Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ✍️ มุนีนาถทีปนี โดยพระพรหมโมลี

✍️ มุนีนาถทีปนี โดยพระพรหมโมลี

Description: ✍️ มุนีนาถทีปนี โดยพระพรหมโมลี

Search

Read the Text Version

251 ปถุ ุชนคนธรรมดา เพราะว่าเปน็ ผหู้ ากิเลสตณั หามิได้ เป็นผู้บรสิ ุทธผ์ิ ุดผ่องไม่มใี ครจะเทยี มถงึ ... อีกประการ หน่งึ อันวา่ มหาสมุทรอันกวา้ งใหญน่ ย้ี ่อมเจอื จานไปด้วยบุปผาสุมาลลี าดอกไม้ ชวนให้รื่นรมย์แก่บุคคลผู้ ดมดอม มกี ลิ่นหอมบริสุทธิ์สดุ คณนา อุปมาน่ีฉันใด อันวา่ พระนพิ พานนกี้ ็เหมอื นกันยอ่ มเจอื จานดว้ ย ดอกไม้เสาวคนชาตหิ อมบรสิ ทุ ธิ์ กลา่ วคอื พระวิมตุ ธิ รรมอันไพบลู ยบ์ รสิ ุทธิ์ ทรงไวซ้ ึ่งพระบวรคณุ มากมาย สดุ ประมาณ ซึ่งคนพาลโงง่ มงายไมม่ ีโอกาสรู้จกั แต่นกั ปราชญผ์ เู้ ป็นพทุ ธบตุ รทั้งหลาย ตา่ งกม็ ีใจมุง่ หมาย ปรารถนากันนกั คุณแห่งโภชนาหาร ธรรมดาว่าโภชนาหาร อนั สัตวโ์ ลกทงั้ หลายตอ้ งบริโภคเข้าไปทุกวนั น้ี หากเปน็ อาหารดีไม่มโี ทษแลว้ ยอ่ ม อำานวยประโยชน์โสตถิผลตามคณุ ลักษณะ ๕ ประการ คือ ๑. เลี้ยงไว้ซงึ่ อายุสตั วใ์ ห้วฒั นาการจาำ เรญิ ยิ่งๆ ขน้ึ ไป ๒. เพ่มิ กำาลงั แรงแหง่ สัตว์ท้งั หลายใหจ้ าำ เริญย่ิงๆ ขน้ึ ไป ๓. ให้เกดิ มีผิวพรรณผ่องใสไม่ให้อบั เศร้าหมองศรีคอื ผมตายซาก ๔. ดบั เสยี ซง่ึ ความอยาก ความกระวนกระวายไมม่ ีความสบายอยู่ไมเ่ ป็นสขุ ๕. บรรเทาทุกข์อนั เกิดจากความหวิ โหยโรยแรง เพราะอดขา้ วอดน้ำาแหง่ สัตว์ทัง้ หลาย อปุ มาท่ี ว่ามานี้ ฉันใด

252 อันว่าพระนพิ พานน้ี ก็มสี ภาพคลา้ ยกันนี้ เพราะมคี ุณลกั ษณะอนั ประเสริฐสุดเทียบเคยี งกนั ได้ ๕ ประการ คอื ๑.พระนิพพาน ยอ่ มเล้ียงสตั ว์ทรงสัตวผ์ ู้ได้พระนิพพานไว้ มิให้ฉบิ หายด้วยชราและมรณะ คอื ไม่ ใหแ้ กไ่ มใ่ ห้าย ๒. พระนพิ พาน ยอ่ มเพม่ิ กาำ ลังแรง ทำาสตั ว์ผ้ไู ด้พระนพิ พานใหเ้ ปน็ คนจาำ เริญฤทธม์ิ ีอทิ ธพิ ลโดย อุดม แม้แตพ่ ญามัจจรุ าชเจ้าแหง่ ความตายก็ตอ้ งเกรงกลวั จะมาทำาอนั ตรายมไิ ด้ ๓. พระนพิ พาน ยอ่ มบันดาลให้สตั ว์ผ้ไู ดบ้ รรลนุ ัน้ เป็นบคุ คลมีผวิ พรรณผดุ ผ่องสวยงาม เปน็ หนึ่ง ไม่มสี องสุดประเสริฐ เพราะผู้ไดพ้ ระนิพพานน้นั ยอ่ มเพริศพร้งิ ไปดว้ ยศลี อนั งามสดุ ประเสริฐ ๔. พระนิพพาน ย่อมบันดาลให้สัตวท์ ง้ั หลายเป็นสุข ระงบั ดับเสยี ซงึ่ ความกระวนกระวาย เพราะ อาำ นาจแหง่ กเิ ลสทงั้ หลายชกั พาไปใหเ้ ดอื ดรอ้ นกระวนกระวาย เช่นทเ่ี หน็ ๆ กันอยู่น่ี ๕. พระนิพพาน ยอ่ มบันดาลใหส้ ตั ว์ท้งั หลายหมดความทกุ ข์ บันเทาเสียซึ่งความอยากหิวโหย กลา่ วคือ กองทุกขท์ ง้ั หลายอนั สมุ ทับสามญั สัตว์ ให้ปรวิ ัฏเวยี นว่ายตายเกิดอยใู่ นวัฏสงสารไมม่ ี วันสน้ิ สดุ พุทธ บตุ รผู้มปี ญั ญา เมื่อมองเหน็ คณุ คา่ แห่งพระนพิ พานอนั มคี ณุ ลักษณ์สิริรวมเปน็ ๕ ประการน้ี จึงมีจิต ยนิ ดปี รารถนาพระนพิ พานย่งิ กว่าส่งิ อนื่ ประการใดทง้ั หมด คณุ แห่งยอดบรรพตครี ี ธรรมดาว่าบรรพตคีรี อนั ปรากฎมใี นโลกนี้ เฉพาะตรงท่ียอดแห่งภเู ขาคีรีนน้ั ย่อมทรงไวซ้ ง่ึ คณุ ลักษณะ สำาคัญเปน็ ๕ ประการ คือ

253 ๑. ยอดครี นี ัน้ ย่อมปรากฎเป็นสว่ นสงู ทส่ี ุดแห่งส่วนคีรีนน้ั ทั้งหมด ๒. ยอดครี นี ้ัน ย่อมจะหาพชื ต่างๆ งอกขน้ึ มไิ ดเ้ ลย ๓. ยอดคีรนี ้นั ย่อมไมม่ คี วามหว่นั ไหว โดยประการใดทงั้ ปวง ๔. ยอดครี ีนัน้ ยอ่ มเป็นสถานทีอ่ นั บุคคลจะขึ้นไปไดโ้ ดยยากนกั หนา ๕. ยอดครี นี ัน้ ย่อมปราศจากความรกั ความชงั ท้ังสน้ิ เพราะเปน็ ภมู สิ ถานทีไ่ ม่มีวญิ ญาณชีวติ จิตใจ อปุ มาท่ี ยกมานีฉ่ นั ใด อันวา่ พระนิพพานน้ี ก็มีสภาพคล้ายกนั กับยอดบรรพตครี ีทว่ี ่าน้ัน เพราะทรงไว้ซง่ึ คุณลกั ษณะสำาคัญ ๕ ประการ คอื ๑. พระนพิ พาน ย่อมเปน็ ธรรมสงู สุดในพระพุทธศาสนา บรรดาธรรมะอันเปน็ พระโอวาทานสุ าสนีแหง่ องค์ สมเดจ็ พระชินสีหส์ ัมมาสัมพทุ ธ เจ้าทงั้ หมด ยอ่ มมีพระนพิ พานปรากฎเป็นยอดสงู เด่น ๒. พระนิพพาน ยอ่ มเปน็ ธรรมสถานทีเ่ ตยี นโล่งปลอดโปรง่ ปราศจากพืชที่รกรุงรัง คือกเิ ลสตัณหาทัง้ หลาย หมายความว่ากเิ ลสตณั หาจะงอกขึ้นในพระนพิ พานไม่ได้เด็ดขาด ๓. พระนิพพาน ย่อมไมม่ ีความหว่ันไหว ทา่ นผู้ได้นิพพานสมบตั ิ ยอ่ มปราศจากความหวั่นไหวในโลกธรรม ทกุ ชนดิ มีจติ คงที่ มั่นคงไมค่ ลอนแคลนโดยประการท้ังปวง ๔. พระนิพพาน ย่อมเปน็ ธรรมสถานอนั บคุ คลจะขึน้ ไปถึงได้นั้นยากนกั หนา อยา่ ว่าแต่จะขนึ้ ไปถงึ เลย

254 ประชาสัตว์โดยมากมกั เฉยเมยไม่ร้ไู ม่ช้ี ตง่ พากันถอื ว่ามิใชห่ นา้ ที่ของตน เพราะค่าทเ่ี ป็นคนพาลสนั ดาน หนาไปด้วยโมหะ มองสักเทา่ ไหรก่ ไ็ ม่เห็นคุณแห่งพระนิพพาน ฝา่ ยทา่ นที่มีปัญญามองเหน็ คุณคา่ กว่าจะได้ จะถงึ ก็ตอ้ งอตุ สาหะพยายามฟนั ฝา่ อุปสรรคอนั ตรายมากมายนักหนา กวา่ จะถึงยอดครี คี อื พระนพิ พานนีไ้ ด้ ๕. พระนิพพาน ย่อมเป็นธรรมท่ปี ราศจากความรกั ความชัง เพราะไมม่ กี ิเลสตณั หาคั่งค้างเหลอื ตดิ อยแู่ ม้แต่ เพียงนดิ หนึ่ง ซึง่ ท่านผู้ทไ่ี ด้นิพพาน ยอ่ มประสบความสขุ เกษมสานตโ์ ดยสว่ นเดยี วอยา่ งแท้จรงิ พระนิพพาน ยอ่ มเป็นสิ่งประเสรฐิ สดุ นักหนา ตามทพ่ี รรณานามานี้ คุณแห่งนภาลยั อุปมากถา สดุ ทา้ ย ทีจ่ ะยกมากล่าวให้เราท่านทง้ั หลายไดท้ ราบเพอ่ื เปน็ เคร่ืองอาบใจให้เกดิ ความ ชุ่มฉ่ำา ดม่ื ด่ำาในพระคณุ แห่งสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถศาสดาจารยเ์ จา้ พระองค์ผูท้ รงมีพระมหากรณุ าทรง ประทานพระนิพพานสมบตั นิ ้ไี ว้แกพ่ วกเราชาวพทุ ธ บรษิ ัททั้งหลายและเพอ่ื เปน็ เครอ่ื งเตอื นใจให้เราทา่ นทง้ั หลายมศี รัทธาอนั ถกู ต้อง เร่งรบี รองรับมรดกอันประเสริฐสดุ กล่าวคือพระนพิ พาน ท่พี ระพุทธองค์ทรง ประทานไว้ เอามาเปน็ สมบัตขิ องตนให้จงได้ กอ่ นท่จี ะตายไปจากโลกโดยเปลา่ ประโยชน์นน้ั ก็ได้แกอ่ ปุ มา พระนิพพาน ดว้ ยคุณลักษณะแห่งนภาลยั ประเทศ ๑๐ ประการ คือ ๑. ธรรมดาว่านภาลยั ประเทศ คืออากาศน้ัน ย่อมเปน็ ธรรมชาติทีไ่ มร่ จู้ กั แกฉ่ นั ใด อันว่าพระนิพพานน้ี ก็เปน็ คณุ ชาตทิ ี่ไมร่ ้จู ักแกช่ ราเหมอื นกนั ๒. ธรรมดาว่า นภาลัยประเทศนนั้ ยอ่ มเปน็ ธรรมชาตไิ มร่ ูต้ ายฉนั อันวา่ พระนพิ พานนี้ กเ็ ปน็ คณุ ชาตอิ นั อมตะไมร่ ้มู รณะเหมอื นกนั ๓. ธรรมดาวา่ นภาลยั ประเทศน้ัน ย่อมเป็นธรรมชาตทิ ่ีทรงอทิ ธิฤทธไิ์ วใ้ นตวั ของมนั หาอันธพาลตนใดจะ ข่มเหงมิได้ อันวา่ พระนิพพานน้กี ็เปน็ คณุ ชาตทิ มี่ ีฤทธิ์ ปราศจากอมติ รผขู้ ่มเหงเหมือนกนั

255 ๔. ธรรมดาวา่ นภาลยั ประเทศนัน้ โจรอนั ธพาลใจฉกาจสักเพยี งไร ก็ไม่สามารถจะช่วงชิงฉกเอาไปไดฉ้ นั ใด อันวา่ พระนิพพานน้ี กเ็ ป็นคณุ ชาตทิ ี่โจรร้ายจะชว่ งชงิ ฉกลักเอาไปมไิ ดเ้ หมือนกัน ๕. ธรรมดาว่านภาลยั ประเทศน้นั ย่อมเปน็ ธรรมชาตทิ ไี่ ม่มีใครจะไปตง้ั รกอาศัยอยูไ่ ดฉ้ นั ใด อันวา่ พระ นพิ พานนก้ี เ็ ปน็ คุณชาติท่กี เิ ลสรา้ ยลามกท้งั หลายจะอาศัยอยูม่ ไิ ด้ เหมือนกนั ๖. ธรรมดาวา่ นภาลยั ประเทศนั้น ย่อมเป็นธรรมชาตทิ ี่สัตว์บางหมู่ เช่นสกณุ ปกั ษี มนุษยผ์ ้มู ีฤทธีและอสุรี ยกั ษ์ เทวดา พรหม เท่านนั้ ทีส่ ามารถจะคมนาการสญั จรไปได้ฉนั ใด อันวา่ พระนพิ พาน ก็เปน็ คณุ ชาตทิ ี่ บุคคลผู้มวี าสนาคือพระอรยิ เจา้ ผปู้ ระเสรฐิ เทา่ นัน้ จักสัญจรไปมาไดเ้ ช่นเดียวกนั ๗. ธรรมดาว่านภาลยั ประเทศน้นั ย่อมเปน็ ธรรมชาติทีไ่ มร่ ู้ จตุ เิ คลื่อนไปฉนั ใด อันวา่ พระนพิ พานนี้ กย็ อ่ ม เป็นคุณชาตทิ ่ไี มร่ ู้จตุ เิ หมือนกัน ๘. ธรรมดาว่านภาลัยประเทศนั้น ย่อมเปน็ ธรรมชาติทกี่ ว้างขวาง วา่ งโลง่ หาสงิ่ ที่จะกัน้ กางมิไดเ้ หมอื นกัน ๑๐. ธรรมดาวา่ นภาลัยประเทศนน้ั ยอ่ มเปน็ ธรรมชาติที่เป็นอนนั ต์ คอื หาท่สี ุดมิได้ กว้างยวใหญไ่ มม่ ี ประมาณฉันใด อนั ว่าพระนิพพานน้ี ก็เปน็ คณุ ชาตทิ ก่ี ว้างยาวใหญ่ไมม่ ีประมาณ เป็นอนนั ต์หาท่สี ดุ มิได้ เหมือนกัน ท่านผู้มีปัญญาท้ังหลาย พระนิพพานเปรียบเทยี บคล้ายกับคุณลกั ษณะแหง่ อากาศนภาลัย สิริรวมเปน็ ๑๐ ประการตามทพี่ รรณนามาน้ี ขอจงคอ่ ยพิจารณาใหด้ เี ถดิ จะเกิดประโยชน์แก่ชวี ิตนักหนา

256 นพิ พานปฏปิ ทา เมื่อเมธีคนมีปญั ญามาพิจารณาเหน็ คณุ คา่ แหง่ พระนพิ พานทอี่ งค์สมเด็จพระบรม ศาสดาจารย์ทรงเปิดเผย โปรดประทานไว้ เพ่ือเป็นเครื่องรือ้ สัตว์ขนสตั ว์ไป ให้พน้ ภยั จากวัฏสงสารตามทีพ่ รรณนามาน้ีแลว้ ดว้ ยดี ยอ่ มมีศรทั ธาเกิดขนึ้ ในดวงใจอย่างลึกซึง้ ใคร่ทีจ่ ะไดจ้ ะถงึ พระนพิ พาน มนี ำา้ ใจร่าเริงอาจหาญในนิพพาน ปฏิปทา อุตสาหะพยายามคอ่ ยดำาเนินไป มไิ ด้มคี วามประมาทในวัยแลชีวติ มิไดค้ ิดโง่เซ่อซ่ามัวแตห่ ลับตา แสวงหาสิ่งภายนอกอันไรผ้ ล ดุจคนอาภัพไมพ่ บพระพุทธศาสนา แต่มีนำา้ ใจกล้าสพู้ ยายามดำาเนนิ ตาม มรรคา แมแ้ ต่ชวี ิตแลเลอื้ เนอ้ื แห่งอาตมากจ็ ำายอมเสียสละ พยายามปฏิบตั ดิ ว้ ยดีโดยวธิ กี ารทีถ่ ูกต้องตาม ครรลองแห่งสมั มาปฏิบตั ิ ด้วยการพจิ ารณาซึ่งสงั ขารธรรม ตามพระโอวาทานุสาสนสี มเดจ็ บพติ รชนิ สีห์สงั่ สอนมาเมือ่ วาสนาบารมเี ตม็ ท่แี ล้ว กจ็ ะกระทำาใหแ้ จ้งด้วยปัญญา บรรลถุ งึ พระนิพพานสมความปรารถนา เปรยี บอุปมาดจุ ศิษย์ทเ่ี รียนวิชาในสำานักอาจารย์ เม่ือไมม่ คี วามดอื้ ดา้ นหรือความเกียจคร้านตดิ อยใู่ น สันดาน เช่ือถือตามท่ีอาจารยเ์ ฝา้ สงั่ สอนมา ก็สามารถจะกระทาำ พทิ ยาคุณให้แจง้ ไดด้ ว้ ยปญั ญา สำาเร็จ ศิลปศาสตร์สมปรารถนา มีความสุขสบายเปน็ ที่ไปในเบ้ืองหนา้ เมื่อทา่ นผมู้ เี พียรกลา้ เปน็ พระโยคาวจรบุคคล หวงั จะนำาตนออกจากวฏั ฏสงสาร พยายามปฏิบัตติ าม กระแสพระพทุ ธฎกี ารเปน็ สัมมาปฏบิ ตั จิ นได้สาำ เร็จธรรมวิเศษ สิ้นกิเลสกระทำาให้แจ้งซง่ึ พระนิพพานแลว้ ่อม มดี วงหฤทยั ผอ่ งแผ้วปราศจากทุกข์ หาอุปทวะอันตรายมิได้ เพราะพระนิพพานมีลักษณะเปน็ สภาวะละเอียด สงบเกษมสาำ ราญ ประณตี สะอาดและเยอื กเย็นสนทิ ทำาใหผ้ พู้ บเห็นประสบสุขสุดประมาณเปรียบปานดุจ บรุ ุษผูห้ นึง่ ซง่ึ มวั หลงน่ังซมึ เซอ่ อยูใ่ กลก้ องเพลิงใหญ่มาตลอดกาลนาน ความร้อนแห่งไฟยอ่ มจะเผาผลาญ เขาใหร้ ้อนรนกระวนกระวายอยู่เนอื งนติ ย์ คร้ันเขาไดส้ ติคดิ จงึ กระโดดเผน่ หลีกหนอี อกไปให้พ้นจากกอง เพลิงนน้ั ไปใหไ้ กลเสยี ในทอ่ี ื่นเขายอ่ มไดร้ ับความชมุ่ ช่ืนเป็นสุขสำาราญ ไม่ต้องทรมานรอ้ นเรา่ อกี ต่อไป อปุ มาน้ฉี ันใด เราท้งั หลายในปัจจุบนั ทกุ วนั นกี้ ็เรา่ ร้อนอยูน่ กั ด้วยถกู กองไฟ ๓ กอง คือ ราคคฺคิ...ไฟคอื ราคะกองหนึง่ โทสคคฺ .ิ ..ไพคือโทสะกองหน่ึง โมหคคฺ .ิ ..ไฟคือโมหะกองหนง่ึ มนั พากนั สุมรุมล้อมอยูร่ อบตวั

257 เป็น ๓ เส้า แตย่ งั มนึ เมางงๆ อยูช่ อบกล เลยมคิ อ่ ยจะรสู้ กึ ตนไดส้ ติ แตท่ ่านผ้มู ีวริ ิยะกล้า คอื พระโยคาวจร บุคคล ท่านทนความเร่ารอ้ นอย่มู ไิ ด้ เพราะในดวงใจค่อยเกดิ ปัญญาเบ่งรัศมอี อกมา ทาำ ให้ฉววี รรณคอื ผวิ หนงั ของทา่ นเกดิ มอี าการบาง จงึ รีบกระโดยผางออกไปตามหนทางมรรคา ท่พี ระศาสดาจารยเ์ จา้ ทรงชี้ บอกไว้ มิไดอ้ าลยั ในกองเพลิงอันรุ่งเรอื งรอ้ นร้าย ลกุ เผาไหม้อยไู่ ม่วายเว้น กไ็ ดไ้ ปอยใู่ นโอากสทีเ่ ยน็ สบาย สุดประมาณคอื พระนิพพานนแี่ หละเปน็ จาำ นวนมากตอ่ มากมาแล้ว เป็นอย่างนี้จรงิ ๆ ไมต่ ้องสงสยั อีกประการหน่งึ เปรยี บเหมอื นบรุ ุษผู้ซ่งึ นง่ั อยู่ ณ สุสานท่ามกลางซากศพงู สนุ ขั และศพมนษุ ย์อนั เน่าเหม็น ตลอดกาลนานไมน่ อ้ ย กลนิ่ เหม็นทุคนธชาตยิ อ่ มจะระบายทะยอยโชยเขา้ ไปในนาสิกของเขาเรื่อยๆ ไม่ หยดุ ย้งั ย่อมทาำ ใหเ้ ขาคลุม้ คลัง่ กระวนกระวายสะอดิ สะเอยี นอยู่เนอื งนติ ย์ คร้ันได้สติคิดจึงบา่ ยหน้าเขา้ ไปสู่ ป่าเพอื่ จะแสวงหาฟืน มาเผาซากศพอันลามกร้ายใหห้ มดไป ในขณะท่ีเผาซากศพนน้ั ยอ่ มจะตอ้ งร้อนรน ด้วยเปลวไฟบ้างเปน็ ธรรมดา ครัน้ ว่าเขาเผาซากศพแลว้ ยอ่ มจะได้สูดอากาศบรสิ ทุ ธ์สิ ดชน่ื รน่ื อรุ า กลิ่น เหม็นแห่งงูเนา่ แลมนุษย์เนา่ ยอ่ มไม่กระทบนาสิกของเขาอกี ต่อไป อปุ มาข้อนี้ฉนั ใด เราทา่ นท้ังหลายทุกวนั นี้ ที่ยังเปน็ ปถุ ชุ นยงั ระคนยินดอี ยู่ในซากศพอันได้แก่เบญจกามคุณคือ รูป รส กล่นิ เสยี ง สัมผสั ก็เปรียบ เหมอื นบุรษุ ผูม้ ีฆานประสาท คือ จมูกวบิ ตั ใิ ช้การมิได้ เลยไมร่ ู้สึกเหมน็ ในซากศพ คือเบญจกามคุณ มิ หนาำ ซ้ำากลับหลงใหลไขวค่ ว้าแสวงหากนั วนุ่ เพลินอยู่ ถึงจะมที ่านผรู้ คู้ อื สมเด็จพระพุทธเจ้าทรงพยายาม บอก ก็ใคร่คิดจะเถยี งนอกคอกไปวา่ \" ซากศพคือเบญจกามคณุ ทว่ี า่ นั่น มนั ไม่เห็นนา่ จะรังเกียจอะไร พยายามคดิ เทา่ ไหร่กค็ ิดไม่เหน็ ว่า มนั จะเน่าเหมน็ ท่ีตรงไหน\" ท้ังนี้มใิ ช่อ่ืนไกล เปน็ เพราะจมูกยังเสียอยู่ น่ันเอง ฆานประสาทยังใชก้ ารไม่ได้ เมอ่ื ไรจะดีสักทกี ็ไม่รู้ ฝ่ายทา่ นผมู้ ปี ัญญาวาสนาคอื พระโยคาวจรบุคคล ท่านทนความเหม็นแห่งเบญจกามคณุ อยู่มไิ ด้ เพราะในดวงใจคอ่ ยเกิดปัญญาเบ่งรัศมีออกมาทำาให้นาสิกดี จึงรับขะมขี มันเข้าปา่ ไปหาฟนื มาเผาซากศพคอื เบญจกามคุณเสยี ดว้ ยการปฏบิ ัติตามพระแสพระพุทธฎีกา แตว่ า่ ในขณะปฏบิ ัติอยู่นนั้ ก็ย่อมลาำ บากบา้ งเป็นธรรมดา เหมอื นบรุ ษุ กาำ ลงั เผาซากศพในปา่ ย่อมร้อนด้วย เปลวไฟบ้าง ฉะนนั้ ครนั้ พยายามปฏิบตั ิไป เมอื่ วาสนาบารมถี งึ ทแ่ี ล้ว กไ็ ม่แคล้วท่ีจะจัดการเผา

258 เบญจกามคณุ สาำ เรจ็ ได้บรรลธุ รรมวิเศษเป็นพระอรหันตขณี าสพเจ้า ไดม้ ีโอกาสเขา้ ไปสดู อากาศอนั แสนจะ สดชนื่ หายใจอยา่ งโล่งอกสขุ สาำ ราญอยู่ในหว้ งแห่งพระนิพพานอันแสนประเสริฐ เปน็ อย่างนม้ี ามากตอ่ มาก แล้วจรงิ ๆ ไม่ต้องสงสยั อกี ประการหนง่ึ เปรยี บเสมอื นบุรษุ หนุ่มเจา้ สำาราญมีนาำ้ ใจอาจหาญสญั จรเดนิ ดมุ่ ไปเท่ยี วแตผ่ ู้ เดียว ใน หนทางท่เี ปลยี่ วทั้งมีเลนตมเต็มไปด้วยภยั อันตรายรอบดา้ นลาำ บากนกั หนา แต่อาศัยท่บี ุรษุ น้ันเป็ฯคนใจคอ กล้า จงึ พยายามเพยี รหลกี ออกจากทางมหาวิบากนัน้ จนพ้นไดม้ าสทู่ ี่ดอนบริสุทธิ์สะอาด กเ็ ดนิ สาำ ราญ ความประการนี้มีอุปมาฉันใด ฝ่ายพระโยคาวจรเจา้ ผู้มปี ัญญา เมอื่ แรกปฏิบัตติ ามกระแสพระพุทธฎีกา ย่อมประสบความลำาบากนกั หนา เพราะมรรคาทีด่ ำาเนินนั้นเต็มไปดว้ ยเลนตามและภยนั ตรายกคอื กเิ ลสคณั หาทัง้ หลาย ครน้ั พยายามหลีกออกมาไดส้ ำาเรจ็ สิน้ กเิ ลสเปน็ พระอรหันตขณี าสพแลว้ ก็เข้าสู่ทอ่ี ันแผว้ สบาย คือทด่ี อน เดนิ เล่นเย็นสำาราญเข้าไปในทกุ ห้อง อนั เป็นสุขเกษมสานต์กลา่ วคือพระนิพพานอันประเสรฐิ สดุ ดี เปน็ อย่างนีม้ ามากตอ่ มากแลว้ จริงๆ ไมต่ อ้ งสงสัย จึงเป็นอนั สรปุ ได้ว่า การท่ีสมเด็จพระบรมโลกนาถศาสดาจารย์เจา้ แห่งเราท่านทง้ั หลาย พระองค์ทรงอุบัติ มาตรสั ในโลกน้ี ก็เพือ่ ทจี่ ะทรงรือ้ สตั วข์ นสตั วไ์ ปสู่พระนพิ พานเป็นจุดมงุ่ หมายประการสาำ คญั จึงได้ทรง โปรดประทานแสดงมรรคาคอื ทางเขา้ ส่พู ระนพิ พานเอาไว้ หากจะถามวา่ อะไรคอื มรรคาแหง่ พระนพิ พาน? คำาตอบปัญหาน้ี ทถ่ี ูกต้องทีส่ ุดกค็ อื \"วปิ ัสสนากรรมฐาน ผูท้ ี่ปฏิบตั วิ ปิ ัสสนากรรมฐานอันถกู ตอ้ งเท่าน้นั ช่ือ วา่ กำาลงั เดนิ ไปตาทางพระนพิ พาน ทอ่ี งค์สมเดจ็ พระบรมศาสดาจารย์ทรงชี้บอกไว้ ดว้ ยมีพระหฤทยั ประสงค์จะใหป้ ระชาสัตวท์ กุ ผ้ดู ำาเนินไปเปน็ อยา่ งยง่ิ สว่ นการกระทำาส่งิ อื่นใดทงั้ หมด นอกเหนอื จากการ ปฏบิ ตั วิ ปิ ัสสนากรรมฐานแลว้ หาใชม้ รรคาสำาหรบั ไปสู่แดนอมตพระมหานฤพานไม\"่ น่คี อื คาำ ตอบอย่าง รวบรดั แต่การปฏบิ ตั ิวปิ ัสสนากรรมฐาน เพ่อื ให้บรรลุถงึ นพิ พานจะมีวิธีการอย่างไรบ้างน้นั เปน็ การจนใจ

259 นกั หนา ท่ีไมส่ ามารถจะนำามากล่าวไวไ้ ด้ในทนี่ ้ี เพราะว่าโอกาสการรจนาเรยี บเรียงเร่ือ มุนีนาถทีปนี ถึงวาระ ท่จี ะยตุ ิลงแล้ว จึงขอยตุ ิลง ดว้ ยประการ ฉะน้ี. (การปฏบิ ตั วิ ิปัสสนากรรมฐาน ศกึ ษาไดจ้ ากหนงั สือ \"วิธี บริหารจิตใจ\" จดั พิมพโ์ ดย คณะสงั คมผาสุก) อวสาน

260 ปจั ฉิมพจน์ ข้าพเจ้าผู้มนี ามปรากฏวา่ พระมหาวิลาศ ญาณวโร (บัดน้เี ปน็ พระราชคณะชั้นเทพ ท่ีพระเทพมนุ ี) ได้ อปุ สมบทในพระบวรพทุ ธศาสนา เม่อื ปพี ุทธศกั ราช ๒๔๙๓ โดยมพี ระเดชพระคณุ พระธรรมปัญญาบดี (บดั น้ี เปน็ สมเด็จพระราชาคณะท่สี มเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย)์ ชิ ตนิ ธรเถระ เปรยี ญธรรม ๙ ประโยค วัด สามพระยา จงั หวดั พระนคร เป็นพระอปุ ัชฌาย์ พระครสู ทุ ธิวรคณุ วดั สุทธิวราราม จังหวัดพระนคร เป็น พระกรรมวาจาจารย์ และพระครกู ลั ยณวิสทุ ธิ์ วัดดอน จังหวดั พระนคร เป็นพระอนสุ าวนาจารย์ นับแตไ่ ดอ้ ปุ สมบทมา ก็ศึกษาพระปรยิ ัติธรรมตามกำาลงั สติปญั ญาสำาเร็จการศกึ ษาเปรยี ญธรรม ๙ ประโยค เมอื่ ปีพุทธศกั ราช ๒๕๐๓ ครั้นเสรจ็ ธรุ ะในดา้ นปรยิ ตั ิศึกษาแล้ว กใ็ ฝ่ใจในการปฏบิ ัตติ ามกาำ ลังศรัทธา ได้เขา้ ปฏิบตั วิ ปิ ัสสนากรรมฐาน ๒ คร้งั โดยมีพระอาจารย์เข่ง อุตตรกโข เปน็ พระวิปสั สนาจารยผ์ ้บู อกกรรมฐาน ครั้งแรก และพระอาจารยภ์ ทั ทนั ตะ อาสภะเถระ ธมั มะจรยิ ะเปน็ พระวิปสั สนาจารยผ์ บู้ อกกรรมฐานครงั้ หลงั เมอื่ ออกจากกรรมฐานแลว้ มีใจนกึ ถึงคณุ แห่งพระบวรพุทธศาสนาซาบซึง้ นพระมหากรุณาธคิ ุณขององค์ สมเดจ็ พระบรมศาสดาจารย์จอมมุนีเจ้า จึงคดิ รจนาเรียบเรียงหนังสอื มนุ นี าถทปี นี นข้ี ้นึ โดยมากประมวล เอากถาถอ้ ยคาำ ทา่ นบุรพจารยท์ ง้ั หลาย ซง่ึ ทา่ นได้กลา่ วไวใ้ นทีต่ า่ งๆ เอามาปรงุ แตง่ เสียใหม่ เพื่อใหเ้ ข้าใจ ง่ายตามสมควรแก่รปู เรอ่ื งในท่ีน้ี หวังใจให้เปน็ สมบตั ิพระศาสนา เพอื่ บูชาพระคุณองค์สมเด็จพระผมู้ ีพระ ภาคเจ้า ด้วยสตปิ ัญญาอนั เลก็ นอ้ ยแหง่ ตน โดยเรมิ่ รจนาเมือ่ วันท่ี ๑๔ สงิ หาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๖ และจบ ลงในวนั นีท้ ี่ ๒๙ ตุลาคม พุทธศกั ราช ๒๕๐๖ รวมเปน็ เวลา ๗๗ วนั โดยปราศจากอปุ ทวันตรายใดๆ

261 ต่อจากน้ไี ป กไ็ ด้แตห่ วงั ใจอยูว่ ่า หนงั สือมุนนี าถทีปนีทีเ่ รียบเรยี งขนึ้ นี้ คงจะมีสารตั ถประโยชนแ์ ก่ท่าน สาธุชนผมู้ ีปัญญา ท่ีอุตสา่ ห์ติดตามอา่ นมาต้ังแตต่ ้น จนกระท่ังจบลงในบดั นบี้ า้ งตามสมควร ข้าพเจ้า ผ้มู นี า้ำ ใจศรัทธาเล่ือมใส ใครจ่ ะใหพ้ ระสทั ธรรมคำาสง่ั สอนแห่งองค์สมเดจ็ พระชินวร โลกนาถบรมศาสดาจารย์ ถาวรต้งั อยู่ตลอดกาลนาน จงึ ได้อตุ สาหะรจเรียบเรียงเร่ือง มุนีนาถ ทปี นี น้ขี ึ้น แลว้ ไดป้ ระสบบญุ กศุ ลซง่ึ อาำ นวยประโยชน์ใหอ้ ันใดด้วยเดชะแหง่ บญุ กศุ ลน้นั ขอ สรรพสตั วท์ ง้ั หลายจงประสบแตค่ วามสุขสาำ ราญจงทัว่ กัน อนึ่ง บรรดาพุทธมามกชนผเู้ ล่ือมใสพระไตรรัตน์ คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์มเี จตจำานงใครจ่ ะพน้ จาก กองทุกข์ จงพ้นทกุ ขใ์ นอบายภมู ิ และจงบรรลถุ ึงนพิ พานในอนาคตกาลด้วยเถิด ขอมโนรถความปรารถนาอันประเสรฐิ ซงึ่ เกดิ จากน้ำาใจอนั งามของข้าพเจา้ จงสาำ เร็จผลตามที่ตงั้ ใจไวน้ ี้ ทัง้ หมด เพอ่ื ความหมดจดไหบูลย์แหง่ พระสัทธรรมคาำ สอนขององคส์ มเดจ็ พระชินวรบรม ศาสดาจารย์ ตลอดกาลนริ นั ดรเทอญ มุนีนาถทปี นี จบบรบิ ูรณ์