Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์ชาติไทย

ประวัติศาสตร์ชาติไทย

Description: ประวัติศาสตร์ชาติไทย

Search

Read the Text Version

กรมศลิ ปากร กระทรวงวัฒนธรรม พมิ พ์เผยแพร่ พุทธศักราช ๒๕๕๘

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ประวตั ิศาสตร์ชาติไทย กระทรวงวฒั นธรรม กรมศิลปากร จดั พิมพเ์ ผยแพรค่ รั้งแรก พ.ศ. ๒๕๕๘ จำ� นวน ๑๐,๐๐๐ เลม่ ลิขสิทธข์ิ องกรมศลิ ปากร ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของส�ำนักหอสมดุ แหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร. ประวัติศาสตรช์ าตไิ ทย.-- กรงุ เทพ : กรม, 2558 208 หน้า 1. ไทย--ประวตั ิศาสตร.์ I. ช่ือเร่อื ง. 959.3 ISBN 978-616-283-225-3 ที่ปรกึ ษา อธบิ ดีกรมศิลปากร นายบวรเวท ร่งุ รจุ ี นักโบราณคดีทรงคุณวุฒิ นายสมชาย ณ นครพนม รองอธบิ ดกี รมศลิ ปากร นางสุนสิ า จิตรพันธ์ ผู้อำ� นวยการสำ� นักวรรณกรรมและประวตั ิศาสตร์ นายบุญเตือน ศรวี รพจน์ คณะบรรณาธกิ าร นายบัณฑติ ลิ่วชัยชาญ นายธีระ แกว้ ประจนั ทร ์ นายธนั วา วงศเ์ สงยี่ ม นางสาวเปรมา สัตยาวฒุ พิ งศ ์ นายธรี ะยุทธ์ สวุ ลกั ษณ์ นางสาวระชา ภุชชงค ์ นายชยั สิทธ์ิ ปะนันวงค์ ประสานงานการพมิ พ์ นางสาวศิริพร ดีย่งิ นางวรานี เนยี มสอน ภาพประกอบ ส�ำนกั หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ กลมุ่ เผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์ สำ� นกั บริหารกลาง ศลิ ปกรรม / พมิ พท์ ่ี บริษทั รุง่ ศิลป์การพมิ พ์ (๑๙๗๗) จ�ำกดั 2

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย 3

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ค�ำนำ� พระราชดำ� รขิ องสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เกย่ี ว กับการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ปรากฏในหนังสือเพราะขอบฟ้ากว้าง เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๗ วา่ ... เพื่อให้รู้ว่าบ้านเมืองของเรามีอะไรบ้าง มีคุณสมบัติที่ดี อย่างไร ได้รู้ว่าบรรพบุรุษปู่ย่าตายายของเราประสบความยาก ล�ำบากอย่างไร ด�ำเนินชีวิตมาอย่างไร หรือว่าต่อสู้อย่างไร ใน การปกปอ้ งบา้ นเมอื งใหเ้ รามที อี่ ยทู่ อ่ี าศยั จนทกุ วนั น้ี เมอ่ื รคู้ วาม เปน็ มาของชาติ กจ็ ะมคี วามมนั่ ใจในการทจี่ ะรกั ษาชาตบิ า้ นเมอื ง รักษาอาณาประชาชนสืบตอ่ ไป มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ บา้ นเมือง และสังคม... ทง้ั นี้ รฐั บาลนำ� โดยพลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ตระหนกั ถึงความส�ำคัญของประวัติศาสตร์ชาติไทย โดยมีแนวคิดสร้างการรับรู้เกี่ยวกับ วฒั นธรรมของชนชาตไิ ทยใหเ้ ดก็ เยาวชน และประชาชนมคี วามภาคภมู ใิ จ และ ให้นานาชาติได้รับรู้ถึงประวัติศาสตร์ของชาติไทยที่มีสืบทอดกันมาเป็นเวลา ยาวนาน อีกทั้งประวัติศาสตร์ยังเป็นรากฐานที่ส�ำคัญของการด�ำรงอยู่ของชาติ ไทยและความเป็นไทยในปจั จุบัน 4

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย เพ่อื ด�ำเนนิ การตามจดุ มงุ่ หมายดงั กล่าวขา้ งตน้ กระทรวงวัฒนธรรม ใน ฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจในเรื่องการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และเผยแพร่มรดกทาง วฒั นธรรมซงึ่ ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของประวตั ศิ าสตรไ์ ทย จงึ จดั พมิ พห์ นงั สอื ประวัติศาสตร์ชาติไทย อันเป็นการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติ ไทยโดยสังเขป น�ำเสนอแบบใหอ้ า่ นและเข้าใจได้ทกุ กล่มุ วยั สามารถจดจำ� และ ถา่ ยทอดไดง้ า่ ย รวมถงึ เผยแพรพ่ ระมหากรณุ าธคิ ณุ พระเกยี รตคิ ณุ ของพระมหา กษัตรยิ ์และบรรพบุรษุ ไทยในแต่ละยุคสมยั จวบจนปจั จุบัน ในนามของกระทรวงวัฒนธรรม ผมหวงั เปน็ อย่างย่งิ ว่า หนงั สือเลม่ นี้จะ เกดิ ประโยชนแ์ ละมสี ว่ นสำ� คญั ในการศกึ ษาเรยี นรู้ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนชาวไทย มีความรัก ความภาคภูมิใจในความเป็นเอกราชอันยาวนาน และร่วมกันธ�ำรง รักษาส่ิงที่ดีงามจากรุ่นสู่รุ่น ตลอดจนความพร้อมในการมีส่วนร่วมอันจะน�ำมา ซ่ึงความเจริญรงุ่ เรอื งของชาตอิ ย่างมน่ั คงยง่ั ยืนสืบไป (นายวรี ะ โรจน์พจนรตั น)์ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงวัฒนธรรม 5

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ค�ำช้ีแจง กรมศิลปากรได้รับมอบหมายจากกระทรวงวัฒนธรรมให้จัดท�ำหนังสือ ประวัติศาสตรช์ าตไิ ทยทสี่ ามารถอ่านเขา้ ใจไดง้ ่ายอย่างรวดเรว็ เพอื่ เผยแพรแ่ ก่ ประชาชนโดยทั่วไป ในการน้ี กรมศลิ ปากรได้แต่งตัง้ คณะท�ำงานจัดทำ� ต้นฉบบั หนงั สอื ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย โดยมี นางสนุ สิ า จติ รพนั ธ์ รองอธบิ ดกี รมศลิ ปากร เปน็ ประธาน มอบหมายใหน้ กั วชิ าการสำ� นกั วรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ และ กองโบราณคดีเป็นผู้เรียบเรียง และได้รับความอนุเคราะห์จาก ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร พลตรี หมอ่ มราชวงศศ์ ุภวัฒย์ เกษมศรี รวมท้งั นักวชิ าการ กรมศลิ ปากร ใหค้ ำ� ปรึกษาแนะน�ำ หนงั สอื ทเี่ กยี่ วกบั ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทยมปี รากฏอยมู่ ากมายในรปู แบบ ของตำ� ราเรียน งานวิจัย บทความทางวิชาการ บทความในหนงั สือพิมพ์ หนงั สือ ทเ่ี ขยี นโดยนกั ประวตั ศิ าสตรส์ มคั รเลน่ สารคดเี ชงิ ประวตั ศิ าสตร์ รวมทง้ั นวนยิ าย องิ ประวตั ศิ าสตร์ แตห่ นงั สอื ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยโดยสงั เขปมไี มม่ ากนกั เมอ่ื พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปรารภว่าคนไทยไม่ค่อยรู้ประวัติศาสตร์ ชาติไทย กระทรวงวัฒนธรรมจงึ เห็นเป็นภาระหนา้ ท่ีส�ำคญั ในการจดั ทำ� หนงั สอื เล่มนี้ เพื่อเผยแพร่ความรู้ในวงกว้าง กรมศิลปากรโดยส�ำนักวรรณกรรมและ ประวตั ศิ าสตร์ มหี นา้ ทโ่ี ดยตรงในการศกึ ษา สอบคน้ และเผยแพรค่ วามรทู้ างดา้ น ประวตั ศิ าสตร์ ซง่ึ ไดจ้ ดั ทำ� งานศกึ ษาคน้ ควา้ ทางดา้ นประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ หลกั และ งานสำ� คญั ทจี่ ดั ทำ� ควบคกู่ นั ไป คอื งานเผยแพรเ่ อกสารชน้ั ตน้ ทางประวตั ศิ าสตร์ ทยี่ งั ไมเ่ คยพมิ พเ์ ผยแพร่ รวมทงั้ งานตรวจสอบชำ� ระเอกสารชน้ั ตน้ ทเ่ี ผยแพรแ่ ลว้ เพ่อื ความถกู ตอ้ งในการน�ำมาใช้ศกึ ษาอา้ งองิ เพราะเป็นเอกสารส�ำคัญของชาติ แต่การประมวลความรู้เพ่ือน�ำมาจัดท�ำประวัติศาสตร์ชาติไทยในภาพรวมมีไม่ มากนัก จึงเป็นโอกาสอันดีท่ีจะได้จัดทำ� หนงั สือเลม่ นขี้ ้นึ 6

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย หนังสือเล่มน้ี มีจุดมุ่งหมายให้ผู้อ่านมีความเข้าใจถึงความเป็นมาของ คนที่อยู่ในผืนแผ่นดินที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน ทั้งนี้ เพราะชีวิตในอดีต ไม่มีพรมแดน การก�ำหนดเส้นเขตแดนของประเทศเกิดข้ึนในตอนต้นสมัย รัตนโกสินทร์นี้เอง เป็นผลที่เกิดจากการขยายตัวของจักรวรรดินิยมตะวันตก การท่ีจะเข้าใจปัจจุบันว่าสังคมไทยเป็นเช่นนี้ได้อย่างไร ก็ควรดูย้อนหลังไปใน อดีตว่ามีพัฒนาการมาอย่างไร ขอบเขตของหนังสือเล่มน้ีก�ำหนดเป็นช่วงเวลา ตามความคนุ้ เคยของคนไทยทไี่ ดร้ บั รมู้ าจากแบบเรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตร์ กลา่ ว คอื แบ่งเปน็ สมัยกอ่ นสุโขทัย สโุ ขทยั อยธุ ยา ธนบุรี และรัตนโกสนิ ทร์ ซ่ึงจะ เรียบเรียงมาจนถึงเหตุการณ์ร่วมสมัยในปัจจุบัน โดยมอบหมายให้นักวิชาการ ของกรมศลิ ปากรแบง่ กนั ไปเรียบเรียงตามช่วงสมยั กรมศิลปากรหวังว่า หนังสือเล่มนี้จะมีส่วนท�ำให้คนไทยได้รู้จักภูมิหลัง ของชาติไทย รู้ถึงการสร้างสรรค์ และส่ังสม เทคโนโลยี อารยธรรม และ วัฒนธรรม ท่ีกลายมาเป็นเลือดเน้ือของคนไทย รู้และเข้าใจถึงความแตกต่าง ของคนไทยทมี่ ีภูมิหลังมาจากถนิ่ ตา่ ง ๆ มีความคิด ความเชือ่ วัฒนธรรมท่ีแตก ต่างกัน แต่สามารถอยู่ร่วมกันมาได้อย่างสุขสงบ รู้ถึงความยากล�ำบากในการ ต่อสู้เพ่ือปกป้องบา้ นเมือง ซึ่งในอดีตการคุกคามมาในรปู แบบสงคราม ปัจจบุ ัน มีความซับซ้อนมากขึ้นโดยเฉพาะการรุกรานทางเศรษฐกิจ บทเรียนจากอดีต เป็นปัจจยั ส�ำคญั ประการหนึ่งที่จะชว่ ยแก้ปญั หาในปัจจบุ นั กรมศิลปากรขอขอบคุณทุกท่านท่ีมีส่วนช่วยผลักดันให้หนังสือเล่มนี้ได้ มีโอกาสเผยแพร่ต่อประชาชน (นายบวรเวท รุ่งรจุ ี) อธบิ ดกี รมศลิ ปากร 7

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย สารบัญ ค�ำปรารภ ๑๑ คำ� น�ำ ๓๓ ค�ำชแ้ี จง ๓๓ สารบัญ ๓๖ บทนำ� ๓๘ แผน่ ดนิ ผคู้ น และพัฒนาการบา้ นเมอื งในดินแดนประเทศไทย ๔๑ ภูมศิ าสตร์ทีต่ ัง้ ๔๘ คนไทยและผู้คนในดนิ แดนประเทศไทย ๕๔ ถ่นิ ก�ำเนดิ ของคนไทย ๕๕ แรกเริม่ มีผ้คู นและชมุ ชนบนผนื แผน่ ดนิ ไทย ๖๖ แรกเริ่มเกิดบ้านเมอื งบนผนื แผ่นดินไทย ๖๙ บ้านเมืองยุคแรกเร่มิ บนผนื แผน่ ดนิ ไทย ๗๒ ทวารวด ี ๗๕ เจนละ ๗๖ ศรวี ิชัย ๙๐ หรภิ ญุ ชัย กำ� เนิดรัฐไทย สมัยสโุ ขทยั สมยั อยธุ ยา 8

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย สมัยธนบรุ ี ๑๐๕ สมยั รัตนโกสนิ ทร ์ ๑๐๙ รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ๑๑๒ รชั สมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย ๑๑๖ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา้ เจ้าอย่หู ัว ๑๒๐ รัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ๑๒๘ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั ๑๔๑ รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หวั ๑๕๒ รชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ๑๕๗ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอฐั มรามาธบิ ดนิ ทร ๑๖๕ รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ๑๖๙ ประเทศไทยหลงั เปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ - ปัจจบุ ัน ๑๘๒ สมยั หลังเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ - ๒๔๙๐ ๑๘๒ สมัยอ�ำนาจนยิ ม พ.ศ. ๒๔๙๐ - ๒๕๑๖ ๑๘๕ สมัยปรบั ตวั สรู่ ะบอบประชาธิปไตย พ.ศ. ๒๕๑๖ - ๒๕๓๕ ๑๘๗ สมัยปฏริ ปู การเมอื ง พ.ศ. ๒๕๓๕ - ปัจจุบนั ๑๙๒ บทสรปุ ๑๙๖ บรรณานุกรม ๑๙๘ ภาคผนวก ค�ำส่ังแตง่ ตง้ั คณะทำ� งานจัดทำ� ต้นฉบบั หนังสอื ประวตั ิศาสตรช์ าติไทย ๒๐๕ ผเู้ รยี บเรียง ๒๐๘ 9

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย แผนที่ราชอาณาจกั รสยามสมัยอยธุ ยา ในจดหมายเหตุ เดอ ลา ลูแบร์ ราชทูตชาวฝร่ังเศส ท่ีเขา้ มาเจริญพระราชไมตรใี นรชั สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช 10

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย บทนำ� ดินแดนท่ีเป็นประเทศไทยในปัจจุบัน มีร่องรอยของการอยู่อาศัยมา อย่างยาวนาน และมีพัฒนาการเป็นบ้านเมืองมาจนทุกวันน้ี ผู้คนที่อยู่อาศัยก็ ผสมผสานกันหลายเชื้อชาติ มีทั้งผู้ท่ีอยู่สืบต่อกันมาในดินแดนผืนแผ่นดินไทย และผู้ที่อพยพโยกย้ายเข้ามาลงหลักปักฐาน ด้วยแผ่นดินนี้ให้ชีวิตและความ สุขแก่ตนและครอบครัว นับตั้งแต่อดีตที่ยังไม่มีตัวหนังสือ เราพบร่องรอย จากหลักฐานการใช้ชีวิตของผู้คนยุคน้ันที่เรียกว่า “หลักฐานทางโบราณคดี” จนถึงสมัยที่มีตัวหนังสือ ท�ำให้ทราบเร่ืองราวได้อย่างชัดเจนข้ึน การอพยพ โยกย้ายเพื่อมาต้ังถิ่นฐานนี้เป็นไปตามธรรมชาติของมนุษย์ท่ีแสวงหาสถานท่ี ท่ีดี และเหมาะสมกว่าในการด�ำรงชีพ อย่างไรก็ดี คุณสมบัติเด่นประการหน่ึง ของสังคมไทยก็คือ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติของคนที่อาจจะมีความแตกต่าง กนั ทางเชื้อชาติ ประเพณี ความเชือ่ ศาสนา และอ่ืน ๆ ทุกคนจะหลอมรวมกัน เปน็ “ไทย” และอยรู่ ว่ มกนั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี แตก่ วา่ ทจ่ี ะรวมเลอื ดเนอ้ื ชาตเิ ชอื้ ไทย ได้ สังคมไทยก็ผ่านประสบการณ์ในการหล่อหลอมมาอย่างยากล�ำบาก ด้วย คณุ ปู การของบรรพบรุ ุษในการสร้างสรรค์ ฝา่ ฟันความขัดแยง้ ภายใน และการ ปอ้ งกนั ภยั จากภายนอก สังคมไทยเป็นสงั คมทีม่ ีรากฐานแหง่ อารยธรรมมาอย่างยาวนาน เราทราบได้อยา่ งไร เราทราบได้จากการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ ประวัติศาสตรค์ อื อะไร อาจตอบอย่างกวา้ ง ๆ ได้ ๒ ระดับ 11

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ระดับแรก เป็นการรวบรวมเรื่องราว หรือเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในอดีต ด้วยความอยากรู้เรื่องเก่า ๆ อันเป็นธรรมดาของมนุษย์ แต่เดิมสังคมไทยจะ ถ่ายทอดเร่ืองราวผ่านการพูดคุยกันในชีวิตประจ�ำวัน หรือบอกเล่าเป็นนิทาน พื้นบา้ น ต�ำนาน หรือนยิ ายปรัมปรา การถา่ ยทอดแบบนีย้ ากทีจ่ ะรู้ว่าอะไรเปน็ เรอ่ื งจรงิ อะไรเป็นเรื่องแตง่ แตอ่ ย่างน้อยก็ท�ำใหไ้ ดร้ ู้เรอ่ื งที่เกดิ ขนึ้ อย่บู ้าง ตวั อยา่ งตำ� นาน พนื้ บา้ น พืน้ เมอื ง ที่น�ำมาจัดพมิ พ์เผยแพร่ 12

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย อีกระดับหนึ่ง เป็นการศึกษาเรื่องราวในอดีตด้วยวิธีการท่ีเป็น วิทยาศาสตร์ อิงหลักเหตุผลและต้องวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของหลักฐาน ประวัติศาสตร์แบบนี้มีน้�ำหนักความน่าเช่ือถือมากกว่า เพราะต้องผ่าน กระบวนการตรวจสอบและวิเคราะห์หลักฐาน จึงจะน�ำมาใช้ในการเขียน ประวัตศิ าสตร์ได้ ตัวอยา่ งหนังสอื ประวัติศาสตร์ ซ่ึงนักวิชาการทางประวตั ิศาสตรไ์ ด้ค้นควา้ เรยี บเรียง และจดั พิมพ์เผยแพร่ วธิ ีการน้ี กล่าวไดว้ ่าเปน็ เร่ืองใหม่ในสังคมไทย เนื่องจากในอดตี สังคม ไทยไม่นิยมการขดี เขียนหนังสือดว้ ยสาเหตหุ ลายประการ เชน่ เกรงว่าจะเอาไว้ ทำ� คุณไสย ลอบส่งข่าวอันอาจเป็นภัยต่อบ้านเมือง หรือถ้าเป็นผู้หญิงก็อาจไป เขียนเพลงยาวทำ� ให้เสื่อมเสียความเปน็ กลุ สตรี ดงั นั้นสังคมไทยจงึ มักถา่ ยทอด เร่ืองราวผ่านการบอกเล่า จนเมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษร แรก ๆ ก็เป็นการ จารึกในวัสดทุ ค่ี งทน เช่น หิน เรียกวา่ ศลิ าจารกึ จารบนใบลาน หรอื วัสดทุ ี่มี ความคงทนอน่ื ๆ เรอ่ื งราวทจ่ี ารกึ จะตอ้ งสำ� คญั และขอ้ ความไมย่ าวนกั สว่ นใหญ่ มักเป็นเร่ืองศรัทธาในพระศาสนา และเหตุการณ์ส�ำคัญของบ้านเมือง ต่อมา มีการน�ำเรื่องเล่า ต�ำนาน นิทาน นิยาย มาบันทึกบ้าง ครั้นถึงสมัยอยุธยา มีการบันทึกเรื่องราวเรียกว่า “พงศาวดาร” เกิดจากพระราชโองการของ พระมหากษัตริย์ให้บันทึกเหตุการณส์ �ำคญั ของบ้านเมอื งตามล�ำดับเวลา 13

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย สมุดไทยท่ีใชบ้ ันทึกเร่ืองราวทางศาสนา ตำ� นาน พงศาวดาร วรรณคดี และอืน่ ๆ เปน็ เอกสารช้นั ต้นท่ีส�ำคัญน�ำมาใชเ้ ปน็ หลักฐานในการศกึ ษาคน้ คว้าประวัติศาสตร์ 14

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ตัวอยา่ งหนงั สือพระราชพงศาวดาร และพระบรมราชาธบิ ายในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้น�ำความเปลี่ยนแปลงในการเขียนประวัติศาสตร์ไทยแบบวิทยาการ ตะวนั ตก เรม่ิ จากพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงวเิ คราะหห์ ลกั ฐาน ในพระบรมราชาธบิ ายเรอื่ งตา่ ง ๆ แตใ่ นเวลานนั้ ยงั ไมเ่ รยี กวา่ “ประวตั ศิ าสตร”์ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นผู้น�ำในการสอบค้น หลักฐานท้ังท่ีเป็นตัวหนังสือ และที่เป็นวัตถุในการสืบค้นเร่ืองโบราณ ทรงใช้ คำ� ว่า “โบราณคดี” หมายรวมถึงการศกึ ษาเรือ่ งเกา่ ๆ ทงั้ หมด สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ ทรงรบั สนองพระบรมราชโองการให้ ตรวจช�ำระ และเรียบเรียงพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์หลายรัชกาล ทรงค้นคว้าและตรวจสอบหลักฐานในการท�ำงาน แมร้ ปู แบบจะเปน็ พงศาวดาร เหมอื นทเี่ คยจดั ทำ� กนั มา แตใ่ นรายละเอยี ดมกี ารวเิ คราะห์ และอา้ งองิ หลกั ฐาน แบบตะวันตก จึงมผี ู้ถวายพระสมัญญาวา่ “พระบิดาแหง่ ประวตั ิศาสตร์ไทย” 15

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือคร้งั เสดจ็ ประพาสตน้ ร.ศ. ๑๒๕ เมอื งก�ำแพงเพชร การเสด็จประพาสหวั เมืองตา่ งๆ ท้งั ที่เป็นทางราชการและส่วนพระองค์ เปน็ โอกาสอนั ดใี นการรวบรวมหลกั ฐานทเ่ี ปน็ ตัวหนังสอื และโบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่เปน็ ประโยชนใ์ นการสืบคน้ เรือ่ งโบราณ 16

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ พระบดิ าแห่งประวตั ิศาสตรไ์ ทย งานประวัติศาสตรน์ บั จากนน้ั มา ก้าวเข้าสกู่ ารศกึ ษาและเรยี บเรียงดว้ ย ระเบียบวิธีทางประวัติศาสตร์ตามแนวสากล น่ันคือ มีการสอบค้นหลักฐาน และเอกสารทางประวัติศาสตร์ การวิเคราะห์หลักฐานถือเป็นหัวใจส�ำคัญของ งานประวัติศาสตร์ หลักฐานเอกสารร่วมสมัยมีน้�ำหนักมากกว่าเรื่องที่เขียนข้ึน ภายหลัง ร่องรอยของอดีตมีปรากฏหลายรูปแบบ นอกจากตัวหนังสือ เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรม วิถีชีวิต ความเช่ือ ศิลปะ การแสดง ตลอดจนวิวัฒนาการของภาษา หากน�ำมาวิเคราะห์อย่างถูกต้องก็สามารถ ใช้เปน็ หลกั ฐานในการศึกษาประวตั ิศาสตรไ์ ด้เป็นอย่างดี 17

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ความน่าเชื่อถอื ของงานประวัติศาสตร์ เมอ่ื สงั คมเปลยี่ นแปลง การศกึ ษาแพรห่ ลายสปู่ ระชาชน คนทกุ ระดบั ชนั้ สามารถท�ำงานประวัติศาสตร์ได้ แต่งานท่ีถือว่าเข้าข่ายเป็นงานประวัติศาสตร์ ต้องมีหลักฐานที่เช่ือถือได้รองรับ ดังน้ัน ข้อสรุปทางประวัติศาสตร์จึงอาจ เปล่ียนแปลงได้ เมื่อพบข้อมูลหลักฐานที่วิเคราะห์แล้วพบว่ามีความถูกต้อง แม่นย�ำกว่า ตัวอย่างส�ำคัญในกรณีนี้ เช่น ปัญหาเรื่องถิ่นก�ำเนิดของคนไทย แต่เดิมเชื่อว่าคนไทยมีถ่ินก�ำเนิดอยู่แถวเทือกเขาอัลไต ปัจจุบันก็ไม่เชื่อแล้ว เนื่องจากผลการศึกษาไม่มหี ลกั ฐานรองรบั อีกเรอื่ ง คือ การค�ำนวณวนั ท่สี มเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงกระท�ำยุทธหัตถี เดิมค�ำนวณว่าตรงกับวันท่ี ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๑๓๕ กองทัพไทยจงึ กำ� หนดวา่ เปน็ “วันกองทพั ไทย” ต่อมา ศาสตราจารยป์ ระเสริฐ ณ นคร กรรมการช�ำระประวตั ิศาสตรไ์ ทย และผ้ทู รง คุณวุฒิหลายท่านค�ำนวณได้ตรงกันว่าเป็นวันที่ ๑๘ มกราคม วันกองทัพไทย จึงเปลี่ยนมาเปน็ วันท่ี ๑๘ มกราคม เพ่ือความถกู ต้อง ภาพเขียนประกอบโคลงภาพพระราชพงศาวดารเร่ือง สงครามยทุ ธหตั ถรี ะหว่าง สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอปุ ราชแหง่ กรุงหงสาวดี เขยี นข้นึ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว ประโยชนข์ องงานประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ท�ำให้ได้รู้ถึงเรื่องราว ความเป็นมาของกลุ่มชน สังคม ประเทศ และโลก วิธีการทางประวัติศาสตร์ท�ำให้ตระหนักได้ถึงวิธีการเข้าถึง ความจรงิ อย่างมีเหตุผล รู้จกั วเิ คราะห์แยกแยะขอ้ มูลท่ีหลากหลายอันจะท�ำให้ 18

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย เกดิ ความเขา้ ใจกนั ในสงั คม การรภู้ มู หิ ลงั ทางประวตั ศิ าสตรจ์ ะทำ� ใหก้ ารกำ� หนด แผนงานในอนาคตเป็นไปไดอ้ ย่างสมบูรณ์ ตัวอย่างหนงั สือแบบเรยี นประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธกิ าร 19

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย คนไทยรู้จักประวัติศาสตร์ไทยจากแบบเรียนวิชาประวัติศาสตร์ตั้งแต่ เด็ก ๆ และหากเรียนต่อ ๆ มา ก็จะมีความละเอียดลึกซึ้งจนถึงขั้นเป็นงาน วิจัย นอกจากนี้ ยังสามารถรับรู้โดยผ่านงานเขียนของบุคคลท่ัวไปท่ีสนใจ ประวตั ศิ าสตรแ์ ตไ่ มใ่ ชน่ กั ประวตั ศิ าสตร์ รวมถงึ นวนยิ ายองิ ประวตั ศิ าสตร์ ซง่ึ บาง ครง้ั อาจทำ� ใหผ้ อู้ า่ นเชอ่ื คลอ้ ยตามไป ดงั นน้ั หากมคี วามเขา้ ใจถงึ ประวตั ศิ าสตร์ และการเขยี นประวตั ศิ าสตรแ์ ลว้ ยอ่ มทำ� ใหผ้ อู้ า่ นแยกแยะไดว้ า่ อะไรเปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ อะไรเปน็ จินตนาการ โปสเตอร์ภาพยนตรอ์ ิงประวัตศิ าสตร์ “ตำ� นานสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช” หนังสือประวัติศาสตร์ชาติไทยเล่มน้ี มีจุดมุ่งหมายเพื่อเผยแพร่ให้ ประชาชนชาวไทยได้รับทราบและตระหนักถึงความเป็นมาของชาติไทยใน ดินแดนทเ่ี ปน็ ประเทศไทยปจั จบุ ันทีด่ ำ� รงอย่อู ยา่ งต่อเนื่องมาเป็นเวลายาวนาน โดยสงั เขป สงั คมไทยเปน็ หนบี้ ญุ คณุ บรรพบรุ ษุ ทช่ี ว่ ยลงหลกั ปกั ฐาน ปกปกั รกั ษา ถ่ินที่อยู่ และสร้างสรรค์อารยธรรมอันดีเลิศ ช่วยให้สังคมไทยฝ่าพ้นวิกฤต 20

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ในยามสงคราม และความบาดหมางภายใน ท�ำให้สังคมไทยซ่ึงประกอบด้วย ชนหลายเชอ้ื ชาตทิ ่เี ข้ามาอยอู่ าศยั รวมกนั ดว้ ยเหตุต่าง ๆ ตามระยะเวลาตา่ ง ๆ เช่น อพยพเข้ามาเอง ถูกกวาดต้อนเข้ามาด้วยการสงคราม เข้ามาค้าขาย ท�ำประโยชน์ทางธุรกิจ เมื่อเข้ามาอยู่ในสังคมไทยแล้ว ทุกคนจะรู้สึกและ ตระหนกั วา่ ตวั เป็นคนไทย เป็นอันหน่ึงอนั เดียวกนั คนเช้ือสายจีนในไทย สังคมอสิ ลาม 21

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ส่ิงเหล่านี้มิได้เกิดข้ึนมาอย่างลอย ๆ แต่เกิดจากการวางรากฐานของ บรรพบุรุษ ผู้น�ำในสังคมมีความส�ำคัญอย่างย่ิงในการก�ำหนดทิศทางสังคม พลเมืองท่ีมีความรัก ความรบั ผดิ ชอบ มีศลี ธรรม ร้หู น้าท่ี กม็ บี ทบาทอย่างย่ิง ในการธ�ำรงสังคมให้น่าอยู่และอยู่รอดมาได้ท่ามกลางมรสุมรูปแบบต่าง ๆ ท่ี ต้องเผชิญ ประวัติศาสตร์เป็นบทเรียนท่ีท�ำให้ตระหนักถึงความจริงดังกล่าว ไดเ้ หน็ ถงึ พฒั นาการความคลค่ี ลายในสงั คมของเราเอง หากยอ้ นกลบั ไปพจิ ารณา ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย เราไดท้ ราบถงึ บทบาทของผนู้ ำ� เปน็ หลกั ตามหลกั ฐานทปี่ รากฏ ต้ังแต่ยุคท่ีเริ่มสร้างบ้านแปงเมือง ยังไม่มีค�ำว่าเช้ือชาติไทย จนเม่ือปรากฏ ความเปน็ ไทยขน้ึ สำ� หรบั สงั คมไทย ยอ่ มปฏเิ สธไมไ่ ดว้ า่ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ไดส้ รา้ งความแขง็ แกรง่ ใหก้ บั สงั คมไทย เปน็ แกนกลางของสงั คมไทยมาโดยตลอด ตราบจนถงึ ปจั จบุ ันทร่ี ะบบการปกครองเปล่ียนแปลงไป สถาบนั พระมหากษตั รยิ ก์ บั ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย ดังนน้ั หากพูดคยุ กบั คนไทยเร่อื งประวตั ศิ าสตรช์ าติไทย เกอื บทกุ คนก็ จะนึกเห็นภาพพระมหากษัตริย์เป็นล�ำดับมาในอดีต ทั้งน้ี มิได้หมายความว่า ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยน้ัน จะละเลยถึงเรื่องสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ ของผ้คู น การท�ำมาหากนิ และเร่อื งอ่นื ๆ แตจ่ ดุ เด่นในประวัติศาสตร์ก็เป็นภาพ ของผนู้ ำ� เรม่ิ ตงั้ แตก่ ารยกยอ่ งคนทเี่ ขม้ แขง็ มคี วามสามารถในการรบเปน็ หวั หนา้ ท�ำหน้าท่ีปกป้องพลเมือง และพ้ืนท่ีท�ำกิน มีวิวัฒนาการต่อมาจนเป็นสถาบัน พระมหากษัตริย์ ซึ่งในสังคมไทยก็มคี วามเปลย่ี นแปลงครัง้ ใหญ่ ใน ๓ ลกั ษณะ คือ แบบพ่อปกครองลูก เห็นเด่นชัดในสมัยสุโขทัย ต่อมาเปล่ียนแปลงเป็น ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ ตง้ั แตส่ มยั สโุ ขทยั ตอนปลาย อยธุ ยา รตั นโกสนิ ทร์ และเปน็ พระมหากษตั รยิ ใ์ นระบอบประชาธปิ ไตย ภายหลงั การเปลยี่ นแปลงการ ปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ สังคมไทยในช่วงเวลาที่พระมหากษัตริย์เป็นหลักในการปกครองและ สงั คมนนั้ พระมหากษัตริยม์ ีอำ� นาจสงู สดุ เปน็ สมมตุ ิเทพ มพี ระราชอ�ำนาจเป็น ทง้ั “เจา้ ชวี ติ ” และ “เจ้าแผ่นดิน” พระราชทานท่ีดินให้ราษฎรอยทู่ ำ� มาหากิน 22

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย สมเด็จพระมหากษัตรยิ าธริ าชเจา้ ในพระบรมราชจักรวี งศ์ โดยมหี ลกั ธรรมส�ำหรับพระเจา้ แผน่ ดนิ กำ� กบั คือ ทศพิธราชธรรม ราชจรรยานุ วัตร และจักรวรรดิวัตร เพอ่ื มิใหใ้ ช้พระราชอ�ำนาจในทางท่ผี ิดจากหลักธรรมใน พระพทุ ธศาสนา 23

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ภาพสลกั ทป่ี ราสาทนครวดั ราชอาณาจกั รกมั พูชา เล่าเร่อื งเสียมกุก ดังพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานแด่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎ ราชกมุ าร ฉบบั ท่ี ๒/๖๑๓๔ วนั ท่ี ๘ กรกฎาคม ร. ศ. ๑๑๒ ที่วา่ การท่ีเป็นเจ้าแผ่นดินไม่ใช่ส�ำหรับมั่งมี ไม่ใช่ส�ำหรับคุม เหงคนเล่นตามชอบใจ มิใช่เกลยี ดไว้แลว้ จะไดแ้ กเ้ ผด็ มิใชเ่ ปน็ ผู้ กินสบาย นอนสบาย ถา้ จะปรารถนาเช่นนัน้ แลว้ มีสองทางคือ บวชทางหนง่ึ เปน็ เศรษฐที างหนง่ึ เปน็ เจา้ แผน่ ดนิ สำ� หรบั แตเ่ ปน็ คนจน แลเป็นคนท่อี ดกลนั้ ต่อสุขแลทุกข์ อดกล้ันตอ่ ความรกั แล ความชงั อนั จะเกดิ ฉวิ ขน้ึ มาในใจ ฤๅมผี ยู้ ยุ ง เปน็ ผปู้ ราศจากความ เกยี จครา้ น ผลที่จะไดน้ น้ั มีแตช่ ือ่ เสยี งปรากฏเม่ือเวลาตายแลว้ ว่าเป็นผู้รักษาวงศ์ตระกูลไว้ได้ แลเป็นผู้ป้องกันความทุกข์ของ ราษฎรซึง่ อยใู่ นอ�ำนาจความปกครอง ตอ้ งหมายใจในความสอง ข้อนีเ้ ป็นหลกั มากกวา่ คิดถงึ การเรอ่ื งอนื่ ถา้ ผูซ้ ่งึ มิไดท้ �ำใจได้เชน่ น้ี ก็ไม่แลเหน็ เลยว่าจะปกครองรักษาแผ่นดนิ อย่ไู ด้ 24

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั 25

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นสถาบันพระ มหากษตั รยิ ใ์ นระบอบประชาธปิ ไตย พระมหากษตั รยิ ม์ ไิ ดท้ รงใชพ้ ระราชอำ� นาจ เต็มอย่างเดิม เพราะอ�ำนาจสูงสุดของประเทศนั้น เป็นของราษฎรท้ังหลาย ทรงใช้พระราชอ�ำนาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา อ�ำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี และอ�ำนาจตุลาการทางศาล แม้พระราชอ�ำนาจทางการปกครองจะถูกจ�ำกัด ลง แต่พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ยังเป็นศูนย์รวมจิตใจของราษฎร นับต้ังแต่ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว เม่อื ทรงเหน็ วา่ รฐั บาลใชว้ ธิ กี ารปกครอง ไม่ถกู ต้องตามหลกั การ ก็ทรงสละราชสมบตั ิ รชั กาลต่อมาคือ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร แม้จะเสด็จอยู่ใน สิริราชสมบัติไม่นานนัก แต่ก็เป็นศูนย์รวมจิตใจของราษฎร ทุกคร้ังท่ีเสด็จ นิวัตพระนครในชว่ งท่ีทรงศึกษาอยู่ตา่ งประเทศ ราษฎรต่างปล้ืมปตี ิ และแสดง ความจงรักภกั ดีอยา่ งทว่ มท้น พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวพระราชทานรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม 26

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอฐั มรามาธิบดินทร 27

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย รัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงด�ำรงอยู่ในสิริราชสมบัติยาวนานที่สุดมากกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใด ทรงยึดม่ันตามพระราชปณิธานของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริย์ทุกพระองค์ นั่นคือ การบ�ำบดั ทกุ ขบ์ �ำรงุ สุขใหแ้ กร่ าษฎร พระองค์มีพระราชดำ� รสั ถงึ หนา้ ท่ี ของพระองคใ์ นการพระราชทานสัมภาษณ์วทิ ยุ บ.ี บี.ซ.ี คร้งั หน่งึ วา่ ...กรณีของข้าพเจ้า ซ่ึงถูกเรียกโดยคนทั่วไปว่าเป็นพระ มหากษตั ริย์ แต่โดยหน้าท่ที ีแ่ ท้จริงแล้ว ดูจะหา่ งไกล หน้าท่ีของ พระมหากษัตริย์ที่เคยรู้จักหรือเข้าใจกันมาแต่ก่อน หน้าที่ของ ข้าพเจ้าในปจั จบุ ันน้นั กค็ ือ ทำ� อะไรก็ตามท่เี ปน็ ประโยชน์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั และพระราชอาคันตุกะจากประเทศต่างๆ เนอื่ งในโอกาสพระราชพธิ ีฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๖๐ ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ 28

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชเสดจ็ ออกมหาสมาคม ณ สหี บญั ชร พระทน่ี ง่ั อนันตสมาคม พระราชวังดสุ ิต เมอื่ วนั ท่ี ๙ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ 29

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวเสดจ็ พระราชด�ำเนินไปเย่ยี มเยอื นราษฎร ตามพ้นื ทท่ี ุรกนั ดารต่างๆ 30

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย นบั ตง้ั แตท่ รงดำ� รงอยใู่ นสริ ริ าชสมบตั ิ จงึ เหน็ โครงการพระราชดำ� รทิ ม่ี อี ยู่ มากทกุ ๆ แขนง เพอื่ พฒั นาบา้ นเมืองให้ราษฎรอยู่ดีกนิ ดี “พออยู่พอกิน ไมใ่ ช่ ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบ” และเม่ือบ้าน เมอื งเกดิ วกิ ฤตจากการขดั แยง้ ทางความคดิ พระองคท์ รงคลค่ี ลายปญั หานน้ั ดว้ ย พระปรชี าสามารถอยา่ งสขุ มุ ดว้ ยทรงตระหนกั วา่ “ประชาชนบางคนอาจสงั กดั กลุ่มการเมืองหรือมีผลประโยชน์ที่ต้องคอยพิทักษ์ป้องกัน แต่คนจ�ำนวนมาก ไม่มีโอกาสเชน่ นนั้ เขาไม่สามารถแสดงความประสงค์ของเขาใหป้ รากฏชัดเจน ได้ เราจึงต้องค�ำนึงถึงคนเหลา่ นี้ใหม้ าก” การรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย จึงเป็นการรู้จักภูมิหลังของเราท่ีเป็นชาว ไทย รู้ถึงความยากล�ำบากความวิริยอุตสาหะของบรรพชนกว่าที่บ้านเมืองจะ ตัง้ ม่นั อยู่ไดจ้ นถึงบดั น้ี ทำ� ใหท้ ราบถงึ ปัจจัยตา่ ง ๆ ทที่ ำ� ให้เกิดความแตกตา่ งกนั ทางความคดิ วัฒนธรรม ความเช่อื วถิ ชี ีวิต ของคนกลุ่มตา่ ง ๆ ท่อี ยู่รวมกนั เป็น สังคมไทย ก่อให้เกิดความเข้าใจในความแตกต่างกัน จะได้ประพฤติปฏิบัติต่อ กนั อย่างเหมาะสมด้วยความเข้าใจซง่ึ กนั และกัน และจะไดร้ ่วมกันเปน็ พลงั เพื่อ กอ่ ประโยชนใ์ หเ้ กดิ ความสขุ แกป่ ระชาชนทกุ หมเู่ หลา่ และขบั เคลอื่ นประเทศให้ กา้ วหนา้ ทัดเทยี มอารยประเทศ 31

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย แผนท่แี สดงตำ� แหน่งท่ตี งั้ ของประเทศไทยในปจั จุบนั 32

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย แผน่ ดิน ผูค้ น และพัฒนาการบ้านเมือง ในดนิ แดนประเทศไทย ภูมิศาสตรท์ ีต่ ้งั ประเทศไทยต้ังอยู่กึ่งกลางผืนแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านตะวันออกเปิดสู่ทะเลจีนใต้ ด้านตะวันตกออกสู่มหาสมุทรอินเดีย จึงอยู่ ท่ามกลางเส้นทางสัญจรส�ำคัญ ดินแดนแห่งนี้เป็นศูนย์กลางการค้าและจุด แวะพักการเดินทางโดยทางเรือระหว่างอินเดียกับจีนมาตั้งแต่สมัยโบราณ ดังปรากฏหลักฐานลายลักษณ์อักษรทั้งของชาวโรมัน และชาวอินเดียกล่าวถึง การเดินทางมาสู่ดินแดนแถบนี้ของพ่อค้าจากทิศตะวันตกมาตั้งแต่สมัยต้น พุทธกาลและในเวลาต่อมา จดหมายเหตุจีนได้กล่าวถึงเมืองต่าง ๆ ท่ีเชื่อว่า ส่วนหนึ่งต้ังอยู่บริเวณภาคใต้ของประเทศไทยในปัจจุบัน ช่วงเวลาน้ีมักเรียก กันว่า “สมัยแรกเร่ิมประวัตศิ าสตร์” หรือ เมอื่ ราว ๒,๐๐๐ ปที ผี่ า่ นมา การตดิ ตอ่ เชน่ นที้ ำ� ใหเ้ กดิ การแพรห่ ลายของอารยธรรมจากดนิ แดนหา่ ง ไกลมาสดู่ ินแดนโบราณในประเทศไทย รวมทงั้ การเกดิ ชุมชนใหม่ ๆ ขึ้น เพอ่ื จดุ ประสงค์ในการคา้ ขายตามจุดแวะผ่านของพอ่ ค้าชาวตา่ งประเทศเหลา่ น้ี ส่งผล ใหช้ มุ ชนพัฒนาเป็นบา้ นเมอื งขนาดใหญ่ 33

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย แผนทีเ่ สน้ ทางการคา้ ทางทะเลและเมอื งท่าโบราณในอินเดยี เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ และจนี 34

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย จากท�ำเลท่ีตั้งดังกล่าวข้างต้น ผู้คนในดินแดนประเทศไทยปัจจุบัน จึงติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนและรับอารยธรรมของชาติต่างๆ ท่ีเดินทางเข้ามา เป็นเวลาช้านาน รวมท้ังผู้คนต่างภูมิภาคอพยพเคล่ือนย้ายเข้ามาต้ังรกราก ณ ดินแดนแห่งนี้หลายระลอกนับตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเน่ืองมาใน สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น จนกระทั่งสุโขทัย และอยุธยาถือก�ำเนิดข้ึนในช่วง พทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ และ ๑๙ จนถงึ ปจั จุบันตามลำ� ดับ เกิดความหลากหลาย ของผู้คน สังคม และวัฒนธรรม แต่ได้มีการหลอมรวมความหลากหลายเหล่า นนั้ ใหผ้ สมผสานกนั เกดิ เปน็ บรู ณาการทางสงั คมและวฒั นธรรม กลายเปน็ สงั คม และวัฒนธรรมทีเ่ รยี กว่า “ไทย” หรอื “สยาม” ดังท่ีเป็นในปจั จบุ ัน สังคมและวัฒนธรรมของผู้คนในดินแดนประเทศไทยนั้น มีพัฒนาการ ที่สืบเนื่องกันมา มีการผสมผสานของผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ท้ังชาวพ้ืน เมืองดั้งเดิม ชาวอนิ เดีย ชาวจีน และชาวตะวนั ตกท่ีไดอ้ พยพเคลือ่ นย้ายเข้ามา ต้ังถ่ินฐาน ณ ดินแดนประเทศไทยในแต่ละช่วงเวลาอันยาวนานนับพัน ๆ ปี แตท่ ่ีสำ� คัญคอื ผคู้ นในดินแดนไทยได้สง่ ผ่านสิ่งท่เี รยี กว่า “ภูมปิ ัญญา” จากคน ร่นุ หนง่ึ ไปสู่คนอกี รุน่ หนึง่ ผ่านมาหลายช่ัวคนนบั ตั้งแตส่ มยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ สู่สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น จนหลอมรวมเปน็ “คนไทย” ในปัจจบุ นั 35

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย คนไทยและผู้คนในดนิ แดนประเทศไทย ผู้คนท่ีอยู่อาศัยบนผืนแผ่นดินไทยในปัจจุบันเรียกชื่อโดยรวมว่า “คนไทย” แตถ่ า้ หากถามวา่ คนไทยในปัจจบุ ันคอื ใคร มีรปู ร่างหน้าตาอย่างไร มาจากไหน คงเป็นเร่ืองยากท่ีจะอธิบายเรื่องดังกล่าวให้ถูกต้องชัดเจนได้ เน่ืองจากท�ำเลที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตร์ของดินแดนประเทศไทยท�ำให้ดิน แดนแห่งนี้ มีผู้คนที่อยู่อาศัยมาแต่ด้ังเดิมและมีผู้คนที่อพยพเคล่ือนย้ายเข้ามา ตง้ั ถน่ิ ฐานยาวนานนบั พนั ปี ผคู้ นทไี่ ดช้ อ่ื วา่ “คนไทย” ในปจั จบุ นั จงึ เปน็ กลมุ่ คน ที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติผสมผสานกันมายาวนาน บ้างก็มีเช้ือชาติ มอญ ลาว เขมร อินเดีย เปอรเ์ ซีย จนี บ้างก็มีเช้ือชาตทิ างตะวนั ตก เชน่ อังกฤษ โปรตุเกส และอน่ื ๆ การผสมผสานระหวา่ งกล่มุ คนตา่ ง ๆ นั้น ไม่ไดเ้ กิดขึน้ ในชว่ งเวลาหนงึ่ เวลาใดเท่านั้น แต่เกิดขึ้นตลอดเวลา เชื่อว่ามีมาต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสืบเนื่องมาในสมัยประวตั ศิ าสตรจ์ นถึงปจั จบุ ัน อยา่ งไรกด็ ี สง่ิ หนึง่ ท่แี สดงถงึ อัตลักษณ์ หรือลกั ษณะเฉพาะของคนไทย คือ “ภาษาไทย” อาจกล่าวอย่างกว้าง ๆ ไดว้ า่ คนไทยก็คอื คนทใ่ี ชภ้ าษาไทย ในการตดิ ตอ่ สอื่ สารกนั ในชวี ติ ประจำ� วนั จากการศกึ ษาของนกั วชิ าการพบขอ้ มลู ท่ีน่าสนใจว่า นอกจากคนไทยในประเทศไทยแล้ว ยังพบกลุ่มคนไท หรือ ไต ตั้งถ่ินฐานกระจายตัวอยู่เป็นวงกว้างในเอเชีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งในแคว้นอสั สัม ประเทศอนิ เดยี สบิ สองปนั นา มณฑลยนู นาน มณฑลกุย้ โจว และมณฑลกวางสี ประเทศจีน และในประเทศเวยี ดนาม ซึ่งรู้จักในชอื่ ต่างกนั แต่ละท้องถ่ิน เช่น ไทลื้อ ไทใหญ่ ไทน้อย ไทเขิน ไทอัสสัม ไทอาหม ผู้ไท ไทด�ำ ไทขาว ไทลาว ไทยวน เป็นต้น คนไททุกประเทศรวมกันมีจ�ำนวนกว่า ๑๐๐ ลา้ นคน จากการที่ “คนไท” ซึง่ พูด “ภาษาไท” กระจายอยูใ่ นพืน้ ท่ีตา่ ง ๆ แสดง ให้เห็นว่า กลุ่มคนไทเหล่านี้ ในอดีตน่าจะเคยมีรากเหง้าถ่ินก�ำเนิดเดียวกัน มาแต่เดิม และต่อมาภายหลังได้อพยพเคล่ือนย้ายไปอยู่อาศัยต้ังถิ่นฐานใน 36

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ดินแดนต่าง ๆ ส่วนถ่ินเดิมของคนไทน้ันจะอยู่ท่ีไหน เป็นเรื่องที่ยังไม่มีข้อยุติ ปัจจุบันนักวิชาการส่วนใหญ่ค่อนข้างจะเชื่อกันว่า ถ่ินเดิมของคนไทน่าจะอยู่ บริเวณทางตอนใต้ของจีน หรือตอนเหนือของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอ่ มาจงึ ไดอ้ พยพเคลอื่ นยา้ ยไปตง้ั ถน่ิ ฐานยงั พนื้ ทตี่ า่ ง ๆ ตามทป่ี รากฏในปจั จบุ นั ส่วน “คนไทย” ท่ีอยู่อาศัยในประเทศไทยปัจจุบัน เป็นกลุ่มชนท่ีเกิด จากการผสมผสานของชนชาตไิ ท - ไต กบั บรรดาชนเผา่ อนื่ ๆ หรือชนชาตอิ ื่นท่ี เป็นชนพ้นื เมอื งเดมิ อยแู่ ลว้ และพวกท่ีเคลอื่ นยา้ ยเข้ามาใหม่ การอพยพเคล่ือน ย้ายของคนไทน้ัน เป็นไปในลักษณะค่อยเป็นค่อยไปหลายระลอก คนไทยใน ดินแดนประเทศไทยนั้น เม่ือดูจากภาษาไทย อาจกล่าวได้ว่า มีการอพยพ เคล่ือนย้ายครั้งใหญ่เข้ามาตั้งถ่ินฐานในบริเวณประเทศไทยเมื่อประมาณ พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ส่วนผู้คนที่อยู่อาศัยในดินแดนประเทศไทยก่อนหน้าน้ี ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ หรือสมัยทวารวดีราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ - ๑๖ ไมอ่ าจรไู้ ดแ้ น่ชัดวา่ เป็นคนเช้ือชาติใด 37

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ถ่นิ กำ� เนิดของคนไทย เร่ืองราวเก่ียวกับถ่ินฐานก�ำเนิดของชนชาติไทยเป็นที่สนใจของบุคคล ทั่วไป และนักวิชาการสาขาต่าง ๆ มานาน จึงมีการศึกษาค้นคว้าและเสนอ แนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ กัน จนกลายเป็นประเด็นทางประวัติศาสตร์ส�ำคัญเรื่อง หน่ึง ซึ่งในปัจจุบันได้เคยมีการจัดกลุ่มแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับที่มาของชนชาติ ไทยได้เปน็ ๕ กลุม่ ดงั นี้ กลุ่มแรก เช่ือว่าถ่ินฐานเดิมของคนไทยอยู่บริเวณมณฑลเสฉวน ใน บริเวณลมุ่ แม่นำ�้ แยงซีเกยี ง ทางตอนกลางของประเทศจีนปจั จบุ นั นกั วชิ าการ ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารจีน และพิจารณาความคล้ายคลึงทางภาษาของผู้คน ในจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้เสนอแนวคิดว่า การเคล่ือนที่ของ ชนชาติไทย มี ๒ วธิ ี คอื การเคลอื่ นย้ายเปน็ ส่วนตวั โดยแทรกซมึ ลงมาและการ อพยพใหญ่ แต่ตอ่ มาเมื่อมีการศึกษาดา้ นชาตพิ ันธ์ุวิทยา ลักษณะทางกายภาพ ของมนุษย์ วัฒนธรรม และภาษาศาสตร์ของผู้คนในแถบดังกล่าวเปรียบเทียบ กับคนไทยปัจจุบันอย่างจริงจัง ไม่พบหลักฐานที่สอดคล้องกับแนวคิดดังกล่าว ทำ� ใหส้ มมติฐานดงั กลา่ วไม่น่าจะเป็นไปได้ กลุ่มท่ี ๒ เชื่อว่าถ่ินฐานเดิมของคนไทยอยู่ในบริเวณเทือกเขาอัลไต ก่อนจะถอยร่นสู่มณฑลเสฉวน มณฑลยูนนาน และเข้าสู่ดินแดนประเทศไทย ก่อต้ังอาณาจักรสุโขทัย ชนชาติไทยเคยเป็นชาติใหญ่อยู่ในประเทศจีน และ มีความเก่าแก่กว่าชนชาติจีน ตลอดจนชนชาติอ่ืน ๆ อีกหลายชาติ เมื่อหลาย พันปีมาแล้วถูกจีนโจมตีจนต้องถอยร่นลงมาสู่ทางใต้ ได้มาตั้งราชอาณาจักร ขึ้นในประเทศไทยจนทุกวันน้ี ปัจจุบันการศึกษาด้านโบราณคดีของจีนเจริญ ก้าวหน้าข้ึน สามารถพิสูจน์ได้ว่าแหล่งอารยธรรมของโลกตะวันออกมิได้มีจุด ก�ำเนิดอยู่ทางบริเวณเอเชียกลางอย่างที่เคยเชื่อกัน อีกทั้งการตีความหลักฐาน จากพงศาวดารจนี ประกอบกบั หลกั ฐานทางภาษาซงึ่ เนน้ ในเรอื่ งคำ� พอ้ งและการ แปลความหมายนั้นมิใช่วิธีการทางภาษาที่ถูกต้อง ค�ำว่า “อัลไต” เป็นภาษา มองโกล แปลวา่ ทอง มใิ ชเ่ ปน็ คำ� ผสมระหวา่ ง “อัล” กบั “ไต” ภเู ขาอลั ไต จงึ หมายถึง ภูเขาทอง นอกจากน้ี บริเวณเทือกเขาอัลไตยังมีสภาพแวดล้อมทาง 38

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ภูมิศาสตร์ทุรกันดารมาก แห้งแล้ง อากาศหนาวเย็นจนเป็นน้�ำแข็ง ไม่เหมาะ กับการเปน็ ถ่นิ ท่ีอยู่อาศยั ของมนษุ ย์ กลุ่มที่ ๓ เชื่อว่าถ่ินฐานเดิมของคนไทยอยู่กระจัดกระจายท่ัวไปใน บริเวณทางตอนใต้ของจีน และทางตอนเหนือของภาคพ้ืนเอเชียตะวันออก เฉยี งใต้ ตลอดจนบริเวณรฐั อัสสมั ของอินเดยี ปจั จบุ ันสมมติฐานน้ี ไดร้ บั ความ สนใจอีกครงั้ หน่ึง เน่อื งจากมหี ลักฐานวิชาการสาขาตา่ ง ๆ สนบั สนนุ อาทิ หลัก ฐานด้านภาษาศาสตร์ คือ คำ� ว่า “ไต” และ “ไท” ซงึ่ เปน็ คำ� ท่กี ลมุ่ ชนชาติไทย ท่ีกระจัดกระจายอยู่ตามที่ราบลุ่มของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้เรียกตนเอง ค�ำสองค�ำนี้ ในทางนิรุกติศาสตร์แล้ว มีรากเหง้ามาจากทีเ่ ดียวกัน คอื หมายถงึ กลุ่มคนที่พูดภาษาตระกูลไททั้งที่อยู่ในประเทศจีน เวียดนาม ลาว พม่า และ ไทย ซง่ึ เปน็ ชอ่ื ของคนเผา่ ไท - ไต ใชเ้ รยี กตนเอง หลกั ฐานทางดา้ นมานษุ ยวทิ ยา พบว่าโครงสร้างทางสังคมและระบบการปกครอง ระบบเครือญาติของคนไท นับญาติท้ังฝ่ายชายและหญิง เน้นความส�ำคัญของผู้ชายมากกว่าผู้หญิง มีการ นับถือผี ขวัญ และไสยศาสตร์ต่าง ๆ รวมทั้งการปลูกสร้างท่ีอยู่อาศัยจะเป็น บา้ นบนเสาสูง เปน็ ตน้ กลมุ่ ที่ ๔ เชื่อว่าถ่ินฐานเดิมของคนไทยอยบู่ รเิ วณประเทศไทยปัจจุบัน มานานแล้ว ต่อมาเม่ือประมาณ ๔,๐๐๐ - ๓,๕๐๐ ปีมาแล้ว พวกตระกูล มอญ เขมร ได้อพยพมาจากอินเดียเข้าสู่แหลมอินโดจีน ผลักดันคนไทยให้ กระจัดกระจายไปหลายทาง ขึ้นไปถึงทางใต้ของจีนปัจจุบัน ต่อมาถูกจีน ผลักดันจนอพยพลงใต้ไปอยู่ในเขตอัสสัม ฉาน ลาว ไทย และตังเกี๋ย จึงมี กลมุ่ ชนทพี่ ดู ภาษาไทยกระจดั กระจายอยทู่ วั่ ไป นกั วชิ าการในกลมุ่ น้ี ใชห้ ลกั ฐาน ทางโบราณคดีและมานุษยวิทยากายภาพในการพิสูจน์แนวคิด ซึ่งการน�ำ โครงกระดูกมาศึกษาและก�ำหนดเช้ือชาตินี้ ยังไม่ครอบคลุมถึงด้านภาษาและ วฒั นธรรม ดังนน้ั ข้อสมมตฐิ านนจี้ งึ ยงั ต้องศกึ ษาค้นคว้าต่อไปเพอื่ หาขอ้ สรุป กลุ่มท่ี ๕ เช่ือว่าถ่ินฐานเดิมของคนไทยอาจอยู่ในคาบสมุทรอินโดจีน หรือคาบสมุทรมลายู และบริเวณหมู่เกาะชวา นักวิชาการกลุ่มนี้ ใช้วิธีการ ทางวิทยาศาสตร์บนรากฐานของวิชาพันธุศาสตร์ ศึกษาเพื่อบ่งบอกถึงถิ่นท่ีมา 39

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ของชนชาติไทย ได้ศึกษาวิจัยทางดา้ นพนั ธศุ าสตรเ์ กี่ยวกบั ความถี่ของยีน และ หมเู่ ลอื ด เสนอความเหน็ วา่ คนไทย คนอนิ โดนเี ซยี น (รวมทงั้ มาเลยบ์ างเผา่ ) คน พื้นเมืองของแหลมอินโดจีน (ลาวและเขมร) และบางทีคนจีนทางตอนใต้ของ ประเทศจนี นนั้ อาจจะเปน็ คนพน้ื เมอื งเดมิ ซงึ่ ไดต้ ง้ั หลกั แหลง่ อยตู่ ามบรเิ วณภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยหรือในอินโดนีเซีย หรือคาบสมุทรมลายู มาเป็นเวลาหลายพันปีมาแล้ว แต่ในปัจจุบันยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่ามีความ เปน็ ไปไดม้ ากน้อยเพยี งใด เน่ืองจากเป็นการสุ่มตวั อย่างจากคนในปจั จบุ นั แล้ว นำ� ไปสนั นษิ ฐานถงึ เชอ้ื ชาตขิ องคนในอดตี จงึ ยงั ไมเ่ ปน็ ทยี่ อมรบั ของนกั วชิ าการ ท่ีค้นคว้าเกยี่ วกับถน่ิ กำ� เนดิ ของชนชาตไิ ทยมากนัก อย่างไรก็ดี การศึกษาค้นคว้าเร่ืองชนชาติไทยที่แตกแขนงขยายออกไป ในสาขาวิชาการต่าง ๆ ท�ำให้กล่าวได้ว่าเร่ือง “ชนชาติไทย” นี้ เป็นเร่ืองที่ เกี่ยวข้องกับกลุ่มคน “ไท” หรือ “ไต” ที่พูดภาษาไท อันเป็นกลุ่มย่อยของ ตระกลู ภาษาไท - กะได ทม่ี ขี นบธรรมเนยี มประเพณแี ละวฒั นธรรม รวมถงึ การ สร้างสรรค์ทางเศรษฐกิจ และสังคมท่ีคล้ายคลึงกัน ดังน้ัน การศึกษาเรื่องราว เกยี่ วกบั ชนชาตไิ ทยในปจั จบุ นั จงึ ควรใหค้ วามสนใจดา้ น “วฒั นธรรม” มากกวา่ เร่ือง “เช้อื ชาติ” 40

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย แรกเรมิ่ มผี ้คู นและชุมชน บนผนื แผ่นดนิ ไทย บนผนื แผน่ ดนิ ไทยมผี คู้ นอยอู่ าศยั มายาวนานนบั แสนปี แตย่ งั ไมม่ บี นั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรให้เราได้รบั รูเ้ ร่อื งราวต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ เราทราบเร่ืองราว ของผคู้ นและพฒั นาการทางสงั คมในสมยั น้ี จากหลกั ฐานโบราณคดที ห่ี ลงเหลอื มาจนถึงปัจจุบัน ช่วงเวลานี้นักวิชาการเรียกว่า “สมัยก่อนประวัติศาสตร์” ครอบคลุมระยะเวลายาวนานนับต้ังแต่บรรพบุรุษของมนุษย์รุ่นแรกเกิดขึ้นใน โลกเม่ือราว ๒ ล้านปีมาแล้ว จนถึงเวลาท่ีมนุษย์เริ่มรู้จักการบันทึกเร่ืองราว ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในสงั คมและวฒั นธรรมของตนเอง ซง่ึ มนษุ ยใ์ นดนิ แดนสว่ นตา่ ง ๆ ของโลกเร่ิมการจดบันทึกในช่วงเวลาท่ีไม่พร้อมกัน ดังน้ันการสิ้นสุดช่วงเวลา สมัยก่อนประวัติศาสตร์ หรือการเร่ิมต้นสมัยประวัติศาสตร์ของดินแดนต่าง ๆ จงึ เกิดขนึ้ ในช่วงเวลาต่างกนั ไป ในดนิ แดนประเทศไทยเมอื่ หลายแสนปมี าแลว้ เปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั ของมนษุ ย์ กลุ่มแรกท่ีอาศัยผืนแผ่นดินไทยในปัจจุบัน มนุษย์กลุ่มนี้มีสังคมแบบล่าสัตว์- หาของปา่ เปน็ อาหารดำ� รงชวี ติ ประจำ� วนั ดว้ ยการเกบ็ ของปา่ ลา่ สตั ว์ดกั จบั สตั วน์ ำ�้ และ หาพชื ผกั ผลไมท้ ข่ี น้ึ เองตามธรรมชาตมิ าเปน็ อาหาร รจู้ กั การใชเ้ ครอ่ื งมอื หนิ แบบ ที่เรยี กรวม ๆ กนั ว่า “เครอ่ื งมือหนิ กะเทาะ” ใช้ในการลา่ สตั ว์ สบั - ตัดกระดูก และแลห่ นงั สตั ว์ รวมทงั้ อาจจะมกี ารนำ� ไมไ้ ผม่ าทำ� เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชบ้ างอยา่ งดว้ ย ทงั้ น้ี มรี ายงานการคน้ พบเครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะหยาบ ๆ ทที่ ำ� จากหนิ กรวด แม่น้�ำในเขตอ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง ก�ำหนดอายุไว้ประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ ถึง ๖๐๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว ซ่ึงนับว่าเก่าแก่ท่ีสุดในประเทศไทย และต่อมาได้มี การรายงานว่าพบช้ินส่วนกะโหลกศีรษะมนุษย์ท่ีมีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว 41

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ทีอ่ ำ� เภอเกาะคา จงั หวัดล�ำปาง เรยี กมนษุ ย์ในกลมุ่ น้ีวา่ “มนุษย์โฮโมอีเรก็ ตสั ” ซ่ึงมีร่างกายท่ีสามารถยืนตัวตรงได้ดี มนุษย์กลุ่มน้ีที่พบที่ประเทศจีนเรียกว่า “มนษุ ย์ปกั กง่ิ ” และทอี่ ินโดนีเซียเรียกวา่ “มนุษยช์ วา” เครอ่ื งมอื หินกะเทาะที่คล้ายกนั น้ี ยังค้นพบในหลายพื้นทีเ่ ช่น ทีจ่ ังหวดั เชยี งราย จังหวัดกาญจนบรุ ี จังหวดั แมฮ่ ่องสอน อกี ด้วย เรยี กชื่อยคุ สมัยนี้ตาม ลักษณะของเครอื่ งมือหนิ กะเทาะวา่ “สมยั หินเกา่ ” เคร่ืองมอื หินกะเทาะ พบท่ีจังหวดั กาญจนบุรี ต่อมาเมอ่ื ราว ๔๐,๐๐๐ ปมี าแลว้ มีมนุษยก์ ลุ่มใหม่อีกกลุ่มหนึ่ง เรยี กว่า “โฮโมเซเปียนส์ เซเปียนส์” ซ่ึงเชื่อกันว่าเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน มนุษย์โบราณกลุ่มน้ีด�ำรงชีวิตประจ�ำวันด้วยการล่าสัตว์ และหาอาหารตาม แหล่งธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ตามช่วงฤดูกาลของแต่ละปี มีการใช้เคร่ืองมือ หินกะเทาะขนาดเล็กลงกว่าเครื่องมือรุ่นแรก และใช้เศษหินที่แตกจากการ กะเทาะมาท�ำเปน็ เครื่องมอื เรียกเคร่ืองมอื แบบน้วี า่ “เครอื่ งมือสะเกด็ หนิ ” 42

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ตอ่ มาในชว่ งประมาณ ๔๐,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐ ปมี าแลว้ มนุษย์ในสมยั นี้ น่าจะรวมเป็นกลุ่มใหญ่ข้ึน อาศัยตามถำ้� และเพิงผาเป็นระยะเวลายาวนานข้ึน บางกลุ่มอาศัยตามท่ีโล่งใกล้แหล่งน้�ำและชายฝั่งทะเล บางกลุ่มคงอพยพ เคลื่อนย้ายท่ีอยู่อาศัยตามแหล่งอาหารในแต่ละฤดูกาล ด�ำรงชีวิตด้วยการหา ของปา่ - ลา่ สตั ว์ รวมถงึ การดกั จบั สตั วน์ ำ้� นานาชนดิ ในชว่ งประมาณ ๑๒,๐๐๐ ปี มาแล้ว บางกลุ่มอาจเร่ิมทดลองปลูกพืชบางชนิด เช่น น�้ำเต้า และแตงกวา จนกระทง่ั ราว ๖,๐๐๐ ปมี าแลว้ เปน็ ตน้ มา จงึ ใชเ้ ครอื่ งมอื หนิ ทม่ี กี ารขดั ฝนอยา่ ง ประณตี เรยี กโดยรวม ๆ วา่ “เครอื่ งมอื หนิ ขดั ” หรอื “ขวานหนิ ขดั ” ใชต้ ดั เฉอื น แบบมดี และตอ่ ดา้ มใชข้ ดุ แบบเสยี ม นอกจากน้ี ยงั มเี ครอ่ื งมอื ทท่ี ำ� จากไมใ้ นการ ยิงสัตวจ์ ากระยะไกลจำ� พวกธนู ไมซ้ างพร้อมลูกดอกอกี ดว้ ย จากลักษณะของเครื่องมือหินท่ีพัฒนาเทคนิคและรูปแบบขึ้นมาใหม่จึง เรยี กยุคสมยั ในระยะนีว้ า่ “สมยั หินใหม่” และมสี ังคมแบบเกษตรกรรม เม่อื ราว ๕,๐๐๐ - ๔,๕๐๐ ปีมาแลว้ เกิดการเปล่ียนแปลงทางสงั คมครงั้ ส�ำคญั คือ เกิดชมุ ชนสังคมเกษตรกรรม เป็นสงั คมผลิตอาหารได้เอง บางกลุม่ เริ่มท�ำการเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์บางชนิด เช่น วัว หมู ไก่ ควบคู่ไปกับการ ลา่ สัตวแ์ ละเก็บของป่า การเพาะปลูกข้าวในสมยั แรกสดุ นนั้ สันนิษฐานวา่ อาจ ท�ำนาหว่านในพ้ืนท่ีลุ่มน�้ำขัง ซ่ึงเป็นการท�ำนาเลื่อนลอย จนกระทั่งประมาณ ๒,๗๐๐ - ๒,๕๐๐ ปมี าแลว้ จงึ มกี ารปลกู ขา้ วแบบนาลมุ่ และนา่ จะมกี ารใชค้ วาย เป็นแรงงานในการไถนา การเพาะปลกู และเลย้ี งสตั วเ์ ปน็ สงิ่ สำ� คญั ตอ่ การสรา้ งบา้ นเรอื นอยอู่ าศยั อยา่ งถาวร มกั พบเครอ่ื งมอื เครอื่ งใชเ้ ครอื่ งประดบั จากวสั ดหุ ลากหลายประเภท เชน่ หนิ ดนิ เผา กระดกู เปลอื กหอยทะเล เป็นต้น นอกจากนี้ ยังรู้จักการท�ำ และใช้ภาชนะดินเผาท่ีมีความหลากหลายรูปแบบขึ้นใช้เองภายในครัวเรือน หรือภายในหมู่บ้าน รวมถึงบางชุมชนผลิตภาชนะดินเผาท่ีมีรูปแบบพิเศษอัน เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะกลมุ่ ด้วย 43

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย หม่บู ้านเกษตรกรรมรนุ่ แรกส่วนใหญน่ า่ จะมขี นาดไมใ่ หญน่ กั มีการแบ่ง ฐานะและชนชนั้ ในสงั คมอยา่ งหลวม ๆ ในแตล่ ะชมุ ชนมปี ระเพณคี วามเชอ่ื เกยี่ ว กับชีวิตหลังความตาย คือการอุทิศอาหารเคร่ืองใช้และเคร่ืองประดับให้กับ คนตาย ดังปรากฏหลักฐานส่ิงของเคร่ืองใช้และเคร่ืองประดับท่ีอุทิศให้แก่ ผู้ตาย ในหลุมฝังศพบางหลุมแตกต่างจากหลุมฝังศพอื่นในแหล่งโบราณคดี เดียวกันหรือระหว่างหลุมฝังศพของต่างชุมชนกัน มีปริมาณที่แตกต่างกัน รวมทง้ั มเี ครอื่ งประดบั หรอื สง่ิ ของมคี า่ จากตา่ งถน่ิ ฝงั รวมอยดู่ ว้ ย แหลง่ โบราณคดี ส�ำคัญในช่วงเวลานี้ ได้แก่ แหล่งโบราณคดีโนนนกทา อ�ำเภอภูเวียง จังหวัด ขอนแกน่ แหลง่ โบราณคดบี ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี แหล่งโบราณคดีบ้านเกา่ จงั หวดั กาญจนบุรี แหลง่ โบราณคดีบา้ นท่าแค จงั หวดั ลพบุรี เปน็ ต้น ภาชนะเขียนสีวฒั นธรรมบา้ นเชยี ง 44

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย หมอ้ สามขา พบทแี่ หลง่ โบราณคดีบ้านเกา่ จังหวดั กาญจนบรุ ี หลมุ ขุดคน้ ทว่ี ัดโพธศ์ิ รใี น จังหวัดอดุ รธานี 45

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย อยา่ งนอ้ ยเมอื่ ๔,๐๐๐ ปมี าแลว้ บางชมุ ชนรจู้ กั การใชโ้ ลหะสำ� รดิ ซง่ึ เปน็ โลหะผสมระหว่างทองแดงและดีบุก ดังพบว่า หมู่บ้านเกษตรกรรมรุ่นแรก ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือรู้จักท�ำเครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับจาก สำ� รดิ กนั อยา่ งแพรห่ ลายและในแถบยา่ นเขาวงพระจนั ทร์จงั หวดั ลพบรุ ีเปน็ แหลง่ ผลิตทองแดงที่ส�ำคัญ เนื่องจากพบว่ามีการผลิตในระดับเกินกว่าการใช้เอง ภายในชุมชน และแลกเปล่ียนผลผลิตกันระหว่างชุมชนที่อยู่ต่างภูมิภาคกัน ตอ่ มาในราว ๒,๗๐๐ - ๒,๕๐๐ ปีมาแลว้ จึงเร่ิมใช้เหลก็ ท�ำเครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ และอาวธุ อยา่ งแพรห่ ลาย เชน่ หวั ขวาน ใบหอก มดี หวั ลกู ศร เปน็ ตน้ สว่ นโลหะ ส�ำริดนยิ มนำ� มาท�ำเป็นเครื่องประดับ กลองมโหระทึกสำ� ริดพบท่ีเขาสามแก้ว จงั หวัดชุมพร 46

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย หมู่บ้านในสังคมเกษตรกรรมได้พัฒนาขยายตัวเป็นชุมชนขนาดใหญ่ขึ้น และอาจจะมีชุมชนใหญเ่ ปน็ ศนู ย์กลางและมีชุมชนเล็ก ๆ ตง้ั อยู่โดยรอบ ในราว ๒,๕๐๐ - ๒,๓๐๐ ปมี าแล้ว บางทอ้ งถิน่ พฒั นาสนิ ค้าเฉพาะถ่นิ จนเป็นการผลิต สินค้าระดับอุตสาหกรรมอย่างการผลิตเกลือและเหล็กในภาคตะวันออกเฉียง เหนอื ในช่วงสมยั นี้ มีการติดต่อขา้ มภูมิภาคและขา้ มวฒั นธรรมเพ่มิ มากขึ้น ดงั พบหลักฐานทางโบราณคดีท่ีเป็นของจากต่างถิ่นท่ีอยู่ห่างไกลมากอย่างอินเดีย และเวยี ดนาม ไดแ้ ก่ ลกู ปดั แกว้ และหนิ กง่ึ อญั มณี เชน่ หนิ คารเ์ นเลยี น หนิ อะเกต และผลึกควอทซ์สีต่าง ๆ อีกท้ังการพบกลองมโหระทึกส�ำริด แบบวัฒนธรรม ด่งเซนิ หรือดองซอน ในประเทศเวียดนาม และแบบวัฒนธรรมเตยี้ น ในมณฑล กวางสที างภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศจีน อาจกลา่ วได้ว่า ในชว่ งเวลาน้ี เป็นยุคแห่งการแลกเปล่ียนค้าขายข้ามภูมิภาค มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และทางประชากร อันเป็นรากฐานของการเปล่ียนแปลงทางสังคมและ วัฒนธรรมในเวลาตอ่ มา 47

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย แรกเริ่มเกิดบ้านเมืองบนผนื แผน่ ดนิ ไทย เมือ่ ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๖ - ๑๐ หรือราว ๒,๐๐๐ - ๑,๕๐๐ ปี มาแล้ว ชุมชนในสังคมเกษตรกรรมบางแห่งพัฒนาข้ึนมาจนมีขนาดใหญ่กว่า ชุมชนอน่ื ๆ ไดก้ ่อสรา้ งคนู ำ�้ คนั ดนิ ล้อมรอบแหล่งท่ีอย่อู าศัย ซ่งึ นับว่าเปน็ การ เข้าสสู่ ังคมเมือง พัฒนาการนม้ี รี ากฐานมาจากการเพิม่ จ�ำนวนประชากร ความ เจรญิ ทางเทคโนโลยี การรบั ความเชอื่ ศาสนาอนั ไดแ้ กศ่ าสนาพทุ ธและพราหมณ์ ที่พ่อค้านักเดินเรือจากอินเดียน�ำเข้ามาผสมผสานกับความเช่ือดั้งเดิมเรื่องการ นบั ถอื ผบี รรพบรุ ษุ ความเปน็ อยขู่ องคนในสมยั นม้ี พี น้ื ฐานทางเศรษฐกจิ ทส่ี ำ� คญั มาจากการปลกู ขา้ ว การเลี้ยงสัตว์ รู้จักการทำ� เคร่อื งมอื เครื่องใชจ้ ากสำ� ริดและ เหล็ก การผลิตเกลือ ตลอดจนการค้าขายแลกเปลี่ยนกับชุมชนภายนอกทั้งใน ภูมภิ าคเดยี วกันและต่างภูมิภาค ลกั ษณะรปู แบบทางสงั คมมรี ะบบหวั หน้าเปน็ ผู้น�ำของชุมชน ต่อมาพัฒนาการเป็นผู้น�ำที่เป็นกษัตริย์ มีการแบ่งแยกสถานะ ทางสังคมอย่างชดั เจนและแบง่ แรงงานออกเปน็ สดั ส่วน ในช่วงเวลาน้ีหลักฐานการติดต่อค้าขายระหว่างศูนย์การค้าในอินเดีย กับศนู ยก์ ลางทางการค้าในบริเวณภาคกลางตอนลา่ งเด่นชัดขึ้น ดังได้พบสนิ คา้ ของอนิ เดีย เช่น หวงี าช้าง ลูกเตา๋ งาชา้ งหรือกระดูก และสินค้าแบบโรมัน เช่น ตะเกียงโรมัน รวมท้ังเหรียญกระษาปณ์ของโรมัน ตลอดจนลูกปัดแก้วหลายสี แบบทม่ี แี ถบสแี ละแบบมตี าจากแถบเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นหรอื เปอรเ์ ซยี กระจายอยู่ ตามแหล่งโบราณคดีและเมืองโบราณต่าง ๆ ตัวอย่างแหล่งโบราณคดีส�ำคัญท่ี มีอายุอยู่ในช่วงเวลาดงั กล่าว เชน่ แหลง่ โบราณคดีจนั เสน อ�ำเภอตาคลี จังหวัด นครสวรรค์ แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร อ�ำเภอพนมทวน และแหล่ง โบราณคดีพงตึก อำ� เภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบรุ ี 48

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย ตะเกยี งโรมนั สำ� รดิ พบทีโ่ บราณสถานพงตกึ จังหวัดกาญจนบรุ ี จ้รี ูปหวั สตั ว์ พบท่ีแหลง่ โบราณคดีบ้านตาเพชร จงั หวดั กาญจนบรุ ี 49

ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ไ ท ย เหรยี ญกระษาปณ์รปู จักรพรรดซิ ีซาร์ วิกโตรินุส พบทเ่ี มืองอู่ทอง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี รูปปนั้ ดินเผาพระสงฆ์อมุ้ บาตร พบทเี่ มอื งอทู่ อง จังหวัดสพุ รรณบุรี 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook