Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือสาระน่ารู้ OCSC EXPO 2018

หนังสือสาระน่ารู้ OCSC EXPO 2018

Published by chantakarn.c, 2018-11-01 22:31:25

Description: หนังสือสาระน่ารู้ OCSC EXPO 2018

Search

Read the Text Version

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศึกษาต่อต่างประเทศ ก คำนำ หนังสือสาระน่ารเู้ ล่มน้ ี จดั ทาข้ นึ โดยศูนยจ์ ดั การศึกษาในต่างประเทศและบริหารความรู้ สานักงาน ก.พ. โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ขอ้ มูล ข่าวสารความรู้ ความเขา้ ใจท่ีถูกต้องเร่ืองการศึกษาต่อในต่างประเทศใหแ้ ก่นักเรียนนักศึกษาและผทู้ ี่สนใจเพอื่ ใชเ้ ป็ นขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจเลือกประเทศ สาขาวชิ ารวมท้งั สถานศึกษาท่ีจะไปศึกษา ใหเ้ หมาะสมตรงกบั ความตอ้ งการ สาระสาคญั ในหนังสือ จะครอบคลุมถึงที่มาของงานดแู ลจดั การศึกษาของสานักงาน ก.พ. การรบั ทุนรฐั บาล ทุนเล่าเรียนหลวง ทุนการศึกษา การรบั สมคั รสอบเว็บไซตเ์ ก่ยี วกบั การศึกษาต่อต่างประเทศ รวมท้งั ขอ้ มลู การศึกษาของประเทศต่างๆเป็ นตน้ ขอ้ มลู ต่างๆเหล่าน้ ี สานักงาน ก.พ. ในฐานะองคก์ รกลางบริหารงานบุคคลภาครัฐซ่ึงมีหน้าท่ีความรับผิดชอบตามกฎหมายในการดูแลจัดการศึกษาของนักเรียนในต่างประเทศ ถือว่าเป็ นเรื่องสาคญั ยิง่ ท่ีจะตอ้ งเผยแพร่ใหเ้ ป็ นที่รบั ทราบโดยทวั่ กนั เพราะการศึกษาต่อต่างประเทศเป็ นแนวทางหน่ึงท่ีจะช่วยเสริมสรา้ งและพฒั นากาลังคนของประเทศใหม้ ีศักยภาพ มีขีดความสามารถในระดบั สากล และสามารถขบั เคล่ือนประเทศส่กู ารแขง่ ขนั ในเวทีโลก สานักงาน ก.พ. หวังเป็ นอย่างย่ิงว่า หนังสือเล่มน้ ีจะเป็ นประโยชน์และแนวทางเบ้ ืองตน้ สาหรบั ผทู้ ่ีจะไปศึกษาต่อต่างประเทศ และผทู้ ่ีสนใจทวั่ ไป ศนู ยจ์ ดั การศึกษาในต่างประเทศและบริหารความรู้ สานักงาน ก.พ. ตุลาคม 61

สาระน่ารเู้ กยี่ วกบั การศึกษาตอ่ ต่างประเทศ 2 ข สำรบญั หน้าคานา………………………………………………………………………………………………………………………………….กสารบญั ……………………………………………………………………………………………………………………………..ขความเป็ นมาของงานดแู ลจดั การศึกษานักเรียนในต่างประเทศ………………………..1ความเป็ นมาของนักเรียนทุนรฐั บาลและทุนเล่าเรียนหลวง………………………………..2ทุนรฐั บาลศึกษาต่อ ณ ตา่ งประเทศ………………………………………………………………………….6คุณสมบตั ิทวั่ ไปของผมู้ ีสิทธสิ มคั รสอบรบั ทุนรฐั บาลเพื่อไปศึกษา …………………..7ณ ต่างประเทศแหล่งขอ้ มลู รายละเอียดทุนและกาหนดการรบั สมคั รสอบ………………………………….9การดาเนินการสอบ ……..……………………………………………………………………………………………..9วธิ ีการสอบ………………………………………………………………………………………………………………….…..เงนิ ทุนท่ีจะไดร้ บั ……………………………………………………………………………………………………………10เงื่อนไขในการรบั ทุน…………………………………………………………………………………………………….10เว็บไซตก์ ารศึกษาต่อต่างประเทศ…………………………………………………………………………….11แหล่งทุนเพ่ือการศึกษาในต่างประเทศ………………………………………………………………..…13การรบั รองวทิ ยฐานะสถาบนั การศึกษาในต่างประเทศ……………………………………..19การใหบ้ ริการสาหรบั นักเรียนทุนส่วนตวั ในความดแู ลของ ก.พ.....................ขน้ั ตอนการเตรียมตวั ไปเรียนตา่ งประเทศ……………………………………………………………..28ระบบการศึกษาและการสมคั รสถานศึกษาของประเทศต่างๆ - เครือรฐั ออสเตรเลีย…………………………………………………………………………………….29 - ญ่ีป่ ุน……………………………………………………………………………………………………………….39 - นิวซแี ลนด…์ …………………………………………………………………………………………………..61 - ราชอาณาจกั รเนเธอรแ์ ลนด์ …………………………………………………………………..72 - สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี………………………………………………………………….…80 - สหรฐั อเมริกา……………………………………………………………………………………………….87 - สหราชอาณาจกั ร ……………………………………………………………………………………...98 - สาธารณรฐั เกาหลี……………………………………………………………………………………..110 - สาธารณรฐั ประชาชนจีน………………………………………………………………………...121

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ ค หนา้ - สาธารณรฐั ฝรงั่ เศส…………………………………………………………………………………….131 - สาธารณรฐั สิงคโปร.์ ....................................................................... - สาธารณรฐั อนิ เดีย……………………………………………………………………………………..160 - สาธารณรฐั ไอรแ์ ลนด.์ ....................................................................ตารางสรุประบบการศึกษาและการสมคั รสถานศึกษา………………………………………180ของประเทศต่างๆขอ้ มลู ทวั่ ไปเกี่ยวกบั การเตรียมตวั ไปศึกษาต่อ…………………………………………………….185



สาระน่ารเู้ ก่ียวกบั การศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ 1 ควำมเป็ นมำของงำนดูแลจดั กำรศึกษำ นกั เรยี นในต่ำงประเทศ ตามพระราชบัญญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. มาตราได้กาหนดอานาจหน้าที่ของ ก.พ. ซึ่งในขณะน้ันมีช่ือเรียกว่า “กรรมการรักษาพระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรือน (ก.ร.พ.)” ไวว้ ่า ใหร้ บั ผิดชอบจดั การศึกษาของนักเรียนหลวงฝ่ ายพลเรือนที่ส่งไปเล่าเรียน ณ ต่างประเทศ จึงเป็ นจุดเร่ิมตน้ ของงานดูแลจัดการศึกษาของนักเรียนในต่างประเทศ ต้ังแต่บัดน้ันเป็ นตน้ มา โดยยงั มิได้มีการก่อต้งั “สานักงานผูด้ ูแลนักเรียน” ข้ ึนมารองรบั หน้าที่ความรับผิดชอบดังกล่าวในต่างประเทศ แต่ได้จัดแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการจดั การศึกษาของนักเรียนหลวงฝ่ายพลเรือนในต่างประเทศใหก้ รรมการ ก.ร.พ. รบั ไปดาเนินการ กล่าวคือ ใหก้ รรมการก.ร.พ. โดยตาแหน่ง ซึ่งเป็ นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ มีหน้าท่ีในการกากับดูแลการศึกษาของนักเรียนหลวง และเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศมีหน้าที่กากบั ดูแลความเป็ นอยขู่ องนักเรียนหลวงในต่างประเทศ ต่อมาเมื่อมกี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรือนพ.ศ. แลว้จึงไดม้ กี ารเปล่ียนชื่อกรรมการก.ร.พ.เป็ น“คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน (ก.พ.)” กาหนดให้มีหน้าที่รับผิดชอบจัดการศึกษาของนักเรียนทุนรัฐบาลฝ่ ายพลเรือนที่ส่งไปศึกษาณ ต่างประเทศ ดงั น้ัน ก.พ. ท้งั คณะ จึงทาหน้าท่ีดแู ลจดั การศึกษาของนักเรียนทุนรฐั บาลในต่างประเทศ พระราชบัญญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรือน กาหนดใหง้ านดูแลจัดการศึกษาของนักเรียนฝ่ายพลเรือนในต่างประเทศ เป็ นงานสาคญั ส่วนหนึ่งของสานักงาน ก.พ. ท่ีมีบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบกากบั ดูแลจดั การศึกษาและใหค้ วามช่วยเหลือนักเรียนท้งั นักเรียนทุนเล่าเรียนหลวง นักเรียนทุนรัฐบาล ขา้ ราชการลาศึกษา/ฝึกอบรม/ดงู าน/ปฏบิ ตั ิการวจิ ยั และนักเรียนทุนอื่นๆ ซ่ึงรวมถึงนักเรียนทุนส่วนตวั ในความดแู ลของ ก.พ. ดว้ ยตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา สานักงาน ก.พ. สามารถดาเนินการไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพเป็ นท่ียอมรบั ของส่วนราชการ ประชาชน และผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่าย ปัจจุบัน การดแู ลและจัดการการศึกษาของนักเรียนในต่างประเทศ อยู่ภายใตค้ วามรับผิดชอบของศูนย์จัดการศึกษาในต่างประเทศและบริหารความรู้ สานักงาน ก.พ.

สาระน่ารเู้ ก่ียวกบั การศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศ 2 ควำมเป็ นมำของนกั เรยี นทุนรฐั บำล และนกั เรยี นทุนเล่ำเรียนหลวง การส่งนักเรียนทุนไปศึกษา ณ ต่างประเทศ ไดม้ ีการดาเนินการมาต้งั แต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็ นราชธานี จนกระทัง่ ในปั จจุบัน ซ่ึงนับได้ว่ามีวิวัฒนาการอนั ยาวนาน มกี ารเปลี่ยนแปลงและปรบั ปรุงหลายอยา่ ง แต่อยา่ งไรก็ตาม แมเ้ หตุผลในการส่งนักเรียนไปศึกษาอาจมคี วามแตกต่างกนั บา้ ง แต่ผลท่ีตอ้ งการอยใู่ นแนวทางเดียวกนัคือ ความตอ้ งการบุคคลผูม้ ีความรูค้ วามสามารถกลบั มาเผยแพร่ความรแู้ ละนาความรูท้ ี่ได้มาปฏบิ ตั ิงานใหเ้ กิดประโยชน์แกป่ ระเทศชาติไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว มีรายละเอียด ดงั น้ ี 1. สมยั กรุงสโุ ขทยั ในสมยั ที่กรุงสุโขทัยเป็ นราชธานี ได้มีการติดต่อกับชาวต่างประเทศ เช่นประเทศลังกา และประเทศจีน เป็ นต้น จึงได้มีการส่ งคณะสงฆ์ไปศึกษาพระพุทธศาสนา ณ ประเทศลงั กา และส่งคณะบุคคลไปเรียนวิธีการทาชามสังคโลกณ ประเทศจนี โดยสนั นิษฐานวา่ เพอ่ื ใหไ้ ดบ้ ุคคลผูม้ ีความรทู้ างพุทธศาสนาและความรู้ในการทาชามสงั คโลก มาเผยแพร่ความรดู้ งั กล่าวใหแ้ กพ่ ระสงฆแ์ ละบุคคลทวั่ ไป 2. สมยั กรุงศรีอยธุ ยำ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงติดต่อค้าขายและมีการติดต่อทางการทตู กบั สาธารณรฐั ฝรงั่ เศสเป็ นอนั มาก จึงมีการจดั ส่งนักเรียนไปศึกษาหลายคร้งัเช่น ในปี พ.ศ. ทรงส่งนักเรียน จานวน คน ไปกบั ขา้ ราชการท่ีไปสืบข่าวการสูญหายของคณะทูตไทยคณะแรก โดยใหไ้ ปศึกษาวิชาการทาน้าพุ วิชาก่อสรา้ งวิชาช่างเงิน และช่างทอง ฯลฯ ต่อมาใน พ.ศ. ทรงแต่งต้งั ออกพระวิสตู รสุนทร(โกษาปาน) เป็ นพระราชทูตออกไปเจริญพระราชไมตรีกบั ฝรงั่ เศส พรอ้ มท้งั ส่งบุตรหลานขา้ ราชการไทยไปเรียนท่ีฝรงั่ เศส ดว้ ย คน และในปี พ.ศ. พระองค์ทรงแต่งต้งั บาทหลวงตาชารด์ (Tachard) เป็ นราชทูตพิเศษนาพระราชสาสน์ ไปถวายพระเจ้าแผ่นดินฝรัง่ เศสและองค์สันตปาปา ในคร้ังน้ ีได้ส่งบุตรขุนนางผูม้ ีตระกูลไปศึกษาขนบธรรมเนียมของผดู้ ีในมหาวทิ ยาลยั หลุยสเ์ ลอกรงั จานวน คน ดว้ ยกนั

สาระน่ารเู้ กยี่ วกบั การศึกษาตอ่ ต่างประเทศ 3 3. สมยั รตั นโกสินทรต์ อนตน้ ในสมยั พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี มีการส่งนักเรียนไปศึกษาบา้ งแต่ไม่มากนัก เช่น นักเรียนคนไทยคนแรก คือ นายฉุน ซึ่งสมเด็จพระยาบรมมหาประยรู วงศฝ์ ากไปกบั กปั ตนั เรือองั กฤษ จนสาเร็จไดป้ ระกาศนียบตั รการเดินเรือทะเล เม่ือกลบั มารับราชการไดเ้ ป็ นที่ขุนจรเจนทะเล ต่อมาในสมยั รัชกาลที่ ไดส้ ่งนักเรียน ราย คือ นายทด บุนนาค กบั นายเทศ บุนนาค ไปพรอ้ มกบั คณะทตู ไทยไปองั กฤษ เมอื่ ปี พ.ศ. และไดเ้ ขา้ ศึกษาในโรงเรียนราชวทิ ยาลยั ท่ีกรุงลอนดอน ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มีการส่งนักเรียนไปศึกษาณ ต่างประเทศ จานวนมากถึง คน วิชาท่ีไปศึกษา คือ ภาษาองั กฤษ ฝรงั่ เศส และเยอรมนั ตลอดจนวิชาเลข และไดศ้ ึกษาวิชาตามที่นักเรียนถนัด อาทิ วิชาทหารบกทหารเรือ การทูต แพทย์ วิศวกรรมศาสตร์ ฯลฯ ประเทศท่ีส่งไปศึกษามีท้งั ประเทศองั กฤษฝรัง่ เศส เยอรมนี ออสเตรีย ฮังการี เดนมาร์ก นักเรียนในสมยั พระองคเ์ ม่ือศึกษาสาเร็จก็ไดก้ ลับมารับราชการไดเ้ ป็ นกาลงั สาคญั ในการปรบั ปรุงประเทศดา้ นต่างๆเป็ นอยา่ งมาก ในปี พ.ศ. ไดม้ ีการส่งนักเรียนไทย คน ไปศึกษาวิชาครูในประเทศองั กฤษ คอื นายสนัน่ (เจา้ พระยาธรรมศกั ด์ิมนตรี) นายนกยงู (พระยาสุรินทรราชา)นายเหล่ียม (พระโกศะกิจนิเทศ) และ นายโห้ (พระยาเทพศาสตรส์ ถิตย)์ กล่าวไดว้ ่าเป็ นนักเรียนทุนรฐั บาลรุ่นแรกในรชั กาลท่ี นัน่ เอง ความต้ังพระทั ยท่ี จะทรงท านุ บ ารุ งการศึ กษาให ้แพร่ หลายมิ ใช่ แต่ เพี ยงเจ้านายในราชตระกูล แต่เพื่อทวยราษฎร์ท้ังปวง ปรากฏชัดในพระราชดารัสท่ีน่าประทบั ใจยิ่ง ซึ่งไดแ้ สดงไวใ้ นที่ประชุมพระบรมวงศานุวงศ์และขา้ ราชการ ณ โรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ เมอ่ื ประมาณ ปี ที่แลว้ หรือเมอื่ พ.ศ. ดงั น้ ี “…เจา้ นายราชตระกูลตงั้ แต่ลูกฉนั เป็ นตน้ ลงไป ตลอดจนราษฎรต่าท่ีสุดจะใหไ้ ดม้ ีโอกาสเล่าเรียนเสมอกนั ไม่ว่าเจา้ ว่าขุนนาง ว่าไพร่ เพราะฉะนนั้ จึงขอบอกไดว้ ่าการเล่าเรยี นในบา้ นเมืองเรานนั้ จะเป็ นขอ้ สาคญั ท่ีหน่ึงซ่ึงฉนั จะอุตสาห์จดั ข้นึ ใหเ้ จรญิ ข้นึ จงได…้ ”

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศึกษาตอ่ ต่างประเทศ 4 ในปี พ.ศ. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ไดท้ รงวางระเบียบเงินทุนหลวงช่วยเหลือการศึกษาของนักเรียนใหไ้ ด้เรียน ณ ต่างประเทศเรียกกนั ว่า King’s Scholarship ซึง่ ต่อมาไดก้ ลายเป็ นนักเรียนทุนเล่าเรียนหลวงนัน่ เอง ในการจดั ส่งนักเรียนทุนรฐั บาลและทุนเล่าเรียนหลวงดังกล่าว ทรงเห็นว่าจะไดผ้ ลดีน้ัน จะตอ้ งใชว้ ิธี ประการ คือ . ถ่ายเอาวชิ าจากต่างประเทศมาเป็ นภาษาไทย . ส่งเสริมการศึกษาภาษาต่างประเทศในเมืองไทย . จัดการสอบไล่แข่งขันนักเรียนก่อนออกไปยุโรป โดยกาหนดอายุ และระดบั การศึกษาของนักเรียนใหพ้ อดีท่ีจะเขา้ ศึกษาต่อในโรงเรียนในยโุ รป4. สมยั กรุงรตั นโกสินทร์ (ต้งั แตร่ ชั กำลที่ ถึงปัจจบุ นั )หลงั จากปี พ.ศ. ไดม้ ีการสอบแข่งขนั เพื่อรับทุนเล่าเรียนหลวงและทุนรัฐบาล ตลอดมาจนกระทัง่ ในสมยั พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี จึงมีการร่างพระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. ซ่ึงมีผลบงั คบั ใชใ้ นปีพ.ศ. กาหนดใหม้ ีกรรมการกลาง เพ่ือทาหน้าท่ีจดั สอบและส่งนักเรียนทุนรฐั บาลไปศึกษาวิชาในต่างประเทศ เรียกว่า กรรมการรักษาพระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรือน หรือมีชื่อยอ่ วา่ ก.ร.พ. ทาหน้าท่ีจดั การศึกษาของนักเรียนทุนหลวงฝ่ ายพลเรือนในต่างประเทศ ซ่ึงตามนัยของพระราชบัญญตั ิดังกล่าว หน้าที่การสอบคดั เลือกนักเรียนเพ่ือส่งไปศึกษาวิชาในต่างประเทศ ซ่ึงกระทรวงต่าง ๆ เคยแยกกนัดาเนินการ คือ กระทรวงธรรมการ ทาหน้าที่ควบคุมดา้ นการศึกษา กระทรวงการต่างประเทศ ทาหน้าที่ดูแลทุกข์สุขของนักเรียน และกระทรวงการคลังทาหน้าท่ีเกยี่ วกบั การเงนิ ไดเ้ ปล่ียนใหก้ รรมการรกั ษาพระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรือนเป็ นผรู้ บั ผิดชอบท้งั ส้ ินหลงั จากการเปล่ียนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตย เม่ือ พ.ศ.ไดม้ กี ารตราพระราชบญั ญตั ิอีกฉบบั หน่ึง คือ พระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรือนพ.ศ. โดยต้ังคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน ซึ่งเรียกโดยย่อว่า ก.พ. เป็ นผรู้ บั ผิดชอบสบื ต่อมาจากคณะกรรมการรกั ษาพระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรือน

สาระน่ารเู้ กยี่ วกบั การศึกษาต่อต่างประเทศ 5โดยทาหน้าที่ดูแลและจดั การศึกษาของนักเรียนหลวงฝ่ ายพลเรือนเช่นเดิม โดยเปล่ียนจากคาว่า “นักเรียนหลวงฝ่ายพลเรือน” มาเป็ น “นักเรียนทุนรฐั บาลฝ่ายพลเรือน” ต้งั แต่ พ.ศ. เป็ นตน้ มา มไิ ดป้ รากฏหลกั ฐานเก่ียวกบั รายชื่อผสู้ อบไดร้ บัทุนเล่าเรียนหลวงและที่คอ่ นขา้ งแน่ชดั คือ ระหว่างสงครามโลกคร้งั ที่สอง ไมม่ กี ารใหท้ ุนน้ ีจนกระทัง่ ในปี พ.ศ. ได้มีการร้ ือฟ้ ื นข้ ึนอีกคร้ังหนึ่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี โดยสานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน (สานักงาน ก.พ.)ไดอ้ อกระเบียบวา่ ดว้ ยทุนเล่าเรียนหลวง พ.ศ. ระบุไวว้ า่ “คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน เป็ นผูด้ าเนินการสอบ กาหนดหลักสูตรและวิธีการสอบ ซ่ึงจะประกาศเป็ นคราวๆ ไป” ดงั น้ัน การเปิ ดสอบแขง่ ขนั เพอื่ รบั ทุนเล่าเรียนหลวง ซ่ึงหยุดไปชวั่ ขณะ จึงได้กลบั มาดาเนินการใหม่จนถึงปัจจุบนั โดยใหท้ ุนปี ละ ทุน สาหรบั ทุนรฐั บาลซึ่งจดั สรรใหก้ ระทรวงทบวงกรมฝ่ายพลเรือนน้ัน มีมาต้ังแต่สมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั โดยสานักงาน ก.พ. ไดร้ บั มอบหมายให้รับผิ ดชอบดาเนิ นการเก่ี ยวกับนั กเรี ยนทุ นรัฐบาลมาต้ังแต่ สมัยพระบาทสมเด็ จพระปกเกลา้ เจา้ อย่หู วั และยงั คงยดึ ระเบียบที่วางไวใ้ นอดีต และมีการปรบั ปรุงบางส่วนเพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพปัจจุบนั ขอ้ แตกต่างประการสาคัญระหว่างทุนเล่าเรียนหลวงกับทุนรัฐบาล คือทุนเล่าเรียนหลวงน้ัน ใหเ้ ป็ นรางวลั เป็ นเคร่ืองจงู ใจใหน้ ักเรียนต้งั ใจเล่าเรียน โดยไม่มีพระราชประสงคจ์ ะบงั คบั ใหผ้ รู้ ับทุนตอ้ งกลบั มาทางานชดใชร้ าชการ ต่อมาในปี พ.ศ.ก.พ. ไดว้ างระเบียบว่าดว้ ยทุนเล่าเรียนหลวง โดยกาหนดใหน้ ักเรียนทุนเล่าเรียนหลวง จะตอ้ งกลับมาทางานในประเทศไทย เท่าระยะเวลาที่ได้รับทุน ส่วนจะประกอบอาชีพอะไรน้ันทางราชการมิไดบ้ งั คบั ซึ่งแตกต่างจากทุนรฐั บาลท่ีตอ้ งการส่งนักเรียนไปศึกษาในวิชาท่ีกาหนดเพื่อใหก้ ลับมารับราชการ โดยนักเรียนทุนรัฐบาลตอ้ งทาสัญญาผูกมัดว่าจะกลบั มารบั ราชการเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า เท่าของระยะเวลาท่ีไดร้ บั ทุน

สาระน่ารเู้ กย่ี วกบั การศกึ ษาต่อต่างประเทศ 6ทุนรฐั บำลศึกษำตอ่ ณ ตำ่ งประเทศ สานักงาน ก.พ.จะดาเนินการสอบแข่งขนั เพ่ือสรรหาบุคคลที่จะไดร้ บั ทุนรฐั บาลเป็ นประจาทุกปี โดยผทู้ ี่สนใจสามารถดูรายละเอียดการรบั สมคั รสอบแข่งขนั เพ่ือรบั ทุนรฐั บาลและวนั เวลาการสมคั รสอบไดท้ ี่เว็บไซต์ของสานักงาน ก.พ.ท่ี www.ocsc.go.th/ scholarshipโดยมชี ่วงประมาณการรบั สมคั ร ดงั น้ ี ประเภททุน เพ่อื ศึกษำระดบั ประมำณกำรทนุ ระดบั มธั ยมศึกษำตอนปลำย รบั สมคั ร1. ทุนเลา่ เรยี นหลวง (ปี ละ ทุน) . ทุนกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตรี สิงหาคม - กนั ยายน . ทุนกระทรวงการตา่ งประเทศ ตรี-โท-เอก สิงหาคม - กนั ยายน . ทุนธนาคารแหง่ ประเทศไทย สิงหาคม - กนั ยายน . ทุนววิ ฒั นไชยานุสรณ์ ตรี-โท สิงหาคม - กนั ยายนทุนระดบั ปริญญำ ตรี สิงหาคม - กนั ยายน1. ทุนบุคคลทวั่ ไป ตรี1. ทุนตามความตอ้ งการของส่วนราชการและหน่วยงานของรฐั โท, เอก พฤศจกิ ายน – ธนั วาคม . ทุนกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละ โท-เอก, เอก พฤศจกิ ายน – ธนั วาคมเทคโนโลยี พฤศจกิ ายน – ธนั วาคม . ทุนรฐั บาลไปศึกษาในสาธารณรฐั เอก พฤศจกิ ายน – ธนั วาคมประชาชนจีน (UCAS) โท . ทุนสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทศั น์ และกิจการ โท, เอก พฤศจกิ ายน – ธนั วาคมโทรคมนาคมแหง่ ชาติ โท, เอก มกราคม – กุมภาพนั ธ์2. ทุนสนับสนุนความตอ้ งการส่วนราชการในภมู ิภาค (Area-based) . ทุนบุคคลทวั่ ไป . ทุนพฒั นาขา้ ราชการ/บุคลากรภาครฐั

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ 7 ประเภททนุ เพอ่ื ศึกษำระดบั ประมำณกำร . ทุนเพ่ือดึงดดู ผมู้ ีศักยภาพสงู ท่ีกาลงั ศึกษา ปริญญาตรีปี สุดทา้ ย รบั สมคั รอยใู่ นสถาบนั การศึกษาในประเทศ (UIS) ในประเทศ และ ปริญญาโทใน พฤศจิกายน – ธนั วาคม4. ทุนพฒั นาขา้ ราชการ/บุคลากรภาครฐั ประเทศ หรือ พฤศจิกายน(Function-based) ต่างประเทศ5. ทุนฝึกอบรมสาหรบั ขา้ ราชการทวั่ ไป โท, เอก  ทุนระบุสงั กดั  ทุนไมร่ ะบสุ งั กดั ประกาศนียบตั ร พฤศจิกายน ประกาศนียบตั ร พฤศจกิ ายนคณุ สมบตั ทิ วั ่ ไปของผมู้ ีสทิ ธสิ มคั รสอบรบั ทุนรฐั บำล ประเภททุน เพื่อไปศึกษำ ณ ตำ่ งประเทศ . ทุนเลำ่ เรียนหลวงทุนเพอื่ ไปศึกษาใน คณุ สมบตั ิระดบั ปริญญาตรี .กาลังศึกษาอยู่ในช้นั มัธยมศึกษาปี ท่ี และมีคะแนนเฉล่ียสะสมในระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย รวมทุกภาคการศึกษาเท่าที่ผ่านมาไม่ตา่ กว่า . และเม่ือสาเร็จการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี แลว้ จะตอ้ งไดค้ ะแนนเฉลี่ย ตลอดหลักสูตรไม่ ต่ากว่า . (โปรดดู ประกาศรับสมัครหรื อ . ทุนมธั ยมศึกษำ www.ocsc.go.th/scholarship)ตอนปลำย .เป็ นผไู้ มส่ อบตกในวชิ าใดวิชาหน่ึง ตลอดหลกั สตู รช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลายทุนไปศึกษาในระดบั .มีอายุถึงวนั ปิ ดรบั สมคั รไมเ่ กิน ปีปริญญาตรี-โท หรือ .เป็ นผมู้ ีศีลธรรม วฒั นธรรม และความประพฤติดีตรี-โท-เอก .เป็ นผไู้ มอ่ ยใู่ นระหวา่ งการรบั ทุนท่ีมีสญั ญาผกู พนั ในการปฏิบตั ิงานชดใชท้ ุนใดๆ 1.กาลงั ศึกษาอยใู่ นชน้ั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6 และมีคะแนนเฉล่ียสะสมในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายรวมทุกภาคการศึกษาที่ผ่านมาไม่ตา่ กว่า 3.50 (สาหรับผูท้ ี่ศึกษาหลักสูตร 2 ปี หรือ 2 ปี ครึ่ง โปรดดูประกาศรับสมคั ร หรือ www.ocsc.go.th/ scholarship) 2.มีอายุนับถึงวนั ปิ ดรบั สมคั รไมเ่ กิน 20 ปี 3.เป็ นผมู้ ีศีลธรรม วฒั นธรรม และความประพฤติดี 4.เป็ นผไู้ ม่อยใู่ นระหวา่ งการรบั ทุนท่ีมีสญั ญาผกู พนั ในการปฏิบตั ิงานชดใชท้ ุนใดๆ

สาระน่ารเู้ ก่ยี วกบั การศึกษาต่อตา่ งประเทศ 8 คณุ สมบตั ิประเภททนุ . ทุนเพอ่ื ดึงดดู กาหนดช่วงเวลาการใหท้ ุน แบ่งเป็ น ระยะ คือผมู้ ีศกั ยภำพสูง .ระยะที่ ใหท้ ุนรฐั บาลเพื่อศึกษาในช้นั ปี สุดทา้ ยจนสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรีที่กำลงั ศึกษำอยใู่ น ตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร ท้งั น้ ี ตอ้ งใชร้ ะยะเวลาการศึกษาไมเ่ กิน ปีสถำบนั กำรศึกษำใน .ระยะท่ี ใหท้ ุนรฐั บาลเพื่อศึกษาต่อระดบั ปริญญาโทในหรือต่างประเทศประเทศ (UIS) ตามเง่ือนไขที่ ก.พ. กาหนด .คุณสมบตั ิของผมู้ ีสิทธิสมคั รสอบแขง่ ขนั เพอ่ื รบั ทุนฯ มีดงั น้ ี . เป็ นผู้ที่จะศึกษาในช้ันปี สุดท้ายในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ของสถาบนั การศึกษาในประเทศ . มีอายุถึงวนั ปิ ดรบั สมคั รไม่เกิน ปี . เป็ นผมู้ ีศีลธรรม วฒั นธรรม และความประพฤติดี 3.4 เป็ นผไู้ มอ่ ยใู่ นระหวา่ งการรบั ทุนท่ีมีขอ้ ผกู พนั ในการชดใชท้ ุน . มีคะแนนเฉลี่ยตลอดหลกั สตู รไม่ตา่ กวา่ . (สายสงั คมศาสตร)์ และ ไม่ตา่ กวา่ . (สายวิทยาศาสตร)์ . เม่ือสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้ว จะต้องได้คะแนนเฉลี่ย ไมต่ า่ กวา่ . (สายสงั คมศาสตร)์ และไม่ตา่ กวา่ . (สายวิทยาศาสตร)์ .ทนุ สำหรบั ผทู้ ่ี .มีอายุนับถึงวนั ลงนามในประกาศไม่เกิน ปีศึกษำอยปู่ ี สุดทำ้ ย .กาลังศึกษาช้นั ปี สุดทา้ ยของหลักสูตรปริญญาตรี หรือสาเร็จการศึกษาหรือสำเร็จกำรศึกษำ ระดับปริญญาตรี และมีคะแนนเฉล่ียตลอดหลักสูตรไม่ตา่ กว่า .ปริญญำตรี (สายสงั คมศาสตร์) และไม่ตา่ กว่า . (สายวิทยาศาสตร์)ไม่เคยไดร้ ับทุนไปศึกษาใน ปริญญาโทหรือเทียบไดไ้ ม่ตา่ กว่าปริญญาโทในสาขา และวิชาเอก หรือระดบั ปริญญาโท เนน้ ทางเดียวกบั ทุนท่ีจะไปศึกษาหรือโท-เอก .เป็ นผมู้ ีศีลธรรม วฒั นธรรม และความประพฤติดี .เป็ นผไู้ ม่อยใู่ นระหวา่ งการรบั ทุนท่ีมีสญั ญาผกู พนั ในการปฏิบตั ิงานชดใชท้ ุนใดๆ .ทนุ สำหรบั ผสู้ ำเร็จ .มีอายุนับถึงวนั ปิ ดรบั สมคั รไมเ่ กิน ปีกำรศึกษำปริญญำโท .สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท และมีคะแนนเฉล่ียตลอดหลักสูตรทุนไปศึกษาในระดับ ไมต่ า่ กวา่ .ปริญญาเอก .เป็ นผมู้ ีศีลธรรม วฒั นธรรม และความประพฤติดี .เป็ นผไู้ ม่อยใู่ นระหวา่ งการรบั ทุนท่ีมีสญั ญาผกู พนั ในการปฏิบตั ิงานชดใชท้ ุนใดๆ . ทุนพฒั นำ 1.เป็ นขา้ ราชการที่ไดป้ ฏิบัติราชการมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 1ปี นับถึงวนั ท่ีที่ปิ ดรบั สมัครขำ้ รำชกำร/ แต่จะเดินทางไปศึกษาวชิ าในต่างประเทศไดเ้ มื่ออายุราชการ/อายุงานครบ ปี แลว้หน่วยงานของรฐั 2.มีความรภู้ าษาองั กฤษดีพอท่ีจะไปศึกษาต่อวิชา ณ ต่างประเทศได้ใหไ้ ปศึกษาในระดบั 3.เป็ นผมู้ ีศีลธรรม วฒั นธรรม และความประพฤติดีปริญญาโท หรือ เอก 4.เป็ นผปู้ ฏิบตั ิงานในหนา้ ที่ดว้ ยความรบั ผิดชอบ อุทิศ และเสียสละ 5.เป็ นผูท้ ่ีส่วนราชการเห็นว่าเหมาะสม และเป็ นผูม้ ีความรูค้ วามสามารถ เพียงพอสมควรไดร้ บั การพิจารณาใหม้ ีความรเู้ พิ่มข้ ึน เพื่อท่ีจะกลับมาเป็ น กาลงั สาคญั ของสว่ นราชการ

สาระน่ารเู้ ก่ยี วกบั การศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศ 9ประเภททนุ คณุ สมบตั ิ 6.คุณสมบตั ิของผทู้ ่ีจะไปศึกษาในแต่ละระดบั มีดงั น้ ี 6.1 ทุนไปศึกษาในระดบั ปริญญาโท • สาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรี และมีคะแนน 2.75 • มีอายุนับถึงวนั ลงนามในประกาศ ไมเ่ กิน 40 ปี 6.2 ทุนไปศึกษาในระดบั ปริญญาโท-เอก • สาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรี และมีคะแนน 2.75 • มีอายุนับถึงวนั ลงนามในประกาศ ไมเ่ กิน 35 ปี 6.3 ทุนไปศึกษาในระดบั ปริญญาเอก • สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท และมีคะแนนเฉลี่ยตลอด หลกั สตู รไมต่ า่ กวา่ 3.50 • มีอายุนับถึงวนั ลงนามในประกาศไมเ่ กิน 40 ปี ** สาหรบั ทุนท่ีใหไ้ ปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท ผูส้ มคั รตอ้ งไม่เคยไดร้ บั ปริญญาโท หรือเทียบเท่าในสาขาวชิ าและวิชาเอก หรือเนน้ ทางเดียวกบั ทุนที่ จะไปศึกษาหมำยเหตุ: ผสู้ มคั รรบั ทุนทุกทุน จะตอ้ งมีคุณสมบตั ิเฉพาะตามที่กาหนดไวใ้ นแต่ละหน่วยทุนและตามประกาศรบั สมคั รในแตล่ ะคร้งั ซึง่ อาจจะมกี ารเปลี่ยนแปลง แหล่งขอ้ มูลรำยละเอยี ดทุนและกำหนดกำรรบั สมคั รสอบ ผูส้ นใจสามารถติดตามประกาศการรับสมัครสอบแข่งขนั เพ่ือรับทุนรัฐบาลแต่ละประเภท กาหนดวนั /เวลารับสมคั ร สาขาวิชาท่ีเปิ ด ประเทศท่ีกาหนดใหไ้ ปศึกษาและคุณสมบตั ิของผสู้ มคั รสอบ ไดท้ ่ี  ศนู ยส์ รรหาและเลือกสรร สานักงาน ก.พ. ถนนติวานนท์ / ถนนติวานนท์ ตาบลตลาดขวญั อาเภอเมอื ง จงั หวดั นนทบรุ ี โทรศพั ท์ / /  เว็บไซตข์ องสานักงาน ก.พ. ท่ี www.ocsc.go.th/scholarship วิธกี ำรสอบแข่งขนั1. สอบขอ้ เขยี น2. ประเมนิ ความเหมาะสมในการรบั ทุน (สอบสมั ภาษณ)์ สาหรบั ผสู้ อบผ่าน การสอบขอ้ เขยี น

สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ 10 กำรรบั เงินทุน ผู้ได้รับทุนจะได้รับเงินทุนเมื่อทาสัญญาเรียบร้อยแล้ว โดยจะได้รับค่าใชจ้ ่าย เช่น ค่าตวั๋ โดยสารเครื่องบินไป-กลับ ค่าใชจ้ ่ายเตรียมตวั ก่อนเดินทางค่าใชจ้ ่ายประจาเดือน ค่าเล่าเรียน ค่าหนังสือและอุปกรณ์การศึกษา ค่าคอมพิวเตอร์เป็ นตน้ เงื่อนไขในกำรรบั ทุน  ผไู้ ดร้ บั ทุนจะตอ้ งผ่านการตรวจสุขภาพอนามยั จากคณะกรรมการแพทย์ ของ ก.พ.  ผไู้ ดร้ บั ทุนจะตอ้ งทาสญั ญา ตามแบบสญั ญาท่ีสานักงาน ก.พ. หรือตาม แบบที่หน่วยงานตน้ สงั กดั เจา้ ของทุนกาหนด  ผทู้ ี่ไดร้ บั ทุนจะตอ้ งกลบั มารบั ราชการในส่วนราชการที่ ก.พ. กาหนด เป็ น ระยะเวลาไม่นอ้ ยกวา่ 2 เท่าของระยะเวลาท่ีไดร้ บั ทุนไปศึกษา  กรณีท่ีผไู้ ดร้ บั ทุนไม่เขา้ รบั ราชการชดใชท้ ุน/ไมป่ ฎบิ ตั ิตามสญั ญาที่ไดท้ าไว้ กบั สานักงาน ก.พ. จะตอ้ งชดใชเ้ งนิ ทุนท้งั หมดท่ีไดจ้ ่ายไปในการศึกษา และยงั ตอ้ งชดใชเ้ งินอีก 2 เท่าของจานวนเงินทุนดงั กล่าวใหเ้ ป็ นเบ้ ียปรบั อกี ดว้ ย

สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ 11 เว็บไซตก์ ำรศึกษำต่อตำ่ งประเทศ ผสู้ นใจสามารถศึกษาหาความรเู้ กย่ี วกบั การศึกษาต่อต่างประเทศ ไดจ้ ากเว็บไซต์ของสานักงาน ก.พ. ท่ี www.ocsc.go.thการเขา้ ใชบ้ ริการเพื่อหาขอ้ มลู ต่างๆ สามารถเขา้ ได้ ดงั น้ ี . หากตอ้ งการทราบรายละเอียดเร่ืองทุน สามารถเขา้ ไปศึกษาได้ วธิ ี คอื 1.1 หวั ขอ้ เมนู “บริการ” >> “สาหรบั บุคคลทวั่ ไป” >> “ทุนรฐั บาล” 1.2 หวั ขอ้ เมนู “OCSC Highligh” >> “ทุนศึกษาต่อ/ฝึกอบรม” 1.3 หวั ขอ้ เมนูสาหรบั บุคคลทวั่ ไป เลือก เว็บไซตส์ อบชิงทุนรฐั บาล “e-scholar” . หากตอ้ งการทราบเร่ืองการศึกษาต่อต่างประเทศ สามารถเขา้ ไปศึกษาไดท้ ี่หวั ขอ้ เมนู “บริการ” >> “สาหรบั บุคคลทวั่ ไป” >> “การศึกษาต่อต่างประเทศ” .หากต้องการทราบเร่ื องการ ค้น ห า แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ ข้อ มูล ข อ งสถาบนั การศึกษาท้งั ในประเทศและต่างประเทศ การรบั รองคุณวุฒิและสถานศึกษาที่ก.พ. รับรอง ท้ังในประเทศและต่างประเทศ สามารถเขา้ ไปศึกษาได้ท่ีหัวขอ้ เมนู“รบั รองคุณวุฒิ” ในเมนู “OCSC Highligh”

สาระน่ารเู้ กย่ี วกบั การศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ 12 1,2วธิ ีการเขา้ ใชบ้ ริการเว็บไซต์ 1.1 2 1.23 1.3

สาระน่ารเู้ กย่ี วกบั การศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ 13แหล่งทุนเพ่อื กำรศึกษำในตำ่ งประเทศลำ ชื่อทนุ ระดบั ท่ีใหท้ ุนไป สถำนท่ีติดตอ่ดบั ศึกษำ ศนู ยส์ รรหาและเลือกสรร . ทุนเล่าเรียนหลวง ทุนรฐั บำลไทย สานักงาน ก.พ. นนทบรุ ี . ทุนไทยพฒั น์ ตรี โทร. 02 547 1330, . ทุนรฐั บาล (ก.พ.) 02 547 1911 . ทุนรฐั บาล (ก.ต.) ตรี-โท หรือท่ี http://www.ocsc.go.th/scholarship . ทุนรฐั บาล (ก. วทิ ย)์ * ตรี-โท-เอก หรือท่ี http://scholar2.ocsc.go.th สานักส่งเสริมและพฒั นาสมรรถนะบุคลากร . ทุนรฐั บาล (สกอ.) ตรี-โท สานักงานคณะกรรมการอดุ มศึกษา (สกอ.) ตรี-โท-เอก โทร. โท-เอก 02 610 5200. ทุนรฐั บาล (กระทรวง โท-เอก หรือ ท่ี http://www.mua.go.th สาธารณสุข) ตรี-โท-เอก, - สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข - ทุนพฒั นาอาจารยเ์ พ่ือรบั ถ. ติวานนท์ จ. นนทบุรี(สานักงานบริหาร ทุนโครงการชว่ ยเหลือแพทย์ โท-เอก โครงการร่วมผลิตแพทยเ์ พ่มิ เพื่อชาวชนบท) เพิ่มชาวชนบท โทร. , - ทุนพฒั นาอาจารยเ์ พื่อรบั -ส่วนพฒั นาการศึกษาสถาบนั พระบรมราช ทุนสถาบนั พระบรมราชชนก ชนกโทร. , หรือ ที่ [email protected]หรือที่. ทุนการศึกษาในโครงการ www.ocsc.go.th/scholarship(กรณีบุคคลทวั่ ไป) พสวท. สสวท.** สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) กรุงเทพฯ โทร. ต่อ , , หรือที่ www.ipst.ac.th/dpst และ สสวท. ที่ www.ipst.ac.th หรือ ที่. ทุนฟลู ไบรท์ โท-เอก http://dpst.ipst.ac.th (Fulbright)สาหรบั บุคคลทวั่ ไป, อาคารไทวา ช้นั ตึก ถ.สาทรใต้ ขา้ ราชการ โทร. - , www.fulbrightthai.org

สาระน่ารเู้ กย่ี วกบั การศกึ ษาต่อต่างประเทศ 14 ทนุ รฐั บำลตำ่ งประเทศ. ทุนรฐั บาลเยอรมนั Postgraduate Embassy of the Federal Republic of(DAAD) Research Germany, Cultural Section ถ.สาทรใต้ หรือ DAAD Information Centre Bangkok โทร. -. ทุนรฐั บาลญี่ป่ ุน หลายระดบั www.daad.or.th สานักขา่ วสารญ่ปี ่ ุน ถนนวทิ ยุ (Monbusho) แขวงลุมพินี เขตปทุมวนั กรุงเทพฯ สาหรบั บคุ คลทวั่ ไป, โทร. - ,02 207 ขา้ ราชการ 8500, 02 696 3000. ทุนรฐั บาลออสเตรเลีย โท-เอก www.th.emb-japan.go.jp สถานเอกอคั รราชทตู เครือรฐั ออสเตรเลีย ถ. สาทรใต้ โทร. ต่อ สานักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ โทร. หรือ ที่ https://internationaleducation.gov.au/end. ทุนรฐั บาลรสั เซีย ตรี-โท-เอก eavour สาหรบั ขา้ ราชการ, บุคคล โท-เอก สานักงานความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศ ทวั่ ไป โทร. สถานเอกอคั รราชทตู สหพนั ธรฐั รสั เซีย. ทุนรฐั บาลองั กฤษ ถ.ทรพั ย์ สุรวงศ์ บางรกั กรุงเทพฯ โทร. ทุน Che1ening โทร. 02305 8333 ต่อทุน Che1ening หรือ ท่ีwww.chevening.org บริติช เคาน์ซิล ส่วนกลางจุฬาลงกรณ์ 64 โทรศพั ท์ 0 2652 5480-9 ต่อ. ทุนรฐั บาลฝรงั่ เศส โท-เอก 308 www.britishcouncil.or.th สานักงานความร่วมมอื ระหว่างประเทศ โทร. หรือ ท่ี http://www.francothai- science.com/scholarships/

สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศึกษาตอ่ ต่างประเทศ 15 แหลง่ ทุนอ่ืนๆ สถาบนั การศึกษานานาชาติ (IIE)16. ทุน East-West Center โท-เอก (ไปศึกษาท่ี University of อาคารมณยี าเหนือ ช้นั ถนนเพลินจิต Hawaii สหรฐั อเมริกา) ปทุมวนั โทร.17. Japan – IMF Fellowship www.eastwestcenter.org Program(เศรษฐศาสตร)์ เอก สถาบนั การศึกษานานาชาติ (IIE)18. ทุน Asian Development www.iiethai.org19. ทุน AFS โท-เอก www.adb.org/business/jschularBank20. ทุน United World College ประกาศนีย (UWC) มลู นิธิการศึกษาและวฒั นธรรมสมั พนั ธ์ บตั ร ไทย-นานาชาติ (เอ เอฟ เอส ประเทศไทย)21. ทุนอานันทมหิดล โทร. - หรือ (บุคคลทวั่ ไป, ขา้ ราชการ) ต่อ 502 ถึง 507, -22. ทุนธนาคารแห่งประเทศไทย (พนักงาน, บุคคลทวั่ ไป) ประกาศนีย www.afsthailand.org บตั ร http://thailand.uwc.org/how-to-apply23. ทุนธนาคารกรุงเทพฯ โท-เอก (พนักงาน, บุคคลทวั่ ไป) สานักงานประสานงานของมลู นิธิอานันท มหดิ ล สานักงานเลขาธิการองคมนตรี24. ทุนวิทยุการบนิ ศาลาลกู ขุนใน พระบรมมหาราชวงั แหง่ ประเทศไทย โทร. - หรือ ท่ี http://kanchanapisek.or.th/kp /intr o/index.th.html ตรี หน่วยทุนการศึกษาฝ่ายการพนักงาน ธนาคารแห่งประเทศไทย บางขุนพรหม โทร. – www.bot.or.th โท ธนาคารกรุงเทพ จากดั งานพฒั นาและเตรียมผบู้ ริหาร โทร. หรือ 0 2296 8358 หรือ ที่ http://www.bangkokbank.com/ ตรี กองพฒั นาและบริหารการจดั การเรียนรู้ 102 ซอยงามดพู ลี ทุ่งมหาเมฆ กรุงเทพฯ โทร. 02-285-9418, 02-287-8574 หรือ ที่ http://www.aerothai.co.th

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศึกษาต่อต่างประเทศ 16 แหลง่ ทุนอ่ืนๆ วจิ ยั สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั เอก (สกว.)โทร.25. ทุนโครงการปริญญาเอก โท www.trf.or.th/rgi/index.html กาญจนาภิเษก (คปก.) ฝ่ายพฒั นาพนักงาน บมจ. โท-เอก ธนาคารกรุงไทย26. ทุนการศึกษาปริญญาโท บมจ. โทร. - ต่อ หรอื ธนาคารกรุงไทย ตรี-โท (พนักงาน,บคุ คลทวั่ ไป) หรือ ท่ี www.ktb.co.th ตรี-โท-เอก European CommissionDirectorate . ทนุ สหภำพยุโรป ตรี-โท-เอก (Erasmus Mundus) General for Education and Culture ทุนกำรศึกษำ scholarship E-mail: EACEA-erasmus- study abroad in Holland (Nuffic Nesso) [email protected] แฟกซ:์ +32 (0)2 296 32 33 . ทุนรฐั บำลเกำหลีใตส้ ำหรบั http://eeas.europa.eu/archives/deleg ชำวตำ่ งชำติ Korean Government ations/thailand/more_info/erasmus- Scholarship Program for International Students mundus/index_th.htm ศนู ยก์ ารศึกษาต่อประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ . ทนุ กำรศึกษำจำกรฐั บำล สถานทตู เนเธอรแ์ ลนด์ ซอย ตน้ สน อินเดีย เลขท่ี 15, เพลินจิต ปทุมวนั กทม. 10330 โทร. 02-2526088 / 02- 2526029 หรือ 081 – 839 5991 แฟ็ กซ์ 02-2526033 email: [email protected] www.facebook.com/NufficNesoThailand EDUPAC 3/8ซอยบรมราชชนนี 11(ขา้ งๆ โลตสั ป่ิ นเกลา้ ) โทร. 02-884-8966 FAX 02-884-8898 http://www.edupac- lemonde.com/index.php สถานเอกอคั รราชทตู อนิ เดียประจา ประเทศไทย หมายเลขโทรศพั ท์ 022580300–5ต่อ6 [email protected]

. ทุน Development-Related แหลง่ ทุนอื่นๆ สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ 17 Postgraduate Courses โท-เอก (EPOS) Germany ทุกระดบั DAAD Information Centre Bangkok เปิ ดใหค้ าปรึกษาทุกวนั จนั ทร์ พุธและศุกร์. ทุนศึกษำในประเทศสวีเดน เวลา 10.00 – 12.00 และ 13.00 – 16.00 น. โทร. 02 2868708-9 อเี มล์ [email protected] https://www.daad.de/deutschland/stipendi um/datenbank/en/ -scholarship- database/?detail= https://studyinsweden.se/scholarships/. ทุนรฐั บำลประเทศ ทุกระดบั https://www.scp.gov.sg/content/scp สิงคโปร์ การวจิ ยั และ /index.html ฝึกอบรม. ทุนรฐั บำลประเทศ ทุกระดบั https://www.studyinaustralia.gov.au ออสเตรเลีย การวจิ ยั และ /thai/australian- ฝึกอบรม education/scholarships. ทนุ รฐั บำลประเทศ โท-เอก https://www.hotcourses.in.th/study- ไอรแ์ ลนด์ in-ireland/student-finance/ireland- scholarships-for-thai-student/. ทนุ Chevening Scholarships โท http://www.chevening.org/thailand/ CampusFrance Thailand สถานทตู ฝรงั่ เศส. ทุน Franco-Thai 2017- โท-เอก [email protected] 2018 โทร http://www.francothai- science.com/scholarships/ ทนุ ที่กำลงั เปิ ดรบั สมคั รลำดบั ช่ือทุน ระดบั กำรใหท้ ุน ชว่ งท่ีรบั สมคั ร สถำนท่ีติดตอ่. ทุน ป.โท Harvard ป. โท 3 ต.ค. 61 – 3 https://cpl.hks.ha Kennedy School (สหรฐั อเมริกา) ธ.ค. 61 rvard.edu/bacon- environmental- fellowship

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ 18 สถำนท่ีติดตอ่ ทุนท่ีกำลงั เปิ ดรบั สมคั รลำดบั ชื่อทุน ระดบั กำรใหท้ นุ ช่วงท่ีรบั สมคั รทุน ป.โท Oxford- ป.โท 3ต.ค.61–19ม.ค. http://www.ox.ac.Weidenfeld and 62 uk/Hoffmann Scholarships ป.โท 2ต.ค.61–19ม.ค. www.brunel.ac.uk 62and Leadership ป.ตรี-โท-เอก 2ต.ค.61–3ม.ค. https://www.caProgramme 62 mbridgetrust.org(ประเทศองั กฤษ) /scholarships/ทุน ป.โท The BrunelBusiness School (BBS) ป.ตรี-โท ต.ค. – ธ.ค. http://cis.chinesจาก Brunel University e.cnLondon(ประเทศองั กฤษ)ทุน CambridgeInternationalScholarships(ประเทศองั กฤษ)ทุน Confucius InstituteScholarship of WuhanUniversity(ประเทศจีน)ทุน ป. ตรี Lester B. ป. ตรี 2ต.ค.60–15ม.ค. http://future.utoPearson International 62 ronto.ca/pearson Scholarship Program (ประเทศแคนาดา) *ทุนพอื่ ผลิตบุคลากรทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ่ีมีความสาคญั ในการพฒั นาประเทศเป็ นการแกป้ ัญหาการขาดแคลนวิศวกรและนักวทิ ยาศาสตร์ และสนับสนุนการพฒั นาขดี ความสามารถในการพง่ึ ตนเองทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นระยะยาว เป็ นทุนไปศึกษาระดบั ปริญญาตรี-โท-เอก ระดบั โท-เอกและปริญญาเอก มีท้งั ประเภทบุคคลทวั่ ไปและทุนพฒั นาบุคลากรภาครฐั ทุนกาหนดปี ละ ประมาณ 200 ทุน **ทุนเพื่อผลิตไดน้ ักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยท่ีมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ในสาขาท่ีขาดแคลน และเป็ นความตอ้ งการเร่งด่วนของประเทศ ปี ละ 180 คน

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศ 19 กำรรบั รองวิทยฐำนะสถำบนั กำรศึกษำในตำ่ งประเทศ สานักงาน ก.พ. เป็ นหน่วยงานของรฐั ซ่ึงทาหน้าท่ีในการพิจารณารบั รองคุณวุฒิผูส้ าเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ เพ่ือบรรจุบุคคลเขำ้ รบั รำชกำร สาหรับผูส้ นใจไปศึกษาต่อต่างประเทศ โดยทวั่ ไปแมว้ ่าจะไม่ไดม้ ีจุดมุ่งหมายในการรบั ราชการ แต่ก็ควรพิจารณาหลักเกณฑ์การรับรองคุณวุฒิจากต่างประเทศของ ก.พ. เพ่ือใชเ้ ป็ นแนวทางการเลือกสถานศึกษาท่ีไดม้ าตรฐาน ก.พ. มีหลักเกณฑ์การรับรองผูม้ ีคุณวุฒิจากต่างประเทศ โดยแบ่งประเทศออกเป็ น กลุ่ม ไดแ้ ก่ ประเทศสหรฐั อเมริกา และประเทศอื่นๆ ดงั น้ ี1. สหรฐั อเมริกำ โดยที่ระบบการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสหรฐั อเมริกาไม่ไดด้ าเนินการโดยตรงจากรฐั บาลกลาง แต่มลรัฐแต่ละรฐั จะเป็ นผวู้ างนโยบาย เง่ือนไข และกาหนดมาตรฐานขน้ั ตา่ ในการจดั ต้งั สถาบนั การศึกษาภายในรฐั น้ันๆ เอง ซึง่ เป็ นความรบั ผิดชอบท่ีกาหนดไวเ้ ป็ นกฎหมายของแต่ละรฐั ดงั น้ัน สถาบนั อุดมศึกษาในสหรฐั อเมริกาจึงมีความแตกต่างกันมากในดา้ นคุณลกั ษณะและคุณภาพของการจดั การศึกษา รวมท้ังมาตรฐานการศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลยั ในแต่ละรฐั อาจแตกต่างกนั ได้ เพื่อเป็ นหลกั ประกนัคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบนั อุดมศึกษาใหม้ คี ุณภาพใกลเ้ คียงกนั จึงไดม้ ีการจดั ต้งั สมาคมอิสระข้ นึ มาเพอ่ื ควบคุมมาตรฐานการศึกษาในขน้ั อุดมศึกษาของรฐั ต่างๆเรียกว่า The Council for Higher Education Accreditation (CHEA) ซึ่งเป็ นองคก์ รเอกชนท่ีไมข่ ้ นึ กบั รฐั บาล โดยแบ่งการรบั รองวทิ ยฐานะออกเป็ น 2 ประเภท คือ การรบั รองวิทยฐานะสถาบนั และการรบั รองวทิ ยฐานะสาขาวิชาชีพ ก.พ. จึงกาหนดหลักเกณฑ์การรับรองคุณวุฒิผู้สาเร็จการศึกษาจากสหรฐั อเมริกา ดงั น้ ี

สาระน่ารเู้ ก่ียวกบั การศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ 201.1 กำรรบั รองวิทยฐำนะสถำบนั (Institutional or Regional Accreditation) ผทู้ ี่สาเร็จการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ จากสถาบนั การศึกษาท่ีไดร้ บั การรบั รองจากสมาคมภูมิภาคใดภูมิภาคหน่ึง หรือองค์กรใดองค์กรหนึ่งใน 10 แห่ง ต่อไปน้ ีถือวา่ ก.พ. รบั รองใหบ้ รรจเุ ขา้ รบั ราชการได้ลำดบั ที่ ชื่อหน่วยงำน ทำหนำ้ ท่ีรบั รองวิทยฐำนะ ตรวจสอบ สถำบนั กำรศึกษำในรฐั ขอ้ มูลไดท้ ่ี. Middle State Association Delaware, DC, Maryland, New Jersey, www.msche.org of Colleges and Schools, New York, Pennsylvania, Puerto Rico, U.S. Virgin Islands www.nwccu.org Commission on Higher Alaska, Idaho, Montana, Nevada, www.ncacihe.or Education (MSA-CHE) Oregon, Utah, Washington g. Northwest Association of หวั ขอ้ Directory Arizona, Arkansas, Colorado, Illinois, of Institutions Schools and Colleges, Indiana, Iowa, Kansas, Michigan, Minnesota, Missouri, New Mexico, www.neasc.org Commission on Colleges Nebraska, North Dakota, Ohio, หวั ขอ้ CIHE Oklahoma, South Dakota, West & Universities (NASC- Virginia, Wisconsin, Wyoming www.neasc.org Connecticut, Maine, Massachusetts, CCU) New Hampshire, Rhode Island,. North Central Association Vermont of Colleges and Schools, Connecticut, Maine, Massachusetts, New Hampshire, Rhode Island, The Higher Learning Vermont Commission (NCA-HLC). New England Association of School and Colleges, Inc./Commission on Institutions of Higher Education (NEASC-CIHI). New England Association of School and Colleges, Inc./Commission of Technical and Career Institutions (NEASC-CICI)

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ 21ลำดบั ท่ี ช่ือหน่วยงำน ทำหนำ้ ที่รบั รองวิทยฐำนะ ตรวจสอบ . สถำบนั กำรศึกษำในรฐั ขอ้ มูลไดท้ ี่ . Southern Association of Colleges and Schools/ Alabama, Florida, Georgia, www.sacs.org . Commission on Colleges (SACS-CC) Kentucky, Louisiana, Mississippi, . Western Association of . Schools and Colleges / North Carolina, South Carolina, Accrediting Commission for Community and Junior Tennessee, Texas, Virginia Colleges (WASC-Jr.) Western Association of California, Hawaii, Guam www.accjc.org Schools and Colleges / Accrediting Commission for California, Hawaii, Guam www.wascsenior.o Senior Colleges and rg Universities (WASC-Sr.) Accrediting Council for รบั รองวิทยฐานะสถาบนั การศึกษา www.acics.org Independent Colleges and เอกชนที่เปิ ดสอนดา้ นธุรกจิ Schools (ACICS) รบั รองวทิ ยฐานะสถาบนั เอกชนที่ www.accsct.org Accrediting Commission for เปิ ดสอนดา้ นการคา้ และดา้ นเทคนิค Career Schools/ Colleges of Technology (ACCSCT)1.2 กำรรบั รองวิทยฐำนะสำขำวิชำชีพ (Professional Accreditation) ผทู้ ่ีศึกษาในสาขาวิชาท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั Public Safety 21 สาขาที่ ก.พ. กาหนดจะต้องสาเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาท่ีได้รับรองสาขาวิชาชีพจากสมาคมวิชาชีพแต่ละสาขาในสหรฐั อเมริกา จึงจะพิจารณาคุณวุฒิใหเ้ ท่ากบั ผูส้ าเร็จการศึกษาจากประเทศไทย หากสาเร็จจากสถาบนั ท่ีไดร้ บั รบั รองวิทยฐานะสถาบนั แต่ไม่มีสมาคมวิชาชีพน้ันๆ รับรอง ก.พ. จะรับรองใหบ้ รรจุเขา้ รับราชการได้ โดยไดร้ ับเงินเดือนตา่ กวา่ ผทู้ ่ีสาเร็จการศึกษาในประเทศไทย 2 ขน้ั สาขาวิชาท่ีเก่ียวขอ้ งกบั Public Safety21 สาขา ไดแ้ ก่

สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศกึ ษาต่อต่างประเทศ 22 ช่ือหน่วยงำนที่รบั รอง ตรวจสอบขอ้ มูลได้ลำดบั ท่ี ช่ือวิชำชีพ ท่ี. Architecture National Architectural Accrediting Board www.naab.org. Chiropractic Council on Chiropractic Education www.cce-usa.orgEducation www.ada.org www.ada.org. Dentistry American Dental Association www.eatright.org www.abet.org. Dental Auxiliary American Dental Association. Dietetics www.nait.org The American Dietetic Association www.aals.org6. Engineering, Accrediting Board for Engineering and www.abanet.org/leg aledEngineering Technology Inc. www.caahep.orgTechnology www.abhes.org7. Industrial National Association for Industrial www.ama-assn.orgTechnology Technology8. Law • Association of American Law9. Medicine Schools • American Bar Association • Medical Assistant Commission onAssistant Accreditation of Allied Healthand Medical Education ProgramsLaboratory • Medical Laboratory TechnologyTechnician Accrediting Bureau of Health Education Schools10. Medicine American Medical Association/ Association of Medical Colleges11. Nursing National League for Nursing www.accrediling- comm-nlnac.org12. Optometry American Optometric Association www.aoanet.org13. Osteopathic American Osteopathic Association www.aoa-net.orgMedicine14. Pharmacy The American Council on www.acpe- Pharmaceutical Education accredit.org15. Physical Therapy American Physical Therapy Association www.apta.org

สาระน่ารเู้ ก่ยี วกบั การศึกษาต่อต่างประเทศ 23ลำดบั ที่ ชื่อวิชำชีพ ชื่อหน่วยงำนท่ีรบั รอง ตรวจสอบขอ้ มูลไดท้ ่ี 16. Podiatry 16. Podiatry American Podiatric Medical Association www.apma.org 17. Public Health American Podiatric Medical Association www.apma.org The Council on Education for Public www.ceph.org Health18. Rehabilitation Council on Rehabilitation Education www.core-rehab.org Counseling American Speech-Language-Hearing www.asha.org19. Speech Association Pathology and Audio logy National Council for Accreditation of www.ncate.org Teacher Education www.avma.org20. Teacher American Veterinary Medical Education Association21. Veterinary Medicine2. ประเทศอนื่ ๆ ก.พ. มหี ลกั เกณฑว์ ่าผไู้ ดร้ บั คุณวฒุ ิจากสถาบนั อุดมศึกษาของรฐั หรือเอกชนท่ีไดร้ บั รองวิทยฐานะจากรฐั บาลประเทศน้ันๆ ดว้ ยวธิ ีการศึกษาตามหลกั สตู รเต็มเวลา(Full Time) ก.พ. รบั รอง ใหบ้ รรจุเขา้ รบั ราชการได้

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศกึ ษาตอ่ ต่างประเทศ 24 กำรใหบ้ ริกำรสำหรบั นกั เรียนทุนสว่ นตวั ในควำมดแู ลของ ก.พ. (Private Student under OCSC guardianship in UK) ก่อนกำรเดินทำง ระหว่ำงศกึ ษำในตำ่ งประเทศ. แนะแนวการศึกษาและใหค้ าปรึกษา . จดั หาสถานศึกษาและท่ีพกั ใหแ้ กน่ ักเรียนเกี่ยวกบั การเลือกสถานศึกษาท่ีเหมาะสม . จดั หารถรบั จา้ งส่วนบุคคลใหแ้ ก่นักเรียน ใน. จดั หาสถานศึกษาและที่พกั กรณีท่ีนักเรียนประสงคจ์ ะเดินทางไปโรงเรียน3. จดั หารถรบั ส่ง ห รื อ ส ถ า น ศึ ก ษ า ด้ ว ย ย า น พ า ห น ะ ดั ง ก ล่ า ว. ออกหนังสือรบั รองเพอ่ื ใชป้ ระกอบการ (ผปู้ กครองรบั ผิดชอบคา่ ใชจ้ า่ ย)ขอวซี ่า . ติดตามผลการศึกษากับทางโรงเรียนหรือ5. ประสานเรื่องการผอ่ นผนั เขา้ รบั สถานศึกษา การรายงานผลการศึกษาน้ันให้ราชการทหาร โรงเรียนหรือสถานศึกษาแจ้ง หรือส่งผล การศึกษาใหผ้ ปู้ กครองทราบโดยตรง . จัด ใ ห้นั ก เ รี ย น พัก กับ ค ร อ บ ค รัว ช า ว ต่างประเทศในช่วงปิ ดเทอม . ออกหนังสือรบั รองเพอื่ ดาเนินการต่อหนังสือ เดินทางใหน้ ักเรียนในต่างประเทศคำ่ ใชจ้ ำ่ ยนกั เรียนก่อนระดบั อดุ มศึกษำo เงนิ ชดเชยในการดแู ลนักเรียน ปี ละ ปอนด์o เงนิ สารองกรณีฉุกเฉิน ปี ละ , ปอนด์นกั เรียนระดบั อดุ มศึกษำo เงนิ ชดเชยในการดแู ลนักเรียน ปี ละ ปอนด์o เงินสารองกรณีฉุกเฉิน ปี ละ ปอนด์หมายเหตุ สานักงาน ก.พ. จะออกหนังสือนาเพื่อใชใ้ นการโอนเงินเขา้ บญั ชสี านักงานผดู้ แู ล นักเรียนในประเทศองั กฤษ ในการสมคั รเขา้ เป็ นนักเรียนทุนส่วนตวั ในความ ดแู ลของสานักงาน ก.พ. คร้งั แรก กรุณาติดต่อเจา้ หนา้ ท่ีเพ่ือแจง้ ขอ้ มลู นักเรียน สาหรบั ค่าใชจ้ ่ายในการศึกษา ผูป้ กครองตอ้ งจดั ส่งใหน้ ักเรียนหรือ สถานศึกษาโดยตรง

สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศึกษาต่อต่างประเทศ 25ระเบียบกำรกำรทำคำรบั รองในกำรขอใหส้ ำนกั งำนคณะกรรมกำรขำ้ รำชกำรพลเรอื น ดแู ลจดั กำรกำรศึกษำของนกั เรียนทไี่ ปศึกษำวิชำ ณ ตำ่ งประเทศ (เฉพำะสหรำชอำณำจกั ร) ผปู้ กครองที่ประสงคข์ อฝากนักเรียนทุนสว่ นตวั ไวใ้ นความดแู ลของ ก.พ. จะตอ้ งยนื่ เรื่องขอฝากนักเรียน และทาคารบั รองกบั สานักงาน ก.พ. ตามระเบียบ ดงั น้ ีกำรยนื่ เรือ่ งขอฝำก โปรดติดต่อกบั เจา้ หนา้ ท่ีศนู ยจ์ ดั การศึกษาในต่างประเทศและบริหารความรู้สานักงาน ก.พ. เพ่ือขอรบั คาอธิบายและแบบฟอรม์ ต่างๆ ซ่ึงประกอบดว้ ย . แบบขอฝากนักเรียนในความดแู ลของ ก.พ. ฉบบั . แบบฟอรม์ คารบั รองขอให้ สานักงาน ก.พ. ดแู ลจดั การการศึกษา ของนักเรียนท่ีไปศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ ฉบบั . แบบฟอรม์ คารบั รองในการขอเป็ นนักเรียนในความดแู ลของ ก.พ. ฉบบั . แบบฟอรม์ New Private Student’s Information ฉบบั 5. แบบฟอรม์ Consent Form Privately Funded Student ฉบบั . แบบฟอรม์ หนังสือยนิ ยอมของบิดาและมารดาใหน้ ักเรียนทาคารบั รองอยา่ งละ ฉบบั . แบบฟอรม์ หนังสือแสดงความยินยอมใหค้ ู่สมรสของนักเรียนหรือผูฝ้ ากและออกค่าใชจ้ ่าย หรือผคู้ า้ ประกนั ทาคารบั รอง (ถา้ ม)ี อย่างละ ฉบบัhttp://www.ocsc.go.th/education/services

สาระน่ารเู้ กยี่ วกบั การศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศ 26กำรทำคำรบั รองการทาคารบั รองขอฝากนักเรียนเขา้ อยใู่ นความดแู ลของ ก.พ. จะตอ้ งมีบุคคลที่จะตอ้ งทาสญั ญากบั สานักงาน ก.พ. ดงั ต่อไปน้ ี. นักเรียน. ผฝู้ ากและออกคา่ ใชจ้ ่ายนกั เรยี น ผฝู้ ากและออกค่าใชจ้ ่าย . ภาพถ่ายทะเบียนบา้ น ฉบบั . ภาพถ่ายทะเบียนบา้ น ฉบบั . ภาพถ่ายบตั รประจาตวั ประชาชน ฉบบั . ภาพถ่ายบัตรประจาตัวประชาชนหรือบัตร . ในกรณีท่ีนักเรียนเป็ นผเู้ ยาว์ (อายุไม่ครบ ปี ขา้ ราชการ หรือบตั รพนักงานรฐั วิสาหกิจ 1 ฉบบับริบูรณ์) ตอ้ งไดร้ บั ความยินยอมในการทาคารบั รอง . หลกั ฐานการเงิน เชน่ ภาพถา่ ยสมุดธนาคารเป็ นลายลักษณ์อักษร (ใชแ้ บบฟอร์มของสานักงาน หรือหนังสือรบั รองจากธนาคาร วงเงินไมต่ า่ กวา่ก.พ.) จากผูแ้ ทนโดยชอบธรรมตามกฎหมาย ซ่ึงปกติ , , บาท (หน่ึงลา้ นบาทถว้ น)เป็ นบิดาหรือมารดา หรือฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงในกรณีที่อีกฝ่ายหนึ่งถึงแกก่ รรมหรือหยา่ ขาดจากกนั . ภาพถ่ายหลักฐานการศึกษาเป็ นภาษาอังกฤษ(Transcripts) จานวน ฉบับ และเอกสารที่ใชใ้ นการสมคั รสถานศึกษา (โปรดดใู นเอกสารคาแนะนาของแต่ละมหาวิทยาลยั ) . ภาพถ่ายผลการทดสอบภาษา (ถา้ มี) จานวนฉบบั (เช่น TOEFL, IELTS, GRE, GMAT). รปู ถา่ ย ขนาด น้ ิว จานวน รปู. สาเนาบตั รประชาชนของพอ่ และแม่. สาเนาทะเบียนบา้ นของพอ่ และแม่ข้นั ตอนในกำรทำคำรบั รอง. เพ่ือความสะดวกในการดาเนินการทาคารับรองเพื่อฝากนักเรียนทุนส่วนตัวเขา้ อยู่ในความดูแลของสานักงาน ก.พ. กรุณาติดต่อขอรับแบบฟอร์ม และกรอกแบบใหค้ รบถว้ นกอ่ นวนั ทาคารบั รอง. Email หน้าพาสปอรต์ นักเรียนไปที่ [email protected] เพ่ือออกหนังสือนาโอนเงิน

สาระน่ารเู้ กย่ี วกบั การศึกษาต่อตา่ งประเทศ 27 . นัดหมาย วนั เวลา ในการดาเนินการทาคารับรองกบั เจา้ หน้าที่ศูนยจ์ ัดการศึกษาในต่างประเทศและบริหารความรู้ สานักงาน ก.พ. กรุณาติดต่อคุณพรพิศ สมวงษ์ หรือ *คุณบุษกร โทร . ผทู้ าคารับรอง (ผปู้ กครองซ่ึงตามปกติเป็ นบิดาหรือมารดา) และนักเรียนมายื่นเอกสารใหแ้ ก่เจา้ หน้าท่ีตามวนั เวลานัดท่ี สานักงาน ก.พ. นนทบุรี 47/111ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวญั อ.เมอื ง จ. นนทบุรี . เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน และจัดทาคารับรองในการขอให้สานักงาน ก.พ. ดแู ลจดั การการศึกษาของนักเรียนท่ีไปศึกษาวชิ า ณ ต่างประเทศ

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ 28ข้นั ตอนกำรเตรียมตวั ไปเรยี นตำ่ งประเทศ เลือกประเทศ ท่ีตอ้ งการจะไปเรยี น เลือกหลกั สตู ร/ส่งเอกสารท้งั หมดผ่านเว็บไซต์ รวบรวมผลคะแนของมหาวิทยาลยั พรอ้ มคา่ สมคั ร เช่น SOP, Letter CV และเอกสารดไดร้ บั จดหมายตอบรบั จากมหาวิทยาลยั

/สาขาท่ีอยากเรียน เตรียมเอกสารสาหรบั สมคั รเรียน และทุนการศึกษานนต่างๆและเอกสาร เริ่มกรอกใบสมคั รเรยี นและเตรียมสอบ วดั ความรตู้ ่างๆ เช่น TOEFL, IELTS,ดr า้oนf กrาecรoเmงินmend, GMAT, GRE รวมถึงเอกสารดา้ นการแพทย์ทาวซี ่า ออกเดินทางไปศึกษา ต่อต่างประเทศ

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศ 29 ระบบกำรศึกษำและกำรสมคั รสถำนศึกษำ ในการเดินทางไปศึกษา ณ ต่างประเทศ นักเรียนมีความจาเป็ นอย่างย่ิงที่จะตอ้ งทราบขอ้ มูลรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการศึกษา ภาคการศึกษา ค่าใชจ้ ่ายและขอ้ กาหนดพ้ ืนฐานในการสมคั รสถานศึกษาของประเทศต่างๆ เพ่ือใชป้ ระกอบการตัดสินใจเลือกประเทศท่ีจะเดินทางไปศึกษา ในที่น้ ีสานักงาน ก.พ. ไดร้ วบรวมขอ้ มูลการศึกษาในประเทศต่าง ๆ ที่คาดวา่ น่าจะเป็ นที่สนใจของนักเรียน ดงั น้ ี เครอื รฐั ออสเตรเลียภำคกำรศึกษำ ระดบั กำรศึกษำ ปี กำรศึกษำประถม/มธั ยมศึกษำ แบง่ ภำคกำรศึกษำเป็ น เทอม คือ เทอม ปลายเดือนมกราคม – กลางเดือนมนี าคมวิทยำลยั TAFE เทอม ปลายเดือนเมษายน – กลางเดือนมถิ ุนายนมหำวิทยำลยั เทอม ปลายเดือนกรกฎาคม – กลางเดือนกนั ยายนภำษำองั กฤษ เตรียมเขำ้ เทอม ปลายเดือนตุลาคม – กลางเดือนธนั วาคมมหำวิทยำลยั ตรี/โท/เอก แบง่ ภำคกำรศึกษำออกเป็ น เทอม คอื เทอม เดือนกุมภาพนั ธ์ – เดือนมิถุนายน เทอม เดือนกรกฎาคม – เดือนธนั วาคม มีทง้ั แบบ เทอม และ เทอม ใน ปี บำงแห่งใชร้ ะบบ ควบ โดยจะเร่ิมตอนปลายเดือนกุมภาพนั ธ์ และ ส้ ินสุดเดือน พฤศจิกายน โรงเรียนสอนภำษำสว่ นมำกจะเปิ ดตลอดทง้ั ปี

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศึกษาต่อต่างประเทศ 30ระบบกำรศึกษำ การเรียนการสอนในสถาบนั การศึกษาของออสเตรเลียส่วนใหญ่นักเรียนจะมีหน้าที่รบั ผิดชอบในการหาหนังสือเรียนเอง โดยจะะมอบหมายงานใหน้ ักเรียนแต่ละคนไปศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองเพมิ่ เติม (Individual Studies Assignment) จากการใชป้ ระโยชน์จากหอ้ งสมุด หรือจากการเสาะหาขอ้ มลู จาก Internetซ่ึงจะมีการอภิปรายการแสดง ความคิดเห็นการโตว้ าทีระหว่างนักเรียนในช้ันรวมท้งั อาจารยผ์ ูส้ อน รวมท้งั การฟังผูบ้ รรยาย ดงั น้ันผเู้ รียนจะตอ้ งมีความรภู้ าษาองั กฤษท่ีดี ระบบการศึกษาของออสเตรเลียแบ่งได้เป็ นการศึกษาในสายสามัญ และการศึกษาในสายวิชาชีพ ดงั น้ ีกำรศึกษำในสำยสำมญั ระดบั อนุบำล ( - ปี ) เป็ นการศึกษาไม่บังคับ เน้นการเตรียมเด็กใหม้ ีพฒั นาทางร่างกาย สติปัญญาและสงั คม ระดบั ประถมศึกษำ ( - ปี ) เป็ นการศึกษาภาคบงั คบั วิชาที่สอนไดแ้ ก่คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษา ศิลปะ ดนตรี และสุขศึกษา โดยมีวิชาศีลธรรมและศาสนาเป็ นวชิ าเลือก ระดบั มัธยมศึกษำตอนตน้ (13 - 16 ปี ) เป็ นการศึกษาภาคบังคบั(เทียบเท่า ม. -ม. ของไทย) นักเรียนท่ีจบการศึกษาระดบั น้ ี สามารถออกไปทางานฝึกงาน หรือศึกษาต่อใน Technical and Further Education (TAFE) ซ่ึงเป็ นวิทยาลยั เทคนิคและการศึกษาต่อเนื่อง เป็ นสถาบนั การศึกษาในกลุ่มสายอาชีพ โดยไดร้ บั การสนับสนุนและรบั รองโดยรฐั บาลของรฐั แต่ละรฐั (State/Territory) ระดบั มัธยมศึกษำตอนปลำย (17 - 18 ปี ) เป็ นการศึกษาภาคบังคบั(เทียบเท่า ม. – ม. ของไทย) เมื่อจบการศึกษาจะไดร้ ับประกาศนียบตั ร ผลการเรียนระดบั น้ ีสาคญั มากต่อการเลือกอนั ดับมหาวิทยาลัยและสาขาวิชา เน่ืองจากไม่มีการสอบEntrance วิชาที่สอนไดแ้ ก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วรรณคดีองั กฤษ เศรษศาสตร์ประวตั ิศาสตร์ สงั คมศาสตร์ กฎหมาย เป็ นตน้ โดยทวั่ ไปนักเรียนจะเลือกเรียน - วิชาหลักท่ีสมั พนั ธก์ บั สาขาวิชาในระดบั อุดมศึกษา โดยโรงเรียนรฐั บาลเป็ นแบบเชา้ ไป - เย็นกลบัโรงเรียนเอกชนมที ้งั แบบประจาและไปกลบั

สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ 31 ระดับอุดมศึกษำ ปั จจุบันมหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี และวิทยาลัยไดย้ กระดบั วิทยฐานะเป็ นมหาวิทยาลยั ของรฐั จานวน แห่ง และเอกชน แห่ง คือBond University ในรฐั Queensland และมหาวิทยาลยั นานาชาติ แห่ง คือ Universityof Notre Dame ในรฐั Western Australia และ Carnegie Mellon University ในรฐั SouthAustraliaระดบั อำย/ุ ปี ระยะ รำยละเอยี ดกำรศึกษำ เวลำเตรียมเขำ้ ปี  เป็ นหลกั สตู รเตรียมความพรอ้ มใหแ้ ก่นักเรียนต่างชาติที่มหำวิทยำลยั - มีคุณสมบตั ิไม่เพียงพอ ก่อนเขา้ เรียนต่อระดบั อุดมศึกษาใน(Foundation ปี ประเทศออสเตรเลีย โดยใชเ้ วลาเรียนต้งั แต่ เดือนถึง ปี เน้ ือหาของหลกั สตู รมาจากหลกั สูตรช้นั ปี ท่ี และ บวกStudies) วชิ าพ้ นื ฐานในสาขาที่นักเรียนตอ้ งการเรียนในระดบั ปริญญา ตรี เช่น คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ฟิ สิกส์ เคมี ชีวะ คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ บญั ชี สังคม และประวตั ิศาสตร์ เป็ นตน้ หลกั สตู รน้ ีแบ่งออกเป็ น สายศิลป์ สายวิทย์ และธุรกิจ  กอ่ นเขา้ เรียนนักเรียนตอ้ งจบช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี หรือ ปวช. (เกรดเฉลี่ยไม่ควรตา่ กว่า . ) และมีผลคะแนนสอบ IELTS หรือ TOEFL ตามที่สถาบนั การศึกษาแต่ละแห่งกาหนด ไว้ เมื่อนักเรียนสอบผ่านทุกวิชาของหลักสูตร และไดค้ ะแนน ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด ก็สามารถจะเรียนต่อในระดับ ปริญญาตรีไดเ้ ลย  สาหรับนักศึกษาไทยที่เรียนจบช้ันปี ท่ี ในระดับ ปริญญาตรีในประเทศไทยแลว้ สามารถสมัครเรียนระดับ ปริญญาตรีไดโ้ ดยไม่ตอ้ งเรียนหลกั สตู รการศึกษาข้นั พ้ ืนฐาน  โดยปกติหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ ืนฐานเปิ ดสอนใน มหาวิทยาลัยและโรงเรียนบางแห่ง และเปิ ดรับนักเรียน คร้งั ต่อปี คอื ประมาณเดือนกุมภาพนั ธแ์ ละเดือนกรกฎาคมปริญญำตรี ปี - สาขาวทิ ยาศาสตรจ์ ะใชเ้ วลาศึกษา ปี สาขาทันตแพทยห์ รือ ข้ นึ ไป ปี สตั วแพทย์ ปี แพทยศ์ าสตร์ ปี ปี เป็ นหลักสูตรระยะส้ัน เพ่ือเสริมความรูเ้ ฉพาะดา้ น มีหลายGraduate ข้ นึ ไป เดือน สาขาให้นักศึกษาเลือก เช่น ผู้ท่ีสาเร็จปริญญาตรีสาขาCertificate บริหารธุรกิจแลว้ ตอ้ งการเรียนสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศึกษาตอ่ ต่างประเทศ 32ระดบั อำยุ/ปี ระยะ รำยละเอียดกำรศึกษำ เวลำ เพ่ิมเติม หรือนักเรียนต่างชาติท่ีสมัครเขา้ ศึกษาต่อระดับ ปริญญาโทแต่ทางสถาบนั ไม่แน่ใจในความพรอ้ มของนักเรียน อาจใหน้ ักศึกษาลงทะเบียนเรียนในระดับน้ ี เพ่ือประเมิน ผลการเรียนก่อนท่ีจะอนุญาตใหศ้ ึกษาต่อปริญญาโทได้ ปี ปี  เป็ นหลกั สูตรสาหรับผทู้ ี่จบปริญญาตรีที่มีประสบการณ์Graduate ข้ นึ ไป ในการทางานแล้ว และตอ้ งการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมDiploma เฉพาะดา้ น เพื่อเตรียมผเู้ ขา้ ศึกษาที่มีพ้ ืนฐานระดบั ปริญญา ตรีต่างสาขาก่อนเขา้ ศึกษาต่อปริญญาโทตามปกติ การเรียน การสอนจะมีท้งั การเขา้ ช้นั เรียนฟังคาบรรยาย และอาจมีการ ทา Project หรือมีการฝึกภาคปฏิบัติในบางสาขาวิชา เช่น สาขา MBA  นักศึกษาที่เรียนระดับน้ ีหากทาคะแนนไดด้ ี ก็สามารถ ผ่านไปเรียนปี ท่ี 2 ในระดบั ปริญญาโทได้ปริญญำโท - -  เป็ นหลักสูตรสาหรับผู้ที่จบปริญญาตรี ท่ีเทียบเท่า ปี ปริญญาตรีของออสเตรเลีย โดยจะตอ้ งมีผลการเรียนตลอด หลักสูตร . ข้ ึนไป และบางสาขา เช่น สาขา MBA ผสู้ มคั ร ตอ้ งมปี ระสบการณก์ ารทางานอย่างนอ้ ย - ปี  ระบบการเรียนการสอนมี แบบ ไดแ้ ก่ ) Coursework เรียนแบบเขา้ ฟังคาบรรยาย ) Thesis เน้นเขียนวิทยานิพนธ์ ไม่มีช้นั เรียนมีแต่การ วิจยั การนาเสนอผลการวิจยั ) Coursework and Thesis เรียนผสมผสาน  กรณีที่สาเร็จตรีสาขาหนึ่งและตอ้ งการศึกษาต่อโทอีก สาขา มหาวิทยาลยั อาจใหท้ ดลองเรียน ปี ก่อน คือ Master Qualifying หากผลการเรียนดีก็สามารถศึกษาต่อระดับ ปริญญาโทได้ปริญญำเอก - ปี เป็ นหลักสูตรวิจัยคน้ ควา้ คือเขียนวิทยานิพนธ์เพียงอย่าง ข้ นึ ไป เดียว ขณะน้ ี บางมหาวิทยาลัยพิจารณาเพ่ิมหลักสูตร Coursework เขา้ เป็ นส่วนหน่ึงของการเรียนระดบั ปริญญาเอก ดว้ ย แต่ยังเป็ นส่วนน้อย ผูท้ ่ีจะเรียนระดับปริญญาเอกควร เสนอโครงร่างการทาวิจยั เพ่ือหาอาจารยท์ ่ีสนใจหวั ขอ้ การ วิจยั และยอมรับเป็ น supervisor ให้ ดังน้ันจึงควรมีพ้ ืนฐาน

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศึกษาต่อตา่ งประเทศ 33ระดบั อำย/ุ ปี ระยะ รำยละเอียดกำรศึกษำ เวลำ การทาวิจัยในระดับปริญญาโทมาก่อน และผูส้ มัครควรมี ผลสอบ IELTS 6.0 - 6.5วิทยำลยั - ครึ่งปี  วิทยาลัยเอกชนเปิ ดสอนหลายสาขาวิชา ในระดับเอกชน - ปี ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับ I - IV และอนุปริญญา วิทยาลัยเอกชนบางแห่งเปิ ดสอนสาขาวิชาเฉพาะทาง เช่น วิทยาลัยการโรงแรมและการท่องเที่ยว การบิน ศิลปะการ ออกแบบ เป็ นตน้ ซ่ึงอาจใชใ้ นการเทียบวิชาเพื่อสมัครเขา้ ศึกษาต่อปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยได้ แต่สถานศึกษา ประเภทน้ ีไม่เปิ ดสอนปริญยาตรีหรือโทแต่ประการใด ดงั น้ัน หลกั สตู รในวทิ ยาลยั เอกชนจึงเหมาะสาหรับผทู้ ่ีตอ้ งการเรียน ภาษาอังกฤษและวิชาชีพเพิ่มเติมหลังจากจบปริญญาตรี มาแลว้ เนื่องจากระยะเวลาเรียนส้นั เนน้ การปฏบิ ตั ิ  ผสู้ มคั รควรมีผล IELTS ประมาณ . - . หรือสอบ ผ่านขอ้ ทดสอบภาษาองั กฤษของวทิ ยาลยั น้ัน ๆ ถา้ สอบผ่านก็ สามารถเขา้ ศึกษาต่อได้ หากไม่มีผลสอบหรือสอบไม่ผ่าน ผู้ส มั ค ร ก็ ส า ม า ร ถ ส มั ค ร ไ ป เ รี ย น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ก่ อ น ไ ด้ โดยส่วนใหญจ่ ะเปิ ดรบั สมคั รนักเรียนใหม่ทุกเดือนหมำยเหตุ นักเรียนต่างชาติที่มีอายุตา่ กว่า ปี รัฐบาลออสเตรเลียกาหนดใหม้ ีผปู้ กครองดูแล (Guardian) ซึ่งอาจเป็ นญาติพี่น้องท่ีอย่ทู ี่นัน่ ก็ได้ แต่หากไม่มีญาติพี่น้องทางโรงเรียนที่นักเรียนสมัครจะจัดหาผูป้ กครอง (Guardian) โดยมีค่าใชจ้ ่ายในการให้เป็ นผู้ปกครองดูแล ท่ีเป็ นบุคคลท่ีมีความน่าเช่ือถือ ท่ีพักอาศัยในออสเตรเลีย(อาจจะเป็ นอาจารย์ หรือเจา้ หนา้ ที่โรงเรียน เป็ นผดู้ แู ล)กำรศึกษำในสำยวิชำชีพวิทยำลยั เทคนิคและกำรศึกษำตอ่ เนื่อง (Technical and Further Education: TAFE) เป็ นสถาบนั การศึกษาของรฐั บาลเน้นสอนวิชาชีพในระดบั ช่างฝึกหดั ช่างฝีมือช้นั สงู และช่างเทคนิค ดา้ นอตุ สาหกรรม พาณิชยกรรม และศิลปะ เมื่อสาเร็จการศึกษาจะไดร้ บั วุฒิบตั รแตกต่างกนั ไป การเรียนการสอนแบ่งเป็ น ระดบั คือ

สาระน่ารเู้ ก่ียวกบั การศกึ ษาตอ่ ต่างประเทศ 34ระดบั อายุ ระยะเวลา รายละเอียด. ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปี เดือน เป็ นหลักสูตรวิชาชีพ เน้นความรูใ้ นระดับระดบั - ข้ นึ ไป – ปี ปฏิบตั ิงาน. อนุปริญญา ปี - ปี หลกั สตู รเนน้ ความรใู้ นวชิ าชพี เทคนิค ข้ นึ ไป. อนุปริญญาช้นั สงู ปี - ปี รบั ผสู้ าเร็จ Year 12 หรือเทียบเท่า Year(Associate Diploma) ข้ นึ ไป 12 หรือเทียบเท่าอนุปริญญา เป็ นหลักสตู ร ช้ันสูงสุดใน TAFE สอนปฏิบัติงานและ วางแผน เหมาะสาหรับผู้ต้องการเข้าสู่ ตาแหน่งหวั หนา้ งาน สามารถโอนหน่วยกิต ไปศึกษาต่อระดบั ปริญญาตรีได้หมำยเหตุ ผทู้ ่ีจบหลกั สตู ร Associate Diploma และ Diploma สามารถโอนหน่วยกิตไปศึกษาต่อปริญญาตรีในมหาวิทยาลยั ได้ ข้ นึ กบั ขอ้ ตกลงระหวา่ งวทิ ยาลยั TAFE แต่ละแห่งกบั มหาวทิ ยาลยั ที่จะโอนไปกำรเรียนภำษำองั กฤษ การเรี ยนภาษาอังกฤษในออสเตรเลี ยจะมี หลักสูตรภาษาอังกฤษส าหรับนักเรียนต่างชาติ (English Language Intensive Course for Overseas Students: ELICOS)ซึ่งเป็ นหลกั สูตรเพ่ือใหน้ ักเรียนต่างชาติไดพ้ ฒั นาภาษาองั กฤษเพ่ือใชใ้ นชีวิตประจาวนัการศึกษาต่อ หรือใชใ้ นการทางาน หลกั สูตรภาษาองั กฤษหลายหลกั สูตรไดร้ บั การออกแบบใหเ้ หมาะกบั ความตอ้ งการของผูเ้ รียนทุกรูปแบบ นอกจากภาษาองั กฤษทวั่ ไปทุกระดับต้งั แต่ระดบั เร่ิมตน้ จนถึงระดบั สงู แลว้ ยงั มีหลกั สตู รท่ีปรบั เพ่ือใหเ้ หมาะสาหรบั การศึกษาต่อในสาขาวชิ าเฉพาะดา้ น หรือเป็ นหลกั สตู รที่จดั ใหม้ ีกิจกรรมอย่างใดอยา่ งหนึ่งควบค่ไู ปกบัการเรียนภาษาองั กฤษ หลักสูตรภาษาอังกฤษสาหรับนักเรียนต่างชาติเปิ ดสอนในมหาวิทยาลัยสถาบนั อาชีวศึกษาและฝึกอบรม วิทยาลยั เอกชน และสถาบนั ภาษาของเอกชน ซ่ึงต้งั อยู่ท้งั ในเมืองและนอกเมืองของทุกรฐั เปิ ดการเรียนการสอนเต็มเวลา มีระยะเวลาการเรียนการสอนต้งั แต่ 4 – 48 สปั ดาห์ การเรียนภาษาองั กฤษไม่ตอ้ งกาหนดคุณสมบตั ิเฉพาะในการสมัครเขา้ เรียน สถาบันสอนภาษาจะทาการทดสอบเพื่อวัดระดับความรู้ความสามารถดา้ นภาษาของนักศึกษาแต่ละคนกอ่ นเขา้ เรียน ท้งั น้ ีเพื่อท่ีจะไดจ้ ดั ช้นั เรียนและหลกั สตู รใหเ้ หมาะกบั พ้ นื ฐานความรู้

สาระน่ารเู้ ก่ยี วกบั การศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ 35สถาบนั ภาษาเปิ ดสอนหลายหลกั สตู ร เพ่อื ใหน้ ักศึกษาไดม้ ีโอกาสเลือกเรียน ดงั น้ ี หลกั สูตร เน้ ือหำ. ภาษาองั กฤษทวั่ ไป (General English) สอนเนน้ ทกั ษะทางดา้ นการพดู ฟัง และเขยี น. ภาษาองั กฤษเพื่อการศึกษาต่อ สอนเน้นทักษะไวยกรณ์ข้ันก้าวหน้า เพ่ือ เตรียมความพรอ้ มสาหรับนักเรียนท่ีพอมี (English for Academic Purpose) พ้ นื ฐานภาษาองั กฤษ สอนหลักภาษาเพ่ือใชใ้ นการเรียนในสาย. ภาษาองั กฤษเพื่อใชใ้ นสายวชิ าชีพ วิชาชีพเฉพาะสาขาต่าง ๆ เช่น การบิน (English for Vocational Purpose) ท่องเที่ยว การแพทย์ โรงแรม เตรียมความพรอ้ มของนักเรียน. ภาษาองั กฤษเพื่อเรียนต่อในระดบั มธั ยม หลกั สตู รเตรียมสอบ IELTS, TOEFL และ สอบ. ภาษาองั กฤษเพ่ือการเตรียมการทดสอบ ขอ้ ทดสอบ Cambridge English Australia (Examination Preparation)กำรสมคั รเขำ้ ศึกษำตอ่ ในสถำนศึกษำ หลกั ฐานการสมคั รข้ นึ อยกู่ บั มหาวทิ ยาลยั แต่โดยทวั่ ไปใชเ้ อกสารดงั น้ ี . หลกั ฐานการศึกษา (Transcript) 1 ชุด . ผลการสอบภาษาองั กฤษ (IELTS/TOEFL) ชุด . ผลสอบ GMAT (ในกรณีสมคั รสาขา MBA) ชุด . ใบผ่านงาน (ในกรณีสมคั รสาขา MBA) 1 ชุด . รปู ถ่ายหนา้ ตรง (อายไุ มเ่ กิน เดือน) หรือ น้ ิว จานวน รปู . หนังสือรบั รองการเงนิ จากธนาคาร . เอกสารอ่ืน ๆ เช่น จดหมายแนะนาจากอาจารยผ์ ูส้ อนหรือผูบ้ งั คบั บัญชาผลงานวิชาการ เรียงความประวตั ิส่วนตวั และเหตุผลในการเลือกสาขาท่ีสมคั ร เป็ นตน้และสาหรบั ผสู้ มคั รท่ีมีอายไุ มถ่ ึง ปี ใบสมคั รจะตอ้ งมีลายมือช่ือของนักเรียนและของบิดามารดาหรือผปู้ กครอง และใบสตู ิบตั รดว้ ย โดยเอกสารท้งั หมดตอ้ งเป็ นภาษาองั กฤษ เ มื่ อ นั ก เ รี ย น ส มัค ร ส ถ า น ศึ ก ษ า จ น ถึ ง ล ง ท ะ เ บี ย น เ รี ย น เ รี ย บ ร้อ ย แ ล้วสถานศึกษาจะส่งใบ COE (Comfirmation of Enrolment) เป็ นเอกสารยืนยนั การลงทะเบียนเพ่ือใชเ้ ป็ นเอกสารประกอบการยนื่ ขอวีซา่ นักเรียน

สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ 36กำรขอวีซ่ำประเทศออสเตรเลีย กำรขอวีซ่ำนกั เรียน (Student visa) ประเทศออสเตรเลียช่วงระยะเวลาพิจารณา โดยปกติประมาณ - วนั (ข้ นึ อยกู่ บั ลกั ษณะ และประเภทของการศึกษา)ระยะเวลาของวีซา่ ที่ไดร้ บั ข้ นึ อย่กู บั ระยะเวลาของหลักสตู รท่ีเรียน สถานทูต จะเผื่อเวลาไวใ้ หส้ าหรบั การเตรียมตวั เดินทางกลบั หรือทาเร่ืองเรียนต่อประมาณ 1 เดือนข้ นึ ไประยะเวลากอ่ นท่ีจะเขา้ เขา้ ไดท้ นั ทีที่วีซา่ ไดร้ บั การอนุมตั ิ หรือ ตามเงอ่ื นไขประเทศได้ ท่ีระบุในวีซา่แบบฟอรม์ ที่ใชใ้ นการขอวซี า่ Online Application Only (ประเภทนักเรียน Subclass 500)คา่ ธรรมเนียมวซี า่ และคา่ - คา่ ธรรมเนียมวซี า่ 550 AUD +จดั เก็บขอ้ มลู อตั ลกั ษณบ์ ุคคล - คา่ จดั เก็บขอ้ มลู Biometrics 839 บาท(Biometrics) (จะเป็ นการถ่ายภาพใบหนา้ ดว้ ยกลอ้ งถ่ายรปู ระบบ ดิจิตอล และใชร้ ะบบสแกนลายน้ ิวมอื แบบเลขสิบหลกั ดว้ ย เครื่องสแกนน้ ิวมือดจิ ิตอล) (ยงั ไมร่ วมค่าบริการของ VFS Global)  - ผเู้ ยาวท์ ่ีอายุ 16 ปี และ 17 ปี ตอ้ งมีบิดามารดา/  ผปู้ กครองตามกฎหมายใหค้ วามยนิ ยอมในการ เดินทางดว้ ยสถานท่ียนื่ ขอวซี า่ และจดั เก็บ - ผเู้ ยาวท์ ี่อายุ 5 ปี ถึง 15 ปี ตอ้ งมีบิดามารดา/ขอ้ มลู อตั ลกั ษณบ์ ุคคล ผปู้ กครองตามกฎหมายมาใหค้ วามยนิ ยอมในการ เดินทางด้วย และ จาเป็ นต้องมีบิดามารดา/ ผู้ปกครองตามกฎหมายอยู่ด้วยในขณะใหข้ อ้ มูลอัต- ลกั ษณบ์ ุคคล บริษัทวเี อฟเอส (ประเทศไทย) จากดั * (VFS Global)

สาระน่ารเู้ ก่ียวกบั การศกึ ษาตอ่ ต่างประเทศ 37(Biometrics) กำรขอวีซ่ำนกั เรยี น (Student visa) ประเทศออสเตรเลีย กรุงเทพมหำนคร เลขที่ 13 ช้นั อาคาร The Trendy Office Building ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองตนั เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศพั ท:์ 02 118 7100วตั ถุประสงคใ์ นการขอวีซา่ E-mail : info.divpth@vfshelpline/comการยนื่ วซี า่ จงั หวดั เชียงใหม่การตรวจสุขภาพ เลขที่ 191 ช้นั 6 อาคารศริ ิพานิช ถนนหว้ ยแกว้ อาเภอเมือง เชียงใหม่ 50200 (ตรงขา้ ม เมญ่าช็อปป้ ิ งเซ็นเตอรเ์ ชียงใหม)่ โทรศพั ท:์ 02 118 7100 E-mail: [email protected] เรียนแบบเต็มเวลา (Full time) หลกั สตู รการเรียน ภาษาองั กฤษระยะส้นั การเรียนระดบั ประถมศึกษา หรือมธั ยมศึกษา การเรียนระดบั วชิ าชีพ การเรียน ระดบั วิทยาลยั และระดบั มหาวิทยาลยั – ตัวเองเท่าน้ัน เพ่ือเก็บข้อมูล Biometric – สาหรับผูท้ ี่มีอายุตา่ กว่า 18 ปี บิดามารดา/ ผปู้ กครองตามกฎหมายสามารถยนื่ ขอวีซ่าในฐานะ ผูป้ กครองตามกฎหมายเพื่อเดินทางเขา้ ประเทศ ออสเตรเลียได้ (วีซ่าประเภทน้ ี ไม่อนุ ญาตให้ ผปู้ กครองทางาน) ภายหลงั จากยนื่ วีซา่ นักเรียนประมาณ 7-14 วนั นักเรียนจะไดร้ บั เอกสารสาหรบั ตรวจสุขภาพให้ นักเรียนไปตรวจสุขภาพที่โรงพยาบาลตามท่ี สถานทตู ออสเตรเลียกาหนดไว้ เท่าน้ัน

สาระน่ารเู้ กย่ี วกบั การศกึ ษาต่อต่างประเทศ 38การทางาน กำรขอวีซ่ำนกั เรยี น (Student visa) ประเทศออสเตรเลีย ทางานได้ 20 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ ในระหวา่ งเปิ ด ภาคเรียน และทางานแบบไม่จากดั ชวั่ โมง ในชว่ ง ปิ ดภาคเรียน* บริษัทวเี อฟเอส (ประเทศไทย) จากดั (VFS Global) ซ่ึงเป็ นผรู้ บั รบั ผิดชอบในการรบั ใบสมคั รและเอกสารประกอบการขอวีซ่า การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการยน่ื ขอวซี ่า การจ่ายหนังสือเดินทางและผลใหแ้ ก่ผขู้ อวีซ่า การใหบ้ รหิ ารของศนู ยย์ น่ื วซี ่าจะเป็ นไปตามขอ้ กาหนดของกระทรวงกจิ การตรวจคนเขา้ เมืองและพทิ กั ษ์เขตแดน เคริอรฐั ออสเตรเลียhttp://www.vfsglobal.com/Australia/Thailand/thai/index.htmlสาหรบั ขอ้ มลู เพ่ิมเติมเก่ียวกบั วซี ่าสามารถเขา้ Website ดงั น้ ี . http://www.border.gov.au/ Department of Immegration and Border Protectionประเทศออสเตรเลีย2. http://www.vfsglobal.com/australia/thailand/thai/pdf/Student-020716.pdfบริษัทวเี อฟเอส (ประเทศไทย) จากดั (VFS Global)

สาระน่ารเู้ กี่ยวกบั การศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศ 39 ประเทศญ่ีป่ ุนภำคกำรศึกษำปี การศึกษาใหม่ของประเทศญี่ป่ นุ จะเร่ิมในเดือน เมษายน และส้ ินสุดในเดือนมนี าคมของปี ถดั ไป โดยแบ่งภาคเรียนออกเป็ น ภาค ดงั น้ ีคือภำคตน้ ต้งั แต่เดือนเมษายน-เดือนกนั ยายนภำคปลำย ต้งั แต่เดือนตุลาคม-เดือนมนี าคมในสว่ นของการปิ ดภาคการศึกษาน้ัน จะแตกต่างกนั ไปตามมหาวทิ ยาลยัหรือคณะ แต่โดยทวั่ ไปแลว้ จะมชี ่วงปิ ดภาคการศึกษา คร้งั ใน ปี คือปิ ดภำคฤดรู อ้ น ตน้ เดือนกรกฎาคม-ปลายเดือนสิงหาคมปิ ดภำคฤดหู นำว ปลายเดือนธนั วาคม-ตน้ เดือนมกราคมปิ ดภำคฤดใู บไมผ้ ลิ ปลายเดือนกุมภาพนั ธ-์ ตน้ เดือนเมษายนหมายเหตุ : มีมหาวทิ ยาลยั เพียงไมก่ ่ ีแหง่ ท่ ีมีการรบั นักศึกษาเขา้ เรยี นในเดอื นตลุ าคมของการศึกษาภาคปลายระบบกำรศึกษำ การศึกษาในประเทศญี่ป่ ุนจะมีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกบั ประเทศไทย กล่าวคือมกี ารศึกษาในขน้ั กลาง 12 ปี ต้งั แต่ระดบั ประถม 6 ปี มธั ยมตน้ 3 ปี และมธั ยมปลาย 3 ปีหลงั จากน้ันจะมีใหเ้ ลือกเรียนในสายวิชาชีพ และระดบั มหาวิทยาลยั โดยการศึกษาภาคบงั คบัจะเร่ิมต้งั แต่ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ถึงช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (มธั ยมศึกษาปี ที่ )หรือต้งั แต่อายุ ปี ถึงอายุประมาณ ปี รวมระยะเวลาท้งั ส้ ิน ปี นักเรียนที่เรียนในการศึกษาภาคบังคบั จะไดร้ ับตาราเรียนฟรี คณะบริหารของโรงเรียนเป็ นผูเ้ ลือกตาราเรียนทุก ๆ สามปี โดยเลือกจากรายช่ือหนังสือท่ีกระทรวงการศึกษาไดร้ ับรองแล้วหรือหนังสือที่กระทรวงจดั ทาข้ นึ เอง กระทรวงจะเป็ นผรู้ บั ภาระค่าตาราท้งั ในโรงเรียนรฐั บาล

สาระน่ารเู้ กยี่ วกบั การศึกษาตอ่ ต่างประเทศ 40และโรงเรียนเอกชน ตาราเรียนมีขนาดเล็กใชป้ กอ่อนหุม้ สามารถพกพาไดโ้ ดยง่ายและถือเป็ นสมบตั ิของนักเรียน ตำรำงสรุปภำพรวมกำรศึกษำของประเทศญีป่ ่ ุนอำยุ(ปี ) ระดบั กำรศึกษำ รำยละเอยี ด แมจ้ ะไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับแต่เด็กๆ- อนุบำล ( ปี ) ส่วนใหญจ่ ะเขา้ เรียนในช้นั น้ ี การศึกษาภาคบงั คบั ของประเทศญี่ป่ นุ- ประถมศึกษำ ( ปี ) การศึกษาภาคบงั คบั ของประเทศญปี่ ่ นุ- มธั ยมศึกษำตอนตน้ ( ปี )- มธั ยมศึกษำตอนปลำย ( ปี ) ระยะเวลาในการศึกษา 4 ปี ยกเว้น- + ปริญญำตรี ( ปี +) คณะแพทยศาสตร์, ทันตแพทยศาสตร์ และ สตั วแพทยศาสตร์ ซ่ึงจะตอ้ งใชเ้ วลา 6 ปี+ ปริญญำโท ( ปี ) จดั อย่ใู นสถานศึกษาประเภทบณั ฑิตวิทยาลัย+ ปริญญำเอก ( ปี +) ระยะเวลาในการศึกษาไม่เกนิ ปี ร ะ ย ะ เ ว ลา เ รี ย น ไ ม่เ กิน ปี ย กเ ว้น วิทยำลยั ( ปี +) คณะแพทยศาสตร์, ทันตแพทยศาสตรแ์ ละ วิทยำลยั เทคนิค ( ปี +) สตั วแพทยศาสตรใ์ ชร้ ะยะเวลาเรียน ปี ระย ะเว ลาในกา รศึกษา ปี ยกเว้น วิทยำลยั อำชีวศึกษำ คณะพยาบาลศาสตรใ์ ชร้ ะยะเวลาเรียน ปี (หลกั สูตรวิชำชีพชน้ั สูง) เรียนหลักสูตรต่อเนื่อง ปี (สาหรบั ผทู้ ี่จบ มธั ยมศึกษาตอนตน้ ) และใชร้ ะยะเวลาเรียน ปี (สาหรบั ผทู้ ่ีจบมธั ยมศึกษาตอนปลาย) เป็ นสถาบันการศึกษาวิชาชีพแขนงต่างๆ จบแลว้ สามารถนาวิชาความรูไ้ ปประกอบ อาชพี ไดท้ นั ทีระยะเวลาในการศึกษา โดย ทวั่ ไป ปี (ไม่มีหลกั สตู รภาษาองั กฤษ)

สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศึกษาต่อต่างประเทศ 41ระบบการศึกษาของญ่ีป่ ุน แบ่งออกเป็ น ระดบั คือ 1. กำรศึกษำระดบั ตน้ ไดแ้ ก่ การศึกษาระดบั อนุบาล โดยเร่ิมเขา้ ศึกษาต้งั แต่อายุ ปี จนถึงอายุ ปี และการศึกษาระดบั ประถมศึกษา หลกั สตู ร ปี ต้งั แต่อายุ ปี จนถึงอายุ ปี 2. กำรศึกษำระดบั กลำง ไดแ้ ก่ การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาซึง่ แบ่งออกเป็ น . มัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตร ปี ต้ังแต่อายุ ปี ถึง ปีผลการเรียนในช้ันน้ ีจะมีผลต่กการเขา้ ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือมหาวิทยาลยั ท่ีมชี ื่อเสียง . มธั ยมศึกษาตอนปลาย หลกั สตู ร ปี เริ่มเขา้ ศึกษาต้งั แต่อายุ ปี ถึง ปี ในปั จจุบัน โรงเรียนมัธยมปลายที่เปิ ดรับนักเรียนต่างชาติเขา้ เรียนยงั มีไมม่ ากเท่าใดนัก ส่วนใหญ่จะเป็ นลกั ษณะของโรงเรียนประจา คือนักเรียนจะใชช้ ีวิตอยใู่ นโรงเรียนตลอดเวลา มหี อพกั อยใู่ นบริเวณโรงเรียน พรอ้ มอาหารครบทุกม้ ือ ซึ่งการจะเขา้ เรียนต่อในระดบั มธั ยมปลายที่ญี่ป่ ุนได้ จาเป็ นจะตอ้ งมีพ้ ืนความรภู้ าษาญ่ีป่ ุนมากพอสมควร เน่ืองจากการเรียนการสอนจะเป็ นภาษาญี่ป่ ุนท้งั หมด สาหรบั นักเรียนท่ีไม่มีพ้ ืนฐานความรภู้ าษาญี่ป่ ุนหรือมีพ้ ืนฐานเพียงเล็กน้อย ในช่วงปี แรกของการเขา้ เรียนทางโรงเรียนจะเน้นการเรียนภาษาญ่ีป่ ุนเป็ นวิชาหลกั และเรียนวิชาอื่น ๆ ที่ไม่จาเป็ นที่จะตอ้ งอาศยั ความรภู้ าษาญี่ป่ ุนมากนักร่วมกบั เด็กนักเรียนญ่ีป่ ุน เช่น ดนตรี พละศึกษาคอมพิวเตอร์ เป็ นตน้ หลงั จากที่นักเรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจภาษาญ่ีป่ ุนมากเพียงพอจึงจะเริ่มใหเ้ ขา้ เรียนร่วมกบั เด็กนักเรียนชาวญี่ป่ ุนอย่างจริงจงั ซึ่งวิชาที่เรียนก็จะคลา้ ยกบั บา้ นเรา เช่น วิชาคณิตศาสตร์ สงั คม ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร์ เป็ นตน้ 3. กำรศึกษำระดบั อดุ มศึกษำ ไดแ้ ก่ การศึกษาในมหาวทิ ยาลยัวทิ ยาลยั และวทิ ยาลยั อาชีวศึกษา . มหำวิทยำลยั หรือ Daigaku มหาวทิ ยาลยั ของประเทศญ่ีป่ ุนท่ีเปิ ดสอนระดบั ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกแบ่งออกเป็ น ประเภท คือ . . มหาวิทยาลยั ของรฐั คือมหาวิทยาลยั ท่ีจดั ต้งั โดยรฐั บาลกลางของญ่ีป่ ุน กระจายอย่ทู วั่ ประเทศท้งั หมด 86 แห่ง (ขอ้ มูลปี 2556) โดยแต่ละจงั หวดัจะมีมหาวิทยาลยั ของรฐั บาล 1 แห่งเป็ นอยา่ งตา่ . . มหาวิทยาลยั ของทอ้ งถิ่น คือมหาวิทยาลยั ที่จดั ต้งั โดยองคก์ รปกครองตนเองส่วนทอ้ งถ่ิน มีอยทู่ ้งั ส้ ิน 90 แหง่ ทวั่ ประเทศ

สาระน่ารเู้ กีย่ วกบั การศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศ 42 . . มหาวิทยาลัยเอกชน คือมหาวิทยาลัยท่ีจัดต้ังโดยเอกชนมีอยทู่ ้งั ส้ ิน 606 แห่งทวั่ ประเทศกำรศึกษำระดบั ปริญญำตรี แบ่งออกแป็ น ประเภท คือ 1. นักศึกษาภาคปกติ ระยะเวลาในการศึกษา 4 ปี ยกเวน้ คณะแพทยศาสตร์ , ทนั ตแพทยศาสตร์ และสตั วแพทยศาสตร์ ซง่ึ จะตอ้ งใชเ้ วลา 6 ปี 2. นักศึกษาเวลาพิเศษประเภทไมร่ บั หน่วยกติ (Auditors) สามารถเลือกเรียนวิชาต่างๆ ได้ แต่คุณสมบัติของนักศึกษาและวิชาท่ีเปิ ดให้เข้าเรียนจะแตกต่างไปตามแต่ละมหาวทิ ยาลยั (นักศึกษาประเภทน้ ีจะไม่ไดร้ บั หน่วยกิต) 3. นักศึกษาเวลาพิเศษประเภทไดร้ บั หน่วยกติ รายละเอยี ดเหมือนนักศึกษาเวลาพิเศษประเภทแรก แต่นักศึกษาประเภทน้ ีจะไดร้ บั หน่วยกติ แมว้ ่าจะแบ่งมหาวิทยาลัยออกเป็ น 3 ประเภทตามองค์กรท่ีจัดต้ังก็ตามแต่ท้งั 3 ประเภทก็ถูกจดั ต้งั ข้ ึนดว้ ยมาตรฐานเดียวกนั คุณภาพทางการศึกษาในระดบัเดียวกนั ต่างกนั ท่ีค่าใชจ้ ่ายของเอกชนจะแพงกว่าของรฐั บาลและทอ้ งถิ่น และถึงแมว้ ่านักศึกษาส่วนใหญ่ ต่างก็มุ่งท่ีจะเรียนในโตเกียวก็ตาม แต่ในพ้ ืนที่อ่ืน ๆ ของญี่ป่ ุนก็มีขอ้ ไดเ้ ปรียบอ่ืน ๆ หลายอย่าง เช่นในเร่ืองค่าใชจ้ ่ายที่ถูกกว่า จานวนนักศึกษาต่อหอ้ งท่ีน้อยกว่าทาใหอ้ าจารยด์ ูแลไดท้ ัว่ ถึง มีโอกาสไดใ้ กลช้ ิดกับสังคมทอ้ งถ่ินง่ายกว่าการอยใู่ นเมอื งใหญ่ท่ีสบั สนวนุ่ วาย เป็ นตน้ . วิทยำลัย หรือ Tanki Daigaku การศึกษาในระดับน้ ีใชร้ ะยะเวลาในการศึกษา ปี เช่นเดียวกบั Jonior College หรือ Two - year College ของสหรฐั อเมริกาแต่อาจมบี างสาขาวชิ ากาหนดหลกั สตู รไว้ ปี เช่น สาขาพยาบาล เป็ นตน้ วิทยาลัยในประเทศญี่ป่ ุนน้ันประมาณรอ้ ยละ ของวิทยาลยั ท้งั หมดเป็ นวทิ ยาลยั เฉพาะสาหรบั ผหู้ ญิง ซึ่งประกอบดว้ ยสาขาทางดา้ น คหกรรมศาสตร์ อกั ษรศาสตร์ภาษาศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ สุขศึกษา บริหารธุรกิจ และเลขานุการ (ปั จจุบันสาขาวิทยาศาสตรไ์ ดร้ บั ความนิยมเพม่ิ มากข้ นึ ) การรบั เขา้ ศึกษาจะกาหนดคุณสมบตั ิต่าง ๆ ไว้ เช่นเดียวกบั การสมคั รเขา้ มหาวิทยาลัย และผูส้ าเร็จการศึกษาหลักสูตร หรือ ปี ของวิทยาลัยประเภทน้ ีอาจสมคั รเขา้ ศึกษาในช้นั ปี ท่ี หรือ ของมหาวิทยาลยั ได้

สาระน่ารเู้ กย่ี วกบั การศึกษาต่อตา่ งประเทศ 43 . วิทยำลยั เทคนิค หรือ Koto Senmon Gakko เป็ นสถาบนั การศึกษาที่เปิ ดสอนหลักสูตรต่อเน่ือง ปี จากมัธยมศึกษาตอนต้น สาหรับผูท้ ่ีจบมัธยมศึกษาตอนปลายใช้เวลาเรียน ปี เพ่ือผลิตช่างเทคนิคระดับต้นมารองรับการพัฒนาประเทศด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรม สถาบันส่วนใหญ่เป็ นวิทยาลัยเทคนิคทางวิศวกรรมศาสตรแ์ ละสาขาที่เก่ยี วขอ้ ง นอกจากน้ันจะเป็ นสาขาพิเศษต่าง ๆ เช่น การเดินเรือพาณิชย์ เป็ นตน้ ผสู้ าเร็จการศึกษาจากวิทยาลยั เทคนิคน้ ี มหาวิทยาลยั อาจพิจารณารบั เขา้ ศึกษาในช้นั ปี ท่ี หรือ ในหลกั สตู รปริญญาตรีของมหาวิทยาลยั . วิทยำลยั อำชีวศึกษำ เป็ นสถาบนั การศึกษาวิชาชีพแขนงต่างๆเพ่ือเสริมสร้างความรู้ความสามารถและความชานาญที่จาเป็ นในการประกอบอาชีพเปิ ดสอนหลกั สูตรระยะส้นั - ปี โดยปกติแลว้ จะเป็ น ปี สถาบนั การศึกษาประเภทน้ ีมชี ื่อเรียกแตกต่างกนั ตามพ้ นื ฐานความรขู้ องผเู้ ขา้ ศึกษา คอื . . Senshu Gakko คือ สถาบนั การศึกษาท่ีรบั ผสู้ าเร็จการศึกษาในระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม. ) เขา้ ศึกษา . . Senmon Gakko คือ สถาบนั การศึกษาท่ีรบั ผูส้ าเร็จระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม. ) เขา้ ศึกษา . . KakushuGakko (Miscellaneous School) คือ สถาบนั การศึกษาที่รับท้งั ผูส้ าเร็จการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย และบุคคลทวั่ ไป หลกั สูตรท่ีเปิ ดสอน หลกั สตู รที่เปิ ดสอนในวิทยาลัยอาชีวศึกษาแบ่งออกเป็ น สาขา ไดแ้ ก่ 1. สาขาอุตสาหกรรมศาสตร์ เช่น ไฟฟ้ า เครื่องกล วิศวกรรมโยธาวิศวกรรมก่อสรา้ ง ช่างสารวจ และสถาปัตยกรรม เป็ นตน้ . สาขาเกษตรศาสตร์ เช่น เกษตรกรรม การจดั สวน เทคโนโลยชี ีวภาพเป็ นตน้ . สาขาการแพทยแ์ ละการพยาบาล เช่น พยาบาล เทคนิคทันตกรรมกายภาพบาบดั เป็ นตน้ . การศึกษาและสังคมสงเคราะห์ เช่น การดูแลเด็กอ่อนและคนชราสวสั ดิการสงั คม เป็ นตน้

สาระน่ารเู้ กยี่ วกบั การศกึ ษาต่อต่างประเทศ 44 . สาขาสาธารณสุขศาสตร์ เช่น อาหาร โภชนาการ ช่างทาผมช่างเสริมสวย เป็ นตน้ . สาขาพาณิชยศาสตร์ เช่น บัญชี เลขานุ การ ธุรกิจท่องเท่ียวการโรงแรม เป็ นตน้ . สาขาคหกรรมศาสตร์ เช่น ตัดเย็บเส้ ือผ้า ธุรกิจแฟชัน่ ออกแบบการตดั เยบ็ แบบญี่ป่ ุน เป็ นตน้ . สาขาศิลปวัฒนธรรมและการศึกษาทัว่ ไป เช่น ภาษาศาสตร์ศิลปกรรม ดนตรี กีฬา ถ่ายภาพ การแสดง เป็ นตน้ภาพที่ 1 ระบบการศกึ ษาของประเทศญปี่ ่นุที่มาภาพ http://www.mext.go.jp/english/introduction/1303952.htm


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook