Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NRRUEmpSat60-62

NRRUEmpSat60-62

Published by qa.nrru, 2020-12-22 08:54:55

Description: NRRUEmpSat60-62

Search

Read the Text Version

179 - ควรกลั่นกรองผู้ประเมิน เช่น อาจารย์ผู้สอนควรมีสิทธิ์ให้ผู้เรียนที่มาเรียนเกิน 70% ของ เวลาเรียนทำการประเมนิ ผู้สอน เน่อื งจากนกั ศกึ ษาบางคนมาเรียนนอ้ ย หรอื ไม่เคยมาเรยี น เป็นต้น 10. ยังขาดแคลนผู้สอนปฏิบัติการหลัก ควรรับอาจารย์ใหม่ที่เป็นสายปฏิบตั ิการเพิ่ม เนื่องจากที่ผ่าน มามกี ารรบั สมัครอาจารยใ์ หม่ทีไ่ มไ่ ด้ช่วยลดภาระการสอนเดมิ ของผ้สู อนรายวชิ าปฏิบัติ 11. มีแผนการเรียนการสอนอย่างชัดเจน โดยจัดอาจารย์ผู้สอนตามความเหมาะสม ทั้งความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ไดใ้ นสถานการณ์ ปจั จบุ ัน 12. ควรปรบั ทกั ษะการสอนในสถานการณ์วิกฤตให้มีประสิทธิภาพ ความพงึ พอใจตอ่ สภาพการทำงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน 1. ควรมีการสำรวจความต้องการ การจดั การปรบั ปรงุ สำนกั งานของบุคลากร 2. ควรมีการวางระบบการปรับปรุงภูมิทัศน์ทั้งมหาวิทยาลัย เพื่อสร้างบรรยากาศแวดล้อมของ มหาวิทยาลัยให้ดียิ่งข้ึน เช่น โซนในการจัดสวน เป็นตน้ 3. บรรยากาศในการทำงานควรมีความเป็นอสิ ระมากกว่าน้ี 4. จัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกัน กระจายงาน โดยเฉพาะงานที่มีรายได้ เนื่องจากทผี่ า่ นมางานส่วนนกี้ ระจกุ อยู่กับบางกลุ่ม เปน็ สาเหตขุ องการขาดความร่วมมอื ในการทำงาน 5. สภาพแวดล้อมในการทำงานยังไม่อำนวยความสะดวก ควรกำหนดให้มี Partition ในการแบ่ง สัดสว่ นพนื้ ท่กี ารทำงาน 6. ควรเพมิ่ ห้องปฏบิ ตั กิ ารทางวิทยาศาสตรแ์ ละห้องทำงานของอาจารย์ 7. สถานที่ทำงานทีเ่ ป็นห้องพักอาจารย์มีการน่ังรวมกันหลายคนทำใหบ้ างคร้ังขาดสมาธิในการทำงาน และเวลาทีน่ กั ศึกษามาพบก็ทำใหข้ าดความเปน็ ส่วนตวั ควรมหี อ้ งทำงานทีเ่ ป็นส่วนตวั 8. หอ้ งเรยี นเล็กกวา่ จำนวนนกั ศึกษา 9. สภาพแวดล้อมสง่ เสรมิ การเรียนรไู้ ดน้ ้อย 10. บางห้องมปี ญั หาฝ้าเพดานร่ัว 11. ในบางพื้นท่ีท่มี ีการซ่อม ปรับปรุง ทำใหเ้ กิดเสียง/ กลิน่ ที่รบกวนการเรียนการสอน 12. ความสวา่ งของหลอดไฟในทท่ี ำงานไม่เพยี งพอ มผี ลทำให้พนักงานมีปญั หาสขุ ภาพสายตา 13. หลายอาคารมีนกพิราบมาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก และมีการถ่ายมูลเป็นจำนวนมาก ทำให้เกิด ความสกปรกของพื้นท่ี ซง่ึ เป็นแหล่งกำเนิดของเชอื้ โรคซึ่งอาจส่งผลต่อสุขภาพของผปู้ ฏิบตั ิงานได้ 14. ห้องทำงานของหน่วยงานแยกกันอยู่คนละชั้น ควรจัดให้อยู่ชั้นเดียวกันเพื่อการประสานงานหรอื ส่งต่องานได้รวดเรว็ ยง่ิ ข้นึ 15. หอ้ งคับแคบ จำนวนคนเยอะ อากาศถา่ ยเทไมส่ ะดวก เครอ่ื งปรบั อากาศเสียซ่อมไมไ่ ด้ 16. นกั ศกึ ษาทำกิจกรรมที่อาคารเรียนขณะทมี่ กี ารเรยี นการสอน 17. จดั ระบบการทำความสะอาดให้ได้รบั ความรว่ มมือจากทกุ ภาคส่วน 18. อปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน ส่งิ อำนวนความสะดวก ควรมอี ยา่ งพอเพยี ง และพรอ้ มใช้งาน

180 19. Spec ครุภัณฑ์ต่าง ๆ ควรใช้แบบเดียวกัน เช่น Computer Notebook Printer หมึกพิมพ์ เป็น ต้น เพื่อให้สามารถต่อรองราคาได้หากมหาวิทยาลัยซื้อหรือเช่าเป็นจำนวนมาก สำหรับกระดาษ ปากกา หรือ วสั ดุทใ่ี ช้เหมอื นกันไดก้ ็ควรเบิกได้จากสว่ นกลาง อาจทำให้มหาวทิ ยาลัยสามารถลดงบประมาณวสั ดุบางส่วนได้ 20. เครอื่ งคอมพวิ เตอร์/ อปุ กรณท์ ่ีใชง้ าน เร่ิมจะหมดสภาพ ล้าสมัย เสียบ่อย มหาวทิ ยาลัยควรมีการ จดั สรร เน่อื งจากมผี ลกระทบต่อประสทิ ธภิ าพการทำงาน 21. เครื่องปรับอากาศในห้องพักอาจารย์แทบทุกอาคารไม่มีการดูแลรักษา เช่น การล้าง เครือ่ งปรับอากาศท่ีควรทำทุก 3 – 6 เดือนตอ่ ครัง้ เปน็ ต้น จนเคร่อื งเสียจงึ มีการแจ้งซ่อม และต้องรอนานกว่า จะได้รับการซอ่ ม 22. ควรมีรอบการตรวจเช็คอุปกรณ์ และรายงานที่ชัดเจน เช่น เครื่องปรับอากาศ เครื่องเสียง โปรเจคเตอร์ เปน็ ตน้ 23. บุคลากรบางส่วนยังทำงานไม่เต็มความสามารถและศักยภาพ และมีบางส่วนไม่กระตือรือร้นใน การพัฒนาตนเอง มหาวทิ ยาลยั นำศกั ยภาพของผู้ท่ีสำเรจ็ การศกึ ษาระดับ ป.เอก มาใชไ้ มเ่ ตม็ ประสทิ ธิภาพ 24. ผดู้ แู ลอาคารบางอาคารไม่ได้ปฏบิ ตั ิหนา้ ทต่ี ามท่ีไดร้ ับมอบหมาย 25. ตอ้ งการให้มีพืน้ ทสี่ เี ขยี วในบรเิ วณมหาวทิ ยาลยั เพ่มิ มากขน้ึ 26. พืน้ ที่จอดรถยนตใ์ นมหาวิทยาลัยมีจำกัด ควรมรี ะบบและพ้นื ที่จอดที่เป็นสัดสว่ น ดา้ นความก้าวหน้ามั่นคงในงาน 1. มหาวิทยาลยั ควรสนับสนนุ เรอ่ื งการทำเขา้ สตู่ ำแหนง่ อย่างตอ่ เน่ือง 2. ควรมีการปรับวฒุ กิ ารศึกษาใหส้ อดคล้องกบั วฒุ ิการศึกษาที่จบในปัจจุบนั 3. ควรพิจารณาปรับลูกจ้างชั่วคราวที่มีอายุการทำงาน ตั้งแต่ 2 ปี ขึ้นไป ประกอบกับภาระงาน เป็นพนกั งานมหาวิทยาลยั เพ่อื เป็นขวญั และกำลังใจในการทำงาน 4. ความมั่นคงระดับหน่ึงแต่ยังไม่เต็มร้อย เนื่องจากการลดลงของจำนวนนักศึกษา อาจจะมีการ เปล่ยี นแปลงเร่ืองวิชาชีพ 5. เพ่ิมสวสั ดิการ เพ่ิมขีดความสามารถ และมยี ทุ ธศาสตร์ที่ดีในการดงึ ดดู ใหม้ ีนักศึกษามากขึ้น 6. การสนับสนนุ งบประมาณด้านวจิ ัยในมหาวทิ ยาลัยยงั ไมท่ ั่วถึง 7. ควรมีระบบการพัฒนาผลงานวิชาการท่ยี ุตธิ รรม ชดั เจน และสนบั สนนุ ในสงิ่ ที่ยังไมช่ ัดเจน หรอื ท่ียัง ขาด เชน่ แรงจงู ใจ งบสนับสนุนการทำงานวิจยั เป็นตน้ 8. พัฒนาระบบการประเมนิ ผลและใหร้ างวลั ที่ชดั เจน เปน็ ธรรม และใชพ้ ฒั นาบคุ ลากรไดจ้ รงิ 9. ควรเพมิ่ คะแนนภาระงานพิเศษในการประเมินภาระงาน เชน่ ระดับหัวหนา้ หรอื ตำ่ กวา่ ผ้อู ำนวยการ กองไม่ถือเป็นผู้บริหาร และไม่มีช่องให้คะแนน เป็นต้น และควรลดภาระงานสอนในกรณีมีภาระงานพิเศษ ประจำ 10. รู้สึกว่าไม่มคี วามมัน่ คงหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้านการเงนิ ทพี่ ัก สขุ ภาพจิต เป็นตน้ 11. แม้จะมีความก้าวหน้าที่ดีแต่ความมั่นคงยังน้อย ความเหลื่อมล้ำของข้าราชการกับพนักงานใน สถาบันอุดมศกึ ษายงั มีในทุกหนว่ ยงานย่อยของมหาวิทยาลยั ควรไดร้ ับการแกไ้ ข แตก่ ลับถูกละเลยและน่ิงเฉย 12. การเข้าร่วมอบรมและสัมมนาในหน่วยงานภายนอกทำได้ค่อนข้างจำกัด เนื่องจากงบประมาณที่ สนับสนนุ มีจำกดั

181 ระบบการทำงานตามหลกั ธรรมาภบิ าล 1. ระบบการทำงานตามหลักธรรมาภิบาลทำได้บางส่วน ควรพิจารณา และทำตามกฎเกณฑ์ที่มีอย่าง เครง่ ครัด 2. ควรอบรมคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ ให้แก่บุคลากรเพื่อทบทวนวินัยการทำงาน และการปฏบิ ัตติ นต่อวิชาชพี 3. ในการนำช่ืออาจารย์เข้าไปเปน็ อาจารย์ผ้รู ับผิดชอบหลกั สตู ร ควรต้องมีการถามและขออนุญาตจาก อาจารย์ผ้นู น้ั ก่อนหรือไม่ และควรตอ้ งให้อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สูตรทำหน้าทต่ี ่าง ๆ ตามกฎเกณฑ์ท่ีกำหนด ไวห้ รือไม่ ในลกั ษณะท่ีประสบมาคือ การเอาชอื่ และผลงานอาจารยเ์ ขา้ ไปใสโ่ ดยพลการ โดยไมไ่ ดถ้ ามหรือบอก ให้รับรู้ และไม่ได้มีการมอบหมายงานใด ๆ ตามภาระหน้าที่ให้ ตลอดจนไม่มีการจัดหน้าที่การสอนใด ๆ ให้ ตลอดหลักสูตร เพียงแค่เอาชื่อไปใส่เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้ครบ 5 คนตามเกณฑ์แค่นั้น การ ทำงานในลักษณะนี้ถือว่ามรี ะบบการทำงานท่ีมหี ลักธรรมาภิบาลหรือไม่ 4. กระจายการรู้ กระจายรายได้ มากกว่านี้ โดยเฉพาะในคณะครุศาสตร์ งานสอน ไม่สอดคล้องกับ ความรู้ความสามารถ ทำให้ไมไ่ ด้รบั การยอมรับ 5. คณะฯ ไมพ่ ิจารณา ถงึ ผลงานท่ีปฏิบัตจิ ริง 6. มหาวิทยาลัยยังไม่สามารถพิจารณาความดีความชอบของบุคลากรจากผลงานหรือศักยภาพที่ แท้จริง ยังมีลักษณะผลัดกันได้อยู่ อาจจะทำให้บุคลากรที่ทำงานเสียกำลังใจ การพัฒนามหาวิทย าลัยก็จะ ล้าหลัง ทุกภาคส่วนควรมีส่วนร่วมในการประเมินผู้บริหาร เพื่อจะให้ผู้บริหารนำไปปรับปรุงเพื่อความ เจรญิ ก้าวหนา้ ของสว่ นรวม 7. มหาวิทยาลัยควรพิจารณาปรับเปลี่ยนใหม้ ีระบบ วิธีการพิจารณา ความยุติธรรม ความโปร่งใส ใน การเลื่อนขั้นเงินเดือน ความไม่ชัดเจนของผลการประเมินการปฏิบัติหน้าที่ เช่น ผลคะแนนการประเมินการ ปฏิบัตงิ านสูง แตเ่ งนิ เดอื นขนึ้ น้อย ไมส่ ัมพันธก์ ันกับผลการประเมนิ เป็นตน้ 8. สภามหาวิทยาลัยควรมีการพฒั นาไปสู่ระบบท่ีเป็นสากลมากข้นึ การส่อื สารและความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ ลากร 1. ใชเ้ คร่อื งมือสือ่ สาร ทำให้ไมเ่ คยเห็นหน้า ไมร่ จู้ ัก 2. ควรมกี จิ กรรมทส่ี ร้างความสมั พันธข์ องบคุ ลากรในมหาวทิ ยาลยั จดั กจิ กรรมให้สายวชิ าการและสาย สนับสนุนไดท้ ำกิจกรรมร่วมกัน ได้รจู้ กั กนั มากขึ้น เพ่อื ให้การปฏิบตั ิงานเปน็ ไปดว้ ยความเปน็ มิตร 3. การสอ่ื สารยงั ไม่ครอบคลมุ ทัว่ ถึงเท่าท่ีควร สรา้ งระบบการสือ่ สารท่ีเขา้ ถงึ ทว่ั ถงึ และเท่าทัน 4. ผู้บริหารอาจตอ้ งสร้างโอกาสในการพบบคุ คลากรของหน่วยงานในสงั กัดของตนเอง โดยจดั เวลาเข้า พูดคุยกับกลุ่มบุคลากรในหน่วยงาน เพื่อรับทราบและมีการแลกเปลี่ยน ในแนวทางการดำเนินงานหรือความ ต้องการตอ่ การพฒั นาในแตล่ ะหลักสูตรหรือหน่วยงานภายใต้ความดูแล 5. มีการสื่อสารที่ไม่จริงใจ ไม่พูดความจริง ไม่กล้าแสดงความคิดแต่ไปพูดลับหลังเพราะกลัวเสีย ภาพพจน์ 6. เพิม่ การทำงานข้ามวัฒนธรรม และพัฒนาระบบการทำงานเป็นทีม

182 7. ยังขาดการไปศึกษาดงู านทใ่ี ช้เวลารว่ มกันนานข้ึน เช่น ดงู านตา่ งประเทศ การส่งเสรมิ สขุ ภาพ สวัสดกิ าร และขวัญกำลงั ใจ 1. ควรให้มีการใช้ระบบโซล่าเซลล์ในมหาวิทยาลัย และติดตั้งเครื่องปรับอากาศให้ครบทุกห้อง โดยเฉพาะหอ้ งเรียนทีอ่ าคาร 9 2. ยกระดับสวัสดิการให้เพียงพอ ทั่วถึง เช่น บ้านพัก/ ที่พักบุคลากร ค่ารักษาพยาบาล ประกัน สขุ ภาพ คา่ เลา่ เรยี นบุตร เปน็ ตน้ 3. ควรมีสวัสดิการเรื่องรักษาพยาบาลกรณีฉุกเฉิน และค่ารักษาพยาบาลของบุคลากรต่อปี ควร ครอบคลมุ ค่าใชจ้ า่ ยในการรกั ษาพยาบาล ค่าทนั ตกรรม ทั้งโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน 4. ควรมกี ารพฒั นาสขุ ภาพของบคุ ลากรในทุกระดับ 5. ควรมกี ารสรา้ งขวัญและกำลงั ใจทเี่ ป็นรปู ธรรม และทั่วถึง 6. ควรพจิ ารณาใหม้ ีเงนิ ประจำตำแหนง่ สำหรบั บคุ ลากรสายสนบั สนนุ ทีไ่ ดต้ ำแหน่งท่สี งู ข้นึ 7. พนกั งานของมหาวิทยาลัยที่ทำงานมาแลว้ ตงั้ แต่ 5 ปขี ้นึ ไป ควรไดร้ ับการปรบั สัญญาจ้างเป็น 60 ปี หรอื จนกวา่ เกษยี ณอายรุ าชการ 8. ลกู จ้างชัว่ คราวทีท่ ำงานตง้ั แต่ 2 ปขี ้นึ ไป ควรไดร้ บั การพจิ ารณาปรบั เปน็ พนกั งานมหาวิทยาลัย 9. พฒั นาระบบบริหารจดั การให้มีประสทิ ธิภาพยิง่ ขนึ้

183 สงั เคราะหข์ ้อเสนอแนะของ ปกี ารศึกษา 2560 – 2562 พิจารณาจากข้อเสนอแนะในประเด็นต่าง ๆ ของปีการศึกษา 2560 2561 และ 2562 พบว่า มี ข้อเสนอแนะที่เหมอื นหรือมีความคลา้ ยคลึงกัน สามารถสังเคราะหแ์ ละสรปุ ได้ ดังนี้ ความพึงพอใจตอ่ การบรหิ ารหลักสูตร (สายวชิ าการ) ดา้ นนกั ศึกษา 1. ควรมกี ารสอบวดั ความรู้ และ การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นเขา้ ศึกษา 2. การลงทะเบียนเรียนควรมคี วามยดื หยุ่น 3. การเรียนการสอนตอ้ งทนั ตอ่ ยุค และการเปล่ยี นแปลง 4. เพิ่มช่องทางในการติดต่อนักศึกษา และช่องทางสำหรับให้นักศึกษารับรู้ข่าวสาร ให้มากและ หลากหลายข้นึ 5. ควรมีการเสรมิ ทักษะท่ีจำเปน็ ตอ่ การทำงาน และการใช้ชวี ติ ให้กบั นักศกึ ษา ด้านอาจารย์ 1. จำนวนอาจารย์ในหลกั สูตรไมเ่ พยี งพอ 2. ภาระงานของอาจารยท์ ี่ไมเ่ หมาะสม 3. ปญั หาของวฒุ กิ ารศึกษาที่ไม่ตรงของอาจารย์ 4. การพัฒนาอาจารย์ กบั งบประมาณสนับสนนุ เพอ่ื การพฒั นาอาจารยย์ ังนอ้ ย 5. การสอนที่ไม่มปี ระสทิ ธิภาพ 6. ยังขาดระบบการประเมินที่มีประสิทธิภาพ ที่สามารถสะท้อนระดับคุณภาพของอาจารย์ได้อย่าง แท้จรงิ รวมทั้งผลกระทบทผ่ี รู้ บั การประเมนิ จะได้รบั จากผลการประเมนิ ดา้ นหลักสูตร การเรียนการสอน และการประเมินผู้เรยี น 1. ควรมีการบรหิ ารจดั การรายวชิ าพื้นฐานให้มคี วามเหมาะสม เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด 2. ควรมรี ะบบการบรหิ ารหลกั สตู รทีเ่ นน้ คุณภาพและประสิทธภิ าพ 3. ควรมรี ะบบการประเมนิ ผเู้ รียนทหี่ ลากหลาย และมกี ารปรบั ปรงุ ใหท้ นั สมัยอย่างสม่ำเสมอ ดา้ นสง่ิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ 1. อนิ เตอร์เน็ตท่ีมีประสทิ ธภิ าพทงั้ ความเร็ว และครอบคลมุ ทุกพืน้ ท่ี 2. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ พื้นที่สำหรับทำกิจกรรม อุปกรณ์สนับสนุนการเรียนการสอนที่ทันสมัย เพียงพอ และพรอ้ มใช้ 3. ทนุ การศึกษา ด้านขอ้ รอ้ งเรียนตา่ ง ๆ 1. พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทุก ๆ ด้านของอาจารย์ผู้สอน เช่น ไม่รับผิดชอบการสอน การแสดงออก หรือการใช้คำพดู ที่ไม่เหมาะสม เป็นตน้ 2. ข้อกำหนด หรือ อ่นื ๆ ท่ชี ดั เจนของมหาวิทยาลยั เพือ่ ดูแล จดั การกบั พฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมของ อาจารย์

184 ด้านการจัดการเรียนการสอน 1. ต้องมีรูปแบบการสอนที่ทันสมัย 2. อาจารย์ และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน จำเป็นต้องมีความรู้ ความชำนาญ ความ เชี่ยวชาญ และพฒั นาอย่างตอ่ เนอ่ื งในศาสตรท์ เี่ กย่ี วขอ้ ง 3. ควรมกี จิ กรรมนอกเหนือจากการเรยี นการสอน ทสี่ ง่ เสริมทักษะจำเป็นใหก้ บั นักศึกษาอย่างต่อเน่ือง 4. งบประมาณทีเ่ พียงพอในการสนบั สนนุ การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน 5. ระบบบรหิ ารจัดการ การจัดการเรยี นการสอนท่มี ปี ระสิทธิภาพ ความพึงพอใจตอ่ สภาพการทำงาน ด้านสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน 1. ปัญหาอุปกรณ์ ห้อง อาคาร ระบบไฟฟ้า อินเตอร์เน็ต พื้นที่สีเขียว ที่จอดรถ ฯลฯ ไม่พร้อมใช้งาน หรือไม่เพยี งพอ 2. การให้ความสำคัญกับความสะอาด และสุขอนามัยทั้งระบบ เช่น เสียง/ กลิ่นรบกวน ขยะ มูลสัตว์ ความสวา่ งในท่ีทำงาน/ ทเ่ี รียน เปน็ ตน้ 3. มหาวิทยาลัยควรมีแนวทางหรือวิธีการที่ชัดเจนและเหมาะสม ซึ่งต้องไม่ก่อให้เกิดปัญหาข้ึน ภายหลัง ตอบสนองต่อความต้องการหอ้ ง หรือสถานที่ทำงาน ของบุคลากรทัง้ สายอาจารย์ และสายสนบั สนุน ที่มีความเห็นในเรื่องดังกล่าวค่อนข้างหลากหลายแต่มีความคล้ายคลึงกันอยู่ เช่น ต้องการความเป็นส่วนตัว ต้องการอิสระ หน่วยงานเดียวกันควรมีห้องทำงานอยู่ในพื้นที่เดียวกัน การทำงานไม่จำเป็นต้องอยู่ในห้อง เป็นตน้ 4. ระบบการรักษาความปลอดภัยและสวัสดิภาพในชวี ิตและทรัพยส์ นิ ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ 5. การบริหารจดั การทรัพยากรบุคคลเพื่อใหเ้ กิดการปฏิบัติงานเต็มศักยภาพ และมีประสิทธิภาพมาก ท่สี ุด 6. การส่งเสรมิ ให้เกดิ การรว่ มกันสรา้ งบรรยากาศทดี่ ใี นการทำงาน ด้านความก้าวหน้ามั่นคงในงาน 1. บุคลากรบางส่วนมีความคิดเห็นว่ายังไม่มีความมั่นคงในการทำงาน รวมทั้งโอกาสและ ความกา้ วหนา้ ยงั ไม่ชดั เจน 2. จำนวนนักศึกษาที่ลดลงเชื่อมโยงกับรายได้ของมหาวิทยาลัย และความมั่นคงในการทำงานของ พนักงาน 3. ความสำคัญของบทบาท หน้าที่ ความรบั ผิดชอบ ทตี่ รงกับคณุ วฒุ ิ ความรู้ ความสามารถ และความ เชี่ยวชาญของบุคลากร

185 4. บคุ ลากรมคี วามต้องการให้มหาวทิ ยาลัยปรับวฒุ ิการศึกษาใหส้ อดคล้องกับวุฒิการศึกษาท่ีสำเร็จใน ปัจจุบัน รวมทั้งการพิจารณาปรับประเภทพนักงานลูกจ้างชั่วคราวที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เช่น อายุงาน และ ผลการปฏบิ ตั งิ านในเชงิ ประจักษ์ เปน็ ตน้ 5. มหาวิทาลัยต้องให้ความสำคัญมากกว่าน้ตี ่อแผนพัฒนาบุคลากร และระบบประเมินผลงานที่ชดั เจน เปน็ ธรรม และใชพ้ ัฒนาบุคลากรได้จรงิ 6. ควรพัฒนาระบบบริหารจัดการ การขอพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ และการเข้าสู่ตำแหน่ง ที่มี ประสิทธภิ าพ 7. งบประมาณในการพฒั นาบุคลากรต้องเพียงพอและเหมาะสม ระบบการทำงานตามหลักธรรมาภบิ าล 1. ควรพัฒนา/ จัดระบบ การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล และใช้หลักธรรมาภิบาลอย่างจริงจัง เป็นรปู ธรรม กับบุคลากรทกุ คนไม่แยกปฏิบตั ิ 2. ยงั ไม่มคี วามชัดเจนของระบบการประเมินผลการปฏบิ ัติงานที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล มีความ ยุติธรรม และโปร่งใส การพิจารณาความดีความชอบของบุคลากรจากผลงานหรือศักยภาพที่แท้จริง ไม่เลือก ปฏิบัติ ไมใ่ ช้ระบบอุปถัมภ์ หรอื ผลดั กันได้ การส่อื สารและความสัมพันธร์ ะหว่างบุคลากร 1. ควรมีกิจกรรมที่เพียงพอและเหมาะสม ในการส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรทุกฝ่ายใน มหาวทิ ยาลัย 2. ต้องสร้างความตระหนักเห็นคุณค่าและรักในงานที่ทำ ส่งเสริมความรักองค์กร สร้างให้เกิด ความรสู้ ึกเปน็ หนึ่งเดยี วกันในระดบั มหาวิทยาลยั 3. ตอ้ งสรา้ งวัฒนธรรมองคก์ ร ใหท้ ันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก 4. ส่งเสริมให้บคุ ลากรมที ัศนคติท่ีเออ้ื ต่อการสรา้ งสรรค์และการพฒั นาท่ยี งั่ ยนื การสง่ เสรมิ สุขภาพ สวสั ดกิ าร และขวัญกำลังใจ 1. ยกระดับสวัสดิการให้เพียงพอ และทั่วถึง เช่น บ้านพัก/ ที่พัก ของบุคลากร ค่ารักษาพยาบาล ประกนั สุขภาพ คา่ เล่าเรียนบุตร เป็นต้น 2. ปรับระเบียบ วิธีการ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ครอบคลุม คล่องตัว และเกิดประสิทธิภาพในการ เบิกจ่าย 3. มหาวทิ ยาลยั ควรให้ความสำคัญ และจริงจังต่อสุขภาพจติ ของบุคลากรให้มากขึ้น เช่น การประเมิน สุขภาพจติ / ความเครียดของบุคลากร เป็นตน้ 4. ส่งเสรมิ และนำระบบพลงั งานสะอาดทเ่ี ป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมมาใช้ในมหาวิทยาลัยให้มากข้ึน เช่น พลงั งานจากแสงอาทติ ย์ พลังงานจากลม พลังงานจากนำ้ เปน็ ต้น

บรรณานกุ รม

187 บรรณานุกรม กรองแก้ว สรนนั ท.์ (2537). ความพงึ พอใจในการปฏบิ ตั งิ านและปัจจยั ทีส่ ่งผลต่อความพงึ พอใจในการ ปฏบิ ตั งิ านของข้าราชการสาย ข และสาย ค ในจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต คณะครุศาสตร.์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . กันยา สวุ รรณแสง. (2538). จติ วทิ ยาท่วั ไป (พิมพ์คร้ังท่ี 2). กรุงเทพมหานคร : อกั ษรพิทยา. กานดา จันทรแ์ ยม้ . (2546). จติ วิทยาอตุ สาหกรรมเบือ้ งต้น. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์โอเดียนสโตร์. ขวญั จติ ร สงวนโรจน์. (2559). การสังเคราะห์งานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ งกับการประกันคุณภาพการศึกษาด้วยเทคนิค การวิเคราะหเ์ นื้อหาและการวิเคราะห์อภมิ าน. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบุร.ี จิตินนั ท์ เดชะคปุ ต.์ (2543). จติ วทิ ยาบรกิ าร. พิมพ์คร้ังท่ี 4. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. จริ าภรณ์ ตง้ั กติ ตภิ าภรณ์. (2556). จติ วทิ ยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : สำนักพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . จิรายุ ทรพั ยส์ นิ . (2540). ปัจจัยความคดิ เห็นของนสิ ิตทม่ี ีต่อการเลือกต้ังผวู้ า่ ราชการ กรุงเทพมหานคร. วิทยานพิ นธ์ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์ ชยั วฒั น์ ย่วี าศรี. (2561). ความพงึ พอใจต่อประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตงิ าน ของบุคลากรคณะสังคมศาสตรแ์ ละ มนุษยศาสตร์มหาวทิ ยาลยั มหิดล. งานบริหารทว่ั ไป สำนกั งานคณบดีคณะสงั คมศาสตร์ และ มนุษยศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั มหิดล. ชนกนารถ บุญวฒั นะกลุ , สารพี นั ธุ์ ศภุ วรรณ, ปยิ ะพงษ์ ไสยโสภณ, นฤมล ตนั ธสุระเศรษฐ์ และ องอาจ ซึม รัมย์. (2560). การสังเคราะห์งานวิจยั ของนักศึกษาระดบั บัณฑิตแขนงวิชาการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มสธ. ชเู กยี รติ จากใจชน, นยั นา จนั จริ ะสกุล, จริ าภรณ์ โภชกปรภิ ัณฑ์, ทรงวฒุ ิ บรุ ิมจิตต์ และ ศรีสมร สนิ ทับ. (2559). ปจั จยั สว่ นบุคคลและความพึงพอใจในงานทม่ี ีผลต่อการลาออกของพนักงาน บริษัทข้ามชาติ แห่งหนึ่ง. วารสารวจิ ยั และพัฒนา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเลย. ธงชัย สนั ติวงษ.์ (2539). การบรหิ ารงานบคุ คล. กรุงเทพมหานคร: ไทยวฒั นาพานิช. ธนชัย ยมจนิ ดาและเสนห่ ์ จุ้ยโต. (2545). ทฤษฎีองค์การ. หนว่ ยท่ี 4 พฤตกิ รรมมนุษย์ในองค์การ. เอกสาร การสอนสาขาวชิ าวิทยาจัดการ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช .กรงุ เทพมหานคร : ฝา่ ยการพิมพ์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. ธนวฒั น์ วิเศษสมบตั ิ และ ฐติ ิมา ไชยะกลุ . (2561). ผลกระทบของแรงจูงใจ ความพึงพอใจ และความผูกพนั ต่อ องค์กร ทม่ี ีต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนกั งานระดับปฏิบัตกิ ารในอุตสาหกรรมยานยนต์ ของ เขตนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซบี อร์ด 1 จังหวัดระยอง. วารสารมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชพฤกษ์. ธัญญา ผลอนันต์. (2547). การมุง่ เน้นท่ีทรัพยากรบคุ คล : แนวทางสรา้ งความพงึ พอใจแก่พนักงาน. พิมพ์คร้ัง ท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร : อนิ โนกราฟฟิกส์

188 นพพร ไพบูลย์. (2546). ความคดิ เห็นของพนกั งานบรษิ ทั เอสวีไอ จำกดั (มหาชน) ท่ีมตี ่อการยอมรบั มาตรฐานการจดั ส่งิ แวดล้อม ISO 14000. วิทยานพิ นธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหาร การศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. นาคม ธีรสุวรรณจักร. (2541). ความคิดเห็นของประชาชนทอ้ งถ่นิ ต่อการมสี ่วนรว่ มในการทอ่ งเท่ียวเชิงนิเวศ กรณศี ึกษา : อำเภอสวนผ้งึ จังหวดั ราชบรุ ี. วทิ ยานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาส่ิงแวดลอ้ ม บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหิดล. นสิ รา รอดนชุ . (2559). ปัจจัยทีม่ ีผลต่อความพึงพอใจในการปฏบิ ตั งิ านของพนักงานตรวจสอบบัญชี ใน สำนักงานสอบบัญชีขนาดใหญ่ 4 แห่งในประเทศไทย. คณะพาณชิ ยศาสตรแ์ ละการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์ บญุ โชค สดุ คิด. (2542). การศึกษาความพงึ พอใจในการปฏบิ ตั ิงานของข้าราชการครูในโรงเรยี นกันดาร สงั กดั สำนกั งานการประถมศึกษาจงั หวดั นครศรีธรรมราช. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาการศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ. บญุ มน่ั ธนาศภุ วัฒน์. (2537). จิตวิทยาองค์การ. กรุงเทพมหานคร : สาํ นักพมิ พโ์ อเดยี นสโตร์. ประยุทธ ชูสอน. (2548). พฤติกรรมภาวะผนู้ ำและแนวทางการพฒั นาสู่ความเปน็ ผู้บรหิ ารมืออาชีพของ ผ้บู รหิ ารโรงเรยี นประถามศึกษาในเขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื วทิ ยานิพนธ์ปริญญาศกึ ษาดุษฎี บัณฑติ การบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. ปรยี าพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2535). จติ วิทยาการบรหิ ารงานบคุ คล. กรงุ เทพมหานคร : ศูนยส์ ่อื เสริมกรุงเทพ พรรณราย ทรพั ยะประภา. (2529). จิตวทิ ยาอตุ สาหกรรม. กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั พิมพ์โอเดียนสโตร. ฟอร์ชทิ แพทรทิ . (2550). จูงใจแบบมืออาชีพ : How to motivate people. กรงุ เทพฯ : เนชนั่ บคุ๊ . มัณฑนา โพธแิ์ กว้ . (2550). ความคิดเหน็ ของบคุ ลากรที่มีต่อการบรหิ ารงานขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลใน เขตอำเภอแหลมสิงห์ จงั หวดั จันทบรุ ี. ปญั หาพเิ ศษรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการ บรหิ ารทัว่ ไป วทิ ยาลยั การบริหารรฐั กจิ มหาวทิ ยาลยั บรู พา. ยศนนั ท์ อ่อนสันทดั . (2560). การศึกษาเรื่องความพึงพอใจและแรงจูงใจท่ีมผี ลตอ่ การปฏิบตั ิงานของพนักงาน โรงแรมระดบั 4 ดาวในเขตกรุงเทพ และปรมิ ณฑล. สาขาวิชาการจดั การอตุ สาหกรรมการบรกิ ารและ การทอ่ งเท่ียว มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ. รัชดา สุทธิวรวฒุ กิ ลุ . (2542). การศึกษาความสมั พันธ์ระหว่างพฤติกรรมการตดั สินใจของผู้บริหารกับความพงึ พอใจในการปฏบิ ตั ิงานของครูโรงเรยี นประถมศึกษา สงั กดั สำนักงานการประถมศึกษาจังหวดั สุพรรณบุรี. วิทยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สถาบนั ราชภัฏกำแพงเพชร. สงบ ประเสริฐพนั ธ.์ ( 2543). รว่ มกันสรรค์สรา้ งคณุ ภาพโรงเรยี น. กรุงเทพมหานคร : สวุ รี ิยาสาส์น. สมพร เพชรสุวรรณ. (2543). ความคดิ เห็นของผบู้ รหิ ารต่อบทบาทการบริหารงานเทคโนโลยี สารสนเทศไดร้ ับ มอบหมาย:ศึกษาเฉพาะกรณีสำนกั งานเรง่ รัดพัฒนาชนบท. ภาคนิพนธ์พัฒนบรหิ ารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาสงั คม คณะพฒั นาสงั คม บณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์.

189 สมฤดี เพชรนาค. (2550). ความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ ารที่มีต่อการใหบ้ ริการของสำนกั ทะเบยี นอำเภอควน ขนนุ จังหวัดพัทลุง. สารนิพนธ์ สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร.์ สรอ้ ยตระกลู (ติวยานนท)์ อรรถมานะ. (2541). พฤติกรรมองค์การ : ทฤษฎีและการประยกุ ต์. กรงุ เทพมหานคร : สำนักพมิ พม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สริ อิ ร วิชชาวธุ . (2544). จติ วทิ ยาการอุตสาหกรรมและองค์การเบือ้ งตน้ . กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ สจุ นิ ดา ตรีโกศล. (2543). การศกึ ษาพฤตกิ รรมความเปน็ ผ้นู ำของวศิ วกรโรงงานอุตสาหกรรมกบั ความพึง พอใจในการทำงานของพนกั งานในสายการผลิต ศึกษากรณี ของ บรษิ ัท ไทยอิเลก็ ตรอนกัน จำกดั . วิทยานิพนธ์ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ . สาขาการบรหิ ารองคก์ าร มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ . สชุ า จันทรเ์ อม. (2539). จติ วิทยาท่วั ไป กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ สทุ ธนู ศรีไสย์ และสุพจน์ บุญวิเศษ. (2547). ทัศนะของประชาชนต่อการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี และสมาชกิ สภาเทศบาลเมอื งจนั ทบรุ .ี ชลบุรี : มหาวิทยาลยั บูรพา. สบุ นิ ยรุ ะรัช (2560). รายงานการสงั เคราะห์องค์ความรู้ทีไ่ ด้รบั จากงานวิจยั ท่ไี ดร้ ับทุนอุดหนุนจาก มหาวิทยาลยั และหนว่ ยงานภายนอก ปีการศึกษา 2558 – 2560. ศนู ยส์ ่งเสริมและพฒั นางานวิจยั มหาวิทยาลัยศรีปทมุ . สุภมาส องั ศุโชติ และ รัชนกี ลู ภิญโญภานุวัฒน์. (2561). การสังเคราะห์ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบ สาม (พ.ศ. 2554 – 2558) ของสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานท่ัวไประดบั ประถมศึกษา – มัธยมศกึ ษา. สำนกั ทะเบยี นและวดั ผล มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. สุมาลี วทิ ยรตั น.์ (2543). ความสัมพนั ธ์ระหว่างภาวะผู้นำของอธิการบดีกับความพึงพอใจในการปฏิบัตงิ าน ของผู้บริหารสถาบนั ราชภัฏในภาคเหนอื . วิทยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต (การบริหารการศกึ ษา) บณั ฑติ วทิ ยาลยั สถาบนั ราชภัฏกำแพงเพชร. สุรยี ์ เขยี วมรกต. (2548). ความคดิ เห็นของประชาชนทม่ี ตี ่อการอนุรกั ษ์และฟื้นฟูทรพั ยากรธรรมชาตปิ ่าชาย เลน : ศกึ ษาเฉพาะกรณีอำเภอขลุง จังหวัดจนั ทบุร.ี วทิ ยานพิ นธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต, สาขา สังคมศาสตรเ์ พือ่ การศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รำไพพรรณ.ี สุวรรณ ภูติวณชิ ย์. (2541). การศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงาน และปจั จัยทส่ี ่งผลตอ่ ความพึงพอใจใน การปฏบิ ตั ิงานของข้าราชการในสงั กัดสำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ. วทิ ยานพิ นธค์ รุศาสตรมหา บัณฑิต คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . อาคม เกง่ บญั ชา. (2533). พฤติกรรมการตัดสินใจของผ้บู ริหารทีม่ ตี อ่ การพงึ พอใจในการทำงานของครู โรงเรยี นมธั ยมศึกษาในจงั หวัดสุพรรณบุร.ี วิทยานพิ นธม์ หาบณั ฑติ สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. Likert, R. (1932). A technique for the measurement of attitudes. Archives of Psychology. Oskamps, Stuart. (1987). Applied Social Psychology. Englewood, Cliffs. New Jersey : Prentice- Hall Inc.

190 Yoder, D. ( 1985) . Handbook of Personnel management and Labour Relation. NewYork : Mc Graw Hill.

ภาคผนวก

แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจของอาจารยต์ ่อการบรหิ ารหลกั สตู ร และการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา

สำหรับอาจารย์ แบบสอบถามความคดิ เห็นและความพงึ พอใจของอาจารยต์ อ่ การบรหิ ารหลกั สตู ร และการดำเนนิ งานของ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คำชีแ้ จง 1. แบบสอบถามฉบับนี้ใช้สำหรับศึกษาความคิดเห็นและความพงึ พอใจของอาจารย์ต่อการบริหารหลักสตู รและการ ดำเนินงานของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า เพือ่ นำไปสู่การปรับปรงุ คุณภาพหลักสูตร พัฒนาสภาพแวดล้อมในการทำงาน และพัฒนาระบบและกลไกเกย่ี วกบั การทำงานของบุคลากรให้มีประสิทธภิ าพมากขน้ึ 2. แบบสอบถาม แบง่ ออกเปน็ 5 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลเก่ียวกบั ผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจของอาจารย์ต่อการบริหารหลักสตู ร ตอนที่ 3 ความคิดเหน็ ต่อผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจต่อสภาพการทำงาน ตอนท่ี 5 ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ 3. ขอความรว่ มมือบุคลากรของมหาวทิ ยาลยั ทกุ ท่านในการตอบแบบสอบถามตามสภาพทีเ่ ปน็ จรงิ ตามความรูส้ ึก และความคดิ เหน็ ท่ีแท้จรงิ ของทา่ น ข้อมลู ท่ีไดจ้ ะนำไปประมวลผลในภาพรวมโดยไมม่ ผี ลกระทบตอ่ ท่านแตอ่ ยา่ งใด ตอนที่ 1 ข้อมูลเกีย่ วกับผตู้ อบแบบสอบถาม 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ 2. อายุ ( ) ไมเ่ กนิ 30 ปี ( ) ระหวา่ ง 31 – 40 ปี ( ) ระหว่าง 41 – 50 ปี ( ) ระหวา่ ง 51 – 60 ปี ( ) มากกว่า 60 ปี 3. ประเภทของบุคลากร ( ) ข้าราชการ ( ) พนักงานราชการ ( ) พนักงานในสถาบนั อุดมศึกษา ( ) ลูกจา้ งช่ัวคราว ( ) อื่น ๆ (ระบ)ุ ................... 4. สังกัดหน่วยงาน ( ) ครศุ าสตร์ ( ) มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ( ) วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ( ) วทิ ยาการจัดการ ( ) เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ( ) สาธารณสุขศาสตร์ 5. ระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิงาน ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา ( ) ต่ำกวา่ 1 ปี ( ) 1 - 5 ปี ( ) 6 - 10 ปี ( ) 11 - 15 ปี ( ) 16 – 20 ปี ( ) 21 ปขี ้ึนไป 6. ระดับการศึกษา ( ) ปริญญาตรี ( ) ปริญญาโท ( ) ปริญญาเอก 7. ตำแหน่ง ( ) เป็นอาจารยป์ ระจำหลกั สตู ร ( ) ไม่เปน็ อาจารยป์ ระจำหลักสตู ร 8. หลกั สูตร ควรมีช่องให้เลือกหลกั สูตร

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการบริหารหลกั สูตร 2.1 ดา้ นนกั ศึกษา หัวข้อประเมิน มากที่สุด ระดับความพงึ พอใจ น้อยท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย การรับนักศกึ ษา 1. การกำหนดเป้าหมายการรบั นกั ศกึ ษา โดยพิจารณาความตอ้ งการของตลาด และความพร้อมของอาจารย์ท่ีมีอยู่ 2. การกำหนดคณุ สมบตั ิของนักศึกษาทสี่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของ หลักสตู ร เชน่ ความรพู้ นื้ ฐานต่างๆ และคณุ สมบัตอิ ืน่ ๆ 3. การเตรยี มความพรอ้ มของนักศึกษากอ่ นเข้าศกึ ษาไดร้ บั การพฒั นาตนเอง พรอ้ มทัง้ สามารถเรียนในหลกั สตู รจนสำเรจ็ การศกึ ษา 4. เกณฑท์ ่ีใชใ้ นการคดั เลอื กนกั ศึกษามีความเหมาะสมเช่อื ถอื ได้ โปร่งใสและ เปน็ ธรรม การสง่ เสรมิ และพัฒนานกั ศึกษา 5. กระบวนการจดั การเรยี นการสอนของหลักสตู ร เนน้ พัฒนานักศกึ ษาใหเ้ รยี นรู้ ตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร บรู ณาการกับพันธกิจต่างๆ สง่ เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละนวัตกรรมทักษะ สารสนเทศ ภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะการทำงานแบบมสี ว่ นร่วม ฯลฯ 6. การเปิดโอกาสให้นกั ศึกษาสามารถติดตอ่ สอ่ื สารไดห้ ลากหลายชอ่ งทาง อาทิ แบบคำร้อง ตจู้ ดหมาย ทาง Social Media เปน็ ตน้ 7. การให้คำแนะนำด้านลงทะเบยี นเรยี น การวางแผนการเรียนและควบคุมการ ลงทะเบียนเรยี นให้เปน็ ไปตามแผนการศกึ ษา 8. การกำกบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ ผลการเรยี นของนกั ศึกษา เพอื่ ช่วยใหน้ ักศกึ ษา เรียนจบตามระยะเวลาของหลักสตู ร 9. การใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำช่วยเหลอื นกั ศึกษาทง้ั ดา้ นการเรยี น การปรบั ตัวใน การเรยี นระดับอุดมศึกษา และดา้ นอ่ืนๆ (เฉพาะหลักสตู รบณั ฑติ ศึกษา ตอบข้อ 10 - 11 เพิ่มเติม) 10. ติดตามและกำกบั ดแู ลผลการทำวทิ ยานิพนธ์และการค้นควา้ อิสระของ นกั ศึกษาอย่างสมำ่ เสมอ 11. ใหค้ วามชว่ ยเหลอื หรือถ่ายทอดประสบการณด์ า้ นการวิจยั และ/หรือ งาน สรา้ งสรรค์แก่นักศึกษา ตลอดจนรบั ฟงั ความคดิ เห็นและช่วยแกไ้ ขปญั หา ต่างๆ ผลทเ่ี กดิ กับนกั ศกึ ษา 12. การแก้ไข/ปรับปรุงเกย่ี วกับข้อรอ้ งเรยี นของนักศกึ ษาทมี่ ตี ่อหลักสูตรและการ จัดการศกึ ษา ความคดิ เหน็ เพิ่มเติม ด้านนกั ศกึ ษา

2.2 ดา้ นอาจารย์ หวั ข้อประเมิน มากที่สดุ ระดบั ความพึงพอใจ น้อยท่สี ดุ มาก ปานกลาง น้อย การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ 1. การกำหนดคณุ สมบตั ิอาจารยใ์ หมม่ ีความสอดคล้องกบั บริบท ปรัชญา วิสยั ทศั น์ ของหลกั สูตรและสถาบนั 2. การวางแผนด้านอตั รากำลังของอาจารยเ์ ปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานการ อดุ มศึกษา 3. จำนวนอาจารย์และคณุ สมบัตอิ าจารย์ประจำหลกั สตู รเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานทสี่ กอ. กำหนด 4. การจดั ผู้สอนในรายวชิ าต่างๆ แตล่ ะภาคการศกึ ษา ผู้สอนมสี ว่ นร่วมในการจัด ผ้สู อน 5. จำนวนรายวชิ าท่ีรับผดิ ชอบตอ่ ภาคการศกึ ษามีความเหมาะสม 6. การปฐมนเิ ทศ อบรม ชีแ้ จงในเร่ืองบทบาทหน้าท่ีอาจารย์ท่ีปรึกษาทางวิชาการ อยา่ งเหมาะสม 7. อาจารยป์ ระจำหลกั สตู รไดร้ ับพฒั นาทางวิชาการและวชิ าชพี อย่างเหมาะสม 8. การเปดิ โอกาสใหอ้ าจารย์ทกุ คนไดพ้ ัฒนาตนเองทั้งทางวิชาการและวชิ าชีพ 9. การประเมนิ การสอนของอาจารยพ์ รอ้ มท้ังการนำผลการประเมนิ มาใชใ้ นการ พัฒนาความสามารถของอาจารย์ 10. (เฉพาะหลักสูตรบณั ฑติ ศกึ ษา ตอบขอ้ 10 เพิ่มเติม)การปฐมนเิ ทศ อบรม ช้แี จง ในเรื่องบทบาทหนา้ ท่อี าจารย์ทีป่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธแ์ ละการค้นควา้ อสิ ระอยา่ ง เหมาะสม ผลที่เกิดกับอาจารย์ 11. ภาระงานทไี่ ด้รับมอบหมายมีสดั สว่ นท่ีเหมาะสมกับจำนวนนักศกึ ษาทรี่ บั ใน หลกั สตู ร 12. จำนวนอาจารยเ์ พียงพอในการจัดการเรยี นการสอนตาม มาตรฐานหลักสตู ร 13. ในภาพรวมอาจารยม์ คี วามพึงพอใจต่อการบรหิ ารหลกั สตู ร ความคดิ เห็นเพมิ่ เติม ดา้ นอาจารย์ 2.3 ดา้ นหลักสตู ร การเรียนการสอน และการประเมินผูเ้ รยี น หัวข้อประเมนิ มากที่สดุ ระดับความพึงพอใจ สาระของรายวิชาในหลักสูตร มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ุด 1. การควบคุมกำกับการจัดรายวชิ าตา่ งๆ ให้มเี น้อื หาท่ที นั สมยั ทนั ต่อความก้าวหน้า ทางวทิ ยาการ และความหลากหลายของรายวชิ าในหลกั สตู ร 2. การเปิดรายวชิ ามลี ำดับทเ่ี หมาะสม มีความตอ่ เน่ือง เอื้อให้นักศกึ ษามีพื้นฐาน ความรู้และสามารถตอ่ ยอดความรู้ 3. (เฉพาะหลกั สตู รบณั ฑติ ศึกษา ตอบขอ้ 3 เพ่ิมเตมิ )การควบคมุ มาตรฐานของหัวขอ้ วิทยาพนธ์ การค้นคว้าอิสระ มคี วามเหมาะสม โดยเปน็ ประเด็นร่วมสมยั เหมาะสมกบั ปรชั ญาและวสิ ยั ทัศนข์ องหลกั สูตร

หวั ข้อประเมิน มากที่สุด ระดับความพงึ พอใจ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยท่ีสุด การจัดการเรียนการสอน 4. อาจารยผ์ ู้สอนมคี วามรคู้ วามสามารถ และความเชยี่ วชาญในรายวิชาทีส่ อน 5. มกี ารกำกับ ตดิ ตาม และตรวจสอบการจัดทำ มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และ มคอ.6 6. มีการดำเนินการจดั ทำ มคอ.7 (เฉพาะหลักสตู รบณั ฑติ ศึกษา ตอบขอ้ 7-8 เพิ่มเตมิ ) 7. การแตง่ ตั้งอาจารยท์ ป่ี รึกษาวิทยานิพนธ์ และ/หรือ การคน้ คว้าอสิ ระ คำนึงถงึ ความรคู้ วามเชยี่ วชาญในหวั ขอ้ ดังกล่าว 8. มีการควบคุมกำกับจำนวนนักศกึ ษาต่ออาจารยท์ ปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ และ/หรอื การคน้ คว้าอิสระ เปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีสำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (สกอ.) กำหนด การประเมินผู้เรียน 9. การประเมนิ ผู้เรยี นว่ามคี วามรู้ความสามารถตามวัตถุประสงคข์ องรายวชิ า ผ่านการพจิ ารณาจากคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวชิ าการ ทงั้ รายละเอยี ดของ รายวชิ า (มคอ.3 และ มคอ.4) ขอ้ สอบและผลการสอบ ความคดิ เห็นเพิ่มเติม ดา้ นหลักสตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผเู้ รยี น 2.4 ด้านสิง่ สนับสนุนการเรียนรู้ มากทส่ี ุด ระดบั ความพึงพอใจ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ดุ หัวข้อประเมนิ ดา้ นส่ิงสนบั สนนุ การเรียนรู้ 1. อาคารเรยี น ห้องเรยี น หอ้ งปฏิบตั กิ าร (Workshop) ท่ีพักนกั ศกึ ษา มีความ พรอ้ มตอ่ การจดั การศึกษา 2. ทรัพยากรทเี่ ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ เช่น อุปกรณ์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ หอ้ งสมุด ตำรา หนงั สือ แหล่งเรยี นรู้ ฐานขอ้ มลู มีความเหมาะสมต่อการจัดการศกึ ษา 3. มกี ารบำรุงดแู ล รักษาทรัพยากรให้เอื้อต่อการเรยี นรอู้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 4. เทคโนโลยที ใี่ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอนมีความเหมาะสม 5. มกี ารจดั พ้ืนทส่ี ำหรับนักศึกษาและอาจารยไ์ ดพ้ บปะแลกเปล่ยี นความคิดเห็น หรือทำงานร่วมกัน 6. มีการให้บริการคอมพิวเตอร์ และอนิ เตอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู (เฉพาะหลกั สูตรบัณฑติ ศกึ ษา ตอบขอ้ 7-9 เพม่ิ เติม) 7. มีการจดั สรรงบประมาณให้นกั ศกึ ษาเพอ่ื ทำวิจยั 8. มีหอ้ งทำงานวิจยั (ซงึ่ ไม่ใช่หอ้ งเรยี น) เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาเข้าใช้ได้สะดวกในการทำ วจิ ยั 9. มีอปุ กรณ์และเคร่ืองมอื พน้ื ฐานที่จำเป็นและเหมาะสมในการทำวจิ ยั ความคิดเหน็ เพมิ่ เติม ดา้ นส่งิ สนับสนนุ การเรยี นรู้

2.5 ดา้ นขอ้ รอ้ งเรยี นต่างๆ ทา่ นเคยไดร้ บั ทราบข้อร้องเรียนจากนกั ศกึ ษาต่อการจดั การหลักสตู ร สาขาวิชา ภาควิชา หรือคณะหรอื ไม่  เคย ระบุข้อร้องเรียน ขอ้ รอ้ งเรยี นได้รับการแก้ ไข ปรบั ปรุงหรอื ไม่ อย่างไร  ไม่เคย ความคิดเหน็ เพ่มิ เติม ด้านข้อรอ้ งเรยี นต่างๆ ของนกั ศกึ ษา ตอนท่ี 3 ความคดิ เห็นต่อผลการดำเนินงานของมหาวทิ ยาลัย 3.1 ผลการดำเนินงานท่ีสอดคล้องกบั อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลยั โปรดพจิ ารณาวา่ ในรอบปกี ารศกึ ษาทผี่ ่านมามหาวิทยาลัยมีผลการดำเนนิ งานท่ีสอดคลอ้ งกบั อัตลกั ษณ์ของ มหาวทิ ยาลัย “ท่ีพงึ่ ของท้องถิ่น” มากนอ้ ยเพยี งใดเลอื กระดับความพึงพอใจท่ีตรงกบั ระดับความพงึ พอใจของทา่ น รายการ ระดับความคิดเห็น 1. การให้โอกาสทางการศกึ ษาแก่นกั เรยี นนกั ศึกษาและประชาชน มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทสี่ ดุ ในทอ้ งถิน่ 2. มกี ารบริการวิชาการเพื่อเพ่ิมศักยภาพของชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ 3. มีการอนรุ ักษส์ ง่ เสรมิ และถ่ายทอดศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณี ของท้องถิน่ 4. มีการวจิ ยั และถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวตั กรรมสทู่ ้องถนิ่ 5. มคี วามร่วมมอื กบั หนว่ ยงานภายนอกในการพฒั นาท้องถนิ่ 3.2 ผลการดำเนนิ งานตามจุดเน้น จดุ เด่น หรอื ความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ไดก้ ำหนดจดุ เนน้ จดุ เดน่ หรอื ความเชีย่ วชาญเฉพาะโดยผ่านความเหน็ ชอบของสภามหาวทิ ยาลัย ไว้ 5 ดา้ น ดังในตาราง โปรดพจิ ารณาว่าในรอบปีการศึกษาท่ผี ่านมา ทา่ นมคี วามพงึ พอใจตอ่ ผลการดำเนนิ งานในด้านตา่ ง ๆ มาก นอ้ ยเพยี งใดแลว้ เลอื กระดบั ความพงึ พอใจทต่ี รงกบั ระดับความพงึ พอใจของทา่ น จุดเน้น จุดเดน่ หรือความเชยี่ วชาญเฉพาะด้าน มากทส่ี ุด ระดบั ความพงึ พอใจ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทีส่ ุด 1. เปน็ ผนู้ ำด้านการศึกษาพิเศษในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 2. เปน็ ผนู้ ำของประเทศในการผลติ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามอื อาชีพ 3. รอ้ ยละของงานวจิ ยั เพอ่ื ตอ่ ยอดภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ของจงั หวัด นครราชสมี าด้านอาหาร ผา้ และการทอ่ งเท่ียวตอ่ จำนวนงานวจิ ัย ท้ังหมด 4. สถาบนั วจิ ัยไม้กลายเปน็ หนิ ฯ เปน็ แหล่งเรียนร้ดู ้านบรรพชวี นิ ระดบั นานาชาติท่โี ดดเด่นในอาเซยี น 5. การสืบสานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำรใิ นการ แก้ปญั หาและใชป้ ระโยชน์จากดินเค็มของจังหวัดนครราชสมี า

3.3 ผลการดำเนินงานของมหาวทิ ยาลยั ดา้ นการพฒั นาอตั ลักษณข์ องบณั ฑติ โปรดพิจารณาว่าในรอบปกี ารศกึ ษาท่ีผ่านมามหาวิทยาลัยมผี ลการดำเนนิ งานดา้ นการพัฒนาอัตลกั ษณข์ อง บัณฑิตท่ีวา่ “สำนกึ ดี มคี วามรู้ พร้อมสู้งาน” มากนอ้ ยเพยี งใดเลือกระดับความพึงพอใจท่ีตรงกบั ระดบั ความพงึ พอใจของท่าน จดุ เน้น จดุ เดน่ หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ระดบั ความพงึ พอใจ มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สุด สำนึกดี 1. การจัดกิจกรรมเพ่ือเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 2. การสรา้ งความตระหนักเกี่ยวกบั จรรยาบรรณวิชาชีพ 3. การปลูกจิตสำนกึ ความเปน็ ไทย 4. การปลูกฝงั ให้เกิดความรกั และความผกู พันต่อทอ้ งถ่นิ มีความรู้ 1. การพัฒนาความรคู้ วามสามารถและทักษะทางวชิ าการ/วชิ าชีพ 2. การพฒั นาความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ 3. การสรา้ งเสริมความสามารถในการแกไ้ ขปญั หา 4. การเพ่มิ ศกั ยภาพด้านภาษาต่างประเทศ 5. การเพ่ิมศกั ยภาพดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมสงู้ าน 1. การส่งเสรมิ ด้านความรับผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ี 2. การสง่ เสรมิ ด้านการอุทิศเวลาใหก้ ับงาน 3. การสร้างเสริมภาวะผนู้ ำในการแก้ปัญหา 4. การสร้างเสริมความคิดรเิ ริ่มและความร่วมมือในการแกป้ ญั หา 5. การส่งเสริมให้มีการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจต่อสภาพการทำงาน โปรดทำเครอ่ื งหมาย / ลงในช่องด้านขวามอื ท่ตี รงหรือใกลเ้ คยี งกบั ความร้สู ึกทแ่ี ทจ้ ริงของทา่ นตอ่ สภาพการทำงานใน ดา้ นตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทีส่ ดุ สภาพแวดล้อมในการทำงาน 1. สถานทท่ี ำงาน/ห้องเรยี นสะอาดเป็นระเบียบเรยี บร้อย มคี วาม เหมาะสม สะดวกตอ่ การทำงาน 2. สภาพแวดลอ้ มของสถานที่ทำงานเหมาะสมต่อการปฏิบตั งิ าน เชน่ พื้นท่พี อเหมาะ อากาศถ่ายเทสะดวก ไมม่ กี ลน่ิ และเสยี ง รบกวน เปน็ ต้น 3. วัสดุ อุปกรณ์ และครุภณั ฑเ์ พยี งพอและเหมาะสมต่อการปฏบิ ตั ิงาน 4. สถานที่ทำงานมคี วามปลอดภัย 5. บรรยากาศในการทำงานอบอุ่นเป็นกนั เอง 6. การจดั ภมู ทิ ศั นส์ วยงามสอดคลอ้ งกับธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 7. มพี ื้นท่ีในการจัดกจิ กรรมวันสำคัญทางศาสนา 8. มพี ้นื ที่ในการจัดกจิ กรรมทางศลิ ปะและวฒั นธรรม

รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ ความก้าวหน้าและความม่ันคงในงาน 1. งานท่ีทำอยใู่ นปจั จบุ ันมีความม่ันคง 2. ท่านมโี อกาสกา้ วหน้าในหนา้ ทก่ี ารงาน 3. ท่านได้รบั การสนบั สนุนใหพ้ ฒั นาความรคู้ วามสามารถและ ทกั ษะในการทำงาน เชน่ อบรม ประชุม ศกึ ษาตอ่ เปน็ ต้น 4. มหาวทิ ยาลยั สนับสนนุ การทำผลงานเพ่อื เขา้ ส่ตู ำแหนง่ ทส่ี งู ขนึ้ ระบบการทำงานตามหลักธรรมาภบิ าล 1. มกี ารกำหนดภาระงานอย่างชดั เจน 2. มีขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งชดั เจน เปน็ ระบบ 3. มีการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านอย่างเปน็ ระบบ โปรง่ ใส และเป็นธรรม 4. มรี ะบบการเลอื่ นข้ันเงนิ เดือนท่ียตุ ธิ รรมและโปรง่ ใส 5. มกี ารบรหิ ารจัดการอยา่ งมสี ่วนร่วม ใหอ้ ำนาจในการตดั สินใจแก่ บุคลากรอยา่ งเหมาะสม 6. ในหนว่ ยงานมแี หลง่ ข้อมลู ขา่ วสารทเ่ี ช่อื ถอื ไดเ้ ปน็ ปจั จุบนั 7. มีการถา่ ยทอดความรู้ ส่งเสรมิ และพัฒนาบคุ ลากร ในหนว่ ยงานเพ่อื ให้สามารถทำงานเตม็ ตามศกั ยภาพ การสอื่ สารและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคลากร 1. บคุ ลากรในหนว่ ยงานมีมติ รภาพและความสัมพนั ธท์ ่ีดี ก่อใหเ้ กิดวฒั นธรรมทีด่ ีในการทำงาน 2. บคุ ลากรในหนว่ ยงานมสี ว่ นรว่ มรบั ทราบปญั หา แสดงความคิดเหน็ หรือรว่ มแกไ้ ขปญั หา 3. มีการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรไดม้ ีโอกาสพบปะสงั สรรค์ เพ่อื สรา้ งมนษุ ยสัมพันธท์ ด่ี ตี ่อกนั 4. บคุ ลากรในหนว่ ยงานมอี สิ ระในการแสดงความคิดเหน็ ดา้ นการปฏิบตั งิ าน หรือนโยบายในการบรหิ ารงานขององคก์ ร การส่งเสริมสขุ ภาพ สวัสดกิ าร และขวญั กำลังใจ 1. มกี ารส่งเสริมสขุ ภาพของบคุ ลากร เชน่ การตรวจสขุ ภาพ ประจำปี มีศนู ย์แพทย์ ศนู ยส์ ่งเสรมิ สุขภาพ สนามกฬี า รา้ นคา้ รา้ นสวสั ดิการ หอ้ งพกั อาจารย์ เปน็ ต้น 2. มีสวัสดิการดา้ นการรกั ษาพยาบาล 3. มีสวสั ดิการด้านการให้ทุนสนบั สนุนการศึกษาต่อ 4. มสี วสั ดกิ ารดา้ นการศกึ ษาดงู านทัง้ ในและตา่ งประเทศ 5. มีการยกย่องชมเชย ใหร้ างวลั หรอื การเชดิ ชเู กียรติบุคลากร หรอื หนว่ ยงานทีป่ ฏบิ ัตงิ านดีเด่น

ตอนที่ 5 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ โปรดใหข้ อ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ เกยี่ วกบั สภาพการทำงานในด้านต่าง ๆ ลงในช่องวา่ งทเี่ ว้นไวใ้ ห้ 1. ดา้ นการจัดการเรียนการสอน (ประเด็น : ความรู้ในสาขาวิชา, การเตรียมการสอน, การจดั กจิ กรรมการเรยี น- การสอนในช้นั เรยี น, การวัดผลและประเมนิ ผล)................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ดา้ นสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. ดา้ นความก้าวหนา้ และความมน่ั คงในงาน………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. ดา้ นระบบการทำงานตามหลกั ธรรมาภบิ าล……………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5. ด้านการสอ่ื สารและความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ ลากร ………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 6. ด้านการสง่ เสริมสขุ ภาพ สวสั ดกิ าร และขวัญกำลงั ใจ……………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

แบบสอบถามความคิดเหน็ และความพึงพอใจของบุคลากรสายสนับสนุน ตอ่ การดำเนินงานของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

สำหรับสายสนบั สนนุ แบบสอบถามความคิดเห็นและความพงึ พอใจของบุคลากรสายสนับสนุน ตอ่ การดำเนินงานของ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คำชี้แจง 3. แบบสอบถามฉบบั น้ีใชส้ ำหรับศกึ ษาความคิดเห็นต่อการดำเนนิ งานของมหาวิทยาลยั และความพึงพอใจ ต่อสภาพการทำงานของบุคลากรมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี าสายสนบั สนนุ เพ่ือนำไปสกู่ ารปรับปรงุ พฒั นาสภาพแวดล้อม ในการทำงาน ระบบและกลไกเกย่ี วกับการทำงานของบุคลากรใหม้ ีประสิทธภิ าพมากขน้ึ 4. แบบสอบถาม แบง่ ออกเปน็ 4 ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู เก่ยี วกบั ผ้ตู อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ความคิดเหน็ ต่อผลการดำเนนิ งานของมหาวิทยาลัย ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอ่ สภาพการทำงาน ตอนท่ี 4 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 3. ขอความรว่ มมอื บุคลากรของมหาวทิ ยาลัยทกุ ทา่ นในการตอบแบบสอบถามตามสภาพทเ่ี ปน็ จริง ตามความรสู้ ึก และความคิดเห็นทแ่ี ท้จริงของทา่ น ขอ้ มลู ท่ไี ด้จะนำไปประมวลผลในภาพรวมโดยไมม่ ผี ลกระทบต่อท่านแตอ่ ยา่ งใด ตอนท่ี 1 ข้อมลู เกย่ี วกบั ผูต้ อบแบบสอบถาม 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ 2. อายุ ( ) ไม่เกนิ 30 ปี ( ) ระหว่าง 31 – 40 ปี ( ) ระหว่าง 41 – 50 ปี ( ) ระหวา่ ง 51 – 60 ปี ( ) มากกวา่ 60 ปี 3. ประเภทของบุคลากร ( ) ข้าราชการ ( ) พนกั งานในสถาบนั อุดมศึกษา ( ) ลูกจา้ งประจำ ( ) พนักงานราชการ ( ) ลูกจ้างช่วั คราว ( ) อื่น ๆ (ระบุ).............. 5. สังกดั หนว่ ยงาน ( ) ครุศาสตร์ ( ) มนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ( ) วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ( ) วทิ ยาการจัดการ ( ) เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ( ) สาธารณสขุ ศาสตร์ ( ) ศนู ย์/สำนัก/สถาบัน (ระบ)ุ ................................................................... 5. ระดับการศกึ ษา ( ) ตำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรี ( ) ปรญิ ญาตรี ( ) ปริญญาโท ( ) ปรญิ ญาเอก 6. ระยะเวลาในการปฏบิ ัตงิ าน ณ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ( ) ต่ำกวา่ 1 ปี ( ) 1 - 5 ปี ( ) 6 - 10 ปี ( ) 11 - 15 ปี ( ) 16 – 20 ปี ( ) 21 ปีข้นึ ไป

ตอนท่ี 2 ความคดิ เห็นตอ่ ผลการดำเนินงานของมหาวทิ ยาลยั 1.2 ผลการดำเนนิ งานทีส่ อดคลอ้ งกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลยั โปรดพจิ ารณาวา่ ในรอบปกี ารศกึ ษาที่ผ่านมามหาวิทยาลยั มีผลการดำเนนิ งานที่สอดคลอ้ งกบั อัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลยั “ทพ่ี งึ่ ของทอ้ งถน่ิ ” มากนอ้ ยเพียงใดแลว้ ทำเครอื่ งหมาย / ลงในชอ่ งที่ตรงกับระดบั ความคดิ เห็นของทา่ น รายการ มากทีส่ ดุ ระดบั ความคิดเหน็ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สุด 1. การให้โอกาสทางการศกึ ษาแก่นกั เรยี นนกั ศกึ ษาและประชาชน ในทอ้ งถิน่ 2. มกี ารบรกิ ารวชิ าการเพอ่ื เพ่ิมศักยภาพของชุมชนในทอ้ งถนิ่ 3. มกี ารอนุรกั ษส์ ง่ เสริมและถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมและประเพณี ของทอ้ งถิ่น 4. มีการวิจยั และถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมส่ทู อ้ งถิน่ 5. มคี วามร่วมมือกบั หนว่ ยงานภายนอกในการพฒั นาท้องถนิ่ 1.3 ผลการดำเนินงานตามจุดเนน้ จุดเดน่ หรอื ความเชยี่ วชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ไดก้ ำหนดจุดเนน้ จุดเด่นหรือความเช่ียวชาญเฉพาะโดยผ่านความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย ไว้ 5 ดา้ น ดังในตาราง โปรดพจิ ารณาวา่ ในรอบปกี ารศกึ ษาทผ่ี า่ นมา ท่านมีความพงึ พอใจต่อผลการดำเนนิ งานในดา้ นตา่ ง ๆ มากนอ้ ยเพียงใดแล้วทำเครื่องหมาย / ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ระดับความพงึ พอใจของทา่ น (ตอบเฉพาะดา้ นที่ทา่ นเกยี่ วขอ้ ง) จุดเน้น จดุ เดน่ หรอื ความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน มากท่สี ุด ระดบั ความพงึ พอใจ น้อยที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย 1. เปน็ ผู้นำด้านการศกึ ษาพเิ ศษในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 2. เป็นผู้นำของประเทศในการผลิตครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มอื อาชพี 3. ร้อยละของงานวิจยั เพ่ือตอ่ ยอดภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ของจังหวัด นครราชสมี าดา้ นอาหาร ผา้ และการทอ่ งเที่ยวตอ่ จำนวน งานวจิ ยั ทง้ั หมด 4. สถาบันวิจัยไมก้ ลายเปน็ หนิ ฯ เป็นแหล่งเรียนร้ดู ้านบรรพชวี นิ ระดับนานาชาติทโี่ ดดเดน่ ในอาเซยี น 5. การสบื สานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำรใิ นการ แกป้ ัญหาและใชป้ ระโยชนจ์ ากดนิ เคม็ ของจงั หวัดนครราชสมี า

1.3 ผลการดำเนินงานของมหาวทิ ยาลัยด้านการพฒั นาอัตลกั ษณข์ องบณั ฑิต โปรดพจิ ารณาวา่ ในรอบปีการศกึ ษาท่ผี า่ นมามหาวิทยาลัยมผี ลการดำเนนิ งานดา้ นการพฒั นาอตั ลกั ษณข์ อง บณั ฑติ ท่ีวา่ “สำนึกดี มีความรู้ พร้อมสู้งาน” มากน้อยเพียงใดแล้วทำเคร่ืองหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับระดบั ความคดิ เหน็ ของ ท่าน จดุ เน้น จุดเดน่ หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มากท่ีสุด ระดบั ความพงึ พอใจ นอ้ ยทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย สำนกึ ดี 1. การจัดกจิ กรรมเพ่ือเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 2. การสรา้ งความตระหนกั เก่ียวกบั จรรยาบรรณวิชาชพี 3. การปลูกจิตสำนึกความเปน็ ไทย 4. การปลกู ฝังใหเ้ กดิ ความรักและความผูกพันต่อท้องถิ่น มีความรู้ 1. การพัฒนาความรคู้ วามสามารถและทกั ษะทางวชิ าการ/วชิ าชีพ 2. การพฒั นาความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ 3. การสรา้ งเสริมความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา 4. การเพ่ิมศักยภาพดา้ นภาษาตา่ งประเทศ 5. การเพม่ิ ศกั ยภาพดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมสงู้ าน 1. การสง่ เสริมด้านความรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ี 2. การสง่ เสรมิ ด้านการอทุ ศิ เวลาให้กับงาน 3. การสรา้ งเสริมภาวะผนู้ ำในการแก้ปญั หา 4. การสร้างเสรมิ ความคดิ ริเร่ิมและความรว่ มมือในการแก้ปญั หา 5. การสง่ เสริมใหม้ ีการพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง

ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อสภาพการทำงาน โปรดทำเคร่ืองหมาย / ลงในช่องดา้ นขวามอื ทตี่ รงหรอื ใกล้เคยี งกับความรสู้ กึ ทแ่ี ท้จรงิ ของทา่ นตอ่ สภาพการทำงานใน ด้านตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี รายการ มากที่สุด ระดบั ความพงึ พอใจ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยท่สี ุด สภาพแวดล้อมในการทำงาน 1. สถานท่ีทำงาน/หอ้ งเรียนสะอาดเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย มีความ เหมาะสม สะดวกตอ่ การทำงาน 2. สภาพแวดลอ้ มของสถานทท่ี ำงานเหมาะสมตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน เชน่ พนื้ ทพ่ี อเหมาะ อากาศถา่ ยเทสะดวก ไมม่ กี ลิ่นและเสยี ง รบกวน เป็นตน้ 3. วัสดุ อปุ กรณ์ และครภุ ณั ฑเ์ พยี งพอและเหมาะสมต่อการปฏิบัตงิ าน 4. สถานทที่ ำงานมคี วามปลอดภยั 5. บรรยากาศในการทำงานอบอนุ่ เป็นกนั เอง 6. การจดั ภมู ทิ ัศน์สวยงามสอดคลอ้ งกับธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 7. มพี ้นื ท่ใี นการจัดกิจกรรมวนั สำคัญทางศาสนา 8. มพี นื้ ที่ในการจดั กิจกรรมทางศิลปะและวฒั นธรรม ความกา้ วหนา้ และความมัน่ คงในงาน 1. งานทท่ี ำอยใู่ นปัจจบุ ันมคี วามมน่ั คง 2. ท่านมโี อกาสกา้ วหนา้ ในหนา้ ที่การงาน 3. ท่านได้รบั การสนบั สนนุ ให้พฒั นาความร้คู วามสามารถและทกั ษะใน การทำงาน เชน่ อบรม ประชมุ ศกึ ษาต่อ เปน็ ต้น 4. มหาวทิ ยาลยั สนับสนนุ การทำผลงานเพื่อเข้าสูต่ ำแหนง่ ทสี่ ูงข้ึน ระบบการทำงานตามหลักธรรมาภิบาล 1. มกี ารกำหนดภาระงานอย่างชัดเจน 2. มขี ั้นตอนการปฏบิ ตั ิงานอย่างชดั เจน เปน็ ระบบ 3. มีการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งเปน็ ระบบ โปรง่ ใส และเปน็ ธรรม 4. มีระบบการเลือ่ นขนั้ เงินเดือนทย่ี ตุ ิธรรมและโปร่งใส 5. มกี ารบรหิ ารจดั การอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม ให้อำนาจในการตดั สินใจแก่ บคุ ลากรอยา่ งเหมาะสม 6. ในหน่วยงานมแี หลง่ ข้อมูลขา่ วสารทเ่ี ชื่อถือได้เป็นปจั จบุ นั 7. มกี ารถ่ายทอดความรู้ ส่งเสริม และพฒั นาบคุ ลากร ในหน่วยงานเพ่อื ใหส้ ามารถทำงานเต็มตามศกั ยภาพ การสื่อสารและความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ ลากร 1. บุคลากรในหน่วยงานมีมติ รภาพและความสมั พนั ธท์ ี่ดี ก่อให้เกิด วฒั นธรรมท่ีดีในการทำงาน 2. บคุ ลากรในหน่วยงานมีสว่ นรว่ มรบั ทราบปญั หา แสดงความคิดเห็น หรอื รว่ มแก้ไขปัญหา 3. มกี ารจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ให้บุคลากรได้มโี อกาสพบปะสงั สรรค์ เพ่ือสร้างมนุษยสัมพันธท์ ด่ี ีต่อกนั

รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ 4. บคุ ลากรในหนว่ ยงานมอี ิสระในการแสดงความคิดเห็น ด้านการปฏิบัติงาน หรอื นโยบายในการบริหารงานขององค์กร การส่งเสริมสขุ ภาพ สวสั ดิการ และขวญั กำลงั ใจ 1. มีการส่งเสรมิ สุขภาพของบคุ ลากร เช่น การตรวจสขุ ภาพ ประจำปี มศี ูนยแ์ พทย์ ศนู ย์สง่ เสรมิ สุขภาพ สนามกฬี า ร้านค้า ร้านสวสั ดกิ าร ห้องพกั อาจารย์ เปน็ ตน้ 2. มีสวสั ดกิ ารดา้ นการรกั ษาพยาบาล 3. มสี วัสดิการด้านการให้ทุนสนับสนุนการศกึ ษาตอ่ 4. มสี วัสดกิ ารด้านการศกึ ษาดงู านทง้ั ในและต่างประเทศ 5. มีการยกย่องชมเชย ให้รางวัล หรือการเชิดชเู กยี รติบคุ ลากร หรอื หนว่ ยงานที่ปฏบิ ตั งิ านดเี ดน่ ตอนท่ี 4 ข้อคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ โปรดให้ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมเก่ียวกบั สภาพการทำงานในดา้ นตา่ ง ๆ ลงในช่องวา่ งทเี่ ว้นไวใ้ ห้ 7. ดา้ นสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 8. ด้านความก้าวหนา้ และความม่นั คงในงาน ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 9. ดา้ นระบบการทำงานตามหลักธรรมาภบิ าล …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 10. ดา้ นการสือ่ สารและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ ลากร …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 11. ดา้ นการสง่ เสรมิ สุขภาพ สวสั ดกิ าร และขวัญกำลงั ใจ …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ขอขอบคุณในความร่วมมอื ตอบแบบสอบถาม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า

มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา 340 ถ.สรุ นารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook