Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตรวจราชการ64ครบเล่ม

ตรวจราชการ64ครบเล่ม

Published by ataya.eve, 2021-07-02 06:56:12

Description: ตรวจราชการ64ครบเล่ม

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบ การตรวจราชการและนเิ ทศงานกรณีปกติ รอบที่ 2 ประจาปงี บประมาณ 2564 เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวัดลาปาง สำนักงำนสำธำรณสขุ จงั หวดั ลำปำง วันท่ี 5 – 6 กรกฎาคม 2564

ก คำนำ การตรวจราชการเป็นมาตรการสำคัญประการหน่ึงในการบริหารราชการแผ่นดิน ท่ีจะทำให้การปฏิบัติ ราชการตามภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมาย ตัวช้ีวัด แก้ไขปัญหาอุปสรรคและให้ ขอ้ เสนอ เพื่อให้เกดิ ผลสัมฤทธ์ิต่อสุขภาพท่ีดขี องประชาชนตามเป้าหมายกระทรวงสาธารณสขุ “ประชาชนสุขภาพ ดี เจ้าหน้าท่ีมีความสุข ระบบสุขภาพย่ังยืน” ซึ่งเอกสารฉบับนี้เป็นเอกสารประกอบการตรวจราชการ และนิเทศ งานกรณีปกติ กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง รอบที่ 2/2564 ระหว่างวันที่ 5 – 6 กรกฎาคม 2564 โดยตดิ ตามผลการดำเนินงานตามประเด็นสำคัญการตรวจราชการ 6 ประเด็น และ ๗ เร่ืองสำคัญระดับจังหวัด ประกอบด้วย 1) Agenda based (นโยบายรัฐบาล ผู้บริหารระดบั สูง ยุทธศาสตร์ชาติ) จำนวน 3 ประเด็น ได้แก่ โครงการราชทัณฑ์ปันสุข ทำความ ดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษัตริย์, กัญชา ทางการแพทย์ และสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ, ระบบสุขภาพปฐมภูมิ 2) Functional based (ระบบงานของหน่วย บริการ) จำนวน 2 ประเด็น ได้แก่ สุขภาพกลุ่มวัยและสุขภาพจิต, ลดแออัด ลดรอคอย ลดป่วย ลดตาย, ระบบธรรมาภิบาล 3) Area based (ปัญหาสำคัญของพ้ืนที่) ได้แก่ Innovative Healthcare, เร่ืองท่ีเป็นปัญหา สำคัญในพ้ืนที่เขตสุขภาพ ดังน้ี เด็กเตี้ย Falling TB COPD NCDs และฆ่าตัวตาย 4) การเงินการคลังภาพรวม จังหวัด 5) การบริหารจัดการ COVID-19 ซ่ึงขับเคล่ือนตามกลยุทธ์ One province One Hospital โดยการมี ส่วนร่วมของโรงพยาบาลศูนยล์ ำปาง โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลมะเรง็ ลำปาง โรงพยาบาลเวชชารักษ์ ในการ Shared resource, Technology, HR development และการมีส่วนร่วมของเครือข่ายบริการสุขภาพทุกระดับ ในการจัดบริการสุขภาพ เพื่อประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพ มีคุณภาพและครอบคลุมแบบไร้รอยต่อ และบริการ จัดการระบบสุขภาพอย่างมธี รรมาภบิ าล โดยมรี ายละเอียดเน้อื หาประกอบด้วย สว่ นที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไป และสถานการณด์ า้ นสุขภาพประชาชนจงั หวัดลำปาง ส่วนท่ี 2 Agenda based (นโยบายรฐั บาล ผบู้ รหิ ารระดบั สูง ยุทธศาสตรช์ าติ) สว่ นที่ 3 Functional based (ระบบงานของหนว่ ยบรกิ าร) ส่วนท่ี 4 Area based (ปัญหาสำคัญของพืน้ ท่ี) ขอขอบพระคุณ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพท่ี 1 คณะตรวจราชการและนิเทศงานทุกท่าน ที่ให้ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานจังหวัดลำปาง นำสู่การพัฒนาอย่าง ย่ังยืน มีประสิทธิภาพ บรรลุผลตามเป้าหมายและตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข อันจะส่งผลต่อการมีสุขภาพดีของ ประชาชนจังหวัดลำปางตอ่ ไป สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง 5 กรกฎาคม 2564

สารบัญ ข เรอ่ื ง หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข ขอ้ มูลท่ัวไป และสถานการณ์ด้านสุขภาพประชาชนจังหวัดลำปาง 1 - 11 ผลการดำเนนิ งาน 12 - 30 Agenda based (นโยบายรัฐบาล ผู้บริหารระดับสูง ยุทธศาสตร์ชาติ) 31 - 41 ประเดน็ ที่ 1 โครงการเก่ียวกับพระราชวงศ์ 42 - 42 1.1 โครงการราชทณั ฑป์ ันสขุ ทำความดี เพอ่ื ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 53 - 60 ประเดน็ ที่ 2 กัญชาทางการแพทยแ์ ละสมนุ ไพรเพ่ือเศรษฐกจิ ประเดน็ ท่ี 3 ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ 61 - 62 63 - 76 Functional based (ระบบงานของหนว่ ยบริการ) 77 - 82 ประเดน็ ที่ 4 สุขภาพกลุม่ วยั 83 - 91 92 - 97 4.1 สขุ ภาพแม่และเด็ก 98 - 100 ประเด็นท่ี 5 ลดแออัด ลดรอคอย ลดป่วย ลดตาย 101 - 105 106 - 108 5.1 การดแู ลผู้ปว่ ยระยะกลาง (Intermediate Care) 109 - 113 5.2 โรคหัวใจ 114 - 116 5.3 โรคมะเรง็ 117 - 123 5.4 โรคปอดอุดกัน้ เรื้อรงั 5.5 การตดิ เช้อื ในกระแสเลือด 124 - 138 5.6 โรคหลอดเลือดสมอง 139 - 161 5.7 ศัลยกรรม 162 - 168 5.8 การรบั บรจิ าคและปลกู ถ่ายอวัยวะ 169 - 183 5.9 ระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน 184 - 220 5.10 ทารกแรกเกดิ 221 - 232 ประเดน็ ที่ 6 ระบบธรรมาภิบาล Area based (ปัญหาสำคญั ของพนื้ ท่ี) 1. เดก็ 0-5 ปี (ภาวะเต้ียและพัฒนาการสมวัย) 2. ผสู้ ูงอายคุ ุณภาพ (พลัดตกหกลม้ ) 3. วัณโรค 4. ปอดอดุ กนั้ เรือ้ รัง 5. โรคไมต่ ิดต่อเรอ้ื รงั (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหติ สงู ) 6. สุขภาพจิต (ฆา่ ตัวตาย)

ขอ้ มูลท่วั ไปและสถานการณด์ ้านสุขภาพ ประชาชนจงั หวัดลำปาง

1 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง ข้อมูลท่ัวไป และสถานการณด์ า้ นสุขภาพประชาชนจังหวัดลำปาง ข้อมูลท่วั ไปของจังหวดั ลำปาง จังหวัดลำปาง ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยมีพื้นท่ี 12,533.961 ตาราง กโิ ลเมตร (7,833,726 ไร่) มีพ้ืนที่ใหญ่เป็นอันดบั ท่ี 5 ของภาคเหนือ รองจากจังหวดั เชียงใหม่ ตาก แม่ฮ่องสอน และเพชรบรู ณ์ มอี าณาเขตติดตอ่ กบั จงั หวัดข้างเคียง 7 จังหวดั แผนทจี่ ังหวดั ลำปาง ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กับ จงั หวดั เชยี งใหม่ เชียงรายและพะเยา ทิศใต้ ตดิ ต่อกับ จังหวดั ตาก ทศิ ตะวันออก ติดต่อกบั จังหวดั แพร่ และสโุ ขทัย ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กบั จังหวดั ลำพนู เขตการปกครอง จังหวัดลำปางแบ่งออกเป็น 13 อำเภอ 100 ตำบล 931 หมู่บ้าน 106 ชุมชน (เฉพาะชุมชนในเขต เทศบาลนครลำปาง 43 ชุมชน และเทศบาลเมืองเขลางค์นคร 63 ชุมชน) องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมอื ง 3 แหง่ เทศบาลตำบล 37 แห่ง และองคก์ ารบริหารสว่ นตำบล 62 แห่ง จังหวัดลำปาง มีประชากรกลางปี ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 จำนวน 736,026 คน เพศชาย 359,137 คน (ร้อยละ 48.79) เพศหญิง 376,889 คน (ร้อยละ 51.21) อตั ราส่วนเพศชาย : เพศหญิง เป็น 1:1.05 ประชากร มีอายุขัยเฉล่ียเม่ือแรกเกิด 76.01 ปี ซึ่งเพ่ิมขึ้นจากปี 2562 อายุคาดเฉล่ีย 75.41 โดยเพศชายมีอายุขัยเฉลี่ย เม่ือแรกเกิด 72.49 ปี เพศหญิง 79.70 ปี เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข อายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 85 ปี และพบว่ามี เด็ก 0-4 ปี ร้อยละ 3.39, วัยเรียน 15-21 ปี ร้อยละ 8.62, หญิงวัยเจริญพันธ์ุ 15-49 ปี รอ้ ยละ 22.83, วยั แรงงาน 15-59 ปี รอ้ ยละ 63.92 และผู้สงู อายุ ร้อยละ 24.32 ซงึ่ เปน็ วยั พง่ึ พิงรอ้ ยละ 36.08 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

2 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง จำนวนและรอ้ ยละของประชากร จำแนกตามกลมุ่ อายุ จังหวัดลำปาง ปี 2563 ชาย หญงิ รวม กลมุ่ อายุ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ 0 - 4 ปี 12,804 1.74 12,176 1.65 24,980 3.39 5 - 9 ปี 15,197 2.06 14,624 1.99 29,821 4.05 10-14 ปี 16,254 2.21 15,466 2.10 31,720 4.31 15-19 ปี 17,810 2.42 17,113 2.33 34,923 4.74 20-24 ปี 23,285 3.16 22,823 3.10 46,108 6.26 25-29 ปี 27,157 3.69 25,726 3.50 52,883 7.18 30-34 ปี 25,408 3.45 24,524 3.33 49,932 6.78 35-39 ปี 24,852 3.38 23,991 3.26 48,843 6.64 40-44 ปี 24,588 3.34 24,949 3.39 49,537 6.73 45-49 ปี 26,664 3.62 28,898 3.93 55,562 7.55 50-54 ปี 29,667 4.03 34,121 4.64 63,788 8.67 55-59 ปี 32,472 4.41 36,443 4.95 68,915 9.36 60-64 ปี 29,644 4.03 32,764 4.45 62,408 8.48 65-69 ปี 21,369 2.90 24,030 3.26 45,399 6.17 70-74 ปี 13,243 1.80 14,959 2.03 28,202 3.83 75-79 ปี 8,028 1.09 9,657 1.31 17,685 2.40 80+ ปี 10,695 1.45 14,625 1.99 25,320 3.44 รวม 359,137 48.79 376,889 51.21 736,026 100.00 แหล่งข้อมลู : สำนกั ทะเบียนราษฎร์กลาง กระทรวงมหาดไทย (ข้อมลู ณ 1 ก.ค. 2563) สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

3 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง อายุคาดเฉลีย่ เม่ือแรกเกิด ประชากรจงั หวัดลำปาง ปี พ.ศ. 2554-2563 อายุ (ปี) 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 ชาย 69.28 69.22 69.70 69.81 69.79 69.30 71.83 72.54 71.44 72.49 หญงิ 75.16 75.49 75.88 75.82 76.17 75.87 79.84 80.1 79.67 79.70 รวม 72.14 72.27 72.88 72.73 72.89 72.49 75.70 76.21 75.41 76.01 ปี พ.ศ. 2563 ประชากรจังหวัดลำปาง มอี ายคุ าดเฉล่ียเม่ือแรกเกิด 76.01 โดยเพศชายมีอายุ คาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 72.49 ปี และเพศหญิงมีอายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิด 79.70 ปี เม่ือเทียบกับ ปี พ.ศ. 2559 ท่ีมีอายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิด 72.49 ปี เพศชายมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด 69.30 ปี และเพศหญิงมีอายุ คาดเฉล่ยี เม่อื แรกเกดิ 75.87 ปี โดยเพศหญิงมอี ายคุ าดเฉลี่ยเมอื่ แรกเกิดมากกวา่ เพศชาย โครงสรา้ งประชากรจังหวดั ลำปาง ปี พ.ศ. 2553, พ.ศ.2563 และ พ.ศ.2573 ปี พ.ศ. 2553 ปี พ.ศ. 2563 ปี พ.ศ. 2573 โครงสร้างประชากรจังหวัดลำปาง ในปี พ.ศ.2553 เพศชาย ร้อยละ 49.28 เพศหญิง ร้อยละ 50.72 และปี พ.ศ.2563 เพศชาย ร้อยละ 48.79 เพศหญิง ร้อยละ 51.21 เม่ือเปรียบเทียบกับปี พ.ศ.2573 พบว่ามี การเปล่ียนแปลงค่อนข้างมาก จะมีประชากรเข้าสู่วัยผู้สูงอายุมากข้ึน โดยปี พ.ศ.2563 มีผู้สูงอายุ ร้อยละ 24.32 การคาดการณ์ในปี พ.ศ.2573 มีผู้สูงอายุร้อยละ 37.01 ซึ่งจะส่งผลถึงปัญหาสาธารณสุขท่ีสำคัญ ในอนาคตของจังหวัดลำปาง จะเป็นปัญหาจากโรคที่เกี่ยวข้องกับสภาวะสูงอายุของประชากร ได้แก่ โรคหัวใจและ หลอดเลอื ด โรคแห่งความเสือ่ มของรา่ งกาย สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

4 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง สถานะสุขภาพประชาชนจังหวัดลำปาง (Health Status) สถติ ชิ ีพ อัตราเกิด ในปีงบประมาณ 2563 จังหวัดลำปางมีอัตราเกิด 4.87 ต่อพันประชากร ซึ่งมีแนวโน้ม ลดลงอย่างต่อเน่ือง จากอัตราเกิด 5.96 ต่อพันประชากร ในปีงบประมาณ 2559 เป็นอัตรา 5.11 ต่อพัน ประชากร ในปีงบประมาณ 2562 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 - 2562 พบอัตราเกิด 5.96, 5.77, 5.40 และ 5.11 ต่อพันประชากร ตามลำดับ ซึ่งจังหวัดลำปางมีอัตราเกิดต่ำกว่าภาพรวมประเทศ (ปีงบประมาณ 2562 ภาพรวมประเทศ มอี ัตราเกิด 9.30 ต่อพันประชากร) อัตราตาย ในปีงบประมาณ 2563 จังหวัดลำปางมีอัตราตาย 10.33 ต่อพันประชากร ซ่ึงมีแนวโน้ม เพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง จากอัตราตาย 9.53 ต่อพันประชากร ในปีงบประมาณ 2561 เป็นอัตรา 10.46 ต่อพัน ประชากร ในปีงบประมาณ 2562 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2559 - 2562 พบอัตราตาย 10.64, 9.63, 9.53 และ 10.46 ต่อพันประชากร ตามลำดับ ซ่ึงจังหวัดลำปางมีอัตราตายสูงกว่าภาพรวมประเทศ (ปีงบประมาณ 2562 ภาพรวมประเทศ มอี ตั ราตาย 7.60 ต่อพนั ประชากร) อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ ในปีงบประมาณ 2563 จังหวัดลำปางมีอัตราเพิ่มตามธรรมชาติ ร้อยละ -0.55 มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ -0.47 ในปีงบประมาณ 2559 เป็นร้อยละ -0.53 ในปีงบประมาณ 2562 ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2559 - 2562 มีอัตราเพ่ิมตามธรรมชาติ ร้อยละ -0.47, -0.39, -0.41 และ -0.53 ตามลำดับ อัตราเกดิ อตั ราตาย จังหวดั ลำปาง ปีงบประมาณ 2554-2563 อัตรา:พันประชากร 12 9.10 9.35 9.47 9.43 10.64 9.63 9.53 10.46 10.33 10 9.11 8 6.63 6.98 6.45 6.11 6.16 5.96 5.77 5.40 5.11 6 4.87 4 2 0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 อัตราเกดิ : 1,000 ประชากร อตั ราตาย : 1,000 ประชากร สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

5 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง อัตราเพิม่ ประชากร จงั หวัดลำปาง ปงี บประมาณ 2554-2563 ร้อยละ 1.00 0.00 -1.00 -0.25 -0.29 -0.29 -0.34 -0.24 -0.47 -0.39 -0.41 -0.53 -0.55 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 แหลง่ ข้อมลู : สำนักทะเบียนราษฎร์กลาง กระทรวงมหาดไทย (ขอ้ มลู ณ 31 ธนั วาคม 2563) สาเหตุการตายของประชากร เมื่อพิจารณาโรคท่ีเป็นสาเหตุการตายท่ีสำคัญของประชากรจังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 - เม.ย.64) พบโรคที่เป็นสาเหตุการตาย คือ โรคมะเร็งทุกชนิด, การติดเช้ือในกระแส เลอื ด, โรคหลอดเลือดในสมอง, โรคปอดบวม และไตวายเรื้อรัง คิดเป็นอัตราตาย 104.62, 50.00, 46.60, 46.19 และ 34.65 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ สาเหตกุ ารตายดว้ ยโรคที่สำคัญ 5 อันดับแรก จังหวัดลำปาง ปีงบประมาณ 2562-2564 (ต.ค.63 - เม.ย.64) 200 180 160 140 120 104.62 100 80 60 50.00 46.60 46.19 40 34.65 20 0 Cancer Sepsis Stroke Pneumonia Renal failure 2562 2563 2564 (ต.ค.63-เม.ย.64) แหล่งขอ้ มูล : มรณะบัตร,รายงานการตายในเขตรับผดิ ชอบ สสจ.ลำปาง (ขอ้ มูล ณ 30 เมษายน 2564) สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

6 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง สาเหตกุ ารตายทส่ี ำคญั ของจังหวดั ลำปาง 1. มะเรง็ ทกุ ชนิด มะเร็งทุกชนิด เป็นสาเหตุการตายอันดับหน่ึงของจังหวัดลำปาง ในปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63-เม.ย.64) พบอัตราตาย 104.62 ต่อแสนประชากร เมื่อจำแนกตามสาเหตุการตายด้วยมะเร็งรายอวัยวะ 5 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งหลอดลมและปอด, มะเร็งตับ, มะเร็งท่อน้ำดี, มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งเต้านม อตั ราตาย 28.00, 15.22, 7.20, 6.11 และ 5.03 ตอ่ แสนประชากร ตามลำดบั อัตราตายด้วยมะเรง็ แยกอวัยวะ 5 อนั ดบั แรก จังหวัดลำปาง ปงี บประมาณ 2562-2564 (ต.ค.63 - เม.ย.64) แหลง่ ขอ้ มูล : มรณะบตั ร,รายงานการตายในเขตรบั ผิดชอบ สสจ.ลำปาง (ขอ้ มลู ณ 30 เมษายน 2564) อัตรา:แสนประชากร 100 80 60 40 28.00 15.22 5.03 7.20 6.11 Breast 20 Liver Bile duct large intestine 0 2562 2563 2564(ต.ค.63-เม.ย.64) Bronchogenic and Lung 2. โรคของระบบไหลเวียนโลหติ โรคของระบบไหลเวียนโลหิต เป็นสาเหตุการตายสำคัญของจังหวัดลำปางอีกสาเหตุหนึ่ง ในปงี บประมาณ 2564 (ต.ค.63-เม.ย.64) เม่ือจำแนกสาเหตุการตาย 3 อันดับแรก ได้แก่ โรคหลอดเลอื ดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด และโรคความดนั โลหิตสูง คดิ เป็นอตั ราตายร้อยละ 46.19,27.04 และ 13.31 ตามลำดบั สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

7 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง อตั ราตายดว้ ยโรคของระบบไหลเวยี นโลหิต จำแนกรายโรค จังหวดั ลำปาง ปีงบประมาณ 2562-2564 (ต.ค.63-เม.ย.64) อตั รา:แสนประชากร 100 80 60 46.19 40 27.04 20 13.31 0 โรคหวั ใจขาดเลือด โรคความดันโลหติ สูง โรคหลอดเลือดสมอง 2562 2563 2564 (ต.ค.63-เม.ย.64) แหลง่ ขอ้ มลู : มรณะบัตร,รายงานการตายในเขตรบั ผิดชอบ สสจ.ลำปาง (ขอ้ มลู ณ 30 เมษายน 2564) ระบบบริการสุขภาพจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ (Tertiary Care), ระดับทุติยภูมิ (Secondary Care), ระดับปฐมภมู ิ (Primary Care) สถานบริการระดบั ตตยิ ภูมิ (Tertiary Care) - โรงพยาบาลระดบั A จำนวน 1 แหง่ ได้แก่ โรงพยาบาลลำปาง สถานบรกิ ารระดับทตุ ยิ ภูมิ (Secondary Care) - ระดบั M2 จำนวน 2 แห่ง 1. โรงพยาบาลเกาะคา รับผิดชอบเครือข่าย 8 อำเภอ ได้แก่ อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอเมืองปาน, อำเภองาว, อำเภอวังเหนือ, อำเภอแม่เมาะ, อำเภอแม่ทะ, อำเภอหา้ งฉตั ร และอำเภอเสรมิ งาม 2. โรงพยาบาลเถิน รับผดิ ชอบเครอื ขา่ ย 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอสบปราบ และแมพ่ ริก สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

8 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง - ระดับ F จำนวน 10 แห่ง ไดแ้ ก่ รพ.แม่เมาะ, รพ.เสริมงาม, รพ.งาว, รพ.แจห้ ่ม, รพ.วงั เหนือ, รพ.แม่พริก, รพ.แมท่ ะ, รพ.สบปราบ, รพ.หา้ งฉัตร และรพ.เมืองปาน สถานบริการระดับปฐมภูมิ (Primary Care) - โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล 141 แห่ง - สถานบริการสุขภาพชุมชน (สสช.) 1 แห่ง ไดแ้ ก่ สสช.บ้านกลาง อ.แมเ่ มาะ รพ.สงั กดั กรมการแพทย์ - รพ.มะเรง็ ลำปาง - รพ.เวชชารกั ษล์ ำปาง รพ.สังกดั กระทรวงกลาโหม - รพ.ค่ายสุรศักดม์ิ นตรี รพ.เอกชน 2 แห่ง - รพ.เขลางค์นคร-ราม - รพ.แวนแซนต์วรู ์ด การเจ็บป่วยของประชากร ผปู้ ว่ ยนอก การเจ็บป่วยของผู้มารับบริการผู้ป่วยนอก ของสถานพยาบาลในจังหวัดลำปาง (รายงาน HDC) ในปีงบประมาณ 2564 (ต.ค. 63 - มิ.ย. 64) จำนวนผู้มารับบริการสถานพยาบาล 813,262 คน 2,811,023 คร้ัง คิดเป็น 3.46 ครง้ั /คน แยกเปน็ ผู้มารบั บรกิ ารท่ีโรงพยาบาล ร้อยละ 51.18 และในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล ร้อยละ 48.82 ปงี บประมาณ โรงพยาบาล โรงพยาบาล รวม ส่งเสริมสุขภาพตำบล 2560 คน ครัง้ คน ครั้ง คน ครง้ั 2561 533,772 2,353,507 441,551 1,773,927 975,323 4,127,434 2562 520,919 2,473,991 947,418 4,181,022 2563 501,295 2,456,422 426,499 1,707,031 928,163 4,102,480 2564 484,563 2,300,342 426,868 1,644,791 962,720 3,958,859 (ต.ค.63-ม.ิ ย.64) 478,157 1,658,517 416,209 1,617,347 397,053 1,193676 813,262 2,811,023 ปีงบประมาณ 2564 (ต.ค. 63 - มิ.ย. 64) ผู้ป่วยนอกท่ีมารับบริการ 5 อันดับแรก ได้แก่ ความดัน โลหิตสูง เบาหวาน โรคระบบโครงสร้างและกล้ามเน้ือ โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน และ การบาดเจ็บบริเวณในร่างกาย อัตราการมารับบริการ 38,652.30, 22,267.15, 10,910.89, 6,520.42 และ 4,803.23 ตอ่ แสนประชากร ตามลำดับ สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

9 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวดั ลำปาง อตั ราการมารับบรกิ ารผ้ปู ่วยนอก จำแนกตามกลมุ่ โรคที่ป่วย จังหวัดลำปาง ปงี บประมาณ 2559-2564 (1 ต.ค. 63 - 16 มิ.ย. 64) อตั รา:แสนประชากร 60,000 50,000 40,000 38,652.30 30,000 22,267.15 20,000 10,000 10,910.89 0 6,520.42 4,803.23 ควาคมวามดดันันโลโหลติ หสูงติ สงู เบเบาาหหวาวนาน ระบบโคเนร้อื งเยสื่อผรดิ ้าปกงตแิ ละ โรกคารรตะิดเบช้อืบขอทงทาางงเเดดนิ ินหาหยใาจสยว่ ในจบนการบกาารดบาเดจเจ็บ็บบบรรเิ วเิ วณณในรา่ งกาย กล้ามเน้ือ ส่วนบน ในร่างกาย 2560 2561 2562 2563 2564 แหล่งขอ้ มลู : HDC ผปู้ ่วยนอก dxtype=1 (ขอ้ มูล ณ 16 มิ.ย. 64) ผปู้ ว่ ยใน การเจ็บป่วยของผู้มารับบริการผู้ป่วยในของสถานพยาบาลในจังหวัดลำปาง (รายงาน HDC) ในปีงบประมาณ 2564 (ต.ค. 63 - มิ.ย. 64) จำนวน 67,446 คน จำนวนวันนอน 274,405 วัน คิดเป็น 4.07 วนั /คน โดยโรงพยาบาลระดับ A, M และ F อัตราวนั นอนเฉลีย่ รอ้ ยละ 4.81, 17.62 และ 18.17 ตามลำดับ 1. โรงพยาบาลระดับ A ได้แก่ โรงพยาบาลลำปาง ปงี บประมาณ จำนวน จำนวน ผลรวม CMI วนั นอน วนั นอน อัตราการ ผ้ปู ว่ ย ผปู้ ว่ ย ท่ีมี AdjRW เฉลย่ี ครองเตียง ท้ังหมด คา่ AdjRW 2557 57,716 57,716 119,618.13 2.07 258,174 4.47 86.14 2558 59,429 59,429 122,550.79 2.06 256,129 4.31 87.58 2559 56,131 56,131 119,765.57 2.13 253,262 4.51 86.79 2560 54,751 54,751 120,253.37 2.2 255,967 4.68 91.51 2561 55,579 55,578 119,614.45 2.15 267,608 4.81 96.51 2562 56,564 56,563 128,303.52 2.27 272,237 4.81 99.74 2563 54,983 54,976 126,766.38 2.31 262,470 4.77 95.73 2564 36,644 36,633 88,024.08 2.40 176,168 4.81 96.85 (ต.ค.63-ม.ิ ย.64) สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

10 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง 2. โรงพยาบาลระดับ M ได้แก่ โรงพยาบาลเกาะคา และโรงพยาบาลเถนิ ปีงบประมาณ รพ. จำนวน จำนวน ผลรวม CMI วัน วัน อตั รา จำนวน ผปู้ ว่ ย ผู้ป่วย AdjRW นอน นอน การ เตยี ง ทั้งหมด ที่มีค่า เฉล่ีย ครอง AdjRW เตียง 2557 รพ.เกาะคา 6,180 6,180 5,578.78 0.9 23,448 3.79 105.52 60 2558 รพ.เถนิ 3,769 3,769 2,632.22 0.7 12,195 3.24 53.21 60 2559 รพ.เกาะคา 5,966 5,966 5,320.25 0.89 22,748 3.81 87.17 70 2560 รพ.เถิน 4,298 4,298 2,946.39 0.69 13,919 3.24 56.39 60 2561 รพ.เกาะคา 8,421 8,420 7,194.52 0.85 31,890 3.79 70.84 120 2562 รพ.เถนิ 5,783 5,783 4,390.92 0.76 17,337 3 76.31 60 2563 รพ.เกาะคา 9,075 9,075 8,322.82 0.92 33,904 3.74 74.9 120 2564 รพ.เถนิ 5,275 5,275 4,094.02 0.78 16,367 3.1 71.79 60 รพ.เกาะคา 10,318 10,318 10,284.98 1 37,392 3.62 83.07 120 (ต.ค.63-มิ.ย.64) รพ.เถิน 5,497 5,497 4,356.91 0.79 17,984 3.27 79.26 60 รพ.เกาะคา 11,148 11,148 10,959.45 0.98 40,575 3.64 90.58 120 รพ.เถิน 6,449 6,449 6,201.68 0.96 21,665 3.36 96.67 60 รพ.เกาะคา 11,826 11,826 12,095.49 1.02 42,116 3.56 93.84 120 รพ.เถิน 7,376 7,376 7,624.02 1.03 24,656 3.34 109.83 60 รพ.เกาะคา 8,816 8,816 9,641.60 1.09 32,279 3.66 108.61 120 รพ.เถิน 5,002 5,002 5,106.98 1.02 16,074 3.21 108.44 60 3. โรงพยาบาลระดับ F จำนวน 10 แห่ง ปงี บประมาณ 2564 (ต.ค. 63 - ม.ิ ย. 64) โรงพยาบาล จำนวน จำนวน ผลรวม CMI วนั นอน วันนอน อัตรา จำนวน ผปู้ ่วย ผู้ป่วยท่ีมี AdjRW เฉลีย่ การ เตยี ง ท้ังหมด ค่า AdjRW ครอง เตยี ง 30 30 แม่เมาะ 1,757 1,757 1,415.65 0.81 4,879 2.78 66.83 40 เสริมงาม 1,762 1,762 1,294.10 0.73 5,201 2.95 71.3 30 งาว 2,538 2,538 1,753.09 0.69 6,842 2.7 69.28 30 แจห้ ม่ 1,809 1,809 1,185.74 0.66 5,146 2.84 70.27 วังเหนอื 1,812 1,812 1,492.64 0.82 5,540 3.06 75.73 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

11 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง โรงพยาบาล จำนวน จำนวน ผลรวม CMI วันนอน วันนอน อตั รา จำนวน ผปู้ ่วย ผู้ป่วยที่มี AdjRW เฉลีย่ การ เตียง ทงั้ หมด คา่ AdjRW ครอง เตยี ง แม่พริก 546 546 371.53 0.68 1,305 2.39 17.87 30 แม่ทะ 1,729 1,729 1,350.56 0.78 5,163 2.99 70.78 30 สบปราบ 1,399 1,399 1,309.81 0.94 5,001 3.57 68.6 30 ห้างฉตั ร 2,099 2,099 1,482.92 0.71 6,480 3.09 88.83 30 เมอื งปาน 1,533 1,533 1,186.95 0.77 4,327 2.82 53.62 33 ทม่ี า : ระบบรายงานขอ้ มูล CMI, วิเคราะหศ์ ักยภาพการจัดบรกิ ารผปู้ ่วยใน และผลลพั ธก์ ารใหบ้ รกิ าร เขตสขุ ภาพท่ี 1 เม่ือจำแนกตามกลุ่มโรคผู้ป่วยใน 298 กลุ่มโรค ในปีงบประมาณ 256 4 (ต.ค.63 - มิ.ย.64) ผู้ป่วยท่ีมารับบริการ 5 อันดับแรก ได้แก่ โลหิตจาง, ปอดบวม, COPD, ต้อกระจก และการบาดเจ็บบริเวณ ในร่างกาย อตั ราการมารบั บริการ 415.47, 320.78, 305.70, 281.92 และ 266.84 ตอ่ แสนประชากร ตามลำดบั อตั ราการมารบั บริการผปู้ ่วยใน จำแนกตามกลมุ่ โรคที่ป่วย จังหวดั ลำปาง ปีงบประมาณ 2559-2564 (ต.ค. 63 - มิ.ย. 64) อัตรา:แสนประชากร 800 600 400 415.47 320.78 305.70 281.92 266.84 200 0 โลหติ จาง ปอดบวม COPD ต้อกระจก การ 2560 บรเิ วณใน บาดเจบ็ 2561 2562 2563 2564 รา่ งกาย แหล่งขอ้ มลู : HDC ผปู้ ่วยใน 298 กลมุ่ โรคนบั เป็นคร้งั ตามการวินิจฉยั โดยท่ี dxtype=1 (ข้อมลู ณ 16 มิ.ย. 64) สำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

นโยบายรัฐบาล ผ้บู ริหารระดับสูง ยุทธศาสตร์ชาติ (Agenda based)

12 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง Agenda based ประเด็นการตรวจราชการ ประเด็นท่ี 1 โครงการเก่ียวกบั พระราชวงศ์ โครงการพระราชดำริ : โครงการราชทัณฑ์ปันสขุ ทำความดีเพือ่ ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 1.สถานการณ์ จังหวดั ลำปาง มเี รอื นจำ/ราชทณั ฑ์ จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1.เรือนจำกลางลำปาง เป็นเรือนจำขนาดใหญ่ มีโรงพยาบาลลำปาง เป็น รพ.แม่ข่าย รับส่งต่อใน ระบบหลกั ประกนั สุขภาพถว้ นหน้า 2.สถานกักขังกลางกลางจังหวัดลำปาง มีจำนวนผู้ต้องขัง จำนวนไม่มาก (หลักสิบ) เน่ืองจาก เป็น สถานที่กักขังสำหรับผู้ต้องกักขังกรณี ลหุโทษ ต้องขังแทนค่าปรับ มีการหมุนเวียนเข้า-ออกบ่อย อยู่ไม่เกิน 3 เดอื น โดยมโี รงพยาบาลลำปาง เปน็ รพ.แมข่ า่ ย รับส่งตอ่ ในระบบหลกั ประกนั สุขภาพถว้ นหนา้ 3.ทัณฑสถานบำบัดพิเศษลำปาง เป็นเรือนจำที่รับผู้ต้องขังต่อจากเรือนจำอ่ืน เป็นผู้ต้องขังเร่ืองยา เสพติดและมีแต่ผู้ต้องขังชาย โดยมีโรงพยาบาลห้างฉัตร เป็นรพ.แม่ข่าย รบั ส่งต่อในระบบหลักประกันสุขภาพ ถว้ นหนา้ 2.ขอ้ มลู ทว่ั ไป เรอื นจำกลาง เรือนจำ/ทณั ฑ์สถาน รวม ขอ้ มลู ลำปาง สถานกักขังกลาง ทณั ฑส์ ถานบำบดั 3426 1.จำนวนผ้ตู ้องขงั ทั้งหมด (คน) 2,021 ลำปาง พิเศษลำปาง 3193 - ชาย 1,789 (หา้ งฉัตร) 233 - หญิง 232 9 1,396 8 1,396 10 3.บคุ ลากรดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ เรอื นจำ/ทัณฑส์ ถาน ทัณฑ์สถานบำบดั พิเศษ ขอ้ มูล สถานกักขังกลางลำปาง ลำปาง(หา้ งฉตั ร) เรือนจำกลางลำปาง 1,396 9 1 1.จำนวนผตู้ อ้ งขังทั้งหมด (คน) 2,021 1 1 : 1,396 1 1:9 2 2.แพทย์ (คน) 1 1 ; 698 1 : 2,021 1:9 48 อัตราต่อผูต้ อ้ งขัง 2 0 1 ; 29 0 3.พยาบาล (คน) 1 ; 1,012 78 อัตราต่อผตู้ ้องขัง 1 ; 26 4.อสรจ. (คน) อัตราต่อผู้ตอ้ งขัง ขอ้ มูล ณ 30 พ.ค. 64 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

13 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง 4.โรคที่พบ 5 อนั ดับแรก เรอื นจำกลาง สถานกกั ขัง ทัณฑส์ ถาน รวม ลำดับ โรค ลำปาง กลาง บำบัดพเิ ศษ ลำปาง 2557 1 โรคระบบโครงร่างและกลา้ มเนือ้ (ราย) 1228 ลำปาง 2147 2 โรคผวิ หนัง (ราย) 1485 9 (ห้างฉัตร) 1751 3 โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน (ราย) 976 29 473 4 โรคระบบทางเดินอาหาร (ราย) 371 7 1320 376 5 โรคทางทนั ตกรรม (ราย) 216 0 ข้อมูล ณ 30 พ.ค. 64 0 633 768 102 160 5.สิทธกิ ารรักษาพยาบาล เรอื นจำ/ทณั ฑส์ ถาน ข้อมูล สถานกักขัง ทณั ฑส์ ถานบำบัด ผุต้ อ้ งขังทัง้ หมด (คน) เรือนจำกลาง กลางลำปาง พเิ ศษลำปาง รวม - สิทธิ UC (คน) ลำปาง (หา้ งฉตั ร) 3426 - ขา้ ราชการ/รฐั วิสาหกิจ (คน) 2021 2,858 1,922 9 1396 (83.42) - สทิ ธิ อน่ื ๆ (คน) (95.10) 46 30 9 927 (1.34) - ไมม่ ีสิทธิ/ ต่างด้าว (คน) (1.49) (100) (66.40) 438 52 (12.79) (2.57) 0 16 84 17 (1.15) (2.45) (0.84) 0 386 (27.65) 0 67 (4.80) ข้อมลู ณ 30 พ.ค. 64 การดำเนินงาน ด้านสิทธิการรักษาพยาบาล มีการดำเนนิ งานของโรงพยาบาลแม่ข่ายรว่ มกบั เรอื นจำ/ทัณฑสถาน ดังนี้ 1.การขนึ้ ทะเบียนหน่วยปฐมภมู /ิ ดูแลสทิ ธปิ ระโยชน์ การรักษาพยาบาล/ จดั สรรงบประมาณ -.ทุกเรือนจำขอข้ึนทะเบียนสถานพยาบาลหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายของหน่วยบริการ ประจำในสงั กัดสำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - เรือนจำ(สถานพยาบาล)ประเมนิ ตนเองในการขึน้ ทะเบยี นหนว่ ยบริการปฐมภมู ิ - เรือนจำ(สถานพยาบาล)ทำแผนพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขในข้อที่ไม่ผา่ นเกณฑ์และแนบไฟล์ ส่งให้ สปสช. พิจารณาให้ผา่ นแบบไมม่ ีเง่อื นไข -สุ่มตรวจประเมินเรือนจำ(สถานพยาบาล)โดยทีม/คกก.ประเมินข้ึนทะเบียนหน่วยบริการ จงั หวดั และสปสช. เขต สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

14 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง 2.การจัดระบบข้อมูล/ผลดำเนินการลงทะเบียนสิทธิผู้ต้องขังให้เข้าถึงบริการในระบบหลักประกัน สขุ ภาพ - ลงทะเบยี นสิทธกิ ารรกั ษาใหผ้ ้ตู อ้ งขังเขา้ ถงึ ในระบบหลกั ประกันสุขภาพ ครอบคลุมทกุ สทิ ธิ - เจ้าหน้าท่ีทะเบยี นหน่วยบริการ ตรวจสอบสิทธแิ ละย้ายสิทธขิ องผู้ตอ้ งขงั เพอ่ื ให้การบริหาร จัดการงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีผู้ต้องขังเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล ไม่มีสิทธิในการ รักษา จะให้การรักษาและมีการสงเคราะห์ค่ารักษา(รักษาฟรี) ที่โรงพยาบาลแม่ข่าย (ร.พ.ลำปางและรพ.ห้าง ฉัตร) 6. การดำเนินงานดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข 1.การพฒั นาระบบบริการสาธารณสุขสำหรบั ผตู้ ้องขังในเรอื นจำ เป้าหมาย 1.1 การพฒั นา อสรจ. ในเรอื นจำให้มี อสรจ. ตอ่ ผู้ตอ้ งขงั ไม่น้อยกวา่ 1 ตอ่ 50 การดำเนนิ งาน 1. มกี ารจัดอบรม 2 เรอื นจำ ใชห้ ลักสตู รฝกึ อบรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ เรือนจำ(อสรจ.) กระทรวงสาธารณสขุ - เรือนจำกลางลำปาง อบรม 1 ครั้ง จำนวน 80 คน เดือน มนี าคม 2564 - ทัณฑ์สถานบำบัดพเิ ศษลำปาง(ห้างฉัตร) อบรม 1 ครงั้ จำนวน 50 คน เดือน เมษายน 2564 - สถานกกั ขังกลางลำปาง ไม่มีการอบรม เนื่องจากจำนวนผ้ตู อ้ งขงั มีจำนวน 9 ราย (ไม่เขา้ เกณฑ์ 1:50) 2.มกี ารพฒั นา อสรจ. ต่อเนื่อง โดย พยาบาลในเรอื นจำเรือนจำ (โดยใช้สอ่ื ช่วยสอน “วดี ทิ ัศน์ การฝึกอบรม อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจำ (อสรจ.)”). ตามสถานการณื และ บริบทของเรอื นจำ ผลงาน ต.ค.-พ.ค.64 เรือนจำ/ทัณฑ์สถาน ขอ้ มูล เรือนจำกลางลำปาง สถานกักขังกลาง ทัณฑส์ ถานบำบดั พเิ ศษ ลำปาง ลำปาง(หา้ งฉัตร) 1.ผู้ตอ้ งขังทั้งหมด (คน) 2021 9 1396 80 2.ผ้ตู ้องขงั ได้รบั การอบรม อสรจ. ไม่เขา้ เกณฑ์ 50 78 (มนี าคม 64) (คน) 1:26 3.จำนวน อสรจ. ณ เดอื น พค.64 (คน) 48 1:29 4.อตั รา อสรจ.ตอ่ ผูต้ ้องขัง ข้อมลู ณ 30 พ.ค. 64 เปา้ หมาย 1.2 การพัฒนาศกั ยภาพพยาบาลประจำสถานพยาบาลในเรอื นจำ หรือพยาบาลจากโรงพยาบาล แม่ขา่ ย การดำเนินงาน การพฒั นาองค์ความร้ดู า้ นพยาบาลในเรือนจำ 1. มีพยาบาลผู้รับผิดชอบจากรพ.แม่ข่ายแห่งละ 1 คน เป็นผู้ประสานงานกำกับ ดูแล พยาบาลใน เรอื นจำ เพื่อให้มีการตรวจรักษาตามเวชปฏบิ ัติ (ตามเกณฑ์) 2. พยาบาลเรือนจำ เข้าร่วมการประชุม ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีของรพ.แม่ข่าย ในการดำเนินงานด้าน การแพทย์และสาธารณสขุ อย่างต่อเนอื่ ง ไดแ้ ก่ สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

15 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง 1. ตรวจคัดกรองโรค HT DM 1 ครั้ง 2. การคัดกรอง โรคซึมเศร้า/โรคจิตเภท 1 ครง้ั 3. การคัดกรองค้นหาวัณโรคโดยการถ่ายภาพรังสที รวงอก 1 คร้ัง 4. การอบรม อสรจ.1 ครง้ั 5. การดำเนนิ งานตามมาตรการโควิดในเรอื นจำ 1 คร้ัง เป้าหมาย 1.3 การใหบ้ รกิ ารตรวจรกั ษาตามเวชปฏบิ ัติ ตามเกณฑ์ในคู่มือ การดำเนินงาน มีการให้บริการตรวจรักษาตามเวชปฏบิ ัติ โดย แพทย์ จากโรงพยาบาลแม่ขา่ ย และ พยาบาลประจำใน สถานพยาบาลของเรือนจำทกุ แหง่ ตามแผนการตรวจรักษาผูต้ อ้ งขัง ดงั นี้ 1.โรงพยาบาลลำปาง -. แพทย์ให้บริการการตรวจรกั ษาผ่านระบบTelemedicine ในเรือนจำกลางลำปาง ทุกวันจันทร์ และในกรณฉี กุ เฉนิ ทกุ วนั -. แพทย์ให้บริการการตรวจรักษาผ่านระบบTelemedicine ในสถานกักขังกลางลำปาง ในกรณี ฉุกเฉิน ทกุ วนั - พยาบาลในเรอื นจำให้บริการตรวจรกั ษาตามเวชปฏบิ ัตแิ ก่ผตู้ อ้ งขงั ทุกวนั ทำการ และ สามารถ Consult case กับแพทย์ ตรวจรักษาผา่ น ระบบTelemedicine ในกรณีฉุกเฉิน 2. โรงพยาบาลหา้ งฉตั ร - แพทย์ให้บริการการตรวจรักษาโดยแพทย์ออกให้บริการในทัณฑสถานบำบัดพิเศษลำปาง(ห้าง ฉตั ร) เดือนละ 1 ครง้ั และตรวจรักษาผ่าน ระบบTelemedicine ในกรณฉี ุกเฉิน และช่วงโควดิ - พยาบาลในเรือนจำให้บริการตรวจรักษาตามเวชปฏิบตั ิแก่ผตู้ ้องขัง ทุกวันทำการ และ สามารถ Consult case กบั แพทย์ ตรวจรักษาผา่ น ระบบTelemedicine ในกรณฉี กุ เฉนิ ผลงาน ต.ค.-พ.ค.64 เรอื นจำ/ทณั ฑ์สถาน ขอ้ มูล สถานกกั ขงั ทณั ฑ์สถานบำบดั เรอื นจำกลาง กลางลำปาง พเิ ศษลำปาง(หา้ ง รวม ลำปาง ฉตั ร) 1.จำนวนผ้ตู ้องขงั ท่ีไดร้ ับการตรวจรกั ษาโดย แพทยร์ พ.แม่ข่าย (คน/ครง้ั ) 777 / 32 0 113 / 8 890 / 40 6,587 2. จำนวนผตู้ อ้ งขงั ที่ไดร้ ับการตรวจรักษา โดย พยาบาลในเรือนจำ (คน) 71 4,327 10,985 ขอ้ มลู ณ 30 พ.ค. 64 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

16 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง 2.การบรกิ ารสุขภาพช่องปาก เปา้ หมาย การจัดให้บริการสุขภาพชอ่ งปากอยา่ งนอ้ ย 4 คร้ัง/ปี (ทกุ เรือนจำ/ทณั ฑสถาน) การดำเนนิ งาน เรอื นจำกลางลำปาง 1.ออกหน่วยทันตแพทย์เคล่ือนท่ี โดยรพ.ลำปาง จำนวน 2 ครั้ง (เดือน เมย.และพค64 .ไม่ได้ออก ให้บรกิ าร ชว่ งสถานการณ์โควดิ มีการปิดเรอื นจำ.) 2. ชว่ งปดิ เรือนจำ พยาบาลเรอื นจำเป็นผู้ให้บรกิ ารสุขภาพช่องปากแกผ่ ู้ต้องขัง ทัณฑส์ ถานบำบดั พเิ ศษลำปาง(ห้างฉัตร) 1.ออกบรกิ ารทันตกรรมเคลอ่ื นทีส่ ำหรับผู้ตอ้ งขังในเรอื นจำ โดย รพ.ห้างฉัตร จำนวน 3 ครัง้ เดือน เมย. และ พ.ค.64 ไม่ไดอ้ อกใหบ้ ริการเน่ืองจาก ช่วงสถานการณโ์ ควดิ มีการปิดเรอื นจำ 2.ช่วงสถานการณโ์ ควิด มกี ารปดิ เรือนจำ พยาบาลทัณฑ์สถานเปน็ ผู้ให้บริการสุขภาพช่องปากแกผ่ ูต้ อ้ งขงั ผลงาน ต.ค.-พ.ค.64 ขอ้ มลู เรือนจำ/ทัณฑส์ ถาน เรือนจำกลาง สถานกกั ขัง ทัณฑ์สถานบำบัด รวม ลำปาง กลางลำปาง พเิ ศษลำปาง (ห้างฉัตร) 1.ทันตแพทย์ รพ.แม่ข่ายใหบ้ ริการ (คร้งั ) 2 - 35 (50) (75.00) (62.50) - ผตู้ อ้ งขังท่ไี ด้รับบริการ ขดู อุด ถอน (คน) 109 - 95 204 2.ผตู้ ้องขงั ได้รับบรกิ ารตรวจช่องปาก - โดยพยาบาลในเรือนจำ (คน) 216 160 376 ข้อมลู ณ 30 พ.ค. 64 3.การบรกิ ารสขุ ภาพจิต เป้าหมาย ผ้ตู ้องขังทีค่ ดั กรองแลว้ พบปัญหาสุขภาพจติ ไดร้ ับการดูแลรกั ษา รอ้ ยละ 80 การดำเนนิ งาน เรือนจำกลางลำปาง 1.มกี ารคัดกรอง ตามแบบคัดกรองสขุ ภาพจิตของกรมราชทณั ฑ์ ผ้ตู ้องขงั แรกรับ 2.มีการเฝา้ ระวงั สขุ ภาพจิตผตู้ ้องขงั โดย อสรจ. และเมื่อพบผดิ ปกติรายงานพยาบาลในเรอื นจำ 3.พยาบาลในเรือนจำรายงาน/ปรกึ ษาจติ แพทย์ รพ.ลำปาง 4.มีจิตแพทย์ให้บริการตรวจรักษาและให้คำปรึกษาทาง Video Conference ท้ังในรายปกติและกรณี ฉกุ เฉิน ทาง Telepsychiatry ทณั ฑส์ ถานบำบัดพิเศษลำปาง(ห้างฉตั ร) 1.มกี ารคดั กรอง ตามแบบคดั กรองสุขภาพจิต ผู้ต้องขงั แรกรบั 2.มกี ารเฝา้ ระวังสขุ ภาพจิตผูต้ อ้ งขงั โดย อสรจ. พบผิดปกติ แจง้ พยาบาลในเรอื นจำ 3.พยาบาลประเมิน 2Q 9Q พบผิดปกติ consult แพทย์ สง่ ตอ่ รพ.ห้างฉัตร สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

17 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง สถานกักขงั กลางลำปาง 1. มกี ารเฝ้าระวงั สุขภาพจิตผตู้ อ้ งขงั โดย อสรจ. เม่ือพบผดิ ปกตริ ายงานพยาบาลในเรอื นจำ 2. พยาบาลในเรอื นจำ รายงาน/ปรึกษาจิตแพทย์ รพ.ลำปาง 3. จิตแพทย์ให้บริการตรวจรักษาและให้คำปรึกษาทาง Video Conference ท้ังในรายปกติและกรณีฉุกเฉิน ทาง Telepsychiatry ผลงาน ต.ค.-พ.ค.64 เรอื นจำ/ทัณฑ์สถาน ข้อมลู สถานกกั ขงั ทณั ฑส์ ถานบำบดั กลางลำปาง พิเศษลำปาง 1.จำนวนผตู้ ้องขงั ที่ไดร้ บั การคัดกรองด้าน เรอื นจำกลาง รวม ลำปาง (ห้างฉตั ร) 1414 สุขภาพจติ (คน) 1,200 - 214 - ผตู้ ้องขังทีค่ ดั กรองแลว้ พบปัญหา - สขุ ภาพจติ (ราย) 3 7 10 (0.25) (3.27) (0.71) - ผตู้ อ้ งขังทคี่ ัดกรองแล้วพบปัญหา 3 7 10 สขุ ภาพจิตไดร้ ับการรกั ษา (ราย) (100) - (100) (100) 2.จิตแพทย์/แพทย์ รพ.แม่ข่ายท่ใี ห้บริการ สุขภาพจติ ทาง Telepsychiatry (คน) 1 1 0 1 - ผตู้ ้องขังที่ได้รบั การได้รบั การ ตรวจ รักษา/บริการสขุ ภาพจิต (ราย) 185 1 0 186 ขอ้ มูล ณ 30 พ.ค. 64 4. การป้องกนั และควบคมุ โรคท่ีสำคญั 4.1 การดำเนนิ การคดั กรองค้นหาวัณโรคดว้ ยการถา่ ยภาพรงั สที รวงอกในผตู้ ้องขงั แรกรับ เปา้ หมาย มีการการดำเนนิ การคดั กรองคน้ หาวณั โรคดว้ ยการถา่ ยภาพรังสีทรวงอกในผตู้ อ้ งขงั แรกรับ มากกว่าหรือเทา่ กบั ร้อยละ 90 การดำเนนิ งาน 1.การตรวจคดั กรองค้นหาวัณโรคดว้ ยการถ่ายภาพรงั สีทรวงอก เรอื นจำกลางลำปาง - รพ.ลำปาง ดำเนินการคัดกรองค้นหาวัณโรคโดยการถ่ายภาพรังสีทรวงอกผู้ต้องขัง ในเรือนจำกลาง ลำปาง โดยการรณรงค์ต้นปีงบประมาณ 1 ครัง้ และคดั กรองในผู้ตอ้ งขงั แรกรับ ทกุ เดือน สถานกักขังกลางลำปาง - ไม่ได้ดำเนินการ เพราะมีผู้ต้องขังเข้าเรือนจำแทนค่าปรับ ผู้ต้องขัง เข้า ออก เรือนจำตลอด (อยู่ นานสดุ 3 เดอื น) สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

18 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง ทณั ฑส์ ถานบำบัดพิเศษลำปาง - รพ.ห้างฉัตร ดำเนินการคดั กรองคน้ หาวัณโรคโดยการถ่ายภาพรังสที รวงอกในผู้ต้องขงั ในทัณฑสถาน บำบัดพเิ ศษ ลำปางประจำปี ปลี ะ 1 คร้ัง (รณรงค์ ต้นปีงบประมาณ) 2. ตดิ ตามผู้ป่วยให้ได้ยา และไปตรวจตามนัดอยา่ งต่อเนื่อง ผลงาน(ต.ค.-พ.ค.64) เรือนจำกลาง เรือนจำ/ทณั ฑ์สถาน รวม ขอ้ มลู ลำปาง 748 สถานกักขัง ทัณฑส์ ถาน 1. จำนวนผู้ต้องขังแรกรบั ณ วันที่ คดั กรอง (คน) 748 กลางลำปาง บำบัดพเิ ศษ ลำปาง (ห้างฉตั ร) -0 - ได้รับการคัดกรองคน้ หาวัณโรคด้วยการถ่ายภาพ 748 - 748 (100) รงั สที รวงอก (คน) (100) 0 - พบวณั โรคปอด (คน) 9 - 9 (1.20) 0 (1.20) - ได้รบั การรักษา (คน) 9- 9 (100) 0 (100) 2.จำนวนผ้ตู ้องขงั ทั้งหมด ณ วันที่ คดั กรอง (รณรงคต์ น้ 2,198 - 1502 3784 งบประมาณ) (คน) - ไดร้ ับการคดั กรองงคน้ หาวณั โรคด้วยการถ่ายภาพ 2,198 - 1,502 3700 รังสที รวงอก (คน) (100) (100) 3700(100) - พบวณั โรคปอด (คน) 5 - 16 21 (0.23) (1.07) (0.57) - ไดร้ บั การรักษา (คน) 5- 21 (100) 16 (100) ข้อมลู ณ 30 พ.ค. 64 4.2.การดำเนนิ การคดั กรอง เอช ไอ วี ในกลมุ่ ผู้ต้องขังแรกรับ เป้าหมาย ดำเนินการคัดกรอง เอช ไอ วี ในกลุ่มผู้ต้องขงั แรกรบั ร้อยละ 50 การดำเนนิ งาน 1.ดำเนินการคัดกรองเอชไอวีในผู้ต้องขังแรกรับ ในเรือนจำกลางลำปาง และทัณฑสถานบำบัดพิเศษลำปาง ทุกเดือน - ให้บรกิ ารปรกึ ษาและใหค้ วามรู้ เพอ่ื การตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี ดว้ ยความสมัครใจ - รพ.ลำปาง เจาะเลอื ดหาเช้ือเอชไอวใี นผู้ต้องขงั แรกรับ ในเรือนจำกลางลำปาง ทุกเดือน - รพ.ห้างฉัตรเจาะเลือดหาเชอ้ื เอชไอวีในผู้ต้องขงั ในทัณฑสถานบำบดั พเิ ศษลำปางผ้ตู อ้ งขังทงั้ หมด - พบผลเอชไอวี Positive สง่ เขา้ รบั การรักษาทีท รพ.แม่ข่าย ตามระบบทุกราย 2. ติดตามผูป้ ว่ ยให้ได้ยา และไปตรวจตามนดั อย่างต่อเน่อื ง สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

19 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง ผลงาน(ต.ค.-พ.ค.64) ขอ้ มูล เรือนจำ/ทณั ฑ์สถาน เ รื อ น จ ำ ส ถ า น กั ก ขั ง ทัณฑ์สถานบำบัด รวม กลางลำปาง กลางลำปาง พิเศษลำปาง (ห้างฉตั ร) จำนวนผตู้ อ้ งขังแรกรับ (คน) 748 - 750 1498 จำนวนผตู้ ้องขังแรกรับที่คดั กรองคน้ หาเอชไอวี (คน) 153(20..45) - 260 (34.67) 413 (27.57) จำนวนผตู้ อ้ งขังแรกรับ พบผลบวก (ราย) 0 - 4 (1.54 %) 4 (0.97) จำนวนผู้ต้องขังแรกรบั ได้รบั การสง่ ตอ่ เพือ่ รกั ษา(ราย) 0 - 4 (100 %) 4 (100) -ผู้ต้องขังแรกรับ ได้รบั การรักษา (ราย) 0 - 4 (100 %) 4 (100) ขอ้ มลู ณ 30 พ.ค.64 ปัญหา อปุ สรรค ช่วงสถานการณ์โควิด เรือนจำปิด (เม.ย. พ.ค. มิ.ย.) เรือนจำปิด รพแม่ข่าย.ไม่ได้เข้าไปให้บริการ (บรกิ ารทันตกรรม, เอกซเรย์คดั กรองวณั โรค, ตรวจ HIV ) การพัฒนาการจดั การอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม และดา้ นสขุ าภิบาลอาหาร และน้ำ 1.ด้านสขุ าภบิ าลส่ิงแวดล้อม เปา้ หมาย ประเมินรับรองมาตรฐานส่งิ จำเป็นขน้ั พื้นฐานสำหรับผตู้ ้องขัง 5 ดา้ น 2.ด้านสุขาภิบาลอาหาร - มาตรฐานโรงครวั - มาตรการตรวจอาหาร เปา้ หมาย ประเมินคุณภาพตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข ตามความเหมาะสม (ประเมนิ ทุกปี การดำเนนิ งาน 1. ดา้ นอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม 1.รพ.แม่ข่าย ให้ข้อแนะนำเรือนจำในการดูแลมาตรฐานความเป็นอยู่ของผู้ต้องขัง 5 ด้าน ได้แก่ ด้าน ทนี่ อน, ด้านสทู กรรม, ด้านโรงเลย้ี งอาหาร, สถานพยาบาล และ ด้านการกำจัดขยะและส่ิงปฏิกูลด้านสทู กรรม, ดา้ นโรงเลี้ยงอาหาร, สถานพยาบาล และ ด้านการกำจดั ขยะและสง่ิ ปฏกิ ูล 2. มกี ารประเมนิ รับรองมาตรฐานความเปน็ อยขู่ องผตู้ ้องขัง 5 ดา้ น เพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวติ ผูต้ ้องขัง และให้คำแนะนำ จนท.เรือนจำ/พยาบาล, อาสาสมัครเรือนจำ (อสรจ.) ปรับปรุงส่วนขาดจากการประเมิน มาตรฐานฯ 5 ด้าน 3.เรือนจำ (หน่วยงานรับการประเมิน) จัดเก็บผลการประเมินตามเอกสารแบบสำรวจตามมาตรฐาน ความเป็นอยขู่ องผตู้ อ้ งขงั 5 ดา้ นเพ่ือใช้ควบคมกำกบั และ ติดตามการพฒั นาให้ไดม้ าตรฐาน 4.เทศบาล/ อบต. (หน่วยงานประเมิน) จัดเก็บผลการประเมินตามเอกสารแบบสำรวจตามมาตรฐาน ความเปน็ อยขู่ องผู้ตอ้ งขงั 5 ดา้ น ในระบบอิเลก็ ทรอนิก และรายงานผลการประเมินให้ สสจ. รับทราบ 5.สสจ. มีการนเิ ทศ ตดิ ตามการดำเนินงาน เรือนจำ/ ทัณฑสถาน ตอ่ ไป 2. ด้านสุขาภบิ าลอาหาร และนำ้ 1.รพ.แมข่ า่ ย ให้ข้อแนะนำในการดแู ลรักษา และใช้ภาชนะอปุ กรณ์ท่ใี ช้ประกอบอาหาร โดยแยกการ ใช้งาน เพ่ือลดการปนเป้ือนอาหารแตล่ ะประเภท สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

20 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง 2.รพ.แม่ข่าย ให้ข้อแนะนำสุขวิทยาผู้สัมผัสอาหาร ในการเตรียม ปรุง ประกอบอาหาร ตามหลัก สขุ าภบิ าลอาหาร 3. รอการประเมินตามเอกสารแบบสำรวจตามมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร กรมอนามัย (สอ.รร.7) เน่ืองจากเรอื นจำปิด สถานการณโ์ ควดิ ผลงาน(ต.ค.-พ.ค.64) - ตรวจประเมนิ รบั รองมาตรฐานสำหรบั ผู้ตอ้ งขงั ในเรือนจำ/ทณั ฑสถาน 1 ครั้ง (มนี าคม 2564) ผลการประเมนิ - เรอื นจำกลางลำปาง และ ทณั ฑสถานลำปาง ผ่านเกณฑม์ าตรฐานทงั้ 5 ดา้ น ผลการประเมินรบั รองมาตรฐานส่งิ จำเป็นขนั้ พ้นื ฐานสำหรับผูต้ อ้ งขงั 5 ดา้ น การสำรวจ เรอื นจำ/ทัณฑ์สถาน เรอื นจำกลางลำปาง ทณั ฑ์สถานบำบดั พิเศษ ลำปาง(ห้างฉัตร) 1.ด้านทน่ี อน ผ่าน ผ่าน 2.ด้านสทู กรรม ผ่าน ผ่าน 3.ดา้ นโรงเลย้ี งอาหาร ผา่ น ผ่าน 4.ดา้ นกำจดั ขยะมลู ฝอย ผ่าน ผ่าน 5.ด้านกำจัดสงิ่ ปฏิกลู ผา่ น ผ่าน ข้อมลู ณ 30 พ.ค. 64 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 การปอ้ งกนั ควบคุมการติดเช้อื ไวรสั โควิด 19 ในเรอื นจำ เปา้ หมาย มีการดำเนนิ การมาตรการป้องกันควบคุมโรคติดเช้อื ไวรัส โควิด ผลลพั ธ์ที่ต้องการ มาตรการในการป้องกันควบคุมโรคในเรือนจำ การป้องกันควบคมุ สถานการณ์ COVID-19 ในเรือนจำ/ทัณฑสถาน จงั หวัดลำป 1. การจดั การตามระดบั ความรนุ แรงของการระบาดในเรอื นจำ ลำดับ กลุ่มเปา้ หมาย มาตรการ/แนวทาง เรือนจำลำ 1 ผู้ต้องขงั /เจ้าหนา้ ที่ การสุ่มสำรวจ - สุ่มตรวจแดนละ 10 • พบปะผู้คนหลากหลาย เรือนจำกลางลำปาง • มกี ิจกรรมหลากหลาย แดนชายและแดนหญ • ผ้สู ูงอายุ ตรวจด้วยวิธี Nasal /โรคเร้ือรัง ละ 200 คน - ท ำ ก า ร ส่ งต ร ว จ รายบุคคลทันทีเมื่อพ รายน้ันมีอาการป่วย หายใจ กรณไี ม่พบผตู้ ิดเชือ้ - เจ้าหน้าท่ีเรือนจำ จ ส่งตรวจ Nasal swa เน่ื อ ง จ า ก เป็ น ก ลุ่ ม บ เคล่ือนย้ายเข้า-ออก ประจำ สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการ

21 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง ด 19 ทุกเรือนจำ ปาง การดำเนินงาน ำปาง สถานกักขงั กลางลำปาง ทณั ฑสถานลำปาง 00 คน/สัปดาห์ : สุม่ ตรวจทกุ 14 วัน เจ้าหน้าที่ : สุ่มตรวจทุก 14 วัน งมี 2 แดน คือ วันท่ี 24 พ.ค.64 (ล่าสุดตรวจ 2 มิถุนายน 2564) ญิง จึงทำการสุ่ม -ตรวจผตู้ อ้ งกกั ขังทง้ั หมด จำนวน 6 คน ผู้ต้องขัง : สุ่มตรวจ 10% ทุก swab สัปดาห์ -ตรวจเจา้ หนา้ ที่ท้ังหมด จำนวน 25 คน สปั ดาห์ วันที่ 25 พ.ค.64 จ Nasal swab -ตรวจผ้ตู อ้ งกกั ขังท้งั หมด จำนวน 1 คน พบว่าผู้ต้องขัง -ตรวจเจ้าหนา้ ทท่ี งั้ หมด จำนวน 2 คน ระบบทางเดิน ผู้ต้องกักขังและเจ้าหน้าท่ีตรวจครบ 100 % จำนวน 115 คน -มีการตรวจคัดกรองผู้ต้องกักขังเข้าใหม่ เจ้าหน้าที่ : ปฏิบัติตามมาตรการ ab ทุก 14 วัน โดยให้แยกกักโรค และตรวจแล็บทุก ปอ้ งกนั โรคจงั หวดั ลำปาง บุคคลที่มีการ วนั ท่ี 1-3 และ 19-21 กอ่ นปล่อยตัวเข้า ผู้ต้องขัง : กักกันผู้ต้องขังออก กเรือนจำเป็น ไปอยู่ต่อท่ีแดน โรงพยาบาลเฝา้ ดอู าการ 21 วนั -เจ้ าห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ต าม ค ำส่ั งก ร ม ราชทณั ฑ์ หา้ มออกนอกพ้ืนท่ี และ รและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณปี กติ รอบที่ 2 ลำดบั กลมุ่ เปา้ หมาย มาตรการ/แนวทาง เรอื นจำลำ - ท ำ ก า ร ส่ งต ร ว จ รายบุคคลทนั ทเี มือ่ พบ เรือนจำรายน้ันมีอาก ทางเดนิ หายใจ กรณีพบผู้ติดเช้ือนอก - เมื่ อ พ บ ผู้ ติ ด เชื้ อ แดนแรกรับ รายงาน รพ.ลำปาง เรือนจำ รับการรัก ward รพ.ลำปาง ห เรือนจำโครงสร้างเบ บำบัดพเิ ศษลำปาง สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการ

2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง 22 การดำเนินงาน ทณั ฑสถานลำปาง ำปาง สถานกกั ขงั กลางลำปาง จ Nasal swab ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคจังหวัด บวา่ ผ้เู จา้ หนา้ ท่ี ลำปาง การป่วยระบบ -สมุ ตรวจผูต้ ้องกักขงั ทกุ 7 วนั -หากพบผตู้ ดิ เชื้อแจ้งโรงพยาบาลลำปาง และนำตัวออกนอกสถานกักขังฯ ไปยัง โรงพยาบาลฯ หรือโรงพยาบาลสนาม เรอื นจำโครงสร้างเบา ทัณฑสถานบำบัด พิเศษลำปางต่อไป อ แ ด น แ รก รับ -จำกัดบริเวณเข้า-ออกเจ้าหน้าท่ีและผู้ -- เมื่อพบผู้ติดเชื้อแดนแรกรับ ง ส่งออกจาก ตอ้ งกกั ขัง รวมทัง้ กักบริเวณ รายงาน รพ.ห้างฉัตร ส่งออกจาก กษาที่ cohort -ต รว จ คั ด ก รอ งผู้ ต้ อ งกั ก ขั ง แ ล ะ เรือนจำ รับการรักษาท่ี cohort รือ รพ.สนาม เจ้าหน้าที่สถานกักขังฯ ท่ีเป็นกลุ่ม ward รพ .ห้ างฉัต ร ห รือ รพ . บา ทัณฑสถาน cluster ทกุ ราย สน าม เรือน จำโครงสร้างเบ า ทณั ฑสถานบำบัดพิเศษลำปาง รและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 2.การตรวจทางห้องปฏบิ ัติการในเรือนจำ ลำดบั กลมุ่ เปา้ หมาย มาตรการ/แนวทาง เรอื นจำลำป 1 ผู้ต้องขังในเรือนจำท่ีมีการ 1.กลุ่มที่มีปัจจัยเส่ียงต่อ - ตรวจคดั กรองผตู้ ้อง ระบาด (ตรวจพบการติดเช้ือ การป่วยรนุ แรง* เรือนจำกลุ่ม cluste COVID-19 นอกแดนแรก แยกกกั รบั ) 2.กลุม่ ปกติ - ผู้ต้องขัง+เจ้าหน้าท ความเสีย่ ง ตรวจเมื่อม 2 เจ้าหน้าท่ีในเรือนจำที่มีการ การทำ PCR - เจ้าหน้าท่ีท่ีมีความ ระบาด สัมผสั โรค ตรวจ PCR - เจ้าหน้าที่ที่ไม่มีควา PCR เมื่อมีอาการ ห ปฏบิ ัติหน้าทเ่ี สรจ็ ส้นิ * กลุ่มที่มีปัจจัยเสีย่ งต่อการป่วยรุนแรง คือ อายุ >60 ปี, โรคปอดอุดกัน้ เรอื้ รงั (CO แต่กำเนดิ , โรคหลอดเลือดสมอง, เบาหวานทคี่ วบคมุ ไม่ได,้ ภาวะอ้วน (>90 กก.), ต **อาการ คอื อาการไข้ ไอ มนี ้ำมกู เจบ็ คอ ไม่ไดก้ ลน่ิ ลิ้นไมร่ ับรส หายใจเร็ว หายใ สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการ

23 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง การดำเนินงาน ปาง สถานกกั ขังกลางลำปาง ทัณฑสถานลำปาง งขงั +เจา้ หน้าท่ี ให้ตรวจทันทีท่ีมีอาการติดเช้ือ และ แยกหอ้ งกักกนั กลุ่มเปราะบาง er ทุกรายและ สัมผัสเส่ียงสูง ตรวจทุก 7 วัน กรณีอื่นๆ ทุก 14 วนั รวมทัง้ แยกกักตวั ท่ีเรือนจำท่ีไม่มี ดำเนินการสุ่มตรวจ 10 % ของผู้ต้อง ดำเนินการสุ่มตรวจผู้ต้องขัง 10% มอี าการ กกั ขังทุก 14 วัน หรอื เมอิ มีอาการ ทกุ สัปดาห์ มเสี่ยงต่อการ ตรวจทุก 14 วัน ตรวจทกุ 14 วัน R ทุก 7 วนั PCR ลา่ สุดวันท่ี 2 มถิ ุนายน 2564 ามเสี่ยง ตรวจ ห รื อ เม่ื อ ก า ร OPD), โรคปอดเร้ือรังอ่นื ๆ, โรคไตเรื้อรัง (CKD), โรคหัวใจ และหลอดเลือด รวมโรคหวั ใจ ตับแข็ง, ภาวะภมู คิ ุ้มกันตำ่ และ lymphocyte น้อยกวา่ 1,000 เซลล/์ ลบ.มม ใจเหนื่อย หรอื หายใจลำบาก ตาแดง ผื่น ถา่ ยเหลว รและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 3.การจดั การในเรอื นจำท่ีมกี ารระบาด (ถา้ ม)ี ลำดบั กลมุ่ เป้าหมาย มาตรการ/แนวทาง เรือนจำ 1 พื้นท่ีแยกสำหรับคนที่มี พ้ื น ท่ี สำห รับ ก ลุ่ม ค น กักตัวห้องกักกัน อาการ และไม่มีและมีปัจจัย ทว่ั ไป ไม่มปี ัจจยั เสี่ยง วั น ห า ก พ บ ส เส่ยี ง รอผลตรวจ RT-PCR โรงพยาบาลลำปาง 2 พื้นที่แยกสำหรับคนที่มี พื้นที่สำหรับกลุ่มคนท่ีมี - รับไว้ควบคุมท อาการ และมีปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเสีย่ ง หนองกระทงิ รอผลตรวจ RT-PCR - ผู้ต้องขังกลุ่มเส่ีย แยกกักที่ห้องแยก ตรวจ PCR จนมั่น เชอ้ื ส่งตวั เข้าควบ 3 แ ด น ส ำ ห รับ ดู แ ล รัก ษ า - โรงพยาบาลส ผู้ป่วยโควิด-19ที่ อาการ โครงสร้างเบา ทั เล็กนอ้ ย หรือไมร่ นุ แรง พิเศษลำปาง 4 แ ด น ส ำ ห รับ ดู แ ล รัก ษ า - กลมุ่ เส่ียง แดน 2 ผู้ ป่ วย อื่ น ๆ ที่ ไม่ เป็ น โรค โควิด-19 สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการ

24 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง การดำเนนิ งาน ำลำปาง สถานกกั ขงั กลางลำปาง ทัณฑสถานลำปาง นโรค จำนวน 21 กักตัวห้องกักกันโรค จำนวน 21 วัน -มีห้องกักโรค 7 ห้อง เปิด 4 วันกัก ส่ ง ตั ว รั ก ษ า ท่ี หากพบส่งตวั รักษาท่ีโรงพยาบาลลำปาง ตวั 21 วนั ง ท่ีเรือนจำชั่วคราว -กักตัวห้องกักกันโรค จำนวน 21 วัน -กักตัวห้องกักกันโรค จำนวน 21 หากพบสง่ ตัวรักษาที่โรงพยาบาลลำปาง วั น ห า ก พ บ ส่ ง ตั ว รั ก ษ า ที่ ยงต่อการติดเช้ือ โรงพยาบาล กกัก แดน 2 เม่ือ นใจว่าไม่มีการติด บคุมในแดนใน ส น าม เรือ น จ ำ -โรงพยาบาลสนาม เรือนจำโครงสร้าง หอ้ งกกั กนั ณฑสถานบำบัด เบา ทัณฑสถานบำบัดพเิ ศษลำปาง 2 สถานพยาบาล แดนชาย และแดนหญิง สถานพบาล รและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 4.การให้วคั ซีนสำหรบั ผู้ต้องขงั ลำดับ กลุ่มเปา้ หมาย มาตรการ/แนวทาง 1 ผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงต่อการ การฉดี วัคซีนในเรอื นจำ เรือนจำลำป เสียชีวิต 1 ผู้ที่มโี รคประจำตวั - ตามแนวทางการใ 1.1โร ค ท า งเดิ น ห า ย ใจ กระทรวงสาธารณสขุ เรื้อรังรนุ แรง -รอจัดสรรวัคซีนจาก 1.2 โรคหัวใจและห ลอด และสาธารณสขุ จงั หว เลอื ด 1.3 โรคไตเรือ้ รงั ระยะ 5 1.4 โรคหลอดเลือดสมอง 1.5 โรคมะเร็งทุกชนิดท่ีอยู่ ระห ว่างเคมีบ ำบั ด รังสี บำบดั และภมู ิคมุ้ กนั บำบัด 1.6 โรคเบาหวาน 1.7 โรคอ้วน ที่มีน้ำหนัก >100 กิโลกรัม หรือ BMI >35 2.ผู้ท่มี ีอายุ 60 ปีขน้ึ ไป สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการ

25 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพท่ี 1 จงั หวัดลำปาง การดำเนินงาน ปาง สถานกกั ขงั กลางลำปาง ทัณฑสถานลำปาง ให้วัคซีนของ - ต าม แ น ว ท างก า ร ให้ วั ค ซี น ข อ ง - ตามแนวทางการให้วัคซีนของ ข กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข กกรมราชทัณฑ์ -รอจัดสรรวัคซีนจากกรมราชทัณฑ์ และ -รอวัคซีนจากกรมราชทัณฑ์และ วดั ลำปาง สาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง สาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง รและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 5.การปล่อยตัวผู้ตอ้ งขัง ลำดับ กลมุ่ เป้าหมาย มาตรการ/แนวทาง เรือนจำลำป 1 ในเรือนจำทพ่ี บการระบาด ก า ร ต ร ว จ RT-PCR แผนดำเนินการ(ถา้ มี) ผ้ตู ้องขงั ก่อนปล่อยตัว - ตรวจผู้ต้องขังก่อน คน รอผลการตรวจอ การปลอ่ ยตัว 2 ใน เรือ น จ ำ ท่ี ไม่ พ บ ก า ร ก า ร ต ร ว จ RT-PCR - ส่งตรวจ PCR เฉพ ระบาด ผตู้ ้องขังก่อนปลอ่ ยตวั ทำการปลอ่ ยตัวแบบม 6.การตรวจคดั กรองผตู้ อ้ งขังเขา้ ใหม่ ลำดบั กลุ่มเปา้ หมาย มาตรการ/แนวทาง 1 ผู้ต้องขงั เขา้ ใหม่ การตรวจคดั กรอง เรือนจ - ผู้ต้องขังเข้าใหม ขณะท่ีรอผลตรวจ แยกกัก เม่ือทราบ จึงส่งเข้าห้องแรก ของหอ้ งแรกรับน้นั - ทำการกักตัวผู้ต ปิดห้องแรกรับ 2 ในวันท่ี 19 ของกา สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการ

26 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง การดำเนนิ งาน ปาง สถานกักขงั กลางลำปาง ทณั ฑสถานลำปาง ) แผนดำเนนิ การ(ถ้ามี) แผนดำเนนิ การ(ถา้ ม)ี นปล่อยตัวทุก ตรวจผตู้ อ้ งขังกอ่ นปล่อยตัวทุกคน รอผล ตรวจผู้ต้องขังก่อนปล่อยตัวทุกคน ออก จึงค่อยทำ การตรวจออก จึงคอ่ ยทำการปลอ่ ยตวั รอผลการตรวจออก จึงค่อยทำการ ปลอ่ ยตัว พาะผู้ต้องขังที่ ไม่มีการตรวจ เน่ืองจากตรวจตั้งแต่แรก ไม่มีการตรวจ เนื่องจากตรวจต้ังแต่ มเี งือ่ นไข รับแล้ว และไม่มีการระบาดในสถาน แรกรับแล้ว และไม่มีการระบาดใน กกั ขังฯ สถานกักขังฯ การดำเนินงาน จำลำปาง สถานกักขงั กลางลำปาง ทัณฑสถานลำปาง ม่เก็บแลปตรวจ PCR ตรวจทุกวันท่ี 1-3 แล้วกักตัว 21 - ผู้ต้องขังเข้าใหม่เก็บแลปตรวจ PCR จ PCR แยกกักที่ห้อง วัน และตรวจอีกครั้งในวันท่ี 19- ขณะที่รอผลตรวจ PCR แยกกักที่ห้อง บผลการตรวจเป็นลบ 21กอ่ นปล่อยเข้าแดน แยกกัก เมื่อทราบผลการตรวจเป็นลบ กรับตามรอบวันเปิด จึงส่งเข้าห้องแรกรับตามรอบวันเปิด นๆ ของห้องแรกรับนน้ั ๆ ต้องขังเข้าใหม่ หลัง - ทำการกักตัวผู้ตอ้ งขงั เข้าใหม่ หลงั ปิด 21 วัน ส่งตรวจ PCR ห้องแรกรับ 21 วัน ส่งตรวจ PCR ใน ารปิดห้องกกั ตวั วนั ท่ี 19 ของการปดิ หอ้ งกกั ตวั รและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 7.การจดั การผ้ตู อ้ งขงั รับใหม่ มาตรการ/แนวทาง ลำดบั กลมุ่ เป้าหมาย เรือนจำลำ 1 ผตู้ ้องขงั รบั ใหม่ ม าต รก ารระบ บ ก าร 1.แดนชาย บริหารหอ้ งแรกรับ มี ห้ อ งแ รก รับ จ ำ สำหรับแยกกักผู้ต้อง วัน ดังน้ี - ห้องแรกรับ 1 ตารางเมตร ความ ผู้ต้องขังได้ 23 คน ผู้ต้องขังเข้าใหม่ วัน วันที่ปฏิทิน เมื่อทำก เข้าใหม่ ให้เร่ิมนับระ โรค 21 วันหลังการป เก็บสิ่งส่งตรวจหาสา เชื้อไวรัสโคโรนา 201 ผลการ ตรวจไม่พ ปล่อยออกห้องแรกร ใน ในวนั ท่ี 30 หรอื 3 - ห้องแรกรับ 2 ตารางเมตร (รวมช้ัน มาตรฐานรับผูต้ ้องขัง สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการ

27 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวดั ลำปาง การดำเนินงาน ำปาง สถานกกั ขงั กลางลำปาง ทณั ฑสถานลำปาง มีห้องกักโรค 7 ห้อง เปิด 4 วันกักตัว มีห้องกักโรค 7 ห้อง เปิด 4 วัน ำน ว น 3 ห้ อ ง 21 วนั กักตัว 21 วนั งขังเข้าใหม่ 21 มีพ้ืนที่ 28.6 จุมาตรฐานรับ น เปิดห้องรับ นที่ 1 - 9 ตาม การปิดรับต้องขัง ะยะเวลาการกัก ปิดห้อง ทำการ ารพันธุกรรมของ 19 วนั ท่ี 28 เม่ือ พบเช้ือ ทำการ รับ 1 เข้าสู่แดน 31 มีพ้ืนที่ 32.58 นลอย) ความจุ งได้ 28 คน รและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 ลำดบั กลุม่ เปา้ หมาย มาตรการ/แนวทาง เรือนจำลำ เปิดห้องรับผู้ต้องขงั เข – 18 ตามวนั ท่ปี ฏทิ ิน ปิดรับผู้ต้องขังเข้าให ระยะเวลาการกักโร ก ารปิ ด ห้ อ ง ท ำ ก ตรวจหาสารพันธุกรร โคโรนา 2019 วันท ถัดไป เม่ือผลการตรว การปล่อยออกห้องแ แดนใน ในวนั ท่ี 8 - ห้องแรกรับ 3 ตารางเมตร (รวมช้ัน มาตรฐานรับผู้ต้องข เปิดห้องรับผู้ต้องขงั เข – 30 หรือ 31 ตา เมื่อท าการปิดรับผู้ต ให้เริ่มนับระยะเวลาก วันหลังการปิดห้อง ท ตรวจหาสารพันธุกรร โคโร นา 2019 วันท ถัดไป เม่อื ผลการตรวจ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการ

2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง 28 ำปาง การดำเนนิ งาน ทณั ฑสถานลำปาง สถานกักขงั กลางลำปาง ข้าใหม่ วนั ท่ี 10 เมอ่ื ทำการ หม่ ให้เร่ิมนับ รค 21 วันหลัง ารเก็ บ สิ่ งส่ ง รมของเช้ือไวรัส ที่ 6 ของเดือน วจไม่พบเช้ือ ทำ แรกรับ 2 เข้าสู่ มีพื้นท่ี 57.62 นลอย) ความจุ ขังได้ 48 คน ข้าใหม่ วนั ที่ 19 ม วั น ท่ี ป ฏิ ทิ น ต้องขังเข้าใหม่ การกักโรค 21 ทำการเก็บสิ่งส่ง รมของเช้ือไวรัส ที่ 19 ของเดือน จไมพ่ บเชอื้ รและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 ลำดบั กลุม่ เปา้ หมาย มาตรการ/แนวทาง เรือนจำลำ ทำการปล่อยออกห้อง สู่แดนใน ใน วนั ที่ 2 2. แดนหญงิ มี ห้ อ งแ ร ก รับ จ ำ สำหรับแยกกักผู้ต้อง วัน ดงั นี้ - ห้ อ งแ รก รับ 1 ตารางเมตร (รวมช้ัน มาตรฐานรับผู้ต้องขังไ ห้องรับผู้ต้องขังเข้าให ตามวันท่ีปฏิทิน เม่ือ ผตู้ ้องขังเขา้ ใหม่ ใหเ้ รม่ิ การกักโรค 21 วันหล ท ำก ารเก็ บ ส่ิ งส่ งต พั น ธุ ก ร ร ม ข อ ง เช้ื อ 2019 วันที่ 9 ของเด ผลการตรวจไม่พบเช้ือ ออกห้องแรกรับ 1 เข วันที่ 11 - ห้องแรกรับ 2 มีพ้ื เม ต ร (ร ว ม ช้ั น ล อ มาตรฐานรับผู้ต้องขงั ไ สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปาง ตรวจราชการ

2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง 29 ำปาง การดำเนนิ งาน ทณั ฑสถานลำปาง สถานกักขังกลางลำปาง งแรกรับ 3 เข้า 21 น ว น 2 ห้ อ ง งขังเข้าใหม่ 21 1 มี พื้ น ท่ี 81 นลอย) ความจุ ได้ 68 คน เปิด หม่วันท่ี 1 – 21 อท าการปิดรับ มนบั ระยะเวลา ลังการปิดห้อง ตรวจหาสาร ไ ว รั ส โ ค โ ร น า ดือนถัดไป เมื่อ อท าการปล่อย ข้าสู่แดนใน ใน นที่ 54 ตาราง อ ย ) ค ว า ม จุ ได้ 45 คน เปิด รและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณปี กติ รอบท่ี 2 ลำดบั กลมุ่ เปา้ หมาย มาตรการ/แนวทาง เรอื นจำลำ ห้องรับผู้ต้องขังเข้าให 11 เดือนถดั ไป เม่ือทำ ผตู้ อ้ งขังเขา้ ใหม่ ให้เรมิ่ การ กักโรค 21 วันห ท ำก ารเก็ บ สิ่ งส่ งต พั น ธุ ก ร ร ม ข อ ง เช้ื อ 2019 วันที่ 30 หรือ ตรวจไม่พบเชื้อทำก ห้องแรกรับ 2 เข้าสู่แ 2 ของเดือนถดั ไป ผู้รายงาน นางอรนชุ ดวงเบ้ยี ตำแหนง่ นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการพิเศษ กลมุ่ งานสง่ เสรมิ สุขภาพ สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ลำปาง ตรวจราชการ

2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1 จงั หวัดลำปาง 30 ำปาง การดำเนนิ งาน ทัณฑสถานลำปาง สถานกกั ขังกลางลำปาง หม่ วันที่ 22 – ำการปิดรับ มนับระยะเวลา หลังการปิดห้อง ตรวจหาสาร ไ ว รั ส โ ค โ ร น า 31 เมื่อผลการ การปล่อยออก แดนใน ในวันที่ รและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

31 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง Agenda based ประเด็นการตรวจราชการ : ประเด็นท่ี 2 กัญชาทางการแพทย์และสมุนไพรเพือ่ เศรษฐกจิ ตัวชี้วดั (KPI) /ค่าเปา้ หมาย เพมิ่ การเขา้ ถงึ การใชย้ าจากกัญชาในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ 1. มีการจัดต้ังคลนิ กิ การให้บริการกญั ชาทางการแพทย์แผนปัจจบุ นั ผสมผสานแพทย์แผนไทย รพศ./รพท. ร้อยละ 100 2. จำนวนผเู้ ข้ารับบริการท่ีคลินิกกญั ชาทางการแพทย์ เพิ่มข้นึ ร้อยละ 20 และเพ่ิมจำนวนวนั ท่ี เปดิ ให้บริการเป็นอยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ 2 วัน 3. จำนวนตำรบั ยาที่มแี ละจา่ ยในคลินิกกัญชาทางการแพทย์ • รพ. ลำปาง มีการใช้ยากัญชาทางการแพทย์แผนปัจจบุ นั ผสมผสานแพทยแ์ ผนไทย • รพ.เกาะคา และรพ.เถิน มียากัญชาทางการแพทย์อย่างน้อย 5 ตำรับ (ตำรับศุข ไสยาศน์, ทำลายพระสุเมร, ตำรับแก้ลมแก้เส้น, ตำรับแก้ลมข้ึนเบ้ืองสูง, น้ำมันกัญชาอ. เดชา และตำรบั นำ้ มันเมตตาโอสถ/ตำรับการณุ ย์โอสถ) • รพ.ชุมชนอื่น มียากัญชาทางการแพทย์อย่างน้อย 4 ตำรับ (ตำรับศุขไสยาศน์, ทำลาย พระสเุ มร, ตำรับแก้ลมแกเ้ ส้น และตำรับแกล้ มข้ึนเบอ้ื งสูง 1. สถานการณ์ภาพรวม การพัฒนาระบบการนำกญั ชามาใช้ทางการแพทย์จังหวัดลำปาง ตามที่พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ซ่ึงได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และมีผลบังคับใช้ ต้ังแต่วันท่ี 19 กุมภาพันธ์ 2562 ได้แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายให้สามารถนำกัญชามาใช้ ประโยชนท์ างการแพทย์และการศกึ ษาวิจัยได้ และกระทรวงสาธารณสุขมนี โยบายผลกั ดันการพฒั นาเทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข ให้ประชาชนเข้าถึงการใช้กัญชาและสมุนไพรทางการแพทย์ได้ อย่างปลอดภัย เพ่ือสร้างโอกาสในการรักษา เศรษฐกิจ และสร้างรายได้ของประชาชน โดยมีกลไกการ ดำเนนิ งานทร่ี ัดกมุ มิให้เกดิ ผลกระทบทางสงั คม ตามท่กี ฎหมายบญั ญตั ิไว้ เพื่ อให้ ก ารน ำกั ญ ช าม าใช้ ทางการแพทย์จังหวัดลำปางเป็นไปอย่างเป็นระบบ จังหวัดลำปางโดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ได้ ดำเนินการพัฒนาระบบการนำกัญชามาใช้ทางการแพทย์จังหวัดลำปาง ในรูปแบบคณะกรรมการพัฒนาระบบ การนำกัญชามาใช้ทางการแพทย์จังหวดั ลำปาง โดยมีการดำเนินการต่อเนื่องจากปงี บประมาณท่ีผา่ นมา ท้ังการ ควบคมุ กำกับตามกฎหมาย ทง้ั การปลูก(ผลิต) การขาย การครอบครอง พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข ด้านกัญชาทางการแพทย์ให้มีความรู้ ทั้งที่เก่ียวข้องกับการใช้ยาจากกัญชาในการรักษาผู้ป่วย และท่ีต้องให้ ข้อมูลการใช้กัญชาทางการแพทย์แก่ประชาชนท่ัวไป การส่ือสารความรู้การใช้กัญชาทางการแพทย์แก่ผู้ป่วย ประชาชน และเครือข่าย รวมทงั้ ได้จัดให้มีการให้บริการกัญชาทางการแพทย์และคลินิกให้คำปรึกษากัญชาทาง การแพทย์ในโรงพยาบาลทกุ แห่ง และจุดบริการข้อมูลกัญชาทางการแพทย์ทุก รพ.สต. เพ่ือเพิ่มการเข้าถึงการใช้ ยาจากกัญชาในสถานบริการสาธารณสุข โดยมีผลการดำเนินการในปีงบประมาณ 2564 (1 ตุลาคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2564) ดังนี้ สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

32 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัดลำปาง 2. กิจกรรม /ผลการดำเนินงาน การควบคุมกำกบั ตามกฎหมาย การควบคมุ กำกับการปลูกกัญชาเพือ่ ใช้ทางการแพทย์ การปลูกกัญชาทางการแพทย์ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกร่วมกับ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา ได้รับอนุญาตปลูกกัญชาทางการแพทย์ ณ พื้นท่ีปลูก วิสาหกิจ ชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรียเ์ พชรลานนา ตำบลแม่สกุ อำเภอแจห้ ่ม จังหวัดลำปาง พื้นที่เพาะปลกู รวม 3,908 ตร. เมตร จำนวน 2000 ต้น/รอบ (1 รอบ/ปี) โดยในรอบการปลูกปีงบประมาณ 2564 ได้เริ่มปลูกในเดือน พฤศจิกายน 2563 ในพ้ืนที่เพาะปลูกกลางแจ้ง 3,000 ตร.เมตร เพื่อส่งมอบให้กับกรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือกนำไปผลิตยาตำรับแผนไทยที่มีกัญชาเพ่ือใช้ในการรักษาผู้ป่วย โดยส่วนของกัญชาท่ีไม่ใช่ยา เสพติดให้โทษทางผู้รับอนุญาตปลูกจะจำหน่ายแก่บุคคลทั่วไปเพ่ือใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารและผลิต ผลติ ภณั ฑ์สุขภาพ นอกจากนี้ในปีงบประมาณ 2564 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ได้เริ่มดำเนินการรูปแบบ การปลูกกัญชาเพ่อื ใช้ในครัวเรือนและชุมชน โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อจัดทำตน้ แบบการปลกู กัญชาเพ่ือใช้สำหรับ การดูแลผู้ป่วย DM / HT ในงานวิจัย ส่งเสริมและพัฒนาการปลูกกัญชาไทยโดยภาคประชาชนให้มีคุณภาพ ปลอดภัย เพ่ือให้ประชาชนในชุมชนได้ใช้ประโยชน์จากส่วนของกัญชาท่ีไม่ใช่ยาเสพติด ซึ่งเดิมได้กำหนด สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

33 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวัดลำปาง เป้าหมายในพื้นท่ีของ รพ.สต. 2 แห่ง (รพ.สต.แม่สุก และ รพ.สต.บ้านก่ิว) ในตำบลแม่สุก อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง ซึ่งขณะน้ีอยู่ในขั้นตอนการจัดต้ังวิสาหกิจชุมชนในพ้ืนที่ ข้อตกลงของชุมชน การกำหนดพื้นที่ ปลูกและการดแู ลแปลงปลูกกัญชาของสมาชิก เพ่ือที่จะยื่นประกอบการขออนุญาตต่อสำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั ลำปาง ตรวจราชการและนเิ ทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

34 การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบท่ี 2 กระทรวงสาธารณสขุ เขตสุขภาพท่ี 1 จังหวดั ลำปาง การควบคมุ กำกบั การจำหนา่ ย/การครอบครองกัญชาเพอ่ื ใช้ทางการแพทย์ ตารางที่ 1 ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุขท่ีไดร้ บั อนุญาตเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษประเภท 5 (กัญชา) จงั หวดั ลำปาง สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบท่ี 2 ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

35 การตรวจราชการและนเิ ทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 2 กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 1 จงั หวดั ลำปาง การพฒั นาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขดา้ นกัญชาทางการแพทย์ ตารางที่ 2 ข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขท่ีได้รบั การอบรมหลักสตู รที่ขึน้ ทะเบียนกับ อย.แล้ว จงั หวัดลำปาง รายสถานพยาบาล สถานพยาบาลเอกชน 1 แห่ง ไดร้ บั หนังสือสำคญั ให้จำหน่าย เพ่อื การรกั ษาผู้ปว่ ยหรือสัตว์ป่วย ชอื่ สถานท่ี : บญุ ปราณีคลนิ กิ การแพทย์แผนไทย (ลำปาง) ทต่ี ัง้ : 233 ม.5 ต.นายาง อ.สบปราบ จ.ลำปาง ท้ังน้ีมีแผนขยายการจ่ายยากัญชาทางการแพทย์ตำรับแพทย์แผนไทย ใน รพ.สต. จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ รพ.สต.แจ้ซ้อนเหนือ อ.เมืองปาน และ รพ.สต.เสียมหวาน อ.เถิน ขณะน้ีอยู่ระหว่างการเตรียมย่ืนขออนุญาต กบั อย. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook