แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว 14101 วชิ า วทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 สง่ิ มชี ีวติ บทท่ี 1 สง่ิ มีชวี ิตรอบตวั เรอื่ ง เราจำแนกส่งิ มีชวี ิตไดอ้ ย่างไร เวลา 2 ชัว่ โมง ช่อื ผูส้ อน นางสาวสายฝน ต๊ะวนั นา โรงเรียนอนุบาลลำพูน วันทสี่ อน ………………………………………… 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ วิวฒั นาการของส่ิงมชี ีวติ รวมทงั้ นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ตวั ช้ีวัด ว 1.3 ป. 4/1 จำแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือน และความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิต ออกเป็น กลุม่ พืช กล่มุ สัตว์ และกล่มุ ท่ีไม่ใช่พชื และสตั ว์ 2. สาระสำคัญ สง่ิ มชี วี ิตมหี ลายชนดิ ซ่งึ มีลกั ษณะบางอยา่ งเหมือนกนั และแตกตา่ งกนั ซ่ึงสามารถนำมาใช้เป็นเกณฑ์ ในการจำแนกสิ่งมีชวี ติ ออกเปน็ กลมุ่ พืช กล่มุ สัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสตั ว์ ในกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ยัง สามารถจัดเป็นกลุ่มย่อยได้อีกขึน้ อย่กู ับเกณฑ์ท่ใี ช้ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) - สามารถอธิบายลักษณะของส่งิ มีชวี ติ ได้ ด้านทักษะกระบวนการ (P) - สามารถจำแนกส่ิงมชี ีวติ ออกเปน็ กลุ่มพืช กลุ่มสตั ว์ และกลุม่ ที่ไมใ่ ชพ่ ชื และไม่ใช่สัตวไ์ ด้ ดา้ นคุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ (A) - นักเรียนมคี วามสนใจใฝ่เรียนรู้ 4. สาระการเรียนรู้ สิ่งมชี ีวิตมีหลายชนิด สามารถจัดกลุ่มไดโ้ ดยใชค้ วามเหมือน และความแตกต่างของลักษณะต่าง ๆ เช่น กลุ่มพืชสรา้ งอาหารเองไดแ้ ละเคลื่อนท่ีดว้ ยตนเองไม่ได้ กลุ่มสตั ว์กนิ สิ่งมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหารและเคลือ่ นที่ได้ กลุ่มท่ไี มใ่ ช่พชื และสัตว์ เชน่ เหด็ รา จุลินทรีย์
5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ซือ่ สัตยส์ จุ รติ มวี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน 7. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะการสังเกต (S1) ทกั ษะการจำแนกประเภท (S4) ทักษะการจดั กระทำและส่ือความหมายข้อมลู (S6) ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมูล (S8) ทกั ษะการตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป (S13) 8. กจิ กรรมบรู ณาการแนวคดิ การจัดการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 การส่ือสาร (C4) ความรว่ มมอื (C5) 9. ชนิ้ งาน/ภาระงาน 9.1 ภาระงาน: แบบบันทึกกิจกรรมท่ี 1.1 เราจำแนกสิ่งมีชวี ิตไดอ้ ย่างไร (ในหนงั สอื แบบบันทึกกจิ กรรม รายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เลม่ 1 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 หน้าที่ 37-42) 10. กิจกรรมการเรียนรู้ วธิ ีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 10.1 ตรวจสอบความรู้กอ่ นเรยี น สำรวจความรู้กอ่ นเรยี นเก่ยี วกบั ส่ิงมชี ีวิตรอบตัว โดยตอบคำถามตอ่ ไปน้ี ลงในแบบบันทึกกิจกรรม 1. รูปใดต่อไปนเ้ี ปน็ พชื สัตว์ และสิง่ มชี วี ิตทไ่ี มใ่ ช่พชื และสัตว์ ใส่เลข 1 ในช่อง ทอี่ ยใู่ ต้รูปสตั ว์ ใสเ่ ลข 2 ในชอ่ ง ท่ีอยู่ใตร้ ปู พชื ใส่เลข 3 ในช่อง ท่ีอยใู่ ตร้ ปู สงิ่ มีชวี ติ ท่ีไมใ่ ช่พืชและสตั ว์
1 กบ 2 กลว้ ยไม้ 1 ปลา 1 หมี 2 เฟิน 2 พทุ ธรักษา 3 รา 1 ปะการงั 1 ผงึ้ 3 เหด็ 1 นก 3 แบคทเี รีย 2 มอส 1 หมึก 1 จระเข้
2. จากรูป สัตวห์ มายเลขใดเปน็ สัตว์มีกระดูกสันหลังและสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลัง และพืชหมายเลขใด เป็นพืชมดี อกและพชื ไมม่ ีดอก สัตวม์ ีกระดูกสันหลัง ได้แก่ หมายเลข 3 4 5 7 10 12 สัตวไ์ มม่ ีกระดูกสันหลัง ได้แก่ หมายเลข 1 9 พืชดอก ได้แก่ หมายเลข 8 11 พืชไม่มีดอก ไดแ้ ก่ หมายเลข 2 6 10.2 ขนั้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น (Engagement) 1. ครตู รวจสอบความก่อนเรียนและความรู้เดมิ เกย่ี วกับลักษณะของสิ่งมีชวี ิตชนดิ ตา่ ง ๆ โดยให้ นกั เรียนเล่นเกมทายชือ่ สิ่งมีชีวติ จากภาพ ตวั อย่างภาพ ภาพที่ 1 ต้นไผ่ ภาพท่ี 2 แบคทเี รีย ภาพที่ 3 ตัวนมิ่ (ท่มี าภาพที่ 1: https://www.thaikasetsart.com/) (ที่มาภาพที่ 2: https://pixabay.com/th/illustrations/) (ทม่ี าภาพท่ี 3: http://www.utdid.com/horoscope)
ภาพที่ 4 หมีแพนด้า ภาพที่ 5 ดอกบวั ภาพท่ี 6 สงิ โตทะเล (ทม่ี าภาพท่ี 4: http://www.chiangmai.zoothailand.org/ewt_news.php?n_id=221) (ท่มี าภาพที่ 5: http://kunakorn07292.blogspot.com/2017/09/blog-post.html) (ที่มาภาพท่ี 6: https://www.khaosod.co.th/lifestyle/news_84123) ภาพที่ 7 ดอกซากุระ ภาพที่ 8 ดอกทานตะวนั ภาพท่ี 9 ตัวสลอ็ ต (ที่มาภาพท่ี 7: https://www.japankakkoii.com/japan-travel/sakura-forecast-2017/) (ทม่ี าภาพที่ 8: https://thiteaw.blogspot.com/2016/12/sunfloweratdokgray.html) (ท่ีมาภาพท่ี 9: https://www.catdumb.com/sloth-crying-119/) ภาพท่ี 10 ดอกกลว้ ยไม้ ภาพท่ี 11 หมีโคลา่ (ท่มี าภาพที่ 10: https://www.lazada.co.th/products/silynew-phaleanopsis-bonsai) (ท่มี าภาพที่ 11: http://memo-un.blogspot.com/2014/06/2.html)
2. ครูนำเข้าส่บู ทเรยี นโดยการถามคำถาม เพื่อกระตุ้นใหน้ กั เรียนสนใจ โดยให้นกั เรียนดภู าพ ดังต่อไปน้ี ภาพท่ี 12 ส่งิ มชี ีวติ (ที่มาภาพท่ี 12: https://wallhere.com/th/wallpaper/162942) คร:ู จากภาพนีม้ สี ่ิงมีชีวติ ใดบ้าง? (แนวคำตอบ: ผเี สื้อ แมว ตน้ หญา้ ) ครู: สงิ่ มชี วี ติ ในภาพ แตล่ ะชนิดมีลกั ษณะอยา่ งไร? (แนวคำตอบ: นกั เรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ครู: สิ่งมชี วี ิตภาพ มสี ่วนประกอบใดบ้างท่ีเหมอื นกนั และแตกต่างกนั ? (แนวคำตอบ: ไมม่ ีส่วนประกอบทเ่ี หมอื นกนั แตม่ ีสว่ นประกอบท่ีแตกตา่ งกนั คอื พชื มีใบ แตส่ ัตว์ไม่ มี สัตว์มศี ีรษะ ตา หู จมกู ปาก แขน ขา แต่พชื ไมม่ ี) ครู: นักเรยี นคดิ วา่ ส่ิงมีชีวิตทัง้ 2 ชนดิ น้ี เป็นสิง่ มชี ีวิตในกล่มุ เดียวกนั หรือไม่ เพราะเหตใุ ด? (แนวคำตอบ: นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) คร:ู ส่งิ มชี ีวติ เหล่าน้ีสามารถจดั กลุ่มได้หรือไม่? (แนวคำตอบ: ได)้ คร:ู นกั เรยี นมีวิธกี ารจดั กลมุ่ ส่งิ มีชีวิตอย่างไร? (แนวคำตอบ: นกั เรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) คร:ู ถ้าจะจดั กล่มุ สง่ิ มชี วี ติ ในรูป จะใชอ้ ะไรเปน็ เกณฑ์ และจดั ไดเ้ ปน็ ก่กี ลุม่ อะไรบ้าง? (แนวคำตอบ: นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ครู : นกั วิทยาศาสตร์จำแนกสง่ิ มีชีวิตออกเปน็ กลุ่มต่าง ๆ โดยเริ่มจากการรวบรวมข้อมูลเกีย่ วกบั สง่ิ มีชวี ิต เช่น ลักษณะภายนอก การดำรงชวี ิต แหล่งทีอ่ ยู่อาศยั ดว้ ยการสังเกต และใชเ้ ครื่องมือต่าง ๆ จากนัน้ นำข้อมูลทไี่ ดม้ าใชใ้ นการจำแนกประเภทของสิ่งมีชีวิต โดยจดั สิ่งมีชวี ติ ทีม่ ลี ักษณะสำคัญบางประการเหมือนกนั อยู่กลมุ่ เดยี วกัน เราเรยี กสง่ิ ท่ีใชใ้ นการพิจารณาการจดั กล่มุ ว่า เกณฑก์ ารจำแนก คร:ู เพราะฉะนัน้ ส่งิ ทใี่ ช้ในการพจิ ารณาการจัดกลุม่ ส่งิ มีชวี ติ คอื อะไร? (แนวการตอบ: เกณฑ์การจำแนก)
10.3 ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) 1. ครใู หน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 5-6 คน ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและช้แี จงกิจกรรมท่ี 1.1 เรื่องเราจำแนก สง่ิ มีชวี ิตได้อยา่ งไร ดังน้ี จุดประสงค์ 1. รวบรวมขอ้ มูลและเปรยี บเทียบลักษณะของสงิ่ มชี ีวิต 2. จำแนกส่ิงมีชวี ติ ออกเป็นกลมุ่ โดยใชก้ ารเคลอ่ื นทแ่ี ละการสรา้ งอาหารเปน็ เกณฑ์ วัสดุและอุปกรณ์ (บตั รภาพส่งิ มชี วี ิตในหนังสือเรยี นหนา้ 46 – 47) วิธีการดำเนินกจิ กรรม 1) สังเกตสิ่งมีชีวิตในบัตรภาพ อภิปรายและบันทึกลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในด้าน การกินอาหาร การเคล่ือนไหว การหายใจ การเจรญิ เติบโต การสบื พนั ธุ์ และลกั ษณะอ่นื ๆ ลงใน ตาราง 2) อา่ นใบความรเู้ ร่อื งเห็ดและรา บนั ทึกผลเพมิ่ เติมลงในตาราง 3) กำหนดเกณฑ์ในการจำแนกส่ิงมีชวี ติ ออกเปน็ กลุม่ โดยใช้ลกั ษณะของส่ิงมีชีวติ ในตาราง 4) จัดกลมุ่ บตั รภาพสง่ิ มีชีวิตตามเกณฑท์ ่รี ว่ มกันกำหนด บันทึกผล 5) นำเสนอผลการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตในรูปแบบที่น่าสนใจ เปรียบเทียบการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต ของกลมุ่ ตนเองกบั เพ่ือน 6) จัดกลมุ่ บตั รภาพส่งิ มีชีวิตอกี ครง้ั โดยใชก้ ารเคล่ือนทแี่ ละสรา้ งอาหารเปน็ เกณฑ์ บนั ทกึ ผล 2. ครใู ห้เวลานกั เรยี นทำการทดลอง และบันทึกผลการทดลองลงในแบบบบนั ทกึ กจิ กรรมท่ี 1.1 10.4 ขนั้ อภปิ รายและลงข้อสรปุ (Explanation) 1. ครูให้นักเรียนนำเสนอผลการทำกจิ กรรม จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใชค้ ำถาม ดงั ต่อไปนี้ คร:ู ยกตวั อย่างสง่ิ มีชีวติ แต่ละชนิดท่นี กั เรียนสังเกตมีลกั ษณะอย่างไรบ้าง? (แนวคำตอบ: เช่น กบ กินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร เคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้ หายใจได้ เจริญเตบิ โตได้ สืบพันธ์ุได้ อาศัยอยู่ท้งั บนบกและในนำ้ ) ครู: สิง่ มีชวี ิตทกุ ชนดิ มลี ักษณะใดบา้ งทเี่ หมือนกัน? (แนวคำตอบ: การสบื พันธุ์ การหายใจ การเจรญิ เตบิ โต) ครู: สิ่งมชี ีวิตชนิดใดบา้ งที่กินสัตวอ์ นื่ เป็นอาหาร? (แนวคำตอบ: กบ ปลา คน จระเข้ เป็ด เสอื ก้งุ ) ครู: สิ่งมีชีวติ ใดบา้ งท่ีสรา้ งอาหารได้เอง? (แนวคำตอบ: กุหลาบ ข้าว เฟิน) คร:ู สิง่ มชี วี ิตใดบ้างทีเ่ คล่ือนไหวและเคล่อื นท่ีได้? (แนวคำตอบ: กบ ปลา คน จระเข้ เป็ด เสอื กุ้ง) ครู: สง่ิ มีชวี ติ ใดบ้างทเี่ คลื่อนไหวไดแ้ ต่เคลือ่ นท่ไี มไ่ ด้? (แนวคำตอบ: กุหลาบ ข้าว เฟนิ เหด็ รา)
คร:ู นักเรยี นใช้เกณฑ์ใดในการจัดสง่ิ มชี วี ิตออกเป็นกลุม่ ? (แนวคำตอบ: นักเรยี นตอบตามขอ้ มูลจริงในหอ้ งเรยี น) ครู: ครูสุ่มเลือกเกณฑ์ที่นักเรียนใช้ในการจำแนกส่ิ งมีชีวิตมา 1 เกณฑ์ เช่น เกณฑ์แหล่งที่อยู่ และถามวา่ ถ้าใช้แหลง่ ทอ่ี ย่เู ป็นเกณฑ์จะจำแนกส่ิงมชี วี ิตออกเปน็ ก่ีกลุ่ม แต่ละกลุ่มมสี ่งิ มีชีวิตชนดิ ใดบ้าง? (แนวคำตอบ: นกั เรยี นตอบตามข้อมูลจริงในหอ้ งเรียน) ครู: ถ้าเปลย่ี นเกณฑก์ ารจำแนกสิ่งมชี วี ิต ชนิดของสิ่งมีชีวติ ในกลมุ่ ต่าง ๆ เหมือนเดิมหรือไม่? (แนวคำตอบ: อาจเหมือนเดิมหรอื เปลี่ยนแปลงไป) คร:ู ถา้ ใช้การเคล่อื นท่ีและการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ สามารถจำแนกสง่ิ มีชีวิตไดก้ ก่ี ลุม่ อะไรบ้าง? (แนวคำตอบ: 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่สร้างอาหารเองได้แต่เคลื่อนที่ไมไ่ ด้ กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้ แต่เคลื่อนที่ได้ และกลุ่มที่ได้รับอาหารจากการย่อยสลายของสิ่งมีชีวิตอื่นหรือสร้างอาหารเองไม่ได้ และเคลื่อนทีไ่ ม่ได)้ ครู: แตล่ ะกลุ่มมสี ่ิงมชี วี ิตอะไรบ้าง? (แนวคำตอบ: - กล่มุ ทสี่ ร้างอาหารเองได้แตเ่ คล่อื นที่ไมไ่ ด้ ได้แก่ กหุ ลาบ ขา้ วเฟนิ - กลุ่มที่สรา้ งอาหารเองไม่ได้แตเ่ คลือ่ นท่ไี ด้ ไดแ้ ก่ กบ ปลา คน จระเข้ เปด็ เสือ ก้งุ - กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้แต่ได้รับอาหารจากการย่อยสลายของสิ่งมีชีวิตอื่น และเคลือ่ นที่ไมไ่ ด้ ไดแ้ ก่ เห็ด รา) 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ไดข้ อ้ สรุป ดังนี้ เราเรียกกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองได้ แตเ่ คลือ่ นทไี่ มไ่ ดว้ ่า กลมุ่ พืช เรยี กสง่ิ มชี ีวติ ท่ีสรา้ งอาหารเองไม่ไดแ้ ต่เคลอ่ื นที่ได้ว่า กลุ่มสตั ว์ และเรยี กส่ิงมีชีวิต กลุ่มทีส่ รา้ งอาหารเองไมไ่ ดแ้ ละเคลื่อนทีไ่ มไ่ ดว้ า่ กลุ่มทไี่ ม่ใชพ่ ืชและสัตว์ 10.5 ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกยี่ วกบั การจำแนกสิ่งมีชีวติ ภาพท่ี 13 การต์ ูนสตั ว์ (ที่มา: https://th.aliexpress.com/item/32885512284.html) ครู: สงิ่ มีชวี ิตแบ่งออกเปน็ สตั ว์ พชื และกลมุ่ ท่ีไม่ใช่พืชและไมใ่ ช่สตั ว์ ซง่ึ แต่กล่มุ มลี ักษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้
ภาพท่ี 14 สตั ว์ (ท่ีมา: http://www.playful-kids.com/product/) คร:ู กลมุ่ สัตว์ ลกั ษณะทีส่ ามารถสังเกตเห็นได้ เช่น 1) สรา้ งอาหารเองไม่ได้ ต้องกินสงิ่ มชี ีวติ อ่นื เป็นอาหาร 2) เคลอื่ นท่ีได้ เคลื่อนไหวได้ เช่น เดิน ว่งิ คลาน กระโดด ปนี บิน และว่ายน้ำ 3) ตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ เช่น นกพิราบจะบินหนีเมื่อเราเดินเข้าไปใกล้ ๆ หรือสุนัข จะเห่าคนแปลกหนา้ 4) มีการหายใจเพ่อื ดำรงชีวติ 5) สืบพนั ธไุ์ ด้ โดยการอาศัยเพศและไมอ่ าศัยเพศ ภาพที่ 15 กลมุ่ พชื (ทีม่ า: https://anyflip.com/wkkhh/zqhg) ครู: กลุ่มพชื ลกั ษณะทส่ี งั เกตเห็น เช่น 1) สร้างอาหารเองได้ โดยการสงั เคราะห์แสง พืชบางชนิดสร้างอาหารไดโ้ ดยจะสะสมที่ราก หรือลำตน้ เช่น แครอท มนั ฝร่งั เผือก และมันเทศ 2) เคลอื่ นที่ไมไ่ ด้ แต่เคลื่อนไหวได้ เชน่ การเลอ้ื ยของเถาวัลย์ 3) ตอบสนองตอสิ่งต่าง ๆ เช่น ใบไมยราบหุบ เมื่อเราสัมผัสหรือทานตะวันหันดอก ไปทางดวงอาทติ ย์ 4) หายใจได้ 5) สบื พนั ธ์ุได้ ทั้งการอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ
ภาพที่ 16 เห็ด (ที่มา: https://pxhere.com/th/photo/178035) ภาพที่ 17 แบคทเี รยี (ทมี่ า: https://th.pixtastock.com/tags/) คร:ู กลมุ่ สง่ิ มีชีวิตที่ไมใ่ ช่พชื และไม่ใชส่ ัตว์ ลกั ษณะทส่ี ามารถสังเกตได้ เชน่ 1) สร้างอาหารเองไม่ได้ แตก่ นิ อาหารได้โดยจะย่อยเศษใบไมห้ รอื ซากสัตว์ 2) เจริญเติบโตได้ เช่น เราสังเกตเห็นว่าในตอนฤดูร้อนจะไม่เห็นเหด็ แต่เม่ือฝนตก หรือมี ความชืน้ เราจะเห็นเห็นคอ่ ย ๆ งอกและมีขนาดใหญ่ขึ้น 3) เคลื่อนท่ไี มไ่ ด้ แต่สามารถเคลอ่ื นไหวได้ 4) สบื พันธุ์และเพมิ่ จำนวนได้ 5) หายใจได้ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า สามารถจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ออกไดเ้ ปน็ 3 กลุ่ม โดยใช้เกณฑก์ ารเคลื่อนท่แี ละการสร้างอาหาร คือ กลมุ่ พชื กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืช และสัตว์ 3. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้คำถามเพ่ิมเติมในการอภิปราย เพ่ือใหไ้ ดแ้ นวคำตอบท่ีถกู ต้อง
คร:ู ผลการจำแนกส่ิงมีชีวติ ออกเป็นกลุ่มของแตล่ ะกลมุ่ เหมือนกันหรือไม่ เพราะเหตุใด? (แนวคำตอบ: นกั เรยี นอาจตอบวา่ เหมอื นหรือแตกตา่ งขึน้ อยกู่ ับการจัดกลมุ่ ของนักเรียน) คร:ู เม่อื จำแนกสิง่ มีชีวติ โดยใช้การเคลื่อนทแ่ี ละการสรา้ งอาหารเป็นเกณฑ์ จะจัดส่ิงมีชีวิตได้ก่ีกลุ่ม อะไรบ้าง? (แนวคำตอบ: จัดได้ 3 กลมุ่ ได้แก่ กลุม่ พชื กล่มุ สตั ว์ และกลุม่ ทไี่ มใ่ ชพ่ ชื และสัตว)์ ครู: สิ่งมชี ีวติ แต่ละกลมุ่ ในข้อ 2 มลี กั ษณะอย่างไร? (แนวคำตอบ: กลุ่มพืช สร้างอาหารเองได้ แต่เคลื่อนที่ไม่ได้ กลุ่มสัตว์ สร้างอาหารเองไม่ได้ แตเ่ คลอื่ นท่ี ได้ ส่วนกลุม่ ทไ่ี ม่ใชพ่ ชื และสัตว์ สร้างอาหารเองไมไ่ ด้และเคลื่อนท่ไี มไ่ ด้) ครู: สิง่ มชี วี ติ ทจ่ี ัดอยู่ในแต่ละกลมุ่ มีอะไรบ้าง? (แนวคำตอบ: กลุ่มพชื ประกอบด้วย กุหลาบ เฟิน ขา้ ว กลมุ่ สัตว์ ประกอบด้วย กบ คน เสือ จระเข้ เปด็ ปลา กุง้ และกลมุ่ ท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ ประกอบดว้ ย เห็ด รา) คร:ู จากกิจกรรมนี้ คน้ พบอะไรบา้ งเกยี่ วกับการจำแนกสง่ิ มชี ีวติ ? (แนวคำตอบ: สิ่งมีชีวิตมีลักษณะบางอย่างที่เหมือนกัน และบางอย่างที่แตกต่างกัน สามารถนำ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตมากำหนดเกณฑ์ในการจำแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มได้ และถ้าใช้เกณฑ์การเคล่ือนท่ี และการสร้างอาหารจะจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มพืช สร้างอาหารเองได้แต่เคลื่อนที่ไม่ได้ ประกอบดว้ ย กหุ ลาบ เฟิน ข้าว กลุ่มสตั ว์ สร้างอาหารเองไมไ่ ด้แตเ่ คลือ่ นท่ีได้ ประกอบดว้ ย กบ คน เสือ จระเข้ เปด็ ปลา กงุ้ ส่วนกลุ่มท่ีไมใ่ ชพ่ ืชและสตั ว์ สร้างอาหารเองไม่ได้และเคล่อื นท่ีไมไ่ ด้ ประกอบดว้ ย เห็ด รา) คร:ู จากสิ่งทคี่ น้ พบ สรปุ ได้วา่ อยา่ งไร? (แนวคำตอบ: ถา้ ใชเ้ กณฑ์การเคล่ือนท่ีและการสร้างอาหารได้ จะจำแนกสง่ิ มีชีวติ ออกเป็น 3 กลุ่ม คอื กลมุ่ พืช กลุม่ สัตว์ และกลุ่มทไี่ ม่ใชพ่ ืชและสตั ว์) 4. ครูให้นักเรยี นทำใบงานที่ 1 เรือ่ ง การจำแนกสิ่งมชี วี ิต 10.6 ขน้ั ประเมนิ ผล (Evaluation) 1. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะคนพจิ ารณาว่าจากหัวข้อท่ีเรยี นและการปฏิบัติกจิ กรรมนน้ั นักเรียนมีจุดใดบ้าง ที่ยังไมเ่ ข้าใจหรอื ยังมขี อ้ สงสยั ถามมีครชู ่วยอธบิ ายเพมิ่ เติมให้นกั เรียนเข้าใจ 2. ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยใช้คำถาม 3. สงั เกตพฤตกิ รรมในระหว่างปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการทดลอง 4. ตรวจแบบบนั ทกึ กิจกรรมท่ี 1.1 เร่อื ง เราจำแนกสง่ิ มีชีวติ ไดอ้ ยา่ งไร
11. สอ่ื การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้ 11.1 ส่ือการเรียนรู้ - หนงั สือเรียนรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เลม่ 1 หน้าท่ี 39-44 - แบบบนั ทึกกิจกรรมท่ี 1.1 เราจำแนกสง่ิ มีชวี ติ ไดอ้ ย่างไร (ในหนังสอื แบบบันทึกกจิ กรรม รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เล่ม 1 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 หน้าท่ี 37-42) - ส่ือนำเสนอ PowerPoint เรอื่ ง เราจำแนกส่ิงมชี ีวติ ได้อยา่ งไร - ชุดการทดลอง เรอื่ ง เราจำแนกสงิ่ มีชวี ิตได้อยา่ งไร 11.2 แหลง่ เรยี นรู้ - หอ้ งสมดุ โรงเรยี น - ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ 12. การวัดผลและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 12.1 การวดั ผล การวัดผลและ รายการ เคร่ืองมอื การวดั วิธกี ารวดั เกณฑ์การประเมิน การประเมนิ ผล ประเมิน - ไดค้ ะแนนอยู่ในเกณฑ์ ระดบั ดีขนึ้ ไป ด้านความรู้ (K) นกั เรียนสามารถ แบบบนั ทึก ตรวจแบบบันทึก จำแนกสง่ิ มชี วี ติ ได้ กิจกรรมท่ี 1.1 กจิ กรรมท่ี 1.1 ได้คะแนนอยู่ในเกณฑ์ เราจะจำแนก ระดับดขี ึ้นไป สิง่ มีชีวติ ไดอ้ ย่างไร เราจะจำแนกสิง่ มีชีวติ ได้อย่างไร ไดค้ ะแนนอยใู่ นเกณฑ์ ระดบั ดีขนึ้ ไป ด้านทกั ษะ นกั เรยี นสามารถ แบบประเมินทักษะ สงั เกตทักษะ กระบวนการ (P) จำแนกสิง่ มชี ีวิตได้ กระบวนการทาง กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ดา้ นคณุ ลักษณะ 1. ซอื่ สตั ยส์ ุจริต แบบประเมนิ สังเกตพฤติกรรม อันพึงประสงค์ 2. มวี นิ ัย คุณลกั ษณะ นกั เรียนด้าน 3. ใฝเ่ รยี นรู้ อันพึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พึง 4. มุ่งมั่นในการ ประสงค์ ทำงาน
การวดั ผลและ รายการ เครือ่ งมอื การวัด วิธกี ารวัด เกณฑก์ ารประเมนิ การประเมินผล ประเมิน ไดค้ ะแนนอยู่ในเกณฑ์ ระดบั ดีขึ้นไป สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถใน - แบบประเมนิ สังเกตพฤตกิ รรม ของผเู้ รียน นกั เรยี นขณะปฏิบัติ ได้คะแนนอยใู่ นเกณฑ์ การส่ือสาร สมรรถนะของ กจิ กรรม ระดับดขี นึ้ ไป 2. ความสามารถใน ผ้เู รยี น การคิด 3. ความสามารถใน การแก้ปัญหา ทกั ษะแหง่ ศตวรรษ 1. การสื่อสาร แบบประเมินทักษะ การสังเกตพฤติกรรม ที่ 21 2. ความรว่ มมือ แหง่ ศตวรรษที่ 21 นกั เรยี นขณะปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม 12.2 เกณฑก์ ารประเมนิ ผล เกณฑ์การประเมนิ แบบบนั ทึกกิจกรรม ประเดน็ ระดับคะแนน น้ำหนัก 1 การประเมนิ 4 3 2 เนื้อหาสาระของ 5 ผลงานไมถ่ ูกต้อง 1. ความถกู ต้อง เน้ือหาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เป็นสว่ นใหญ่ การนำเสนอไม่ 3 ของเนือ้ หา ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานถูกตอ้ ง ผลงานถกู ตอ้ ง เปน็ ไปตามเกณฑ์ ครบถว้ น เปน็ ส่วนใหญ่ บางประเด็น ผลงานไมม่ คี วาม 2 เปน็ ระเบยี บ 2. รปู แบบ การนำเสนอ การนำเสนอ การนำเสนอ น่าสนใจและ ถกู ตอ้ งเปน็ ส่วน ถูกตอ้ งบางส่วน เหมาะสมกบั ใหญ่ สถานการณ์ 3. ความเป็น ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่ ผลงานมี ระเบยี บ เปน็ ระเบียบ มขี อ้ บกพร่อง ข้อบกพรอ่ ง บางส่วน เกณฑก์ ารตัดสิน คะแนน 33 - 40 หมายถึง ดมี าก คะแนน 25 - 32 หมายถงึ ดี คะแนน 17 - 24 หมายถึง พอใช้ คะแนน 10 - 16 หมายถงึ ปรับปรุง เกณฑก์ ารผา่ น ตง้ั แตร่ ะดับดีขน้ึ ไป
แบบประเมินแบบบันทึกกจิ กรรม ผลการประเมิน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 สิง่ มีชวี ิต บทท่ี 1 สิ่งมีชวี ติ รอบตัว เรอ่ื ง เราจำแนกสิ่งมชี ีวติ ได้อย่างไร คำชแี้ จง : แบบประเมนิ ฉบับน้ีเปน็ การประเมนิ แบบบนั ทึกกิจกรรม โดยการประเมินระดบั คะแนนลงในช่องคะแนน ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4/5 รายการประเมิน เลขที่ ชือ่ -สกุล ความ ูถกต้องของเนื้อหา รวมคะแนน รูปบบ ผ่าน ไมผ่ ่าน 1 เด็กชายเมธาวิชย์ มาสัก ความเ ็ปนระเ ีบยบ 2 เด็กชายตรภี พ วฒุ ธิ รรมกุล 3 เด็กชายพัฒนรัฐ พยคั ฆันตร 4 4 4 คะแนน x น้ำหนัก 4 เด็กชายกลวชั ร ปกติ 5 เด็กชายปกรณ์ บุญมา (5) (3) (2) (40) 6 เด็กชายอิทธพิ ล ปิงชัย 7 เดก็ ชายเปีย่ มสุข หม่นื สุข 8 เด็กชายณัฎฐากร จินายะ 9 เด็กชายบุญวีร์ วไิ ลสง่ากลุ 10 เดก็ ชายสริ วิชญ์ วัฒนาพันธ์ุ 11 เดก็ ชายชษิ ณุพงศ์ สสุ มวงค์ 12 เด็กชายพีระพงษ์ ปุกเจริญ 13 เด็กชายธิติวฒุ ิ เชาว์แลน่ 14 เดก็ ชายศัจนันท์ กันแดง 15 เด็กชายวชริ วิทย์ ขวญั เขียว 16 เดก็ หญงิ กมลฉัตร มงั่ มูล 17 เด็กหญิงณภาภชั พุทธปวน
รายการประเมนิ ผลการประเมนิ เลขที่ ชอ่ื -สกุล ความ ูถกต้องของเนื้อหา รวมคะแนน รูปบบ ผ่าน ไม่ผา่ น ความเ ็ปนระเ ีบยบ 4 4 4 คะแนน x น้ำหนัก (5) (3) (2) (40) 18 เดก็ หญิงกรรณิกา แก้วคำ 19 เด็กหญงิ ปวันพสั ตร์ เขยี วเจรญิ 20 เดก็ หญงิ จิรชั ยา ใจพิงค์ 21 เด็กหญงิ อมรรัตน์ อรุณเรืองศิริเลิศ 22 เดก็ หญิงปุณยวีร์ ยะบญุ ธง 23 เดก็ หญิงธัญญาศิริ แฝงเวียง 24 เดก็ หญงิ ชาตญิ าดา มาแดงสาย 25 เด็กหญิงเอมิกา ศรบี ุญยงั 26 เด็กหญงิ ชตุ ิกาญจน์ ชายสกั 27 เด็กหญิงณัฐศศิ ติยายน 28 เดก็ หญงิ ดาลยี า ชวลติ เรืองรอง 29 เดก็ หญิงศศินิภา หนอ่ แนวอ้าย 30 เดก็ หญงิ พยิ ดา สวุ รรณมา 31 เด็กหญงิ ดจุ เดือน เคนเครือ 32 เดก็ หญิงกฤตพร เรอื นทราย 33 เดก็ หญิงชนกานต์ มะโนเพญ็ 34 เด็กหญงิ ภัคจิรา ใจอ้าย 35 เดก็ หญิงรักษอร ย้ิมนาค 36 เดก็ หญงิ ชญานษิ ฐศ์ า ใสสอาด 37 เด็กหญิงภัทราภรณ์ สวุ รรณมงคล 38 เด็กหญงิ ปาณณนาถ ออ่ งสมบรู ณ์ 39 เด็กหญงิ พรหมนำ้ มนต์ ปนิ ทรายมูล 40 เด็กหญิงวฒั นวดี มั่นกลนิ่
เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 33 - 40 หมายถงึ ดีมาก คะแนน 25 - 32 หมายถงึ ดี คะแนน 17 - 24 หมายถึง พอใช้ คะแนน 10 - 16 หมายถึง ปรับปรงุ เกณฑก์ ารผ่าน ต้งั แตร่ ะดบั ดขี น้ึ ไป ลงชอ่ื …………………………………………… (นางสาวสายฝน ตะ๊ วันนา) ผ้ปู ระเมนิ
เกณฑก์ ารประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ ระดับคะแนน นำ้ หนัก 5 ทางวทิ ยาศาสตร์ 3 2 1 5 การสังเกต (S1) สามารถใช้ประสาท สามารถใช้ประสาท สามารถใช้ประสาท สัมผสั สังเกตลักษณะ สัมผัสสังเกตลกั ษณะ สมั ผสั สังเกตลกั ษณะ และบรรยาย และบรรยาย และบรรยาย รายละเอียดของ รายละเอยี ดของ รายละเอยี ดของ ส่งิ มชี วี ิตทอ่ี ย่ใู นกลุ่มพชื สง่ิ มีชวี ติ ทีอ่ ยู่ในกล่มุ พชื สงิ่ มชี วี ติ ที่อยใู่ นกลุ่มพชื กลุ่มสัตว์ และกลุม่ ท่ี กล่มุ สัตว์ และกล่มุ ท่ี กลมุ่ สัตว์ และกลุ่มท่ี ไม่ใชพ่ ืชและสัตวไ์ ดด้ ้วย ไมใ่ ชพ่ ชื และสตั วไ์ ด้ จาก ไมใ่ ชพ่ ชื และสัตว์ได้ถกู ตนเอง โดยไมเ่ พิม่ เติม การชี้แนะของครูหรือ บางส่วนแมว้ ่าจะได้ ความคิดเห็น ผู้อน่ื หรือมกี ารเพม่ิ เติม รบั คำช้ีแนะจากครูหรือ ความคิดเหน็ ผู้อื่น การจำแนกประเภท สามารถกำหนดเกณฑ์ สามารถกำหนดเกณฑ์ สามารถกำหนดเกณฑ์ (S4) และจำแนกส่ิงมชี ีวิต และจำแนกส่งิ มชี วี ิต และจำแนกสงิ่ มชี วี ติ ตามเกณฑ์ท่ีกำหนดเป็น ตามเกณฑ์ท่ีกำหนดเปน็ ตามเกณฑ์ท่ีกำหนดเปน็ กลุ่มพชื กลุ่มสัตว์ และ กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และ กลุ่มพชื กลมุ่ สัตว์ และ กลุ่มที่ไม่ใชพ่ ืชและสตั ว์ กลุ่มทไี่ ม่ใช่พืชและสัตว์ กลุ่มทีไ่ ม่ใช่พืชและสตั ว์ โดยการใช้การเคลือ่ นท่ี โดยการใช้การเคล่ือนท่ี โดยการใชก้ ารเคลอ่ื นที่ และการสร้างอาหาร และการสร้างอาหาร และการสร้างอาหาร เป็นเกณฑไ์ ดอ้ ย่าง เป็นเกณฑ์ได้อยา่ ง เป็นเกณฑ์ได้ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ งดว้ ยตนเอง ถูกตอ้ ง จากการชีแ้ นะ บางส่วน แม้ว่าจะได้ ของครูหรือผูอ้ น่ื รับคำชีแ้ นะจากครหู รือ ผ้อู ่นื
ทักษะกระบวนการ ระดบั คะแนน นำ้ หนกั 5 ทางวทิ ยาศาสตร์ 3 2 1 5 การจดั กระทำและ สามารถนำเสนอข้อมลู ท่ี สามารถนำเสนอข้อมูลท่ี สามารถนำเสนอข้อมูลท่ี สื่อความหมาย ได้จากการสังเกต ได้จากการสังเกต ไดจ้ ากการสังเกต ข้อมูล (S6) รวบรวมเกยี่ วกบั รวบรวมเกี่ยวกับ รวบรวมเกย่ี วกับ ลกั ษณะของส่ิงมชี ีวติ มา ลักษณะของส่งิ มีชีวิตมา ลกั ษณะของสิง่ มีชีวิตมา จำแนกสงิ่ มชี วี ิตออกเปน็ จำแนกสง่ิ มีชีวติ ออกเป็น จำแนกสง่ิ มชี ีวิตออกเปน็ กลมุ่ มาจัดกระทำโดย กลุ่ม มาจัดกระทำโดย กลุ่ม มาจัดกระทำโดย การเขียนแผนภาพ หรือ การเขียนแผนภาพ หรือ การเขยี นแผนภาพ หรอื รูปแบบอ่นื ๆ และสื่อให้ รูปแบบอื่นๆ และส่ือให้ รูปแบบอืน่ ๆ และส่ือให้ ผู้อื่นเข้าใจการจำแนก ผอู้ ื่นเขา้ ใจการจำแนก ผู้อ่นื เข้าใจการจำแนก สิง่ มชี ีวิตออกเปน็ กลมุ่ สง่ิ มีชวี ติ ออกเปน็ กล่มุ สิ่งมีชวี ิตออกเปน็ กลมุ่ ต่างๆ ได้อย่างถูกตอ้ งได้ ต่างๆ ได้อยา่ งถูกต้อง ตา่ งๆ ได้ถูกต้องบางส่วน ดว้ ยตนเอง จากการชี้แนะของครู แมว้ า่ จะไดร้ ับคำชีแ้ นะ หรือผู้อ่นื จากครหู รือผอู้ ่นื การลงความเห็น สามารถลงความเหน็ สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น จากข้อมูล (S8) จากข้อมลู ไดว้ า่ สิ่งมชี ีวติ จากข้อมลู ได้ว่าส่งิ มีชวี ิต จากขอ้ มลู ไดว้ ่าสิ่งมชี วี ิต ชนดิ ใดเปน็ พชื สัตว์ ชนิดใดเปน็ พชื สตั ว์ ชนิดใดเปน็ พืช สัตว์ และไมใ่ ชพ่ ชื และสัตว์ และไม่ใช่พืชและสัตว์ และไมใ่ ช่พืชและสัตว์ โดยการใช้การเคลื่อนที่ โดยการใช้การเคลือ่ นที่ โดยการใช้การเคล่ือนที่ และการสร้างอาหาร และการสร้างอาหาร และการสร้างอาหาร เปน็ เกณฑ์ได้อยา่ ง เป็นเกณฑ์ไดอ้ ย่าง เปน็ เกณฑ์ได้ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง ดว้ ยตนเอง ถูกตอ้ ง จากการช้แี นะ บางส่วน แม้ว่าจะได้ ของครูหรือผูอ้ ื่น รบั คำช้ีแนะจากครูหรือ ผอู้ ื่น
ทกั ษะกระบวนการ ระดบั คะแนน น้ำหนัก 2 5 ทางวทิ ยาศาสตร์ 3 1 สามารถตีความหมาย สามารถตคี วามหมาย การตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย ขอ้ มูลท่ไี ด้จากการ ข้อมลู ทไ่ี ด้จากการ สังเกตสง่ิ มีชวี ิตลักษณะ สงั เกตสิง่ มชี ีวิตลักษณะ ข้อมลู และลง ข้อมูลท่ไี ด้จากการ ต่างๆ และสามารถลง ต่างๆ และสามารถลง ขอ้ สรุปได้วา่ ถา้ จำแนก ขอ้ สรุปได้ว่า ถ้าจำแนก ขอ้ สรุป (S13) สังเกตสิ่งมชี วี ิตลักษณะ สง่ิ มชี วี ิตโดยการใชก้ าร สิ่งมีชีวติ โดยการใชก้ าร เคลือ่ นท่แี ละการสร้าง เคลือ่ นทแี่ ละการสรา้ ง ตา่ งๆ และสามารถลง อาหารเปน็ เกณฑ์จะ อาหารเปน็ เกณฑจ์ ะ จำแนกส่ิงมีชีวติ ได้เปน็ จำแนกสิง่ มีชีวติ ได้เปน็ ขอ้ สรุปไดว้ ่า ถา้ จำแนก 3 กลมุ่ คือ กลมุ่ พืช 3 กลุ่ม คือ กล่มุ พืช กลุ่มสตั ว์ และกลุ่มที่ กลมุ่ สัตว์ และกลมุ่ ท่ี สิ่งมชี วี ิตโดยการใชก้ าร ไม่ใชพ่ ืชและสัตว์ จาก ไมใ่ ชพ่ ชื และสตั ว์ ได้ การชี้แนะของครูหรือ บางสว่ น แมว้ ่าจะได้ เคลือ่ นท่ีและการสรา้ ง ผอู้ ่ืน รับคำช้ีแนะจากครูหรือ ผู้อื่น อาหารเปน็ เกณฑ์จะ จำแนกสิ่งมชี วี ติ ได้เปน็ 3 กลมุ่ คือ กลมุ่ พชื กลมุ่ สตั ว์ และกลุม่ ท่ี ไมใ่ ชพ่ ืชและสัตว์ ได้ ดว้ ยตนเอง เกณฑ์การตดั สนิ คะแนน 60 - 75 หมายถึง ดมี าก ดี คะแนน 52 - 59 หมายถงึ พอใช้ ปรบั ปรุง คะแนน 38 - 51 หมายถงึ คะแนน 0 - 37 หมายถึง เกณฑ์การผ่าน ตงั้ แตร่ ะดบั ดีข้นึ ไป
แบบประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 สง่ิ มชี ีวติ บทที่ 1 ส่ิงมีชวี ติ รอบตวั เรือ่ ง เราจำแนกสง่ิ มชี ีวติ ได้อยา่ งไร คำชี้แจง : แบบประเมนิ ฉบับน้ีเป็นการประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการประเมนิ พฤติกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดบั คะแนนลงในช่องรายการประเมิน ตามความเป็นจริง ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4/5 รายการประเมนิ ผลการประเมิน เลขที่ ชอื่ -สกุล การสังเกต (S1) รวมคะแนน การจำแนกประเภท (S4) ผา่ น ไมผ่ า่ น การ ัจดกระทำและตีความหมาย ้ขอ ูมล (S6) การลงความเ ็หนจาก ้ขอ ูมล (S8) การตีความหมาย ้ขอ ูมลและลง ้ขอสรุป (S13) 3 3 3 3 3 คะแนน x น้ำหนกั (5) (5) (5) (5) (5) (75) 1 เดก็ ชายเมธาวชิ ย์ มาสัก 2 เด็กชายตรภี พ วฒุ ิธรรมกุล 3 เด็กชายพัฒนรัฐ พยัคฆันตร 4 เด็กชายกลวัชร ปกติ 5 เด็กชายปกรณ์ บญุ มา 6 เดก็ ชายอทิ ธพิ ล ปิงชัย 7 เดก็ ชายเป่ยี มสขุ หม่ืนสุข 8 เดก็ ชายณัฎฐากร จินายะ 9 เด็กชายบญุ วีร์ วิไลสง่ากลุ 10 เดก็ ชายสริ วิชญ์ วัฒนาพนั ธุ์ 11 เด็กชายชิษณพุ งศ์ สสุ มวงค์ 12 เด็กชายพีระพงษ์ ปุกเจริญ 13 เด็กชายธติ ิวฒุ ิ เชาวแ์ ล่น
รายการประเมนิ ผลการประเมิน เลขที่ ชอ่ื -สกลุ การสังเกต (S1) รวมคะแนน การจำแนกประเภท (S4) ผ่าน ไมผ่ ่าน การ ัจดกระทำและตีความหมาย ้ขอ ูมล (S6) การลงความเ ็หนจาก ้ขอ ูมล (S8) การตีความหมาย ้ขอ ูมลและลง ้ขอสรุป (S13) 3 3 3 3 3 คะแนน x น้ำหนัก (5) (5) (5) (5) (5) (75) 14 เด็กชายศจั นนั ท์ กนั แดง 15 เด็กชายวชริ วิทย์ ขวัญเขยี ว 16 เดก็ หญงิ กมลฉัตร ม่งั มูล 17 เด็กหญิงณภาภัช พทุ ธปวน 18 เด็กหญิงกรรณิกา แกว้ คำ 19 เดก็ หญงิ ปวนั พสั ตร์ เขยี วเจรญิ 20 เดก็ หญงิ จริ ชั ยา ใจพงิ ค์ 21 เด็กหญิงอมรรัตน์ อรณุ เรอื งศิรเิ ลิศ 22 เดก็ หญงิ ปุณยวีร์ ยะบุญธง 23 เดก็ หญงิ ธัญญาศิริ แฝงเวยี ง 24 เด็กหญงิ ชาติญาดา มาแดงสาย 25 เด็กหญงิ เอมกิ า ศรีบญุ ยัง 26 เด็กหญิงชุตกิ าญจน์ ชายสัก 27 เดก็ หญงิ ณฐั ศศิ ติยายน 28 เด็กหญงิ ดาลยี า ชวลิตเรืองรอง 29 เด็กหญงิ ศศนิ ภิ า หนอ่ แนวอ้าย 30 เด็กหญงิ พิยดา สวุ รรณมา 31 เดก็ หญงิ ดจุ เดือน เคนเครอื 32 เดก็ หญงิ กฤตพร เรอื นทราย 33 เดก็ หญิงชนกานต์ มะโนเพญ็ 34 เด็กหญงิ ภัคจริ า ใจอา้ ย
รายการประเมิน ผลการประเมนิ เลขที่ ชอ่ื -สกุล การสังเกต (S1) รวมคะแนน การจำแนกประเภท (S4) ผา่ น ไม่ผ่าน การ ัจดกระทำและตีความหมาย ้ขอ ูมล (S6) การลงความเ ็หนจาก ้ขอ ูมล (S8) การตีความหมาย ้ขอ ูมลและลง ้ขอสรุป (S13) 3 3 3 3 3 คะแนน x น้ำหนกั (5) (5) (5) (5) (5) (75) 35 เด็กหญิงรกั ษอร ยมิ้ นาค 36 เด็กหญงิ ชญานษิ ฐศ์ า ใสสอาด 37 เดก็ หญงิ ภัทราภรณ์ สวุ รรณมงคล 38 เด็กหญงิ ปาณณนาถ ออ่ งสมบรู ณ์ 39 เดก็ หญงิ พรหมนำ้ มนต์ ปินทรายมูล 40 เด็กหญงิ วัฒนวดี มั่นกลน่ิ เกณฑก์ ารตดั สิน คะแนน 60 - 75 หมายถงึ ดมี าก คะแนน 52 - 59 หมายถึง ดี คะแนน 38 - 51 หมายถึง พอใช้ คะแนน 0 - 37 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑก์ ารผ่าน ตงั้ แต่ระดับดีขนึ้ ไป ลงชื่อ …………………………………………… (นางสาวสายฝน ต๊ะวันนา) ผปู้ ระเมิน
เกณฑ์การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประเดน็ ระดับคะแนน น้ำหนกั 5 การประเมิน 4 3 2 1 ประพฤติตนโดย 5 ซอื่ สัตย์สจุ ริต ประพฤติตนโดย ประพฤติตนโดย ประพฤตติ นโดย ไม่เกรงกลัวต่อ การกระทำผดิ เกรงกลัวต่อการ เกรงกลวั ตอ่ การ เกรงกลัวต่อการ ปฏิบตั ติ นตาม กระทำผิดและไม่ กระทำผดิ และไม่ กระทำผิดและไม่ ข้อตกลง กฎเกณฑ์ มพี ฤตกิ รรมนำ มพี ฤตกิ รรมนำ มีพฤติกรรมนำ ระเบียบ ข้อบังคบั ของ สิง่ ของและ ส่ิงของและ สง่ิ ของและ โรงเรยี น ผลงานของผูอ้ ่ืน ผลงานของผอู้ ืน่ ผลงานของผู้อ่นื มาเป็นของ มาเปน็ ของ มาเป็นของ ตนเอง ปฏิบัติ ตนเอง ปฏิบตั ิ ตนเอง ตนตอ่ ผู้อนื่ ด้วย ตนต่อผ้อู ืน่ ด้วย ความซือ่ ตรงเปน็ ความซ่ือตรง แบบอยา่ งท่ดี ี ด้านความ ซื่อสตั ย์ มวี นิ ัย -ปฏบิ ตั ิตนตาม ปฏบิ ัติตนตาม ปฏบิ ตั ติ นตาม ขอ้ ตกลง ขอ้ ตกลง ข้อตกลง กฎเกณฑ์ กฎเกณฑ์ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ระเบยี บ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของ ขอ้ บงั คับของ ข้อบังคับของ โรงเรียน และ ไม่ โรงเรยี น ตรงตอ่ โรงเรียน ตรงตอ่ ละเมดิ สทิ ธขิ อง เวลาในการ เวลาในการ ผ้อู ืน่ ปฏบิ ัติกจิ กรรม ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม -ตรงต่อเวลาใน และรบั ผดิ ชอบ การปฏิบตั ิ ในการทำงาน กิจกรรมและ รับผิดชอบในการ ทำงาน
ประเด็น ระดบั คะแนน นำ้ หนกั 5 การประเมิน 4 3 2 1 5 ใฝ่เรียนรู้ เข้าเรยี นตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรยี นตรงเวลา ไม่ตง้ั ใจเรยี น ตงั้ ใจเรียน เอาใจ ตั้งใจเรยี น เอาใจ ต้งั ใจเรยี น เอาใจ ไม่ศกึ ษาค้นคว้า ใสใ่ นการเรยี น ใสใ่ นการเรยี น ใส่ในการเรยี น หาความรู้ และมีสว่ นรว่ มใน และมสี ่วนร่วมใน และมสี ่วนรว่ มใน การเรียนรู้ และ การเรยี นรู้ และ การเรียนรู้ และ เขา้ รว่ มกิจกรรม เขา้ รว่ มกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม การเรยี นรู้ต่างๆ การเรยี นรตู้ า่ งๆ การเรียนรตู้ ่างๆ ทง้ั ภายในและ บอ่ ยครั้ง เป็นบางครั้ง ภายนอกโรงเรยี น เป็นประจำ มุ่งมนั่ ในการ ตงั้ ใจและ ตงั้ ใจและ ตงั้ ใจและ ต้ังใจปฏบิ ตั ิ ทำงาน รับผิดชอบในการ รับผิดชอบในการ รับผดิ ชอบในการ หน้าทก่ี ารงาน ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีท่ี ปฏิบตั ิหน้าท่ีที่ ปฏิบตั หิ น้าท่ีที่ ไดร้ ับมอบหมาย ได้รับมอบหมาย ไดร้ บั มอบหมาย ให้สำเร็จ มกี าร ให้สำเร็จ มีการ ใหส้ ำเร็จ ปรับปรงุ และ ปรบั ปรุงและ พัฒนาการ พัฒนาการ ทำงานให้ดีข้นึ ทำงานใหด้ ีขึ้น ภายในเวลาที่ กำหนด เกณฑก์ ารตัดสนิ คะแนน 65 - 80 หมายถึง ดมี าก คะแนน 50 - 64 หมายถงึ ดี คะแนน 35 - 49 หมายถึง พอใช้ คะแนน 0 - 34 หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑก์ ารผ่าน ตงั้ แตร่ ะดบั ดขี ึ้นไป
แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 ส่งิ มีชีวติ บทที่ 1 สิ่งมีชีวิตรอบตัว เร่ือง เราจำแนกส่งิ มชี วี ิตได้อย่างไร คำชีแ้ จง : แบบประเมินฉบับน้ีเปน็ การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยการประเมินพฤตกิ รรมคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ลงในช่องรายการประเมินตามความเปน็ จริง ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4/5 รายการประเมิน ผลการประเมนิ ซื่อสัต ์ยสุจริต ีมวิ ันย ใ ่ฝเรียนรู้ ุ่มง ่ัมนในการทำงาน เลขท่ี ช่ือ-สกลุ รวมคะแนน 1 เด็กชายเมธาวิชย์ มาสัก ผ่าน ไมผ่ า่ น 2 เด็กชายตรีภพ วุฒิธรรมกลุ 3 เด็กชายพฒั นรัฐ พยัคฆนั ตร 4 4 4 4 คะแนน x น้ำหนกั 4 เดก็ ชายกลวัชร ปกติ (5) (5) (5) (5) (80) 5 เด็กชายปกรณ์ บญุ มา 6 เดก็ ชายอทิ ธพิ ล ปงิ ชัย 7 เดก็ ชายเปย่ี มสขุ หมน่ื สขุ 8 เด็กชายณฎั ฐากร จินายะ 9 เด็กชายบญุ วีร์ วิไลสงา่ กุล 10 เด็กชายสิรวิชญ์ วัฒนาพนั ธุ์ 11 เด็กชายชิษณพุ งศ์ สุสมวงค์ 12 เด็กชายพรี ะพงษ์ ปกุ เจริญ 13 เด็กชายธิติวฒุ ิ เชาว์แลน่ 14 เดก็ ชายศจั นันท์ กันแดง 15 เดก็ ชายวชริ วิทย์ ขวญั เขยี ว 16 เดก็ หญิงกมลฉตั ร มง่ั มลู 17 เดก็ หญงิ ณภาภัช พุทธปวน 18 เดก็ หญงิ กรรณิกา แก้วคำ
รายการประเมิน ผลการประเมิน ซื่อสัต ์ยสุจริต ีมวิ ันย ใ ่ฝเรียนรู้ ุ่มง ่ัมนในการทำงาน เลขที่ ชือ่ -สกุล รวมคะแนน 19 เด็กหญิงปวันพัสตร์ เขยี วเจรญิ ผ่าน ไมผ่ า่ น 20 เด็กหญิงจริ ชั ยา ใจพงิ ค์ 21 เดก็ หญงิ อมรรตั น์ อรณุ เรืองศิริเลิศ 4 4 4 4 คะแนน x น้ำหนกั 22 เดก็ หญิงปุณยวีร์ ยะบุญธง (5) (5) (5) (5) (80) 23 เดก็ หญิงธัญญาศิริ แฝงเวยี ง 24 เดก็ หญงิ ชาติญาดา มาแดงสาย 25 เดก็ หญิงเอมิกา ศรบี ญุ ยัง 26 เดก็ หญงิ ชตุ ิกาญจน์ ชายสัก 27 เด็กหญิงณัฐศศิ ตยิ ายน 28 เด็กหญิงดาลียา ชวลติ เรืองรอง 29 เดก็ หญิงศศนิ ภิ า หน่อแนวอ้าย 30 เดก็ หญงิ พิยดา สุวรรณมา 31 เดก็ หญงิ ดจุ เดือน เคนเครอื 32 เด็กหญงิ กฤตพร เรอื นทราย 33 เด็กหญงิ ชนกานต์ มะโนเพ็ญ 34 เด็กหญงิ ภัคจิรา ใจอ้าย 35 เด็กหญงิ รักษอร ย้ิมนาค 36 เด็กหญิงชญานษิ ฐศ์ า ใสสอาด 37 เด็กหญิงภัทราภรณ์ สวุ รรณมงคล 38 เดก็ หญงิ ปาณณนาถ อ่องสมบูรณ์ 39 เดก็ หญงิ พรหมนำ้ มนต์ ปนิ ทรายมูล 40 เด็กหญิงวัฒนวดี มน่ั กล่ิน
เกณฑ์การตดั สนิ คะแนน 65 - 80 หมายถงึ ดมี าก คะแนน 50 - 64 หมายถงึ ดี คะแนน 35 - 49 หมายถึง พอใช้ คะแนน 0 - 34 หมายถึง ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารผ่าน ต้ังแต่ระดับดขี ้นึ ไป ลงช่อื …………………………………………… (นางสาวสายฝน ตะ๊ วันนา) ผ้ปู ระเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ สมรรถนะของผเู้ รียน
ประเดน็ ระดบั คะแนน นำ้ หนกั การประเมิน 4 3 2 1 1. ใชภ้ าษาในการพดู ใชภ้ าษาในการพูด ใชภ้ าษาในการพดู ใชภ้ าษาในการพดู 5 ความสามารถ และเขยี นไดอ้ ย่าง และเขยี นไดอ้ ยา่ ง และเขยี นได้อย่าง และเขยี นไม่ ในการสื่อสาร เหมาะสมเลือกรับ เหมาะสมเลือกรบั เหมาะสมเลือกรบั เหมาะสมเลือกรบั ขา่ วสารดว้ ยหลัก ขา่ วสารดว้ ยหลัก ข่าวสารดว้ ยหลัก ข่าวสารด้วยหลกั เหตผุ ลและความ เหตุผลและความ เหตุผลและความ เหตผุ ลและความ ถกู ตอ้ งและมวี ธิ ีการ ถกู ต้องและมวี ธิ ีการ ถกู ตอ้ งเปน็ บางครั้ง ถกู ต้องและคอย สอ่ื สารที่มี สอื่ สารที่มี และมีวิธกี ารส่ือสาร แนะนำเป้ฯสว่ น ประสิทธภิ าพโดย ประสิทธิภาพไม่ ท่ีมไี มค่ ำนงึ ถงึ ผู้อืน่ ใหญ่ คำนึงถงึ ผลกระทบ คอ่ ยคำนงึ ถงึ ต่อผูอ้ ่นื ผลกระทบต่อผู้อืน่ 2. เรยี บเรียงและจัดทำ เรียบเรียงและจัดทำ เรียบเรยี งและจดั ทำ เรียบเรยี งและจดั ทำ 5 ความสามารถ ข้อมูลเปน็ องค์ ข้อมลู เป็นองค์ ขอ้ มลู เปน็ องค์ ข้อมลู เปน็ องค์ ในการคิด ความร้เู ปน็ ขนั้ ตอน ความรู้เปน็ ขน้ั ตอน ความรูเ้ ป็นขั้นตอน ความรเู้ ป็นขน้ั ตอน ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ได้อย่างถกู ต้องเป็น ไดเ้ ป็นบางส่วน ได้แตต่ อ้ งคอย สว่ นใหญ่ แนะนำเปน็ สว่ น ใหญ่ 3. มีการวางแผนใน มกี ารวางแผนใน มีการวางแผนใน สามารถวาง 5 ความสามารถ การแกป้ ัญหาอย่าง การแกป้ ัญหาอย่าง การแกป้ ญั หาอย่าง แผนการแกป้ ัญหา ในการแก้ปญั หา เป็นขั้นตอนและ เป็นข้ันตอนและ เป็นข้นั ตอนและ ไดแ้ ตต่ อ้ งคอย ปฏิบัตติ ามแผนที่ ปฏิบตั ติ ามแผนท่ี ปฏบิ ตั ิตามแผนที่ แนะนำเปน็ ส่วน กำหนดไว้ทุก กำหนดไว้ตาม กำหนดไวเ้ ปน็ ใหญ่ ข้นั ตอน ขัน้ ตอนเปน็ ส่วน บางสว่ น ใหญ่ เกณฑก์ ารตัดสนิ คะแนน 49 - 60 หมายถึง ดีมาก คะแนน 37 - 48 หมายถงึ ดี คะแนน 26 - 36 หมายถึง พอใช้ คะแนน 0 - 25 หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑก์ ารผา่ น ตัง้ แต่ระดบั ดขี ึ้นไป
แบบประเมนิ สมรรถนะของผ้เู รยี น ผลการประเมนิ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 สิง่ มชี ีวิต บทที่ 1 สง่ิ มีชีวิตรอบตวั เรื่อง เราจำแนกสง่ิ มีชีวติ ไดอ้ ย่างไร คำชี้แจง : แบบประเมินฉบับนี้เป็นการประเมนิ สมรรถนะของผู้เรยี น โดยการประเมนิ ระดับคะแนนสมรรถนะของผู้เรียนลงในช่องรายการประเมนิ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4/5 รายการประเมิน เลขท่ี ชอ่ื -สกุล คววามสามารถในการสื่อสาร รวมคะแนน ความสามารถในการคิด ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กชายเมธาวิชย์ มาสัก ความสามารถในการแ ้ก ัปญหา 2 เดก็ ชายตรีภพ วุฒธิ รรมกลุ 3 เดก็ ชายพัฒนรัฐ พยคั ฆนั ตร 4 4 4 คะแนน x น้ำหนกั 4 เดก็ ชายกลวัชร ปกติ 5 เด็กชายปกรณ์ บญุ มา (5) (5) (5) (60) 6 เด็กชายอทิ ธิพล ปงิ ชยั 7 เด็กชายเปีย่ มสขุ หม่นื สุข 8 เด็กชายณฎั ฐากร จินายะ 9 เด็กชายบญุ วีร์ วไิ ลสง่ากลุ 10 เด็กชายสริ วิชญ์ วัฒนาพนั ธ์ุ 11 เด็กชายชษิ ณุพงศ์ สสุ มวงค์ 12 เดก็ ชายพีระพงษ์ ปุกเจริญ 13 เดก็ ชายธิติวฒุ ิ เชาว์แลน่ 14 เดก็ ชายศจั นันท์ กันแดง 15 เดก็ ชายวชริ วิทย์ ขวัญเขยี ว 16 เด็กหญิงกมลฉตั ร มง่ั มูล
รายการประเมนิ ผลการประเมิน เลขที่ ชื่อ-สกุล คววามสามารถในการสื่อสาร รวมคะแนน ความสามารถในการคิด ผ่าน ไมผ่ า่ น ความสามารถในการแ ้ก ัปญหา 4 4 4 คะแนน x น้ำหนกั (5) (5) (5) (60) 17 เดก็ หญิงณภาภัช พุทธปวน 18 เด็กหญงิ กรรณิกา แก้วคำ 19 เด็กหญงิ ปวันพัสตร์ เขยี วเจริญ 20 เด็กหญงิ จริ ัชยา ใจพิงค์ 21 เดก็ หญิงอมรรัตน์ อรุณเรอื งศิรเิ ลศิ 22 เดก็ หญิงปุณยวีร์ ยะบญุ ธง 23 เด็กหญงิ ธัญญาศิริ แฝงเวียง 24 เดก็ หญิงชาตญิ าดา มาแดงสาย 25 เดก็ หญงิ เอมกิ า ศรบี ญุ ยัง 26 เด็กหญงิ ชุติกาญจน์ ชายสัก 27 เด็กหญิงณฐั ศศิ ตยิ ายน 28 เด็กหญงิ ดาลียา ชวลติ เรืองรอง 29 เดก็ หญงิ ศศินภิ า หน่อแนวอ้าย 30 เด็กหญิงพยิ ดา สวุ รรณมา 31 เดก็ หญิงดุจเดือน เคนเครือ 32 เด็กหญงิ กฤตพร เรือนทราย 33 เด็กหญิงชนกานต์ มะโนเพญ็ 34 เด็กหญิงภคั จริ า ใจอ้าย 35 เด็กหญงิ รักษอร ย้มิ นาค 36 เด็กหญงิ ชญานษิ ฐศ์ า ใสสอาด 37 เด็กหญงิ ภัทราภรณ์ สุวรรณมงคล 38 เด็กหญิงปาณณนาถ อ่องสมบูรณ์ 39 เดก็ หญิงพรหมนำ้ มนต์ ปินทรายมูล
รายการประเมนิ ผลการประเมิน เลขท่ี ช่ือ-สกลุ คววามสามารถในการสื่อสาร รวมคะแนน ความสามารถในการคิด ผา่ น ไมผ่ า่ น ความสามารถในการแ ้ก ัปญหา 4 44 คะแนน x น้ำหนกั (60) (5) (5) (5) 40 เดก็ หญิงวัฒนวดี มั่นกลน่ิ เกณฑก์ ารตัดสนิ คะแนน 49 - 60 หมายถงึ ดีมาก คะแนน 37 - 48 หมายถงึ ดี คะแนน 26 - 36 หมายถึง พอใช้ คะแนน 0 - 25 หมายถงึ ปรบั ปรงุ เกณฑ์การผา่ น ต้ังแต่ระดับดีขึ้นไป ลงชือ่ …………………………………………… (นางสาวสายฝน ตะ๊ วนั นา) ผปู้ ระเมนิ
เกณฑ์การประเมนิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะแหง่ ระดับคะแนน นำ้ หนกั 5 ศตวรรษที่ 21 3 2 1 5 การสื่อสาร (C4) สามารถนำเสนอข้อมูล สามารถนำเสนอข้อมลู สามารถนำเสนอข้อมูล จากการอภปิ ราย จากการอภปิ ราย จากการอภิปราย เกย่ี วกบั การจำแนก เก่ียวกับการจำแนก เกยี่ วกบั การจำแนก ส่งิ มีชวี ติ โดยใช้การ ส่ิงมีชวี ติ โดยใช้การ สงิ่ มชี ีวิตโดยใชก้ าร เคลื่อนท่แี ละการสร้าง เคลอื่ นที่และการสร้าง เคลอ่ื นท่ีและการสรา้ ง อาหารเป็นเกณฑใ์ น อาหารเป็นเกณฑใ์ น อาหารเปน็ เกณฑ์ใน รูปแบบแผนภาพ หรอื รูปแบบแผนภาพ หรอื รูปแบบแผนภาพ หรอื รปู แบบอื่นๆ ใหค้ นอ่ืน รูปแบบอื่นๆ ให้คนอ่นื รปู แบบอน่ื ๆ ให้คนอน่ื เขา้ ใจได้ถูกตอ้ ง เขา้ ใจไดถ้ กู ตอ้ ง เข้าใจได้ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน ดว้ ยตนเอง ครบถ้วน จากการช้แี นะ ครบถ้วน แมว้ ่าจะได้ ของครูหรือผอู้ ่ืน รบั คำชีแ้ นะจากครหู รือ ผอู้ นื่ ความรว่ มมือ (C5) สามารถทำงานรว่ มกบั สามารถทำงานร่วมกบั สามารถทำงานรว่ มกับ ผ้อู น่ื ในการสังเกต การ ผูอ้ ืน่ ในการสงั เกต การ ผอู้ ื่นไดใ้ นบางครั้งทีท่ ำ นำเสนอ และการแสดง นำเสนอ และการแสดง กิจกรรม ความคิดเหน็ เพอื่ ความคิดเห็น เพ่อื จำแนกสง่ิ มีชวี ิตออกเป็น จำแนกสง่ิ มชี วี ิตออกเปน็ กลุ่มพชื กลุ่มสัตว์ และ กลมุ่ พืช กล่มุ สัตว์ และ กลมุ่ ทไ่ี ม่ใชพ่ ืชและสตั ว์ กลุ่มที่ไมใ่ ช่พืชและสัตว์ รวมทั้งยอมรับความ รวมทัง้ ยอมรับความ คิดเห็นของผ้อู น่ื ตัง้ แต่ คิดเห็นของผู้อนื่ ต้ังแต่ เร่มิ ตน้ จนสำเร็จ เริ่มตน้ จนสำเรจ็ จาก การชี้แนะของครูหรือ ผอู้ น่ื เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 25 - 30 หมายถงึ ดมี าก คะแนน 19 - 24 หมายถงึ ดี คะแนน 16 - 18 หมายถึง พอใช้ คะแนน 0 - 15 หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑ์การผ่าน ตัง้ แต่ระดับดีข้นึ ไป
แบบประเมนิ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 สิ่งมชี ีวติ บทท่ี 1 ส่งิ มีชวี ิตรอบตัว เร่ือง เราจำแนกสิ่งมชี วี ิตได้อยา่ งไร คำชีแ้ จง : แบบประเมนิ ฉบับนี้เปน็ การประเมินทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 โดยการประเมนิ พฤติกรรมทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั คะแนนผูเ้ รียนลงในช่องรายการประเมนิ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/5 รายการประเมนิ ผลการประเมนิ เลขที่ ชอ่ื -สกลุ การส่ือสาร (C4) รวม ความร่วม ืมอ (C5) คะแนน ผา่ น ไม่ผา่ น 3 3 คะแนน x นำ้ หนัก (5) (5) (30) 1 เด็กชายเมธาวิชย์ มาสัก 2 เด็กชายตรภี พ วุฒิธรรมกลุ 3 เดก็ ชายพฒั นรัฐ พยัคฆนั ตร 4 เดก็ ชายกลวชั ร ปกติ 5 เด็กชายปกรณ์ บญุ มา 6 เด็กชายอทิ ธิพล ปิงชัย 7 เด็กชายเปย่ี มสุข หมนื่ สขุ 8 เด็กชายณัฎฐากร จนิ ายะ 9 เดก็ ชายบุญวีร์ วไิ ลสงา่ กลุ 10 เด็กชายสิรวิชญ์ วัฒนาพนั ธุ์ 11 เด็กชายชิษณุพงศ์ สุสมวงค์ 12 เดก็ ชายพรี ะพงษ์ ปุกเจริญ 13 เดก็ ชายธิติวฒุ ิ เชาวแ์ ล่น 14 เดก็ ชายศัจนันท์ กันแดง 15 เด็กชายวชิรวิทย์ ขวญั เขียว 16 เดก็ หญงิ กมลฉัตร มงั่ มูล
รายการประเมิน ผลการประเมนิ เลขที่ ช่อื -สกลุ การส่ือสาร (C4) รวม ความร่วม ืมอ (C5) คะแนน ผ่าน ไม่ผา่ น 3 3 คะแนน x (5) น้ำหนัก (5) (30) 17 เด็กหญิงณภาภชั พุทธปวน 18 เด็กหญงิ กรรณิกา แก้วคำ 19 เด็กหญิงปวนั พัสตร์ เขียวเจริญ 20 เด็กหญงิ จริ ัชยา ใจพิงค์ 21 เด็กหญิงอมรรัตน์ อรณุ เรืองศิรเิ ลศิ 22 เดก็ หญิงปุณยวีร์ ยะบญุ ธง 23 เด็กหญงิ ธัญญาศิริ แฝงเวยี ง 24 เด็กหญงิ ชาติญาดา มาแดงสาย 25 เดก็ หญงิ เอมกิ า ศรบี ุญยงั 26 เดก็ หญงิ ชตุ ิกาญจน์ ชายสัก 27 เดก็ หญิงณฐั ศศิ ตยิ ายน 28 เด็กหญงิ ดาลียา ชวลติ เรืองรอง 29 เด็กหญงิ ศศนิ ิภา หนอ่ แนวอ้าย 30 เด็กหญิงพยิ ดา สวุ รรณมา 31 เด็กหญงิ ดจุ เดือน เคนเครือ 32 เดก็ หญงิ กฤตพร เรอื นทราย 33 เด็กหญงิ ชนกานต์ มะโนเพ็ญ 34 เดก็ หญิงภคั จริ า ใจอา้ ย 35 เด็กหญิงรักษอร ยมิ้ นาค 36 เดก็ หญงิ ชญานิษฐศ์ า ใสสอาด 37 เด็กหญิงภัทราภรณ์ สุวรรณมงคล 38 เด็กหญิงปาณณนาถ ออ่ งสมบูรณ์ 39 เด็กหญิงพรหมน้ำมนต์ ปินทรายมูล
รายการประเมนิ ผลการประเมนิ เลขที่ ชือ่ -สกลุ การส่ือสาร (C4) รวม ความร่วม ืมอ (C5) คะแนน ผา่ น ไม่ผ่าน 3 3 คะแนน x (5) นำ้ หนัก (5) (30) ดีมาก 40 เด็กหญิงวฒั นวดี ม่นั กลน่ิ ดี พอใช้ เกณฑก์ ารตัดสนิ ปรบั ปรุง คะแนน 25 - 30 หมายถึง คะแนน 19 - 24 หมายถงึ คะแนน 16 - 18 หมายถึง คะแนน 0 - 15 หมายถงึ เกณฑก์ ารผ่าน ตงั้ แตร่ ะดับดีขึน้ ไป ลงชอ่ื …………………………………………… (นางสาวสายฝน ตะ๊ วนั นา) ผปู้ ระเมิน
13. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 13.1 ด้านความรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13.2 ด้านทกั ษะกระบวนการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13.3 ดา้ นเจตคติ คา่ นิยม คณุ ธรรม จริยธรรม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13.4 ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13.5 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 14.6 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13.6 ขอ้ เสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ……………………………………… (นางสาวสายฝน ตะ๊ วนั นา) ครผู ูส้ อน
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 14101 วิชา วทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 ส่ิงมชี ีวิต บทที่ 1 สง่ิ มีชวี ติ รอบตัว เร่อื ง เราจำแนกสัตวไ์ ดอ้ ย่างไร เวลา 2 ชัว่ โมง ช่อื ผู้สอน นางสาวสายฝน ต๊ะวนั นา โรงเรียนอนุบาลลำพนู วันทีส่ อน ………………………………………… 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธุกรรม การเปล่ยี นแปลงทางพนั ธุกรรมทม่ี ีผลต่อสิ่งมีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ ของสง่ิ มชี วี ติ รวมท้ังนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ตัวช้วี ดั ว 1.3 ป. 4/3 จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้ การมีกระดกู สนั หลงั เปน็ เกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้ 2. สาระสำคัญ ส่งิ มีชวี ิตมหี ลายชนดิ ซง่ึ มลี ักษณะบางอย่างเหมือนกนั และแตกต่างกัน ซ่งึ สามารถนำมาใชเ้ ป็นเกณฑ์ ในการจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ ในกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ ยังสามารถจัดเปน็ กลมุ่ ยอ่ ยไดอ้ กี ขึ้นอยกู่ ับเกณฑ์ท่ีใช้ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) - สามารถอธิบายลักษณะของสตั ว์มกี ระดูกสนั หลังและสัตวไ์ มม่ ีกระดูกสนั หลังได้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - สามารถจำแนกสัตวอ์ อกเปน็ สตั วม์ ีกระดูกสันหลังและสตั ว์ไม่มีกระดกู สันหลงั ได้ ดา้ นคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ (A) - นกั เรยี นมีความสนใจใฝเ่ รยี นรู้ 4. สาระการเรยี นรู้ สัตวม์ กี ระดูกสันหลงั มีหลายกลุ่ม ไดแ้ ก่ กลุม่ ปลา กลุ่มสัตวส์ ะเทนิ นำ้ สะเทินบก กลมุ่ สัตวเ์ ล้ือยคลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสตั วเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยน้ำนม ซ่งึ แต่ละกล่มุ จะมลี ักษณะเฉพาะที่สงั เกตได้
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซื่อสัตยส์ ุจริต มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ มุง่ มัน่ ในการทำงาน 7. ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะการสงั เกต (S1) ทักษะการจำแนกประเภท (S4) ทกั ษะการจดั กระทำ และสื่อความหมาย (S6) ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมลู S8) ทกั ษะการตคี วามหมายข้อมูล และการลงข้อสรุปข้อมลู (S13) 8. กิจกรรมบูรณาการแนวคดิ การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การสื่อสาร (C4) ความร่วมมอื (C5) ความใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (C6) 9. ชิน้ งาน/ภาระงาน 9.1 ภาระงาน: แบบบันทกึ กจิ กรรมที่ 1.2 เราจำแนกสัตวไ์ ดอ้ ย่างไร (ในหนงั สือแบบบันทึกกจิ กรรม รายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เล่ม 1 ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนา้ ท่ี 44-48) 10. กิจกรรมการเรียนรู้ วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 10.1 ข้ันนำเขา้ สู่บทเรยี น (Engagement) 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกยี่ วกบั โครงสร้างของสตั ว์ โดยให้นักเรยี นจับฉลากช่อื สตั ว์ ตาม รายการที่ครู เตรยี มมาลว่ งหน้า นักเรยี นแตล่ ะคนเมอ่ื จบั ฉลากแล้วใหแ้ สดงท่าทางหรือสง่ เสยี งร้องเพือ่ แสดงชนิดของสัตว์ท่ี ตนเองจบั ฉลากได้ จากนัน้ ให้นักเรยี นทีจ่ ับฉลากได้สตั ว์ชนิดเดียวกันมารวมกล่มุ กนั
2. ครูตรวจสอบความรโู้ ดยใชแ้ นวคำถามในการอภิปรายดังตอ่ ไปน้ี คร:ู สัตวท์ นี่ กั เรยี นได้มีชนิดใดบา้ ง? (แนวคำตอบ: สุนขั นก เป็ด หมู กบ ยุง ปลา แมว ววั ไก่ แมงมมุ ม้า แพะ ผงึ้ ตัก๊ แตน) ครู: สัตวเ์ หลา่ นี้ มโี ครงสรา้ งภายนอกเหมอื นหรือแตกต่างกนั อย่างไร? (แนวคำตอบ: มีทั้งเหมือนกันและแตกต่างกัน เช่น สุนัขมีขา 4 ขา มีหาง นกและเป็ดมี 2 ขา มหี างและปกี ผงึ้ และยุงมขี า 6 ขา มีปีก สว่ นปลาไม่มขี า) ครู: สตั วเ์ หลา่ นี้ มโี ครงสรา้ งภายในเหมอื นหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร? (แนวคำตอบ: มีทั้งเหมือนกันและแตกต่างกัน เช่น สุนัข นกและเป็ด ต่างก็มีโครงกระดูกภายใน เหมอื นกัน ซ่ึงแตกตา่ งจากผึง้ ยงุ และต๊กั แตน ท่ีไม่มโี ครงกระดกู ภายใน) 3. ครนู ำเขา้ สูบ่ ทเรียนโดยการถามคำถาม เพือ่ กระต้นุ ให้นกั เรยี นสนใจ โดยให้นักเรยี นดูภาพ ดงั ตอ่ ไปน้ี ภาพที่ 1 การต์ ูนสัตว์ (ที่มา: https://th.aliexpress.com/item/32813812366.html) ครู : ในภาพท่ีนักเรียนเหน็ มีสัตว์อะไรบา้ ง? (แนวการตอบ: กวาง กระต่าย เป็ด นก ผีเส้อื ลิง แกะ เตา่ กระรอก) ครู: สัตวใ์ นภาพน้ี สามารถจำแนกไดห้ รอื ไม่? (แนวการตอบ: ได้) คร:ู นกั เรียนคดิ วา่ มีเกณฑใ์ ดบ้าง? (แนวการตอบ: แหลง่ ท่อี ย่อู าศัย โครงสร้างภายนอก โครงสร้างภายใน) ครู: จากภาพถ้าจำแนกตามแหลง่ ท่อี ยอู่ าศัย จะจัดได้อยา่ งไร? (แนวการตอบ: อาศยั บนบก และอาศัยในนำ้ ) คร:ู ถา้ จำแนกตามโครงสร้างภายนอก จะจัดไดอ้ ย่างไร? (แนวการตอบ: มปี าก ตา หู ปกี เท้า) คร:ู จำแนกตามโครงสร้างภายใน จะจัดไดอ้ ย่างไร? (แนวการตอบ: มกี ระดกู สนั หลงั กบั ไม่มีกระดกู สันหลงั )
10.2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 1. ครใู ห้นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏบิ ัติกจิ กรรมและชีแ้ จงกจิ กรรมที่ 1.2 เรือ่ ง เราจำแนก สตั วไ์ ด้อย่างไร ดงั น้ี จุดประสงค์ 1. สังเกตและอธบิ ายโครงสรา้ งภายนอกและโครงสรา้ งภายในของสัตวช์ นิดต่าง ๆ 2. จำแนกสัตวอ์ อกเปน็ กล่มุ โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเปน็ เกณฑ์ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ (บตั รภาพสง่ิ มีชวี ติ ) วิธกี ารดำเนนิ กิจกรรม 1) รว่ มกันสังเกตและอภิปรายโครงสร้างภายนอกของสตั วใ์ นบตั รภาพ 2) กำหนดเกณฑ์ในการจำแนกสัตว์โดยใช้โครงสร้างภายนอกที่สังเกตได้ และจัดกลุ่มตามเกณฑ์ ทก่ี ลุม่ กำหนด บันทกึ ผล 3) นำเสนอผลการจดั กลุม่ สตั ว์ และเปรยี บเทยี บผลการจัดกล่มุ ของตนเองกับเพ่ือน 4) ร่วมกันศึกษาสัตว์ 2 ชนิดที่อยู่ในบัตรภาพ ได้แก่ ปลาและกุ้ง โดยสังเกตโครงสร้างภายนอก และโครงสรา้ งภายใน บันทึกผลโดยการวาดรปู 5) อภิปราย และเปรียบเทยี บโครงสร้างภายในของปลาและกุง้ และระบุส่วนท่ีเป็นกระดูกสันหลงั ลงในรูปท่ีวาดไว้ 6) สังเกตโครงสร้างภายในของสัตว์อื่น ๆ ในบัตรภาพ และจำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่ม โดยใช้การมกี ระดกู สนั หลงั เป็นเกณฑ์ บันทึกผล 7) ครูให้นักเรียนใช้แอฟลิเคชันสำหรับการสังเกตภาพเสมือนจริง ( AR) ของการผ่าและสังเกต โครงสรา้ งภายในของปลาและกุ้งได้ ในหนงั สือเรยี น หน้า 53 8) นำเสนอผลการจัดกลมุ่ ในรปู แบบที่นา่ สนใจ 2. ครใู หเ้ วลานักเรยี นทำการทดลอง และบันทึกผลการทดลองลงในแบบบนั ทึกกจิ กรรมท่ี 1.2 10.3 ขัน้ อภิปรายและลงข้อสรปุ (Explanation) 1. ครูให้นักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย โดยใช้คำถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี ครู: นกั เรยี นใชเ้ กณฑ์ใดบา้ งในการจดั สัตวอ์ อกเป็นกลุ่ม? (แนวคำตอบ: นักเรียนตอบตามข้อมลู จรงิ ในหอ้ งเรยี น) ครู: ครูจะสุ่มเลือกเกณฑ์ที่นักเรียนใช้มา 1 เกณฑ์ เช่น เกณฑ์การมีขาและถามว่าสามารถ จัดสัตว์ออกเป็นกก่ี ลมุ่ แตล่ ะกลุ่มมีสตั ว์ชนิดใดบา้ ง? (แนวคำตอบ: นกั เรยี นตอบตามข้อมลู จรงิ ในหอ้ งเรียน) ครู: ถา้ เปลี่ยนเกณฑใ์ นการจัดกลุ่ม ชนดิ ของสตั วใ์ นกลมุ่ ตา่ ง ๆ จะเหมือนเดมิ หรอื ไม่? (แนวคำตอบ: ชนิดของสตั ว์ในกลุม่ อาจเหมือนเดิมหรือแตกตา่ งไปจากเดิม)
คร:ู ปลาและกงุ้ มีโครงสรา้ งภายนอกและภายในเหมอื นหรอื แตกตา่ งกันอย่างไร? (แนวคำตอบ: ปลาและกุ้งมีโครงสร้างภายนอกที่เหมือนกัน คือ มีหัว ตา ปาก หาง มีโครงสร้าง ภายนอกทแ่ี ตกตา่ งกนั คอื ปลามีลาตัวแบน ตรง สว่ นกุง้ มลี าตวั กลม และงอ ปลามีผวิ หนังและเกล็ดห่อหุ้มตัว แต่กุ้งมเี ปลอื กแข็งเปน็ ปลอ้ ง ๆ หมุ้ ลำตวั ปลาและก้งุ มีโครงสรา้ งภายในทีแ่ ตกต่างกนั คือ ปลามโี ครงกระดูกแข็ง หรอื ก้าง แตก่ ุ้งไม่มี และอวัยวะภายในของปลาอย่ใู นช่องท้อง สว่ นของก้งุ อย่ทู ่ีหวั ) คร:ู กา้ งของปลามลี กั ษณะอยา่ งไร? (แนวคำตอบ: มีลักษณะเป็นกระดูกแข็งเรียงต่อกันเป็นข้อ ๆ ตามแนวยาวของลำตัวอยู่บริเวณ กลางหลงั ) ครู: ก้างของปลาที่เรยี งตอ่ กันเป็นข้อ ๆ ตามแนวยาวของลาตัวคอื สว่ นใดในร่างกายของสตั ว์? (แนวคำตอบ: กระดูกสันหลงั ) คร:ู กุ้งมีกระดกู สันหลงั หรือไม่? (แนวคำตอบ: ก้งุ ไม่มีกระดกู สนั หลงั ) คร:ู นกั เรยี นจดั กลุ่มสตั วโ์ ดยใช้เกณฑ์การมกี ระดูกสันหลังได้เป็นก่กี ลุ่ม อะไรบา้ ง? (แนวคำตอบ: 2 กลุม่ คือ กลุม่ ท่ีมีกระดกู สนั หลังและกลมุ่ ท่ีไม่มกี ระดกู สันหลงั ) คร:ู ในบตั รภาพมีสตั วช์ นิดใดบ้างท่ีมีกระดูกสนั หลงั ? (แนวคำตอบ: เต่า กิ้งก่า นก) คร:ู ในบัตรภาพมสี ตั ว์ชนิดใดบ้างท่ีไม่มกี ระดกู สันหลงั ? (แนวคำตอบ: แมงมมุ พยาธิ ฟองนำ้ ) คร:ู ลักษณะโครงสร้างภายในของสัตวท์ ้ัง 2 กลมุ่ เหมอื นหรือแตกตา่ งกันอยา่ งไร? (แนวคำตอบ: แตกต่างกัน คือ กลุ่มที่มีกระดูกสันหลังจะมีกระดูกสันหลังอยู่ภายในร่างกาย มีลกั ษณะเปน็ ข้อ ๆ เรียงตอ่ กัน ส่วนกลุม่ ท่ีไม่มีกระดูกสันหลัง ภายในร่างกายจะไม่มีกระดกู ) 2. ครูใหน้ กั เรียนลองจบั บรเิ วณกลางหลังของเพื่อนต้ังแตค่ อลงมาจนถึงเอว แลว้ ใช้คำถามดังน้ี ครู: มนษุ ย์มกี ระดูกสันหลงั หรอื ไม่? (แนวคำตอบ: มนษุ ยม์ ีกระดูกสันหลงั ) คร:ู กระดกู สันหลังของมนุษย์มีลักษณะอย่างไร? (แนวคำตอบ: เปน็ ขอ้ ๆ ตอ่ กันเป็นแนวยาวจากคอจนถงึ เอว) ครู: ถ้าจะจัดกลุ่มสัตว์โดยใช้กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ มนุษย์จะอยู่ในกลุ่มเดียวกับปลาหรือกุ้ง เพราะเหตใุ ด? (แนวคำตอบ: อยู่กลมุ่ เดยี วกบั ปลา เพราะมกี ระดูกสันหลงั เหมอื นกนั ) 3. ครูร่วมอภิปรายและลงข้อสรุปว่า เราสามารถจำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ได้โดยใช้เกณฑ์ และถ้าใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ เราจะจัดกลุ่มสัตว์ได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีกระดูกสันหลัง เช่น มนุษย์ ปลา กบ กิ้งก่า เต่า นก ซาลาแมนเดอร์ ปลากระเบน เป็ด เสือ หมีแ พนด้า และกลุ่มที่ไม่มี กระดกู สันหลงั เช่น กงุ้ ดอกไมท้ ะเล ดาวทะเล ผ้งึ พยาธิตวั ตืด ฟองนา แมงมมุ ไส้เดือนดิน หมึก หอยทาก
10.4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครอู ธิบายเพมิ่ เติมเก่ียวกบั สัตวม์ กี ระดกู สันหลงั และสัตว์ไมม่ ีกระดูกสันหลงั คร:ู สตั วม์ กี ระดกู สันหลัง คอื กระดูกสนั หลังจะอยู่เป็นแนวยาวไปตามด้านหลังของสัตว์ กระดูกสัน หลังจะต่อกนั เป็นขอ้ ๆ ยดื หยนุ่ เคล่อื นไหวได้มหี นา้ ทช่ี ่วยพยุงร่างกายใหเ้ ป็นรูปร่างทรวดทรง อยไู่ ด้และยังช่วย ป้องกันเสน้ ประสาทอกี ด้วย สัตวพ์ วกมีกระดูกสันหลัง นักวทิ ยาศาสตรย์ งั แบ่งออกเปน็ 5 พวกคือ ครู: สตั ว์จำพวกปลา ภาพท่ี 2 ปลาการ์ตนู (ท่มี า: http://www.komkid.com) ครู: สัตว์ครงึ่ บกคร่งึ นำ้ ภาพที่ 3 กบ (ทม่ี า: http://www.cnewsla.com/) คร:ู สัตว์เลื้อยคลาน ภาพที่ 4 งูจงอาง (ท่ีมา: https://www.tnews.co.th/headshot/372869/)
ครู: สตั วป์ ีก ภาพท่ี 5 นกแกว้ (ท่ีมา: http://www.northbirding.com/birdcharms.html) คร:ู สตั วเ์ ลีย้ งลกู ด้วยนำ้ นม ภาพที่ 5 ลงิ (ที่มา: https://sites.google.com/a/rpg15.ac.th/animal-animal/22-ling) คร:ู สตั ว์ไม่มกี ระดกู สันหลงั หมายความรวมถึงสัตวท์ ่ไี ม่มีแท่งกระดูกสันหลังสำหรบั ยดึ ตดิ ให้เป็นส่วน เดยี วกนั ของร่างกาย จดั เปน็ สัตว์ประเภททีไ่ ม่มีกระดกู และไม่มีกระดกู ออ่ นอยูภ่ ายในร่างกาย มีความแตกต่าง จากสตั วท์ ่มี ีกระดกู สนั หลัง ทท่ี ้งั หมดถูกจดั อยใู่ นไฟลัมเดยี วในอาณาจักรสัตว์ แต่สำหรับสตั ว์ไมม่ ีกระดูกสนั หลัง มีจำนวนมากมายหลากหลายไฟลัม และมจี ำนวนมากกวา่ สตั ว์ท่ีมกี ระดกู สนั หลงั มากที่สุดในโลก สตั ว์จำพวกไม่ มีกระดูกสนั หลังมจี ำนวนมากว่าสตั ว์พวกมกี ระดกู สันหลัง แบง่ เปน็ ครู: พวกฟองน้ำ ภาพที่ 6 ฟองนำ้ ทะเล (ที่มา: https://biogen14.wordpress.com/2010/06/13/)
คร:ู พวกสัตว์ลำตัวกลวง ภาพท่ี 7 แมงกะพรนุ (ท่ีมา: https://today.line.me/th/pc/article/) ครู: พวกหนอนตัวแบน ภาพที่ 8 พลานาเรีย (ทม่ี า: https://sites.google.com/a/rpg15.ac.th/animal-animal/20-hidra) ครู: พวกสัตว์ทะเลผวิ ขรุขระ ภาพที่ 9 ดาวทะเล (ทีม่ า: https://www.sanook.com/campus/941896/)
ครู: หนอนตวั กลม ภาพที่ 10 พยาธิเส้นดา้ ย (ทม่ี า: https://thaihealthlife.com/) คร:ู พวกหอยกับหมกึ ภาพที่ 11 หอยทาก ภาพที่ 12 หมกึ ยักษ์ (ท่มี าภาพที่ 11: http://www.grandtripper.com/article_web_detail.html) (ท่ีมาภาพท่ี 12: https://prangthip3008.wordpress.com/) คร:ู พวกสัตวม์ ขี าเปน็ ข้อเป็นปล้อง ภาพที่ 13 แมงมุม (ท่มี า: http://marionscatholicschools.com/.html)
คร:ู พวกสตั ว์ที่มขี า 10 ขา ภาพท่ี 14 ปู (ท่มี า: https://phuketaquarium.org.crab/) ครู: หนอนปล้อง ภาพที่ 15 ไส้เดอื น (ท่ีมา: https://th.crazypng.com/748.html) 2. นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใชค้ ำถามเพิ่มเตมิ ในการอภิปราย เพื่อใหไ้ ดแ้ นวคำตอบท่ีถูกตอ้ ง ครู: ผลการจำแนกสัตว์ในบัตรภาพออกเปน็ กลุ่มของแตล่ ะกลุ่ม เหมือนกันหรือไม่ เพราะเหตใุ ด? (แนวคำตอบ: คำตอบขึ้นอยู่กับเกณฑ์การจำแนกของนักเ รียนในห้อง เช่น เหมือนกัน เพราะ ใชเ้ กณฑ์เดยี วกนั ในการจำแนก หรือแตกตา่ งกัน เพราะใช้เกณฑแ์ ตกตา่ งกันในการจำแนก) คร:ู โครงสร้างภายในของปลาและกงุ้ มลี ักษณะแตกตา่ งกนั อย่างไร? (แนวคำตอบ: แตกต่างกัน คือ โครงสร้างภายในของปลาจะมีอวัยวะภายในอยู่ในช่องท้อง และกระดกู สันหลัง ทอดยาวจากสว่ นหัวไปถงึ หาง ส่วนโครงสรา้ งภายในของกุ้งจะมี อวยั วะภายในอยทู่ ่สี ่วนหัว และไมม่ ีกระดูกสันหลัง) ครู: กระดกู สันหลงั อยทู่ สี่ ่วนใดของร่างกาย และมลี ักษณะอยา่ งไร? (แนวคำตอบ: อยใู่ นร่างกายบริเวณกลางลำตวั มลี ักษณะเป็นกระดูกแข็งเรียงเป็นข้อ ๆ เชื่อมต่อกัน ทอดยาวอยูใ่ นร่างกายของสัตว์ส่วนท่ีตดิ กบั หลัง จากศีรษะจนถึงหาง)
ครู: การจำแนกสัตว์ในบัตรภาพตามเกณฑ์การมีกระดูกสันหลัง จัดได้กี่กลุ่ม แต่ละกลุ่ม มสี ตั ว์อะไรบา้ ง? (แนวคำตอบ: 2 กลุ่ม คือ กลุ่มมีกระดูกสันหลัง ได้แก่ กบ กิ้งก่า ซาลาแมนเดอร์ เต่า นก ปลา กระเบน ปลา เป็ด เสือ หมีแพนด้า และกลุ่มไม่มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ กุ้ง ดอกไม้ทะเล ดาวทะเล ผึ้ง พยาธิตวั ตืด ฟองนำ้ แมงมมุ ไสเ้ ดอื นดิน หมกึ หอยทาก) ครู: การจำแนกสัตว์โดยใช้เกณฑ์ที่กลุ่มกำหนดและตามเกณฑ์การมี กระดูกสันห ลัง ได้ผลเหมือนหรอื แตกตา่ งกันอย่างไร? (แนวคำตอบ: คำตอบขึ้นอยู่กบั เกณฑ์การจำแนกของกลุ่ม เช่น เหมือนกัน เพราะ เกณฑ์ที่กลุม่ ใช้ คือ การมีกระดูกสันหลัง หรือแตกต่างกัน เพราะกลุ่มใช้เกณฑ์การมีขา ทำให้รายชื่อสัตว์ที่จำแนกได้ แตกต่างจากรายชอื่ สัตวท์ ่จี ำแนกโดยใชเ้ กณฑ์การมกี ระดูกสนั หลงั ) ครู: จากกิจกรรมน้ี ค้นพบอะไรบา้ งเกีย่ วกับการจำแนกสตั ว์? (แนวคำตอบ: สัตว์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างภายนอกบางอย่างเหมือนและบางอย่างแตกต่างกัน สามารถใช้โครงสร้างภายนอกเป็นเกณฑ์ในการจำแนกสตั ว์ออกเป็นกลุ่มได้ นอกจากนั้นเราอาจจำแนกสัตว์ ตามโครงสร้างภายใน ซึ่งพบว่าสัตว์บางชนิดมีกระดูก สันหลัง บางชนิดไม่มีกระดูกสันหลัง จึงสามารถใช้ ลักษณะการมกี ระดูกสนั หลัง เป็นเกณฑใ์ นการจำแนกสัตว์ออกเปน็ กลุ่ม คอื สตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั และกลุ่มสัตว์ ไมม่ กี ระดกู สันหลัง) คร:ู จากสิ่งทค่ี น้ พบ สรปุ ไดว้ ่าอยา่ งไร? (แนวคำตอบ: การจำแนกสัตวอ์ อกเปน็ กลุ่ม อาจทำได้โดยใชล้ กั ษณะภายนอกเป็นเกณฑ์การจำแนก แต่ถ้าใช้เกณฑ์การมีกระดูกสันหลัง จะจำแนกกลุ่มสัตว์ออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง และกลุ่มสัตว์ไมม่ ีกระดกู สันหลงั ) 3. ครูให้นกั เรียนทำใบงานที่ 2 เร่อื ง การจำแนกสตั ว์ 10.5 ขั้นประเมินผล (Evaluation) 1. ครใู ห้นักเรียนแต่ละคนพจิ ารณาวา่ จากหัวข้อท่ีเรียนและการปฏิบตั ิกิจกรรมนนั้ นักเรียนมีจุดใดบ้าง ทยี่ ังไมเ่ ขา้ ใจหรือยงั มขี ้อสงสัย ถามมคี รชู ว่ ยอธบิ ายเพม่ิ เติมใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจ 2. ครูทดสอบความเข้าของนักเรียนโดยใช้คำถาม 3. สังเกตพฤตกิ รรมในระหวา่ งปฏิบตั ิกจิ กรรมการทดลอง 4. ตรวจแบบบนั ทกึ กิจกรรมท่ี 1.2 เรื่อง เราจำแนกสตั วไ์ ดอ้ ย่างไร
11. ส่ือการเรยี นร/ู้ แหล่งเรียนรู้ 11.1 สื่อการเรยี นรู้ - หนังสอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 เล่ม 1 หน้าที่ 52 - 55 - แบบบันทกึ กิจกรรมที่ 1.2 เราจำแนกสตั ว์ไดอ้ ยา่ งไร (ในหนงั สอื แบบบนั ทึกกจิ กรรม รายวชิ าพ้นื ฐาน วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เล่ม 1 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 หน้าที่ 44 - 48) - สอ่ื นำเสนอ PowerPoint เรอ่ื ง เราจำแนกสตั ว์ไดอ้ ย่างไร 11.2 แหลง่ เรียนรู้ - หอ้ งสมุดโรงเรียน - หอ้ งปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์ 12. การวดั ผลและการประเมินผลการเรียนรู้ 12.1 การวัดผล การวดั ผลและ รายการ เคร่ืองมอื การวดั วิธีการวัด เกณฑก์ ารประเมนิ การประเมินผล ประเมนิ - ไดค้ ะแนนอยู่ในเกณฑ์ ระดบั ดีขน้ึ ไป ด้านความรู้ (K) นักเรียนสามารถ แบบบันทึก ตรวจแบบบันทึก อธิบายลักษณะของ กิจกรรมท่ี 1.2 กจิ กรรมที่ 1.2 ได้คะแนนอยใู่ นเกณฑ์ สัตวม์ ีกระดูกสนั หลัง เราจะจำแนก เราจะจำแนก ระดบั ดีขึน้ ไป และสตั ว์ไมม่ ีกระดูก สัตว์ไดอ้ ยา่ งไร สัตวไ์ ด้อย่างไร ไดค้ ะแนนอยู่ในเกณฑ์ สนั หลังได้ ระดบั ดขี น้ึ ไป ด้านทักษะ นักเรียนสามารถ แบบประเมนิ ทักษะ สงั เกตทักษะ กระบวนการ (P) จำแนกสตั วไ์ ด้ กระบวนการทาง กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ด้านคุณลักษณะ 1. ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ แบบประเมนิ สังเกตพฤติกรรม อันพึงประสงค์ 2. มวี ินัย คุณลักษณะ นกั เรยี นดา้ น 3. ใฝ่เรยี นรู้ อันพงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะอนั พงึ 4. มงุ่ ม่ันในการ ประสงค์ ทำงาน
การวัดผลและ รายการ เครื่องมือการวัด วิธีการวดั เกณฑ์การประเมนิ การประเมินผล ประเมนิ สมรรถนะสำคญั 1. ความสามารถใน - แบบประเมนิ สังเกตพฤตกิ รรม ไดค้ ะแนนอยู่ในเกณฑ์ ของผ้เู รยี น นักเรยี นขณะปฏิบัติ ระดบั ดีขน้ึ ไป การสื่อสาร สมรรถนะของ กิจกรรม 2. ความสามารถใน ผูเ้ รยี น การคดิ 3. ความสามารถใน การแก้ปญั หา ทกั ษะแห่งศตวรรษ 1. การส่อื สาร แบบประเมินทักษะ การสังเกตพฤตกิ รรม ไดค้ ะแนนอยูใ่ นเกณฑ์ ที่ 21 แหง่ ศตวรรษท่ี 21 นักเรียนขณะปฏิบตั ิ ระดับดขี นึ้ ไป 2. ความรว่ มมือ กิจกรรม 3. การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการ ส่อื สาร 12.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมินแบบบนั ทกึ กจิ กรรม ประเดน็ ระดบั คะแนน นำ้ หนกั 32 1 การประเมิน 4 1. ความถูกต้อง เน้ือหาสาระของผลงาน เนอ้ื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ 5 ของเนื้อหา ถกู ตอ้ งครบถ้วน ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกต้อง 3 เปน็ ส่วนใหญ่ บางประเดน็ เป็นสว่ นใหญ่ 2. รูปแบบ การนำเสนอน่าสนใจและ การนำเสนอ การนำเสนอ การนำเสนอไม่ เหมาะสมกับสถานการณ์ ถกู ตอ้ งเป็นส่วน ถกู ตอ้ งบางสว่ น เปน็ ไปตามเกณฑ์ ใหญ่ 3. ความเปน็ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่ ผลงานมี ผลงานไมม่ คี วาม 2 มขี ้อบกพร่อง ขอ้ บกพร่อง เปน็ ระเบียบ ระเบียบ ระเบยี บ บางสว่ น เกณฑ์การตดั สนิ คะแนน 33 - 40 หมายถึง ดีมาก คะแนน 25 - 32 หมายถงึ ดี คะแนน 17 - 24 หมายถงึ พอใช้ คะแนน 10 - 16 หมายถงึ ปรับปรงุ เกณฑ์การผ่าน ต้งั แตร่ ะดับดขี ึ้นไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243