ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทัว่ ไป การแจกวิภักตนิ ามศพั ท์ (Declension) นามศัพท์ในภาษาสันสกฤตไม่สามารถนาไปใช้ในประโยคได้ทันที จะต้อง นาไปแจกวิภักติเสียก่อน การแจกวิภักติ คือการนาวิภักติไปประกอบท้าย นามศัพท์ โดยจะทาหน้าที่คล้ายกับคาบุรพบทในภาษาไทย ต่างกันเพียงแค่ ภาษาไทยนาคาบุรพบทเติมหน้า ส่วนภาษาสันสกฤตนาไปเติมหลังเท่านั้น เช่นคาว่า “ซึ่ง” “ดว้ ย” “แก”่ “จาก” “ของ” “ใน” เปน็ ต้น ในภาษาสนั สกฤตเม่ือนาคานามไปแจกวภิ ักติแลว้ จะผูกตดิ อย่กู ับคานามนน้ั ๆ ไม่แยกออกเป็นอีกคาหน่ึงต่างหาก เช่น คาว่า “จากหมู่บ้าน” จะเขียนรวม เป็นคาเดียวกัน เช่น ¢amat! (grāmāt) มาจาก ¢am + As! (grāma + as) เปน็ ตน้ เบ้ืองต้นนี้จะกล่าวถึงภาพรวมของนามศัพท์ องค์ประกอบ การแจกวิภักติ นามศัพท์การนั ต์ต่างๆ โดยเรยี งลาดับดังนี้คือ อ อิ อุ อา อี อู การนั ต์ เปน็ ต้น นามาแจกวิภักติให้เป็นตัวอย่างเพ่ือเป็นแนวทางในการศึกษาเพ่ิมเติม ตอ่ ไป การแจกวิภักตินัน้ จะเกย่ี วข้องกับเรื่องเหลา่ นี้คอื • ศพั ท์ คือคาท่ยี ังไม่มีการเปลี่ยนรปู แมจ้ ะมีความหมาย แต่ไม่สามารถ นาไปใช้ในประโยคได้ ต้องประกอบด้วยวิภักติเสียก่อน เช่น nr (คน) AZv (ม้า) vanr (ลงิ ) เปน็ ตน้ • ลิงค์ คือเพศ ภาษาสันสกฤตกาหนดให้คานามมี 3 เพศ คือ ปุลลิงค์ (เพศชาย) สตรีลิงค์ (เพศหญิง) นปุงสกลิงค์ (ไม่ใช่เพศชายไม่ใช่ เพศหญิง) นามศัพท์ทุกตัวจะมีเพศใดเพศหน่ึงเสมอ มีข้อสังเกต เก่ียวกับลิงค์เล็กน้อยคือ นามนามบางศัพท์เป็นได้ลิงค์เดียวก็มี 94
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทวั่ ไป บางศัพท์เป็นได้ 2 ลิงค์ก็มี ส่วนคุณนามและสรรพนามเป็นได้ท้ัง 3 ลงิ ค์ • วจนะ หรือพจน์ คือจานวน ภาษาสันสกฤตแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ เอกวจนะ (จานวนหนึ่ง) ทวิวจนะ (จานวนสอง) พหุวจนะ (จานวนตัง้ แต่สามข้ึนไป) • การันต์ คือส่วนสุดท้ายของศัพท์ ภาษาสันสกฤตมีการันต์ 2 ชนิดคือ ศัพท์ที่ลงท้ายด้วยสระหรือสระการันต์ เรียกว่า “อชันตะ” ศัพท์ที่ลง ทา้ ยดว้ ยพยญั ชนะหรือพยญั ชนะการันต์ เรยี กวา่ “หลันตะ” • การก คือสว่ นแสดงหนา้ ทข่ี องนามศพั ท์ในประโยค เชน่ ทาหนา้ ทเี่ ป็น ประธานในประโยค หรือทาหน้าท่ีเป็นกรรม เป็นต้น แบ่งออกเป็น 8 ชนิดเหมือนกบั วภิ ักตนิ าม • วิภักตินาม คือส่วนประกอบท้ายนามศัพท์ ใช้ประกอบกับนามศัพท์ เพอ่ื ระบุหนา้ ที่ของคาน้ันๆ มีทัง้ หมด 8 วิภกั ติ ประกอบดว้ ย ประถมา วิภักติ (Nominative) ทวิตียาวิภักติ (Accusative) ตฤตียาวิภักติ (Instrumental) จตุรถีวิภักติ (Dative) ปัญจมีวิภักติ (Ablative) ษัษฐีวิภักติ (Genitive) สัปตมีวิภักติ (Locative) สัมโพธนประถมา วิภกั ติ (Vocative) แบง่ ออกเป็น 2 ชนิดตามการใชง้ านคอื - สาหรับประกอบกับปลุ ลิงคแ์ ละสตรลี งิ ค์ - สาหรบั ประกอบกับนปงุ สกลงิ ค์ 95
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทั่วไป (1) วิภกั ตสิ ำหรับประกอบกบั ปลุ ลงิ คแ์ ละสตรีลิงค์ วภิ กั ติ เอก. ทว.ิ พห.ุ ประถมำ. ทวติ ยี ำ. s! AaE A> ตฤตยี ำ. จตรุ ถี. s au aḥ ปัญจม.ี ษัษฐ.ี m! AaE A> สปั ตม.ี สมั โพธน. m au aḥ Aa _yam! i-> ā bhyām bhiḥ @ _yam! _y> e bhyām bhyaḥ A> _yam! _y> aḥ bhyām bhyaḥ A> Aae> Aam! aḥ oḥ ām # Aa>e su i oḥ su £ AaE A> - au aḥ 96
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลท่ัวไป (2) วิภักติสำหรับประกอบกับนปงุ สกลิงค์ วภิ ักติ เอก. ทวิ. พหุ. ประถมำ. ทวิตยี ำ. m! $ # ตฤตยี ำ. จตรุ ถี. m ī i ปญั จม.ี ษัษฐี. m! $ # สัปตม.ี สัมโพธน. m ī i Aa _yam! i-> ā bhyām bhiḥ @ _yam! _y> e bhyām bhyaḥ A> _yam! _y> aḥ bhyām bhyaḥ A> Aa>e Aam! aḥ oḥ ām # Aae> su i oḥ su £ $ # - ī i 97
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทวั่ ไป คำแปลวภิ ักตินำม วิภตั ติ คาแปล หนา้ ที่ ประถมา. อันว่า (อ.) ประธาน ทวติ ยี า. ซง่ึ , ส,ู่ ยัง, สิน้ , ตลอด, กะ กรรม ตฤตียา. ด้วย, โดย, อนั , ตาม, เพราะ, ม,ี ดว้ ยทัง้ เครือ่ งมือ จตุรถี. แก,่ เพอื่ , ตอ่ ผู้รับผลการกระทา ปญั จมี. แต,่ จาก, กวา่ , เหตุ เหตุของการกระทา ษัษฐี. แหง่ , ของ, เมอื่ เจา้ ของ สัปตมี. ใน, ใกล้, ท่ี, ครน้ั เม่อื , ในเพราะ, เหนือ, บน สถานที่ทา สัมโพธน. แน่ะ, ดูก่อน, ขา้ แต่ คาทกั ทาย โครงสรา้ งการแจกวภิ ักติ การแจกวิภักตินามศัพท์มีองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ นามศัพท์ + วิภักตินาม ก่อนการแจกวิภักติต้องดูว่านามศัพท์น้ันเป็นการันต์อะไร (อ อา อิ อี อุ อู) เป็นลิงค์อะไร (ปุลลิงค์ สตรีลิงค์ นปุงสกลิงค์) จากนั้นนาไปประกอบกับ วิภักตินาม (ปรถมา. – สัมโพธน.) เมื่อประกอบแล้ว คานามจะมีความหมาย เปลยี่ นไปตามวิภกั ตินนั้ ๆ โครงสรา้ งการแจกวิภักตินามศพั ทม์ ดี งั น้ี นามศัพท์ + วภิ กั ตินาม = คานาม 98
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทั่วไป อยา่ งไรกต็ าม วิภักตินามเปน็ เพยี งตน้ แบบสาหรบั นาไปประกอบกับนามศัพท์ ท้ังสระการันต์และพยัญชนะการันต์เท่าน้ัน เม่ือนาไปประกอบกับนามศัพท์ ชนิดต่างๆ แล้ว วิภักติเหล่านี้จะมีการเปล่ียนแปลงรูปแตกต่างกันไป โดยเฉพาะการเปลี่ยนพยัญชนะบางตัวเม่ือมีการสนธิเกิดขึ้น ดังรายละเอียด ต่อไปน้ี พยัญชนะสนธิ พยัญชนะสนธิ คือ การสนธิระหว่างพยัญชนะกับพยัญชนะ พยัญชนะท่ีพบ บอ่ ยในการประกอบสนธิคือ พยัญชนะ t! (t) • t! (t) อย่หู น้า ตามด้วย สระหรอื พยญั ชนะโฆสะ เปลย่ี นเปน็ d! (d) • t! (t) อยู่หนา้ ตามดว้ ย พยญั ชนะท่ีสุดวรรค เปล่ยี นเปน็ พยญั ชนะ ทสี่ ดุ วรรค หรือ d (d) • นอกจากนี้ยังเปลย่ี นเป็นรปู อืน่ ได้ ภายใต้กฎเดยี วกนั นี้ เชน่ tt! + c³m! = tCc³m! tat + cakram = taccakram tt! + DÇm! = tCDÇm! tat + chatram = tacchatram tt! + ïTu va = tCïuTva tat + śrutvā = tacśrutvā tt! + jlm! = tJjlm! tat + jalam = tajjalam At! + loe > = ALleo> at + lekhaḥ = allekhaḥ 99
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทวั่ ไป พยญั ชนะ n! (n) • n (n) อยู่หนา้ ตามดว้ ยสระ ให้ซอ้ น n (n) • n (n) อย่หู นา้ ตามด้วยพยัญชนะอโฆสะ ใหเ้ ปลีย่ น n (n) เปน็ อนสุ วาระ แล้วซอ้ น z ; s (ś ṣ s) หนา้ พยัญชนะท่ตี ามมาใน ฐานของตน • พยญั ชนะ n (n) จะเปลี่ยนเปน็ [ (ṇ) ต้องมีองค์ประกอบ 3 ขอ้ ต่อไปน้ี - ในคานน้ั จะตอ้ งมอี ักษร \\ § r ; (ṛ ṝ r ṣ ) ตวั ใดตวั หน่งึ หรือ ทั้งหมดก็ได้ อยหู่ นา้ n (n) - ระหวา่ ง \\ § r ; (ṛ ṝ r ṣ ) กับ n (n) ไมม่ ีพยัญชนะอ่ืนคัน่ (ยกเวน้ พยัญชนะวรรค ก, ป และเศษวรรค 3 ตวั คอื ห ว ย) - หลงั พยญั ชนะ n (n) ตามตดิ ด้วยสระ หรือพยญั ชนะ น ม ว ย ตารางสรปุ การเปลีย่ น n (n) จะเปล่ียนเป็น [ (ṇ) อกั ษรหนา้ ไมม่ พี ยัญชนะวรรคเหลา่ น้ีค่นั ตามดว้ ย \\§r; ยกเวน้ พยญั ชนะวรรค ก, ป น สระ หรือ น ม ว ย และเศษวรรค 3 ตวั คือ ห ว ย (ṛ ṝ r ṣ ) (ตัวใดตวั หน่งึ ) ตวั อยา่ งการเปล่ยี น n (n) เปน็ [ (ṇ) (ปรถมา. เอก.) (ตฤตยี า. เอก.) pi]n> → pi][> pakṣinaḥ → pakṣiṇaḥ (ตฤตยี า. เอก.) ¢amne → ¢ame[ grāmena → grāmeṇa éÔen → éÔ[e rudrena → rudreṇa 100
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป พยัญชนะ s (s) พยัญชนะ s (s) จะเปล่ียนเป็น ; (ṣ) ในกรณีที่พยัญชนะหน้าไม่ ประกอบด้วยสระ A (a) หรือ Aa (ā) เชน่ nre + su = nr;e u nare + su = nareṣu (สปั ตม.ี พห.ุ ) ข้อสังเกต • คาทีล่ งทา้ ยดว้ ยวสิ รคะ ใช้กฎเดยี วกับ A> (aḥ) เชน่ %> ^> Aa>e Aa>E @e> (uḥ ūḥ oḥ auḥ eḥ) • วสิ รคะทอี่ ยหู่ นา้ พยัญชนะ z ; s (ṣ ṣ s) อาจเปล่ยี นเป็น z ; s (ṣ ṣ s) ได้บ้าง เชน่ hir> + iz:ym! = hir> iz:ym! หรือ hirz! iz:ym! hariḥ + śiṣyam = hariḥ śiṣyam หรือ hariś śiṣyam • n z (n ś) อาจเปลีย่ นเป็น | D (ñ ch) หรือ | z (ñ ś) กไ็ ด้ เช่น +devan! zÇnU ! = devaÁDÇnU ! หรือ devaÁzÇUn! devān + śatrūn = devāñchatrūn หรอื devāñśatrūn • n l (n l) อาจเปล่ียนเป็น < l (ṃ l) หรอื l l (l l) ก็ได้ เชน่ +dve an! laek> = dve a< laek> หรือ dve aLlaek> devān + lokaḥ = devāṃ lokaḥ หรือ devāllokaḥ การสนธพิ ยญั ชนะอื่นๆ สามารถดไู ด้จากตารางสาเรจ็ รปู ในตารางต่อไปน้ี 101
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลท่ัวไป ตารางสาเรจ็ รปู พยญั ชนะสนธิ (เทวนาครี) 1 พยญั ชนะหน้า พยญั ชนะหลงั ABCDEF G H I JK k! q! t! p! '! m! n! A> Aa> #> $> k! q! t! p! '! A< n! A> Aa> #> $> k! , o! , p! , )! , ;! , s! 1 k! q! c! p! '! A< |! A> Aa> #> $> z! , (z! →D! ) 2 k! q! c! p! '! A< Az< ! Az! Aaz! #z! $z! c! , D! 3 k! q! q! p! '! A< A;< ! A;! Aa;! #;! $;! q! , Q! 4 k! q! t! p! '! A< As< ! As! Aas! #s! $s! t! , w! 5 g! f! d! b! '! A< n! Aae Aa $ $ r! 6 g! f! d! b! '! A< n! Aae Aa g! , \"! , d! , x! , 7 #r! $r! b! , -! , y! , v! g! f! j! b! '! A< |! Aae Aa #r! $r! j,! H! 8 g! f! f! b! '! A< [! Aae Aa #r! $r! f! , F! 9 g! f! l! b! '! A< A< Aae Aa #r! $r! l! 10 g! f! d! b! '! A< n! Aae Aa #r! $r! h! (h!→\"! , F! , f!, -)! 11 '! [! n! m! '! A< n! Aae Aa #r! $r! n! , m! 12 g! f! d! b! '! m! n! Aae Aa #r! $r! A (A →=) 13 g! f! d! b! '! m! n! A Aa 14 #r! $r! สระทุกตัว (ยกเวน้ A) 1 ดดั แปลงจาก Roderick S. Buckneli. Sanskrit Manual (Delhi: Motilal Banarasidass Publishers, 2006) หนา้ 75. 102
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลท่วั ไป ตารางสาเร็จรปู พยัญชนะสนธิ (โรมัน) 2 พยญั ชนะหน้า พยญั ชนะหลงั ABCDE F G H I J K k ṭ t p ṅ m n aḥ āḥ iḥ īḥ k ṭ t p ṅ ṃ n aḥ āḥ iḥ īḥ k, kh, p, ph, ṣ, s 1 k ṭ c p ṅ ṃ ñ aḥ āḥ iḥ īḥ ś, (ṣ→ch) 2 k ṭ c p ṅ ṃ ṃṣ aś āś iś īś c, ch 3 k ṭ ṭ p ṅ ṃ ṃṣ aṣ āṣ iṣ īṣ ṭ, ṭh 4 k ṭ t p ṅ ṃ ṃs as ās is īs t, th 5 gḍdbṅ ṃ n o ā ī ī r 6 g, gh, d, dh, 7 g ḍ d b ṅ ṃ n o ā ir īr b, bh, y, v g ḍ j b ṅ ṃ ñ o ā ir īr j, jh 8 g ḍ d b ṅ ṃ ṇ o ā ir īr ḍ, ḍh 9 g ḍ l b ṅ ṃ ṃ o ā ir īr l 10 g ḍ d b ṅ ṃ n o ā ir īr h (h→dh, ḍh, ḍ, bh) 11 ṅ ṇ n m ṅ ṃ n o ā ir īr n, m 12 g ḍ d b ṅ m n o ā ir īr a (a→-) 13 g ḍ d b ṅ m n a ā ir īr สระทกุ ตัว (ยกเวน้ a) 14 2 ดดั แปลงจาก Roderick S. Buckneli. Sanskrit Manual (Delhi: Motilal Banarasidass Publishers, 2006) หนา้ 75. 103
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทั่วไป หมายเหตุ 1) A-K คอื พยญั ชนะท้ายของคาหน้า (พยัญชนะหน้า) 2) 1-14 คอื พยัญชนะหนา้ ของคาหลัง (พยญั ชนะหลงั ) 3) นอกจากสระในตวั อย่างแลว้ วิสรคะทตี่ ามหลังสระอ่นื ๆ ก็ใช้กฎเกณฑ์ เดยี วกนั นี้ เช่น %> ^> @> @e> Aa>e AaE> (uḥ, ūḥ, eḥ, aiḥ, oḥ, auḥ) ตวั อยำ่ งกำรใชต้ ำรำงสนธิ ตารางจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ สระหน้าและสระหลัง สระหน้าแทนด้วย อักษรภาษาอังกฤษในคอลมั น์ A-K สระหลงั แทนด้วยตวั เลขในแถวท่ี 1-14 เม่ือต้องการทราบผลลัพธ์ของการสนธิ ให้ดูช่องสระหน้าก่อนว่าอยู่ใน คอลัมน์ไหน (A-K) จากน้ันมองหาสระหลังว่าอยู่แถวท่ีเท่าไหร่ (1-14) จุดท่ีตัดกันระหว่างสระหน้าและสระหลังคือ “ผลลัพธ์ของสนธิ” ตัวอย่างเชน่ เราอยากทราบวา่ k! (k) สนธกิ บั g! (g) จะเป็นพยัญชนะอะไร? เม่ือทาตามข้ันตอนจะพบว่าพยัญชนะ k! (k) อยู่ในคอลัมน์ A และ พยัญชนะ g! (g) อยู่ในแถวท่ี 7 จุดที่ตัดกันก็คือ g! (g) ดังน้ัน k! + g! = g! (k + g = g) พยัญชนะอนื่ ๆ พงึ เปรียบเทียบกับตัวอย่างน้ี 104
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่วั ไป (1) นามศพั ท์ อ การนั ต์ นามศัพท์ท่ีลงท้ายด้วยสระอะ หรือที่เรียกว่า อ การันต์ ภาษาสันสกฤตมี 2 ลงิ ค์ คอื ปลุ ลิงค์ (เพศชาย) และนปุงสกลงิ ค์ (ไมใ่ ช่เพศชายไม่ใชเ่ พศหญิง) เม่ือนาไปประกอบกับคานาม วิภักติจะมีการเปล่ยี นแปลงรูป เพ่ือให้จดจาได้ ง่ายขึ้น ให้นาวิภักติสาเร็จรูปเหล่าน้ีไปประกอบกับคานาม อ กำรันต์ ปุลลิงค์ ได้เลย (1.1) วภิ ักติสำเรจ็ รูป อ กำรนั ต์ ปุลลิงค์ วภิ กั ติ เอก. ทว.ิ พหุ. ประถมำ. s! (>) AaE A> s au aḥ ทวิตียำ. m! AaE An! m au an ตฤตยี ำ. #n Aa_yam! @>e ina ābhyām aiḥ จตุรถี. Aay Aa_yam! #_y> āya ābhyām ibhyaḥ ปญั จมี. Aat! Aa_yam! #_y> āt ābhyām ibhyaḥ ษัษฐ.ี Sy yae> Aanam! sya yoḥ ānām สปั ตมี. # yae> #;u i yoḥ isu สัมโพธน. £ AaE A> - au aḥ 105
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทวั่ ไป ตวั อยา่ งการแจกวภิ ักตนิ ามศพั ท์ dve + s! = devs! , dev> อันว่าเทวดา (อ. เทวดา) deva + s = devas, devaḥ dev + AaE = dve aE อันวา่ เทวดาทง้ั สอง (อ.เทวดา ทส.) deva + au = devau dve + As! = dve as! , dve a> อนั วา่ เทวดาท้ังหลาย (อ.เทวดา ท.) deva + as = devās, devāḥ dve + m! = devm! ซงึ่ เทวดา deva + m = devam dev + #n = devne ดว้ ยเทวดา deva + ina = devena dev + Aay = devay แก่เทวดา deva + āya = devāya dev + Aat! = dve at! จากเทวดา ของเทวดา deva + āt = devāt dev + Sy = dve Sy deva + sya = devasya dev + # = dve e ในเทวดา deva + i = deve 106
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป กำรแจกวภิ กั ตนิ ำมศพั ทแ์ ละกำรแปล ประถมำวิภกั ติ และทวติ ยี ำวภิ ักติ • ประถมำ. ทาหนา้ ท่เี ป็นประธาน แปลวา่ อันว่า (อ.) • ทวิตยี ำ. ทาหนา้ ทีเ่ ป็นกรรม แปลว่า ซงึ่ , สู่, ยัง, สิน้ , ตลอด, กะ การแปลภาษาสันสกฤต ถ้าเป็นเอกวจนะให้แปลตามคาแปลปกติ ถ้าเป็น ทวิวจนะให้เพิ่ม “ทั้งสอง” (ทส.) ต่อท้ายคาแปล ถ้าเป็นพหุวจนะให้เพิ่ม “ท้งั หลาย” (ท.) ต่อทา้ ยคาแปล เชน่ dve > อันวา่ เทวดา dve aE อันว่าเทวดาท้ังสอง (อ.เทวดา ทส.) deva> อันวา่ เทวดาทงั้ หลาย (อ.เทวดา ท.) วภิ กั ติ dve (เทวดำ) พห.ุ ประถมำ. เอก. ทวิ. deva> ทวิตียำ. dev> dve aE devāḥ deaḥ devau devan! dve m! devaE devān devam devau 107
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทัว่ ไป ตัวอยำ่ งประโยค เทวดา ยอ่ มไป เทวดา ทส. ย่อมไป ทีไ่ หน dev> crit เทวดา ท. ย่อมไป ทีน่ น้ั dve aE kuÇ crt> deva> tÇ criNt Tv< dve m! AÇ p&CDis ท่าน ย่อมถาม ซงึ่ เทวดา ท่ีน่ี yuva< devaE kuÇ pC& Dw> ทา่ น ทส. ย่อมถาม ซ่ึงเทวดา ทส. ทีไ่ หน yUy< devan! tÇ n pC& Dw ทา่ น ท. ยอ่ มไม่ถาม ซ่ึงเทวดา ท. ทนี่ ั้น Ah< dve < n pjU yaim ข้าพเจา้ ยอ่ มไม่บชู า ซ่งึ เทวดา Aava< devaE n pjU yav> ขา้ พเจา้ ทส. ยอ่ มไมบ่ ชู า ซึง่ เทวดา ทส. vym! Aip devan! n pjU yam> แม้ ข้าพเจ้า ท. ยอ่ มไมบ่ ูชา ซึง่ เทวดา ท. ตฤตยี ำวิภักติ และจตุรถวี ภิ กั ติ • ตฤตียำ. ทาหน้าท่ีเป็นเคร่ืองช่วยทาหรือสาเหตุ แปลว่า ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ดว้ ยท้ัง • จตุรถี. ทาหน้าทีเ่ ปน็ ผู้รบั แปลวา่ แก่, เพ่อื , ต่อ 108
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป dev (เทวดำ) วภิ ักติ เอก. ทว.ิ พห.ุ ตฤตียำ. devne dve a_yam! devE> จตุรถี. devena devābhyām devaiḥ devay deva_yam! dve _e y> devāya devābhyām devebhyaḥ ตัวอยำ่ งประโยค บุรษุ ยอ่ มไป ดว้ ยเทา้ ทส. ท่าน ยอ่ มขว้าง ด้วยมือ ทส. péu ;> pada_ya< gCDit เขา ยอ่ มโกรธ ตอ่ เทวดา hSta_yam! ASyis เขา ท. ยอ่ มไป ทน่ี ัน้ เพ่อื อาหาร s> devay kuPyit Aaharay tÇ gCDiNt ข้อสังเกต: ตฤตียำวภิ กั ตนิ ยิ มใชค้ ู่กับอัพยยศัพท์ sh (พร้อม, กับ) เชน่ iz:yne sh Aahar< oadis ทา่ น ย่อมกิน ซ่งึ อาหาร พร้อมด้วยศษิ ย์ AacayneR sh gCDiNt เขา ท. ยอ่ มไป พร้อมดว้ ยอาจารย์ 109
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทัว่ ไป ปัญจมีวิภกั ติ และษัษฐวี ภิ กั ติ • ปญั จมี. ทาหน้าทบ่ี ง่ บอกทีม่ า หรอื สาเหตุ แปลว่า แต่, จาก, กวา่ , เหตุ • ษษั ฐี. ทาหนา้ ทบี่ ่งบอกความเป็นเจ้าของ แปลว่า แหง่ , ของ, เม่ือ dev (เทวดำ) วิภักติ เอก. ทว.ิ พหุ. ปญั จม.ี dve at! dve a_yam! deve_y> devāt devābhyām devebhyaḥ ษัษฐ.ี devSy devyae> devanam! devasya devayoḥ devānām ตวั อย่ำงประโยค เขา ยอ่ มไดร้ ับ ซึง่ อาหาร จากพระเจา้ แผน่ ดิน n&pat! Aahar— ivNdit ¢amat! cris ทา่ น ยอ่ มไป จากหมู่บา้ น AacaySR y rwa> -viNt รถ ท. ของอาจารย์ ย่อมมี péu ;Sy AZv— pu:yw ท่าน ท. ยอ่ มเล้ียง ซ่งึ ม้า ของบรุ ุษ 110
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทั่วไป สัปตมวี ภิ กั ติ และสัมโพธนประถมำวภิ กั ติ • สัปตมี. ทาหน้าที่บ่งบอกสถานท่ีทา แปลว่า ใน, ใกล้, ท่ี, คร้ันเมื่อ, ในเพราะ, เหนอื , บน • สัมโพธน. ทาหน้าทเ่ี ปน็ คารอ้ งเรยี ก แปลวา่ แนะ่ , ดูกอ่ น, ข้าแต่ วภิ ักติ เอก. dev (เทวดำ) พหุ. สปั ตม.ี deve ทว.ิ dve ;e u deve dve ya>e deveṣu สมั โพธน. dve devayoḥ deva> deva devaE devāḥ devau ตัวอย่ำงประโยค พระเจา้ แผน่ ดนิ ยอ่ มอยู่ ในปราสาท สุนัข ท. ยอ่ มนั่ง บนรถ ท. n&p> àasade vsit ขา้ แต่เทวดา, เรา ท. ยอ่ มต้องการ ซึง่ รถ ท. kuKkura> rwe;u sIdiNt แน่ะทาส, แพะ ท. ย่อมอ่อนเพลีย dve , rwan! #CDam> das, Aja> ïMyiNt ดังท่ีกล่าวแล้วในเบ้อื งต้นวา่ เมื่อนาวภิ ักตไิ ปประกอบกับคานามการนั ตต์ า่ งๆ จะมกี ารเปลย่ี นแปลงรปู แตกตา่ งกันไป ตอ่ ไปนี้จะเปน็ ตัวอยา่ งการแจกวิภักติ นามศัพท์ อ กำรนั ต์ ปลุ ลงิ ค์ ครบทกุ วภิ ักตแิ ละวจนะ 111
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทัว่ ไป ตวั อยำ่ งกำรแจก อ กำรันต์ ปุลลงิ ค์ วิภกั ติ dve (เทวดำ) พหุ. ประถมำ. เอก. ทวิ. ทวิตยี ำ. ตฤตยี ำ. dve > devaE deva> จตรุ ถ.ี ปัญจม.ี devaḥ devau devāḥ ษษั ฐี. สปั ตม.ี dve m! dve aE devan! สัมโพธน. devam devau devān dve en deva_yam! dev>E devena devābhyām devaiḥ dve ay deva_yam! deve_y> devāya devābhyām devebhyaḥ dve at! dve a_yam! dev_e y> devāt devābhyām devebhyaḥ dve Sy devyae> dve anam! devasya devayoḥ devānām deve devyae> dve e;u deve devayoḥ devesu dev devaE deva> deva devau devāḥ 112
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่ัวไป นำมศพั ท์ อ กำรนั ต์ ปุลลงิ ค์ Aj (แพะ) Aakaz (ทอ้ งฟา้ ) AacayR (อาจารย)์ Aahar (อาหาร) Aaedn (ข้าวสกุ ) Aa;E x (ยา, โอสถ) kuKkur (สนุ ัข) kay (กาย, รา่ งกาย) kep (ความโกรธ) g[u (คณุ , ความดี) gape al (คนเล้ียงวัว, โคบาล) care (โจร) jn (ชน, ประชาชน) jnk (พอ่ , บดิ า) tl (พ้ืน, พื้นดนิ ) dNt (ฟนั , เขี้ยว) dujRn (ทรชน) xUtR (ความเจา้ เลห่ )์ np& (พระเจ้าแผน่ ดิน) péu ; (บุรษุ ) àasad (ปราสาท) äaü[ (พราหมณ)์ rw (รถ) lake (โลก) vx (นายพราน) vl (กาลัง, พล) Vyaº (เสือ, พยัคฆ์) iz:y (ศิษย์) syU R (พระอาทติ ย)์ Sten (ขโมย) อพั ยยศพั ทบ์ างตวั อัพยยศัพท์ คือศัพท์ประเภทหนึ่งที่ไม่เปล่ียนแปลงด้วยการแจกวิภักติ สามารถนาไปใชใ้ นประโยคได้ทันที เช่น sh (พรอ้ ม, กบั ) va (หรอื ) c (ดว้ ย, และ) bih (ภายนอก, ขา้ งนอก) píat! (ข้างหลงั ) %pir (เหนือ, เบอ้ื งบน) Ax> (ใต้, เบ้ืองล่าง) 113
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทั่วไป (1.2) วิภกั ติสำเรจ็ รูป อ กำรันต์ นปุงสกลงิ ค์ วิภกั ติ เอก. ทว.ิ พห.ุ ประถมำ. ทวิตยี ำ. m! $ Aain ตฤตียำ. จตุรถี. m ī āni ปัญจม.ี ษษั ฐ.ี m! $ Aain สปั ตมี. สัมโพธน. m ī āni #n Aa_yam! @>e ina ābhyām aiḥ Aay Aa_yam! #_y> āya ābhyām ibhyaḥ Aat! Aa_yam! #_y> āt ābhyām ibhyaḥ Sy yae> Aanam! sya yoḥ ānām # yae> #;u i yoḥ isu £ $ Aain - ī āni ขอ้ สังเกต ตา่ งจาก ปลุ ลิงค์ เลก็ น้อย เฉพาะ ประถมา. เอก. ทวิ. พหุ. ทวิตยี า. ทวิ. พห.ุ และ สมั โพธน. ทวิ.พหุ. 114
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลท่ัวไป ตวั อยำ่ งกำรแจก อ กำรนั ต์ นปงุ สกลงิ ค์ วิภักติ )l (ผลไม้) พหุ. ประถมำ. เอก. ทว.ิ ทวติ ียำ. )lain ตฤตียำ. )lm! )le จตรุ ถ.ี phalāni ปญั จมี. phalam phale ษษั ฐ.ี )lain สัปตม.ี )lm! )le สมั โพธน. phalāni phalam phale )lE> )lne )la_yam! phalaiḥ phalena phalābhyām )l_e y> )lay )la_yam! phalebhyaḥ phalāya phalābhyām )l_e y> )lat! )la_yam! phalebhyaḥ phalāt phalābhyām )lanam! )lSy )lya>e phalānām phalsya phalyoḥ )le;u )le )lyae> phalesu phale phalyoḥ )lain )l )le phalāni phala phale 115
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทัว่ ไป นำมศัพท์ อ กำรนั ต์ นปงุ สกลิงค์ A{f (ไข)่ Aaè (มะม่วง) %pay (อบุ าย) kayR (การงาน) c³ (ล้อ, จกั ร) jIvn (ชีวิต) }an (ความรู้) t&[ (หญา้ ) d>u o (ทุกข)์ xaNy (ธญั ญพชื ) nÇe (ตา) pÇ (ใบไม)้ pap (บาป, ความชว่ั ) p{u y (บุญ, ความดี) p:u p (ดอกไม้) pSu tk (หนังสอื ) mNÇ (มนต)์ mr[ (ความตาย) imÇ (เพื่อน, มิตร) vcn (คาพดู ) vn (ป่า) v;R (ฝน) vSÇ (ผ้า) zrIr (ร่างกาย, สรรี ะ) sTy (ความจรงิ ) sou (ความสขุ ) suv[R (ทอง) ตวั อยำ่ งประโยค vne )lain c p:u pain pZyaim เรา ย่อมเหน็ ซ่งึ ผลไม้ ท. และซงึ่ ดอกไม้ ท. ในปา่ AZv< va kuKkru < r]is ท่าน ย่อมรกั ษา ซึง่ ม้าหรือสนุ ขั sUyR> idva va say< dIPyte พระอาทิตย์ ยอ่ มส่องแสง ตอนกลางวันหรือตอนเย็น àitidnm! syU R< c cNÔ< c pZyam เรา ท. ยอ่ มเหน็ ซง่ึ พระอาทติ ย์ และซึง่ พระจนั ทร์ ทุกวัน 116
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่ัวไป การใช้อัพยยศัพท์ c (ด้วย, และ) เป็นคาเช่ือมระหว่างคาหรือระหว่างประโยค ถ้าเช่ือมคาจะวางหลังคาหรือ ระหว่างคาก็ได้ ถ้าเชื่อมประโยคจะวางไว้ระหว่างประโยคหรือท้ายประโยค กไ็ ด้ เชน่ ควบศพั ท์ Aacay>R c iz:y> c gCDt> หรอื AacayR> c iz:y> gCDt> อาจารย์ดว้ ย ศิษย์ด้วย ยอ่ มไป หรือ อาจารย์และศิษย์ ยอ่ มไป ควบประโยค AacayR> gCDit c iz:y> AagCDit c หรอื AacayR> gCDit c iz:y> AagCDit อาจารย์ ยอ่ มไปดว้ ย ศิษย์ ย่อมมาด้วย หรอื อาจารย์ ย่อมไป และศษิ ย์ ย่อมมา va (หรอื ) เปน็ คาถาม ใช้เชื่อมคาหรือประโยคก็ได้ ถา้ เชือ่ มคาจะวางหลังคาหรือระหวา่ ง คากไ็ ด้ ถา้ เชอื่ มประโยคจะวางไวร้ ะหวา่ งประโยคหรือท้ายประโยคก็ได้ เชน่ ควบศพั ท์ AZv> va kKu kur> va oadit หรอื AZv> va kuKkru > va oadit ม้าหรือ หรอื วา่ สุนัข ย่อมกิน หรือ มา้ หรอื วา่ สนุ ขั ยอ่ มกิน 117
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป ควบประโยค AZv> AagCDit va AZv> gCDit va หรอื AZv> AagCDit va AZv> gCDit มา้ ยอ่ มมาหรือ หรอื ว่ำมา้ ย่อมไป หรอื มา้ ย่อมมา หรือวำ่ มา้ ย่อมไป bih (ภำยนอก, ข้ำงนอก) นิยมใช้คู่กบั ปัญจมีวภิ ักติ เช่น ¢amat! bih ภายนอกจากหมู่บา้ น píat! (ขำ้ งหลงั ) นิยมใช้คู่กับษษั ฐวี ภิ กั ติ เชน่ gh& Sy píat! ขา้ งหลังแหง่ เรือน %pir (เหนือ, เบอ้ื งบน) นยิ มใช้ค่กู ับษษั ฐวี ภิ กั ติ เช่น mexSy %pir เบื้องบนแห่งเมฆ Ax> (ใต้, เบอื้ งลำ่ ง) นิยมใช้คู่กบั ษษั ฐีวภิ ักติ เชน่ t[& Sy Ax> เบือ้ งลา่ งแห่งหญา้ 118
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป แบบทดสอบทา้ ยบท 1. จงทาประโยคใหส้ มบูรณ์ โดยใช้คานามทก่ี าหนดให้ __________ jyit np& (ปลุ .) พระเจา้ แผน่ ดิน __________ xavt> Añ (ปุล.) ม้า __________ vdiNt jn (ปลุ .) ชน, ประชาชน __________ r]is g&h (นปุง.) บา้ น, เรือน __________ pZyam> nÇe (นปงุ .) นัยนต์ า, ตา 2. จงแปลเป็นภาษาไทย jna> n&p< pUjyiNt jnk> AZven vn< gCDit AacayR> kuÇ iz:y< pC& Dit caera> idva c say< lMu piNt np& > ngr< va gh& < sj& aim 3. จงแปลเปน็ ภาษาสนั สกฤต โจร ท. ปล้นแล้ว ซ่งึ อาจารย์ หรือซึ่งศิษย์ เรา ท. เหน็ แลว้ ซึ่งพระอาทิตย์ หรอื ซงึ่ พระจนั ทร์ ตอนกลางวัน เสอื โครง่ กนิ แล้ว ซ่งึ แพะ ท. ของบุรุษ ศิษย์ ท. ไหว้แล้ว ซ่ึงพอ่ และซ่งึ แม่ ทกุ วัน พราหมณ์ บูชาแลว้ ซ่งึ เทวดา ท. ดว้ ยดอกไม้ ท. 119
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทัว่ ไป (2) นามศัพท์ อิ การนั ต์ นามศัพท์ท่ีลงท้ายด้วยสระอิ หรือท่ีเรียกว่า อิ การันต์ ภาษาสันสกฤตมีครบ ท้ัง 3 ลิงค์ เมื่อนาไปประกอบกับคานาม วิภักติจะมีการเปล่ียนแปลงรูป แตกต่างกันไป เพ่ือให้จดจาได้ง่ายขึ้น ให้นาวิภักติสาเร็จรูปเหล่าน้ีไป ประกอบกบั คานาม อิ กำรนั ต์ ปุลลงิ ค์ ไดเ้ ลย (2.1) วภิ กั ตสิ ำเรจ็ รปู อิ กำรนั ต์ ปุลลิงค์ วภิ ักติ เอก. ทว.ิ พหุ. ประถมำ. #> $ Ay> īḥ ī ayaḥ ทวิตยี ำ. #m! $ $n! im ī īn ตฤตยี ำ. #na #_yam! #i-> inā ibhyām ibhiḥ จตรุ ถ.ี Aye #_yam! #_y> aye ibhyām ibhyaḥ ปัญจม.ี @> #_yam! #_y> eḥ ibhyām ibhyaḥ ษัษฐ.ี @> ya>e $nam! eḥ yoḥ īnām สัปตมี. AaE ya>e #;u au yoḥ iṣu สมั โพธน. @ $ Ay> eī ayaḥ 120
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทัว่ ไป ตวั อยำ่ งกำรแจก อิ กำรนั ต์ ปลุ ลงิ ค์ วิภกั ติ miu n (ผู้รู้, มุนี) พห.ุ ประถมำ. เอก. ทวิ. ทวติ ยี ำ. mnu y> ตฤตียำ. miu n> mnu I จตรุ ถี. munayaḥ ปัญจมี. muniḥ munī ษษั ฐ.ี munIn! สัปตม.ี miu nm! munI สัมโพธน. munīn munim munī miu ni-> muinna miu n_yam! munibhiḥ muninā munibhyām miu n_y> munye miu n_yam! munibhyaḥ munaye munibhyām miu n_y> mnu >e muin_yam! munibhyaḥ muneḥ munibhyām munInam! mune> mNu yae> munīnām muneḥ munyoḥ muin;u mnu aE muNyae> muniṣu munau munyoḥ mnu y> mune mnu I munayaḥ mune munī 121
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทวั่ ไป นามศพั ท์ อิ การนั ต์ ปุลลงิ ค์ AiGn (ไฟ, เทพอัคน)ี Aitiw (แขก, ผ้มู าเยือน) Air (ข้าศึก, ศตั รู) Ais (ดาบ) Aih (ง)ู Ail (ผงึ้ ) %dix (ทะเล) \\i; (ฤาษี) kip (ลิง) kiv (กวี) igir (ภเู ขา) gh& pit (เจา้ บ้าน) jlix (ทะเล) inix (ขมุ ทรพั ย)์ np& it (พระราชา) pai[ (ฝา่ มือ) -Upit (พระเจ้าแผน่ ดิน) mi[ (แก้วมณี) miu n (ผ้รู ,ู้ มุน)ี riv (พระอาทิตย์) riZm (รัศม,ี แสง) Vyaix (โรค) sariw (คนขับรถ, สารถ)ี sne apit (เสนาบดี) ตวั อย่างประโยค พระเจา้ แผ่นดิน ชนะแลว้ ซ่ึงข้าศกึ คนขับรถ ย่อมปรารถนา ซงึ่ แก้วมณี ทส. np& > Airm! Ajyt! น้า ในทะเล ยอ่ มแหง้ sariw> m[I Sp&hyit ทรัพย์ ท. ของกวี ยอ่ มพินาศ jlxaE jl< zu:yit ศตั รู ท. ของพระราชา ยอ่ มมา kv>e xnain nZyiNt -Upte> Ary> AagCDiNt 122
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่ัวไป (2.2) วภิ กั ติสำเรจ็ รูป อิ กำรันต์ สตรีลงิ ค์ วิภักติ เอก. ทวิ. พหุ. ประถมำ. ทวิตยี ำ. #> $ Ay> ตฤตยี ำ. จตุรถ.ี īḥ ī ayaḥ ปญั จมี. ษัษฐ.ี #m! $ $> สปั ตมี. สัมโพธน. im ī īḥ ya #_yam! #i-> yā ibhyām ibhiḥ Ay,e yE #_yam! #_y> aye, yai ibhyām ibhyaḥ @> , ya> #_yam! #_y> eḥ, yāḥ ibhyām ibhyaḥ @> , ya> ya>e $nam! eḥ, yāḥ yoḥ īnām AaE, yam! ya>e #;u au, yām yoḥ iṣu @ $ Ay> e ī ayaḥ ขอ้ สังเกต ตา่ งจากปลุ ลงิ ค์เล็กน้อยเฉพาะทวติ ียา. พห.ุ และ ตฤตียา.-สัปตม.ี เอก. 123
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทั่วไป ตัวอย่ำงกำรแจก อิ กำรันต์ สตรลี งิ ค์ วภิ กั ติ mit (ความร)ู้ พห.ุ ประถมำ. เอก. ทวิ. ทวติ ียำ. mty> ตฤตียำ. mit> mtI จตุรถี. matayaḥ ปัญจม.ี matiḥ matī ษัษฐี. mtI> สัปตมี. mitm! mtI สมั โพธน. matīḥ matim matī miti-> mTya mit_yam! matibhiḥ matyā matibhyām mit_y> mtye , mTyE mit_yam! matibhyaḥ mataye, matyai matibhyām mit_y> mt>e , mTya> mit_yam! matibhyaḥ mateḥ, matyāḥ matibhyām mtInam! mte> , mTya> mTya>e matīnām mateḥ, matyāḥ matyoḥ mit;u mtaE , mTyam! mTya>e matiṣu matau, matyām matyoḥ mty> mte mtI matayaḥ mate matī 124
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทัว่ ไป นามศัพท์ อิ การนั ต์ สตรีลิงค์ $it (ความจัญไร, วบิ ัติ) kIitR (เกียรต)ิ jait (การเกดิ , กาเนดิ ) xUil (ผง, ธลุ ี) -iU t (ความเจริญ) -Uim (แผน่ ดิน) -iµ (ความภกั ดี) miu µ (ความหลุดพน้ ) yi:q (ไม้เท้า) raiÇ (กลางคืน) viu Ï (ความรู้) veid (เวที, แท่นบูชา) si& :q (การสรา้ ง) Stiu t (บทสดดุ )ี zaiNt (ความสงบ) zail (ข้าวสาลี) ตวั อย่างประโยค raÇaE hStaE A]lyt! เขา ลา้ งแลว้ ซึ่งมือ ทส. ในกลางคนื äaü[a> Stiu t< vdiNt พราหมณ์ ท. ยอ่ มกลา่ ว ซ่งึ บทสดดุ ี jna> zaiNtm! ASp&hyn! ชน ท. ปรารถนาแลว้ ซง่ึ ความสงบ buxa> miu µm! Agv;e yn! พระพทุ ธเจ้า ท. แสวงหาแลว้ ซ่งึ ความหลุดพน้ 125
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป (2.3) วิภักติสำเร็จรูป อิ กำรนั ต์ นปงุ สกลิงค์ วิภกั ติ เอก. ทวิ. พห.ุ ประถมำ. ทวติ ียำ. # #nI $in ตฤตียำ. จตรุ ถ.ี i inī īni ปัญจม.ี ษัษฐ.ี # #nI $in สัปตมี. สมั โพธน. i inī īni #na #_yam! #i-> inā ibhyām ibhiḥ #ne #_yam! #_y> ine ibhyām ibhyaḥ #n> #_yam! #_y> inaḥ ibhyām ibhyaḥ #n> #nae> $nam! inaḥ inoḥ īnām #in #nae> #;u ini inoḥ iṣu #, @ #nI $in i, e inī īni ขอ้ สังเกต ต่างจากปลุ ลิงค์เลก็ น้อยเฉพาะ ประถมา. และทวีตยี า. เอก. ทวิ. พห.ุ จตรุ ถ.ี - สปั ตมี. เอก. สมั โพธน.ทวิ. พหุ. 126
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลท่วั ไป ตัวอยำ่ งกำรแจก อิ กำรนั ต์ นปงุ สกลิงค์ วิภกั ติ vair (นา้ ) พห.ุ ประถมำ. เอก. ทวิ. ทวิตยี ำ. varIi[ ตฤตยี ำ. vair vair[I จตรุ ถ.ี vārīṇi ปัญจม.ี vāri vāriṇī ษษั ฐ.ี varIi[ สปั ตม.ี vair vair[I สัมโพธน. vārīṇi vāri vāriṇī vairi-> vair[a vair_yam! vāribhiḥ vāriṇā vāribhyām vair_y> vair[e vair_yam! vāribhyaḥ vāriṇe vāribhyām vair_y> vair[> vair_yam! vāribhyaḥ vāriṇaḥ vāribhyām varI[am! vair[> vair[a>e vārīṇām vāriṇaḥ vāriṇoḥ vair;u vairi[ vair[a>e vāriṣu vāriṇi vāriṇoḥ varIi[ vair, vare vair[I vārīṇi vāri, vāre vāriṇī 127
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป นามศพั ท์ อิ การันต์ นปุงสกลิงค์ Ai] (นัยนต์ า) ASiw (กระดูก) dix (นมสม้ ) vair (นา้ ) siKw (ขาออ่ น) ตวั อยา่ งประโยค vair[a hStaE ]lyit เขา ยอ่ มลา้ ง ซ่ึงมือ ทส. ดว้ ยนา้ Stne > dxIin Acaeryt! ขโมย ลกั แลว้ ซึ่งนมสม้ ท. Vyaxy> Ai][I pIfyiNt โรคภยั ท. ยอ่ มเบียดเบยี น ซึง่ นยั นต์ า ทส. igraE ASiw lake yam> เรา ท. ยอ่ มมองดู ซึง่ กระดกู บนภเู ขา Aitiw g&he dxIin Aoadt! แขก กินแล้ว ซ่งึ นมส้ม ท. ในเรือน 128
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่วั ไป แบบทดสอบทา้ ยบท 1. จงแปลเป็นภำษำไทย pai[_ya< zI;Rm! ASp&zt! ram> kipi-> rav[< jyit mxe a> idva Aakaze gCDiNt jna> sda riv< nmeyu> yaexa> AsIn! Avhn! 2. จงแปลเป็นภาษาสนั สกฤต เด็กชาย ท. ควรล้าง ซ่งึ ฝ่ามือ ทส. ทกุ วนั กวี ท. สรรเสรญิ แล้ว ซ่ึงพระเจา้ แผน่ ดิน ท. เรา ท. จงไหว้ ซ่งึ ฤาษี ทส. ศษิ ย์ จงอย่าขอ ซ่ึงข้าวเปลอื ก ท. พราหมณ์ จับแลว้ ซึง่ ไมเ้ ท้า ท. 129
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลทัว่ ไป (3) นามศัพท์ อุ การนั ต์ นามศัพท์ท่ีลงท้ายด้วยสระอุ หรือที่เรียกว่า อุ การันต์ ภาษาสันสกฤตมีครบ ทั้ง 3 ลิงค์ เมื่อนาไปประกอบกับคานาม วิภักติจะมีการเปลี่ยนแปลงรูป แตกต่างกันไป เพ่ือให้จดจาได้ง่ายข้ึน ให้นาวิภักติสาเร็จรูปเหล่าน้ีไป ประกอบกบั คานาม อุ กำรนั ต์ ปุลลิงค์ ได้เลย (3.1) วภิ ักตสิ ำเรจ็ รูป อุ กำรนั ต์ ปุลลงิ ค์ วภิ ักติ เอก. ทวิ. พห.ุ ประถมำ. %> ^ Av> uḥ ū avaḥ ทวติ ยี ำ. %m! ^ ^n! um ū ūn ตฤตยี ำ. %na %_yam! %i-> unā ubhyām ubhiḥ จตรุ ถ.ี Ave %_yam! %_y> ave ubhyām ubhyaḥ ปญั จม.ี Aa>e %_yam! %_y> oḥ ubhyām ubhyaḥ ษษั ฐี. Aae> vae> ^nam! oḥ voḥ ūnām สปั ตม.ี AaE va>e %;u au voḥ uṣu สมั โพธน. Aae ^ Av> oū avaḥ 130
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลท่วั ไป ตัวอย่ำงกำรแจก อุ กำรนั ต์ ปลุ ลงิ ค์ วภิ กั ติ gué (ครู) พหุ. ประถมำ. เอก. ทวิ. ทวติ ยี ำ. ตฤตียำ. gué> guê gru v> จตรุ ถ.ี ปญั จม.ี guruḥ gurū guravaḥ ษษั ฐ.ี สัปตมี. géu m! guê guên! สัมโพธน. gurum gurū gurūn géu [a géu _yam! géu i-> guruṇā gurubhyām gurubhiḥ gurve géu _yam! gué_y> gurave gurubhyām gurubhyaḥ gurae> gué_yam! géu _y> guroḥ gurubhyām gurubhyaḥ gurae> gru va>e guê[am! guroḥ gurvoḥ gurūnām guraE gurva>e gué;u gurau gurvoḥ guruṣu gru ae gêu gru v> guro gurū guravaḥ 131
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทวั่ ไป นำมศัพท์ อุ กำรนั ต์ ปุลลงิ ค์ A[u (อณ,ู อะตอม) AagNtu (ผ้มู าเยือน, แขก) #Ndu (พระจนั ทร์) #;u (ลกู ศร) \\tu (ฤดู) kte u (ธง) jNtu (สัตว์) janu (เขา่ ) té (ต้นไม้) xatu (ธาตุ) przu (ขวาน) pzu (สัตวเ์ ลย้ี ง) pa<zu (ฝุ่น) bNxu (พวกพอ้ ง) bahu (แขน) ibNdu (หยดน้า) -anu (พระอาทิตย์) i-]u (ผ้ขู อ, ภิกษุ) mnu (มนู, มนุษย์) mT& yu (ความตาย) irpu (ขา้ ศกึ ) vayu (พาย,ุ ลม) iv:[u (พระวิษณ)ุ v[e u (ไมไ้ ผ่, ขลยุ่ ) zÇu (ศัตรู) izzu (เดก็ ) saxu (นักบวช, คนดี) isNxu (แมน่ า้ สนิ ธู) snU u (ลูกชาย) setu (สะพาน) hnu (คาง) hte u (เหตุ) géu (ครู) ตวั อย่างประโยค irpv> tne setuna AagCDiNt ขา้ ศึก ท. ย่อมมา ดว้ ยสะพาน นัน้ -an>u sda lake ay lsit พระอาทติ ย์ ยอ่ มส่องแสง แกโ่ ลก ทกุ เม่อื jna> m&Tyae> n Amcu n! ชน ท. ไมพ่ น้ แล้ว จากความตาย saxv> svgR e devan! AcyeR u> นักบวช ท. พงึ บูชา ซ่ึงเทวดา ท. บนสวรรค์ 132
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลท่ัวไป (3.2) วภิ กั ติสำเร็จรูป อุ กำรนั ต์ สตรีลงิ ค์ วิภกั ติ เอก. ทวิ. พหุ. ประถมำ. ทวติ ยี ำ. %> ^ Av> ตฤตียำ. จตุรถ.ี uḥ ū avaḥ ปญั จม.ี ษัษฐี. %m! ^ ^> สปั ตม.ี สมั โพธน. um ū ūḥ va %_yam! %i-> vā ubhyām ubhiḥ Av,e vE %_yam! %_y> ave, vai ubhyām ubhyaḥ Aa>e , va> %_yam! %_y> oḥ, vāḥ ubhyām ubhyaḥ Aae> , va> vae> ^nam! oḥ, vāḥ voḥ ūnām Aa,E vam! vae> %;u au, vām voḥ uṣu Aae ^ Av> o ū avaḥ ขอ้ สงั เกต ต่างจากปุลลงิ ค์เล็กนอ้ ยเฉพาะ ทวติ ยี า. พห.ุ และ ตฤตยี า.-สัปตมี. เอก. 133
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป ตัวอยำ่ งกำรแจก อุ กำรนั ต์ สตรลี ิงค์ วิภกั ติ xne u (แม่วัว) พหุ. ประถมำ. เอก. ทวิ. ทวติ ียำ. xenv> ตฤตยี ำ. xne >u xenU จตุรถี. dhenavaḥ ปญั จมี. dhenuḥ dhenū ษษั ฐี. xen>U สปั ตม.ี xne mu ! xne U สัมโพธน. dhenūḥ dhenum dhenū xeniu -> xeNva xne _u yam! dhenubhiḥ dhenvā dhenubhyām xen_u y> xenve, xNe vEe xne _u yam! dhenubhyaḥ dhenave, dhenvai dhenubhyām xenu_y> xne a>e , xeNva> xne _u yam! dhenubhyaḥ dhenoḥ, dhenvāḥ dhenubhyām xne Unam! xne a>e , xNe va> xNe vae> dhenūnām dhenoḥ, dhenvāḥ dhenvoḥ xen;u u xne aE, xNe vam! xeNvae> dhenuṣu dhenau, dhenvām dhenvoḥ xne v> xenae xne U dhenavaḥ dheno dhenū 134
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทัว่ ไป นามศพั ท์ อุ การันต์ สตรลี ิงค์ cÁcu (จะงอยปาก) tnu (ร่างกาย) xne u (แมโ่ ค) rJju (เชือก) re[u (เกสร, เรณู) ตัวอยา่ งประโยค xenU vne t[& ain oadtam! แม่โค ทส. จงกิน ซง่ึ หญ้า ท. ในปา่ æmra> p:u pa[a< re[>U Sph& yiNt แมลงภู่ ท. ยอ่ มปรารถนา ซึ่งเกสร ท. ของดอกไม้ ท. rJjyu a gru a>e xen<u nhyt ทา่ น ท. จงมัด ซึ่งแมโ่ ค ของครู ดว้ ยเชือก bala> xne iu -> sh %*anm! gCDiNt เดก็ ชาย ท. ย่อมไป ส่อู ทุ ยาน พรอ้ มด้วยแม่วัว ท. 135
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทว่ั ไป (3.3) วิภักตสิ ำเรจ็ รปู อุ กำรันต์ นปุงสกลิงค์ วิภักติ เอก. ทวิ. พห.ุ ประถมำ. ทวิตยี ำ. % %nI ^in ตฤตียำ. จตรุ ถ.ี u unī ūni ปัญจมี. ษษั ฐ.ี % %nI ^in สัปตม.ี สัมโพธน. u unī ūni %na %_yam! %i-> unā ubhyām ubhiḥ %ne %_yam! %_y> une ubhyām ubhyaḥ %n> %_yam! %_y> unaḥ ubhyām ubhyaḥ %n> %nae> ^nam! unaḥ unoḥ ūnām %in %na>e %;u uni unoḥ uṣu %, Aae %nI ^in u, o unī ūni ขอ้ สงั เกต ตา่ งจากปุลลงิ คเ์ ลก็ นอ้ ยเฉพาะ ประถมา. และทวตี ียา. เอก. ทว.ิ พห.ุ จตุรถ.ี - สปั ตมี. เอก. สัมโพธน. ทวิ. พหุ. 136
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป ตัวอย่ำงกำรแจก อุ กำรนั ต์ นปุงสกลงิ ค์ วิภักติ mxu (นา้ ผึ้ง) พหุ. ประถมำ. เอก. ทวิ. ทวิตยี ำ. mxUin ตฤตียำ. mxu mxunI จตุรถี. madhūni ปญั จม.ี madhu madhunī ษัษฐ.ี mxUin สัปตมี. mxu mxnu I สมั โพธน. madhūni madhu madhunī mxui-> mxnu a mx_u yam! madhubhiḥ madhunā madhubhyām mxu_y> mxnu e mxu_yam! madhubhyaḥ madhune madhubhyām mxu_y> mxnu > mx_u yam! madhubhyaḥ madhunaḥ madhubhyām mxnU am! mxun> mxunae> madhūnām madhunaḥ madhunoḥ mxu;u mxuin mxunae> madhuṣu madhuni madhunoḥ mxUin mxu , mxae mxunI madhūni madhu, madho madhunī 137
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลท่วั ไป นามศพั ท์ อุ การันต์ นปงุ สกลิงค์ AMbu (น้า) Alabu (นา้ เตา้ , ฟัก) Aïu (น้าตา) talu (เพดาน) Çpu (ดีบกุ , แร่) daé (ฟืน) vsu (ทรัพย์, สมบัติ) vStu (สง่ิ ของ) ตัวอยา่ งประโยค sUnU jnkSy vsUin r]tam! ลูกชาย ทส. จงรกั ษา ซึ่งทรัพย์ ท. ของพอ่ mnv> t[& ain ma oadNtu มนษุ ย์ ท. จงอยา่ กิน ซึง่ หญ้า ท. yUy< say< daêi[ ma hrt ทา่ น ท. จงอยา่ นาไป ซง่ึ ฟนื ท. ตอนเย็น llna> lake e pu:pai[ Sph& yiNt หญงิ สาว ท. ย่อมปรารถนา ซ่งึ ดอกไม้ ท. ในโลก àja> vsiu -> vnm! Aivzn! ประชาชน ท. เข้าไปแล้ว สู่ปา่ เพอ่ื สมบตั ิ ท. 138
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป แบบทดสอบทา้ ยบท 1. จงแปลเปน็ ภำษำสนั สกฤต พระอาทติ ย์ ยอ่ มสอ่ งแสง ตอนกลางวัน เรา ท. เห็นแล้ว ซงึ่ พระจนั ทร์ ในกลางคืน ท่าน ท. จงเลยี้ งดู ซ่งึ พ่อ และซึง่ แม่ ขโมย ย่อมลกั ซง่ึ แม่โค ท. ของครู กองทัพ ของพระราม ชนะแลว้ ซึ่งราวณะ ท่าน จงรกั ษา ซึ่งสมบัติ ท. ของพอ่ ประชาชน จงเคารพ ซ่ึงคาสัง่ ของพระเจ้าแผน่ ดิน นายพราน ตดั แล้ว ซึง่ ต้นไม้ ท. ในปา่ ชาวนา ไถแล้ว ซึ่งนา ด้วยแม่โค ท. ภรรยา จงปรุง ซ่ึงอาหาร เพอ่ื สามี ท. 2. จงแปลเปน็ ภำษำไทย kaNta> vLl-Sy vSÇe[ m{fyiNt mnv> g¼aya< -a[mu ! ApUjyn! ibNd>u kskSy ]Çe e v;tR u irpv> idva ste <u triNt Aïu llnaya> Ai]-yam! A]rt! 139
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บคุ คลท่ัวไป (4) นามศพั ท์ อา การันต์ การนั ต์ทมี่ เี ฉพาะสตรีลงิ ค์ ไดแ้ ก่ อา อี และ อู การันต์ (บางตารากลา่ วว่ามใี น ปุลลิงค์ด้วย แต่ในหนังสือนี้ยึดตามแนวของหนังสือ Sanskrit Manual) ด้วยเหตุท่ีการันต์เหล่าน้ีเป็นสตรีลิงค์ทั้งหมดจึงขอนามากล่าวพร้อมกัน โดย เร่ิมจาก อา อี และ อู การันต์ ตามลาดับ เพ่ือให้จดจาได้ง่ายข้ึน ให้นาวิภักติ สาเรจ็ รปู เหลา่ นีไ้ ปประกอบกับนามศัพทไ์ ด้เลย วภิ ักตสิ ำเร็จรปู อำ กำรันต์ สตรลี งิ ค์ วภิ ักติ เอก. ทว.ิ พหุ. ประถมำ. Aa @ Aa> āe āḥ ทวิตยี ำ. Aam! @ Aa> ām e āḥ ตฤตียำ. Aya Aa_yam! Aai-> ayā ābhyām ābhiḥ จตุรถ.ี AayE Aa_yam! Aa_y> āyai ābhyām ābhyaḥ ปัญจม.ี Aaya> Aa_yam! Aa_y> āyāḥ ābhyām ābhyaḥ ษษั ฐ.ี Aaya> Aya>e Aanam! āyāḥ ayoḥ ānām สัปตมี. Aayam! Ayae> Aasu āyām ayoḥ āsu สัมโพธน. @ @ Aa> ee āḥ 140
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลทวั่ ไป ตวั อยำ่ งกำรแจก อำ กำรันต์ สตรีลิงค์ วภิ ักติ sne a (กองทพั ) พห.ุ ประถมำ. เอก. ทวิ. ทวิตียำ. sne a> ตฤตียำ. sena sne e จตรุ ถ.ี senāḥ ปญั จมี. senā sene ษัษฐ.ี sena> สัปตม.ี senam! sne e สัมโพธน. senāḥ senām sene sne ai-> senya sne a_yam! senābhiḥ senayā senābhyām sena_y> senayE sne a_yam! senābhyaḥ senāyai senābhyām sena_y> sne aya> sena_yam! senābhyaḥ senāyāḥ senābhyām sne anam! sne aya> senya>e senānām senāyāḥ senayoḥ senasu senayam! senyae> senāsu senāyām senayoḥ sena> sne e sne e senāḥ sene sene 141
ภาษาสนั สกฤตสาหรบั บุคคลท่วั ไป นามศัพท์ อา การันต์ สตรลี งิ ค์ Aa}a (คาส่ัง) Aaza (ความหวัง) kwa (เรื่องราว) kNya (สาวน้อย) g¼a (แม่น้าคงคา) kaNta (หญงิ สาว) ké[a (ความกรณุ า) tara (ดาว) inza (กลางคืน) Daya (รม่ , เงา) jra (ความชรา, แก)่ -a;a (ภาษา) mala (พวงดอกไม)้ dya (ความสงสาร) xra (แผ่นดนิ ) iv*a (ความร)ู้ zae-a (ความงาม) àawnR a (ความปรารถนา) -ayaR (ภรรยา) ymuna (แม่น้ายมนุ า) mi]ka (แมลงวนั ) mihla (ผู้หญงิ ) lJja (ความละอาย) llna (หญิงสาว) rWya (ทาง, หนทาง) z»a (ความสงสยั ) sX< ya (พลบคา่ , เวลาเยน็ ) sne a (กองทพั ) lta (เถาวัลย์) àja (ประชาชน) ตวั อยา่ งประโยค mnv> àitidnm! Aazay jIviNt มนษุ ย์ ท. ยอ่ มมชี ีวิตอยู่ ดว้ ยความหวงั ทกุ วัน llna sX< yaya< xne >U ApZyt! หญงิ สาว เห็นแล้ว ซึ่งแมโ่ ค ท. ในเวลาเยน็ -aya>R sda zae-am! @CDn! ภรรยา ท. ตอ้ งการแล้ว ซึ่งความงาม ทกุ เม่ือ 142
ภาษาสันสกฤตสาหรบั บุคคลท่วั ไป (5) นามศัพท์ อี การันต์ อี การันต์มีเฉพาะสตรีลิงค์ การแจกวิภักติส่วนใหญ่จะมีรูปคล้ายกับ อิ การันต์เพียงแต่เปล่ียน อิ เป็น อี เท่านั้น เพ่ือให้จดจาได้ง่ายข้ึน ให้นาวิภักติ สาเรจ็ รูปเหลา่ นไ้ี ปประกอบกบั นามศัพทไ์ ด้เลย วิภักติสำเร็จรปู อี กำรันต์ สตรีลงิ ค์ วิภกั ติ เอก. ทวิ. พหุ. ประถมำ. $ yaE y> ī yau yaḥ ทวิตยี ำ. $m! yaE $> īm yau īḥ ตฤตียำ. ya $_yam! $i-> yā ībhyām ībhiḥ จตุรถี. yE $_yam! $_y> yai ībhyām ībhyaḥ ปัญจมี. ya> $_yam! $_y> yāḥ ībhyām ībhyaḥ ษัษฐ.ี ya> yae> $nam! yāḥ yoḥ īnām สัปตม.ี yam! ya>e $;u yām yoḥ īṣu สมั โพธน. # yaE y> i yau yaḥ 143
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289