของ จังหวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร 4.14 0.72 มาก 4.22 0.77 มาก 4.30 0.73 มาก ผา้ และการทอ่ งเท่ียวต่อจำนวน งานวจิ ัยทง้ั หมด 4. สถาบันวจิ ัยไม้กลายเป็นหินฯ เปน็ แหลง่ เรียนรู้ด้านบรรพชวี ิน 4.30 0.73 มาก 4.34 0.74 มาก 4.38 0.73 มาก ระดบั นานาชาติทีโ่ ดดเด่นใน เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ 5. การสืบสานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำรใิ นการ 4.15 0.67 มาก 4.21 0.79 มาก 4.36 0.72 มาก แก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จาก ดินเค็มของจงั หวัดนครราชสมี า ตารางที่ 34 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีของมหาวิทยาลยั ท่มี ตี อ่ ผลการดำเนนิ งานตามจุดเนน้ จุดเด่น หรอื ความเช่ียวชาญ เฉพาะของมหาวิทยาลยั ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนินงานตามจดุ เน้น จุดเด่น หรือความเช่ียวชาญ 4.19 0.71 มาก 4.07 0.78 มาก 4.19 0.72 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลัยรวมทุก ด้าน 1. เปน็ ผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษ 4.10 0.71 มาก 3.99 0.81 มาก 4.13 0.69 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครูและบุคลากรทางการ 4.35 0.64 มาก 4.17 0.71 มาก 4.29 0.65 มาก ศึกษามอื อาชีพ 3. ร้อยละของงานวจิ ัยเพ่ือต่อ ยอดภูมปิ ัญญาท้องถิ่นของ จังหวดั นครราชสมี าด้านอาหาร 4.11 0.72 มาก 3.97 0.79 มาก 4.14 0.74 มาก ผ้า และการท่องเทีย่ วตอ่ จำนวน งานวจิ ยั ท้ังหมด 4. สถาบันวจิ ยั ไมก้ ลายเป็นหินฯ 4.30 0.69 มาก 4.22 0.71 มาก 4.34 0.71 มาก เป็นแหลง่ เรียนรดู้ ้านบรรพชีวิน

113 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ระดับนานาชาตทิ ่ีโดดเดน่ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5. การสืบสานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำรใิ นการ 4.15 0.67 มาก 4.21 0.79 มาก 4.05 0.83 มาก แกป้ ัญหาและใชป้ ระโยชน์จาก ดนิ เค็มของจังหวัดนครราชสมี า ตารางที่ 35 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ วิทยาการจดั การของมหาวิทยาลยั ทม่ี ีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเนน้ จุดเด่น หรือความเชีย่ วชาญเฉพาะของ มหาวทิ ยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ปีการศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ผลการดำเนินงานตามจดุ เนน้ จดุ เดน่ หรือความเช่ียวชาญ 4.10 0.79 มาก 4.24 0.78 มาก 4.18 0.77 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลัยรวมทกุ ดา้ น 1. เปน็ ผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษ 3.96 0.80 มาก 4.19 0.78 มาก 4.14 0.80 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครูและบคุ ลากรทางการ 4.19 0.79 มาก 4.22 0.77 มาก 4.23 0.72 มาก ศกึ ษามืออาชีพ 3. รอ้ ยละของงานวจิ ัยเพ่อื ตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ของ จังหวัดนครราชสีมาดา้ นอาหาร 4.08 0.78 มาก 4.19 0.82 มาก 4.12 0.77 มาก ผ้า และการท่องเท่ยี วตอ่ จำนวน งานวจิ ยั ทง้ั หมด 4. สถาบันวจิ ัยไมก้ ลายเป็นหินฯ เปน็ แหล่งเรยี นรู้ด้านบรรพชวี ิน 4.28 0.76 มาก 4.45 0.67 มาก 4.37 0.67 มาก ระดบั นานาชาติท่ีโดดเด่นใน เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 5. การสืบสานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดำริในการ 4.01 0.80 มาก 4.13 0.84 มาก 4.07 0.90 มาก แก้ปัญหาและใชป้ ระโยชน์จาก ดนิ เค็มของจงั หวดั นครราชสมี า

114 ตารางที่ 36 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญ เฉพาะของมหาวทิ ยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั ผลการดำเนนิ งานตามจดุ เน้น จุดเด่น หรอื ความเชย่ี วชาญ 4.02 0.73 มาก 4.03 0.74 มาก 4.11 0.65 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. เปน็ ผู้นำด้านการศึกษาพเิ ศษ 3.93 0.73 มาก 3.92 0.74 มาก 4.09 0.66 มาก ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 2. เปน็ ผู้นำของประเทศในการ ผลิตครูและบุคลากรทางการ 4.10 0.76 มาก 4.13 0.74 มาก 4.19 0.71 มาก ศึกษามืออาชีพ 3. รอ้ ยละของงานวจิ ยั เพือ่ ต่อ ยอดภูมิปญั ญาท้องถิ่นของ จังหวัดนครราชสีมาดา้ นอาหาร 3.95 0.74 มาก 4.00 0.75 มาก 4.00 0.70 มาก ผา้ และการท่องเท่ียวต่อจำนวน งานวิจยั ทัง้ หมด 4. สถาบันวิจยั ไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหลง่ เรยี นร้ดู ้านบรรพชีวิน 4.12 0.71 มาก 4.12 0.73 มาก 4.22 0.62 มาก ระดับนานาชาตทิ ีโ่ ดดเดน่ ใน เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 5. การสืบสานโครงการอัน เนอ่ื งมาจากพระราชดำริในการ 4.00 0.70 มาก 3.97 0.75 มาก 4.07 0.58 มาก แกป้ ญั หาและใช้ประโยชนจ์ าก ดนิ เค็มของจังหวัดนครราชสมี า ตารางที่ 37 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรคณะ สาธารณสุขศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ ของมหาวทิ ยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรอื ความเช่ยี วชาญ 4.32 0.65 มาก 4.35 0.63 มาก 4.27 0.57 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลัยรวมทกุ ด้าน 1. เปน็ ผู้นำด้านการศึกษาพิเศษ 4.26 0.67 มาก 4.14 0.73 มาก 4.21 0.56 มาก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

115 ปีการศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครูและบุคลากรทางการ 4.42 0.66 มาก 4.41 0.67 มาก 4.36 0.55 มาก ศกึ ษามืออาชีพ 3. ร้อยละของงานวิจัยเพอ่ื ต่อ ยอดภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ของ จังหวดั นครราชสีมาด้านอาหาร 4.16 0.72 มาก 4.28 0.64 มาก 4.21 0.56 มาก ผา้ และการทอ่ งเทย่ี วตอ่ จำนวน งานวิจยั ทั้งหมด 4. สถาบันวิจยั ไม้กลายเป็นหินฯ มาก ท่ีสุด เป็นแหล่งเรยี นร้ดู ้านบรรพชวี ิน 4.48 0.56 มาก 4.52 0.56 4.32 0.60 มาก ระดับนานาชาตทิ ่โี ดดเด่นใน เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ 5. การสืบสานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำรใิ นการ 4.29 0.63 มาก 4.41 0.56 มาก 4.25 0.57 มาก แกป้ ญั หาและใช้ประโยชน์จาก ดินเค็มของจังหวดั นครราชสมี า ตารางที่ 38 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรบัณฑิต วิทยาลัยของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลัย ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานตามจดุ เน้น จดุ เดน่ หรือความเชี่ยวชาญ 4.02 0.75 มาก 4.07 0.54 มาก 4.06 0.63 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลัยรวมทกุ ด้าน 1. เปน็ ผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษ 4.00 0.77 มาก 4.00 0.47 มาก 4.20 0.60 มาก ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 2. เปน็ ผู้นำของประเทศในการ ผลิตครูและบคุ ลากรทางการ 4.20 0.75 มาก 4.22 0.42 มาก 4.00 0.63 มาก ศกึ ษามืออาชพี 3. รอ้ ยละของงานวจิ ยั เพ่ือต่อ ยอดภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ของ จงั หวัดนครราชสีมาดา้ นอาหาร 3.80 0.75 มาก 3.89 0.74 มาก 4.00 0.63 มาก ผา้ และการท่องเทย่ี วต่อจำนวน งานวิจัยทง้ั หมด 4. สถาบันวจิ ยั ไม้กลายเป็นหินฯ 4.10 0.70 มาก 4.22 0.63 มาก 4.20 0.60 มาก เป็นแหลง่ เรยี นรู้ด้านบรรพชีวิน

116 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ระดับนานาชาติทโี่ ดดเดน่ ใน เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 5. การสืบสานโครงการอัน เนือ่ งมาจากพระราชดำริในการ 4.00 0.77 มาก 4.00 0.47 มาก 3.90 0.70 มาก แก้ปัญหาและใชป้ ระโยชนจ์ าก ดนิ เค็มของจงั หวดั นครราชสมี า ตารางที่ 39 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคดิ เห็นของบุคลากรสำนักงาน อธิการบดีของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลัย ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานตามจุดเนน้ จุดเดน่ หรอื ความเชี่ยวชาญ 4.36 0.69 มาก 4.24 0.62 มาก 4.07 0.69 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลัยรวมทกุ ด้าน 1. เป็นผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษ 4.32 0.75 มาก 4.21 0.63 มาก 4.07 0.68 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครแู ละบคุ ลากรทางการ 4.42 0.67 มาก 4.26 0.61 มาก 4.09 0.66 มาก ศกึ ษามืออาชีพ 3. รอ้ ยละของงานวิจยั เพื่อต่อ ยอดภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ของ จงั หวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร 4.32 0.72 มาก 4.21 0.63 มาก 4.06 0.67 มาก ผ้า และการท่องเที่ยวต่อจำนวน งานวจิ ัยทง้ั หมด 4. สถาบันวจิ ยั ไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรยี นรดู้ ้านบรรพชีวิน 4.44 0.60 มาก 4.28 0.62 มาก 4.12 0.69 มาก ระดบั นานาชาตทิ ี่โดดเดน่ ใน เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 5. การสืบสานโครงการอัน เนอ่ื งมาจากพระราชดำริในการ 4.31 0.70 มาก 4.22 0.63 มาก 4.04 0.73 มาก แกป้ ัญหาและใชป้ ระโยชนจ์ าก ดินเค็มของจังหวดั นครราชสีมา

117 ตารางที่ 40 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสำนัก วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลยั ท่ีมตี อ่ ผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จดุ เด่น หรือความ เชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัย ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จดุ เดน่ หรือความเชยี่ วชาญ 3.70 0.75 มาก 3.84 0.84 มาก 3.95 0.76 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลยั รวมทุก ดา้ น 1. เป็นผู้นำด้านการศึกษาพเิ ศษ 3.61 0.64 มาก 3.77 0.80 มาก 3.91 0.73 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครแู ละบคุ ลากรทางการ 3.74 0.87 มาก 3.85 0.80 มาก 4.03 0.77 มาก ศึกษามอื อาชีพ 3. รอ้ ยละของงานวิจยั เพื่อต่อ ยอดภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินของ จังหวัดนครราชสมี าด้านอาหาร 3.53 0.73 มาก 3.85 0.83 มาก 3.89 0.75 มาก ผ้า และการทอ่ งเทยี่ วตอ่ จำนวน งานวจิ ัยท้งั หมด 4. สถาบันวจิ ยั ไมก้ ลายเป็นหินฯ เปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ ้านบรรพชีวิน 3.97 0.76 มาก 4.05 0.81 มาก 4.17 0.70 มาก ระดบั นานาชาตทิ ่ีโดดเดน่ ใน เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 5. การสืบสานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดำริในการ 3.63 0.75 มาก 3.67 0.97 มาก 3.74 0.87 มาก แกป้ ัญหาและใช้ประโยชน์จาก ดนิ เค็มของจังหวัดนครราชสมี า ตารางที่ 41 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสำนัก คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวทิ ยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ ผลการดำเนินงานตามจุดเนน้ มาก มาก ที่สุด ท่สี ุด จดุ เด่น หรอื ความเช่ยี วชาญ 4.20 0.95 มาก 4.57 0.49 4.54 0.70 เฉพาะของมหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. เป็นผู้นำด้านการศกึ ษาพิเศษ 4.14 0.95 มาก 4.57 0.49 มาก 4.54 0.75 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ที่สดุ ที่สดุ

118 ปีการศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ 2. เปน็ ผู้นำของประเทศในการ 4.32 0.86 มาก 4.57 0.49 มาก 4.54 0.75 มาก ผลิตครูและบุคลากรทางการ ที่สดุ ทส่ี ดุ ศึกษามอื อาชีพ 3. รอ้ ยละของงานวจิ ยั เพื่อต่อ ยอดภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ของ 4.14 0.95 มาก 4.57 0.49 มาก 4.54 0.63 มาก จงั หวัดนครราชสีมาดา้ นอาหาร ทส่ี ุด ท่ีสุด ผ้า และการท่องเทีย่ วต่อจำนวน งานวจิ ัยทัง้ หมด 4. สถาบันวจิ ัยไม้กลายเป็นหินฯ มาก มาก ทสี่ ุด ทีส่ ุด เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ด้านบรรพชีวิน 4.36 0.90 มาก 4.57 0.49 4.62 0.62 ระดบั นานาชาตทิ ่ีโดดเดน่ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5. การสืบสานโครงการอัน มาก ทส่ี ดุ เน่ืองมาจากพระราชดำริในการ 4.05 1.09 มาก 4.57 0.49 4.46 0.75 มาก แกป้ ัญหาและใชป้ ระโยชนจ์ าก ดนิ เค็มของจงั หวัดนครราชสมี า ตารางที่ 42 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสำนัก ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความ เชยี่ วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั ผลการดำเนนิ งานตามจดุ เนน้ จดุ เด่น หรือความเช่ยี วชาญ 4.34 0.58 มาก 4.43 0.50 มาก 4.30 0.76 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. เป็นผู้นำด้านการศกึ ษาพิเศษ 4.23 0.65 มาก 4.36 0.57 มาก 4.22 0.79 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลติ ครแู ละบคุ ลากรทางการ 4.45 0.62 มาก 4.41 0.49 มาก 4.22 0.79 มาก ศึกษามืออาชีพ 3. ร้อยละของงานวิจยั เพ่ือต่อ ยอดภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นของ จงั หวดั นครราชสมี าด้านอาหาร 4.23 0.49 มาก 4.36 0.48 มาก 4.28 0.73 มาก ผ้า และการท่องเทยี่ วต่อจำนวน งานวิจัยท้ังหมด 4. สถาบันวจิ ัยไม้กลายเป็นหินฯ 4.50 0.58 มาก 4.59 0.49 มาก 4.44 0.76 มาก เป็นแหล่งเรยี นรู้ด้านบรรพชวี ิน ทส่ี ดุ

119 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ระดบั นานาชาติทโ่ี ดดเดน่ ใน เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 5. การสืบสานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำรใิ นการ 4.27 0.56 มาก 4.41 0.49 มาก 4.33 0.75 มาก แก้ปัญหาและใชป้ ระโยชน์จาก ดนิ เค็มของจังหวดั นครราชสีมา ตารางที่ 43 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสำนัก ศลิ ปะและวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ท่มี ตี อ่ ผลการดำเนนิ งานตามจุดเนน้ จดุ เดน่ หรอื ความเช่ยี วชาญเฉพาะ ของมหาวทิ ยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานตามจดุ เน้น จุดเด่น หรอื ความเชยี่ วชาญ 4.18 0.59 มาก 4.24 0.65 มาก 4.33 0.74 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลัยรวมทุก ด้าน 1. เป็นผู้นำด้านการศกึ ษาพิเศษ 4.00 0.71 มาก 4.44 0.50 มาก 4.44 0.83 มาก ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 2. เปน็ ผู้นำของประเทศในการ ผลิตครแู ละบุคลากรทางการ 4.38 0.44 มาก 4.22 0.63 มาก 4.22 0.79 มาก ศึกษามืออาชพี 3. รอ้ ยละของงานวิจัยเพื่อต่อ ยอดภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ของ จังหวัดนครราชสมี าด้านอาหาร 4.25 0.66 มาก 4.11 0.74 มาก 4.22 0.79 มาก ผา้ และการท่องเที่ยวต่อจำนวน งานวิจยั ท้ังหมด 4. สถาบันวิจยั ไมก้ ลายเป็นหินฯ มาก ท่ีสุด เปน็ แหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชวี ิน 4.13 0.56 มาก 4.33 0.67 มาก 4.56 0.50 ระดับนานาชาติทโ่ี ดดเดน่ ใน เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 5. การสืบสานโครงการอัน เน่อื งมาจากพระราชดำรใิ นการ 4.13 0.56 มาก 4.11 0.74 มาก 4.22 0.79 มาก แกป้ ัญหาและใชป้ ระโยชนจ์ าก ดนิ เค็มของจงั หวดั นครราชสมี า

120 ตารางที่ 44 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสถาบัน ภาษาของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จดุ เดน่ หรอื ความเชย่ี วชาญ 3.87 0.99 มาก 4.07 0.75 มาก 4.27 0.61 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลยั รวมทุก ด้าน 1. เป็นผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษ 3.67 1.24 มาก 4.00 0.82 มาก 4.33 0.47 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลิตครแู ละบคุ ลากรทางการ 4.00 0.82 มาก 4.33 0.47 มาก 4.00 0.82 มาก ศึกษามอื อาชพี 3. รอ้ ยละของงานวจิ ัยเพ่ือตอ่ ยอดภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นของ จงั หวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร 3.67 1.24 มาก 4.00 0.82 มาก 4.00 0.82 มาก ผ้า และการทอ่ งเท่ยี วตอ่ จำนวน งานวิจัยทง้ั หมด 4. สถาบันวจิ ยั ไม้กลายเป็นหินฯ มาก ที่สุด เป็นแหลง่ เรียนรดู้ ้านบรรพชวี ิน 4.00 0.82 มาก 4.00 0.82 มาก 4.67 0.47 ระดบั นานาชาตทิ โี่ ดดเดน่ ใน เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 5. การสืบสานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริในการ 4.00 0.82 มาก 4.00 0.82 มาก 4.33 0.47 มาก แกป้ ัญหาและใชป้ ระโยชนจ์ าก ดินเค็มของจงั หวดั นครราชสมี า ตารางที่ 45 ค่าเฉลย่ี ( x ) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเหน็ ของบคุ ลากรสถาบันวิจัย และพัฒนาของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลยั ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จดุ เด่น หรอื ความเช่ยี วชาญ 4.12 0.73 มาก 4.00 0.75 มาก 4.08 0.79 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลัยรวมทกุ ดา้ น 1. เป็นผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษ 4.10 0.70 มาก 4.00 0.85 มาก 4.33 0.75 มาก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

121 ปีการศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั 2. เปน็ ผู้นำของประเทศในการ ผลิตครูและบคุ ลากรทางการ 4.00 0.77 มาก 3.91 0.90 มาก 4.00 0.82 มาก ศกึ ษามอื อาชีพ 3. ร้อยละของงานวจิ ัยเพอื่ ต่อ ยอดภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ของ จงั หวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร 4.10 0.70 มาก 3.91 0.79 มาก 4.00 0.82 มาก ผ้า และการทอ่ งเที่ยวตอ่ จำนวน งานวิจยั ทั้งหมด 4. สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เปน็ แหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวิน 4.20 0.75 มาก 4.09 0.67 มาก 4.17 0.80 มาก ระดบั นานาชาตทิ ี่โดดเดน่ ใน เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ 5. การสืบสานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริในการ 4.20 0.75 มาก 4.09 0.51 มาก 3.92 0.76 มาก แก้ปญั หาและใช้ประโยชนจ์ าก ดนิ เค็มของจงั หวัดนครราชสมี า ตารางท่ี 46 คา่ เฉล่ยี ( x ) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรสถาบันวิจัย ไม้กลายเป็นหนิ ฯของมหาวิทยาลัย ทมี่ ีต่อผลการดำเนนิ งานตามจุดเน้น จุดเด่น หรอื ความเชยี่ วชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลยั ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีการศกึ ษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดบั ผลการดำเนินงานตามจดุ เน้น จุดเดน่ หรือความเช่ียวชาญ 4.20 0.62 มาก 4.16 0.75 มาก 4.34 0.64 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลัยรวมทกุ ดา้ น 1. เป็นผู้นำด้านการศึกษาพิเศษ 4.25 0.62 มาก 4.20 0.75 มาก 4.24 0.64 มาก ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 2. เปน็ ผู้นำของประเทศในการ 4.25 0.62 มาก 4.20 0.75 มาก 4.59 0.60 มาก ผลติ ครูและบุคลากรทางการ ทีส่ ุด ศกึ ษามืออาชพี 3. รอ้ ยละของงานวจิ ัยเพอ่ื ต่อ ยอดภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินของ จงั หวดั นครราชสมี าดา้ นอาหาร 4.10 0.62 มาก 4.30 0.78 มาก 4.29 0.57 มาก ผา้ และการท่องเทีย่ วต่อจำนวน งานวิจยั ท้งั หมด 4. สถาบันวิจัยไมก้ ลายเป็นหินฯ 4.35 0.65 มาก 4.20 0.75 มาก 4.41 0.69 มาก เป็นแหลง่ เรยี นรดู้ ้านบรรพชีวิน

122 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั ระดับนานาชาตทิ ี่โดดเดน่ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5. การสืบสานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำรใิ นการ 4.05 0.59 มาก 3.90 0.70 มาก 4.18 0.71 มาก แกป้ ญั หาและใชป้ ระโยชนจ์ าก ดนิ เค็มของจังหวัดนครราชสีมา ตารางที่ 47 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของระดับความคิดเห็นของบุคลากรหน่วย ตรวจสอบภายในของมหาวิทยาลยั ทม่ี ตี อ่ ผลการดำเนนิ งานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชีย่ วชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา รายการ 2560 2561 2562 x S.D. ระดับ x S.D. ระดบั x S.D. ระดับ ผลการดำเนนิ งานตามจดุ เน้น จดุ เด่น หรือความเช่ียวชาญ 4.44 0.40 มาก 4.04 0.60 มาก 4.08 0.68 มาก เฉพาะของมหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน 1. เป็นผู้นำด้านการศึกษาพเิ ศษ 4.60 0.49 มาก 3.80 0.75 มาก 4.00 0.63 มาก ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ทส่ี ดุ 2. เป็นผู้นำของประเทศในการ ผลติ ครูและบคุ ลากรทางการ 4.20 0.40 มาก 4.00 0.63 มาก 4.20 0.75 มาก ศึกษามืออาชีพ 3. ร้อยละของงานวจิ ัยเพื่อต่อ ยอดภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของ จงั หวัดนครราชสีมาดา้ นอาหาร 4.00 0.63 มาก 4.20 0.40 มาก 4.00 0.63 มาก ผ้า และการทอ่ งเท่ยี วตอ่ จำนวน งานวิจยั ทั้งหมด 4. สถาบันวิจยั ไมก้ ลายเป็นหินฯ มาก ทสี่ ดุ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชวี ิน 5.00 0.00 4.40 0.49 มาก 4.20 0.75 มาก ระดบั นานาชาตทิ ีโ่ ดดเด่นใน เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 5. การสืบสานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดำริในการ 4.40 0.49 มาก 3.80 0.75 มาก 4.00 0.63 มาก แก้ปัญหาและใช้ประโยชนจ์ าก ดนิ เค็มของจงั หวัดนครราชสีมา

123 ปกี ารศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 เปน็ ผ้นู าดา้ นการศึกษาพเิ ศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เป็นผูน้ าด้านการศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ เปน็ ผนู้ าของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามอื อาชีพ เป็นผู้นาของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศกึ ษามืออาชีพ ร้อยละของงานวิจยั เพอ่ื ต่อยอดภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นของจงั หวดั นครราชสมี า รอ้ ยละของงานวจิ ัยเพื่อตอ่ ยอดภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ของจงั หวดั นครราชสีมา ดา้ นอาหาร ผา้ และการทอ่ งเทีย่ วต่อจานวนงานวจิ ยั ทัง้ หมด ด้านอาหาร ผ้า และการทอ่ งเท่ียวต่อจานวนงานวิจยั ท้งั หมด สถาบันวิจยั ไม้กลายเป็นหนิ ฯ เปน็ แหล่งเรยี นร้ดู า้ นบรรพชวี ินระดับ สถาบนั วิจยั ไม้กลายเปน็ หนิ ฯ เป็นแหลง่ เรยี นรู้ด้านบรรพชีวินระดบั นานาชาติท่โี ดดเดน่ ในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ นานาชาติทโี่ ดดเด่นในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ การสืบสานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดารใิ นการแกป้ ญั หาและใช้ การสืบสานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริในการแก้ปญั หาและใช้ ประโยชนจ์ ากดินเคม็ ของจังหวดั นครราชสมี า ประโยชน์จากดนิ เคม็ ของจงั หวดั นครราชสีมา ผลการดาเนินงานตามจุดเนน้ จุดเด่น หรอื ความเชย่ี วชาญเฉพาะของ ผลการดาเนนิ งานตามจุดเนน้ จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน มหาวทิ ยาลยั รวมทกุ ด้าน ภาพท่ี 44 ความคิดเหน็ ของบคุ ลากรคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ภาพท่ี 43 ความคดิ เห็นของบคุ ลากรคณะครุศาสตร์ของมหาวทิ ยาลยั ทม่ี ี ของมหาวิทยาลยั ทม่ี ตี ่อผลการดำเนนิ งานตามจดุ เนน้ จุดเดน่ หรือความ ต่อผลการดำเนนิ งานตามจุดเนน้ จุดเด่น หรือความเช่ยี วชาญเฉพาะของ เช่ยี วชาญเฉพาะของมหาวิทยาลยั ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 มหาวทิ ยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 ปกี ารศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 เป็นผนู้ าด้านการศึกษาพเิ ศษในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เปน็ ผูน้ าดา้ นการศึกษาพเิ ศษในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ เป็นผู้นาของประเทศในการผลติ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามอื อาชีพ เป็นผู้นาของประเทศในการผลิตครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามอื อาชีพ ร้อยละของงานวิจัยเพ่อื ตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินของจงั หวัดนครราชสีมา รอ้ ยละของงานวจิ ยั เพื่อต่อยอดภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ของจงั หวดั นครราชสมี า ดา้ นอาหาร ผ้า และการท่องเทย่ี วต่อจานวนงานวิจยั ทงั้ หมด ดา้ นอาหาร ผา้ และการท่องเทย่ี วตอ่ จานวนงานวิจยั ท้งั หมด สถาบนั วจิ ยั ไมก้ ลายเป็นหินฯ เปน็ แหลง่ เรียนรดู้ า้ นบรรพชีวนิ ระดับ สถาบนั วจิ ยั ไมก้ ลายเป็นหนิ ฯ เป็นแหลง่ เรียนร้ดู ้านบรรพชีวนิ ระดับ นานาชาตทิ ี่โดดเด่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นานาชาตทิ ี่โดดเดน่ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ การสืบสานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริในการแกป้ ญั หาและใช้ การสบื สานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริในการแกป้ ญั หาและใช้ ประโยชนจ์ ากดินเค็มของจังหวัดนครราชสีมา ประโยชนจ์ ากดนิ เคม็ ของจงั หวัดนครราชสีมา ผลการดาเนนิ งานตามจุดเน้น จุดเดน่ หรอื ความเชย่ี วชาญเฉพาะของ ผลการดาเนินงานตามจดุ เน้น จดุ เด่น หรือความเชย่ี วชาญเฉพาะของ มหาวทิ ยาลัยรวมทกุ ดา้ น มหาวิทยาลยั รวมทุกดา้ น ภาพที่ 46 ความคิดเห็นของบคุ ลากรคณะวทิ ยาการจัดการของ ภาพที่ 45 ความคิดเหน็ ของบคุ ลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ที่มีตอ่ ผลการดำเนนิ งานตามจดุ เน้น จุดเดน่ หรือความ ของมหาวิทยาลยั ทมี่ ีตอ่ ผลการดำเนนิ งานตามจดุ เนน้ จุดเด่น หรอื ความ เชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 เช่ยี วชาญเฉพาะของมหาวิทยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562

124 ปีการศกึ ษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 ปกี ารศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 เปน็ ผนู้ าดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื เปน็ ผูน้ าดา้ นการศกึ ษาพิเศษในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เปน็ ผนู้ าของประเทศในการผลิตครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามอื อาชพี เป็นผูน้ าของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศกึ ษามอื อาชพี ร้อยละของงานวิจยั เพ่ือต่อยอดภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ของจงั หวัดนครราชสีมาดา้ น รอ้ ยละของงานวิจยั เพอ่ื ตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินของจงั หวดั นครราชสมี าดา้ น อาหาร ผา้ และการทอ่ งเที่ยวต่อจานวนงานวจิ ัยทง้ั หมด อาหาร ผา้ และการทอ่ งเท่ียวตอ่ จานวนงานวจิ ัยทง้ั หมด สถาบันวจิ ยั ไมก้ ลายเปน็ หนิ ฯ เปน็ แหล่งเรยี นรู้ดา้ นบรรพชีวินระดบั นานาชาติที่ สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหนิ ฯ เปน็ แหลง่ เรยี นรูด้ า้ นบรรพชีวินระดบั นานาชาติท่ี โดดเด่นในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ โดดเด่นในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ การสืบสานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริในการแก้ปญั หาและใช้ประโยชน์ การสบื สานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริในการแกป้ ญั หาและใชป้ ระโยชน์ จากดนิ เค็มของจงั หวดั นครราชสมี า จากดนิ เคม็ ของจงั หวัดนครราชสีมา ผลการดาเนนิ งานตามจดุ เนน้ จุดเด่น หรอื ความเชี่ยวชาญเฉพาะของ ผลการดาเนินงานตามจดุ เนน้ จุดเด่น หรอื ความเชีย่ วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน รวมทกุ ดา้ น ภาพท่ี 47 ความคดิ เห็นของบคุ ลากรคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมของ ภาพที่ 48 ความคดิ เห็นของบุคลากรคณะสาธารณสุขศาสตร์ของ มหาวิทยาลยั ทม่ี ีตอ่ ผลการดำเนนิ งานตามจดุ เนน้ จดุ เดน่ หรอื ความ มหาวทิ ยาลยั ทีม่ ีต่อผลการดำเนินงานตามจดุ เน้น จดุ เดน่ หรอื ความ เชย่ี วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลัย ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 เช่ียวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัย ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปีการศกึ ษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปกี ารศึกษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 เป็นผนู้ าด้านการศึกษาพเิ ศษในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื เป็นผู้นาดา้ นการศึกษาพิเศษในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื เปน็ ผนู้ าของประเทศในการผลิตครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามอื อาชพี เปน็ ผูน้ าของประเทศในการผลติ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามอื อาชีพ ร้อยละของงานวจิ ัยเพื่อตอ่ ยอดภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นของจงั หวัดนครราชสมี าดา้ น รอ้ ยละของงานวิจยั เพือ่ ต่อยอดภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ของจังหวัดนครราชสีมาดา้ น อาหาร ผ้า และการท่องเท่ียวต่อจานวนงานวจิ ยั ท้งั หมด อสถาหาบารันวผิจ้าัยแไมละก้ กลาารยทเป่อ็นงเหทิน่ยี ฯวตเป่อ็นจาแนหวลน่งเงรายีนนวริจ้ดูยั า้ทน้งั บหรมรดพชีวินระดับนานาชาติที่ สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหนิ ฯ เปน็ แหลง่ เรยี นรูด้ า้ นบรรพชีวินระดบั นานาชาติที่ กโดาดรเสดบื ่นสใานนเอโคเชรียงกตาะรวอันันอเอนกื่อเงฉมียางจใตาก้ พระราชดาริในการแกป้ ญั หาและใช้ โดดเดน่ ในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ประโยชนจ์ ากดินเค็มของจงั หวดั นครราชสมี า การสืบสานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดารใิ นการแกป้ ญั หาและใช้ ผลการดาเนินงานตามจดุ เนน้ จดุ เด่น หรือความเช่ยี วชาญเฉพาะของ ประโยชน์จากดนิ เคม็ ของจังหวดั นครราชสีมา มหาวิทยาลยั รวมทกุ ดา้ น ผลการดาเนินงานตามจดุ เนน้ จดุ เดน่ หรือความเช่ยี วชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลัยรวมทุกดา้ น ภาพท่ี 50 ความคิดเหน็ ของบคุ ลากรสำนกั งานอธิการบดีของมหาวทิ ยาลยั ทีม่ ตี ่อผลการดำเนนิ งานตามจุดเนน้ จุดเดน่ หรือความเชีย่ วชาญเฉพาะของ ภาพที่ 49 ความคิดเห็นของบคุ ลากรบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวทิ ยาลัย ที่มี มหาวิทยาลยั ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 ตอ่ ผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จดุ เด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2562

125 ปีการศกึ ษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 เปน็ ผูน้ าดา้ นการศกึ ษาพิเศษในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื เป็นผู้นาดา้ นการศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปน็ ผนู้ าของประเทศในการผลติ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามอื อาชพี เปน็ ผูน้ าของประเทศในการผลิตครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามืออาชีพ รอ้ ยละของงานวิจยั เพอ่ื ต่อยอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ของจังหวัดนครราชสมี าด้าน รอ้ ยละของงานวิจยั เพอ่ื ตอ่ ยอดภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ของจงั หวดั นครราชสมี าด้าน อาหาร ผ้า และการท่องเท่ยี วตอ่ จานวนงานวจิ ยั ทัง้ หมด อาหาร ผ้า และการทอ่ งเที่ยวต่อจานวนงานวจิ ัยท้ังหมด สถาบนั วิจยั ไม้กลายเป็นหนิ ฯ เป็นแหลง่ เรยี นร้ดู า้ นบรรพชีวนิ ระดบั นานาชาติ สถาบนั วจิ ยั ไม้กลายเปน็ หินฯ เปน็ แหลง่ เรียนรู้ดา้ นบรรพชวี ินระดบั นานาชาตทิ ี่ ท่ีโดดเด่นในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ โดดเดน่ ในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ การสบื สานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริในการแก้ปญั หาและใช้ การสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดารใิ นการแกป้ ญั หาและใช้ ประโยชนจ์ ากดินเคม็ ของจังหวดั นครราชสีมา ประโยชน์จากดินเคม็ ของจงั หวดั นครราชสมี า ผลการดาเนนิ งานตามจุดเนน้ จุดเดน่ หรอื ความเชี่ยวชาญเฉพาะของ ผลการดาเนินงานตามจุดเนน้ จดุ เด่น หรอื ความเชีย่ วชาญเฉพาะของ มหาวทิ ยาลัยรวมทุกดา้ น มหาวิทยาลยั รวมทกุ ด้าน ภาพท่ี 51 ความคดิ เหน็ ของบุคลากรสำนกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยี ภาพท่ี 52 ความคดิ เห็นของบุคลากรสำนกั คอมพวิ เตอร์ของมหาวทิ ยาลยั สารสนเทศของมหาวิทยาลัย ทม่ี ตี อ่ ผลการดำเนินงานตามจุดเนน้ จดุ เด่น ท่ีมตี อ่ ผลการดำเนนิ งานตามจดุ เนน้ จุดเด่น หรอื ความเชยี่ วชาญเฉพาะของ หรอื ความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัย ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 มหาวทิ ยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 เป็นผ้นู าดา้ นการศกึ ษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นผูน้ าดา้ นการศกึ ษาพิเศษในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เป็นผูน้ าของประเทศในการผลติ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามืออาชีพ เปน็ ผู้นาของประเทศในการผลติ ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามืออาชพี รอ้ ยละของงานวิจยั เพ่ือตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ของจงั หวัดนครราชสมี าด้าน รอ้ ยละของงานวิจยั เพ่อื ต่อยอดภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ของจงั หวดั นครราชสมี าดา้ น อาหาร ผ้า และการทอ่ งเที่ยวตอ่ จานวนงานวิจยั ทั้งหมด อาหาร ผา้ และการท่องเท่ียวต่อจานวนงานวจิ ยั ทง้ั หมด สถาบันวจิ ยั ไม้กลายเปน็ หินฯ เปน็ แหลง่ เรียนรู้ดา้ นบรรพชวี นิ ระดบั นานาชาตทิ ี่ สถาบันวิจยั ไมก้ ลายเป็นหนิ ฯ เปน็ แหลง่ เรียนรู้ด้านบรรพชีวนิ ระดับนานาชาติที่ โดดเดน่ ในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ โดดเดน่ ในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ การสืบสานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดารใิ นการแก้ปญั หาและใช้ประโยชน์ การสบื สานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริในการแก้ปญั หาและใช้ จากดินเคม็ ของจังหวัดนครราชสีมา ประโยชน์จากดินเคม็ ของจงั หวัดนครราชสมี า ผลการดาเนินงานตามจุดเนน้ จดุ เดน่ หรอื ความเช่ยี วชาญเฉพาะของ ผลการดาเนนิ งานตามจดุ เน้น จุดเดน่ หรอื ความเช่ียวชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลยั รวมทุกดา้ น มหาวิทยาลัยรวมทุกด้าน ภาพท่ี 54 ความคดิ เห็นของบคุ ลากรสำนกั ศลิ ปะและวัฒนธรรมของ ภาพท่ี 53 ความคิดเห็นของบุคลากรสำนกั สง่ เสริมวชิ าการและงาน มหาวิทยาลยั ที่มีตอ่ ผลการดำเนินงานตามจุดเนน้ จุดเด่น หรอื ความ ทะเบียนของมหาวทิ ยาลัย ทีม่ ตี ่อผลการดำเนนิ งานตามจดุ เนน้ จุดเดน่ เชย่ี วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั ปกี ารศกึ ษา 2560 – 2562 หรอื ความเชีย่ วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลัย ปีการศึกษา 2560 – 2562

126 ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 เป็นผู้นาดา้ นการศึกษาพเิ ศษในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เปน็ ผูน้ าดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื เปน็ ผู้นาของประเทศในการผลิตครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามอื อาชพี เปน็ ผู้นาของประเทศในการผลิตครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามอื อาชพี ร้อยละของงานวิจัยเพอ่ื ตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ของจังหวัดนครราชสีมาด้าน ร้อยละของงานวิจัยเพื่อต่อยอดภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ของจังหวดั นครราชสีมาด้าน อาหาร ผ้า และการท่องเทยี่ วตอ่ จานวนงานวจิ ยั ทง้ั หมด สอถาหาบารันวผจิ้าัยแไมละ้กกลาารยทเปอ่ ็นงเหทนิ ่ียฯวตเปอ่ ็นจาแนหวลนง่ เงรายีนนวริจูด้ ยั ้าทนัง้ บหรมรดพชวี ินระดับนานาชาตทิ ่ี สถาบนั วิจยั ไมก้ ลายเปน็ หินฯ เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ดา้ นบรรพชวี นิ ระดับนานาชาติทโ่ี ดด โดดเดน่ ในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ เดน่ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ การสบื สานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริในการแก้ปญั หาและใช้ การสืบสานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริในการแก้ปญั หาและใชป้ ระโยชน์ ประโยชน์จากดินเคม็ ของจงั หวดั นครราชสีมา จากดนิ เค็มของจังหวัดนครราชสมี า ผลการดาเนนิ งานตามจุดเน้น จดุ เดน่ หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ ผลการดาเนินงานตามจุดเน้น จดุ เด่น หรือความเชีย่ วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยรวมทุกดา้ น รวมทุกด้าน ภาพท่ี 55 ความคิดเหน็ ของบคุ ลากรสถาบนั ภาษาของมหาวทิ ยาลัย ทีม่ ี ภาพที่ 56 ความคิดเห็นของบุคลากรสถาบนั วิจยั และพัฒนาของ ตอ่ ผลการดำเนินงานตามจุดเนน้ จุดเดน่ หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลยั ที่มีตอ่ ผลการดำเนินงานตามจดุ เนน้ จุดเด่น หรอื ความ มหาวทิ ยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 เชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั ปีการศึกษา 2560 – 2562 ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2560 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 เป็นผนู้ าดา้ นการศกึ ษาพเิ ศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นผนู้ าดา้ นการศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปน็ ผูน้ าของประเทศในการผลิตครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามืออาชพี เป็นผ้นู าของประเทศในการผลติ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษามืออาชพี ร้อยละของงานวจิ ัยเพื่อตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ของจังหวดั นครราชสมี าด้าน อาหาร ผา้ และการท่องเทย่ี วตอ่ จานวนงานวจิ ยั ท้งั หมด ร้อยละของงานวิจยั เพ่ือต่อยอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ของจังหวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรยี นรดู้ า้ นบรรพชีวนิ ระดบั นานาชาติท่ี ผา้ และการทอ่ งเท่ียวตอ่ จานวนงานวิจยั ทง้ั หมด โดดเดน่ ในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ สถาบนั วิจัยไมก้ ลายเป็นหินฯ เป็นแหลง่ เรยี นรดู้ ้านบรรพชีวนิ ระดบั นานาชาติทโ่ี ดด การสบื สานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดารใิ นการแกป้ ญั หาและใช้ เด่นในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ประโยชน์จากดนิ เคม็ ของจังหวดั นครราชสีมา การสบื สานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดารใิ นการแกป้ ญั หาและใช้ประโยชน์จาก ผลการดาเนินงานตามจดุ เน้น จดุ เด่น หรือความเช่ียวชาญเฉพาะของ ดินเค็มของจงั หวดั นครราชสีมา มหาวทิ ยาลัยรวมทุกดา้ น ผลการดาเนินงานตามจดุ เนน้ จดุ เดน่ หรือความเชีย่ วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั รวมทุกดา้ น ภาพที่ 57 ความคิดเห็นของบุคลากรสถาบนั วจิ ัยไม้กลายเปน็ หนิ ฯของ มหาวทิ ยาลยั ทม่ี ีต่อผลการดำเนินงานตามจุดเนน้ จุดเด่น หรอื ความ ภาพท่ี 58 ความคิดเหน็ ของบคุ ลากรหนว่ ยตรวจสอบภายในของ เช่ียวชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั ปีการศกึ ษา 2560 – 2562 มหาวทิ ยาลยั ทมี่ ตี อ่ ผลการดำเนนิ งานตามจุดเนน้ จุดเดน่ หรอื ความ เชีย่ วชาญเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั ปกี ารศึกษา 2560 – 2562

127 จากภาพที่ 43 – 58 เมอื่ พิจารณาความคิดเห็นของบุคลากรของมหาวิทยาลัยท้งั 16 หนว่ ยงาน ทีม่ ตี ่อ ผลการดำเนินงานตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัยใน 5 ประเด็น ได้แก่ เป็น ผนู้ ำดา้ นการศึกษาพเิ ศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื เปน็ ผ้นู ำของประเทศในการผลติ ครูและบุคลากรทางการ ศึกษามืออาชีพ ร้อยละของงานวิจัยเพ่ือตอ่ ยอดภูมิปญั ญาท้องถิ่นของจังหวัดนครราชสีมาด้านอาหาร ผ้า และ การท่องเที่ยวต่อจำนวนงานวิจัยทั้งหมด สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับ นานาชาติที่โดดเด่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ การสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในการ แก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากดินเค็มของจังหวัดนครราชสีมา รวมทั้งแนวโน้มของระดับความพึงพอใจ ในปกี ารศึกษา 2560 – 2562 พบว่า บุคลากรของคณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักคอมพิวเตอร์ สถาบันวิจัยไม้ กลายเปน็ หินฯ และ หนว่ ยตรวจสอบภายใน มคี วามคิดเห็นที่คลา้ ยคลึงกัน โดยระดบั ความพงึ พอใจมากที่สุดใน ประเด็น สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับนานาชาติที่โดดเด่นในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับระดับความพึงพอใจน้อยที่สุดมีความคิดเห็นที่คล้ายคลึงกัน ส่วนใหญ่เป็นประเด็น รอ้ ยละของงานวจิ ยั เพ่ือต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร ผา้ และการท่องเที่ยวต่อ จำนวนงานวิจยั ทง้ั หมด และทุกหนว่ ยงานข้างตน้ ระดบั ความพงึ พอใจมีแนวโน้มสูงขนึ้ ทกุ ประเดน็ ยกเว้นหน่วย ตรวจสอบภายในที่ประเด็นสถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับนานาชาติที่ โดดเดน่ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มีแนวโน้มลดลงเล็กนอ้ ย อีก 4 ประเด็นไม่แตกตา่ งกนั ในแต่ละปีการศกึ ษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในปีการศึกษา 2560 ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุดในประเด็น เป็น ผูน้ ำของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ ในปกี ารศกึ ษา 2561 และ 2562 มากที่สุด ในประเด็น สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับนานาชาติที่โดดเด่นในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับความพึงพอใจน้อยที่สุดประเด็นเดียวกันในทุกปีการศึกษา คือ ร้อยละของงานวิจัย เพื่อต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดนครราชสีมาด้านอาหาร ผ้า และการท่องเที่ยวต่อจำนวนงานวิจัย ทั้งหมด เมื่อพิจารณาแนวโน้มพบว่า ประเด็นเป็นผู้นำของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา มืออาชีพ และ การสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในการแก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากดินเค็ม ของจงั หวดั นครราชสีมา มแี นวโนม้ ลดลง อกี 3 ประเดน็ มแี นวโน้มสูงข้นึ คณะสาธารณสุขศาสตร์ กับ สำนักงานอธิการบดี มีความคิดเห็นคล้ายคลึงกัน โดยความพึงพอใจมาก ที่สุดในประเด็น สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับนานาชาติที่โดดเด่นใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนอีก 3 ประเด็นที่เหลือ สำนักงานอธิการบดีมีความพึงพอใจที่ใกล้เคียงกัน คณะ สาธารณาสุขฯ มีความคิดเห็นที่ต่างออกไปโดย ในปีการศึกษา 2560 และ 2562 มีความพึงพอใจน้อยที่สุดใน ประเด็นการสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในการแก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากดินเค็มของ จังหวัดนครราชสีมา ปี 2561 ประเด็นเป็นผู้นำด้านการศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเมื่อ พิจารณาแนวโน้มระดับความพึงพอใจพบว่า ทั้งสองหน่วยงานมีแนวโน้มของระดับความพึงพอใจลดลงทุก ประเด็น

128 บัณฑิตวิทยาลัย กับ สถาบันวิจัยและพัฒนา มีแนวโน้มของระดับความพึงพอใจคล้ายคลึงกันคือ แนวโน้มความพึงพอใจในประเด็น เป็นผู้นำด้านการศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวโน้มสูงข้ึน ในประเด็นอื่น ๆ มีแนวโน้มของระดับความพึงพอใจที่ลดลง สำหรับความพึงพอใจมากที่สุด และ น้อยที่สุดมี รายละเอียดที่แตกตา่ งกัน ดังนี้ บัณฑิตวิทยาลัยมีความพึงพอใจมากที่สดุ ในปี 2560 ในประเด็น เป็นผู้นำของ ประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ ปี 2561 เป็นผู้นำของประเทศในการผลิตครูและ บุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ และ สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับ นานาชาติที่โดดเด่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปี 2562 เป็นผู้นำด้านการศึกษาพิเศษในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ และ สถาบนั วิจยั ไม้กลายเป็นหินฯ เปน็ แหลง่ เรยี นรูด้ ้านบรรพชวี นิ ระดบั นานาชาติท่ีโดด เด่นในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ สำหรบั ความพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ ปี 2560 และ 2561 รอ้ ยละของงานวจิ ัยเพ่ือต่อ ยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดนครราชสีมาด้านอาหาร ผ้า และการท่องเที่ยวต่อจำนวนงานวิจัยทัง้ หมด ปี 2562 การสบื สานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำรใิ นการแกป้ ญั หาและใชป้ ระโยชน์จากดนิ เค็มของจังหวัด นครราชสีมา สถาบันวิจัยและพัฒนามีความพงึ พอใจมากที่สุด ในปี 2560 และ 2561 ในประเด็น สถาบันวิจยั ไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับนานาชาติที่โดดเด่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ การสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในการแก้ปัญหาและใช้ประโยชน์จากดินเค็มของจังหวัด นครราชสีมา ปี 2562 เป็นผู้นำด้านการศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำหรับความพึงพอใจน้อย ที่สุดในทุกปีในประเด็น เป็นผู้นำของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ และ ร้อยละ ของงานวจิ ยั เพ่อื ต่อยอดภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ของจังหวัดนครราชสีมาด้านอาหาร ผา้ และการท่องเท่ียวต่อจำนวน งานวจิ ัยทง้ั หมด สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ในทุกปีมีความพึงพอใจมากที่สุดในประเด็น สถาบันวิจัยไม้ กลายเปน็ หนิ ฯ เป็นแหล่งเรียนรูด้ า้ นบรรพชีวินระดับนานาชาติท่ีโดดเดน่ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และความ พึงพอใจน้อยที่สุดในประเด็น เป็นผู้นำด้านการศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเมื่อพิจารณา แนวโน้มพบว่า ในประเด็น สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบรรพชีวินระดับนานาชาติท่ี โดดเด่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีแนวโน้มของระดับความพึงพอใจลดลง และ ประเด็นเป็นผู้นำของ ประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ ลดลงอย่างเห็นได้ชัด ส่วน 3 ประเด็นที่เหลือมี แนวโนม้ สูงขน้ึ สำนกั ศลิ ปะและวัฒนธรรม มรี ายละเอยี ดความพอใจมากที่สุดในแต่ละปแี ตกตา่ งกันไป โดยในปี 2560 ในประเด็นเป็นผู้นำของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ ปี 2561 เป็นผู้นำด้าน การศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2562 สถาบันวิจัยไม้กลายเป็นหินฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน บรรพชีวินระดับนานาชาติที่โดดเด่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับความพึงพอใจน้อยที่สุด ในปี 2560 เป็นผู้นำด้านการศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปี 2561 และ 2562 คล้ายคลึงกันคือ ประเด็น รอ้ ยละของงานวิจัยเพื่อต่อยอดภูมิปัญญาท้องถ่นิ ของจังหวดั นครราชสีมาดา้ นอาหาร ผ้า และการท่องเที่ยวต่อ จำนวนงานวจิ ยั ทัง้ หมด และ การสบื สานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริในการแก้ปัญหาและใชป้ ระโยชน์ จากดนิ เคม็ ของจงั หวดั นครราชสีมา และเม่อื พจิ ารณาแนวโน้มของระดับความพึงพอใจพบว่า ประเด็นเป็นผู้นำ ของประเทศในการผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษามอื อาชพี มีแนวโน้มลดลง อีก 4 ประเดน็ มีแนวโนม้ สงู ขึ้น สถาบนั ภาษา ในทุกปีมรี ะดบั ความพึงพอใจในทุกประเด็นใกลเ้ คียงกัน และมีแนวโน้มของระดับความ พึงพอใจสงู ขน้ึ ทุกประเด็น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook