Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์ชาติไทย

ประวัติศาสตร์ชาติไทย

Description: ประวัติศาสตร์ชาติไทย

Search

Read the Text Version

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย เจา้ พระยาโกษาธิบดี (ปาน) เขา้ เฝ้าฯ พระเจ้าหลยุ ส์ที่ ๑๔ ณ พระราชวังแวรซ์ ายส์ ฝรั่งเศสออกไป เหตุการณ์ในตอนปลายสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เกิดความวุ่นวายทางการเมือง ในขณะที่พระองค์ทรงพระประชวรหนักที่ เมืองลพบุรี ออกญาวิไชเยนทรส์ นบั สนนุ พระปียใ์ หข้ นึ้ ครองราชย์ และวางแผน จะใหพ้ ระปียเ์ ขา้ รตี พระเพทราชาจงึ เขา้ ยดึ อำ� นาจใน พ.ศ. ๒๒๓๑ กอ่ นสมเดจ็ พระนารายณ์ มหาราชเสด็จสวรรคต ๒ เดือน และไดก้ ำ� จัดออกญาวไิ ชเยนทรแ์ ละกองก�ำลงั ฝรง่ั เศสออกไปจากกรุงศรอี ยธุ ยา หลังจากสมัยสมเดจ็ พระเพทราชาแลว้ กรงุ ศรอี ยธุ ยามกี ษตั รยิ ์ปกครอง ตอ่ มาอกี หลายพระองคแ์ ละเขา้ สสู่ ภาวะความเสอื่ มของอาณาจกั ร เนอ่ื งจากเหตุ ตา่ ง ๆ คอื 101

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ความอ่อนแอของพระมหากษัตริย์ บางครั้งพระมหากษัตริย์ท่ีทรง อ่อนแอหรือยังทรงพระเยาว์ข้ึนครองราชสมบัติก็จะถูกขุนนางช้ันผู้ใหญ่ยึด อำ� นาจและสำ� เรจ็ โทษ ดงั เชน่ เมอ่ื สมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรมเสดจ็ สวรรคต สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าชพระราชโอรสพระองคใ์ หญเ่ สดจ็ ขน้ึ ครองราชสมบตั ติ อ่ มา แตถ่ กู ออกญากลาโหมอ้างเหตุว่าเม่ือจัดงานศพมารดา ข้าราชการพากันไปช่วยงาน เป็นอันมาก ฝ่ายข้าหลวงเดิมของสมเด็จพระเชษฐาธิราชกราบทูลว่าออกญา กลาโหมจะคิดกบฏ จึงโปรดให้หาตัวออกญากลาโหมเข้าเฝ้า ออกญากลาโหม อา้ งวา่ ตนเองทำ� ราชการมาแตร่ ชั กาลกอ่ น แตย่ งั ถกู กลา่ วหาจงึ ยดึ อำ� นาจและจบั สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าชสำ� เรจ็ โทษ ยกพระอาทติ ยวงศ์ พระอนชุ าอกี พระองคห์ นง่ึ ของสมเด็จพระเชษฐาธริ าชขนึ้ ครองราชสมบตั ิ พระอาทิตยวงศ์ มีพระชนมายุ เพยี ง ๙ พรรษา มไิ ดท้ รงรอบรกู้ จิ การสงิ่ ใด ภายหลงั ออกญากลาโหมจงึ ยดึ อำ� นาจ และส�ำเร็จโทษ แล้วขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระเจ้าปราสาททอง เหตุการณ์น้ี หัวเมืองบางแห่งไม่ยอมรบั การข้นึ ครองราชย์ของพระเจา้ ปราสาททอง การแย่งชิงอ�ำนาจกัน เหตุการณ์ในลักษณะน้ีจะเห็นได้ในสมัย พระเจ้าอยหู่ วั ท้ายสระ ทรงต้งั ให้เจา้ ฟา้ พร พระอนชุ าเป็นพระมหาอุปราช แต่ ต่อมาทรงยกต�ำแหน่งอุปราชให้กับเจ้าฟ้านเรนทร์พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ เจา้ ฟา้ นเรนทรท์ รงเกรงจะเกดิ ความวนุ่ วายจงึ ออกผนวช พระเจา้ อยหู่ วั ทา้ ยสระ จึงทรงยกให้เจ้าฟ้าอภัยพระราชโอรสอีกพระองค์หนึ่ง เมื่อพระเจ้าอยู่หัวท้าย สระสวรรคต เกดิ การแยง่ ชงิ อำ� นาจระหวา่ งเจา้ ฟา้ พรกบั เจา้ ฟา้ อภยั และเจา้ ฟา้ ปรเมศร์ ในท่ีสุดเจา้ ฟ้าอภยั ไดค้ รองราชสมบตั ิ แต่การแย่งชงิ อำ� นาจกนั ครงั้ นัน้ ท�ำให้ทหารแม่ทัพนายกองที่มีฝีมือล้มตายเป็นอันมาก เป็นเหตุของความ เสอ่ื มอ�ำนาจของกรงุ ศรีอยธุ ยาประการหน่ึง ระบบการควบคุมไพร่ สถาบันทางสังคมของอยุธยาก�ำหนดให้เจ้านาย และขุนนางผู้ใหญ่มีไพร่อยู่ในสังกัดเป็นจ�ำนวนมาก การท่ีเจ้านายและขุนนาง มไี พรใ่ นสงั กดั จำ� นวนมากเทา่ กบั มกี ำ� ลงั อยใู่ นมอื จงึ มกั เกดิ กบฏ เชน่ กบฏพระยา ยมราช เจ้าเมืองนครราชสีมา และกบฏเมืองนครศรีธรรมราช ในสมัยสมเด็จ พระเพทราชา การกบฏแตล่ ะครง้ั ตอ้ งใชก้ ำ� ลงั ปราบปรามทำ� ใหเ้ กดิ ความออ่ นแอ 102

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ในขณะท่ีอยุธยาก�ำลังเสื่อมอ�ำนาจ พม่ากลับมีก�ำลังเข้มแข็ง พระเจ้า อลองพญาทรงปราบเมืองต่าง ๆ ท่ีแข็งเมืองไว้ในอ�ำนาจ ต่อมากลุ่มชาวมอญ ท่ีคิดกบฏต่อพม่า ถูกพม่าปราบหนีเข้ามาพึ่งไทยท่ีเมืองตะนาวศรี เจ้าเมือง ตะนาวศรีไม่ยอมส่งตัวขุนนางมอญให้พม่าตามขอ พระเจ้าอลองพญาจึงให้ยก กองทพั มาตีเมืองตะนาวศรแี ละเมืองมะรดิ ได้ จากนัน้ ใน พ.ศ. ๒๓๐๒ พระเจา้ อลองพญาเป็นแม่ทัพยกมาตีกรุงศรีอยุธยาแต่ไม่ส�ำเร็จ เมื่อกองทัพกลับไป พระเจา้ อลองพญาส้ินพระชนม์ระหวา่ งทาง พระเจ้ามงั ลอกข้ึนครองราชสมบตั ิ ตอ่ มา แต่อยู่ในราชสมบัตไิ ดไ้ ม่นานก็ส้นิ พระชนมใ์ น พ.ศ. ๒๓๐๖ พระเจ้ามงั ระ พระอนชุ าขนึ้ เปน็ กษตั รยิ ส์ บื ตอ่ มา และเตรยี มกำ� ลงั พลจะเขา้ มาตกี รงุ ศรอี ยธุ ยา ใน พ.ศ. ๒๓๐๗ พม่าให้มังมหานรธายกทัพเข้ามาทางเมืองมะริดและทวาย กองทัพกรุงศรีอยุธยายกไปต่อสู้แต่ต้องถอยมาตั้งอยู่ที่ราชบุรี กองทัพของ มงั มหานรธาเขา้ ตที ัพกรงุ ศรอี ยุธยาท่รี าชบุรจี นหนแี ตกพา่ ย พมา่ ยกทัพตามมา ตง้ั อยู่ทคี่ ่ายโพธ์สิ ามตน้ สว่ นอกี ทัพหนึ่งของพมา่ คือ ทพั ของเนเมยี วสหี บดี ให้ยกทพั เข้ามาทาง เหนือยกออกจากเมืองเชียงใหม่ตีหัวเมืองทางเหนือเรื่อยมา กองทัพท่ีไปต้าน ทพั เนเมยี วสีหบดสี ้ไู ม่ไดถ้ อยมาตงั้ ทีเ่ มอื งชยั นาท ใน พ.ศ. ๒๓๐๙ กองทัพพมา่ เขา้ มาล้อมกรุงศรีอยธุ ยาไว้ การตอ่ สู้กับพม่านัน้ มกี ารตอ่ สู้ท่เี ป็นวีรกรรมสำ� คัญ ของคนไทย คอื การตอ่ สขู้ องชาวบา้ นบางระจนั เมอื งสงิ หบ์ รุ ี ทร่ี วมกำ� ลงั กนั ตา้ น ทพั พมา่ อยหู่ ลายเดอื นแตใ่ นทสี่ ดุ กพ็ า่ ยแพแ้ กพ่ มา่ เนอ่ื งจากดอ้ ยกวา่ ทง้ั กำ� ลงั คน และอาวธุ ในการโจมตกี รงุ ศรอี ยธุ ยาครงั้ นี้ แมจ้ ะถงึ ฤดนู ำ�้ หลากซง่ึ เปน็ ยทุ ธวธิ ที ไี่ ทย ใชใ้ หพ้ มา่ ถอยทพั กลบั ไปไดห้ ลายครง้ั แตพ่ มา่ ไมถ่ อยทพั กลบั ทางกรงุ ศรอี ยธุ ยา กป็ อ้ งกนั เมอื งอยา่ งเตม็ ทจ่ี นเวลาลว่ งมาถงึ ฤดแู ลง้ พมา่ ใชว้ ธิ ขี ดุ รากกำ� แพงเมอื ง และสุมไฟเผาจนในท่ีสุดก�ำแพงเมืองด้านหน่ึงพังลง พม่ายกก�ำลังเข้าเมืองได้ ต้องเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี ๒ เมื่อวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๑๐ พม่าเข้า ทำ� ลายเมอื ง ปลน้ สะดมทรพั ยส์ นิ ประชาชน บา้ นเมอื งเปน็ กลยี คุ ผคู้ นตา่ งพากนั หลบหนอี อกนอกเมอื ง ผมู้ อี ำ� นาจทร่ี วบรวมกำ� ลงั คนได้ ตง้ั ตนเปน็ อสิ ระเรยี กวา่ 103

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ชุมนุม มีชุมนุมท่ีส�ำคัญคือ ชุมนุมเจ้าพิมาย ชุมนุมเจ้าพระฝาง ชุมนุมพระยา พษิ ณโุ ลก ชมุ นมุ เจา้ เมอื งนครศรธี รรมราช และชมุ นมุ ของสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ซงึ่ ตอ่ มาไดร้ วบรวมกำ� ลงั คนตอ่ สกู้ บั สกุ พ้ี ระนายกอง ซง่ึ พมา่ มอบหมาย ให้รักษากรุงศรีอยุธยาตั้งทัพอยู่ท่ีค่ายโพธ์ิสามต้น เมอ่ื ไดช้ ยั ชนะแลว้ ประกาศ อสิ รภาพ เสดจ็ ขนึ้ ครองราชสมบตั เิ ปน็ กษตั รยิ พ์ ระองคใ์ หม่ ตงั้ ราชธานแี หง่ ใหม่ ท่กี รงุ ธนบุรี ปราบปรามชุมนุมตา่ ง ๆ สรา้ งความเป็นเอกภาพให้แก่บ้านเมอื ง 104

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย สมัยธนบุรี พระบรมราชานุสาวรยี ส์ มเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช บรเิ วณวงเวยี นใหญ่ กอ่ นเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาประมาณ ๓ เดอื น สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ซง่ึ เปน็ ทหารคนส�ำคัญของกรุงศรีอยธุ ยาไดร้ วบรวมก�ำลงั คนประมาณ ๑,๐๐๐ คน ตีฝ่าวงล้อมกองก�ำลังของพม่าออกไป รวบรวมก�ำลังพลอยู่บริเวณเมือง ระยอง ชลบุรี จนั ทบรุ ี ตราด และตง้ั มั่นรวมก�ำลงั พล เสบียงอาหารอยู่ทเ่ี มอื ง จันทบุรี เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าแล้ว จึงน�ำก�ำลังไปตีค่ายพม่าท่ีค่าย โพธส์ิ ามตน้ ซงึ่ สกุ พ้ี ระนายกองรกั ษาคา่ ยอยสู่ ามารถตคี า่ ยพมา่ แตก สกุ พี้ ระนาย กองตายในทรี่ บ เปน็ การยดึ อำ� นาจคนื จากพมา่ ไดส้ ำ� เรจ็ เมอ่ื วนั ท่ี ๖ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๓๑๐ ใช้เวลาเพียง ๗ เดือน ในการกอบกอู้ สิ รภาพกลับคืนมาได้ แลว้ จงึ ปราบดาภิเษกเปน็ พระมหากษตั รยิ ์ 105

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ค่ายโพธิ์สามตน้ เนื่องจากตัวเมืองอยุธยาถูกท�ำลายเสียหายมากยากแก่การบูรณะได้ สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช จงึ โปรดใหร้ วบรวมกำ� ลังคนไปอยทู่ ่เี มอื งธนบุรี สถาปนากรงุ ธนบุรเี ปน็ เมืองหลวง สร้างพระราชวงั และโปรดให้ถอื เอาวัดแจ้ง หรือวัดอรุณราชวราราม ซง่ึ อยู่ใกลก้ ับพระราชวงั เปน็ วดั ประจ�ำพระราชวัง พระราชวงั เดิม สมยั ธนบรุ ี 106

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย การท่ีสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงเลือกตั้งเมืองหลวงอยู่ที่ธนบุรี นั้น คงเนื่องมาจากพระองค์ทรงมุ่งจะขยายอ�ำนาจไปทางด้านตะวันออกของ ประเทศคอื ลาว กมั พชู า และเวียดนามบางส่วน พระราชกรณยี กจิ ส�ำคญั ของ พระองค์ คือ การท�ำศึกสงครามป้องกันพระราชอาณาจักรและขยายไปทาง ลาวและกัมพชู า ตลอดระยะเวลา ๑๕ ปี ในรัชกาลของพระองค์ ทรงแสดงพระ ปรชี าสามารถในการรบเปน็ อยา่ งยง่ิ ในการทำ� ศกึ สงครามยอ่ มมที หารคนสำ� คญั เปน็ กำ� ลงั ในการสรู้ บ ทหารคนสำ� คญั ของพระองคไ์ ดแ้ ก่ พระยาพชิ ยั ดาบหกั ทม่ี ี ความกลา้ หาญในการรบจนดาบหักเมื่อครงั้ ปอ้ งกันเมอื งพชิ ยั ใน พ.ศ. ๒๓๑๖ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกต่อมาคือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จฬุ าโลกมหาราช เจา้ พระยาสรุ สหี ต์ อ่ มาคอื สมเดจ็ พระบวรเจา้ มหาสรุ สงิ หนาท นบั เป็นสมยั แห่งการท�ำสงครามอยา่ งแทจ้ ริง สมุดภาพไตรภูมิ 107

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย อย่างไรก็ตาม สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยังทรงประกอบพระราช กรณียกิจอ่ืน ๆ เช่น การบูรณะวัด เช่น วัดอรุณราชวราราม วัดบางยี่เรือ (วัดอินทาราม) รวมทั้งโปรดให้จัดท�ำสมุดภาพไตรภูมิพระร่วง ในตอนปลาย รชั กาลทรงหนั มาสนพระทยั พระพุทธศาสนาเป็นอย่างย่งิ ก่อนสิ้นรัชกาลเกิดภาวะวุ่นวายข้ึนเม่ือพระยาสรรค์คิดกบฏจับสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราชไปควบคุมไว้ ตั้งตนเป็นใหญ่ สมเด็จเจ้าพระยามหา กษัตริย์ศึก หรือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จยก ทัพกลับมาจากเมืองเขมร ทรงปราบกบฏพระยาสรรค์ และทรงส�ำเร็จโทษ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช แลว้ เสดจ็ ปราบดาภเิ ษกขน้ึ เปน็ ปฐมกษตั รยิ แ์ หง่ พระบรมราชจักรีวงศ์เมื่อวันท่ี ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ 108

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย สมัยรตั นโกสนิ ทร์ หลังจากท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ทรง ท�ำการปราบดาภิเษกข้ึนเป็นพระมหากษัตริย์ไทยแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ พระองค์ได้ทรงสร้างเมืองหลวง ใหม่ขึ้นทางตะวันออกของแม่น�้ำเจ้าพระยา ด้วยเห็นว่ากรุงธนบุรี มีพื้นที่คับแคบ ไม่สามารถขยายเมืองได้ เมืองหลวงใหม่นี้มีช่ือว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุทธยา มหาดิลกภพ นพรัตน์ราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศมหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยะวิษณุกรรมประสิทธิ์” ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ ได้เปล่ียนค�ำว่า บวรรตั นโกสนิ ทร์ เปน็ อมรรตั นโกสนิ ทร์ ดงั นน้ั จงึ เรยี กสมยั นวี้ า่ สมยั รตั นโกสนิ ทร์ พระบรมมหาราชวงั 109

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ตงั้ แตร่ ชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช รชั กาลที่ ๑ จนถึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ สังคมไทยยังคงใช้ รปู แบบตามอยา่ งสมยั อยธุ ยาตอนปลาย และสมยั ธนบรุ ี แตก่ ม็ กี ารดดั แปลงบา้ ง บางอย่าง และแมว้ ่าในสมยั รัชกาลท่ี ๔ เร่มิ นำ� รปู แบบจากทางตะวนั ตกเขา้ มา ใชบ้ ้างแลว้ ก็ตาม แตย่ งั ไมน่ บั วา่ เขา้ สู่ยุคใหม่ ถอื เป็นช่วงหัวเล้ยี วหวั ต่อระหวา่ ง สมัยเก่ากบั สมยั ใหม่ จึงเรยี กชว่ งสมัยนี้วา่ สมยั รัตนโกสินทรต์ อนต้น กล่าวคอื พระมหากษตั รยิ ย์ งั ทรงอยใู่ นตำ� แหนง่ สงู สดุ ของสงั คมและการปกครองประเทศ เปน็ ผทู้ รงไวซ้ ง่ึ อำ� นาจสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ รองลงมาคอื พระมหาอปุ ราชซง่ึ เปน็ เจ้าวังหน้า ต�ำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล และกลุ่มเจ้านายหรือ พระบรมวงศานุวงศ์ ซึง่ เปน็ ผูส้ ืบเชอื้ สายใกล้ชิดของพระมหากษัตริย์มีตำ� แหนง่ ลดหลัน่ กนั ลงมา ถัดมาคือ กลุ่มขนุ นาง ไพร่ และทาส พระบรมรปู พระมหากษตั รยิ ์ไทยสมยั รัตนโกสนิ ทร์ท่ปี ราสาทพระเทพบิดร การจัดระเบียบการปกครอง มีสมุหพระกลาโหมเป็นผู้ดูแลปกครอง หัวเมืองปักษ์ใต้ ฝ่ายตะวันตก สมุหนายกหรือสมุหนายกมหาดไทยเป็นผู้ดูแล ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งปวง ทั้งสองต�ำแหน่งถือเป็นอัครมหาเสนาบดี กรมท่า (ในกรมพระคลัง) ดูแลปกครองหัวเมืองชายทะเลตะวันออก ต่อจาก นัน้ ยงั มีอกี ๔ ต�ำแหนง่ รองลงมา รวมเรียกว่า เสนาบดจี ตสุ ดมภ์ ประกอบดว้ ย 110

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย เสนาบดกี รมเมอื งหรือกรมเวยี ง หรอื นครบาล ดแู ลความสงบเรยี บรอ้ ยภายใน พระนคร เสนาบดกี รมวงั ดแู ลพระราชวงั พระราชพธิ ตี า่ ง ๆ รวมถงึ ดแู ลคดคี วาม ท่ีเกิดข้ึนในเขตพระราชวัง เสนาบดีกรมพระคลัง ควบคุมดูแลการจัดเก็บภาษี อากร มีหน่วยงานย่อย ๒ กรม คือ กรมท่าซ้าย ดูแลการค้ากับจีนและชาติ ทางตะวนั ออก และกรมทา่ ขวา ดแู ลการคา้ กบั อนิ เดยี อาหรบั และชาตติ ะวนั ตก และเสนาบดกี รมนา ดูแลส่งเสริมการทำ� ไรน่ าของราษฎร ทน่ี าหลวง เกบ็ ภาษี ขา้ ว และพจิ ารณาคดคี วามเกย่ี วกบั ทนี่ า สว่ นหวั เมอื งประเทศราช หรอื ดนิ แดน ที่มปี ระชาชนพลเมอื งเปน็ ชนชาติอนื่ มกี ษตั รยิ ข์ องตนเองเปน็ ผู้ปกครอง เพยี ง แต่ยอมถวายความสวามิภักดิ์ มีเครื่องราชบรรณาการและดอกไม้ทองเงินมา ถวายเปน็ ประจำ� ปี เชน่ กมั พชู า ราชอาณาจกั รศรสี ตั นาคนหตุ อาณาจกั รลา้ นนา และหวั เมอื งมลายู เช่น ไทรบรุ ี กลันตัน ตรังกานู เปน็ ตน้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ มี การปฏิรูปประเทศให้มีความเป็นอารยประเทศ คือ มีความเป็นสากลยิ่งข้ึน คือ การรวมอ�ำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางโดยองค์พระมหากษัตริย์ ยกเลิกระบบการ ปกครองเดิม ตัง้ เปน็ กระทรวงตา่ ง ๆ ข้ึนดแู ลรบั ผดิ ชอบแทน ที่ส�ำคัญคอื การ ยกเลิกระบบไพร่ และการเลิกทาส ท�ำให้ชนชั้นกลางและชนช้ันล่างได้รับสิทธิ เสรภี าพมากขนึ้ มกี ารรบั วทิ ยาการตา่ ง ๆ ซงึ่ สว่ นใหญน่ ำ� รปู แบบมาจากตะวนั ตก จึงนับได้ว่าเริ่มเข้าสู่สมัยใหม่ จนกระท่ังรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๗ เกิดการปฏิวัติเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็น ประมขุ อยู่ภายใต้รฐั ธรรมนญู ซึ่งถอื เป็นกฎหมายสงู สดุ ของชาติ ส่งผลใหร้ ะบบ ชนชน้ั ทแ่ี บง่ เปน็ เจา้ นาย ขนุ นาง และสามญั ชน ลดความสำ� คญั ลงมาก เนอื่ งจาก รฐั ธรรมนญู ใหส้ ทิ ธแิ ละเสรภี าพแกท่ กุ คนเทา่ เทยี มกนั บคุ คลทวั่ ไปสามารถเลอื่ น ฐานะทางสงั คมและตำ� แหนง่ ได้ ชาตกิ ำ� เนดิ ไมม่ คี วามสำ� คญั มากดงั แตก่ อ่ น มกี าร ยกเลกิ บรรดาศกั ดแ์ิ ละยศขา้ ราชการพลเรอื น สามญั ชนมบี ทบาทเพม่ิ ขนึ้ ในการ ปกครองบรหิ ารประเทศ รปู แบบการปกครองนยี้ งั คงใชก้ นั อยจู่ นกระทงั่ ปจั จบุ นั แมใ้ นบางช่วงเวลาจะมีระบบเผดจ็ การเสริมเข้ามาบ้างก็ตาม 111

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๕๒) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช พระนามเดิม ดว้ ง หรือทองด้วง พระโอรสในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกซึ่งมีพระนามเดิมว่า ทองดี และพระราชชนนีมีพระนามวา่ หยก หรือดาวเรอื ง เสดจ็ พระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๒๗๙ ที่กรุงศรีอยุธยา เสดจ็ ข้ึนครองราชสมบตั ิ เป็นพระมหากษัตรยิ ร์ ัชกาลท่ี ๑ แห่งพระบรมราชจักรวี งศ์ เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๕ ทรงสถาปนาสมเดจ็ พระอนชุ าธริ าชเปน็ สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสรุ สงิ หนาท 112

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย กรมพระราชวังบวรสถานมงคล เสด็จสวรรคตเมื่อวันท่ี ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ พระชนมพรรษา ๗๓ พรรษา ทรงครองสริ ิราชสมบัติเป็นเวลา ๒๘ ปี มี พระราชโอรสและพระราชธิดารวม ๔๒ พระองค์ พระนาม “พระพุทธยอดฟ้า จฬุ าโลก” เปน็ พระนามทพ่ี ระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจา้ อยหู่ ัวถวายพระนาม พระพทุ ธรปู ทรงเครอื่ ง ๒ พระองคห์ นา้ ฐานชกุ ชพี ระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากรท่ี ทรงสรา้ งขนึ้ เพอื่ เปน็ พระพทุ ธรปู ฉลองพระองคร์ ชั กาลท่ี ๑ และรชั กาลท่ี ๒ โดย ถวายพระนามวา่ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก และพระพทุ ธเลิศหลา้ สุราลัย (ตอ่ มาเปลย่ี นเปน็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ในรชั กาลที่ ๔) และคณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ติ เม่อื วนั ที่ ๒๓ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้ถวายพระราชสมญั ญาเปน็ พระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร 113

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เปน็ ชว่ งเวลา ท่ีก�ำลังก่อสร้างบ้านเมืองให้เหมือนคร้ังบ้านเมืองดีสมัยอยุธยา มีการสร้าง พระบรมมหาราชวังและมีวัดพระศรีรัตนศาสดารามต้ังอยู่ภายในเขตพระบรม มหาราชวัง ท�ำนองเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ท่ีกรุงศรีอยุธยา มีการท�ำศึก สงครามเพื่อป้องกันและขยายประเทศออกไปอย่างกว้างขวาง ไทยต้องท�ำ สงครามกบั พม่าถึง ๗ ครง้ั โดยเฉพาะสงครามเก้าทพั เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๘ นบั เป็น สงครามครงั้ ใหญท่ ส่ี ดุ ระหวา่ งไทยกบั พมา่ ถงึ แมว้ า่ ไทยจะมกี ำ� ลงั พลนอ้ ยกวา่ มาก แตก่ ็สามารถตีทพั พม่าใหแ้ ตกพ่ายถอยกลับไป และทำ� สงครามขยายอาณาเขต ออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง ดนิ แดนลา้ นนา เขมร ลาว และหวั เมอื งมลายตู อนเหนอื มีฐานะเป็นประเทศราชของไทย รวมถึงองเชียงสือเจ้านายญวนท่ีหนีภัยกบฏ ไกเซินมาพึ่งพระบรมโพธสิ มภารจนสามารถกลับไปกู้ชาตบิ ้านเมืองได้ วัดพระศรีรตั นศาสดาราม 114

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย การจดั ระเบยี บการปกครอง ทรงยดึ แบบอยา่ งสมยั อยธุ ยา มกี ารชำ� ระ พระราชกำ� หนดกฎหมายใหถ้ กู ตอ้ งเปน็ ฉบบั หลวง เพอ่ื ใชบ้ งั คบั ทว่ั ราชอาณาจกั ร เรยี กวา่ กฎหมายตราสามดวง และโปรดใหม้ ีการทำ� สังคายนาพระไตรปิฎกใน พ.ศ. ๒๓๓๑ ท่ีวัดนิพพานาราม ปัจจุบันคือ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์ิ นับเป็นการสังคายนาครั้งท่ี ๙ ของโลก ทั้งยังโปรดให้ตรากฎพระสงฆ์ควบคุม สมณปฏบิ ตั ิ และขอ้ พงึ ปฏบิ ตั ขิ องพทุ ธศาสนกิ ชนอกี หลายฉบบั รวมทงั้ พระราช กำ� หนดกวดขันศีลธรรมข้าราชการและพลเมอื ง นอกจากน้ี พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชยงั โปรดให้ รอ้ื ฟน้ื พระราชพธิ สี ำ� คญั ๆ ครง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยามาจดั ทำ� อยา่ งถกู ตอ้ งตามแบบแผน ราชประเพณี และมีการบันทึกไว้เป็นแบบแผนสืบต่อมา เช่น พระราชพิธี บรมราชาภิเษก พระราชพธิ สี มโภชพระนคร พระราชพธิ พี ืชมงคล พระราชพิธี ถอื น้ำ� พระพิพฒั นส์ ัตยา พธิ ีทรงผนวชสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ พระราชพิธีโสกนั ต์ พระราชพิธีสมโภชพระเศวตกุญชร การออกพระเมรุและพระราชพิธีถวาย พระเพลิงหรือพระราชทานเพลิงที่ท้องสนามหลวง โปรดให้รวบรวมพระราช พงศาวดารและเอกสารสำ� คญั ของบา้ นเมอื งทก่ี ระจดั กระจายมาชำ� ระเรยี บเรยี ง ใหม่ ทรงส่งเสริมนักปราชญ์ราชกวีสร้างงานวรรณกรรมส�ำคัญ เช่น บทละคร เร่ืองรามเกียรต์ิ บทละครเรื่องอุณรุท บทละครเร่ืองดาหลังและอิเหนา เพลง ยาวรบพม่าท่ีท่าดินแดง โคลงยอพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จฬุ าโลก เป็นต้น เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคต ใน พ.ศ. ๒๓๕๒ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ซ่ึงได้ รับการสถาปนาข้ึนเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลที่พระมหาอุปราช เม่ือ พ.ศ. ๒๓๔๙ เสด็จข้ึนครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๒ แห่ง พระบรมราชจกั รีวงศ์ 115

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย (พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๓๖๗) พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชโอรสในพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระนามเดิม เจ้าฟ้าฉิม เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ ณ นิวาสสถานต�ำบลอัมพวา สมุทรสงคราม เสด็จข้ึนครอง ราชสมบัติ เมื่อวันศุกร์ที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ ทรงสถาปนาสมเด็จฯ 116

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย เจา้ ฟา้ กรมขนุ เสนานรุ กั ษ์ พระอนชุ าเปน็ สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาเสนานรุ กั ษ์ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล เสด็จสวรรคตเมื่อวันท่ี ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ พระชนมพรรษา ๕๖ พรรษา ทรงครองสิรริ าชสมบตั ิเปน็ เวลา ๑๕ ปี มพี ระราชโอรสและพระราชธดิ ารวม ๗๓ พระองค์ องคก์ าร การศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประกาศยกยอ่ งพระเกยี รตคิ ุณ ให้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเป็นบุคคลส�ำคัญของโลกใน อภลิ กั ขติ สมยั ครบ ๒๐๐ ปี แห่งพระบรมราชสมภพ เมอื่ พ.ศ. ๒๕๑๑ นับว่า ทรงเป็นคนไทยล�ำดับที่ ๓ ท่ไี ดร้ บั ประกาศเกียรติคุณน้ี รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเป็นช่วงเวลาที่บ้าน เมอื งคอ่ นขา้ งมคี วามสงบสขุ เนอื่ งจากรชั สมยั ทผี่ า่ นมา เปน็ ชว่ งทกี่ ำ� ลงั กอ่ สรา้ ง บ้านเมือง ท�ำศึกสงครามเพ่ือป้องกันและขยายดินแดนออกไปอย่างกว้างขวาง แต่ในรัชสมัยน้ี พม่าซ่ึงถือเป็นประเทศคู่สงครามที่ส�ำคัญของไทยมาตลอด จนถึงต้นรัชกาลเม่ือ พ.ศ. ๒๓๕๒ ต้องท�ำสงครามกับประเทศอังกฤษท่ีเข้ามา รุกราน ท�ำให้ไม่สามารถมาท�ำสงครามกับไทยได้ สงครามส่วนใหญ่เป็นเพียง สงครามท่ีไทยเข้าไปแก้ปัญหาการเมืองภายในของเมืองประเทศราชเท่านั้น ส่งผลให้สมัยน้ีศิลปวัฒนธรรมของชาติรุ่งเรืองอย่างมาก พระองค์ทรงส่งเสริม งานศลิ ปะทกุ ประเภท โดยเฉพาะทางวรรณคดี ถอื ไดว้ า่ เปน็ ยคุ ทองของวรรณคดี พระองคท์ รงพระราชนิพนธ์งานวรรณกรรมและบทละครตา่ ง ๆ ท่ที รงคุณค่าไว้ จ�ำนวนมาก เชน่ เสภาเรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผน (บางตอน) บทละครเร่ืองอเิ หนาซึ่ง ไดร้ บั ยกยอ่ งจากวรรณคดีสโมสรวา่ เป็นยอดแหง่ บทละครร�ำ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๙ และยงั ทรงสง่ เสรมิ กวตี า่ ง ๆ กวที มี่ ชี อื่ เสยี ง เชน่ สนุ ทรภหู่ รอื พระศรสี นุ ทรโวหาร (ภ)ู่ นายนรนิ ทรห์ รอื นายนรนิ ทรธ์ เิ บศร์ (อนิ หรอื ทองอนิ ทร)์ พระยาตรงั (สไี หน หรือสีจัน) เป็นต้น และโปรดให้สร้างสวนขวาส�ำหรับประพาสไว้ในพระบรม มหาราชวัง เพื่อแสดงให้นานาประเทศเห็นว่าไทยมีก�ำลังสร้างราชธานีใหม่ เหมอื นดงั เม่อื ครงั้ กรงุ ศรีอยธุ ยาเป็นราชธานี รชั สมยั นมี้ กี ารสงั คายนาบทสวดมนต์ ซงึ่ ไดร้ บั การยกยอ่ งเปน็ คกู่ บั การ สังคายนาพระไตรปิฎกในรัชกาลท่ี ๑ โดยโปรดให้แปลพระปริยตั ิท้ังหลายเป็น ภาษาไทย และมีการแก้ไขวิธีการสอบพระปริยัติธรรมจากเดิมแบ่งเป็น ๓ ช้ัน 117

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบรมราชานุสาวรยี ์พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั และช้างเผือก ๓ ชา้ ง ที่เขา้ มาสู่พระบารมี วดั อรุณราชวราราม คือ เปรียญตรี เปรยี ญโท และเปรยี ญเอก เปน็ กำ� หนดวธิ สี อบเปน็ ๙ ประโยค ผูส้ อบได้ ๓ ประโยคข้ึนไปนบั วา่ เปน็ เปรียญ และโปรดเกล้าฯ ใหส้ ง่ สมณทตู ไป ลงั กาเพ่ือทราบการพระศาสนาและศาสนวงศใ์ นลังกาทวปี ดว้ ย การคา้ ในรัชสมยั นเ้ี ฟ่อื งฟอู ยา่ งมาก โดยเฉพาะการคา้ กบั จนี สบื เน่ือง จากในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ไทยได้ส่งทูตและเครื่องราชบรรณาการ ไปติดต่อสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับราชส�ำนักจีนมาโดยตลอด ประกอบ กับพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือครั้งยังเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ ทรงก�ำกับราชการกรมท่า กรมพระคลังมหาสมบัติ ทรงแต่งเรือส�ำเภาหลวง และส�ำเภาส่วนพระองค์เดินทางไปค้าขายกับจีนเป็น ประจ�ำ จนพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัยทรงเรียกวา่ เจ้าสวั ทง้ั ยัง มเี รอื สำ� เภาไปค้าขายกบั จีน เขมร ญวน มลายู รวมท้ังประเทศตะวนั ตกตา่ ง ๆ เชน่ โปรตุเกส อังกฤษ นำ� รายไดเ้ ข้าสปู่ ระเทศเปน็ จำ� นวนมาก 118

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย การติดต่อกับโปรตุเกสส่งผลให้ไทยมีทหารอาสาโปรตุเกสช่วยในการ สงคราม ทัง้ ยังได้เข้ามาสอนการทำ� ปนื ไฟและการสรา้ งป้อม รวมถึงเปน็ ธุระใน การจัดหาอาวุธปืนให้ด้วย ส่วนอังกฤษเร่ิมส่งทูตเข้ามาติดต่อทางไมตรีกับไทย เน่ืองจากอังกฤษท�ำสัญญาเช่าเกาะปีนังหรือเกาะหมากจากเมืองไทรบุรีเม่ือ พ.ศ. ๒๓๓๔ โดยทไ่ี ทรบุรเี ปน็ เมอื งขึน้ ของไทย และใน พ.ศ. ๒๓๖๔ เจ้าพระยา ไทรบรุ ี (ปะแงรนั ) ไมซ่ อ่ื ตรงตอ่ ไทย จงึ โปรดใหเ้ จา้ พระยานครศรธี รรมราช (นอ้ ย) ยกกองทัพหัวเมืองปักษ์ใต้ลงไปตีเมืองไทรบุรี เจ้าพระยาไทรบุรีหนีไปอยู่เกาะ หมาก องั กฤษจงึ ตอ้ งการสง่ ทตู มาเจรจากบั ไทยเพอ่ื ขอเมอื งคนื ใหแ้ กเ่ จา้ พระยา ไทรบรุ ี นายมารค์ วิส เฮสติงส์ ผู้ส�ำเรจ็ ราชการอินเดยี ของอังกฤษท่ีเบงกอลจึง แตง่ ตงั้ ใหน้ ายจอหน์ ครอวเ์ ฟดิ หรอื ทไ่ี ทยเรยี กวา่ การะฝดั เปน็ ทตู เขา้ มาเจรจา ท้ังเร่ืองการเมืองและการค้าเมอ่ื พ.ศ. ๒๓๖๕ แต่ไม่ส�ำเร็จทัง้ ๒ อยา่ ง ไทยเพียง แตท่ ำ� หนงั สอื อนญุ าตใหพ้ อ่ คา้ องั กฤษไปมาคา้ ขายตามอยา่ งธรรมเนยี มเดมิ มไิ ด้ แกไ้ ขยกเว้นธรรมเนยี มการคา้ แต่ประการใด จอห์น ครอว์เฟิด พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั เสดจ็ สวรรคตใน พ.ศ. ๒๓๖๗ โดยมิได้มอบการสืบพระราชสันตติวงศ์ให้พระองค์ใด พระสังฆราช พระราชา คณะผู้ใหญ่ พระบรมวงศานุวงศ์ และเสนาบดีผู้ใหญ่ร่วมประชุมปรึกษาหารือ กัน เห็นควรมอบสิริราชสมบัติให้พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ รกั ษาแผน่ ดินสืบไป 119

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย รัชสมยั พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจา้ อยู่หัว (พ.ศ. ๒๓๖๗ – ๒๓๙๔) พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจา้ อยูห่ วั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเจ้าจอมมารดาเรียม (ต่อมาได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระศรีสุลาลัย) พระนามเดิม หม่อมเจ้าทับ เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจนั ทรท์ ี่ ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๓๓๐ ณ พระราชวังเดมิ กรุงธนบุรี เสดจ็ ขนึ้ 120

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ครองราชสมบตั เิ มอ่ื วนั พธุ ที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ ทรงสถาปนาพระเจา้ อา หรอื พระเจา้ ลกู เธอ พระองคเ์ จา้ อรโุ ณทยั กรมหมนื่ ศกั ดพิ ลเสพ พระราชโอรสใน พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชกบั เจา้ จอมมารดานยุ้ ใหญ่ พระ สนมเอก เปน็ สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาศกั ดพิ ลเสพ กรมพระราชวงั บวรสถาน มงคล เสดจ็ สวรรคต ณ พระทน่ี ่ังจักรพรรดพิ ิมานองคต์ ะวันตกเม่ือวันพธุ ท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๔ พระชนมพรรษา ๖๓ พรรษา ทรงครองสริ ิราชสมบัติเป็น เวลา ๒๗ ปี มีพระราชโอรสและพระราชธดิ ารวม ๕๑ พระองค์ ใน พ.ศ. ๒๕๔๐ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ถวาย พระราชสมัญญาวา่ “พระมหาเจษฎาราชเจ้า” หมายความว่า พระมหาราชเจ้า ผูม้ พี ระทยั ตงั้ มัน่ ในการบำ� เพ็ญพระราชกจิ พระบรมราชานสุ าวรยี พ์ ระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ณ ลานพลบั พลามหาเจษฎาบดินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการต้ังบ้านขึ้นเป็น เมอื ง ๒๘ เมือง โดยเฉพาะเมอื งข้ึนมหาดไทย ซ่งึ ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคอสี าน ทั้ง ยังปลูกฝังใหร้ าษฎรรว่ มกันรับผดิ ชอบหมบู่ า้ นของตน โดยตราพระราชกำ� หนด 121

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย โจรห้าเส้น เพื่อให้ราษฎรช่วยกันดูแลระมัดระวังโจรผู้ร้ายภายในรัศมี ๕ เส้น (ประมาณ ๒๐๐ เมตร) จากบา้ นเรอื นของตน หากมเี หตกุ ารณ์โจรปลน้ ราษฎร ในระยะไม่เกิน ๕ เสน้ จะต้องช่วยเจา้ หนา้ ท่ีจับโจร มิฉะนั้นจะมีความผิด และ มีการต้ังกลองวนิ จิ ฉัยเภรใี ห้ราษฎรรอ้ งทกุ ข์ถวายฎกี าได้ทุกเวลา รัชสมัยน้ีได้รับยกย่องว่ามีความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการ พระศาสนาเป็นอย่างมาก มีการแก้ไขวิธีการเก็บภาษีอากร เช่น เปลี่ยนการ เก็บอากรค่านาจากหางข้าวมาเป็นเงิน มีการต้ังภาษีอากรใหม่อีก ๓๘ ชนิด และการก�ำหนดระบบเจ้าภาษีนายอากร โดยรัฐเก็บเฉพาะภาษีท่ีส�ำคัญบาง อย่าง นอกจากน้ันให้เอกชนประมูลรับเหมาผูกขาดเก็บภาษีอากร ส่งผล ให้มีการเพ่ิมพูนรายได้แผ่นดินเป็นจ�ำนวนมาก ส่วนการค้าส�ำเภาท่ีสร้างความ ม่ังค่ังอย่างมากตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี ๒ ในปลายรัชกาลเริ่มลดความส�ำคัญลง เพราะชาวตะวันตกเร่ิมใช้เรือก�ำปั่นซ่ึงมีประสิทธิภาพดีกว่าเข้ามาท�ำการค้า แทนเรอื สำ� เภา เรือกำ� ปัน่ แบบฝรงั่ 122

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย เจดยี ์เรอื ส�ำเภาทว่ี ัดยานนาวา รัชกาลที่ ๓ โปรดเกลา้ ฯ ให้จำ� ลองจากเรอื สำ� เภาของจริง พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างและปฏิสังขรณ์วัดวา อารามและพระพุทธรูปเป็นจ�ำนวนมาก วัดท่ีสร้างขึ้นใหม่ ๔ วัด และวัดที่ได้ บูรณปฏิสงั ขรณ์ ๓๕ วัด ท้ังยังโปรดผู้ทมี่ ีศรัทธาทำ� นบุ �ำรงุ พระพทุ ธศาสนาด้วย ปรากฏว่ามีวดั ทีเ่ จ้านายและขุนนางสรา้ งขนึ้ ใหม่รวม ๑๕ วัด บรู ณปฏิสงั ขรณ์ ๑๕ วัด ท่ีถวายเป็นพระอารามหลวง ทางด้านศิลปกรรม มีลักษณะเฉพาะที่ เป็นพระราชนิยมในรัชกาลที่ ๓ เช่น การเปลี่ยนแปลงส่วนหลังคาโบสถ์ ไม่มี ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ และการนิยมประดับกระเบ้ืองเคลือบจานชามจนี อัน เป็นลักษณะผสมผสานแบบจีน เชน่ วดั ราชโอรสาราม เปน็ ต้น ทั้งยังโปรดให้มี การช�ำระพระสงฆ์ที่หย่อนพระวนิ ยั ประพฤตอิ นาจารตา่ ง ๆ ขณะนน้ั สมเด็จ เจ้าฟ้ามงกุฎ หรือ พระวชิรญาณเถโร หรือพระวชิรญาณมหาเถระ (ต่อมาคือ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ) ทรงเลง็ เหน็ ความจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งแกไ้ ข ปรบั ปรงุ ในหมคู่ ณะสงฆ์ จงึ ทรงตั้งคณะสงฆน์ ิกายใหม่ คือ ธรรมยตุ กิ นิกาย ใน พ.ศ. ๒๓๗๒ ทรงวางระเบยี บแบบแผนของพระนกิ ายใหมอ่ ยา่ งมาก จนเปน็ เหตุ ใหพ้ ระสงฆน์ กิ ายเดมิ ซง่ึ ตอ่ มาเรยี กวา่ มหานกิ าย เรมิ่ ปรบั ปรงุ ตนเองเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ทีเ่ ลอ่ื มใสศรัทธาบา้ ง เช่น การฝกั ใฝใ่ นการเรยี นพระธรรมวินัย เป็นตน้ 123

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย วดั ราชโอรสาราม ลักษณะศลิ ปกรรมแบบพระราชนยิ มในรัชกาลท่ี ๓ ในช่วงเวลาน้ัน คณะบาทหลวงและมิชชันนารีชาวตะวันตก โดย เฉพาะชาวอเมรกิ นั ไดเ้ รมิ่ เดนิ ทางเขา้ มาเผยแผศ่ าสนาครสิ ต์ และนำ� ความรทู้ าง วทิ ยาการตะวนั ตกต่าง ๆ เขา้ มาดว้ ย เช่น การแพทยแ์ ผนตะวนั ตก ยาปฏิชีวนะ การปลกู ฝี การผา่ ตดั การศกึ ษาแบบตะวนั ตก ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรส์ มยั ใหม่ ฯลฯ ในระยะแรกคนไทยยังไม่ค่อยนิยมเช่ือถือวิทยาการตะวันตกเท่าใดนัก ตอ่ มาเมื่อเห็นถงึ ประโยชน์ทเี่ กดิ ข้ึน จงึ เริม่ มคี นใหค้ วามสนใจมากขน้ึ หมอบรดั เล ผนู้ ำ� การพมิ พแ์ ละวิชาการแพทยส์ มัยใหมเ่ ข้ามาเผยแพร่ในสงั คมไทยเป็นคนแรก 124

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเกรงว่าต่อไปวิทยาการ ตา่ ง ๆ ของไทยอาจสญู หายไป จงึ โปรดใหค้ ดั เลอื กและจารกึ ตำ� ราวชิ าการตา่ ง ๆ รวมถึงตำ� รายาต่าง ๆ ของไทยไวใ้ นแผ่นศลิ าอ่อนประดับบนเสาและผนังศาลา ราย รวมถงึ รปู ฤๅษดี ดั ตนเมื่อครัง้ ปฏสิ ังขรณว์ ัดพระเชตพุ นวิมลมังคลารามคร้งั ใหญ่ใน พ.ศ. ๒๓๗๕ วธิ กี ารนี้นบั เปน็ การสงวนรกั ษาวิทยาการต่าง ๆ ของไทย ไดเ้ ป็นอย่างดี ต�ำราแพทยแ์ ผนไทยท่จี ารึกที่วัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม 125

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ฤๅษีดัดตน วดั พระเชตุพนฯ สมัยรัชกาลที่ ๓ ยังคงสง่ เครือ่ งราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดจิ ีน อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนกระทง่ั ทางจนี ไดเ้ ปลยี่ นกำ� หนดการถวายเครอ่ื งราชบรรณาการ จากสามปีต่อหน่ึงครั้งมาเป็นสี่ปีต่อหนึ่งคร้ังตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๘๒ เป็นต้นมา ส่วนความสัมพันธ์กับอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตกลง พระทัยชว่ ยองั กฤษรบพม่า เม่ือ พ.ศ. ๒๓๖๗ ไทยต้องการไดเ้ มืองเมาะตะมะ ทวาย มะริด ตะนาวศรี มาเปน็ ของไทย แตอ่ งั กฤษต้องการให้มอญเปน็ หัวเมือง ใหญข่ นึ้ กบั องั กฤษ เมอื่ เกดิ กรณพี พิ าทระหวา่ งพระยาชมุ พรกบั พนั ตรฟี ลทิ นาย ทหารองั กฤษผรู้ กั ษาเมอื งมะรดิ ไทยจงึ เรยี กเจา้ พระยามหาโยธากลบั แตอ่ งั กฤษ ยงั ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จากไทย จงึ สง่ รอ้ ยเอก เฮนรี เบอรน์ ี (กะปติ นั หนั แตร บารนี) เป็นทูตเข้ามาติดต่อทำ� สนธิสัญญาใน พ.ศ. ๒๓๖๙ มีข้อความส�ำคัญ คอื องั กฤษยอมรับทราบความเปน็ เจ้าของดินแดนมลายตู อนเหนอื คือ ไทรบุรี ตรงั กานู กลนั ตัน ของไทย แตไ่ ทยจะไมย่ กกองทัพไปรบกวน เประ หรอื สลงั งอ ซึ่งเท่ากับท้ังสองเมืองนี้เป็นอิสระจากไทยในรัชกาลนี้ และไทยยินยอมรับรอง การเช่าเกาะปีนังและมณฑลเวลสลีย์ตามสัญญาที่อังกฤษท�ำไว้กับเจ้าพระยา 126

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ไทรบุรี (ปะแงรัน) ส่วนทางการค้า พ่อค้าอังกฤษสามารถเข้ามาค้าขายได้โดย เสรี ยกเว้น ข้าว อาวุธปืน ฝิ่น และให้ยกเลิกเก็บภาษีชนิดอ่ืน เก็บภาษีปาก เรอื อยา่ งเดียว แต่เกบ็ แพงขึ้นมาก กลา่ วคอื เรอื บรรทกุ สนิ ค้าเขา้ มาเก็บวาละ ๑,๗๐๐ บาท เรอื บรรทุกอับเฉาเก็บวาละ ๑,๕๐๐ บาท จากเดิมทเ่ี คยเกบ็ เรือ สามเสาวาละ ๘๐ บาท เรอื สองเสาครง่ึ เกบ็ วาละ ๔๐ บาท แตเ่ กบ็ ภาษอี นื่ ๆ ดว้ ย รอ้ ยเอก เฮนรี เบอรน์ ี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตใน พ.ศ. ๒๓๙๔ โดยทรงมอบให้พระบรมวงศานุวงศ์และคณะเสนาบดีประชุมสรรหาเจ้านายที่ เห็นสมควรขึ้นด�ำรงสิริราชสมบัติสืบไป ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้อัญเชิญ พระวชิรญาณมหาเถระให้ทรงลาสิกขาและขึ้นเสวยราชสมบัติ เป็นพระบาท สมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว 127

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั (พ.ศ. ๒๓๙๔ - ๒๔๑๑) พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชโอรสในพระบาท สมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั และสมเดจ็ พระศรสี รุ เิ ยนทราบรมราชนิ ี พระนาม เดิม สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎ เสด็จพระราชสมภพเม่ือวันพฤหัสบดีท่ี ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเม่ือวันพุธท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๓ ทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าอิศเรศจุฑามณี กรมขุนอิศเรศ รงั สรรค์ เปน็ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระมหากษตั รยิ พ์ ระองคท์ ี่ ๒ 128

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย เสด็จสวรรคตวันพฤหัสบดีท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ พระชนมพรรษา ๖๔ พรรษา ทรงครองสริ ริ าชสมบตั เิ ป็นเวลา ๑๗ ปี ๖ เดอื น มีพระราชโอรสและ พระราชธิดารวม ๘๒ พระองค์ รัฐบาลไทยได้มีมติเทิดพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า “พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย” และ ก�ำหนดให้วันที่ ๑๘ สิงหาคมของทุกปีเป็น “วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ” และ ในโอกาสวนั พระบรมราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี วันที่ ๑๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ องคก์ าร การศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศยกย่องพระเกียรติคุณให้พระองค์เป็นบุคคลส�ำคัญของโลก สาขาการศึกษา วฒั นธรรม สงั คมศาสตร์ มานษุ ยวิทยา การพัฒนาสงั คม และ การสือ่ สาร ประจำ� ปี ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗ พระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว 129

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นช่วงเวลาที่ ชาติมหาอ�ำนาจตะวันตกโดยเฉพาะอังกฤษและฝร่ังเศสก�ำลังแข่งขันแสวงหา อาณานคิ ม ได้แผข่ ยายมายงั ประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชยี ทงั้ ประเทศทย่ี ิ่งใหญ่ อย่างจีน หรือประเทศโดยรอบอย่างพม่าและญวน ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของ จักรวรรดินิยมตะวันตกอย่างอังกฤษและฝรั่งเศส ท�ำให้พระองค์ทรงตระหนัก ว่าถึงเวลาที่ไทยต้องยอมเปิดความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก โดยทรงวาง รากฐานในการยอมรับศิลปวิทยาการแบบตะวันตก และเร่ิมปรับปรุงประเทศ ใหม้ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ แบบอารยประเทศ ทรงปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลงประเพณี บางอยา่ งเพอ่ื ใหช้ าวตา่ งชาตเิ หน็ วา่ ไทยเปน็ ประเทศทที่ นั สมยั เชน่ การใหข้ นุ นาง สวมเสอื้ เวลาเขา้ เฝา้ การใหท้ ตู ชาวตา่ งชาตยิ นื เขา้ เผา้ ฯ ในทอ้ งพระโรงไดโ้ ดยไม่ ตอ้ งหมอบคลาน ทรงแกไ้ ขและตรากฎหมายไวต้ ลอดรชั กาล ทง้ั ยงั ทรงจา้ งนาย ทหารชาวตะวนั ตกเขา้ มาฝกึ หดั ระเบยี บและยทุ ธวธิ ที หารตามแบบตะวนั ตก สง่ ผลให้เกิด “ทหารเกณฑห์ ัดอยา่ งยโุ รป” หรอื “ทหารเกณฑห์ ัดอย่างฝรั่ง” และ โปรดใหจ้ า้ งผเู้ ชย่ี วชาญชาวยโุ รปมาสำ� รวจทำ� แผนทชี่ ายแดนดา้ นตะวนั ออกทนั ที เมอื่ ฝรัง่ เศสทำ� แผนท่สี ำ� รวจดินแดนลุม่ แม่นำ้� โขง รัชสมัยนี้มีการเก็บภาษีอากรรวม ๔๖ อย่าง โดยใช้วิธีเช่นเดียวกับ รัชกาลที่ ๓ มีการจัดต้ังโรงกระษาปณส์ ิทธิการข้ึนเม่ือ พ.ศ. ๒๔๐๓ เพ่ือผลติ เงนิ เหรยี ญทองคำ� ขนึ้ ใชแ้ ทนเงนิ พดดว้ ง มกี ารสรา้ งถนนตามแบบอยา่ งตะวนั ตก คอื ถนนทม่ี คี วามกวา้ งมากขน้ึ สำ� หรบั ใชร้ ถมา้ เชน่ ถนนเจรญิ กรงุ ถนนบำ� รงุ เมอื ง ถนนเฟื่องนคร ถนนสีลม ฯลฯ ท้ังโปรดให้มีการขุดคลองเพิ่มขึ้นหลายสาย เชน่ คลองผดงุ กรุงเกษมหรือคลองคพู ระนคร เทา่ กบั เป็นการขยายตวั พระนคร ออกไปจากเดิม คลองมหาสวสั ด์ิ คลองภาษีเจริญ เป็นต้น 130

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย โรงกระษาปณส์ ทิ ธกิ าร เงนิ พดดว้ ง เหรียญเงินและเหรียญทองตรามงกุฎทำ� ขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๐๗ 131

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย แผนที่แสดงคลองขดุ ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว คลองผดุงกรงุ เกษม ขดุ เม่อื พ.ศ. ๒๓๙๔ 132

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ถนนเจริญกรุง สรา้ งเม่อื พ.ศ. ๒๔๐๔ – ๒๔๐๕ ถนนบำ� รุงเมอื ง สร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๔๐๖ 133

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระสมั พทุ ธพรรณี พระนริ ันตราย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ความส�ำคัญและ สนับสนุนธรรมยุติกนิกาย ซึ่งเป็นนิกายใหม่ที่พระองค์ทรงต้ังขึ้นในสมัย รัชกาลท่ี ๓ ขณะเดียวกันก็ทรงอุปถัมภ์และสนับสนุนคณะสงฆ์มหานิกาย ซึ่ง เป็นคณะสงฆ์ส่วนใหญ่ท่ีแพร่หลายอย่างกว้างขวางในสังคมไทยมาแต่อดีตด้วย ทรงสร้างและบรู ณปฏิสังขรณ์วัดตา่ ง ๆ ท่ีค้างมาแตร่ ัชกาลที่ ๓ ท้งั ยงั ทรงสร้าง วัดข้ึนใหม่ ๕ วัด ทรงสร้างพระพุทธรูปท่ีมีพุทธลักษณะใกล้เคียงกับมนุษย์ ท่ัวไปมากข้ึน เชน่ พระสัมพุทธพรรณี พระนิรันตราย พระพทุ ธอังครี ส รวมถึง พระสยามเทวาธิราชด้วยมีพระราชด�ำริว่า ประเทศไทยมีเหตุการณ์ที่เกือบจะ ต้องเสียอิสรภาพหลายคร้ัง แต่มีเหตุให้รอดพ้นภยันตรายมาได้เสมอ คงจะมี เทพยดาที่ศักด์ิสิทธ์ิคอยอภิบาลรักษาอยู่ สมควรท่ีจะท�ำรูปเทพยดาองค์น้ัน ข้ึนสักการบูชา รวมถึงการสร้างและปฏิสังขรณ์พุทธเจดีย์ข้ึนใหม่ตามพระราช นิยม คือ เจดีย์ทรงลังกา เช่น พระปฐมเจดีย์ พระศรีรัตนเจดีย์ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม พระเจดียว์ ดั บวรนเิ วศวิหาร เปน็ ตน้ ท้ังยงั ทรงพระราชนพิ นธ์ หนงั สอื ตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั ทางพระศาสนาไวเ้ ปน็ จำ� นวนมาก เชน่ บทสวดทำ� วตั รเชา้ บทสวดทำ� วัตรคำ�่ ซง่ึ ใช้สวดกนั ทั่วไปในปัจจุบนั 134

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระสยามเทวาธิราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงส่งทูตไปถวายเคร่ืองราช บรรณาการจกั รพรรดิจีน เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๕ แตค่ ณะทูตไทยไมส่ ามารถเดินทาง ขนึ้ ไปยังกรุงปักกิง่ เขา้ เฝา้ จักรพรรดไิ ด้ อยเู่ พียงเมอื งกวางตุ้งเทา่ นัน้ เน่ืองจาก ภายในจนี เกิดโจรกบฏไตเ้ ผ็ง ทางไทยขอตอ่ รองใหค้ ณะราชทูตไปขน้ึ บกทีเ่ มอื ง ท่าเทียนสินซ่ึงอยู่ทางเหนือและใกล้กรุงปักก่ิงมากกว่า แต่ทางจีนไม่ยินยอม เพราะผิดธรรมเนียมปฏิบัติ ทางไทยจึงใช้เป็นข้อต่อรองในการส่งเครื่องราช บรรณาการต่อมา แต่เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ไม่โปรดวิธีการส่งเคร่ืองราชบรรณาการไปจิ้มก้องจักรพรรดิจีน ซ่ึงท�ำให้จีน เข้าใจว่าไทยเป็นเมืองขึ้นของจีน อีกทั้ง จีนยังประสบปัญหาทั้งจากสงคราม ภายในประเทศ และสงครามภายนอกประเทศกบั ชาตติ ะวันตกตา่ ง ๆ ไทยจงึ ไม่ส่งเคร่ืองราชบรรณาการไปเมืองจีนอีก แต่ก็ยังคงติดต่อค้าขายกับจีน อยตู่ อ่ มา 135

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งอังกฤษทรงแต่งตั้งเซอร์จอห์น เบาวร์ งิ ผสู้ ำ� เรจ็ ราชการเมอื งฮอ่ งกง เปน็ อคั รราชทตู เชญิ พระราชสาสน์ มาเจรจา ท�ำสนธิสญั ญาทางไมตรกี ับไทยใน พ.ศ. ๒๓๙๘ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวทรงต้อนรับอย่างสมพระเกียรติ อังกฤษและสยามได้ลงนามในสนธิ สญั ญาไมตรีและพาณชิ ย์ในวนั ท่ี ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๘ ซง่ึ รูจ้ ักกนั ในนาม สนธิสัญญาเบาว์ริง ส่งผลให้เกิดการยกเลิกระบบผูกขาดของพระคลังสินค้า สามารถส่งออกและน�ำเข้าสินค้าได้ทุกชนิด ยกเว้นสินค้าข้าว ปลา และเกลือ ที่หากปีใดขาดแคลน ทางการไทยสามารถออกประกาศห้ามส่งออกได้ อาวุธ ยทุ ธภณั ฑ์ ซง่ึ ตอ้ งขายใหแ้ กร่ ฐั บาล และฝน่ิ ตอ้ งขายใหแ้ กเ่ จา้ ภาษฝี น่ิ ยกเลกิ การ เกบ็ ภาษปี ากเรอื เกบ็ ไดเ้ พยี งภาษขี าเขา้ รอ้ ยชกั ๓ สว่ นภาษขี าออกเสยี ตามพกิ ดั ตายตวั ในภาคผนวกตอ่ ทา้ ยสนธสิ ญั ญา รวมถงึ การเสยี สทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขต หรือการสูญเสียอ�ำนาจทางการศาล กล่าวคือ หากชาวอังกฤษหรือคนใน บังคับอังกฤษท�ำความผิดไม่ต้องขึ้นศาลไทย ให้ขึ้นศาลกงสุลอังกฤษแทน เซอร์จอห์น เบาวร์ งิ 136

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ไทยได้ท�ำสนธิสัญญาในท�ำนองเดียวกันนี้กับชาติตะวันตกต่าง ๆ และญ่ีปุ่น รวม ๑๓ ประเทศ เชน่ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส นอรเ์ วย์ สวีเดน เบลเยียม อติ าลี เปน็ ตน้ รฐั บาลไทยไดพ้ ยายามแกไ้ ขสนธสิ ญั ญาทไี่ มเ่ ปน็ ธรรมน้ี โดยเฉพาะเรอ่ื ง สทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขต ตง้ั แตร่ ชั กาลท่ี ๕ เปน็ ตน้ มา ซง่ึ ไทยสามารถแกไ้ ขสนธิ สัญญาวา่ ดว้ ยสทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขตได้สำ� เรจ็ ในสมยั รัชกาลที่ ๖ คณะผู้เจรจาฝา่ ยสยามกับราชทตู ปรัสเซีย (ประเทศเยอรมน)ี ในการทำ� สนธสิ ัญญา เม่อื วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๐๕ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั เสดจ็ ออกให้เมอสเิ ยอร์ เดอ มงตญิ ญี ราชทูตฝรัง่ เศส เฝ้าทที่ อ้ งพระโรงพระทน่ี ่งั อนันตสมาคม ในพระบรมมหาราชวงั พ.ศ. ๒๔๐๖ 137

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�ำริที่จะเจริญ สมั พนั ธไมตรกี บั ชาวตะวนั ตกใหแ้ นน่ แฟน้ ยงิ่ ขน้ึ จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระยามนตรี สุรยิ วงศ์ (ชุม่ บุนนาค) เปน็ ราชทตู อัญเชญิ พระราชสาส์นและเครื่องมงคลราช บรรณาการไปถวายสมเดจ็ พระราชนิ นี าถวกิ ตอเรยี แหง่ องั กฤษ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๐๐ โดยมีหม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร) เป็นล่าม และโปรด เกล้าฯ ให้พระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาธิบดี เป็นราชทูต อัญเชิญพระราช สาส์นและเคร่ืองมงคลราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดินโปเลียนท่ี ๓ แห่ง ฝรั่งเศสใน พ.ศ. ๒๔๐๓ ทั้งยังได้ทรงต้ังกงสุลสยามประจ�ำต่างประเทศหลาย แหง่ คณะราชทูตไทยเขา้ เฝ้าสมเด็จพระราชินนี าถวิกตอเรยี แหง่ อังกฤษ คณะราชทตู ไทยท่เี ดินทางไปประเทศอังกฤษ พ.ศ. ๒๔๐๐ 138

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ภาพเขียนลายเสน้ เครือ่ งมงคลราชบรรณาการ ถวายสมเดจ็ พระราชินนี าถวกิ ตอเรยี แหง่ อังกฤษ คณะราชทตู ไทยเข้าเฝ้าฯ จกั รพรรดินโปเลียนท่ี ๓ ทพี่ ระราชวงั ฟงแตนโบล ประเทศฝรงั่ เศส พ.ศ. ๒๔๐๔ 139

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย วิทยาการตะวันตกท่ีพระองค์ทรงสนพระทัยเป็นพิเศษ คือ วิชา ดาราศาสตร์ พระองค์ทรงค�ำนวณและพยากรณ์ว่าจะเกิดปรากฏการณ์ สุริยุปราคาเต็มดวง ล่วงหน้าถึง ๒ ปี และเห็นได้อย่างชัดเจนท่ีต�ำบลหว้ากอ แขวงเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในวันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ ทั้งยัง เสด็จ พระราชดำ� เนนิ ไปยงั บา้ นหวา้ กอเพอ่ื พสิ จู นผ์ ลการคำ� นวณของพระองค์ โดยเชญิ แขกตา่ งประเทศท่สี �ำคัญหลายทา่ น เช่น เซอรแ์ ฮรี ออร์ด เจา้ เมอื งสิงคโปร์ ทูต อังกฤษประจำ� ประเทศไทย ดร.บรดั เลย์ มชิ ชันนารชี าวอเมรกิ ัน พระสหายของ พระองค์ และคณะดาราศาสตรฝ์ รง่ั เศส ปรากฏวา่ ทกุ ขน้ั ตอนของสรุ ยิ คราสตรง กับท่ีทรงค�ำนวณไว้ทุกประการ พระปรีชาสามารถของพระองค์ในครั้งนี้เป็นท่ี ยอมรับในหมู่นักวิทยาศาสตร์นานาชาติ แต่เม่ือเสด็จกลับมาจากหว้ากอก็ทรง พระประชวรดว้ ยพระโรคไขม้ าลาเรยี และเสดจ็ สวรรคตในวนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๑๑ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั โปรดให้ฉายพระรูปกบั คณะแขกเมอื ง ณ ค่ายหลวงบา้ นหวา้ กอ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมิได้มอบราชสมบัติแก่ผู้ใด โดยทรงมอบให้เป็นหน้าท่ีของพระบรมวงศานุวงศ์และเสนาบดีผู้ใหญ่ประชุม ปรึกษาหารือกัน ที่ประชุมเห็นพร้อมกันกราบบังคมทูลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้า ลูกยาเธอ เจ้าฟา้ จฬุ าลงกรณ์ กรมขนุ พนิ ิตประชานาถ ข้ึนเสวยราชสมบตั ิเป็น พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว 140

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั (พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๕๓) พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว ในพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พ.ศ. ๒๔๑๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า สมเด็จ เจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณ์ เปน็ พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสด็จพระบรมราชสมภพเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จ สวรรคตในวนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๑๑ พระบรมวงศานวุ งศแ์ ละขนุ นางรว่ มกนั พจิ ารณาเหน็ ควรใหอ้ ญั เชญิ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ขน้ึ ครองราชยเ์ ป็นพระมหากษตั รยิ ร์ ัชกาลที่ ๕ แหง่ กรงุ รตั นโกสินทร์ ขณะนัน้ ทรง เจริญพระชนมายไุ ด้เพยี ง ๑๕ พรรษา กับ ๑๐ วนั ยงั ไม่บรรลพุ ระราชนิตภิ าวะ ทีป่ ระชมุ จงึ แตง่ ตั้งใหส้ มเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ิยวงศ์ (ช่วง บนุ นาค) รับ หนา้ ท่ีเปน็ ผู้ส�ำเรจ็ ราชการแผ่นดนิ แทนพระองค์ 141

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระบรมชนกนาถ เมื่อปีมะโรง พ.ศ. ๒๔๑๑ พระชนมพรรษา ๑๕ พรรษา 142

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั 143

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ตลอดระยะเวลา ๔๒ ปี แห่งรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ได้มีการปฏิรูปครั้งส�ำคัญในหลายด้าน ส่งผลให้บ้านเมืองเกิดการ พัฒนาเจริญก้าวหน้าจนเป็นท่ียอมรับของนานาประเทศและสามารถรักษา อธิปไตยของสยามมาไดต้ ราบทุกวันน้ี การปฏิรูปด้านการเมอื งการปกครอง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�ำริว่าระบบการ ปกครองเดิมท่ีมีมาตง้ั แต่สมยั อยธุ ยานนั้ ไม่เหมาะสมแก่กาลสมยั ของบ้านเมือง เพราะไม่มีการจัดระเบียบการบริหารราชการที่ชัดเจน ขอบเขตหน้าท่ีจึงมัก สับสนและซำ�้ ซ้อนกันเป็นส่วนใหญ่ จึงทรงด�ำเนินการปฏิรูปการปกครองอย่าง เปน็ ขั้นตอนนับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๑๗ เปน็ ต้นมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังสภาการแผ่นดินขึ้น ๒ สภา คือ สภาที่ปรึกษา ราชการแผน่ ดิน (Council of State) และสภาองคมนตรี (Privy Council) ใน พ.ศ. ๒๔๓๕ โปรดเกลา้ ฯ ใหแ้ กไ้ ขระเบยี บการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ สว่ นกลาง โดยให้มีหนว่ ยราชการประกอบด้วยกระทรวงตา่ ง ๆ มเี สนาบดรี ับผิดชอบงาน ของแต่ละกระทรวง ขึ้นตรงต่อพระมหากษัตรยิ ์ ส่วนการบริหารราชการแผ่นดินส่วนภูมิภาค พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนแปลงระบบการปกครองแบบ โบราณท่ีเรียกว่า“ระบบกินเมือง” มาเป็น “ระบบเทศาภิบาล” เพ่ือรวม อ�ำนาจการปกครองแผ่นดินเข้าสู่การบริหารราชการส่วนกลาง โดยมีข้าหลวง เทศาภิบาลของแต่ละมณฑลควบคุมดูแลข้ึนตรงต่อกระทรวงมหาดไทย ท�ำให้ เกิดการรวมศูนย์อ�ำนาจการปกครองแผ่นดินเข้าสู่ส่วนกลาง หัวเมืองและ ประเทศราชต่างรวมอยู่ในพระราชอาณาจักรอย่างเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน โดยพระมหากษตั รยิ ม์ พี ระราชอ�ำนาจสงู สดุ นอกจากน้นั พระองคย์ งั ทรงริเรม่ิ ให้มีการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปสุขาภิบาล เพ่ือส่งเสริมให้ท้องถิ่น ได้มีโอกาสบริหารงานเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชนในท้องถ่ิน โดยเน้นด้าน การจัดการความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในชุมชน เพ่ือเสริมสร้าง สุขอนามยั ทีด่ ีของราษฎร โดยใน พ.ศ. ๒๔๔๐ โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ัดต้ังสขุ าภบิ าล 144

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย กรุงเทพขน้ึ ภายใตก้ ารดำ� เนนิ งานของกรมสุขาภบิ าล ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๔๘ มี การจัดตั้งสุขาภิบาลหัวเมืองแห่งแรกข้ึนท่ีต�ำบลท่าฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร ท�ำให้ราษฎรเข้าใจในประโยชน์ของการสุขาภิบาลและเป็นแบบอย่างให้เกิด การจัดต้ังสุขาภิบาลในท่ีอื่นๆ ต่อไปท่ัวประเทศ กิจการสุขาภิบาลได้พัฒนา ตอ่ มาเปน็ การบรหิ ารการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในรปู แบบ “เทศบาล” ดงั ปรากฏ ในปัจจุบนั การปฏิรูปดา้ นเศรษฐกจิ การคลัง เม่ือแรกเสด็จข้ึนครองราชย์ ระบบการคลังไม่มีการควบคุมที่รัดกุม การจัดเก็บภาษีอากรร่ัวไหล ท�ำให้ไม่มีเงินส�ำหรับการท�ำนุบ�ำรุงบ้านเมือง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดให้มีการแก้ไขระเบียบการ จัดเก็บภาษีอากรและปฏิรูประบบการคลัง โดยโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งหอรัษฎากร พิพัฒน์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๑๖ เพื่อท�ำหน้าที่จัดเก็บรายได้ของแผ่นดินมารวม ไว้ในท่ีแห่งเดียวกัน และควบคุมดูแลการจัดเก็บภาษีอากรให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ปอ้ งกันไมใ่ หเ้ กดิ การคอร์รปั ช่นั ของเจา้ ภาษนี ายอากร นอกจาก นน้ั ยงั กำ� หนดพกิ ดั อตั ราภาษอี ากรใหเ้ ทา่ กนั ทว่ั ทงั้ ประเทศ ทำ� ใหเ้ กดิ ความเปน็ ธรรมแก่ผ้เู สียภาษี รัชสมัยของพระองค์มีการเปล่ียนแปลงเกี่ยวกับการเงินการคลังหลาย ประการ เชน่ ใน พ.ศ. ๒๔๓๓ โปรดเกลา้ ฯ ใหม้ กี ารจดั ทำ� งบประมาณแผน่ ดนิ ขน้ึ เป็นครั้งแรก เพื่อแยกงบประมาณแผ่นดินและเงินส่วนพระองค์ออกจากกัน โดยเดด็ ขาด และใน พ.ศ. ๒๔๔๙ โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ตง้ั ธนาคารขึ้นเป็นครั้งแรก ชอื่ วา่ สยามกมั มาจล ปจั จบุ นั คอื ธนาคารไทยพาณชิ ย์ จำ� กดั (มหาชน) นอกจาก นัน้ ยงั ทรงปรับปรงุ ระบบเงินตรา โดยให้ยกเลิกเงนิ พดดว้ ง เฟือ้ ง เสี้ยว อัฐ และ โสฬสซ่ึงเป็นเงินตราแบบเก่า โดยให้เปลี่ยนมาใช้หน่วยเงินบาทและสตางค์ แทน นอกจากนั้น ยังให้มีการต้ังโรงกระษาปณ์ข้ึนในเมืองไทย เพ่ือท�ำหน้าที่ ผลิตธนบัตรใหม้ มี าตรฐานแบบตะวนั ตก สง่ ผลใหเ้ ศรษฐกจิ การคา้ ในสมยั นข้ี ยาย ตวั มากกวา่ เดมิ 145

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ท้ังน้ี สภาพเศรษฐกิจในสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั เกิดความเปล่ียนแปลงไปมาก คือ เปลี่ยนจากเศรษฐกิจแบบยังชีพมาเป็น เศรษฐกจิ เพอื่ การคา้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ขา้ ว ทแี่ ตเ่ ดมิ เปน็ สนิ คา้ ตอ้ งหา้ มไดก้ ลาย มาเปน็ สนิ คา้ สง่ ออกทสี่ ำ� คญั ของไทย เมอ่ื ผคู้ นปลกู ขา้ วเพอ่ื การคา้ มากขนึ้ จงึ เกดิ การบกุ เบกิ ที่ดินรกร้างว่างเปลา่ จำ� นวนมากเพ่อื ขยายพื้นทเี่ พาะปลกู พระบาท สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหม้ กี ารขดุ คลองเพอ่ื เปดิ ทดี่ นิ สำ� หรบั ทำ� การเกษตร รวมทงั้ การขดุ คลองเชอื่ มแมน่ ำ้� สำ� คญั หลายสายเพอื่ ใชเ้ ปน็ เสน้ ทางคมนาคมลำ� เลยี งสนิ คา้ เชน่ คลองเปรมประชากร คลองสาทร และคลอง รังสติ จนกลา่ วได้วา่ ในรชั สมัยของพระองค์เปน็ ช่วงที่มกี ารขุดคลองมากท่สี ดุ แผนทีค่ ลองขดุ ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว 146

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว พรอ้ มดว้ ยสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินนี าถ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาประกอบพธิ เี ปิดการเดนิ รถไฟหลวงสายแรก ในพระราชอาณาจักร (สายนครราชสีมา) เม่ือวนั ที่ ๒๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๓๙ นอกจากน้ัน ยังมีการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานอื่นๆ ที่จ�ำเป็นต่อการ พฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศดว้ ย เชน่ การสรา้ งถนนเพม่ิ ขน้ึ อกี หลายสาย ทำ� ให้ เกดิ การคมนาคม ค้าขาย และสรา้ งร้านคา้ ท่ีอยู่อาศัยตามรมิ ถนน การสร้างทาง รถไฟเชื่อมต่อระหว่างกรุงเทพฯ กับหัวเมือง ท�ำให้เศรษฐกิจการค้าระหว่าง เมอื งหลวงกบั ภมู ภิ าคขยายตวั มากขน้ึ เนอ่ื งจากระยะเวลาในการเดนิ ทางสน้ั ลง และการขนส่งสนิ ค้าสะดวกย่งิ ขึน้ 147

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย การปฏิรปู ด้านสังคม การปฏริ ปู สังคมที่สำ� คัญในยุคนี้คือ การยกเลิกระบบไพร่และทาส การยกเลกิ ระบบไพร่ มคี วามสำ� คัญยงิ่ ต่อเศรษฐกจิ สังคม และการเมือง ไทย เนอื่ งจากระบบไพรเ่ ปน็ การควบคมุ กำ� ลงั คน ซงึ่ เปน็ กลมุ่ คนจำ� นวนมากของ สงั คม โดยมพี ระมหากษตั ริยเ์ ปน็ มลู นายลำ� ดบั สูงสดุ และมมี ูลนายล�ำดบั รอง ๆ ลงมา แตใ่ นความจริงพระมหากษตั ริย์จะไม่สามารถควบคมุ บรรดามูลนายและ ไพร่เหล่าน้ไี ด้โดยตรง กำ� ลงั คนจึงกระจัดกระจายขึ้นอย่กู ับเจ้านายของตนเปน็ ส่วนใหญ่ ประกอบกับสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นเศรษฐกิจเพ่ือการ ส่งออก ท�ำให้เกิดความต้องการแรงงานอิสระจ�ำนวนมากในการผลิตทางการ เกษตร ทำ� ให้มีพระราชด�ำริเปล่ยี นแปลงระบบไพร่ข้นึ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงด�ำเนินการยกเลิก ระบบไพร่อย่างเป็นขั้นตอน โดยให้มีการจ่ายเงินเดือนแก่ข้าราชการแทนการ พระราชทานไพร่ และให้แปลงไพร่สมมาเป็นไพร่หลวงข้ึนตรงต่อวังหลวง ใน พ.ศ. ๒๔๔๘ มีการออกพระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร ก�ำหนดให้ชาย ฉกรรจ์อายุ ๑๘ ปบี รบิ รู ณ์ จะตอ้ งเข้ารับราชการทหารแทนการเปน็ ไพร่ ท�ำให้ ระบบไพร่ถูกยกเลิกไปโดยปริยาย เกิดการรวมอ�ำนาจเข้าสู่พระมหากษัตริย์ แทนการปล่อยให้บรรดาเจ้าขุนมูลนายควบคุมก�ำลังพลอย่างที่เคยเป็นมา ท้ัง ยงั มสี ว่ นชว่ ยใหร้ ะบบเศรษฐกจิ แบบยงั ชพี พฒั นาไปเปน็ การผลติ เพอ่ื การคา้ มาก ย่ิงข้ึน เพราะผู้คนสามารถอพยพย้ายถิ่นฐานและเลือกประกอบอาชีพได้อย่าง อสิ ระ ทำ� ให้มีแรงงานเพอ่ื การผลติ ทางการเกษตรเพมิ่ มากขน้ึ ส่วนการเลิกทาส เป็นเรื่องท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวมีพระราชประสงค์มาตั้งแต่เสด็จข้ึนครองราชย์ แต่ทรงตระหนักดีว่าการ เลิกทาสเป็นเรื่องยาก จึงด�ำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป เริ่มด้วยการออก “พระราชบัญญัติพิกัดกระเษียรอายุลูกทาษลูกไทย” พ.ศ. ๒๔๑๗ ก�ำหนดให้ ลูกทาสทุกคนท่ีเกิดในรัชกาลของพระองค์นับต้ังแต่ปีมะโรง พ.ศ. ๒๔๑๑ ซง่ึ เปน็ ปที เี่ สด็จขนึ้ ครองราชสมบัติ และท่ีเกดิ ในปตี ่อ ๆ มา เมอื่ อายคุ รบ ๒๑ ปี จะเปน็ ไทแก่ตัวพ้นจากการเป็นทาสในท่สี ุด นอกจากนัน้ ยังสละพระราชทรัพย์ สว่ นพระองค์ เพอื่ นำ� ไปไถถ่ อนทาสซง่ึ อยกู่ บั นายทาสมาครบ ๒๕ ปี ใหเ้ ปน็ อสิ ระ 148

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ในสว่ นภูมภิ าค พระองคโ์ ปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบญั ญัตเิ ลิกทาสในมณฑล ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รวมท้งั ใหเ้ ลกิ บ่อนเบยี้ อันเป็นสาเหตหุ นึ่งทที่ �ำให้ เกิดการซื้อขายทาส จนถึง พ.ศ. ๒๔๔๘ มีการประกาศให้ลูกทาสทุกคนเป็น ไท สว่ นทาสอน่ื ใหล้ ดคา่ ตวั ลงเดือนละ ๔ บาทจนกวา่ จะหมด และห้ามมใิ ห้มี การค้าทาสกันอีกต่อไป ท�ำให้การเลิกทาสในเมืองไทยส�ำเร็จได้โดยปราศจาก ความวนุ่ วายเสียเลอื ดเนื้อแต่ประการใด ครแู ละนกั เรียนภายในหอ้ งเรียนเมือ่ เร่ิมมีการปฏิรปู การศกึ ษา ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงให้ความส�ำคัญกับ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรอย่างมาก โดยทรงปฏิรูปการศึกษาและ ส่งเสริมให้ราษฎรมีโอกาสเข้ารับการศึกษาอย่างทั่วถึงข้ึน ด้วยทรงเห็นว่า การสร้างคนรุ่นใหม่ที่ได้รับการศึกษาแบบตะวันตกเป็นพื้นฐานส�ำคัญของการ พัฒนาบา้ นเมือง จึงทรงให้จัดตั้งโรงเรียนหลวงแห่งแรกขนึ้ ในพระบรมมหาราช วงั เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๔ ตอ่ มา มพี ระราชดำ� ริขยายการศกึ ษาไปสรู่ าษฎรอย่างท่ัว ถงึ มากขน้ึ จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ตงั้ โรงเรยี นหลวงสำ� หรบั ราษฎรขนึ้ เปน็ แหง่ แรก ที่วัดมหรรณพาราม เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๒๗ และขยายท่ัวประเทศใน พ.ศ. ๒๔๔๑ ตลอดรัชสมัยของพระองค์มีโรงเรียนเกิดขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก ทั้งโรงเรียน หลวง โรงเรียนราษฎร์ โรงเรียนส�ำหรับสตรี รวมทั้งโรงเรียนส�ำหรับวิชาชีพ เช่น โรงเรียนฝึกหัดครู โรงเรียนนายร้อยทหารบก โรงเรียนราชแพทยาลัย และโรงเรียนกฎหมาย เป็นต้น นับเป็นการจัดระบบการศึกษาของประเทศ เปน็ คร้ังแรก 149

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย นอกจากนัน้ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวได้ทรงใหม้ ีการ ปรับปรุงการสาธารณูปโภคและสาธารณสุขเพื่อให้ราษฎรมีสุขภาพอนามัย ที่ดี โดยทรงริเริ่มกิจการด้านไฟฟ้าและประปาให้มีข้ึนเป็นคร้ังแรก ส่วนด้าน การแพทย์และการสาธารณสุข ในยุคนี้มีการรับวิทยาการจากการแพทย์แบบ ตะวันตกมากข้ึน เช่น ยารักษาโรค การผ่าตัด การปลูกฝีและการปลูกทรพิษ การผ่าตัดอวัยวะ ตลอดจนการท�ำสูติกรรมแบบตะวันตก รวมทั้งเร่ิมมีการให้ บริการด้านการแพทย์ในโรงพยาบาล และการจัดการเรียนการสอนเพื่อผลิต บุคลากรทางการแพทย์ตามหลักวิชาการแพทย์ตะวันตก ท้ังนี้ ได้มีการก่อต้ัง โรงพยาบาลขนึ้ เปน็ ครง้ั แรก ใน พ.ศ. ๒๔๓๑ นามวา่ โรงศริ ริ าชพยาบาล ปจั จบุ นั คอื โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลศริ ริ าชในสมยั แรกตั้ง เป็นอาคารไมท้ ่ีรื้อมาจากอาคารทป่ี ลูกลอ้ มพระเมรุ ในงานถวายพระเพลงิ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟา้ ศริ ิราชกกุธภณั ฑ์ การเรยี นผ่าตัดของนักเรยี นแพทย์สมยั แรก วชิ ากายวิภาคศาสตร์ ตามแผนปัจจบุ นั เรมิ่ เมอ่ื ก่อตง้ั โรงเรียนแพทยใ์ นพ.ศ. ๒๔๓๒ 150


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook