51 ๘. อธิษฐานพทุ ธกรณธรรม สมเด็จพระบรมโพธสิ ตั ว์เจ้าทงั้ ปวง ย่อมมีใจมนั่ ประกอบไปด้วยอธิษฐานธรรม มคี วามมัน่ คงเด็ดขาดยงิ่ นกั ด้วยวา่ พระพุทธภมู ิจักสาำ เรจ็ ได้ ตอ้ งอาศัยอธษิ ฐานธรรมเปน็ สาำ คัญเหตุนนั้ พระโพธิสตั ว์เจา้ ทั้งปวงจึง พยายามสร้างสมอบรมพระอธษิ ฐานธรรมให้มากมลู เพิ่มพนู และเสวยพระชาติเปน็ อะไรกต็ าม ก็ย่อม พยายามสร้างความม่ันคงต้งั ม่ันแหง่ ดวงจิตเพอ่ื ใหศ้ กั ด์สิ ิทธ์ิ สัมฤทธิ์ผลตามความมงุ่ หมาย ถ้ายังขาดอยู่ ไม่บริบรู ณ์ กเ็ พยี รเพ่มิ พนู ให้ภญิ โญภาพย่ิงๆ ข้นึ ไป ให้สาำ เรจ็ ตามความประสงคใ์ ห้จงได้ ถ้าลงไดอ้ ธษิ ฐาน ในส่งิ ใดแล้ว กม็ ใี จแน่วแนต่ ้ังม่ันในสง่ิ น้ัน มิได้หว่ันไหวโยกคลอนเลยแม้แตน่ ้อยถงึ ใครจะคอยขูค่ าำ รามเขน่ ฆา่ ให้อาสญั สิน้ ชีวติ กไ็ มล่ ะอธษิ ฐาน จติ สมาทานในกาลไหนๆ ในกรณีทพ่ี ระบรมโพธสิ ตั วท์ ั้งหลายมนี ำ้าใจประกอบไปดว้ ยอธิษฐานธรรมนี้ มีอุปมาไว้วา่ ธรรมดาไศลที่ ใหญห่ ลวงคือ กอ้ นหินภเู ขาแท่งทบึ ใหญ่มหมึ า อันต้ังมัน่ ประดษิ ฐานอยเู่ ป็นอนั ดี แมจ้ ะมพี ายุใหญส่ ักปานใด ยกไว้แตล่ มประลัยโลกพดั ผ่านมาแตส่ ที่ ิศ กม็ ิอาจทจี่ ะให้ภูเขาใหญน่ ั้นสะเทอื นเคล่ือนคลอดหวน่ั ไหวได้ แม้แตส่ ักนดิ หน่ีึงเลย อุปมาข้อนฉ้ี ันใด พระโพธิสัตวเ์ จ้าทง้ั หลายกเ็ ป็นเช่นนั้น เม่อื มมี นสั มั่นมุ่งหมายซงึ่ พระ โพธญิ าณประเสริฐเลศิ ลาำ้ ย่อมพยายามเสรมิ สรา้ งอธษิ ฐานธรรมอยเู่ นืองนติ ย์ ไม่มีจติ หวัน่ ไหวในทุกสถาน ในกาลทกุ เมอ่ื เพื่อให้สาำ เรจ็ เป็นอธิษฐานบารมี ยิง่ ๆ ข้ึนไป จนกว่าจะไดบ้ รรลพุ ระปรมาภิเษกสมั โพธิญาณ ๙. เมตตาพทุ ธกรณธรรม สมเดจ็ พระบรมโพธสิ ัตวเ์ จา้ ท้งั ปวง ย่อมมีใจประกอบไปดว้ ยเมตตา มนี ้ำาใจใครจ่ ะให้บรรดาสรรพสตั ว์ทง้ั หลายได้ประสบความสุขสาำ ราญโดยถว้ นหนา้ ด้วยว่า พระพุทธภมู จิ กั สาำ เร็จลงได้ ต้องอาศัยเมตตาธรรม เป็นสาำ คญั เหตุดังนัน้ พระบรมโพธิสัตว์เจ้าทั้งปวงยอ่ มพยายามสัง่ สมเมตตาธรรมอนั ลาำ้ เลิศ ใหม้ ากมลู เพม่ิ พูนแก่กลา้ ทกุ ชาติทีเ่ กดิ ไม่ว่าจะเกดิ ในชาตไิ หนและเสวยพระชาตเิ ป็นอะไรก็ตาม ก็ย่อมอุตสา่ ห์
52 พยายามอบรมเมตตาธรรม ต้งั ความปรารถนาดีไม่ใหม้ ีราคเี คอื งขุน่ รุ่มรอ้ นในดวงจติ เพือ่ ให้สมั ฤทธิ์ผล เป็นความสขุ แก่ปวงชนปวงสตั วท์ ุกถว้ นหน้า ถา้ ยังขาดอยูไ่ ม่เตม็ บรบิ รู ณ์ กเ็ พยี รเพ่ิมพนู เสรมิ สร้างคร้ังแล้ว ครง้ั เล่า บางคราวถงึ กับเอาชวี ติ เขา้ แลกเพื่อให้ชนอ่นื สตั วอ์ ื่นไดร้ ับความสุขกม็ ี ในกรณีทีพ่ ระบรมโพธิสตั วเ์ จ้าทง้ั หลาย มีนำ้าใจประกอบไปดว้ ยเมตตาธรรมนี้ มีอปุ มากล่าวไวว้ า่ ตาม ธรรมดาอุทกวารที ีส่ ะอาดเย็นใสในธารแม่น้าำ ใหญ่ ยอ่ มแผ่ความเยน็ ฉ่ำาชุ่มชืน่ ใจใหแ้ ก่สัตว์ท้งั หลายทุกถว้ น หนา้ ไม่ว่าจะเป็น อะไรก็ตามที จะเป็น หมี หมา ไกป่ ่า กระทงิ เถ่ือนเปน็ อาทิ ซง่ึ เปน็ สตั ว์เดยี รจั ฉานกด็ ี หรอื จะ เปน็ มนษุ ยท์ งั้ หลายต้ังอยู่ในเพศพรรณวรรณะใด จะเป็นขข้ี ้า ตาบอด หหู นวก กระยาจก วณิพกก็ดี หรอื จะ เป็นคนมีทรพั ย์ มยี ศ เปน็ เศรษฐอี าำ มาตย์ราชเสนาตลอดจนกระทั่งเป็นองค์พระมหากษตั รยป์ ระเสริฐกด็ ี เมอื่ มีความปรารถนา บา่ ยหนา้ ลงมาวักด่ืมกนิ นาำ้ ในธาราน้นั แล้ว อุทกวารยี อ่ มให้รสแผ่ความเยน็ ชน่ื เข้าไป ในทรวงอกทกุ ถว้ นหนา้ จะไดเ้ ลือกวา่ ผู้นนั้ ดี ผู้นีช้ ัว่ หรอื ว่าประการใดๆ ก็มิไดม้ เี ลย อปุ มาข้อนฉ้ี นั ใด พระบรมโพธิสตั ว์เจ้าทั้งหลายกเ็ ปน็ เช่นน้นั เมื่อมีมนสั ม่นั ม่งุ หมาย ซง่ึี พระโพธญิ าณอนั ประเสริฐเลศิ ลา้ำ ย่อม พยายามเสริมสรา้ งเมตตาธรรมให้มากในดวงจิต เพื่อให้ผลติ ผลแผ่กว้างออกไปไมส่ ้ินสุด ไมม่ จี ติ ประทษุ ร้าย แมแ้ ตใ่ นศตั รคู อู่ าฆาตปรารถนาใหไ้ ด้รับความสขุ ให้หายมลทินสิน้ ทกุ ข์หมดภยั หมดเวร แผ่ ความเยน็ ใจไปทั่วทุกทิศ มนี ำ้าใจเปน็ มติ รไมตรีไม่มีจาำ กัด หมู่มนษุ ย์หรอื เหลา่ สตั วท์ ค่ี บหาสมาคมดว้ ย ยอ่ ม ได้รับความเย็นใจไม่เดือดร้อนในทกุ กรณี เพือ่ ให้สาำ เรจ็ ผลเป็นเมตตาบารมียง่ิ ๆ ขึ้นไป จนกวา่ จะได้บรรลุ พระปรมาภิเษก สัมโพธิญาณ ๑๐. อเุ บกขาพทุ ธกรณธรรม สมเดจ็ พระบรมโพธิสัตว์ทัง้ หลาย ยอ่ มมีน้ำาใจประกอบไปดว้ ยอเุ บกขา อุตสา่ ห์ยังจติ ให้ตงั้ ม่ันในอุเบกขา ธรรม ซ่งึ เป็นธรรมพิเศษที่ทา่ นผแู้ สวงหาคุณอันยง่ิ ใหญ่ ไดเ้ คยซ่องเสพสบื กันมา คือ มีจิตอุเบกขาวางเฉย เป็นกลางในธรรมทั้งหลายดว้ ยวา่ พระพุทธภูมอิ ันวิเศษนี้ จะสำาเรจ็ ลงได้ ต้องอาศยั อเุ บกขาธรรมเปน็ ประการสำาคัญ ฉะน้ันพระบรมโพธิสตั วเ์ จา้ ทัง้ ปวงจึงพยายามบาำ เพญ็ อุเบกขาธรรมอนั ล้าำ เลิศให้ มากมลู
53 เพิ่มพนู แก่กล้าข้นึ ทกุ ชาติทเี่ กิด ไม่วา่ จะเกดิ ในชาตไิ หน และเสวยพระชาตเิ ป็นอะไรกต็ าม ก็ยอมอตุ สา่ ห์ พยายามบาำ เพญ็ อเุ บกขาธรรม กลา่ วคอื ความวางเฉยในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ถ้ายังขาดบกพรอ้ งอยู่ ยงั ไมเ่ ต็มบรบิ รู ณก์ เ็ พยี รเพ่ิมพนู เสริมสรา้ งอยู่ครงั้ แล้วคร้ังเล่า บางครง้ั ถงึ กับต้องเอาชวี ติ ของตนเข้าออก แลก ดว้ ยหวงั จกั ทาำ ให้ปราศจากความจาำ แนก กลา่ วคอื ความยนิ ดยี ินร้าย ม่งุ หมายเพือ่ ให้มน่ั ในอุเบกขา ธรรมเปน็ สำาคญั ในกรณที พ่ี ระบรมโพธสิ ตั ว์เจ้าท้ังหลาย มนี ้ำาใจประกอบดว้ ยอเุ บกขาธรรมนี้ มีอปุ มาทก่ี ล่าวไวว้ า่ ธรรมดา ว่า พ้ืนปฐพีอนั กวา้ งใหญ่ไพศาลนี้ เมอ่ื มีผู้ถ่ายมูตรคถู ของสกปรกโสมมอย่างใดอยา่ งหนงึ่ี ลงก็ดี หรือแมจ้ ะ มีผูเ้ อาเคร่ืองสักการะบชู า บปุ ผา ธูปเทยี น เครอ่ื งหอม ของสะอาดท้งิ ใส่ลงกด็ ี พืน้ ปฐพี มหาพสุธาดล อนั บคุ คลและสตั ว์ทงั้ หลายเหยียบยาำ่ อยู่ทุกวนั นจ้ี ะได้มีความโกรธอาฆาตหรือ ความรกั ใครข่ อบใจแม้แต่สกั นิดก็หามไิ ด้ ปราศจากความยินดียนิ ร้ายโดยประการทัง้ ปวง เป็นปฐพีทีน่ ิ่งเฉย ไม่ไหวหวนั่ อยอู่ ยา่ งน้นั ตลอดเวลาช่ัวกปั ชั่วกลั ป์ อปุ มาขอ้ นฉ้ี นั ใด พระโพธิสตั วเ์ จ้าท้งั หลายกเ้ ป็นเชน่ นน้ั คอื เมอ่ื มีมนัสมน่ั มงุ่ หมาย พระโพธญิ าณ ย่อมมนี าำ้ ใจอาจหาญ พยายามเสรมิ สรา้ งพระอเุ บกขาธรรมใหเ้ กดิ ขึ้นประจำาจิตใหภ้ ิญโญ ภาพยิ่งๆ ข้นึ ไป เพ่ือให้สำาเรจ็ ผลเป็นอุเบกขาบารมจี นกว่าจะบรรลุถงึ ทห่ี มายอันย่งิ ใหญ่ กลา่ วคือพระ ปรมาภิเษกสมั โพธิญาณ ท่านผมู้ ีปญั ญาท้งั หลาย พทุ ธกรณธรรมหรือธรรมพิเศษท่ีเป็นเหตุให้ไดเ้ ป็นสมเด็จพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ น้ี เปน็ ธรรมที่บำาเพญ็ ให้สาำ เรจ็ ได้โดยยากใชไ่ หมเล่า ถึงกระนั้น ทา่ นผู้ปรารถนาเป็นสมเดจ็ พระจอมมนุ รสี มั พุทธเจา้ กเ็ ฝา้ บาำ เพ็ญธรรมเหล่าน้ีเปน็ เวลาชา้ นานหลายแสนโกฎิชาตหิ นกั หนา อุตส่าหพ์ ยายามบาำ เพญ็ ให้ เพิ่มพูนเจริญเต็มท่ใี นจิตสนั ดาน จนกวา่ จะไดบ้ รรลุถึงพระปรมาภเิ ษกสัมโพธิญาณ
54 พระบารมี ๓๐ ถว้ น พระพทุ ธกรณธรรมทก่ี ล่าวมาแล้วน้ี มชี ือ่ เรยี กอยา่ งหนึ่งว่า โพธิปรปิ าจนธรรม = ธรรมสาำ หรับบ่มพระพทุ ธ ภูมิ หมายความว่า เป็นธรรมอันจาำ เปน็ อยา่ งยิง่ ท่ีพระบรมโพธิสัตวเ์ จา้ ทั้งหลาย ผู้ปรารถนาซ่งีึ พระพทุ ธภมู ิ จะตอ้ งพยายามบำาเพ็ญเนืองนติ ย์ เพอ่ื ใหส้ มั ฤทธ์ผิ ลอันประเสรฐิ กลา่ วคืออบรมบ่มใหพ้ ระพทุ ธภมู ถิ ึงความ แกส่ ุกรอบ แล้วจงึ จะไดต้ รัสรู้ นอกจากนน้ั แลว้ พระพุทธกรณธรรมนย้ี ังมีชอื่ เรยี กอกี อยา่ งหนึ่ีง ซงีึ เปน็ คาำ คนุ้ หใู นหมู่พุทธบรษิ ทั ว่า บารมี = ธรรมทนี่ ำาไปใหถ้ ึงฝ่ังนั้น กล่าวคอื พระนิพพาน หมายความว่า เม่อื พระบรม โพธิสัตวเ์ จา้ เฝ้าบำาเพ็ญธรรมเหลา่ น้ี จนครบบรบิ รู ณ์เตม็ ท่ีแลว้ ธรรมเหล่าน้ีกจ็ ะเป็นสารถีนำาพระองค์ทา่ นให้ บรรลถุ ึงฝ่ังโนน้ คือได้ตรัสพระปรมาภิเษกสมั โพธิญาณและเสด็จดบั ขนั ธ์เขา้ สู่พระปรนิ ิพพาน ฉะน้นั ต่อจาก นี้ไป เพื่อความเข้าใจงา่ ยๆ จะเรียกธรรมเหล่านี้ว่ พระบารมีธรรม กพ็ ระบารมธี รรมน้ี เมอ่ื ว่าโดยองคธ์ รรมจรงิ ๆ แล้วกม็ ีอยู่ ๑๐ ประการ มที า่ นเปน็ ต้น มอี เุ บกขาเป็นปรโิ ยสาน ตามที่พรรณนามาแลว้ แต่ทนี ้ี สมเด็จพระบรมโพธิสตั ว์เจ้าแตล่ ะพระองค์ กวา่ จะทรงยังพระบารมีเหล่านีใ้ ห้ บรบิ ูรณ์เต็มท่ี จนกระทัง่ ได้ตรัสเปน็ เอกองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้านัน้ มิใช่วา่ จะทรงสร้างพระบารมี เปน็ เวลาเลก็ น้อย เพยี ง ๑๐-๒๐ ชาติเทา่ นัน้ โดยทแี่ ท้ ตอ้ งทรงสร้างพระบารมีอยนู านนักหนา นับเวลาเป็น อสงไขยเปน็ มหากัป นับพระชาตทิ เี่ กดิ ไมถ่ ้วน เมือ่ เปน็ เช่นน้ี บรรดาพระบารมที ่สี รา้ งแตล่ ะพระชาตจิ ึงไม่ เทา่ กนั คอื บางพระชาติกส็ รา้ งธรรมดาเปน็ ปกติ แตบ่ างพระชาติกส็ ร้างอย่างอกุ ฤษฐ์สูงสุดหนกั หนา ฉะนั้น จึงจาำ แนกพระบารมีเหล่าน้อี อกเปน็ ตรียางค์ คอื เปน็ องคส์ าม โดยจัดเป็นพระบารมอี ย่างตำ่าประเภทหนีึ่ง พระบารมีอยา่ งมชั ฌมิ ปานกลางประเภทหนีง่ึ และพระบารมอี ย่างสงู สดุ อุกฤษฐ์ประเภทหนง่ึ ยกตวั อย่าง เชน่ พระบารมีธรรมอนั ดับแรกคอื ทาน เมอ่ื จำาแนกออกเปน็ ตรียางค์ ก็กาำ หนดเอาโดยประเภทของทานดัง ต่อไปนี้
55 ๑. ทานทบ่ี ำาเพ็ญโดยสถานประมาณเปน็ ปกติธรรมดาบริจาคธนสารทรพั ย์สมบัตนิ อ้ ยใหญ่ ถึงแม้จะ มากมายเพียงใดกด็ ี จัดเปน็ บารมีประเภทตาำ่ ธรรมดา เรียกชอื่ วา่ ทานบารมี ๒. ทานท่บี ำาเพ็ญยง่ิ ขึน้ ไปกวา่ น้ัน คอื ถงึ กับบรจิ าคอวัยวะเลือดเนื้อในรา่ งกาย จัดเปน็ พระบารมีประเภท มัชฌิมาปานกลาง เรียกช่ือวา่ ทานอุปบารมี ๓. ทานที่บาำ เพ็ญยิง่ ขนึ้ ไปกวา่ นนั้ อีก คือถงึ กบั ต้องบรจิ าคชวี ิตให้เปน็ ทาน นับวา่ เปน็ การบรจิ าคอย่างใหญ่ หลวงอกุ ฤษฐ์ อยา่ งนีจ้ ดั เป็นพระบารมีประเภทสงู สดุ อยา่ งยิ่ง เรยี กช่อื วา่ ทานปรมัตถบารมี แมพ้ ระบารมธี รรมทบี่ าำ เพ็ญข้ออน่ื ๆ กจ็ ำาแนกออกเป็นพระบารมลี ะ ๓ ประเภท เช่นเดียวกับทานที่ยกเป็น ตัวอย่างนนั่ เอง ทนี ้ี พระบารมที ่เี ปน็ องค์ธรรมมีอยู่ ๑๐ ประการ เมอ่ื จาำ แนกออกเป็นองค์ละ ๓ พระบารมจี งึ รวมเปน็ พระสมติงสบารมี คือพระบารมี ๓๐ ถ้วนพอดี เพ่ือท่ีจักใหเ้ หน็ ได้งา่ ยๆ จะขอจำาแนกออกไปตามราย ชอื่ พระบารมี ดังตอ่ ไปนี้ ๑. ทานบารมี ๒. ศลี บารมี ๓. เนกขัมมบารมี ๔. ปญั ญาบารมี ๕. วริ ยิ บารมี ๖. ขันตบิ ารมี ๗. สจั จบารมี ๘. อธิษฐานบารมี ๙. เมตตาบารมี ๑๐. อเุ บกขาบารมี ๑๑. ทานอุปบารมี ๑๒. ศลี อุปบารมี ๑๓. เนกขมั มอุปบารมี ๑๔.ปญั ญาอุปบารมี
56 ๑๕. วิริยอุปบารมี ๑๖. ขนั ติอุปบารมี ๑๗. สัจจอปุ บารมี ๑๘. อธษิ ฐานอุปบารมี ๑๙. เมตตาอุปบารมี ๒๐. อเุ บกขาอปุ บารมี ๒๑. ทานปรมตั ถบารมี ๒๒. ศีลปรมตั ถบารมี ๒๓. เนกขมั มปรมัตถบารมี ๒๔. ปญั ญาปรมัตถบารมี ๒๕. วิรยิ ปรมัตถบารมี ๒๖. ขนั ตปิ รมัตถบารมี ๒๗. สัจจปรมตั ถบารมี ๒๘. อธษิ ฐานปรมตั ถบารมี ๒๙. เมตตาปรมตั ถบารมี ๓๐. อุเบกขาปรมัตถบารมี สริ ิรวมเปน็ พระบารมีธรรม ทท่ี า่ นผูป้ รารถนาเปน็ องคส์ มเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ จกั ตอ้ งบาำ เพญ็ ใหค้ รบ บริบูรณ์เตม็ ที่ ๓๐ ถ้วนพอดี ฉะนัน้ จึงเรียกเปน็ ศัพทว์ า่ พระสมตงิ สบารมี ดว้ ยประการฉะนี้
57 อานิสงส์แหง่ พระบารมี มีขอ้ ที่ควรทราบไวอ้ ีกอยา่ งหนงึี่ ก็คอื ว่า นบั ตงั้ แตไ่ ดท้ รงก่อสร้างพระกฤษฏาภินิหารมา จนกระท่งั ไดล้ ัทธ ยาเทศคาำ พยากรณจ์ ากสำานกั แห่งองคส์ มเดจ็ พระสมั มาสัมพุทธเจา้ ว่าเป็น พระนยิ ตโพธิสัตว์ ผู้เท่ยี งแท้ทีจ่ ะ ตรัสพระปรมาภิเษกสัมโพธิญาณในอนาคตกาล ในขณะทีท่ รงกอ่ สรา้ งอบรมบ่มพระบารมีอยู่ ตอ้ งทรงสงั สรณาการ ท่องเทย่ี วเวยี นว่ายตายเกิดอย่ใู นวัฏสงสารนบั ดว้ ยแสนโกฏชิ าติ เปน็ ประมาณหรอื มากยงิ่ กวา่ นน้ั พระบรมโพธสิ ตั ว์เจ้า ผู้เทย่ี งทจ่ี ะได้บรรลุพระโพธญิ าณทงั้ หลาย ย่อมไดร้ ับอานิสงส์แหง่ พระบารมที ี่ บำาเพ็ญอยเู่ ร่อื ยๆ รวมเป็น ๑๘ ประการคอื ๑. เมอื่ เกิดเปน็ มนุษย์ ย่อมไม่เปน็ คนมจี ักษบุ อดมาแตก่ ำาเนิด ๒. ไมเ่ ป็นคนหหู นวกแต่กาำ เนิด ๓. ไมเ่ ป็นคนบา้ ๔. ไมเ่ ป็นคนใบ้ ๕. ไม่เปน็ คนงอ่ ยเปลย้ี ๖. ไมเ่ กิดในมลิ ักขประเทศ คือประเทศปา่ เถอื่ น ๗. ไม่เกิดในท้องนางทาสี ๘. ไมเ่ ป็นนิยตมิจฉาทิฐิ ๙. ไมเ่ ป็นสตรเี พศ ๑๐. ไมท่ าำ อนนั ตรยิ กรรม ๑๑. ไม่เป็นโรคเร้อื น ๑๒. เมือ่ เกดิ ในกำาเนดิ สตั วเ์ ดยี รฉาน ย่อมเป็นสตั วอ์ ยใุ่ นประเภททีม่ กี ายไม่เล็กกวา่ นกกระจาบ และไมใ่ หญ่ กวา่ ชา้ ง ๑๓. ไมเ่ กดิ ในกาำ เนดิ ขปุ ปปิ าสกิ เปรต นิชฌานตัณหิกเปรตและกาลกญั จกิ าสุรกาย
58 ๑๔. ไม่เกิดในอเวจีมหานรกและโลกนั ตนรก ๑๕. เม่อื เกิดเปน็ เทวดาในกามาพจรสวรรค์ ก็ไม่เกดิ เปน็ เทวดาผู้นับเขา้ ในเทวดาจำาพวกหมู่มาร ๑๖. เม่อื เกิดในองคพ์ ระพรหม ณ รปู าพจรพรหมโลกกไ็ มเ่ กดิ ในปญั จสุทธาวาสพรหมโลก และอสญั ญสตั ตา ภูมิพรหมโลก ๑๗. ไมเ่ กิดในอรูปพรหมโลก ๑๘. ไม่ไปเกดิ ในจักรวาลอ่ืน สิรริ วมเป็นอานสิ งส์พระบารมี ๑๘ ประการ ทีท่ า่ นผู้ปรารถนาเปน็ องคส์ มเด็จพระบรมโลกุตมาจารย์ จักตอ้ ง ได้รบั อยา่ งแน่นอน ในขณะทย่ี งั ทอ่ งเทย่ี วอยู่ในวฏั สงสารเพอ่ื อบรมบ่มพระบารมญี าณ อนึง่ ในขณะทอี่ บรมบม่ พระบารมีญาณอยูน่ ั้น พระนยิ ตโพธิสตั วผ์ ู้เท่ียงแทจ้ ะตรัสรูเ้ ปน็ องค์สมเดจ็ พระพุทธเจา้ หากคราวใดทา่ นได้มโี อกาสมาบังเกดิ เป็นมนษุ ยแ์ ลว้ กย็ อ่ มมใี จผ่องแผว้ ยนิ ดีในการท่ีจะ บรรพชา และบาำ เพ็ญประพฤติในพระจริยามญี าตัดถจรยิ าความประพฤติเป็นประโยชนแ์ กห่ มู่ ญาติเปน็ อาทิ อยเู่ ป็นนิตย์ ทง้ั สอู้ ทุ ศิ ชีวติ ของพระองคท์ งั้ ส้นิ ใหห้ มดไปดว้ ยการสั่งสมพระบารมี ๓๐ ซง่ึ มที านบารมเี ปน็ ต้น และมีอุเบกขาปรมัตถบารมีเป็นปรโิ ยสาน จงึ เปน็ การสมควรอย่างยง่ิ ทพ่ี วกเราชาวพุทธบริษัททงั้ หลายผู้ เกดิ มาเป็น มนุษยพ์ บพระพทุ ธศาสนาในชาตินี้ จกั มีใจยนิ ดเี ลื่อมใสในรพะคณุ อันเปน็ อนนั ตแ์ ห่งองคส์ มเดจ็ พระภควนั ตจ์ อมมนุ ี อธมิ ุตตกาลกริ ิยา กาลเมอ่ื สมเดจ็ พระนยิ ตบรมโพธสิ ตั ว์ ยังต้องท่องเทีย่ วอยใู่ นวัฏสงสารเพอ่ื อบรมบ่มพระบารมีญาณอยูน่ น้ั คร้ันวา่ พระองค์ได้ไปอุบตั เิ กดิ เป็นเทพบุตรอยู่ ณ เบือ้ งสวรค์เทวโลกชนั้ ใดชัน้ หน่ีงึ เช่นสวรรค์ช้ันดุสิต
59 เปน็ ต้น ซ่ึงมีอายยุ ืนนานกว่ามนษุ ยโลกมากมายนักแล้วองคพ์ ระโพธิสตั วเ์ จา้ จะไดห้ ลงใหล เพลิดเพลนิ เสวย ทพิ ยสมบัติเป็นสุขอยูใ่ นสวรรคเ์ ทวโลกจนตราบเท่าสนิ้ อายุแห่ง เทพยดาน้ันกห็ ามไิ ด้ เพราะว่าแทจ้ ริง สนั ดานแห่งพระนิยตบรมโพธสิ ัตวผ์ ูเ้ ท่ียงแทจ้ ักไดต้ รัสเปน็ องค์สมเด็จ พระพทุ ธเจ้านน้ั กอรปด้วยพระมหา กรณุ าแกเ่ หล่าประชาสัตว์เป็นอนั มาก ยิง่ กว่าการที่จะรักตนเอง สนั ดานที่รกั ตนเองเหน็ ประโยชน์ชวี ิตตนเอง น้นั เบาบางหนกั หนา ฉะนน้ั คราเมอ่ื พระองค์เสวยทพิ ยสมบัติเปน็ สุขอยพู่ อควรแกก่ าลแลว้ ยอ่ มจะพิจารณาเห็นวา่ เทวโลกมิได้ เป็นที่อนั เหมาะสมทจ่ี ะกอ่ สรา้ งอบรมบ่มพระบารมเี พอ่ื พระ ปรมาภิเษกสัมโพธิญาณเหมือนเชน่ มนุษยโลก คร้นั ทรงพิจารณาเห็นเช่นนี้แลว้ องคพ์ ระนยิ ตโพธิสัตว์เจ้าก็มีพระทยั เฝ้าเบอื่ หน่ายในการทจี่ ะอยู่ในสวรรค์ เทวโลก ให้อดึ อัดราำ คาญเป็นกำาลงั คราวครั้งหน่ึง จงึ เสดจ็ เขา้ ในทิพยวิมานแต่ลาำ พังพระองคเ์ ดยี ว แล้วทรง กระทาำ อธิมุตตกาลกริ ิยา คือหลบั พระเนตรทง้ั สองลงแลว้ กอ็ ธิษฐานวา่ อโิ ต อทุ ฺธำ เม ชวี ิตำ นปปฺ ตตฺ ตุ ชีวติ ของเราน้ี จงอย่าไดป้ ระพฤตสิ บื ตอ่ ไป เบอื้ งหนา้ แตน่ ้ี เม่อื พระองค์อธษิ ฐานในพระทยั ฉะนแี้ ล้ว ดว้ ยอำานาจกำาลงั อธิษฐานพระนิยตโพธิสตั วเ์ จ้าพระองค์นนั้ กป็ วตั ตนาการจตุ ิจากสวรรค์เทวโลกในฉบั พลนั นั้นเอง เสด็จลงมาอุบัตเิ กิดในมนษุ ยโลกเราน้ี เพอื่ ทจ่ี กั ได้มโี อกาส เสริมสรา้ งอบรมบ่มพระบารมใี หภ้ ิญโญภาพยง่ิ ขึ้นไป ในกรณที พี่ ระองคพ์ ระนิยตโพธสิ ตั ว์เจา้ ทรงอธษิ ฐาน ในพระทยั แล้ว และจุติจากสวรรค์ลงมาบังเกดิ ในมนุษยโลก ซีง่ึ เรยี กวา่ อธิมุตตกาลกิรยิ าน้ี นับเป็นกรณี พเิ ศษอยา่ งหน่ึีง ซ่งึี ปรากฎมีแกท่ ่านผู้มมี นัสม่นั มุ่งหมายพระโพธญิ าณด้วยว่า บรรดาสัตว์โลกผ้ยู ังเวียนว่าย ตายเกดิ ในวัฏสงสาร ถึงแม้จะมีมหธิ าศักดานุภาพสกั เพียงไหน เป็นเทพบตุ รอนิ ทร์พรหมอน่ื ใดกด็ ี ก็มิอาจท่ี จะกระทาำ อธมิ ตุ ตกาลน้ไี ด้ง่ายๆ ซ่งึ ผทู้ ี่สามารถจะกระทำาการพเิ ศษคืออธิมตุ ตกาลกิรยิ าน้ไี ด้ง่ายดายตามใจ ปรารถนา กม็ แี ตเ่ ฉพาะพระนิยตโพธสิ ตั วผ์ ้เู ท่ียงท่ีจักต้องได้ตรสั เปน็ พระสพั พัญญูจอม มุนีเท่าน้ัน
60 การทส่ี มเดจ็ พระนิยตโพธิสัตว์ สามารถที่จะกระทาำ อธิมตุ ตกาลกริ ยิ าเป็นกรณพี ิเศษไดโ้ ดยงา่ ยน้ี ก็เพราะ พระองค์ท่านทรงมสี นั ดานพเิ ศษ เหตวุ า่ พระบารมีธรรมทง้ั ปวงที่พระองคส์ ั่งสมมาแลว้ นั้น มปี รมิ าณ มากมายนกั หนา ถงึ ซึง่ ความแก่กลา้ บริบูรณเ์ ป็นอุกฤษฐ์ พระอธฐิ านบารมีจึงกล้าหาญเป็นอศั จรรย์ เมือ่ พระองคท์ ่านจะอธิษฐานสิ่งไร ในขณะที่เปน็ เทพบุตรโพธสิ ตั ว์นี้ ก็ไดส้ าำ เร็จทุกสิ่งทกุ ประการ และสมเดจ็ พระ นิยตโพธิสัตว์นี้ ย่อมมคี วามชาำ นาญในการอธษิ ฐานนัก หากจะเปรียบก็อปุ มาดจุ จิตรกรนายช่างเขียนผู้มี ฝีมือเอก ซึ่งชำานาญในการทีจ่ ะวาดเขียน เม่ือช่างเขียนนั้น ปรารถนาทจ่ี ะเขียนส่งิ ใดกอ็ าจจะเขยี นส่ิงนั้นได้ สำาเรจ็ ดังมโนรถความปรารถนา มไิ ดข้ ้องขดั ประการใด สาำ เร็จตามมโนภาพแหง่ ตนท่ีนกึ คิดว่ อุปมาข้อนี้ ฉนั ใด พระบรมโพธสิ ัตว์เจ้าผชู้ ำานาญในพระอธษิ ฐานบารมีนั้น กช็ ำานชิ าำ นาญยงิ่ นกั พระองคท์ า่ นอธษิ ฐานให้ เป็นอยา่ งไร กไ็ ดส้ ำาเรจ็ สมมโนรถความปรารถนามิได้ขัดข้อง เพราะเหตุนี้ พระนิยตโพธสิ ตั วจ์ ึงสามารถจะ กระทาำ อธิมุตตกาลกิรยิ าได้ ด้วยอำานาจพระอธษิ ฐานบารมี เพ่อื ที่จะลงมาบงั เกิดในมนุษยโลกนี้ แล้ว ขวนขวายก่อสรา้ งอบรมบ่มพระโพธิญาณสืบตอ่ ไป มุนีนาถทปี นี : ศาสตร์ว่าดว้ ยการเปน็ พระพุทธเจ้า ปัฏฐนฐปนคาถา หนั ทะ มะยัง ปัฏฐะนะ ฐะปะนะ คาถาโย ภะณามะ เสฯ ยนั ทานเิ ม กะตัง ปุญญงั เตนาเนนทุ ทิเสนะ จะ, ขิปปงั สจั ฉกิ ะเรยยาหัง ธมั เม โลกุตตะเร นะวะ, บุญใดท่ีขา้ พเจา้ ได้ทาำ ในบัดน,ี้ เพราะบุญน้ันและการอุทศิ แผ่สว่ นบุญน้นั , ขอให้ข้าพเจ้าทำาให้แจ้งโลกตุ ตรธรรมเก้าในทันท;ี
61 สะเจ ตาวะ อะภัพโพหงั สงั สาเร ปะนะ สงั สะรงั , ถ้าข้าพเจ้าเป็นผอู้ าภพั อยู่ ยงั ตอ้ งท่องเท่ียวไปในวฏั ฏสงสาร; นิยะโต โพธสิ ัตโตวะ สัมพทุ เธนะ วยิ ากะโต, นาฏฐาระสะปิ อาภพั พะ ฐานานะ ปาปเุ ณยยะหงั , ขอใหข้ า้ พเจ้าเปน็ เหมอื นโพธิสตั วผ์ เู้ ที่ยงแท้ ไดร้ ับพยากรณแ์ ตพ่ ระพุทธเจา้ แลว้ ; ไม่ถึงฐานะแหง่ ความอาภัพ ๑๘ อยา่ ง ; ปัญจะเวรานิ วัชเชยยงั ระเมยมงั สลี ะรักขะเน, ปญั จะกาโม อะลคั โคหงั วชั เชยยงั กามะปังกะโต, ข้าพเจ้าพงึ เว้นจากเวรทง้ั ห้า; พึงยินดใี นการรักษาศลี ; ไม่เกาะเกี่ยวในกามคุณทั้งหา้ ; พึงเว้นจากเปือกตมกล่าวคือกาม; ททุ ทฏิ ฐยิ า นะ ยชุ เชยยัง สงั ยุชเชยยัง สุทิฏฐยิ า, ปาเป มิตเต นะ เสเวยยัง เสเวยยงั ปณั ฑเิ ต สะทา, ขอใหข้ ้าพเจา้ ไม่พงึ ประกอบดว้ ยทิฏฐิชั่ว; พึงประกอบดว้ ยทฏิ ฐิที่ดีงาม; ไม่พึงคบมิตรชวั่ ; พึงคบแต่บณั ฑติ ทกุ เมอื่ ;
62 สัทธาสะตหิ ิโรตตปั ปา ตาปกั ขนั ตคิ ณุ ากะโร, อปั ปะสัยโห วะ สัตตหู ิ เหยยัง อะมันทะมยุ หะโก, ขอใหข้ ้าพเจา้ เป็นบ่อท่ีเกิดแหง่ คณุ , คอื ศรัทธา สติ หิริ โอตตปั ปะ ความเพยี รและขนั ติ ; พงึ เปน็ ผู้ทีศ่ ัตรคู รอบงำาไมไ่ ด้; ไม่เป็นคนเขลา คนหลงงมงาย ; สพั พายาปายปุ าเยสุ เฉโก ธัมมัตถะโกวิโท, เญยเย วตั ตัตวะสชั ชัง เม ญาณัง อะเฆวะ มาละโต, ขอใหข้ ้าพเจ้าเปน็ ผ้ฉู ลาดในอุบายเแห่งความเสื่อมและความเจรญิ ; เปน็ ผเู้ ฉยี บแหลมในอรรถและธรรม ; ขอใหญ้ าณของขา้ พเจ้าเปน็ ไปไม่ขอ้ งขัดในธรรมทีค่ วรรู้ ; ดุจลมพดั ไปในอากาศ ฉะน้ัน ; ยา กาจิ กุสะลา มยาสา สุเขนะ สิชฌะตงั สะทา, เอวงั วตุ ตา คณุ า สัพเพ โหนตุ มยั หงั ภะเว ภะเว, ความปรารถนาใดๆ ของข้าพเจา้ ที่เป็นกศุ ล, ขอให้สาำ เรจ็ โดยง่ายทกุ เม่อื ; คุณทขี่ า้ พเจา้ กล่าวมาแล้วท้งั ปวงน,ี้ จงมีแกข่ า้ พเจ้าทกุ ๆ ภพ; ยะทา อุปปัชชะติ โลเก สมั พุทโธ โมกขะเทสะโก, ตะทา มตุ โต กกุ ัมเมหิ ลัทโธกาโส ภะเวยยะหงั ,
63 เมอ่ื ใด, พระสมั มาสัมพุทธเจ้าผู้แสดงธรรมเครอ่ื งพ้นทุกข์ เกดิ ขึ้นแล้วในโลก ; เมือ่ น้ัน ขอใหข้ า้ พเจา้ พน้ จากกรรมอนั ชว่ั ช้าทัง้ หลาย เปน็ ผไู้ ด้โอกาสแหง่ การบรรลธุ รรม; มะนุสสตั ตญั จะ ลงิ คัญจะ ปพั พัชชญั จะปะสมั ปะทัง, ละภิตวา เปสะโล สีลี ธาเรยยัง สัตถสาสะนงั , ขอใหข้ ้าพเจา้ พงึ ไดค้ วามเป็นมนุษย;์ ไดเ้ พศบริสทุ ธ;์ิ ไดบ้ รรพชา อุปสมบทแล้ว ; เปน็ คนรกั ศลี ; มีศีล; ทรงไว้ซงี่ึ พระศาสนาของพระศาสดา; สุขะปะฏิปะโท ขปิ ปา ภญิ โญ สจั ฉกิ ะเรยยะหัง อะระหตั ตัปผะลงั อคั คัง วิชชาทคิ ุณะลงั กะตงั ขอให้เปน็ ผูม้ กี ารปฏบิ ตั ิโดยสะดวก, ตรสั รู้ไดพ้ ลัน ; กระทาำ ให้แจ้งซงึ่ อรหตั ตผลอันเลศิ , อนั ประดับด้วยธรรม มวี ชิ ชา เปน็ ต้น; ยะทิ นุปปชั ชะติ พทุ โธ กัมมัง ปะริปรู ญั จะ เม, เอวงั สนั โต ละเภยยาหงั ปัจเจกะโพธิมตุ ตะมนั ติ.
64 ถา้ หากพระพุทธเจา้ ไม่บังเกิดขึ้น , แตก่ ศุ ลกรรมของขา้ พเจ้าเต็มเป่ียมแลว้ ; เม่อื เป็นเชน่ นั้น ขอให้ขา้ พเจ้าพงึ ได้ญาณเปน็ เครอ่ื งรูเ้ ฉพาะตนอันสงู สุดเทอญ. พทุ ธอบุ ตั ิ เมอ่ื สมเด็จพระนยิ ตบรมโพธสิ ตั ว์เจา้ ไดท้ รงบาำ เพ็ญพระบารมจี นถ้วนสมบรู ณ์ ครบกาำ หนดกาลเวลาตาม ประเภทแห่งสมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจา้ ทัง้ ๓ ประเภทแล้ว บัดน้กี ถ็ ึงกาลสำาคญั ทส่ี ุด คอื ถึงวาระท่ีจะเสด็จ มาอุบตั ิตรสั แก่ปรมาภเิ ษกสมั โพธิญาณ และจกั ได้รบั การเฉลิมพระนามวา่ สมเดจ็ พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า ที่ ทรงมุง่ มาดปรารถนามานานนักหนาเสยี ที และเม่อื พระบรมโพธิสตั ว์ผมู้ ีวาสนาบารมแี ก่สกุ รอบแล้ว จักไดม้ ี โอกาสตรสั เป็นองค์สมเดจ็ พระพุทธเจ้านน้ั พระองคท์ า่ นยอ่ มจตุ ลิ งมาอบุ ัตติ รัสเปน็ องคส์ มเดจ็ พระ สรรเพชญพทุ ธเจ้าใน มนุษย์โลกเรานี้เทา่ น้ัน ในกรณีนี้ หากจะมปี ญั หาวา่ เพราะเหตดุ ังฤา พระนิยตโพธิสตั วเ์ จา้ จึงจำาเพาะเจาะจงเสด็จลงอบุ ัติเป็นสมเด็จ พระพทุ ธเจา้ แต่ เฉพาะในมนษุ ยโลกเราน้ีเท่านน้ั จะไปอบุ ตั บิ งั เกิดในโลกดีอน่ื ๆ เช่น บนสรวงสวรรค์เทวโลก มิได้หรอื ประการใด?
65 คำาวสิ ัชชนาก็จะพงึ มีวา่ การทสี่ มเดจ็ พระนยิ ตโพธิสัตว์มิได้อุบตั ติ รสั เป็นสมเด็จพระพทุ ธเจ้า ณ เบ้ืองสวรรค์ เทวโลกนั้น กเ็ พราะเหตุว่า เทวโลกมไิ ด้เปน็ ทต่ี ั้งแหง่ ศาสนพรหมจรรยอ์ นั การทีจ่ ะบำาเพ็ญศาสนพรหมจรรย์ และการบรรพชาอปุ สมบทน้ี ยอ่ มเหมาะสมที่จะมีอยแู่ ตใ่ นมนษุ ยโลกนเ้ี ท่าน้ัน จะไดม้ ีในสวรรคเ์ ทวโลกก็ หามิได้ อกี ประการหนึ่งนน้ั ครน้ั ว่าสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบงั เกดิ เป็นเทวดาแล้ว ถ้าพระองค์จะแสดง พระพุทธนภุ าพอันประกอบไปด้วยพระอรยิ ฤทธม์ิ ปี ระการตา่ งๆ มนุษยท์ งั้ หลายผมู้ ักเป็นคนชา่ งความคดิ ก็ จะไม่เชอื่ ฤทธ์ิพระพทุ ธานุภาพ มักให้มคี วามคดิ เห็นไปตามประสาโงแ่ หง่ ตนวา่ การทีพ่ ระองคแ์ สดงฤทธิ์ ต่างๆ ได้นั้น ก็เพราะพระพุทธองคท์ ่านทรงเป็นเทวดา ซง่ึ ประกอบไปเทวานภุ าพเปน็ อันมาก หากจะทรงอ้าง วา่ เปน็ พระพทุ ธานุภาพ ก็มเี ทวานุภาพเจอื ปนอยู่ น่ีหากพระองค์เป็นมนษุ ย์แล้ว ไหนเลยจะทรงแสดงพระ พทุ ธานภุ าพอันเชย่ี วชาญใหส้ ำาเร็จกจิ อทิ ธิปาฏิหารยด์ ังที่ เห็นได้ เมื่อคิดไขว้เขวไปเสียเช่นน้ี ก็จะเปน็ เหตุ ใหล้ ดหยอ่ นความเล่ือมใสในพระพุทธานุภาพ ตลอดจนไมส่ นใจในศาสนธรรมคำาสอนอนั ทรงไวซ้ ่ึงี คุณคา่ สงู สุด อนึง่ หากสมเดจ็ พระพทุ ธองค์ทรงเปน็ เทวดาแล้วไซร้ ถา้ จะใช้ความเป็นเทวดาสำาแดงเทวานุภาพให้ ปรากฎ มนุษย์ทัง้ หลายก็จักเขา้ ใจผดิ ไดอ้ กี เช่นเดียวกัน คอื เขาเหลา่ นัน้ จะพากนั คิดว่า เทวานภุ าพน้ัน เจือปนไปด้วยพระพุทธานภุ าพ ได้พระพุทธานภุ าพอุดหนนุ เป็นกำาลงั เทวานุภาพจงึ เช่ียวชาญใหส้ าำ เรจ็ อิทธิ ปาฏิหารย์ทงั้ ปวงได้ แต่เทวานภุ าพสง่ิ เดียว ไหนเลยจะไดส้ าำ เร็จอทิ ธฤิ ทธิ์ปาฏหิ ารยิ อ์ ยา่ งน้ีได้ เมอื่ มนุษย์ทั้ง หลายเข้าใจไขว้เขวไปอย่างนแี้ ล้ว อารมณแ์ ห่งมนุษยน์ น้ั กจ็ ะเป็นสอง จะมไิ ด้เช่อื ถือในพระพทุ ธานุภาพและ เทวานุภาพ ทสี่ มเดจ็ พระพทุ ธเจ้าและไมป่ ฏบิ ัติตาม เมื่อไมม่ กี ารปฏิบตั ิแล้ว ปฏิเวธความไดบ้ รรลธุ รรม วิเศษ คอื มรรคผลนิพพานอันเป็นจดุ มงุ่ หมายทีพ่ ระองคท์ รงตงั้ ไว้นานนักหนาจักสาำ เร็จ ลงไดอ้ ย่างไร ด้วย เหตุน้ี สมเด็จพระนยิ ตโพธิสัตว์เจ้าผู้มีพุทธบารมี จงึ ไมเ่ สดจ็ อบุ ัติตรสั เป็นสมเด็จพระพทุ ธเจ้าที่โลกอ่นื เชน่ พรหมโลกและเทวโลกเป็นตน้ อันเปน็ โลกคับแคบไม่ควรแกก่ ารทจ่ี ะแสดงซึง่ พระพทุ ธานภุ าพ แต่จำาเพาะ เจาะจงเสดจ็ ลงมาอุบตั ติ รัสในมนษุ ยโลก อันเหมาะสมแกก่ ารแสดงพระพทุ ธานภุ าพ ใหป้ รากฎไดเ้ ตม็ ท่ี เช่น นเ้ี ปน็ ธรรมประเพณขี องพระนิตยโพธิสตั วเ์ จ้าทกุ พระองคส์ ืบมาแตป่ างบรรพ์
66 อสญุ กัป ครนั้ เม่อื มนษุ ยโลกเรานี้ ไดม้ ีโอกาสต้อนรับการเสด็จมาอุบัติขึ้นแห่งองค์สมเดจ็ พระนยิ ตบรมโพธสิ ัตว์ ผู้ ตรัสเป็นพระเอกองคพ์ ระจอมมนุ ชี ินสหี ส์ ัมมาสัมพุทธเจ้าคราวใด คราวน้ันกาลเวลายอ่ มถูกเรียกว่า อสญุ กัป = กัปทีไ่ ม่สญู เปล่า กลา่ วถงึ ตอนนี้ บางทอี าจจะมีบางทา่ นเกดิ ความสงสยั ขนึ้ มาในใจบ้างก็ไดว้ า่ เร่ืองกปั นี้ กว็ า่ มาแลว้ น้ี ยังไม่ หมดอกี หรือ ยงั จะมอี สุญกปั อะไรอีกเลา่ ? เพ่ือความเขา้ ใจในเรอ่ื งนข้ี อใหท้ ่านผู้มีปญั ญาท้ังหลายพงึ ต้งั ใจ ศึกษาอรรถ วรรณนา ดังตอ่ ไปน้ี กาลเวลาทีน่ ับเป็นมหากัปและเปน็ อสงไขย ท่ีได้กลา่ วไวแ้ ตต่ อนตน้ โนน้ นะ ท่านผู้มปี ัญญาทง้ั หลายยอ่ มจำา ไดเ้ ป็นอยา่ งดีแล้วมิใชห่ รอื วา่ เปน็ ระยะยาวนานเพียงใด ทนี ้ี แตล่ ะมหากปั ซ่งึ กินเวลายาวนานเหลา่ น้นั ใช่ ว่าจะมสี มเด็จพระพทุ ธเจา้ เสด็จมาอบุ ตั ิตรัสในโลกเราน้ที ุกๆ มหากปั ไปกห็ าไม่ โดยทีแ่ ทบ้ างมหากัปกม็ ี สมเด็จพระพุทธเจ้ามาตรสั แต่บางมหากัปก็ไมม่ เี ลย ทั้งนก้ี ็เพราะว่า การท่ีจะหาวิสฏิ ฐบิ คุ คล กล่าวคอื บุคคลท่ที รงคุณพิเศษ เป็นพระโพธสิ ตั วเ์ จา้ ผมู้ พี ระกฤษฎาภินิหารอันสาำ เรจ็ แล้ว มาตรสั รูเ้ ป็นองค์สมเดจ็ พระพุทธเจ้าแตล่ ะองคน์ ้ันเป็นไปได้ยากยิง่ นกั หนา กล่าวอีกทกี ็ว่า ไม่ค่อยจะมพี ระนิยตโพธิสัตว์นั่นเอง ฉะน้นั เม่อื มีสมเดจ็ พระนิยตโพธิสัตว์เสดจ็ มาอุบตั ิตรัสในโลกเรานใ้ี นมหากปั ใด มหากปั นั้นยอ่ มไมส่ ูญจาก คุณวิเศษอันย่งิ ใหญค่ อื มรรคผลนิพพาน เพราะวา่ มสี มเด็จพระบรมโลกุตมาจารย์มาทรงชแ้ี จงแสดงออก และมหากปั น้นั ก็เลยถูกเรียกวา่ อสญุ กัปไป เม่อื วา่ โดยนัยนี้ จงึ อาจจะแบ่งมหากปั เป็นประเภทใหญ่ๆ เพ่ือให้ เข้าใจไดง้ า่ ยเปน็ ๒ ประเภท คือ
67 ก. มหากัปใด ไม่มีองค์สมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้ามาอบุ ตั ิตรัสในโลกนี้เลยแมแ้ ต่สกั พระองค์ เดยี ว มหากปั นัน้ มชี ือ่ เรียกว่า สุญ กปั คอื เป็นกปั ทสี่ ญู จากองคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ สญู เปล่าจากมรรคผลนพิ พาน มใิ ชแ่ ต่เท่านน้ั ในกาลที่เปน็ สญุ กปั น้ี ยงั สูญจากวิสฏิ ฐิบคุ คลอื่นๆ อีก ดว้ ย คือพระปัจเจกพทุ ธเจา้ ทง้ั หลายก็ดี สมเด็จพระเจา้ จักรพรรดิราชกด็ ี ยอ่ มไม่ปรากฎมใี นสญุ กัปน้ีเลย นบั วา่ เป็นกปั ทสี่ ูญจากวสิ ฏิ ฐิบุคคลจรงิ ๆ ข. มหากัปใด มสี มเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าเสด็จมาอุบตั ติ รสั ในโลก มหากปั น้นั มีช่อื เรยี กว่า อสุญกปั คอื เป็นกัปทไ่ี ม่สญู จากองคส์ มเดจ็ พระพุทธเจ้า ไม่สญู เปล่าจากมรรคผลนพิ พาน มใิ ช่ แต่เทา่ นัน้ ดัวยวา่ ในกาลทเ่ี ปน็ อสุญกปั นีย้ งั มวี สิ ฏิ ฐบิ ุคคลทั้งหลายอน่ื ปรากฏในโลกอกี ด้วย คือ พระปัจเจกพุทธเจา้ ท้งั หลายก็ดี สมเดจ็ พระเจา้ จกั รพรรดริ าชกด็ ยี ่อมปรากฎมเี ฉพาะในกาลท่ี เป็นสญุ กัปน้ี เท่าน้ัน บรรดาอสุญกปั คือกปั ทมี่ สี มเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้าเสด็จมาอุบตั นิ ี้ ยงั มชี ่ือเรียกตามจำานวนสมเดจ็ พระพุทธเจา้ ทเี่ สดจ็ มาตรัสอีก ดังตอ่ ไปน้ี ๑. สารกปั ... อสุญกัปใด มสี มเดจ็ พระสรรเพชญสมั มาสมั พุทธเจา้ เสดจ็ มาอุบัตติ รสั ในโลกน้ีแต่ เพียง ๑ พระองค์ อสุญกปั น้นั เรยี กชื่อวา่ สารกัป ๒. มณั ฑกัป... อสุญกัปใด มีสมเด็จพระสรรเพชญสมั มาสัมพุทธเจา้ เสด็จมาอบุ ัตติ รสั ในโลกนี้ ๒ พระองค์ อสญุ กปั น้ันเรียกช่ือวา่ มัณฑกปั ๓. วรกัป... อสญุ กปั ใด มสี มเด็จพระสรรเพชญสมั มาสมั พุทธเจา้ เสดจ็ มาอบุ ตั ติ รัสในโลกน้ี ๓ พระองค์ อสญุ กัปน้ันเรียกชอ่ื วา่ วรกปั ๔. สารมัณฑกปั ... อสญุ กัปใด มสี มเดจ็ พระสรรเพชญสัมมาสมั พุทธเจา้ เสด็จมาอบุ ตั ติ รัสใน โลกน้ี ๔ พระองค์ อสญุ กปั นัน้ เรียกชอ่ื วา่ สารมณั ฑกัป
68 ๕. ภทั รกปั ... อสญุ กปั ใด มสี มเด็จพระสรรเพชญสัมมาสัมพทุ ธเจ้าเสด็จมาอบุ ตั ติ รสั ในโลกน้ี ๕ พระองค์ อสญุ กปั นั้นเรยี กชื่อว่า ภัทรกปั ตาม ทกี่ ลา่ วมานี้ ทา่ นผู้มีปัญญาทงั้ หลายกค็ งจะเหน็ แล้วว่าอสญุ กัปสุดทา้ ย คือภัทรกัป นี้เปน็ กัปทปี่ ระเสรฐิ ที่สดุ เพราะมีสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสดจ็ มาอุบตั ติ รสั ในโลกเราถงึ ๕ พระองค์ นับเป็นจาำ นวนมาก ทสี่ ุด ไม่มีกปั ใดทีจ่ กั มีองคพ์ ระจอมมณุ สี ัมมาสัมพทุ ธเจ้า เสดจ็ มาอบุ ตั มิ ากย่งิ ขนึ้ ไปกว่านอี้ กี แล้ว และ บรรดาประชาสตั วท์ ัง้ หลายซงึ่ ไดอ้ ุบัติเป็นมนษุ ยห์ รอื เทวดาในกปั นี้ ยอ่ มมีโอกาสท่จี ักได้พบองคส์ มเด็จพระ สัมมาสัมพทุ ธเจา้ หรอื มิฉะนนั ก็ได้พบศาสนธรรมคาำ สั่งสอนแหง่ องคส์ มเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ เปน็ ระยะติดต่อกนั ไปมากมายถงึ ๕ พระองค์ ดว้ ยเหตนุ ี้ เหล่าสัตว์โลก คือมนษุ ย์และเทวดาอินทรพ์ รหม ผมู้ จี ิต เป็นกศุ ลโสภณ ปฏสิ นธิด้วยไตรเหตุ ประกอบไปด้วยบุญวาสนาบารมี ยอ่ มสามารถทีจ่ ะกระทำาอาสวะกิเลส ใหส้ ญู สิน้ ไปจากขันธสันดานแหง่ ตนโดยชกุ ชุม ในภัทรกัปนีม้ ากกวา่ กปั อนื่ เพราะคา่ ที่เป็นกปั ทีป่ ระเสรฐิ ทีส่ ดุ เปน็ กัปท่ีหาไดโ้ ดยยากยิง่ นานแสนนานจงึ จักปรากฎมีในโลกเรานสี้ ักคร้งั หนง่ึ ทา่ นจึงขนานนาม อสญุ กัปสดุ ทา้ ยนวี้ า่ ภทั รกปั = กัปทเี่ จริญทีส่ ดุ พระเจา้ ๕ พระองค์ บัดน้ี มีความยินดเี ปน็ ยิ่งนกั ที่จกั ขอแจ้งใหพ้ วกเราชาวพุทธบริษัทจงทราบท่วั กันว่า อสุญกปั ที่พวกเราโผล่ ขึ้นมาเกดิ โดยไมร่ เู้ นอ้ื รู้ตัวล่วงหนา้ มากอ่ นเลยเวลา นน้ี ้นั มชี ่อื เรยี กว่า ภทั รกปั ซงี่ึ เปน็ กปั ท่ีเจรญิ ท่สี ุด ประเสริฐทส่ี ดุ และหาไดย้ ากในโลกเป็นท่ีสดุ ดงั กลา่ วมาแล้ว ไม่มอี สญุ กัปใดท่ีประเสริฐเลศิ ลำ้า ย่ิงกว่าอสญุ กัปที่เราทา่ นทง้ั หลายกาำ ลังเกิดเป็นคนเปน็ มนุษยอ์ ยา่ งเวลาน้ี อีกแล้ว เพราะว่าสมเดจ็ พระจอมมนุ ีชินสีห์ สมั มาสมั พทุ ธเจา้ เสดจ็ มาอุบัตติ รสั ในโลกเรานถ้ี งึ ๕ พระองค์ คอื
69 ๑. สมเด็จพระกกสุ ันโธพุทธเจ้า ๒. สมเด็จพระโกนาคมโนพทุ ธเจ้า ๓. สมเดจ็ พระกัสสโปพทุ ธเจา้ ๔. สมเด็จพระศรีศากยมนุ โี คตโมพุทธเจ้า คือองคส์ มเด็จพระบรมศาสดาจารยแ์ ห่งเราทา่ นท้ัง หลาย ผู้เป็นพทุ ธศาสนกิ ชนในขณะนี้ น่ันเอง และตอ่ จากนไ้ี ป เมือ่ ศาสนาของพระพุทธองคท์ ่าน ทพี่ วกเราชาวพุทธศาสนกิ บริษทั กำาลังประพฤติปฏบิ ัตดิ ว้ ยศรัทธาเคารพเล่อื มใส กันอยู่ทุกวนั น้ี เส่อื มสูญอันตรธานใหห้ มดสนิ้ แลว้ โลกเราน้ี กจ็ ักวา่ งจากพระบวรพทุ ธศาสนาเปน็ โลกมืดบอด จากมรรคผลนพิ พานไปอกี นานนักหนา แลว้ วาระหนึง่ จงึ จกั ถงึ กาลอนั ตรกัปที่ ๑๓ (ในปัจจบุ ัน ทกุ วนั น้กี าำ ลงั อยู่ในอนั ตรกัปที่ ๑๒) ก็ในอนั ตรกัปท่ี ๑๓ นั้น สมเดจ็ พระนิยตบรมโพธสิ ัตวเ์ จ้าซึ่ี งมีพระนามวา่ สมเด็จพระศรอี าริยเมตไตรยเทวบตุ รโพธสิ ตั ว์ ซง่ึ ขณะน้กี ำาลงั สถติ เสวยสขุ อยู่ ณ เบอ้ื งสวรรคเ์ ทวโลกชัน้ ดุสิตภมู ิ จกั เสดจ็ มาอุบตั ติ รัสเปน็ สมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจา้ เปน็ องค์ สุดท้ายในภทั รกัปนี้ ทรงพระนามว่า ๕. สมเด็จพระศรอี ริเมตไตรยพทุ ธเจา้ สริ ริ วมเป็นสมเดจ็ พระพุทธเจ้า ท่ีเสดจ็ มาอบุ ตั ิตรัสในภทั รกัปน้ี ถึ ๕ พระองค์ ด้วยประการฉะน้ี ทนี ้ี หนั มาพจิ ารณาถึงตวั เราทา่ นน้บี า้ ง บรรดาเราท่านทุกผู้ทุกคนผู้กาำ ลงั โชคดี เพราะเกิดมาเปน็ มนุษยใ์ น โลกน้ี ในขณะที่เป็นภทั รกัปซึ่งเปน็ กปั ที่ประเสริฐสุด มผี ้บู รรลุมรรคผลนิพพานโดยชุกชุมมากมายในกปั นี้ แลว้ กจ็ งอย่าได้มคี วามประมาท จงอย่าทาำ ตนใหแ้ คลว้ คลาดจากอมตสมบัติคอื มรรคผลนพิ พานเสียเลย จง พยายามแสวงหาประโยชนจ์ ากความมโี ชคดีในคร้ันน้ีให้จงได้ ด้วยการรีบปฏิบัตธิ รรมตามคำาสอนของ
70 พระพุทธองค์เจา้ เพ่อื เอามรรคผลนิพพานมาเป็นสมบตั ิของตนให้จงได้ ถ้าจะถามตอ่ ไปวา่ จะปฏิบัติอย่างไร กนั เลา่ จึงจักเขา้ ถึงซ่ึงมรรคผลนิพพานอนั เปน็ การดาำ เิ นนิ ตามรอยบาทพระอริยเจา้ ท้ัง หลาย? เมือ่ จะวสิ ชั ชนากนั ไปอย่างตรงๆ ไม่ต้องออ้ มค้อมพดู มากใหเ้ สียเวลา ก็ตอ้ งตอบดงั น้ีวา่ การท่จี ะนำาตนให้ ไดบ้ รรลถุ งึ มรรคผลนิพพานอนั ประเสริฐสุดนนั้ ต้องกระทำากุศลกรรมข้นั อุกฤษฐ์ คือปฏิบตั วิ ปิ ัสสนา กรรมฐาน ใหว้ ปิ ัสสนาญาณเกดิ ขึน้ โดยลำาดับ จนกระทั่งพระอรยิ มรรค พระอริยผล บังเกดิ ขน้ึ ในสันดานแหง่ ตนน่นั แหละ จึงจะรู้จกั มรรคผลนิพพานและได้ล้มิ รสอมตธรรม เม่ือทำาไดเ้ ชน่ น้ี จงึ จะได้ชือ่ ว่า ไมเ่ สยี ทที เ่ี กิด มาเปน็ มนษุ ย์พบพระพทุ ธศาสนา ที่ กล่าวมานี้ ตอ้ งการทจ่ี ะช้ใี ห้เห็นว่าจุดประเสริฐสุดแหง่ การได้พบพระ พทุ ธศาสนาในภทั รกัป น้ี อยตู่ รงน้ี คอื ตรงทไี่ ดล้ ิ้มรสอมตธรรมนี่เอง ทนี ้ี ถา้ หากผูใ้ ดไมต่ อ้ งการอมตะธรรม แล้ว ต่อให้มสี มเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ เสด็จมาโปรดตรงหนา้ เขาสกั หมน่ื แสนพระองค์ ก็ดี ก็ไมม่ ีความ หมาย คอื ไม่มปี ระโยชน์อะไรเลย ทรงเปน็ เอก ได้พรรณนาไว้แล้ววา่ เม่อื ถงึ โอกาสอันสมควร เพราะวาสนาบารมคี รบควรแก่การที่จะได้ตรสั แกพ่ ระ ปรมาภเิ ษกสัมโพธิญาณแล้ว สมเด็จพระนิตยโพธสิ ัตว์เจา้ ยอ่ มเสด็จมาอุบัตติ รัสเปน็ เอกองค์สมเดจ็ พระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงประกาศสัจธรรมนาำ สัตวผ์ ู้ปฏิบตั ติ ามใหพ้ ้นจากทกุ ขภ์ ัยในวัฏสงสาร ทรงเปน็ เอกอัคร บรมศาสดาจารย์ผยู้ อดเยี่ยม ไมม่ ีใครเทยี มเสมอสองทรงเป็นเอกในโลกจริงๆ แมแ้ ต่เวลาทีท่ รงอบุ ตั ิ กท็ รง อุบัตไิ ด้คราวละพระองค์เดยี ว โดยมีกฎธรรมดาอยวู่ า่ เม่ือสมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ เสด็จอุบตั ขิ ้ึนนนั้ ไม่ วา่ กาลไหนๆ ยอ่ มมาตรัสได้ในโลกเราน้ี คราวละพระองค์เดยี วเท่านั้น ไม่เสด็จอบุ ตั ิพร้อมกันคราวละ ๒-๓ พระองคเ์ ลยเปน็ อันขาด ถึงแมจ้ ะมาตรสั ในกัปเดมิ หลายพระองคก์ ต็ าม ถึงกระน้นั สมเดจ็ พระพทุ ธเจ้า พระองค์หลงั ต้องทรงรอให้ศาสนาสมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ พระองค์เก่า หมดส้นิ เส่ือมสญู อนั ตรธานไปเสียกอ่ น แล้วจงึ จกั เสดจ็ มาตรัสต่อไป
71 ในกรณีนี้ หากจะปญั หาวา่ เหตุไฉน สมเด็จพระสพั พัญญสู ัมมาสัมพทุ ธเจ้า จงึ ไม่ตรสั ในโลกเรานีพ้ รอ้ มกัน เล่า? เพราะว่าสมเด็จพระพุทธเจา้ ทง้ั หลายน้นั จะตรัสพระสัทธรรมเทศนาใดกด็ ี หรือจะทรงบญั ญตั ิพระวินัย สกิ ขาบทใดกด็ ี ย่อมเป็นเหมอื นๆ กนั หมด จะไดผ้ ิดแผกแยกให้ต่างกนั แมแ้ ต่บทเดยี วก็หามไิ ด้ ถา้ แม้ สมเด็จพระสพั พัญญูเจา้ ผทู้ รงคณุ ใหญ่ จะได้ตรสั ขนึ้ ในโลกพรอ้ มกันแมไ้ ม่มากแตเ่ พียง ๒ พระองค์แล้ว โลก เรานก้ี จ็ ะยิง่ เจรญิ รุ่งเรืองขึ้นไปนกั หนา ดว้ ยมีสมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ถึง ๒ พระองค์ จะได้ชว่ ยกนั ทรง เทศนา โปรดฝงู มนุษย์เทวดา อนิ ทร์ พรหม ยม ยกั ษ์ เปน็ อันมาก พระพทุ ธศาสนากจ็ ักแพร่ไพศาลถึงความ รุง่ เรืองภญิ โญภาพยิง่ ๆ ขึ้นไปมใิ ช่เหรอื ? หากจักสงสยั เชน่ นี้ คำาวสิ ชั ชนากจ็ ะมีวา่ อนั วา่ โลกธาตเุ รานีม้ ีปกติจาำ เพาะจะทรงไว้ ซ่งี พระคุณแหง่ สมเดจ็ พระสรรเพชญสัมมาสมั พุทธเจ้าได้แตเ่ พยี งพระองคเ์ ดียว เท่านนั้ ถ้าวา่ สมเด็จพระสัพพญั เู จา้ จกั มาตรัส พร้อมกันถึง ๒ พระองคแ์ ล้ว โลกธาตนุ ้กี ็มอิ าจจะทรงไว้ซ่งึ พระพุทธคุณอันมากมายก่ายกองไว้ได้ ก็จะถึง ความหวน่ั ไหวสะท้านสะเทอื นและถงึ ความฉิบหายไร้ประโยชนย์ ิง่ นัก ถา้ จักให้กลา่ วเปน็ อปุ มาโวหารก็มีคาำ ทท่ี ่านพรรณนาไว้ ดังตอ่ ไปนี้ นาวาเล็กลำาเดยี ว มีปกตจิ ุแตบ่ รุ ุษเดยี วเทา่ นน้ั จึงจะข้ามแมน่ า้ำ แลน่ ไปได้ ทนี ี้ ยงั มีบุรุษอีกผ้หู นงึ่ ซึี่งมีรูปร่าง กาำ ยาำ สาำ่ สนั ใหญ่โตพอๆ กันกับบรุ ษุ ผู้เป็นเจา้ ของเรอื นนั้ มาขอโดยสารข้ามฟาก จะขอนงั่ ลงในนาวานนั้ เป็น ๒ คนดว้ ยกัน อย่างน้ีนาวาน้อยลาำ นนั้นจะบรรทกุ คนทัง้ สองให้ขา้ มไปถงึ ฝง่ั ไดอ้ ยา่ งไรกัน เพราะเหตุว่าแต่ เพยี งบรุ ษุ เจา้ ของเรอื คนเดยี วน่งั ลงกเ็ พียบเต็มทอี่ ยแู่ ล้ว หากยงั มบี รุ ษุ ลาำ่ สันเท่ากันมาโดยสารอีกเลา่ แต่ พอน่ังลง นาวานนั้ ย่อมมิอาจจะทรงตวั ไว้ได้ กจ็ ะล่มลงเปน็ ม่นั คงเทีย่ งแทใ้ นกระแสคงคา อปุ มาข้อน้ฉี ันใด โลกธาตนุ ้กี ็เป็นเชน่ นัน้ คือ มีปกตทิ รงไว้ได้ซ่ึงพระคณุ แหง่ สมเดจ็ พระพุทธเจา้ แตเ่ พยี งพระองค์เดยี ว เทา่ นัน้ ครั้นจะมสี มเดจ็ พระสรรเพชญพุทธเจา้ เสดจ็ มาอุบตั ิข้นึ พรอ้ มกันอีกพระองค์ หน่งึ เลา่ กเ็ ข้าภงึ ภาวะที่ไร้ ประโยชน์และกลบั จะเป็นโทษ ตามอปุ มาท่แี สดงใหเ้ ห็นอยา่ งชดั เจนน้ัน
72 อกี ประการหนี่ึง เปรยี บเหมือนบุรษุ ผซู้ ึ่งบริโภคอาหารอ่มิ ทอ้ งเต็มแปรต้ ลอดคอหอยสดุ ท่จี กั รับ ประทานได้ แล้ว ยังจะขืนใหบ้ ริโภคอาหารเขา้ ไปใหม่ ให้มีปรมิ าณเทา่ กบั ทบี่ ริโภคเขา้ ไปแลว้ น้นั อีกเลา่ อยา่ งนี้กน็ ่าท่ี บรุ ุษน้ันจกั ตอ้ งได้รับทุกขเวทนาใหม้ อี ันเปน็ จุกรากอาเจยี ร ต่างๆ ไม่มีความสุขสบายเป็นแนแ่ ทอ้ ปุ มาข้อนี้ ฉนั ใด โลกธาตุนท้ี รงไว้ซ่งึี พระคุณแห่งสมเดจ็ พระสรรเพชญบรมโลกนาถแต่เพียงพระองค์ เดยี วกเ็ ตม็ หนกั อยูแ่ ล้ว หากจะมีสมเดจ็ พระจอมมนุ ีศาสดาจารย์มาตรสั ขน้ึ พร้อมกันอีกพระองค์หน่ีึงเลา่ ก็จะปนั่ ป่วนหวน่ั ไหวทรุดเซไป มิอาจจะต้านทานพระคุณไว้ได้ เขา้ ถึงภาวะที่เปลา่ ประโยชนแ์ ละกลบั จะเปน็ โทษไปเสยี ด้วย ซา้ำ อีกประการหน่ีงึ เปรียบเหมือนบรุ ุษผ้หู นง่ีึ ซงีึ่ เอาสัมภาระสิ่งของบรรทุกลงในเกวยี น ๒ เล่มให้เต็มเสมอเรอื น เกวียนแล้ว กลบั จะขนสัมภาระอนั หนกั ลงจากเกวยี นเล่มหนงี่ึ เอาไปบรรทุกลงในเกวยี นเลม่ เดยี วกนั อยา่ ง นี้ เกวยี นเลม่ นนั้ จะทนทานไดอ้ ย่างไรกนั เลา่ เพราะตามปกติก็บรรทุกไว้จนเต็มทีอ่ ยูแ่ ลว้ ยังจะเอามาบรรทุก ซ้ำาเข้าอกี เทา่ หนี่ึงเลา่ เชน่ นี้ก็นา่ ที่จะเกิดเหตเุ ปน็ แมน่ มน่ั คือวา่ กงกำาเกวยี นน้นั ก็จะตอ้ งทำาลายฉิบหายลง มิ ฉะนนั้ เพลาเกวยี นกจ็ ะหักสะบ้นั ไปอยา่ งไมต่ ้องสงสยั อปุ มาขอ้ นฉ้ี ันใด โลกธาตุแผน่ พสธุ าอันกวา่้ งใหญ่น้ีก็ เปน็ เช่นกัน จำาเพาะจะทรงไว้ไดซ้ ึ่งี พระคุณแหง่ สมเดจ็ พระโลกเชษฐแ์ ต่เพยี งพระองค์เดียว เท่านน้ั หากมี สมเดจ็ ภควันต์เสดจ็ มาตรัสพรอ้ มกนั เป็นสองพระองค์แล้วไซร้ ก้มิอาจจะทนทานได้ นา่ ท่จี ะวกิ ารไปเป็น เหมอื นเกวยี นบรรทกุ สิ่งของเกินอัตราเป็นแมน่ มัน่ อนงึี่ ที่นับว่าสำาคญั ในกรณีน้ี กค็ อื ว่า หากสมเดจ็ พระบรมศาสดาจารยเ์ จา้ จักเสดจ็ มาตรัสในโลกนพี้ รอ้ มกนั เปน็ ๒ พระองค์ แลว้ ทรงช่วยกันประกาศพระบวรพุทธศาสนา ทรงชว่ ยกนั แสดงพระสัทธรรมเทศนาโปรด สัตว์โลกทัง้ หลาย มนุษย์หญงิ ชายทัง้ ปวงกจ็ ะแตกตา่ งออกเปน็ ๒ ฝ่าย แลว้ ตา่ งกจ็ ะถือเอาแตว่ วิ าทท่มุ เถียง ซง่ึ กนั แลกนั ไปตามประสาทิฐิแห่ ่งมนุษย์ วา่ \"สมเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้าของพวกเรา\" และว่า
73 \"สมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ของพวกทา่ น\" เมื่อพุทธบริษัทตา่ งพากันถือเอาดว้ ยทิฐเิ ปน็ สองฝา่ ยสองพวกไปเสียเช่นน้ี พระโอวาทานุสาสนีอันลาำ้ คา่ กน็ า่ ทจี่ ะไมไ่ ดผ้ ลเตม็ เมด็ เตม็ หน่วยเป็นแม่นมั่น การณ์ดีก็จะมนี ้อยกวา่ การณ์เสีย เปรียบดจุ เสนาบดีใหญ่ยิง่ ๒ คน ซึง่ เปน็ ข้าเผา้ สมเด็จพระบรมกษัตรยิ าธริ าชเจา้ ทีพ่ ระองคท์ รงแตง่ ต้ังไว้ตา่ งพระเนตรพระกรรณให้ ปรึกษาราชการ เหลา่ บรวิ ารทง้ั หลายของเสนาบดีทัง้ สองน้นั ย่อมถือกันแบง่ กันเป็น ๒ พวก ดว้ ยถอ้ ยคำาว่า \"เสนาบดีนัน้ เปน็ เจา้ นายของพวกท่าน . เสนาบดนี ้ันเปน็ เจ้านายของพวกเรา\" เหลา่ บรวิ ารทั้งหลายเกดิ มี ทฐิ ใิ นนำ้าใจแบง่ แยกแตกออกเป็น ๒ ฝา่ ยไปเสยี เช่นนี้ กน็ ่าท่จี ะไมส่ ามารถยงั ราชกจิ แห่งสมเด็จ พระเจ้าอย่หู ัวให้สำาเรจ็ ลงได้เต็ม เมด็ เตม็ หน่วย อปุ มาข้อนฉ้ี นั ใด เม่ือสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จมา อุบตั ิในโลกน้ีทีเดยี วพรอ้ ม ๒ พระองคแ์ ล้ว ก็จะเปน็ เหตใุ หพ้ ุทธบริษัทถือทิฐิแบ่งแยกเปน็ สองพวกสองเหล่า เชน่ อุปมาที่เล่ามาน่ดี จุ กนั อีกประการหนึง่ ส่งิ ท่วี า่ ใหญ่โตบรรดามใี นโลกธาตนุ ้ี คอื มหาปฐพอี นั กวา้ งใหญย่ อ่ มมีเป็นอันเดยี ว จักไดเ้ ป็นสองกห็ ามไิ ด้ มหาสมุทรทะเลใหญย่ ่อมมเี ป็นอันเดียว จักไดม้ เี ปน็ สองกห็ ามิได้ สเิ นรราชจอมภูผา เปน็ พญาแหง่ ภเู ขาทง้ั ปวง กม็ แี ตห่ นึ่งี ซ่ึงจะเป็นสองก็หามไิ ด้ สมเด็จเจ้าผูเ้ ปน็ ใหญ่ ณ เบ้อื งสวรรคช์ น้ั ไตรตรงึ ษ์ ก็ประเสรฐิ เป็นหนึง่ อยแู่ ต่พระองค์เดยี ว คอื องคส์ มเดจ็ พระอัมรินทราธิราช ซ่งึี สถติ เสวยสขุ อย่ใู นไพชยนตป์ ราสาทพิมาน
74 พญามาราธิราช ซง่ึ สถิตอยู่ ณ เบื้องสวรรคช์ ้ันสูงสุด คือปรนมิ ติ สวตั ตีเทวโลก ก็ประเสรฐิ เป็นหน่งึี อยแู่ ต่ เพยี งพระองค์เดยี ว จักได้มผี ใู้ ดเทยี มเท่าก็หามไิ ด้ ท้าวมหาพรหมผู้เป็นใหญว่ เิ ศษอยู่ ณ เบ้ืองพรหมโลกแตล่ ะภพ ก็มีอาำ นาจเลิศเป็นใหญแ่ ตล่ าำ พังพระองค์ เดียว เพราะฉะนัน้ สมเด็จพระสพั พัญญูสมั มาสมั พุทธเจ้า พระองค์ผู้ทรงพระคุณอนั ประเสริฐล้าำ เลศิ ในไตรโลก จึง ทรงเปน็ เอกประเสริฐสุดอย่แู ตเ่ พียงพระองคเ์ ดยี ว และเมอ่ื มาตรสั ก็ไมม่ าตรสั พร้อมกนั เปน็ สองพระองคืใน คราวเดยี วกนั เลย สภาพการณ์เชน่ น้ี เปน็ ธรรมประเพณเี ที่ยงแท้แต่เดมิ มา พรรณาในพระพทุ ธาธการ กลา่ วเรอื่ งอนั เกยี วกบั องคส์ มเด็จพระจอมมนุ ีชินสีหส์ มั มาสมั พุทธเจา้ ทง้ั หลาย เหน็ วา่ เป็นการสมควรแลว้ จงึ ขอยตุ ลิ งเพียงแค่น้ี ตอ่ จากน้ี เพอ่ื ความเข้าใจดี ขอเชิญทา่ นผู้มปี ญั ญาท้ัง หลายจงไดต้ ิดตามประวัติการสร้างพระพทุ ธบารมขี อง องคส์ มเดจ็ พระศรศี ากยมุนโคดมบรมครเู จา้ แหง่ เรา ทั้งหลายสบื ต่อไป
75 บทท่ี ๒ พระบารมีเรม่ิ แรก บดั น้ี จักพรรณนาถึงการสรา้ งพระบารมี เพอื่ พระปรมาภิเษกสัมโพธญิ าณของสมเดจ็ พระมิง่ มงกฏุ ศรี ศากยมนุ ีโคดมบรมโลกนาถ พระองคผ์ ูท้ รงเป็นพระบรมศาสดา ทรงมพี ระมหากรณุ าประกาศศาสนธรรมคำา สั่งสอน ให้พวกเราชาวพทุ ธเวไนยนกิ รได้ประพฤติปฏิบตั สิ ืบๆ กันมาจนกระทั่งทกุ วนั นี้ เพื่อเปน็ การสดุดี สรรเสริญคณุ แหง่ พระองค์ เท่าท่ีสามารถจะประมวลนาำ มากลา่ วไว้ในที่นไี้ ด้ ขอท่านสาธชุ นทงั้ หลายจงต้งั ใจ สดบั ตรบั ฟังด้วยดีเถิด เพอ่ื ทจี่ ะได้เกิดศรัทธาปสาทะความเช่อื ความเลื่อมใสในองคพ์ ระผูม้ พี ระภาค เจ้า โดยมาเขา้ ใจทราบชดั ว่า สมเด็จพระบรมศาสดาของพวกเราทัง้ หลาย กวา่ จะได้ตรสั พระปรมาภิเษกสมั โพธิ ญาณนั้น พระองคท์ า่ นต้องทรงพระอุตสาหะพยายามส่ังสมบม่ พระบารมีมาเป็นเวลานาน และยากลาำ บาก นกั หนาเพียงไร สมเดจ็ พระสรรเพชญศ์ รีศากยมนุ ีโคดมบรมครเู จา้ ของเรานี้ พระองค์ทรงเปน็ พระพทุ ธเจา้ ประเภท ปัญญาธิกะ คือทรงยิ่งด้วยพระปญั ญา ฉะน้ัน จึงปรากฎว่าพระองคท์ รงสร้างพระบารมีเพื่อพระพุทธภมู ิได้ ยงิ่ ยวดรวดเรว็ นกั หนา เรว็ ย่ิงกว่าพระพุทธเจ้าประเภทอ่ืนทั้งหมด ต้ังแตเ่ รมิ่ ปรารถนาพระพทุ ธภมู จิ น กระท่ังได้ตรัสรู้เป็นพระพทุ ธเจ้า แมจ้ ะนับวา่ รวดเร็วกว่าพระพุทธเจ้าประเภทอนื่ ถึงกระน้ัน พระองค์ก็ต้อง ทรงใช้เวลาสรา้ งพระบารมถี ึง ๒๐ อสงไขยกับ ๑ แสนมหากปั พอดี ในบทน้ี จะกลา่ วถงึ ตอนเริ่มแรกทรงสรา้ ง พระบารมี คือตอนทรงปรารถนาพระพุทธภมู ิ ได้แตด่ ำาริในพระหฤทยั มิได้ออกโอษฐเ์ ป็นวาจา นบั เวลานาน ถึง ๗ อสงไขย ดงั ต่อไปนี้
76 พรหมราำ พึง กาลคร้ังหนึ่ง ปรากฎว่าในโลกธาตวุ ่างจากพระบวรพทุ ธศาสนาคอื ไม่มอี งคส์ มเด็จพระบรมศาสดาสมั มา สัมพุทธเจา้ เสด็จมาอุบัตติ รสั ในโลกเรานี้ เปน็ เวลานับได้นานนักหนาถึง ๑ อสงไขย เมื่อไมม่ ีพระพุทธ ศาสนา โลกธาตุก็ยอ่ มจะว่างเว้นจากการไดบ้ รรลุมรรคผลธรรมวเิ ศษเปน็ ธรรมดา เพราะว่าธรรมพเิ ศษคือ พระอรยิ มรรคอริยผลอนั เปน็ โลกุตตรธรรมนนั้ จกั มีได้ก็แตเ่ ฉพาะภายในพระพทุ ธศาสนาเทา่ นน้ั ไมม่ ีใน ศาสนาลทั ธอิ ่ืนเป็นอนั ชาด กใ็ นกาลคร้งั น้นั จึงบรรดาเทพเจ้าทั้งหลายผ้ซู ง่ึ เปน็ พทุ ธศาสนิกบรษิ ัทแลได้ บรรลุมรรคผลธรรม วเิ ศษ คือเปน็ พระอรยิ บุคคลชั้นพระโสดาบนั พระสกิทาคามมี าแต่ศาสนาของสมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าพระองค์กอ่ น เทพยเจ้าพระอรยิ บคุ คลเหล่านั้น ต่างกพ็ ากันอนุโยคพยายามประกอบ ความเพยี รบำาเพญ็ เปน็ พระอนาคามี อริยบุคคล แล้วจึงจุติข้ึนไปอบุ ัตเิ กดิ เปน็ พระพรหมอนาคามี ณ พรหม โลกช้ันสุทธาวาสทง้ั หา้ คือ อวิหาพรหมโลก อตัปพรหมโลก สุทัสสาพรหมโลก สทุ สั สีพรหมโลก และอกนฏิ ฐ พรหมโลก องคใ์ ดจะไปอบุ ัติเกดิ ในปญั จสทุ ธาวาสพรหมโลกชนั้ ไหนน้นั ก็สดุ แต่วาสนาบารมีที่ตนอบรมให้ แกก่ ล้าในอนิ ทรีย์ไหน เมือ่ เทพยดาเจ้าทั้งหลายเหลา่ นน้ั ไปอุบตั บิ งั เกิดเป็นพระพรหมอนาคามีแลว้ กย็ อ่ มเจริญกรรมฐานตอ่ ไปจน กระทงั่ ได้บรรลุมรรคผลขน้ั สูงสุด คือ ไดส้ ำาเรจ็ เป็นพระอรหนั ตแ์ ล้วก็ดบั ขนั ธป์ รินิพพาน ณ พรหมโลกนน้ั เอง อนั น้ีเปน็ กฎธรรมดาของพระพรหมอนาคามีทวั่ ไป ทีไ่ ม่ตอ้ งกลับมาเกิดในโลกไหนๆ อกี เมื่อได้สาำ เร็จเปน็ พระอรหนั ตแ์ ละดบั ขันธ์เขา้ สู่พระอมตนิพพานไปทลี ะองค์สอง องคเ์ ช่นน้ี พระพรหมอนาคามีกเ็ หลือน้อยลง ทกุ ที เพราะผู้ทจ่ี ะมาอุบตั เิ กดิ ใหมก่ ไ็ มม่ ี โดยท่โี ลกธาตนุ วี้ า่ งจากพระพทุ ธศาสนา จึงไมม่ ีพระอนาคามบี ุคคล ผู้ทรงคณุ วิเศษมาอุบตั เิ กดิ ดงั กลา่ วแล้ว เมอ่ื เปน็ เช่นนี้ ทา่ นสทุ ธาวาสมหาพรหมอนาคามี ได้ทอดทศั นาเห็น มหาพรหมท่เี หลืออย่นู ้อยนกั หนา ทง้ั ยงั จะตอ้ งไดส้ าำ เร็จเป็นพระอรหนั ต์และดบั ขนั ธเ์ ข้าสปู่ รินพิ พานในวนั หนา้ อกี ดว้ ยเลา่ ท่านมหาพรหมเหล่านัน้ จงึ ให้รำาพงึ ปรกึ ษากนั ไปว่า
77 \"ดรู า เราทา่ นผูน้ ริ ทกุ ขเ์ อ๋ย! กาลบดั น้ี บรรดามหาพรหมในช้นั ปญั จสทุ ธาวาสเราน้ี น้อยลงๆ นักหนาแล้ว ที่ เป็นเช่นนี้ก็เพราะวา่ ในโลกธาตุว่างเวน้ จากพระพุทธศาสนา กาลทไี่ ม่มีองค์สมเดจ็ พระสมั มาสมั พุทธเจ้า นน้ั แล ปรากฎเปน็ อนั มากมายกว่ากาลทีม่ พี ระพุทธเจ้าเป็นไหนๆ ฉะน้ัน หมู่พระพรหมสุทธาวาสเราน้ี จึง ค่อยนอ้ ยไปๆ\" เมื่อได้ราำ พงึ ปรึกษากนั ไปดงั นี้ ต่างก็มีกมลหฤทยั บังเกิดความสังเวช แลคิดจะแกไ้ ข เหตุการณ์ใหด้ ีข้ึน จึงทอดทศั นาเลง็ แลดูไปท่วั ทัง้ จักรวาลแลอนนั ตจักรวาลน้อยใหญ่ กไ็ ม่เหน็ พระพุทธเจ้า จกั เสดจ็ มาอบุ ัติข้นึ ในกาลใกล้ๆ นเ้ี ลย จึงรำาพึงปรกึ ษากันต่อไปว่า \"อันธรรมดาองคส์ มเดจ็ พระสรรเพชญส์ ัมมาสัมพทุ ธเจา้ ท้งั หลาย ยอ่ มเสด็จอุบตั ติ รัสในมงคลจักรวาลน้ี เทา่ นนั้ เว้นจากมงคลจกั รวาลโลกธาตแุ ล้ว จกั มไิ ดไ้ ปเสดจ็ อุบตั ิตรัสในจักรวาลทง้ั หลายอื่นเลย ก็แลใครผู้ ใดเลา่ หนา จักเป็นผู้มีความพยายามใหญ่ หฤทัยมนั่ คงแขง็ กลา้ อุตสาหพยายามบำาเพ็ญกศุ ลพุทธการก ธรรมเพือ่ จักได้ตรสั รู้ พระปรมาภเิ ษกสมั โพธิญาณได้ จำาเราทั้งหลายจกั ตอ้ งคอยคน้ คว้าแสวงหาด\"ู ครนั้ สุทธาวาสมหาพรหมท้ังหลาย ปรกึ ษากนั ฉะนน้ั แล้ว จึงคอ่ ยสอดสอ่ งแสวงหาดทู ่วั ทงั้ หมมู่ นุษย์และ เทวดา เพือ่ จักหาบุคคลผู้มีกมลหฤทัยผูกพันมัน่ คงกล้าหาญ เตม็ ไปดว้ ยอนุโยคพยายามอนั ย่งิ ใหญ่ อาจ ประกอบกจิ ทีต่ นม่งุ หวงั ให้สาำ เร็จไดโ้ ดยมไิ ด้อาลยั ถึงร่างกายแลชีวติ โดยประสงค์วา่ เมื่อพบผูม้ ีนำา้ ใจ องอาจมั่นคงชนดิ นีแ้ ล้ว จกั ได้เข้าบนั ดาลดลจติ ของผู้น้ันให้บงั เกิดมีนำ้าใจรักใครใ่ นทางที่จะปรารถนา พระพทุ ธภมู เิ พ่ือตรัสรู้พระปรมาภิเษกสัมโพธญิ าณ ในอนาคตกาลภายภาคหน้า
78 มานพหนมุ่ ผู้เข็ญใจ กาลคร้ังนน้ั ยงั มมี าณพหนุ่มผยู้ ากจนเข็ญใจคนหนึง่ เมอื่ ถึงกาลชนมายุเจริญวยั แล้ว มารดาบดิ าจงึ คิดจะ ปลูกฝงั แตง่ ต้งั ใหม้ คี รอบครัวตามประเพณี แต่มาณพนนั้ มไิ ด้มคี วามปรารถนาดว้ ยประมาณตัวว่าตนเป็น คนยากจน ครน้ั ชนกชนนีรบเร้าเฝา้ รำาพันปลอบ จึงตอบว่า \"ข้าแตพ่ ่อแม่ทงั้ สอง! ทกุ วนั นที้ รัพยส์ มบตั ิอนั หนง่ึ อนั ใดทมี่ คี า่ ในเรือนของเรากม็ ไิ ด้มี เพราะวา่ เราเป็นคน เขญ็ ใจ ฉะนนั้ ขา้ พเจ้าจึงยังมิพอใจจะมเี หยา้ มเี รอื น เมอื่ มารดาบดิ าท้งั สองยงั ครองชีวติ อยู่ตราบใด ขา้ พเจา้ กจ็ ักอปุ ฐากบาำ รงุ เลี้ยงไปตามประสายาก จนกว่าชวี ติ ข้าพเจ้าจะหาไม่\" เม่ือให้คาำ ตอบดงั นแ้ี ล้ว กท็ าำ การงาน เลี้ยงดทู า่ นท้ังสองเปน็ นติ ย์ คร้ังจำาเนยี รกาลนานมา ทา่ นบดิ าก็ถงึ แก่กรรมไปตามธรรมดาของสงั ขาร ตั้งแตน่ ้นั มา มาณพหน่มุ กม็ ไิ ดม้ ีความประมาท หม่ันระวังระไวเอาใจใส่อภิบาลมารดาดว้ ยความรกั เท่ียว แสวงหาหักไมใ้ นอรัญพอแกค่ วามตอ้ งการแล้ว ก็นาำ มาขายไดม้ ูลค่าเท่าใด กจ็ ่ายจัดเครื่องภตั ตาหารได้ แลว้ ก็นำามาอปุ ฐากบาำ รุงเลี้ยงมารดา เปน็ กจิ วัตรตลอดมาทกุ ทิวาวาร วันหนงึ่ มาณพหนุม่ ผยู้ ากไรน้ น้ั ครัน้ เสรจ็ การเรือนแล้วก็เข้าไปสอู่ รญั ประเทศเทย่ี วหาฟนื แลผกั ได้มากเหลือ กาำ ลงั นำากลบั มาในระหวา่ งทางกใ็ หเ้ หน่อื ยกายกระหายหิวนา้ำ นัก จงึ แวะเขา้ อาศัยพกั น่งั อยูร่ มิ ฝง่ั น้าำ ใต้รม่ ไทรใบดกหนาแหง่ หน่ึงใกลท้ า่ เรอื สาำ เภา นึกในใจว่า จักเอนกายพอคลายเหนอื่ ยสักหน่อย จึงจะคอ่ ยเดนิ ทางกลับบา้ นต่อไป แล้วกเ็ อนกายระงับหลับมอ่ ยไปครหู่ นึ่งี พอต่ืนข้นึ มาเหลือบไปเห็นเรอื สำาเภาจงึ เกดิ ความคิดอันบรรเจดิ คาำ นึงไปว่า \"อา บัดน้ี เรากาำ ลังเป็นคนหนุ่มอยใู่ นปฐมวัย มกี ำาลงั กายอดุ มดี จงึ อาจแสวงหาผักฟืนอนั เป็นงานหนกั ถึง เพียงน้ไี ด้ ก็เม่อื กายแกช่ ราลว่ งกาลนานไปถอยกำาลังลงกด็ ี หรอื เม่ือมีพยาธคิ วามเจ็บไขม้ าเบียดเบยี นกาย ใหพ้ ิการลงแลว้ กด็ ี เราจกั มีความสามารถประกอบการงานอนั หนักอยา่ งท่กี าำ ลังกระทำาอยทู่ กุ วันน้ีได้
79 หรอื จำาเราจะคิดขยับขยายหนทางประกอบอาชีพเสียใหม่ เข้าไปหานายสำาเภานน่ั แลว้ ของานทาำ เพื่อนาำ ค่า จา้ งมาเลยี้ งดูมารดา เชน่ นี้นา่ จะเปน็ การดี\" คร้ังคดิ ดงั นั้นแลว้ จงึ ผันผายเขา้ ไปหาพอ่ ค้าใหญ่นายสำาเภา แลว้ กล่าวขึ้นว่า \"ขา้ แต่นาย! กาลบดั น้ี ข้าพเจ้าถงึ ซึ่งความยากจนเข็ญใจนกั จงึ เซซังมาสู่สำานักทา่ นด้วยหวงั ใจวา่ ถา้ ทา่ น อนุเคราะห์ขา้ พเจา้ ได้ ข่้าพเจา้ กจ็ กั ขอทาำ งานอยู่กับทา่ นดว้ ยความซ่ือสตั ย์สจุ ริตตอ่ ไป\" ฝ่ายนายเรอื สำาเภาผู้ใหญ่ ครั้นได้ฟงั วาจาของมาณพหนมุ่ มาออ้ นวอนของงานทาำ เช่นนัน้ ก็พลงั ใหเ้ กดิ ความ สงสาร กอปรทงั้ ได้เหน็ รปู ร่างของมาณพหนุม่ ดูอุดมไพบลู ย์ไปด้วยกาำ ลงั กาย อาจทาำ งานตา่ งๆ ไดโ้ ดยง่าย จงึ ตกลงใจอนเุ คราะห์เร่งรับคำาโดยเร็ววา่ \"เออ...พ่อน่รี า่ งกายดี ทัง้ มปี ัญญาพูดจาก็คมสันสมควรอยู่ มาเถิดเราจกั รบั อนุเคราะหจ์ ะตอ้ งการค่าจา้ ง เทา่ ไร เราจักใหต้ ามตอ้ งการ อกี ท้ังเสบียงอาหาร เมอ่ื ต้องการก็จงเอาไปกอ่ นเถดิ เราจะรับเล้ียงเจา้ ไป ตราบเทา่ วนั มรณะ เจ้าอย่างไดค้ ดิ รังเกยี จเลย\" มาณพหนุ่มคนเข็ญใจ เมอื่ ไดร้ บั ความอนเุ คราะห์เชน่ น้นั ก็มีจิตยนิ ดีนกั หนา กล่าวคำาอาำ ลาแล้วเดนิ นึก สรรเสรญิ คณุ ของนายเรือสาำ เภาพอ่ คา้ ใหญไ่ ปพลาง จนมาถึงรม่ ไทรท่พี กั เพอ่ื จะนำาผักและฟนื ไปขายเสีย ก่อน กก็ ลับวิตกไปอกี วา่ \"หากเราจะไปตา่ งประเทศกับพวกพ่อค้าพานชิ ในเรือสำาเภา มารดาเราอยู่ขา้ งหลงั ใครจักอภบิ าลบาำ รงุ เล้ียง ดูเล่า เราน้ีน่าจะเปน็ คนคดิ ผดิ เสียในครัง้ น้กี ระมังหนอ แตจ่ ะอยา่ งไรกต็ าม จาำ เราจะตอ้ งไตถ่ ามบอกความ แก่มารดาดเู สียก่อน แลว้ จงึ จะค่อยผ่อนผนั ตามสมควรในภายหลงั \"
80 คิดดังนีแ้ ล้ว ก็ยกภาระอันหนักนั้นขน้ึ ใส่บ่าไปขาย ไดม้ ลู ค่าแล้วก็จับจา่ ยภัตตาหารกลับมาสเู่ รือน ประกอบ สรรพกจิ ที่เคยทาำ มา คร้ันมารดาบรโิ ภคอาหารเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ จึงเข้าไปกราบกรานเล่าเรื่องทต่ี นคิดจะ ไปทำางานกบั พวากพานชิ ยงั ตา่ งประเทศให้ ฟงั ฝ่ายชนนขี องมาณพหนุ่มนั้น คร้นั ได้ฟังวาจาของปิยบตุ รสุดท่ีรกั บอกวา่ จกั ใครไ่ ปทำางานเพ่อื ความก้าวหน้า จะกล่าวห้ามปรามเสยี ก็ไม่สมควร จงึ กล่าววา่ \"ดกู ร พ่อผู้ปิยบุตร! ทกุ วนั นชี้ วี ติ ของแม่ยอ่ มเนื่องอย่กู ับเจา้ ผเู้ ป็นลูกรัก เพราะฉะนนั้ เจ้าจะไปท่ีไหนก็จงไป ตามใจเถดิ แตว่ ่าขอใหแ้ มน่ ไ้ี ด้ไปกับเจ้า ไดอ้ ยูใ่ กลๆ้ เจ้าเสมอไปกแ็ ล้วกัน\" มาณพหนุ่มไดฟ้ ังดังนี้ กม็ ีความยินดกี ง่ึ วิตก จึงรีบลามารดาไปที่ท่าเรือสำาเภา เข้าไปหานายพานิชผ้ใู จดี แล้วแจง้ ความวา่ \"ขา้ แต่ท่านผมู้ จี ิตกรุณา! บดั นก้ี ารทขี่ า้ พเจ้าจะทาำ งานในเรือไปกบั ทา่ นยงั ตา่ งประเทศนัน้ ขา้ พเจ้าจะไปแต่ ตัวคนเดียวหาได้ไม่ ถา้ ทา่ นมคี วามกรุณา ขอจงอนุญาตให้ข้าพเจ้าพามารดาไปดว้ ยเถดิ แท้จริงมารดาของ ขา้ พเจ้าน้ัน เป็นคนชราอนาถาหาทพี่ งีึ มไิ ด้ บุตรธดิ าคณาญาตผิ ้ใู ดใครผ้หู น่งึ นอกจากข้าพเจ้าแลว้ ทจี่ ะ บำารงุ อุปฏั ฐากเปน็ ไม่มีเลย ขา้ พเจ้าจงึ ไม่อาจสละละทิง้ มารดาไว้แต่เดยี วดายได\"้ ฝา่ ยนายสำาเภาไดฟ้ งั กย็ ่งิ มจี ติ กรณุ าหนกั หนา จงึ ตอบเปน็ มธุรวาทีว่า \"ดกู รพอ่ ผ้เู จริญ! เออ...พอ่ น้ีก็เป็นคนมกี ตัญญูรูค้ ุณอตุ ส่าหช์ ุบเล้ียงมารดาอยดู่ ว้ ยหรอื เออ ดีแล้ว จงพา มารดาไปดว้ ยเถิด เราจะรับอุปการะท้งั สิน้ โดยสจุ รติ ใจ เพราะรกั ใคร่ในนำา้ ใจจรงิ ๆ อย่าวิตกกังวลไปเลย\" มาณพกม็ จี ติ โสมนัสยินดี อัญชลกี รกลา่ วขอบคณุ นายพานิชแลว้ รบี มายังเรอื นของตน แจง้ ความแกม่ ารดา ให้ทราบแล้ว ก็เลือกเก็บทรัพยส์ มบตั ิอนั ไม่ค่อยจะมีคา่ นัก ราบรวมไดห้ อ่ หน่ึงแล้ว จึงพามารดาของตนสู่
81 สำานกั นายสำาเภา ครนั้ ไดเ้ วลาเรือออกจากท่าจะไปยังต่างประเทศแลว้ นายสาำ เภาผ้มู ใี จกรณุ าก็มอบหมาย หนา้ ทใี่ ห้นายมาณพหน่มุ นนั้ ทำาตามกำาลังความ สามารถ มาณพน้นั มิได้ประมาทอุตสาหะประกอบกิจทุก ประการเปน็ อนั ดี เมือ่ เรอื สาำ เภาแลน่ ไปในมหาสมุทรทะเลใหญ่ ประมาณได้ ๗ วนั สาำ เภานัน้ ตอ้ งลมพายุใหญเ่ หลือกาำ ลงั ก็เลย ถงึ ซง่ึ ความอัปปาง ทำาลายจมลงในท้องมหาสมทุ ร บรรดามนุษยพ์ านิชนกิ รทง้ั หลายรวมทั้งนายสำาเภาผู้ ใจดี ก็สน้ิ ชวี ิตถงึ แกม่ รณาเป็นภกั ษาแห่งเตา่ ปลาท้งั หลายในมหาสมทุ รน้นั ฝ่ายมาณพหนมุ่ เมื่อพบประสพการณอ์ นั ร้ายแรงเชน่ น้ัน กต็ ั้งสตมิ ่นั คงจัดแจงแตง่ ตัวให้ทะมดั ทะแมงเป็น อนั ดี พอไดท้ ีกโ็ ลดโผนโจนออกไปจากเรือท่ีกาำ ลังอับปาง เพ่อื รักษาชีวิตแหง่ ตนไว้ คร้นั แลว้ ราำ ลกึ ไดถ้ ึง มารดาจึงเหลยี วหลังกลบั มาแลดู ก็บงั เอิญใหเ้ ห็นมารดายังไม่ตาย ยังเหนย่ี วตน้ ไมห้ ักห้อยตวั อยจู่ งึ ดีใจ นกั หนา วา่ ยนำ้ากลับมารับมารดาใหน้ งั่ เหนอื คอของตนแลว้ กพ็ าว่ายน้ำาไปในมหาสมุทร แมว้ า่ จะแลเหน็ มหาสมุทรอนั กวา้ งใหญส่ ดุ วิสยั ไมเ่ หน็ ฟากฝัง่ จะข้ามไปใหร้ อด ชีวติ ได้ ถงึ กระนัน้ ก็มไิ ดม้ ใี จย่อทอ้ ถอย ความเพยี รเสยี แม้จะเพลยี แสนเพลยี เหน็ดเหนอ่ื ยนกั หนา กส็ ู้อุตสาหะอดทนต่อต้านทานกาำ ลงั นา้ำ เชีย่ วเค็ม เต็มไปด้วยคล่ืน ดวั ยนำ้าใจเด็ดเดยี่ วมากไปด้วยความพยายามอดทนเปน็ ยงิ่ นัก เพอื่ ท่ีจักนำามารดาไปใด้ รอดชีวิตให้จงได้ กลา่ วฝา่ ยท้าวสทุ ธาวาสมหาพรหมอนาคามี ซง่ึ สถิตอยู่ ณ ชั้นอกนฏิ ฐภพพรหมโลกโพ้น เพ่อื คอยแลเลง็ เพ่ง ดหู มสู่ ตั ว์ประสงค์จะเลือดคัดจัดสรรผู้มหี ฤทัยองอาจเต็ม ไปดว้ ยความอตุ สาหะใหญ่ใจกล้าสามารถท่จี ะ กระทำาพุทธการกธรรมได้ คราวนัน้ คร้นั ทอดทศั นาลงมาเหน็ มาณพผู้กำาลังแบกมารดาวา่ ยนำ้าอยู่ใน มหาสมทุ ร จึงดำาริว่า \"โอ... บุรุษนเ้ี ป็นมหาบรุ ษุ โดยแท้ ดรู ึ...ไม่เอ้ือเฟื้อย่นย่อต่อมหาสมุทรอนั ลกึ ซ้งึ กวา้ งไกล สู้อดทนพยายามว่ายนำา้ เพอ่ื พามารดาให้ขา้ มพ้นบรรลุถึงฝงั่ กบ็ ุคคลผู้มใี จพยายามมน่ั คงเต็มไป
82 ดว้ ยอตุ สาหะใหญเ่ ห็นปานนี้ จึงควรนบั วา่ เป็นผสู้ ามารถเพือ่ ท่ีจะบำาเพ็ญพทุ ธการกธรรมใหส้ ำาเร็จลลุ ่วงไป ได้\" เมอื่ ท้าวมหาพรหมผูว้ ิเศษคาำ นงึ ฉะนแี้ ลว้ กเ็ ขา้ ดลจติ ให้มาณพหนุ่มนั้นนึกปณิธานปรารถนาซ่งึ พระพุทธภูมิ เวลานน้ั มาณพหนมุ่ ผู้ซ่ึงมีนำ้าใจเดด็ เดีย่ วอดทนเปน็ มหาบุรษุ เมื่อแบกมารดาว่ายอยู่ในหมู่คลน่ื อันมีกำาลงั กล้า ซดั ซ่ามาปะทะประหารจึงใหเ้ กดิ อาการอ่อนเพลยี เหนด็ เหนอื ยนกั หนา ก็จมลงไปในมหาสมทุ รหนอ่ ย หนงี่ึ แล้วกโ็ ผล่ข้นึ มาอีก ในเวลานาทอี นั เลวรา้ ยใกลม้ รณะ ด้วยเดชอำานาจแหง่ น้าำ หฤทยั ท่ีทา้ วมหาพรหมผู้ วเิ ศษให้นึกนนั้ ก็บังเกิดความคิดขน้ึ มาวา่ \"ถา้ ตวั เรา ถึงแก่ชวี ิตพนิ าศขาดสญู ลงไปในทอ้ งมหาสมุทรทะเลใหญพ่ ร้อมกับมารดา ณ กาล บดั นี้ ขอกุศลทเ่ี ราแบกมารดาว่ายน้าำ ในมหาสมทุ รมาดว้ ยความเหนด็ เหน่ือยนกั หนานี้ จงเป็น ปจั จยั ให้ถึงซ่ึงพระโพธิญาณ ขอเราพึงอาจนำาสตั ว์ทง้ั หลายทเี่ วียนวา่ ยในวัฏสงสารใหข้ ้ามพน้ ลุ ถึงฝัง่ โน้น คอื อมตมหานพิ พาน\" ครั้นคิดดงั นแี้ ล้ว มาณพหนมุ่ นั้นก็ตง้ั ปณธิ านซาำ้ ลงไปอกี ว่า \"เมื่อ เราเปล้ืองตนออกพ้นจากวัฏสงสารแล้ว ขอเราพึงนำาสตั วท์ ้งั หลายใหเ้ ปลื้องตนพน้ วฏั สงสารด้วยเถิด อน่ีึง เม่ือเราขา้ มจากวัฏสงสารไดแ้ ลว้ ขอใหเ้ ราพงึ นำาสตั ว์ทงั้ หลาย ขา้ มพ้น จากวฏั สงสารไดด้ ว้ ยเถิืด\" เม่ือนกึ ปณิธาน ดงั น้แี ก้ว ก็ให้เกิดอศั จรรย์ พละกาำ ลังทจ่ี วนจะหมดส้นิ ก็พลันเกิดมขี ้นึ มาอีกด้วยกำาลังแหง่ พรหมอนเุ คราะห์ มาณพหนมุ่ น้นั จึงอตุ สาหะแบกมารดาวา่ ยน้าำ ขา้ มมหาสมทุ ร สองสามวนั กบ็ รรลุถึงฝงั่ พอ พามารดาขน้ึ ถงึ ฝงั่ ได้แลว้ กเ็ ข้าไปอาศัยบา้ นแห่งหนงึ่ อยู่ ทำางานเลย้ี งชีวติ ดว้ ยความยากจนสืบไป ครั้น ถงึ แกก่ าลกิรยิ าส้ินชวี ติ กุศลกส็ ่งใหไ้ ด้ข้นึ ไปอุบัตเิ กดิ ในสวรรคสุคติภูมิ
83 ชวี ประวัติของมาณพหนมุ่ เข็ญใจน้ี แสดงให้เห็นถงึ ความปรารถนาด้งั เดมิ เริ่มแรก เพือ่ ต้องการพระพทุ ธภมู ิ ขององค์สมเดจ็ พระสรรเพชญมิ่งมงกุฏศรีศากยมุนโี คดม บรมครูเจ้าแหง่ เราทง้ั หลาย คือพระองคเ์ ริม่ ตงั้ ปณิธานความปรารถนาเปน็ ครง้ั แรก ตงั้ แต่ปางเมื่อเสวยพระชาตเิ ปน็ มาณพหนมุ่ แบกมารดาว่ายขา้ ม มหาสมทุ รตามท่ี เล่ามาน้ี แลว้ ต่อจากน้นั พระองค์ทา่ นก็มหี ฤทยั ม่นั คง ตั้งความปรารถนาในทกุ ๆ ชาตทิ ีเ่ กิด เรอื่ ยมาไมเ่ ปลี่ยนแปลง ก็เป็นอันแสดงวา่ พระองคท์ รงเร่มิ เปน็ พระโพธิสัตว์ตง้ั แต่คร้ังนัน้ เป็นต้นมา เพราะ ทรงปรารถนาพระพทุ ธภูมหิ รอื พุทธภาวะซ่งึ เป็นคุณอันยงิ่ ใหญ่แล้ว ฉะนัน้ ต่อแตน่ ้ไี ป จะเรยี กคำาแทนชือ่ พระองคว์ ่า พระโพธิสตั ว์ ในพระชาติตา่ งๆ ที่จะนาำ มาเล่าใหฟ้ ัง อนงึ่ ขอแจ้งให้ทราบล่วงหนา้ ไว้ เสยี ก่อนวา่ พระชาตติ า่ งๆ ทจี ะนำามาเล่าตอ่ ไปนีเ้ ปน็ สว่ นเล็กนอ้ ยท่ีพระองค์เกิดเทา่ นน้ั อย่าพลนั เข้าใจวา่ พระองค์เกดิ เพียงไมก่ ่ชี าตเิ ทา่ ท่ีเล่ามาน้ีเป็นอันขาด ความ จรงิ พระองคเ์ กิดเป็นพระโพธิสัตวส์ ร้างพระบารมมี ากมายจน นับพระชาตไิ ม่ถ้วน ไม่สามารถจะประมวลมาใหส้ ้นิ สดุ ลงได้ จะยกยอ่ งเอาแต่บางพระชาตมิ าเลา่ ไวใ้ นทีน่ ้ี เท่านน้ั เมือ่ ได้ทาำ ความเขา้ ใจเป็นอนั ดเี ชน่ นแ้ี ลว้ กจ็ ะขอเลา่ เรือ่ งการสรา้ งพระบารมีของสมเด็จพระชินสีห์ สมั มาสัมพุทธเจา้ ต่อไป สตั ตตุ าปะราชา หลัง จากท่ไี ด้ตงั้ ปรารถนาพระพทุ ธภมู ิ ในพระชาตทิ ่ีเปน็ มาณพผู้ยากจนเขญ็ ใจเป็นประเดิมเริม่ แรกแลว้ พระโพธสิ ัตวเ์ จ้าก็ท่องเท่ยี วเสวยสขุ อยู่ ณ สวรรค์เทวโลกอยูน่ านแสนนานแล้วจึงจุติจากเทวโลกลงมา บังเกดิ ในขัตตยิ ตระกูล ณ พระนครทีป่ รากฎนามว่า สริ ิบดีนคร เม่อื พระชนมพรรษาทรงเจรญิ แล้ว สมเดจ็ พระชนกธริ าชก็เสดจ็ ทิวงคตล่วงลบั ไป พระองคจ์ ึงไดเ้ สวยมไหศูรยสมบตั ิ ทรงพระนามว่า สมเดจ็ พระเจา้ สัตตุตาปนราธริ าช มีพระบรมเดชานุภาพเป็นอันมาก ทรงปกครองไพร่ฟ้าประชาชนโดยทศพธิ ราชธรรม ก็ สมเดจ็ พระบรมโพธสิ ัตวเ์ จ้านั้น ทรงมีพระหฤทยั รักใคร่ในหตั ถีพาหนะคอื ช้างเปน็ อย่างย่ิง พระองคไ์ ด้ทรง สดับวา่ มมี งคลคชสารอยู่ ณ ประเทศทีใ่ ดแลว้ กท็ รงพระอตุ สาหะเสดจ็ ไปประทบั แรมอยู่ ณ ประเทศน้ัน
84 จนกวา่ จะจบั มงคลคชสารได้ จึงจะเสด็จกลับนำามาสู่พระนคร แล้วทรงมอบใหน้ ายหัตถาจารย์ผู้วเิ ศษ ชาำ นาญเวทยฝ์ ึกสอนตอ่ ไป สมัยนั้น ที่แขวงเมืองสิรบดี มพี รานไพรพเนจรผู้หนึ่ง ซ่ึงเปน็ คนเจนจัดสันทดั เท่ยี วไปในทางเถอื่ นทุรประเทศ วันหน่ึง เขาสัญจรไปในอรญั ราวปา่ เพอ่ื แสวงหาเน้อื แตม่ ไิ ด้ประสบพบพานหมู่มฤคแลฟานโดยท่ีสดุ แมแ้ ต่ สัตวเ์ ดียรฉานสกั ตวั เดยี วพอทีจ่ ะลา่ ได้ กไ็ มอ่ าจกลบั บ้านไดด้ ว้ ยมือเปล่าตามวสิ ยั พราน จงึ ลดเล้ียวเท่ียวไป ในปา่ ลกึ จนลว่ งหนทางที่ท่องเท่ยี วไปของมนุษย์ ก็บังเอิญไปพบมงคลคชสารสเี สวตผู้ผ่องพรรณงามดว้ ย งวงงาปรากฎขาวราวขนทราย จามรี ทอ่ งเท่ียวอยู่ท่ีถิน่ สถานสระโบกขรณีแห่งหนง่ึ แลว้ จึงคิดราำ พงึ วา่ \"แต่อาตมาเท่ยี วป่ามาชา้ นาน นบั เดือนและปกี ็ไดม้ ากแล้ว ยังไมเ่ คยพบมงคลหตั ถเ์ ช่นน้ีเลย ก็คราวนต้ี ง้ั แต่ ออกจากบา้ นมา เราไมไ่ ด้ประสบเนอื้ ถกึ มฤคี แมแ้ ตห่ มเี มน่ กระต่าย ฟานทราย นกกระทา ตวั ใดตัวหนงึ่ ก็ไม่ ได้พบพาน จึงไดล้ ว่ งดงกนั ดารมาถึงสถานทนี่ ้ี บตุ รภริยาเรากไ็ มไ่ ดส้ ิง่ ใดเลีย้ งชีวติ อย่ากระน้นั เลย เราจะ นำาเอาขา่ วพญาคชสารสเี สวตน้ีเขา้ ไปเปน็ บรรณการกราบทูลให้สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวของเราทรงทราบ นา่ ทจี่ ะได้ทรพั ย์ข้าวของรางวลั สบื ชีวติ ได้\" ครั้นคดิ สำาเรจ็ ตกลงใจดงั นแ้ี ล้ว ตะแกกต็ งั้ จติ กาำ หนดแนวพนารัญสขิ รนิ ทรบรรพตใหถ้ นดั แน่ แลว้ กก็ ลบั มา ในเมืองเขา้ ไปหยดุ อยูแ่ ทบพระทวารพระราชวังแลว้ จงึ บอกความนั้นใหท้ ่านขา้ งในนาำ ไปกราบทลู สมเดจ็ พระบรมกษัตรยิ ์ เพื่อทราบเน้อื ความ ครนั้ สมเด็จพระเจา้ สัตตุตาปะบรมโพธสิ ัตว์ทรงทราบความแลว้ ก็ พระราชทานทรัพยเ์ ป็นราวลั แก่พรานไพรเป็นอนั มาก แลว้ มีรับสั่งใหต้ ระเตรยี มพลพาหนะเสดจ็ ออกจาก พระนคร ใหพ้ รานน้ันเปน็ มรรคนายกนำาทาง เสดจ็ มาตามระหวา่ งเขาไม้ไพรพนมโดยลาำ ดบั จนบรรลถุ ึง ประเทศท่นี ้ัน ครัน้ ได้ทอดพระเนครเห็นมงคลคชสาร ก็ทรงโสมนสั ดาำ รัสสง่ ให้แวดล้อมดว้ ยคชพาหนะคชาะารเป็นอัน มาก กท็ รงจับพญาคชสารนน้ั ได้โดยไม่ยาก แลว้ นำามาพระนครดาำ รสั ส่ังใหน้ ายหตั ถาจารยผ์ ู้ฝกึ ชา้ งเขา้ มา เม่อื พระราชทานรางวลั แลว้ จึงมีราชโองการว่า
85 \"ดูกร พอ่ หัตถาจารย์! ในระหวา่ งกาล ๗-๘ วนั น้ี ทา่ นจงเรง่ ฝึกสอนมงคลคชสารทเี่ ราจบั มาจากป่าให้มี มารยาทเป็นอันดี เราจะเล่นนักขัตฤกษม์ หรสพดว้ ยมงคลหตั ถีสเี สวตอนั ประเสริฐตัวน\"ี้ ฝ่ายนายหตั ถาจารย์ รับพระราชโองการแล้วก็เขา้ ทาำ การฝกึ สอนคชสารให้สาำ เหนยี กโดยใหโ้ อสถ และให้ หญา้ เปน็ อาหารเพราะความที่ตนเปน็ ผู้ชาำ นาญในการฝึกชา้ งเปน็ อย่างเย่ียม ท้งั รอบรใู้ นคชวชิ าเปน็ อย่างดี ต่อมาไมช่ า้ ลว่ งมาได้ ๓ วนั พญาคชสารประเสริฐตวั น้ันเป็นอันถกู ฝกึ สอนทรมานเปน็ อันดแี ล้ว จงึ นาำ มา ถวายไดตามกาำ หนด คร้ันพอถึงวนั นกั ขตั ฤกษ์ สมเด็จพระบรมกษัตริย์จึงสั่งใหป้ ระดบั มงคลคชสารนัน้ ดว้ ย มงคลหศั ดาภรณพ์ เิ ศษ ซ่งึ ล้วนแลว้ ดว้ ยแกว้ แลทองกกุ อ่ งตระการเสร็จแล้ว กเ็ สดจ็ ทรงมงคลคชสารนั้นออก ด้วยจตรุ งนิกรเสนาโยคะมหาราชบริวารเปน็ อิสสรยิ ยศ ใหญ่ยง่ิ เพื่อจะทรงเล่นนกั ขัตฤกษ์ แล้วกเ็ ลยเสด็จ ทาำ ประทกั ษิณพระนคร คือเลยี บเมืองเปน็ ท่ีพระสาำ ราญพระราชหฤทัย กใ็ นเวลาราตรที ล่ี ว่ งหน้า ไดม้ ีฝงู ชา้ งโขลงท้ังหลายมาแตร่ าวป่าเข้าลยุ เล่นในสวนพระราชอุทยาน ไล่หัก รานพรรณพฤกษาทที่ รงผลพวงผกาบุบผาชาติใหญ่นอ้ ยทัง้ ส้ินใหแ้ หลกย่อยยบั แล้ว มหิ นาำ ซ้ำายงั ถ่ายมูตกรี สลงไวใ้ นที่นั้นเกลอื่ นกลาดแล้วกพ็ ากันหลีกไป คร้ันเวลารุง่ สางสวา่ งกาล นายอทุ ยานบาลเหน็ อทุ ยายยบั อยู่เช่นนั้น จึงด่วนพลนั นาำ เอาเนอ้ื ความเข้าไปเพอ่ื จะกราบทูล ในขณะทสี่ มเดจ็ พระบรมกษัตริยเ์ สดจ็ กลบั จากประทกั ษิณพระนคร เม่อื ถงึ ทเ่ี ฝา้ แล้ว กย็ อกรประณมบงั คมทูลวา่ \"ขา้ แตพ่ ระองค์! เมอื่ เวลารัตติกาลน้มี ฝี ูงช้างโขลงมาแตไ่ พร บุกเขา้ มาลุยไล่หกั รานพรรณพฤกษาในพระ ราชอุทยานแหลกเหลวส้ินแลว้ พระเจา้ ขา้ \" สมเด็จพระบรมกษัตริยไ์ ด้ทรงสดับเชน่ นัน้ ก็ตรสั ส่งั ให้เดนิ ขบวนดว่ ย เสด็จออกไปเพอื่ จะทรงทอดพระเนค รพระราชอุทยาน ครนั้ ถงึ แล้วก็ทรงเท่ียวทอดพระเนตรดูไปจนทวั่ ในขณะนั้น พญามงคลคชาธารพระที่นัง่ ทรงตัวประเสรฐิ กบ็ งั เอิญไดส้ ูดดมกล่ินแห่งนางพงั ช้างตัวเมยี ทั้งหลาย ซ่งึ มีกลิน่ ติดอยู่ในที่นนั้ ๆ
86 ก็เกิดความเมามัวข้ึนมาภายในดว้ ยอาำ นาจราคะดำากฤษณาใหเ้ กิดความเสียวกระสัน จึงสลดั กายให้นาย ควาญท้ายตกลงแลว้ ก็คลุม้ คล่ังแทงสถานกำาแพงอทุ ยานทะลายลง แล้วก็ลแุ ลน่ ไปไมห่ ยุดย้งั สมเด็จ พระบรมกษัตรยิ ์จึงทรงพระแสงขอคอเก่ียวเหนยี่ วไว้ดว้ ยพละกาำ ลงั ก็มสิ ามารถจะให้พญาคสารนนั้ หมด ความบา้ คลั่ง และรสู้ ึกตวั กลัวเจ็บได้ พญามงคลคชสารตวั ใหญ่จงึ พาพระองค์สละจาตุรงค์นิกายนอ้ ยใหญ่ ท้งั ปวงไปโดยเรว็ ครน้ั แลน่ เขา้ มาถงึ อรญั ราวไพรแลว้ พระองค์ได้เสวยความลาำ บากบอบช้ำาระกาำ พระองค์ แตก่ ็จำาตอ้ งทรงพระทรมานมากับพญาหตั ถี ทรงหมดพระปัญญาท่จี ะหยดุ ยัง้ ไว้ได้ ครั้นยงิ่ แล่นไปนาน นกั หนา สมเด็จพระราชก็ใหเ้ กดิ มอี ันเปน็ ทรงพระมนึ งง มอิ าจท่ีจะทรงกำาหนดทศิ านทุ ิศได้ จงึ ทรงวนิ จิ นกึ ใน พระหฤทยั วา่ \"ถ้าเราจกั ไม่ปลอ่ ยพญาชา้ งทีก่ าำ ลังบ้าคล่ังตัวนเ้ี สียแลว้ เกลือกวา่ ไปประสบได้ประสานสปั ยุทธกับชา้ งอนื่ กน็ า่ ท่ีจะทาำ ให้อาตมาแตกกาย ทำาลายชีวิตเสยี เป็นแนแ่ ท้ อย่ากระนั้นเลย จาำ เราจะสละพญา หัตถนี เ้ี สยี ก่อนเถดิ \" มพี ระสตดิ ังน้ีแลว้ จงึ ทอดพระเนตรสังเกตดูหมูไ่ พรรมิ ทางจร คร้ันถึงไมอ้ ุทมุ พรคือ มะเด่อื ใหญต่ น้ หนึง่ มกี ิง่ ทงิ้ ทอดห้อยลง พระองค์จงึ โนม้ พระกายข้ึนเกาะบนกง่ิ ไมอ้ ุทมุ พรนัน้ ได้ แลว้ ปล่อย ใหพ้ ญาหัตถวี ิ่งเตลดิ ไปตามเรือ่ ง ส่วนพระองคท์ รงนัง่ บนกงิ่ ไม้ให้ทรงหวิ กระหายนักหนา จงึ ทรงเสวยผล มะเดือ่ น้นั ไปพลาง ข้างฝ่ายพวกพลนกิ าย ก็มีใจเป็นหว่ งสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ของตนย่งิ นัก จงึ พากนั เรง่ รบี ตามรอยช้าง ส่วง ทางมาไดไ้ กลนักหนาจนเข้ามาถงึ ป่าใหญ่ ครั้นยงั ไมพ่ บพระบรมกษตั รยิ ์ กก็ ระทำาอุโฆษประสานศัพท์ สำาเนียงบนั ลือลั่นสนั่นมา สมเดจ็ พระราชาไดท้ รงสดบั จงึ ทรงอโุ ฆษรอ้ งรับ พวกพลนิกายได้ยินพระสรุ เสียง ก็พากันเขา้ ไปถึง จึงเหน็ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวสถิตอย่บู นคบไมม้ ะเด่อื กเ็ ชิญเสดจ็ รบั พระองค์ลงมาจากคบ พฤกษาแล้ว กป็ ระโคมดรุ ิยดนตรเี ชิญองค์บรมนราธบิ ดเี สด็จกลับสพู่ ระนคร ครนั้ ประทับแท่นสีหอ์ าสนอ์ ัน ประเสริฐแลว้ จึงดาำ รสั ส่งั ใหห้ านายหตั ถาจารยเ์ ข้ามาเฝา้ แล้วตรัสถามว่า \"ดูกร นายหตั ถาจารย์ผ้เู จรญิ ! ตวั ทา่ นนีม้ คี วามผิด ด้วยประสงค์จะใคร่ฆ่าเราเสียมใิ ช่หรอื ?\"
87 นายหัตถาจารยผ์ ูฝ้ กึ ช้าง จงึ กลับทูลสนองพระราชปุจฉาวา่ \"ข้าแต่พระราชาผู้เป็นใหญ่! เหตไุ ฉน พระองคจ์ ึงดาำ รสั เหนอื เกล้ากบั ขา้ พระพทุ ธเจ้าฉะน้ี ก็พญามงคลราช หตั ถนี ัน้ เกลา้ กระหมอ่ มก็ได้ฝึกสอนดว้ ยดเี ปน็ อย่างย่งิ แล้ว พระเจา้ ข้า\" \"ก็...เหตใุ ด พญาชา้ งจึงอาละวาดว่ิงพาเราเขา้ ปา่ ไปใหไ้ ดร้ บั ความลำาบากแทบล้อมประดาตาย เปน็ การ สนกุ อยเู่ มื่อไหร่?\" พระราชาทรงถามด้วยความขนุ่ พระทัย \"พระเจ้าข้า\" นายหตั ถาจารยท์ ูลตอบ \"ซง่ึ พญาหัตถีให้มีอนั เป็นวปิ รติ ไปเชน่ นีน้ ้นั เป็นเพราะอาำ นาจความ เร่ารอ้ นแหง่ ราคะกเิ ลส แม้ได้สมความตอ้ งการของตนแล้ว ก็คงจะกลบั มาดอก พระเจ้าข้า\" เขาทลู อธิบาย ด้วยความเชย่ี วชาญมัน่ ใจในวทิ ยาการ \"เออ...ดแี ลว้ \" พระราชายังไม่หายขนุ่ พระทยั \"ถ้ากระน้ัน จงยบั ย้ังอยู่ก่อน กวา่ มงคลกุญชรนั้นจะกลบั มา ถา้ พญามงคลหตั ถีกลับมาก็เปน็ บญุ วาสนาของเจา้ ถ้าแม้นมิได้กลับมา ชวี ิตของเจ้าก็จักมไิ ด้ม\"ี ดำารสั ฉะน้ีแล้ว กร็ ับสั่งให้คุมตวั นายหตั ถาจารย์ผู้วเิ ศษน้นั ไวใ้ หม้ ั่นคง เพื่อรอการลงพระราชอาญา หากวา่ พญามงคลหตั ถี ไมก่ ลบั มาตามคาำ สว่ นพญามงคลหตั ถตี ัวประเสรฐิ นั้น ครนั้ วงิ่ คลมุ้ คลัง่ ไปด้วยอำานาจราคะดาำ กฤษณาไปทนั นางชา้ งเถอ่ื นใน ไพร สำาเร็จมโนรถประสงค์ของตนแลว้ ก็รีบกลบั มาในเมืองเขา้ ไปในทีต่ นอยู่ เมอ่ื เวลาปัจจสุ มัยใกลร้ ุ่ง นาย หัตถาจารย์กต็ ืน่ ขึน้ เห็นมงคลคชสารยืนอยู่ในโรงแล้ว ร่งุ เชา้ จึงเข้าไปเฝา้ กราบทูลแตส่ มเดจ็ พระราชา พระองคก์ ท็ รงพระโสมนสั ปรีดาหายโกรธเคือง รบี เสด็จลงมาจากปราสาทโดยดว่ น ถึงโรงมงคลคชาธาร ทอดพระเนตรเหน็ มงคลคชสารสเี สวต จึงเสด็จเขา้ ไปใกล้ ยกพระกรขน้ึ ปรามาสลูบคลำาทอ้ งและงาพญา ชา้ งแล้ว จงึ มีพระดาำ รัสวา่ \"เออ...ก็มงคลราชหัตถี ทา่ นสามารถฝกึ สอนให้รู้ดีถึงเพยี งน้แี ล้ว เหตไุ ฉน เมื่อยามแลน่ ไปในวนั นั้น เรากด
88 เกยี่ วเหนี่ยวไวโ้ ดยแรงด้วยพระแสงขออนั คมยิ่ง ยงั ไมส่ ามารถท่จี ะห้ามได้ มันเปน็ เพราะเหตใุ ดหนอ พอ่ หตั ถาจารย์?\" \"พระเจา้ ข้า เหตไุ ฉน พระองค์จงึ ตรัสดังนเี้ ลา่ \" ทา่ นอาจารย์ชา้ งผู้ขมงั เวทยไ์ ด้ทีจงึ รบั ทูลตอบ \"ข้ึนชือ่ วา่ ราคะ ดาำ กฤษณานี้ ยอ่ มมคี มเฉยี บแหลมยงิ่ เกินกวา่ คมแหง่ พระแสงขอนน้ั ไปรอ้ ยพันทวี อน่ึง ถ้าจะวา่ ช้างร้อนเล่า ขึน้ ชื่อว่ารอ้ นแหง่ เพลงิ คอื ราคะดำากฤษณานี้ ย่อมรอ้ นรุ่มอยใู่ นทรวงของสตั ว์บคุ คลอย่างเหลอื ร้อน ย่ิงกวา่ ร้อนแหง่ เพลิงตามปกตเิ ปน็ ไหนๆ ...อน่งึ ถา้ จะวา่ ไปขา้ งเปน็ พษิ เล่า ขึน้ ช่ือวา่ พษิ คือราคะดำากฤษณานี้ ยอ่ ม มพี ษิ ซมึ ซาบฉนุ เฉยี วเร่ียวแรงรวดเรว็ ยง่ิ เกินกวา่ พษิ แหง่ จตรุ ภธิ ภชุ งค์ คือพษิ พระยานาคทั้งสี่ชาติ สีต่ ระกลู เป็นไหนๆ เพราะเหตุน้ัน ฝ่าละอองธลุ ีพระบาท จึงไมอ่ าจเพือ่ จะเที่ยวกดพญามงคลราชหัตถี ซึ่งแลน่ ได้ดว้ ย แรงแหง่ ราคะดำากฤษณาน้ัน ใหห้ ยดุ ยง้ั ด้วยกาำ ลงั พระแสงขอได้ พระเจา้ ข้า\" นายหัตถาจารยผ์ ู้เช่ียวชาญพดู อธิบายอยา่ งยดื ยาว \"เออ...กไ็ ฉนพญาคชสารน้ี จงึ กลบั มาโดยลำาพงั ใจตนเอง?\" พระเจา้ อยหู่ ัวทรงถามขนึ้ หลงั จากทท่ี รงนิ่งฟัง ทา่ นอาจารย์ชา้ งอธบิ ายอยู่ นายหตั ถาจารย์จึงทลู ตอบวา่ \"พระเจ้าข้า ข้อซ่งึ พญาช้างไปแลว้ และกลับมาน้นั ใชว่ า่ จะมาโดยใจตนกห็ าไม่ โดยทแ่ี ท้ กลับมาดว้ ยกำาลงั อาำ นาจมนตรามหาโอสถของขา้ พระพุทธเจ้า\" ไดท้ รงสดบั ดังนัน้ พระองคจ์ งึ ดาำ รสั ว่า \"ถา้ กระนน้ั ท่านจงแสดงกำาลังมนตแ์ ละโอสถให้เราเหน็ สักหนอ่ ยเถิด เปน็ ไร\" นายหตั ถาจารย์ผเู้ รืองเวทย์ รบั พระราชโองการแลว้ หวงั จกั สาำ แดงอำานาจมนตข์ องตนให้ประจักษ์แก่ สายตาชาวพระนคร จงึ ส่งั ใหบ้ ริวารไปนำาเอากอ้ นเหลก็ กอ้ นใหญ่มา แลว้ ให้ชา่ งทอเอาใส่เตาสบู เผาด้วย เพลงิ ให้ก้อนเหลก็ นัน้ สุกแดงแลว้ จึงเอาคมี หยบิ ออกจากเตา เรยี กพญาช้างเขา้ มาแล้วกร็ า่ ยมนต์มหาโอสถ ประเสรฐิ พลางบังคบั ให้คชสารจบั เอาก้อนเหล็กแดงนนั้ ด้วยคำากำาชับสง่ั วา่ \"ดูกร พญานาคนิ ทร์ผู้ประเสรฐิ !
89 ตวั ทา่ นจงหยบิ เอาก้อนเหลก็ นน้ั ในกาลบดั น้ี แม้นเรายงั ไม่ไดบ้ อกใหว้ าง ทา่ นจงอยา่ ไดว้ างเลยเปน็ อนั ขาด\" พญาคชสารตัวทรงพลัง คร้นั ไดฟ้ ังคำานายหตั ถาจารย์สัง่ บังคบั กย็ ืน่ งวงมาจ้องจับเอาก้อนเหล็กซง่ึ ลกุ เป็น ไฟ แม้วาจะรอ้ นงวงเหลือหลาย จนงวงไหม้ลุกเปน็ เปลวควันขน้ึ กด็ ี กไ็ ม่อาจจะทิง้ กอ้ นเหลก็ นัน้ เสยี ได้\" ด้วย กลวั ตอ่ กำาลังมนตราของนายหตั ถาจารยน์ ้ันเป็นกาำ ลงั สมเด็จพระบรมกษัตรยิ ์ทอดพระเนตรเหน็ งวงคชสาร ถกู เพลงิ ไหม้อยูเ่ ชน่ น้นั กท็ รงเกรงพญาชา้ งจะถงึ แกก่ าลมรณะ จงึ ดาำ รัสสัง่ ใหน้ ายหตั ถาจารย์ บอกให้พญา ชา้ งสารท้งิ ก้อนเหลก็ น้นั เสียแลว้ ทรงหวนคดิ ถงึ ราคะดำากฤษณาของพญาช้างท่ียนื อยูต่ รงพระพักตร์ พร้อม กบั คำาชกั อุปมาอธิบายของนายหัตถาจารยเ์ มือ่ ครนู่ ้ี ทรงราำ พงึ ไป ก็ย่งิ ทรงสังเวชในพระราชหฤทัยแสนทวี จงึ ทรงเปล่งออกซ่ึงสังเวชาวาทวี ่า \"โอหนอ...นา่ สมเพชนกั หนา ดว้ ยฝงู สัตวม์ าตดิ ต้องข้องข้ดอย่ดู ว้ ย ราคะดาำ กฤษณะอันมพี ิษพิลึกน่าสพงึ กลัวรา้ ยกาจยง่ิ นัก ราคะคือความกำาหนดั นี้ยอ่ มมอี าทีนวโทษเป็นอันมาก ก็เพราะเพลงิ ราคะมีกาำ ลังหยาบ ช้ากลา้ แขง็ ร้อนรุม่ สมุ ทรวงสัตวท์ งั้ หลายอยูอ่ ยา่ งนี้่ สตั วท์ ั้งหลายจึงต้องถกู ราคะกิเลสย่าำ ยบี ฑี า นำาทกุ ขม์ า ทมุ่ ถมให้จมอยูใ่ นอู่แอ่งอา่ วโลกโอฆสงสาร ไมม่ วี นั สน้ิ สุดลงไดเ้ พราะราคะกิเลสนี่แล สัตวท์ ั้งหลายจงึ ต้อง ไปตกนรกหมกไหม้อยใู่ นมหานรกท้งั แปดขมุ และสตั ว์ทัง้ หลายบางหมู่ตอ้ งไปเกดิ อยู่ในอุสสทนรกบริวารมี ประมาณรอ้ ยยีส่ บิ แปดขุม อน่งึ เพราะอาศัยราคะกเิ ลสน้ี สัตว์ทั้งหลายจึงต้องทนทุกขเวทนาอยู่ในเปติวสิ ยั ภมู ิ และสตั ว์ทง้ั หลายบางหมูต่ อ้ งไปเกิ ิดอย่ใู นกาำ เนดิ เดยี รฉาน สัตว์ทั้งหลายทีต่ ้องบา่ ยหนา้ ไปสู่อบายภมู ิ ก็ เพราะอาศัยราคะดาำ กฤษณาเปน็ ประการสำาคัญ ฉะนนั้ จึงน่าสมเพชนัก\" ครัน้ ทรงแสดงสงั เวชวาทฉี ะนี้แล้ว สมเดจ็ พระบรมกษตั รยิ ์หนอ่ พระพทุ ธากรู จึงตรสั แสดงอาทีนวโทษแห่ง ราคะดาำ กฤษณาตอ่ ไปว่า \"บรรดาสัตวท์ ัง้ หลายในโลกสนั นวิ าสนี้ เพราะอาศยั ราคะดาำ กฤษณายอ่ มเบียดเบยี นบีฑาซง่ึ กนั และกัน เป็นต้นว่า
90 บิดาย่อมเบียดเบียนบุตร บางทีฆา่ เสียก็มี บุตรย่อมเบยี ดเบยี นบดิ า บางทฆี ่าเสียก็มี บดิ าย่อมเบยี ดเบียนธิดาตน เพราะร้อนรนดว้ ยราคะกฤษณาก็มี อนึี่ง ฝูงสัตวใ์ นโลกสันนิวาสนี้เพราะรอ้ นด้วยราคะยอ่ มเบียดเบียนซึง่ กันและกนั เปน็ ต้นว่า บตุ รยอ่ มเบยี ดเบยี นชนนี บางทีฆา่ เสยี กม็ ี ชนนียอ่ มเบียดเบียนบุตร บางทีฆ่าเสียกม็ ี บางทพี ่ีชายมุง่ หมายปองร้าย ราวตี ีรันฟนั ฆา่ น้องชายของตนใหต้ ายก็มี บางมพี ี่หญงิ ย่อมบฑี าฆา่ นอ้ งสาว ทสี่ ืบกษริ มารดาเดยี วกนั มาก็มี บางทีหลานสาวบีฑาลุงตัวใหต้ ายกม็ ี บางทีลุงลมุ่ หลงลงทัณฑกรรมบฑี าหลานสาวตนเองก็มี บางทภี ัสดายอ่ มบีฑาโบยรันฟันแทงภริยาตน ใหถ้ งึ ตายก็มี บางทภี ริยาบพี า่ ฆา่ ตสี ามีตน ให้ถึงตายก็มี สตั วท์ ั้งหลายเหน็ เช่นนเ้ี พราะอาศยั ความร้อนแหง่ พลังราคะดำากฤษณามาบีฑาให้ ระทมตรมทุกข์ ถึงซ่ึง ความพินาศนานาประการ แม้แต่บตุ รธิดา มารดาบิดา และภรรยาสามีท่ีแสนรกั นกั หนาแล้ว ยงั เบยี ดเบียน บีฑากันเพราะอำานาจราคะกเิ ลสเปน็ มลู ฐานมากกว่ามากสุดประมาณ อีกประการหนง่ึ ฝงู สัตว์ในโลกสนั นิวาสน้ี เพราะอาศัยอำานาจราคะดำากฤษณา บางคราย่อมจา่ ยทรัพยส์ นิ ไป ในทางไร้ประโยชน์ บางทยี ่อมเสอื่ มจากยศและเกียรติคณุ บางทยี ่อมประกอบกรรมทำาส่งิ ทเ่ี ป็นโทษ บางที ยอ่ มทำาความสขุ ให้เส่อื มสนิ้ ทุกเมอ่ื และใหใ้ จเชือนเบอื นเบื่อจากกุศล หา้ มทางข้างฝา่ ยสุคติภพ บางทใี ห้ลุ อาำ นาจแก่ความโลภและความโกรธ และใหเ้ จริญโทษทุกภพทุกชาติทเ่ี กิด ให้ถอื กาำ เนิดในอบายภมู ทิ ั้งส่ี
91 เพียงเทา่ น้กี ็หาไม่ ฝงู สตั วท์ ั้งหลายในโลกสนั นวิ าสนี้ เพราะอาศัยอาำ นาจราคะดำากฤษณา บางครายอ่ มทาำ ตนให้พนิ าศจากศีลสมาทาน บางกาลยอ่ มทำาตนให้เส่อื มจากเานภาวนาสมาธิจติ เปน็ นิจกาล ก็อนั วา่ ความ อากูลด้วยราคะกเิ ลส ย่อมเป็นเหตใุ ห้เกดิ อาทนี วโทษให้เสวยทกุ ขม์ ากกวา่ มาก และเปน็ เหตใุ ห้สตั ว์ทงั้ หลายตอ้ งเศรา้ หมองมีประการต่างๆ อย่างพรรณนามาฉะนี้ สมเด็จพระนราธบิ ดสี ตั ตตุ าประชา ตรัสแสดงอาทนี วโทษแห่งราคะดำากฤษณาอย่างมากมายดงั น้แี ล้ว จึง พระราชทานรางวัลแกน่ ายหัตถาจารยเ์ ปน็ อันมาก แล้วกท็ รงคาำ นึงในพระราชหฤทยั ว่า สัตวท์ ้งั หลายในโลก สันนวิ าสนี้ จักพน้ จากอาำ นาจราคะดาำ กฤษณา อันเปน็ ทกุ ข์ภยั ในวฏั ฏะนี้ไดด้ ว้ ยประการใด? แล้วจงึ ทรงเห็น แทแ้ นใ่ นพระราชหฤทัยวา่ รวมทั้งหลายอืน่ นอกจากพุทธกรกธรรมแล้ว ก็ไม่เหน็ วา่ สงิ่ ไรอืน่ จะมี ท่จี ะเปล้ือง ตนไปใหพ้ ้นจากวัฏฏะ เพราะฉะนนั้ พระองคจ์ ึงหยั่งพระราชหฤทัยลงเท่ยี ง ถือเอาพระพุทธภูมปิ ณธิ านวา่ \"เรา ไดต้ รสั รู้ซ่งึ พระโพธิญาณแล้ว กจ็ ักทำาสตั วท์ ั้งหลายให้รดู้ ้วย เราพน้ จากทกุ ข์ในวัฏสงสารเม่ือใด กจ็ ัก ทำาสตั ว์ท้ังหลายให้พ้นจากทกุ ข์ในวัฏสงสารเม่ือนน้ั ด้วย\" ครัน้ ทรงกระทำาปณธิ านปรารถนา เฉพาะพระพทุ ธภมู ใิ นพระราชหฤทัยดว้ ยประการฉะน้ีแล้ว ก็ทรงสละสิริ ราชสมบตั ปิ ระหนึง่ บุคคลสลัดเสียซ่งึ กอ้ นขา้ วอันค่ังค้างอยู่ ปลายลิน้ สิ้นเย่อื ใยในฆราวาสวิสัย พระองค์แต่ ผู้เดียวเทีย่ วไปสู่ปา่ หมิ วนั ต์ประเทศ แล้วทรงเพศเปน็ ดาบส บำาเพ็ญพรตปฏิบัติชอบอยู่ตราบเท่าพระ ชนมายุขัยแล้ว ไปบงั เกดิ ในสวรรคเ์ ทวโลกเสวยสขุ อยูส่ ้ินกาลนาน เรื่อง ในอดตี ท่ีพรรณนามาน้ี มีข้อความประการหนงึ่ ซง่ึ ควรนาำ มากลา่ วไวใ้ นทนี ด้ี ้วย เพอื่ เปน็ เคร่ืองช่วยให้ เหน็ การเวยี นวา่ ยตายเกิดในวัฏสงสารอย่างแจม่ ชัดก็ คอื ว่า องคส์ มเดจ็ พระนราธิบดีสัตตุตาปะราชา กลับชาตมิ ากค็ อื องคส์ มเด็จพระศรีศากยมนุ ีโคดมบรมครูเจา้ ของ ชาวเราพทุ ธบรษิ ทั ทง้ั หลาย
92 พญา มงคลหตั ถี กลับชาตมิ าในชาตสิ ดุ ทา้ ยภายหลัง คือพระมหากสั สปเถรเจ้าสงั หวุฒาจารย์ ซงึ่ เป็นพระ มหาเถระอรหันต์สำาคญั ท่ีสดุ องค์หนึง่ ในศาสนาของเราน้ี นาย หตั ถาจารยผ์ ู้ชาำ นาญเวทย์ กลบั มาในชาตสิ ดุ ท้ายภายหลัง จกั ไดต้ รสั เป็นสมเดจ็ พระมง่ิ มงกุฏศรีอริย เมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจา้ ซง่ึ จกั มาตรสั ในอนาคตกาล หลงั จากศาสนาของสมเด็จพระศรศี ากยมนุ ีโคดม บรมครเู จา้ ทีเ่ ราทา่ นทงั้ หลายเคารพนับถือกนั อยูท่ กุ วนั นี้ เสื่อมคลายสลายสูญไปจากโลกน้แี ลว้ และเม่ือ สมเด็จพระศรีอริยเมตไตรยไดต้ รัสรู้ประกาศพระศาสนาแล้ว คราวหนง่ึ พระองคจ์ ักเสดจ็ ไปท่ีภเู ขากุกกฏุ สัม ปาตบรรตอันเปน็ ที่บรรจุศพของ พระมหากสั สปเถรเจา้ แล้ว พระองคเ์ จา้ จักยนื่ พระหัตถ์เบือ้ งขวาช้อนเอา ซากศพของพระสงั ฆวุฒาจารยอ์ รหนั ตก์ สั สปนน้ั ข้ึนชไู ว้บนฝา่ พระหัตถอ์ นั ประกอบด้วยจักรลกั ษณะแล้ว จะมพี ระพุทธฏกี าตรสั แก่พระอริยสงฆ์ท้ังหลายวา่ \"ดูกร เธอผ้เู หน็ ภยั ในวฏั สงสารทั้งหลาย! เธอจงพากันมองดูซึ่งซากศพน้ี น่คี ือศพของผู้เปน็ พช่ี ายของ ตถาคต ซงึ่ เป็นสาวกผู้ใหญใ่ นศาสนาของสมเดจ็ พระม่ิงมงกฏุ ศรีศากยมนุ ีโคดมบรมครูเจา้ (สมเดจ็ พระศรี อริยเมตไตรย เคยบวชเปน็ พระภกิ ษุในสมัยพุทธกาล มนี ามว่า อชิตภกิ ษุ เปน็ ภกิ ษุหน่มุ มีพรรษานอ้ ย ฉะนัน้ พระองค์จึงทรงเรียกพระมหากัสสปเถรเจา้ ด้วยคาำ กลา่ วออกนามวา่ \"พ่ชี ายของตถาคต\" ในกาลครัง้ นน้ั ) มนี ามว่าพระอริยกสั สปเถระ เป็นผูท้ รงคณุ พิเศษถือธุตังควตั รจนตราบเท่าดบั ขันธปรนิ ิพพาน\" ทรงมพี ระพทุ ธฏีกาตรสั แนะนำาดงั น้ีแล้ว สมเดจ็ พระศรอี ริยเมตไตรยกท็ รงสรรเสรญิ คุณแหง่ พระมหากสั สป เถรเจ้าอีกมากมาย ลกึ ซึ้งนักหนา ตอ่ หน้าพระอริยสงฆท์ ั้งหลายเป็นอนั มาก ในขณะน้ัน เปลวอัคคกี ็จะบัน ดาลมีเกิดขึ้นเองในซากอสุภของพระเถรเจ้า แลว้ กค็ อ่ ยลามเลียลกุ ไหม้ศพให้สน้ิ ซากปราศจากเถา้ ถ่าน อยู่ บนฝา่ พระหตั ถ์ ของสมเด็จพระสรรเพชญศรอี ริยเมตไตรย ในกาลครั้งนั้นเปน็ อัศจรรย์ บดั น้ี เพ่อื ปอ้ งกันความไขว้เขวออกไปนอกเรื่องมากมายเกินไป จะได้กลับมากล่าวถึงการสร้างพระบารมี เพื่อพระปรมาภเิ ษกสัมโพธญิ าณขององค์ สมเดจ็ พระบรมโลกกตุ ตมาจารยข์ องเราทัง้ หลาย ต้งั แต่ครั้ง พระองคย์ ังทรงเป็นพระโพธสิ ัตว์สืบต่อไป
93 พระพรหมดาบส กาลคร้ังหน่ึง เมื่อพระบรมโพธิสตั วเ์ จ้าจตุ ิจากเทวโลกแล้ว กม็ าบังเกดิ ในตระกลู พราหมณม์ หาศาล มี พระนามว่า พรหมกุมาร ครัน้ เจรญิ วัยวฒั นาการแลว้ กไ็ ดศ้ ึกษาจนสาำ เรจ็ ในไตรเวทางค์ และได้เปน็ อาจารย์ ผู้บอกเวทย์แก่มานพห้าร้อยคนผูเ้ ป็นนกั ศกึ ษา ครนั้ จาำ เนียรกาลนานมา เม่ือท่านมารดาบดิ าทัง้ สองลว่ งลับ ไปแลว้ พรหมกุมารจงึ เรียมาณพทัง้ หลายผู้เป็นศษิ ยม์ าพรอ้ มหน้ากันแล้ว กเ็ ร่งบอกมนต์ซึ่งตนควรจะสอน ให้เสร็จส้นิ แลว้ ไดจ้ ัดการแบง่ ปนั ทรัพยส์ มบตั ิของตนสิ้นทั้งเรือนน้ัน ใหแ้ กม่ าณพผูเ้ ป็นศิษย์ถว้ นทุกคนแลว้ กใ็ หโ้ อกาสอนสุ าสนี และกล่าวคำาอาำ ลาเพอื่ จะไปบรรพชาเป็นดาบส มใิ ยทศี่ ษิ ย์ทง้ั หลายจะอาลยั ไหว้วอน กล่าวห้ามดว้ ยความคารวะเปน็ อนั มากประการ ใด กม็ ไิ ด้เอือ้ เฟอ้ื อาลัย สละฆราวาสวสิ ยั เท่ียวไปแต่ พระองคเ์ ดียว เข้าไปอาศยั บัณฑรบรรพต บรรพชาเป็นดาบส ปฏบิ ตั ิตนเลีย้ งชวี ิตด้วยผลาผลอย่เู ปน็ สุขสืบ มา ฝ่ายมานพทง้ั หลาย ผู้เปน็ ศษิ ยข์ องพระพรหมดาบสน้นั ครั้นมารดาบดิ าของตนๆ ล่วงลับไปแลว้ ต่างก็พา กันออกมาบวชเป็นดาบสอยู่กับพระโพธิสัตวท์ ั้งน้นั ดว้ ยเหตุทีม่ ีความรักเปน็ กาำ ลังมาแต่ปางก่อน พระ โพธสิ ตั ว์ก็สอนใหป้ ระพฤติวตั ร บาำ เพญ็ พรตตามแบบอยา่ งของดาบสโดยถ้วน อยูร่ ่วมกนั มาโดยความ ผาสุกตามสมควร วนั หน่ึง เมือ่ ดาบสท้งั หลายไปเท่ยี วแสวงหาผลาผลยังมไิ ดก้ ลับมา ทา่ นอาจารยพ์ รหมดาบสจงึ เรยี กศิษย์ ผูใ้ หญ่ซงึ่ อยู่เฝา้ กฎุ ใิ กล้ตนมาแล้ว ชวนกันข้ึนไปสบู่ ณั ฑรภุผาเพื่อจะแสวงหาผลไม้ เมอื่ เทีย่ วไปในทนี่ นั้ ๆ ก็ มิไดผ้ ลไม้อนั ใดอนั หนงีึ เลย จึงแสลงไปทเ่ี ชงิ ภเู ขากไ็ ด้เหน็ แม่เสอื ตัวหนึง่ มีลกู ออ่ นออกใหม่ไดป้ ระมาณสอง สามวัน แม่เสือตวั นัน้ อดอาหารอยู่ แลเขมนดูลูกนอ้ ยของตนด้วยจติ โหดร้าย คดิ จะใครจ่ บั ลูกของตนเอง เค้ยี วกินเปน็ ภักษา พระพรหมดาบสแลเหน็ อาการกร็ วู้ ่าแมเ่ สือจะกินลกู ของตนเองแนแ่ ลว้ จึงรำาพึงในหฤทยั ว่า
94 \"โอห้ นอ...วัฏสงสารน้ี ควรทจี่ ะพงึ ติเตยี นโดยแท้ ดรู ึ แม่เสอื ตวั น้ีคดิ จะขบกดั เคี้ยวกนิ ลูก ทเี่ กิด แต่สายโลหิตตน เพ่ือจะรักษาชีวิตแห่งตนไว้ถ่ายเดยี ว เช่นน้ี จึงควรที่จะเหน็ ว่าวัฏสงสารน้ี เป็น สงิ่ ทน่ี า่ สะพรงึ กลงั ยิ่งนัก\" ครัน้ รำาพงึ ดังน้ันแลว้ พระพรหมดาบสจงึ ใชด้ าบสศษิ ยผ์ ู้ใหญ่ซ่งึ ไปดว้ ยกนั นั้นวา่ \"ทา่ นจงรีบไปหาเนื้อเดน เสือ้ หรือราชสหี ์ตามข้างๆ ภูเขานี้ดทู หี รอื หากวา่ จะมีอยู่บา้ ง แมน้ ได้แล้วจงรบี นำามาโดยเร็ว เราจักใหแ้ ก่แม่ เสื ือตัวน\"ี้ ดาบสศษิ ยผ์ ใู้ หญร่ ับคาำ แลว้ กร็ ีบไปหาเดนมังสะ ในท่ีทั่วๆ ไป แต่ก็หามิได้ ฝา่ ยพระพรหมดาบสผโู้ พธิสัตว์ เม่ือศษิ ยผ์ ู้ใหญ่ไปนานแลว้ และยงั มไิ ดก้ ลบั มา จงึ รำาพึงในหฤทยั วา่ \"โอ... รา่ งกายน้ี เป็นของเปล่าปราศจากแก่นสารเป็นทอี่ าศยั แหง่ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะและมี โสกะ ความแห้งใจ ปริเทวะ ความรา่ำ ไร รำาพนั ทกุ ข์ความลาำ บากกายไม่สบายใจ โทมนัสความ ขนุ่ ข้องหมองใจ อปุ ายาสะ ความคับแค้นใจ อนึง่ กายนีเ้ ปน็ ทเี่ กดิ ของกองทุกข์ กับทง้ั มรี าคะ กิเลสเปน็ ประดจุ หตั ถีที่บา้ คลัง่ เมามนั มีโมหะมืดมิดปิดธรรมเป็นประดจุ ดงั ผเี ส้ือนำา้ รกั ษาสระ มี อปุ นาหะความผกู โกรธ เป็นประดจุ ดังแวน่ แควน้ เมืองมากดว้ ยคนพาล มีมักขะความลบหลคู่ ุณ ท่านเป็นประดุจท่ีอยู่ของพวกกุมภัณฑ์ มีปลาสะความสาำ คัญวปิ ลาศ เปน็ ประดุจดังนายทวารผู้มี สนั ดานดมื่ ไปดว้ ยอสิ สาฤษยา มีทุจริตเป็นบริวารแวดลอ้ มไปดว้ ยโลภ มนี นั ทิภวราคะ ความ กำาหนดั ยินดใี นภพเปน็ มหาโยธา มีมิจฉาทิฐเิ ปน็ ธรรมวนิ ิจฉัย คือราชบญั ญัติบทอยั การ มอี วณั ณะความพรรณนาโทษเปน็ กองทกุ ข์มาก มวี ิตกความตรึกตรองเปน็ หมแู่ มลงวันพงึ เกลยี ด ชงั มมี ทะความมัวเมาเปน็ เหล่าคนธรรพข์ ับรอ้ ง มีปมาทะควาเมาทวั่ เป็นชา่ งฟ้อนมาซอ่ งเสพอยู่ มีทฐิ เิ ปน็ ทอี่ าศัย มีอนุสยั เป็นบ้านท่ีอยู่ของหมู่พราหมณ์ มีสัญโพชนค์ วามผกู ลา่ มไวใ้ นสามภพ เปน็ อำามาตยผ์ ้ใู หญ่ในกายนคร และมอี วชิ ชาเป็นอันธการราชบรมกษตั ริยเ์ ถลิงราชสมบตั ิเปน็ อสิ สราธิบดีอยใู่ น กายนครน้ี\" คร้ันพระมนุ พี รหมดาบส พจิ ารณารำาพึงถึงธรรมสรีระ ดงั นแี้ ลว้ ดาบสศิษยผ์ ูใ้ หญท่ ่ตี นใชใ้ ห้ไปหาเศษเน้อื ก็ ยงั ไมก่ ลับมา จึงจินตนาสืบไปอกี ว่า ในเม่อื สตั วท์ ัง้ หลายบรรดาทม่ี รี ปู กายครองอยู่ ได้เสวยทกุ ข์เหน็ ปานนี้
95 จะมีทางปลดเปลือ้ งทุกข์น้ีด้วยธรรมสงิ่ ไร? เมื่อนกึ ไปก็เห็นวา่ พุทธการกะรรมเท่านั้นทส่ี ามารถจะทำาสตั ว์ให้ พ้นทกุ ข์ได้ เมอ่ื มองเหน็ แทแ้ น่ฉะนแี้ ลว้ จึงจนิ ตนาตอ่ ไปว่า \"อนั พทุ ธการกธรรมนี้ ถา้ บุคคลใดไม่สามารถทีจ่ ะทาำ กรรมท่ีบุคคลอนื่ ทาำ ไดย้ าก ไมส่ ามารถ บริจาคส่ิงท่ีบุคคลอนื่ บรจิ าคไดย้ าก ไม่สามารถให้ทานท่บี ุคคลอื่นให้ได้โดยยาก ไม่สามารถอด กล้ันกรรมทบ่ี ุคคลอ่นื อดกล้ันได้ยาก อยา่ งนแี้ ล้วบคุ คลน้นั จะบาำ เพญ็ พทุ ธการกธรรมนี้ ให้ สำาเรจ็ หาได้ไม่ กแ็ ลสรีราพยพคือร่างกายของเรานี้ ย่อมมอี าทีนวโทษเปน็ อนั มาก มิได้ย่งั ยืนอยู่ ส้ินกาลนาน และจติ ใจเราท่ีอาศัยอยู่ในรา่ งกายน้ยี อ่ มมีอารมณ์ไมเ่ ปน็ หนง่ึ คอื ไม่เท่ียงแท้ แนน่ อนยอ่ มแปรปรวนไปเป็นนติ ย์ เอาเถดิ ... บดั นเ้ี ราจักให้สรรี ะรา่ งของเรากบั ท้งั ชวี ติ นีใ้ ห้ เป็นทานแก่แม่เสือหิวตวั น้ี ให้ทนั กาลท่จี ติ กาำ ลังเล่ือมใสใคร่บรจิ าคในกาลน้เี ถิด เออ.. กเ็ ราจะ เปน็ ห่วงอันใดด้วยการจะให้อาหารทอ่ี น่ื เล่า\" พระโพธสิ ัตว์เจา้ คำานกึ จนิ ตนาการดงั นี้แล้ว จึงตงั้ จิตปณิธานว่า \"ดว้ ยเดชะบญุ กรรมน้ี ขอเราจงได้ตรัสเป็น พระพุทธเจ้าในอนาคตกาล ให้เรานาำ สตั วท์ ัง้ หลาย ออกจากวฏั สงสารให้ถงึ ความระงับดับทุกข์ด้วยเถิด\" ครน้ั ต้งั จิตปณิธานปรารถนาพระพุทธภูมิดังนแ้ี ลว้ เพอื่ จะประกาศแกห่ มเู่ ทพยดาใหร้ ู้ทัว่ กันอกี เลา่ พระ พรหมดาบสโพธสิ ัตว์เจา้ จงึ ประกาศเปน็ เน้ือความวา่ \"ขอ ทวยเทพเจา้ ทั้งปวง คอื ภูมิพฤกษาเทวา และอากาสเทวาทัง้ สมเด็จอมั รินทราธริ าชเจา้ และ ทา้่ วมหาพรหมปชาบดี ศศธิ รเทพบุตร ท้งั พญายมและท้าวจตุมหาราชโลกบาลทงั้ สี่ ทวยเทพซึง่ สถิตอยู่ ณ สถานทกุ ถ่ินท่ี ตลอดจนนารถบรรพตจอมภูผาขออัญเชญิ ทั่วทกุ พระองค์ จงมา ทำาการอนโุ มทนาในชวี ติ สรีรทานของข้าทไี่ ดอ้ บรมสั่งสมกระทาำ ณ กาลบดั นีเ้ ถิด\"
96 ครัน้ กระทาำ แกท่ วยเทพเจา้ ดังน้ี ขณะทดี่ าบสศษิ ยผ์ ู้ใหญย่ ังมทิ นั ไดก้ ลบั มาถงึ พระพรหมดาบสซึ่งมนี ้ำาใจกล้า หาญ ก็โจนทะยานจากยอดบณั ฑูรภผู า ตกลงเฉพาะหนา้ เสือโครง่ แม่ลกู ออ่ น ขณะนนั้ นางพยัคฆ์ท่กี ำาลงั หิว กระหายนักหนา เม่ือเหน็ อาหารตกลงมากองอยเู ช่นนัน้ ก็ละไมก่ ินลูกของมัน แล่นมาบริโภคมงั สะสรีราพยพ ของพระบรมโพธิสัตว์เจ้าในกาลบัดน้ันทนั ที... ทา่ น ผู้มีปญั ญาทัง้ หลาย บรรดาที่มใี จเคารพเล่อื มใสในพระบวรพุทธศาสนา จงพจิ ารณาดเู ถิดว่า สมเด็จ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ของเรา เม่ือครั้งพระองคท์ า่ นปรารถนา พระพุทธภูมเิ พื่อตรัสเปน็ พระพุทธเจา้ น้นั พระองคท์ า่ นต้องมีนำ้าพระทัยมุ่งมน่ั เดด็ เดี่ยวอาจหาญเพยี งไร ใชแ่ น่แลว้ ... พระองค์ตอ้ งทรงสละชวี ติ เข้า แลกกับพระโพธิญาณมาจนนบั คร้ังไมถ่ ว้ น เช่นครัง้ ทีพ่ ระองค์ทรงเสวยพระชาตเิ ป็นพรหมดาบสท่ีเล่ามา แล้วน้ี น่เี ป็นเพยี งครัง้ หนีึง่ ในจำานวนมากหลายเทา่ น้นั นอกจากน้ีแลว้ ในระยะการสร้างพระบารมตี อนต้นนี้ พระองคย์ งั ต้องประสบกับความทกุ ข์ยากมากมาย เพราะอาำ นาจของการเวยี นวา่ ยอยู่ในวฏั สงสาร ตามเรื่อง ที่ปรากฎมใี นคมั ภีร์ทางพระพุทธศาสนาดงั ต่อไปน้ี มานพหนุ่มชา่ งทอง หลัง จากที่ได้อบุ ัตเิ กิดเป็นเทพบุตร ในสรวงสวรรค์แดนสุขาวดี และเกดิ เป็นมนุษยใ์ นโลกน้ี ดว้ ยอาำ นาจการ เวยี นวา่ ยตายเกดิ หลายชาตินักแลว้ ต่อมา กาลครัง้ หน่งึ พระโพธิสตั วม์ าเกดิ เป็นมนุษย์ในตระกูลช่างทอง ทรงรูปสิรเิ ลิศล้าำ บุรษุ งดงามนักหนา เมือ่ เจรญิ วยั ใหญก่ ลา้ ข้ึนกม็ ีอาชีพเปน็ ชา่ งทองผูช้ ำานาญสืบสายตระกูล ของตน วันหนึง่ มีเศรษฐมี าว่าจา้ งให้ไปทาำ เครื่องประดบั ใหแ้ ก่ธิดาสาวโสภา ซง่ึ กำาลงั จะเขา้ พิธีวิวาหม์ งคล ครั้นไปถึงคฤหาสน์แล้ว เศรษฐจี ึงถามวา่ \"ดูกรช่างทองผเู้ จริญ! ถ้าทา่ นได้เห็นเพียงมอื และเท้าเท่านนั้ ทา่ น ยังจะสามารถทาำ เครอื่ งประดบั ไดห้ รือไม่?\" เม่อื ช่างทองหน่มุ รบั คำาวา่ ทำาได้ เศรษฐจี งึ ใหธ้ ิดาของตนย่นื แต่ มอื และเท้ามาแสดงใหป้ รากฏ ชา่ งทองหนมุ่ กส็ งั เกตกาำ หนดบาทและหตั ถาวยั วะที่ไดเ้ หน็ แต่ห่างๆ แลว้ กระ ทำาได้ดว้ ยความชำานาญ
97 ขณะนั้น ธดิ าเศรษฐีซง่ึ มีนามวา่ กาญจนวดีกุมารใี หน้ กึ สงสยั อยเู่ ป็นกำาลงั ว่า \"เหตุไฉนหนอ บิดาจงึ มใิ ห้เรา ปรากฎกายต่อหนา้ ช่างทอง ให้แสดงแต่เพียงมอื และเท้าเท่านน้ั \" คร้ันคดิ ดงั นแี้ ลว้ จงึ ลอบแลดูตามช่องไม้ แตพ่ อไดเ้ หน็ สิริรูปสมบัตขิ องชา่ งทอง กใ็ ห้เกิดปฏพิ ทั ธร์ ักใครเ่ ป็นกาำ ลัง คลมุ้ คลงั่ ในดวงใจดว้ ยอำานาจ ราคะดาำ กฤษณา นางจงึ จารึกอักษรสาราเปน็ ใจความวา่ \"ดูกรพ่อช่างทองผ้เู ปน็ ทรี่ กั ! หากทา่ นมจี ิตใจรกั ใครเ่ ราแลว้ ณ ท่หี ลังเรอื นใหญน่ ม้ี บี ุปผาพฤกษชาตติ ้นหน่งึ เปน็ ตน้ ไม้ใหญ๋ ในคำ่าคืนวันน้ี ทา่ นจงมาซมุ่ นัง่ อยู่บนตน้ ไม้น้นั ถึงราตรกี าล เราจะออกไปพบกบั ท่านด้วยใจ รกั \" จารกึ เรื่องความรกั ดังนแ้ี ล้ว จึงค่อยทงิ้ ลงไปให้ตกลงตรงหนา้ ช่างทอง เมือ่ ช่างทองหนมุ่ อ่านดูแล้วก็ กำาหนดไว้ในใจ ถึงเวลาสายัณหสมยั เลิกงานแล้ว จึงกลับมาอาบนำา้ ชาำ ระกายรับประทานอ่ิมหนาำ สาำ ราญ แล้ว พอเวลาสุรยิ อสั ดงคตพลบค่าำ ลง กร็ ีบตรงมาสถานทน่ี างนดั ข้ึนไปบนตน้ พฤกษชาตนิ ้นั ตง้ั ตาชะแง้ดู ทางทก่ี าญจนวดกี มุ ารีนัน้ จะมา ณ ระหวา่ งคาคบไม้ แต่นางก็ยังไม่มา มิช้าตนเองกไ็ ด้เผลอมอ่ ยง่วงงนุ นักหนา เพราะว่าเมอ่ื ตอนกลางวันนั้น ตนเร่งทำางานอย่วู ันยังค่ำา ก็ลาำ บากกายพออยู่แล้ว เมื่อรับประทาน อาหารอมิ่ แลมาน่ังเงยี บเหงาเฝา้ คอยอยู่แตผ่ เู้ ดียวฉะนี้ จงึ เอนองค์ลงกบั ทก่ี ่งิ ไมใ้ หญ่ ก็เลยเผลอม่อยผลอย หลับไป ก็กาญจนวดกี ุมารีทรามวยั นน้ั นางเปน็ กุลสตรีธดิ าของคหบดีมหาศาลยอ่ มมีความยำาเกรงบดิ ามารดาอยู่ โดยมากเป็น ธรรมดา เมอื่ มารดาบดิ ายังมไิ ด้หลบั นอน นางจึงไมม่ ีโอกาสออกมาได้ คร้ันท่านทั้งสองหลับ ไปแล้ว นางจงึ คอ่ ยลุกมาจากทีน่ อนออกมาจดั หาอาหาร ไดข้ ้าวสาลกี ับแกงมงั สะสดใสล่ งในขันทองเสร็จ แลว้ กร็ ีบลอบนาำ ลงมาจากปราสาทไปสู่ที่นดั ณ ต้นไมใ้ หญ่ เพอื่ ไปหาชายสดุ ท่ีรกั ครั้นเห็นเขาหลับอยู่ก็มิรู้ ท่จี ะปลกุ ให้รสู้ ึกตนตืน่ ข้ึนได้ ดว้ ยเหตวุ ่ามนุษยใ์ นสมยั นั้นถอื ลทั ธิธรรมเนียมอยู่อย่างหน่งึ วา่ \"ถ้าบคุ คลหลับสนทิ อยู่ ผู้ใดปลุกใหล้ กุ ต่นื ข้นึ แลว้ ผปู้ ลกุ น้นั ย่อมมบี าป ตายไปตอ้ งตกนรกหมก ไหมต้ ลอดกัปหน่งึ \"
98 เพราะ ฉะนนั้ นางจึงไม่สามารถปลุกชา่ งทองน้นั ใหต้ นื่ ขึ้นมาได้ แตค่ อยอยนู่ านนักหนา เม่อื เหน็ วา่ ไมต่ ่ืนแน่ นางจึงเก็บใบรุกขชาติปูลาดลงต้งั ขนั ทองใส่อาหารไว้แล้วกลบั ลบั ไป ฝ่ายนายช่างทอง ตื่นข้ึนมาไดเ้ หน็ ภาชนะขนั ทองน้นั จึงกาำ หนดว่า ชะรอยนางกุมารีมาแลว้ เหน็ เราหลับ จงึ กลบั ไปเป็นม่ันคง เมื่อผนั แปรแลไปดขู า้ งโนน้ ข้างนี้ ก็ได้แลเห็นนางดาำ เนิ นิ กลบั เข้าไปภายในปราสาท ใน ขณะนัน้ กใ็ หน้ อ้ ยจิตคิดโกรธตัวเองเป็นหนักหนาวา่ ควรหรอื มานอนหลับใหลเสียได้ น่าเคอื งตวั เองนัก ราำ พึงพลางกถ็ อื สุพรรณภาชน์โภชนะน้ันกลบั มาเรือนตน คร้นั รงุ่ วันใหม่ไดเ้ วลาก็ไปทาำ งานอยู่ทเ่ี ก่าอกี ไม่ ช้าก็มสี ารตกลงมาอีก จารกึ อักษรมใี จความวา่ \"วันนท้ี ่านจงอุตสาหะข่มใจไว้ อย่าใหห้ ลับใหลไปเสียอยา่ ง เมื่อคืนอีกเล่า\" นายชา่ งอา่ นรคู้ วามแลว้ ก็ไม่พูดวา่ อะไร ประกอบการงานทำาเครอ่ื งประดับตอ่ ไป พอไดเ้ วลา ตอนราตรี จึงมานัง่ คอยทาำ อยู่เชน่ เคย ไมช่ า้ กย็ ังเอิญให้หลับไปเสยี อกี เล่า กาญจนวดีกุมารเี มื่อถอื โภชนาหารมาเห็นเขาหลับไปแล้ว กก็ ลับไปเหมือนคืนก่อน ครนั้ ถงึ คืนที่สาม กาญจนวดกี ุมารเี มื่อได้มาเห็นนายชา่ งทองสดุ ท่รี กั หลบั ไปเหมอื นเดิม นางมีความเศร้าใน นาำ้ ใจหนกั หนา จงึ พิไรร่ำาด้วยคาำ วา่ \"น่าเสยี ดายนัก กุมารนอ้ ยน้เี ป็นท่ีรักใคร่เจรญิ ใจแหง่ เรา ชะรอยสันนวิ าสเรานม้ี ไิ ด้มแี ต่ปางก่อน จึงเผอญิ ให้ กมุ ารนเ้ี ปน็ ผู้มกั หลบั เสยี ได้สามวาระสามหน ความพยายามของเราสองคนนปี้ ราศจากประโยชนเ์ สยี แลว้ พอ่ จงไปโดยสุขสวัสดีเถดิ หนาเจ้า แต่วันนไี้ ปเราก็จกั หมดอิสระมิได้มาพบหน้าอกี แลว้ \" เธอพิไรรำาพันดว้ ย ความโศกศลั ย์เป็นอนั มากแลว้ ก็ยกโภชนะนั้นวางตงั้ ไว้ แล้วก็ตดั ความอาลัยกลบไป นายช่างทองเม่ือต่นื ขนึ้ ก็ใหเ้ จบ็ ใจตนเองยง่ิ กว่าวนั ก่อน มคี วามโศกอาดูรดว้ ยความรกั เปน็ หนักหนา จงึ รำาพงึ รำาพนั ออกมาวา่ \"กุมารมี รี ปู งามอย่างนี้ ควรท่ีจะทอดทศั นานาำ ความภิรมย์มาให้แกใ่ จ น่เี ป็นกรรมอะไร จึงตักเตอื นใหห้ ลับ ใหล ไมร่ สู้ กึ ตัวตน่ื ได้สามวาระ บุญญาภสิ มภารเราแต่กอ่ นมิได้มี ชะรอยเรากับนารีน้มี ิได้เคยรว่ มกันกระทำา ทาน หรือวา่ ตัวเรานีม้ ไิ ดม้ กี มลสันดาน เคยอนุโมทนากุศลของเศรษฐี จงึ ใหม้ อี นั เปน็ สักแต่วา่ ไดพ้ บเหน็ นารี
99 งามเท่าน้ัน มิทนั ไดร้ ว่ มภิรมย์กใ็ หจ้ างจากกันไป\" นายช่างทองราำ พันพลางถอื เอาโภชนาหารท่นี างตงั้ ไว้ แลว้ กลับไปสูเ่ รอื นตนด้วยความเศรา้ เป็นล้นพ้น ครัน้ ร่งุ ขน้ึ ถงึ วนั อาวาหสมยั ฝา่ ยเศรษฐีบิดาเจ้าบ่าว จงึ บรรทุกข้าวของสาำ หรับการแต่งงานมามากมาย หลายร้อยเลม่ เกวียน พอมาถึงแลว้ ท้งั สองฝา่ ยก็ประชมุ กันทำาอาวาหมงคล เล้ียงดกู นั เป็นนักษัตรฤกษ์ โกลาหล ฉลองกันอยูส่ น้ิ กาลประมาณหน่งึี เดือนโดยกาำ หนด คร้นั การฉลองอันมเี วลาถึงหนึ่งเดอื นลว่ งแล้ว เศรษฐีผ้เู ป็นบดิ าเจ้าบ่าวก็พาบริวารกลับไปบ้านตน ฝา่ ยนายช่างทองผู้งามโสภา จาำ เดมิ แตว่ นั แคล้วคลาดจากนางมา ก็ราำ พึงราำ พันถงึ นางอยไู่ มว่ างวายว่า นาง กมุ ารีนี้ได้มีนำ้าใจรกั เปน็ ปิยสหายแหง่ เรามากอน่ บรุ ษุ เช่นเรานจี้ งึ สมควรจะไดน้ าง ราำ พึงพลางจึงคดิ หา อุบาย คร้นั คิดไดแ้ ล้วจงึ อตุ สาหะทาำ เครอื่ งประดบั สำาหรบั ศอสาำ รบั หนึ่งสวยสดงดงาม นกั หนา แลว้ ไปดว้ ย แกว้ มุกดาวิจิตรบรรจงเป็นลวดลายละเอียดอดุ ม สมควรเป็นราชอลังการแล้ว กน็ ้อมนำาเข้าไปถวายพระ มหาอปุ ราชเจ้า \"เอะ๊ ! เจา้ นาำ ของทีช่ อบใจมาให้เราเชน่ น้ี จกั มคี วามประสงคส์ งิ่ ใดหรอื \" พระมหาอุปราชซี่งึ มีพระกมลโสมนัส ตรสั ถามขึน้ นายช่างทองจงึ ทลู สนองบอกความประสงค์ของตนให้ทรงทราบ \"อย่าวิตกไปเลย จะเป็นไรมี เรานร้ี บั ธรุ ะจะทำาอุบายใหเ้ จ้าสมมโนรถจงได้\" พระมหาอปุ ราชตรสั รบั รองแลว้ จงึ ทรงใหน้ ายชา่ งทองแต่ง ตัวเป็นสตรเี พศ ทรงสรรพาภรณ์พิจิตร บดิ เบือนแสร้งแปลงองคเ์ ปน็ ขัตตยิ อนงค์กัญญาเสรจ็ แลว้ จึงใหน้ ่ัง ณ ภายในกระโจมทองข้างพระที่นัง่ ส่วนพระองคท์ รงพระแสงขอสถิตบนคอมงคลคชาธาร เสดจ็ มาถงึ บ้าน ทา่ นเศรษฐีประทบั หยุดยนื ช้างพระทีน่ ่งั แล้วรบั สัง่ ใหเ้ ศรษฐีเขา้ มาเฝา้ และแสรง้ ดำารัสถามว่า \"ปราสาทหลังใหม่น่นั เปน็ ของใครอีกเล่า\" \"เป็นปราสาทธิดาของข้าพระพุทธเจ้า\" เศรษฐีทลู
100 \"เออพอ่ ...ดีแลว้ บดั น้ี พระบรมชนกธริ าชดำารสั ราชวโรงการให้เราไปปราบพวกโจรร้ายในชนบทประเทศ จะขอฝากพระกนิษฐภคีนนี ้องสาวเราไว้ให้อยู่กับธดิ าของท่านดว้ ยเป็นการ ช่วั คราว กว่าเราจะกลบั มา เม่ือ กลับมาแลว้ เราจงึ จะมาพระนอ้ งนางน้ันไป\" พระอุปราชตรสั ขึน้ ตามอบุ ายทรงวางไว้ \"พระเจา้ ข้า แต่ว่าธดิ าเกลา้ กระหมอ่ มนั้น นางไดส้ ามีแล้ว พระภคินขี องพระองคจ์ ะทรงอยดู่ ้วยธิดาเกล้า กระหมอ่ มจะได้หรอื \" เศรษฐที ูลด้วยความกังวลใจ \"จะเป็นไรไปเล่า ทา่ นเศรษฐี\" พระมหาอุปราชตรัสดุจไม่พอพระหฤทัย \"ทา่ นจงใหธ้ ดิ าของทา่ นงดการอยู่ ร่วมกับสามีชั่วคราวกอ่ น ใหเ้ จ้าอยูเ่ ปน็ เื่พ่ือนพระน้องนางเราสักหน่อยเถิดเราไปไมน่ านนัก กจ็ ักรบี กลับมา รับไป\" \"ถา้ กระนั้น ก็พอจะผ่อนผนั รบั พระธุระ สนองพระเดชพระคุณได้ พระเจ้าข้า\" ทา่ นเศรษฐที ลู แล้ว เรียกธดิ า มาบอกความตอ่ หน้าพระท่ีนง่ั แลว้ สงั่ ให้นาำ พระภคนีปลอมนน้ั ขึ้นสู่ปราสาท และกอ่ นท่เี จา้ มหาอปุ ราชจะ อำาลาไป พระองค์ยงั ไดท้ รงสงั่ ซ้าำ ดุจเป็นหว่ งหนกั หนาวา่ \"ดูกรทา่ นเศรษฐี! ขอท่านจงอยา่ ไดป้ ระมาทเลย จงเห็นแกเ่ ราเถดิ จงช่วยเปน็ ธรุ ะเอาใจใส่ ของสงิ่ ไรท่นี ้อง รกั เราเจ้าต้องการ ท่านจงจัดอยา่ ไดข้ ัดใจเจ้าเลย อนงึี บคุ คลทั้งหลายอ่นื ๆ ทา่ นต้องคอยระวังจงหา้ มอย่า ให้ข้ึนไปจนุ้ จา้ นบนปราสาทเปน็ อันขาด โดยทีส่ ดุ แม้แต่สามีของธิดาท่านก็จงอยา่ ให้ขึ้นไปอย่างเด็ดขาด เลยทเี ดยี ว เข้าใจไหมเลา่ \" \"ไว้ใจเถดิ พระเจ้าขา้ \" ท่านเศรษฐรี บี ทูล \"จงวางพระทยั ไว้ธุระข้าพระบาททุกประการเถิด พระองค์อยา่ ได้ ทรงพระวิตกเลย\" ทูลรบั รองอย่างหนักแน่นแลว้ กต็ ามส่งเสด็จจนถงึ นอกกำาแพงปราสาท
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261