Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสมรรถนะ

หลักสูตรสมรรถนะ

Published by สุเมธ สร้อยฟ้า, 2021-12-14 14:04:19

Description: 1687-file

Search

Read the Text Version

รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนา กรอบสมรรถนะผเู้ รียนระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

371.42 ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา ส691ร รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียนระดับประถมศกึ ษาตอนต้น สำ�หรับหลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน. กรุงเทพฯ : 2562 362 หนา้ ISBN : 978-616-270-219-8 1. การจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะ 2. สมรรถนะผู้เรียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น 3. ช่อื เรือ่ ง รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียนระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน สง่ิ พิมพ์ สกศ. อนั ดบั ที่ 35 / 2562 พมิ พ์คร้งั ที่ 1 มิถนุ ายน 2562 ISBN 978-616-270-219-8 จำ�นวน 500 เล่ม ผูจ้ ดั พมิ พ์เผยแพร ่ กลุ่มมาตรฐานการศึกษา ส�ำ นกั มาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรยี นรู้ สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ 99/20 ถนนสุโขทยั เขตดสุ ิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 0 2668 7123 ตอ่ 2528 โทรสาร 0 2243 1129 Website : http://www.onec.go.th พิมพท์ ี ่ บริษัท 21 เซน็ จูร่ี จำ�กัด 19/25 หม่ทู ี่ 8 ถนนเต็มรัก-หนองกางเขน ตำ�บลบางคูรัด อ�ำ เภอบางบวั ทอง จังหวดั นนทบรุ ี 11110 โทรศพั ท์ 02 150 9676-8 โทรสาร 02 150 9679

ค�ำ นำ� ค�ำ น�ำ คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ได้แต่งต้ังคณะทำ�งานวางแผนจัดทำ� กรอบสมรรถนะหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานภายใต้คณะอนุกรรมการการจัด การเรยี นการสอน เพอ่ื ศกึ ษาวเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ มลู เกยี่ วกบั หลกั สตู รฐานสมรรถนะ และสมรรถนะ ท่ีจำ�เป็นสำ�หรับผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือจัดทำ�สมรรถนะหลักของนักเรียนระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานสำ�หรับเป็นตัวอย่างในการดำ�เนินงานจัดทำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะต่อไป ซ่ึงคณะ ทำ�งานฯ ได้ดำ�เนินการพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในระยะแรก ระยะที่ 2 ไดร้ ว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณใ์ นพระบรมราชปู ถมั ภฯ์ ด�ำ เนนิ การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี นในระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป. 1 – 3) เปน็ การน�ำ รอ่ ง เนอ่ื งจากระดบั น้ี เป็นจุดเร่มิ ตน้ ท่ีเปน็ ฐานส�ำ คัญในการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น และเปน็ ระดบั ทคี่ วรมีการลดสาระการเรยี นรู้ และปรับหลักสูตรให้มีความยืดหยุ่นเพื่อตอบสนองความแตกต่างหลากหลายของผู้เรียนและบริบท รวมทงั้ ใหส้ อดรบั กบั พฒั นาการของเดก็ ในชว่ งรอยตอ่ ระหวา่ งปฐมวยั และประถมศกึ ษา และระยะที่ 3 จัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบายในการนำ�กรอบสมรรถนะผเู้ รียนไปสู่การปฏบิ ัตติ ่อไป รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับนี้ ถือเป็นเอกสารรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ท่ีผ่าน การศึกษาวิจัยอย่างเป็นระบบ เป็นประโยชน์อย่างย่ิงสำ�หรับผู้ศึกษาค้นคว้าเรื่องสมรรถนะผู้เรียน ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และเปน็ ประโยชนต์ อ่ กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาของประเทศไทย ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลทมี่ คี ุณภาพ มสี มรรถนะทจ่ี ำ�เป็นในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ขอขอบคุณคณะทำ�งานฯ คณะผู้วิจัย ตลอดจน ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องท่ีได้ร่วมกันศึกษาวิจัยจนประสบความสำ�เร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำ�หนดไว้ อันเป็นประโยชน์ต่อการปฏิรูปหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล ของการศกึ ษาไทย เล(เนขล(นขาาาาธยยธิกสสกิ าภุุภารรทั ัทสสรรภภจาจาำ�กำาปกาปาราทศราึกอศทษงึกอ)าษง)า รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน



สารบัญ หนา้ ค�ำ นำ� สารบญั ก บทสรุปส�ำ หรับผู้บรหิ าร (1) บทท่ี 1 บทนำ� 1 หลักการและเหตผุ ล 1 วตั ถุประสงค์การวิจัย 3 คำ�ถามการวิจัย 3 ขอบเขตการวิจยั 4 ข้อจำ�กัดในการวจิ ัย 4 ประโยชนท์ ค่ี าคว่าจะได้รบั 5 นิยามศัพท์เฉพาะ 5 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั 9 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง 11 1. บรบิ ทการศกึ ษาไทย 12 2. ความร้พู น้ื ฐานเกย่ี วกับหลกั สูตร 23 3. หลักสูตรการศกึ ษาของประเทศไทย 35 4. สมรรถนะและหลกั สตู รฐานสมรรถนะ 43 4.1 ความหมายของสมรรถนะ 43 4.2 ความส�ำ คัญของสมรรถนะ 45 4.3 ประเภทของสมรรถนะ 47 4.4 สมรรถนะส�ำ คัญของประเทศตา่ ง ๆ 52 4.5 หลักสตู รฐานสมรรถนะ 60 1) ความหมายของหลกั สูตรฐานสมรรถนะ 60 2) ความเปน็ มาของหลักสตู รฐานสมรรถนะ 61 3) วตั ถุประสงค์ของหลกั สูตรฐานสมรรถนะ 61 กรายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สตู รการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

สารบัญ บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง (ต่อ) 62 63 4) ลกั ษณะสำ�คัญของหลกั สูตรฐานสมรรถนะ 64 5) การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 65 6) แนวคดิ สำ�คญั ทีบ่ ่งบอกการจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะ 66 7) แนวคิดการจดั ท�ำ แผนการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 67 8) ลักษณะของการจดั การเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 67 9) กลวธิ ีการจดั การเรยี นการสอน (Delivery Strategies) 70 10) แนวโนม้ การจัดการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 80 11) การวัดและประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ 89 12) หลักสูตรฐานสมรรถนะของประเทศตา่ ง ๆ 95 13) หลกั สตู รฐานสมรรถนะของประเทศไทย 95 5. งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 98 5.1 งานวิจยั ในประเทศ 5.2 งานวิจยั ในต่างประเทศ บทท่ี 3 วธิ ีดำ�เนินการวจิ ยั 101 ระยะท่ี 1 การพัฒนากรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดบั การศกึ ษา ขน้ั พ้นื ฐาน และกรอบสมรรถนะหลกั ผ้เู รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ 102 1) การศึกษาแนวคดิ การจัดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ และมโนทัศนเ์ กี่ยวกับสมรรถนะ 102 2) การพัฒนาสมรรถนะหลกั ของผู้เรยี นระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐานและสมรรถนะหลัก ของผูเ้ รียนระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ 103 3) การพฒั นาแนวทางในการนำ�กรอบสมรรถนะหลกั สกู่ ารพฒั นาผเู้ รียนให้สอดคล้องกับหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 108 4) การพัฒนาเอกสารแนวทางดำ�เนนิ การ สอ่ื ตน้ แบบ และรวบรวมทรัพยากรการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาสมรรถนะผู้เรยี น 109 ขรายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

สารบัญ ระยะท่ี 2 การทดลองน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปทดลองใช้ในการพฒั นา 113 122 ผเู้ รียนระดบั ชนั้ ประถมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา ระยะท่ี 3 การจดั ท�ำ ข้อเสนอเชิงนโยบายในการน�ำ กรอบสมรรถนะผูเ้ รียน สำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานสกู่ ารปฏิบัติ บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 123 ตอนที่ 1 ผลการพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รยี น ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐานและกรอบสมรรถนะหลักผ้เู รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ 124 1.1 ผลการพฒั นากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดับ การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานและกรอบสมรรถนะหลักผเู้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น 124 1.2 ผลการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของโมเดลโครงสรา้ ง องคป์ ระกอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้น กบั ข้อมูลเชงิ ประจกั ษ ์ 127 ตอนที่ 2 ผลการทดลองน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ไปทดลองใช้ ในการพฒั นาผ้เู รยี นระดับชัน้ ระถมศึกษาตอนตน้ ในสถานศึกษา 130 2.1 กระบวนการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ในการพฒั นาผู้เรียน 130 2.2 การเลือกแนวทางในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลัก ไปใช้ในการพัฒนาผูเ้ รยี น 132 2.3 การน�ำ กรอบสมรรถนะหลักไปใชอ้ อกแบบการเรยี นการสอน จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และประเมนิ ผล 133 2.4 การเปลยี่ นแปลงทเี่ กิดขึ้นกับครแู ละนักเรียน 155 2.5 บทบาทของผบู้ ริหาร 159 2.6 ปญั หาที่พบและวธิ แี ก้ไข 161 2.7 สิ่งท่คี รูและโรงเรยี นต้องการความชว่ ยเหลือ 162 2.8 สิ่งท่ีครูคดิ ว่าเปน็ ปัจจัยทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ความสำ�เรจ็ 163 2.9 ข้อเสนอแนะ 164 2.10 ความคิดเหน็ ของผ้บู รหิ ารและครูหลังส้นิ สุดการทดลอง 165 ตอนที่ 3 ข้อเสนอเชงิ นโยบายในการนำ�กรอบสมรรถนะผเู้ รียน สำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานส่กู ารปฏิบัต ิ 191 3.1 ข้อเสนอแนะตอ่ การพฒั นาหลักสูตร 191 3.2 ข้อเสนอแนะตอ่ การบริหารจดั การหลกั สูตร และการนำ�หลักสูตรไปใช ้ 193 ครายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

สารบญั บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 197 กลุ่มตวั อย่าง 197 วิธดี �ำ เนนิ การวิจยั 198 สรปุ ผลการวิจัย 198 อภปิ รายผล 210 ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครง้ั ตอ่ ไป 224 บรรณานกุ รมภาษาไทย 225 บรรณานกุ รมภาษาองั กฤษ 232 ภาคผนวก ภาคผนวก ก. เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย 239 267 ภาคผนวก ข. ประมวลภาพถ่ายระหว่างการด�ำ เนินการวจิ ัย 277 ภาคผนวก ค. ตวั อยา่ งแผนการจัดการเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ ภาคผนวก ง. รายช่อื ผู้ร่วมงานในโครงการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะ 319 ผ้เู รยี นระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สูตร การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน งรายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

สารบญั สารบัญตาราง หนา้ ตารางท ่ี 1 การจัดกล่มุ ของสมรรถนะ และสมรรถนะ ของประเทศตา่ ง ๆ ในทวีปเอเชยี ตะวนั ออก 53 ตารางท ่ี 2 สมรรถนะของประเทศตา่ ง ๆ ในทวีปยโุ รป อเมรกิ าเหนอื ออสเตรเลีย และแอฟรกิ าใต ้ 57 ตารางที่ 3 ความแตกต่างระหว่าง Competency - Based Education (CBE) กบั Standards - Based Education (SBE) 69 ตารางที ่ 4 ระดบั สมรรถนะและค�ำ บรรยายระดบั สมรรถนะ 78 ตารางที่ 5 ระดับความสามารถและค�ำ บรรยายระดับความสามารถ 79 ตารางท ่ี 6 รายละเอยี ดโรงเรียนและจำ�นวนของผูเ้ ข้าร่วมการวจิ ยั 114 ตารางท ่ี 7 ก�ำ หนดการประชมุ ปฏบิ ตั ิการการนำ�กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ไปทดลองใชใ้ นสถานศึกษา 115 ตารางท ี่ 8 การเก็บรวบรวมขอ้ มูลและการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ระหวา่ งการดำ�เนนิ การตามกระบวนการทดลองใช้กรอบสมรรถนะ ผเู้ รียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 116 ตารางท ่ี 9 รายละเอยี ดและกำ�หนดการการสร้างความเขา้ ใจกรอบสมรรถนะ ให้กบั ครูและผู้บริหาร กอ่ นการด�ำ เนนิ การวิจัย 118 ตารางท่ ี 10 รายละเอยี ดและก�ำ หนดการ การด�ำ เนนิ การนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล รว่ มเรยี นรู้ หนนุ เสรมิ ใหค้ �ำ แนะน�ำ การทดลอง ใชก้ รอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนตน้ 120 ตารางที่ 11 ข้อมลู การเลอื กแนวทางในการน�ำ กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรยี น 132 ตารางท ี่ 12 จ�ำ นวนและร้อยละของขอ้ มลู ผ้เู ขา้ อบรม 133 ตารางท ่ี 13 จ�ำ นวนและร้อยละของความคิดเหน็ ของผู้เข้ารับการอบรม ท่มี ีตอ่ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียน ระดับช้นั ประถมศกึ ษาตอนต้นไปใชใ้ นการพัฒนาผูเ้ รยี น 134 จรายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

สารบัญ หนา้ ตารางท ่ี 14 สรปุ ผลการสอบถามความคดิ เหน็ จากคำ�ถามปลายเปิด 135 เกยี่ วกับความเข้าใจในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี นระดบั 137 ชน้ั ประถมศกึ ษาตอนต้นไปใชใ้ นการพัฒนาผเู้ รยี นของผูเ้ ขา้ อบรม 138 ตารางท่ี 15 สมรรถนะหลกั และสมรรถนะยอ่ ยท่คี รนู �ำ มาใช้ในการออกแบบ 140 การเรยี นการสอน 142 ตารางท่ี 16 สรปุ ข้อมูลดา้ นการน�ำ สมรรถนะหลกั มาใช้ในการออกแบบ 144 การเรียนการสอน 146 ตารางท ่ี 17 การนำ�สมรรถนะย่อยด้านภาษาไทยเพอื่ การสอ่ื สารมาใช้ 147 ในการออกแบบการเรยี นการสอน 149 ตารางที่ 18 การนำ�สมรรถนะยอ่ ยดา้ นคณิตศาสตร์ในชวี ติ ประจ�ำ วันมาใช้ 150 ในการออกแบบการเรยี นการสอน 152 ตารางที่ 19 การนำ�สมรรถนะยอ่ ยด้านการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตร์ 153 และจิตวิทยาศาสตร์มาใชใ้ นการออกแบบการเรยี นการสอน 154 ตารางที่ 20 การน�ำ สมรรถนะยอ่ ยดา้ นภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สารมาใช้ 165 ในการออกแบบการเรยี นการสอน 166 ตารางที่ 21 การนำ�สมรรถนะยอ่ ยดา้ นทกั ษะชีวติ และการเจริญแห่งตนมาใช้ ในการออกแบบการเรยี นการสอน ตารางท ี่ 22 การนำ�สมรรถนะยอ่ ยดา้ นทักษะอาชีพและการเป็นผ้ปู ระกอบการมาใช้ ในการออกแบบการเรียนการสอน ตารางท ่ี 23 การน�ำ สมรรถนะยอ่ ยดา้ นการคดิ ขน้ั สูงและนวตั กรรมมาใช้ ในการออกแบบการเรยี นการสอน ตารางท ่ี 24 การน�ำ สมรรถนะย่อยดา้ นการรเู้ ทา่ ทนั สื่อ สารสนเทศ และดจิ ติ ลั มาใชใ้ นการออกแบบการเรียนการสอน ตารางที่ 25 การน�ำ สมรรถนะยอ่ ยด้านการทำ�งานแบบรวมพลงั เปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ�มาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอน ตารางที่ 26 การนำ�สมรรถนะย่อยด้านการเป็นพลเมืองทีเ่ ข้มแข็ง/ต่ืนรทู้ ีม่ ีสำ�นกึ สากลมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอน ตารางที่ 27 จำ�นวนและร้อยละ ของผใู้ หข้ ้อมูล ตารางท ่ี 28 จำ�นวนและร้อยละของความคดิ เหน็ เกี่ยวกับหลกั สูตรและ การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ ฉรายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

สารบญั หนา้ ตารางที่ 29 ความคดิ เห็นของกลมุ่ ผบู้ ริหารและกลมุ่ ครูเก่ียวกับหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน จดุ ออ่ น จดุ แข็ง และแนวคดิ ในการปรับเปลยี่ น 168 ตารางท ่ี 30 ขอ้ คิดเหน็ ของกลมุ่ ผบู้ ริหารสถานศึกษาและกล่มุ ผู้สอน ต่อการด�ำ เนินการ ของครูในการนำ�กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รียนส่กู ารปฏบิ ัติในชนั้ เรียน 170 ตารางที่ 31 ขอ้ คิดเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและกลุ่มครผู ู้สอน ตอ่ ความแตกตา่ ง ในการท�ำ งานของครูท่นี ำ�กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นงานการออกแบบ หน่วยการเรยี นร้กู ารจดั การเรยี นการสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ 172 ตารางที่ 32 ขอ้ คิดเห็นของกลุ่มผู้บริหารสถานศกึ ษาตอ่ แนวทางในการชว่ ยเหลอื นิเทศ และสนับสนุนใหค้ รูจดั ท�ำ แผนการจดั การเรยี นรู้ และการนำ�แผนการจดั การเรยี นรไู้ ปใชใ้ นหอ้ งเรยี น 174 ตารางที่ 33 ข้อคดิ เห็นของกล่มุ ผบู้ รหิ ารสถาศึกษาตอ่ ปัญหา อุปสรรคทพี่ บ ในการกำ�กับดูแล ช่วยเหลือ สนบั สนนุ การท�ำ งานของครู และการให้คำ�แนะนำ�/วธิ กี ารแกไ้ ข ในด้านการพัฒนาหลกั สูตร การออกแบบการจดั การเรียนการสอนการวัดและประเมนิ ผล 175 ตารางที่ 34 ขอ้ คิดเห็นของกลุ่มผ้บู ริหารสถานศึกษาตอ่ ช่วงการเปลยี่ นผ่าน ของการพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ 176 ตารางที่ 35 ข้อคดิ เห็นของกลมุ่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา และกลุ่มครูผ้สู อนตอ่ สิง่ ส�ำ คญั 3 ประการแรกทตี่ ้องทำ�ในการพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะและ การน�ำ กรอบสมรรถนะมาใช้ในโรงเรยี น 178 ตารางท ่ี 36 ข้อคิดเหน็ ของกลุ่มผูบ้ ริหารสถานศึกษาและกลุ่มครูผู้สอนตอ่ สิ่งทีโ่ รงเรียน ตอ้ งการความช่วยเหลอื ในการพฒั นาหลกั สูตรฐานสมรรถนะและ การนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ 179 ตารางที่ 37 ข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะเก่ียวกับบทบาทของหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง ในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและกรอบสมรรถนะไปใช้ 181 ตารางที่ 38 ขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะส�ำ หรับโรงเรยี นอน่ื ๆ ในการพัฒนาหลักสตู ร ฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ 183 ตารางที่ 39 ขอ้ คดิ เหน็ ของกลมุ่ ครผู สู้ อน ตอ่ การเลือกแนวทางในการนำ� กรอบสมรรถนะไปใช้ในการออกแบบและจัดกจิ กรรมการเรยี น การสอนอย่างไร (แนวทางที่ 1-4) 184 ตารางท ่ี 40 ข้อคิดเหน็ ของกลมุ่ ครูผสู้ อนต่อแนวทางอนื่ ๆ ในการน�ำ กรอบสมรรถนะ ไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รียน 185 ชรายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

สารบัญ หนา้ ตารางท ่ี 41 ข้อคิดเห็นของกลุ่มครผู สู้ อนต่อล�ำ ดบั ข้ันตอนในการนำ�กรอบสมรรถนะ ไปใชใ้ นการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนอย่างไร 185 ในแตล่ ะแนวทาง ตารางที่ 42 ข้อคิดเหน็ ของกลมุ่ ครูผสู้ อนตอ่ รายการสมรรถนะและขอ้ มูลเกยี่ วกบั 186 สมรรถนะในคู่มือตอ่ การออกแบบการเรียนการสอนและรายละเอียด ที่ต้องการใหม้ ีเพิ่มเติมในคมู่ ือ 187 ตารางท ่ี 43 ขอ้ คิดเหน็ ของกล่มุ ครผู ู้สอนต่อปญั หาในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช 188 ในการออกแบบและการจดั การเรยี นการสอน และมกี ารแกไ้ ขปญั หา 189 ดังกล่าว ตารางที่ 44 ข้อคิดเห็นของกลุ่มครูผสู้ อนต่อจดุ ใดงา่ ยที่สดุ และยากทีส่ ดุ 190 ในการออกแบบการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะฐาน ตารางท่ี 45 ข้อคดิ เห็นของกลุ่มครผู ูส้ อนตอ่ ผลกระทบที่เดก็ ได้รับจากการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ในการออกแบบและจัดการเรยี นการสอน ตารางที่ 46 ขอ้ คดิ เห็นของกลุ่มครูผสู้ อนตอ่ การเปลีย่ นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ของครจู ากการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ในการออกแบบและ จดั การเรียนการสอน ซรายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

สารบญั สารบญั ภาพ หน้า 9 50 ภาพท ่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย 52 ภาพท่ี 2 สว่ นประกอบของสมรรถนะ 75 ภาพที่ 3 กรอบสมรรถนะในการพฒั นาปี 2030 ของ OECD ภาพท่ี 4 รปู แบบของการประเมนิ ผลเพือ่ การเรียนรู้ในชน้ั เรียน 104 ภาพท่ี 5 ภาพรวมสมรรถนะหลักของคนไทย 106 ภาพท่ี 6 ภาพรวมสมรรถนะหลักของคนไทย (ปรับปรงุ ตามผเู้ ชย่ี วชาญ) 107 ภาพท่ี 7 โครงสรา้ งสมรรถนะหลักของผเู้ รยี นระดับประถมศกึ ษาตอนต้น 110 ภาพท่ี 8 คู่มือครูการน�ำ กรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรยี นระดับ 112 ช้ันประถมศกึ ษาตอนตน้ ไปใช้ในการพฒั นาผเู้ รยี น 126 ภาพที่ 9 สอื่ การเรยี นรูส้ ำ�หรบั ครูสอนภาษาไทย 128 ภาพที่ 10 โครงสรา้ งสมรรถนะหลกั คนไทย 129 ภาพที่ 11 โมเดลโครงสร้างสมรรถนะของผู้เรียนระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ท่ีสอดคล้องกับข้อมูลเชงิ ประจักษ์ ภาพท ่ี 12 สมรรถนะหลักของผเู้ รียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ หลังปรับปรุง ฌรายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน



บทสรปุ สำ�หรบั ผบู้ ริหาร รายงานการวิจัยฉบับน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษา ตอนต้น นำ�เสนอแนวทางการใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ทดลองใช้ กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น และจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบายในการนำ�กรอบ สมรรถนะผู้เรียน สำ�หรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติ ซ่ึงผลการวิจัยน้ีสะท้อน ให้เห็นแนวทางการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่สามารถพัฒนาศักยภาพเด็กไทยในศตวรรษ ท่ี 21 การศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ นี้ เปน็ การวจิ ยั และพฒั นาทใี่ ชก้ ระบวนการวจิ ยั แบบพหวุ ธิ ี (Multimethods research) ประกอบด้วย การศึกษาเอกสาร (Documentary study) การศึกษาภาคสนาม (Field study) และการสนทนากลุ่ม (Focus group interview) และมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย (Multi-instrument approach) โดยการดำ�เนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะไดแ้ ก่ ระยะที่ 1 การพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผ้เู รยี นระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานและ กรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ระยะที่ 2 การทดลองนำ�กรอบสมรรถนะ หลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา และระยะท่ี 3 การจดั ท�ำ ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายในการน�ำ กรอบสมรรถนะผเู้ รยี นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน สกู่ ารปฏบิ ตั ิ กลมุ่ ตวั อยา่ งในการวจิ ยั ครง้ั นี้ แบง่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ คอื 1) กลมุ่ ตวั อยา่ งในการตรวจสอบ โมเดลเชิงโครงสร้างสมรรถนะของผู้เรียน ได้แก่ นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาตอนต้น (ป.1 - 3) จากสถานศึกษาในสังกัดต่าง ๆ ใน 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ จำ�นวนทั้งสิ้น 2,337 คน โดยการ สมุ่ แบบแบง่ ชนั้ (Stratification random sampling) 2) กลมุ่ ตวั อยา่ งในการทดลองใชก้ รอบสมรรถนะ ในการจดั การเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ ผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนตน้ (ป.1 - 3) ในสถานศึกษาสังกัดตา่ ง ๆ จำ�นวน 6 โรงเรียน ซงึ่ ครอบคลมุ ใน 4 ภมู ภิ าคทัว่ ประเทศ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา 8 คน และครู 36 คน (รวมจ�ำ นวน 44 คน) โดยการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ตามตำ�แหนง่ ทีต่ ้งั ภูมภิ าค โดยมผี ลการศกึ ษา ดงั น้ี ตอนที่ 1 ผลการพฒั นากรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รียนระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน และกรอบสมรรถนะหลักผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น จากการสังเคราะห์ผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัยในประเทศและต่างประเทศ และผล การสนทนากลุ่มผู้ที่เก่ียวข้อง ได้กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำ�แนกเป็น 4 องค์ประกอบ และ 10 สมรรถนะหลัก ไดแ้ ก่ (1)รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

บทสรุปสำ�หรบั ผบู้ รหิ าร องคป์ ระกอบที่ 1 คนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais) ประกอบไปดว้ ย 4 สมรรถนะหลกั ไดแ้ ก่ สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาไทยเพอื่ การสอ่ื สาร (Thai Language for Communication) สมรรถนะหลกั ดา้ นคณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั (Mathematics in Everyday Life) สมรรถนะหลกั ดา้ นการสบื สอบ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) และสมรรถนะหลกั ด้านภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สาร (English for Communication) องคป์ ระกอบที่ 2 คนไทยอยดู่ มี สี ขุ (Happy Thais) ประกอบไปดว้ ย 2 สมรรถนะหลกั ไดแ้ ก่ สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะชวี ิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) และ สมรรถนะหลกั ดา้ นทกั ษะอาชพี และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) องคป์ ระกอบท่ี 3 คนไทยสามารถสงู (Smart Thais) ประกอบไปด้วย 2 สมรรถนะหลกั ไดแ้ ก่ สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะการคิดขัน้ สูงและนวตั กรรม (Higher Order Thinking Skills and Innovation: HOTS Critical Thinking, Problem Solving, Creative Thinking) และสมรรถนะ หลกั ดา้ นการรเู้ ท่าทนั สื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ลั (Media, Information and Digital Literacy: MIDL) องค์ประกอบท่ี 4 พลเมืองไทยใส่ใจสังคม (Active Thai Citizens) ประกอบไปด้วย 2 สมรรถนะหลัก ได้แก่ สมรรถนะหลักด้านการทำ�งานแบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ� (Collaboration Teamwork and Leadership) และสมรรถนะหลกั ด้านพลเมืองทเ่ี ขม้ แข็ง/ตื่นรู้ ทีม่ ีสำ�นกึ สากล (Active Citizen with Global Mindedness) ผู้วิจัยได้นำ�กรอบสมรรถนะหลักท้ัง 10 ไปตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลโครงสร้าง องค์ประกอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กับข้อมูลเชิงประจักษ์ ดว้ ยการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชงิ ยนื ยนั (Confirmatory Factor Analysis) ผลการตรวจสอบ พบวา่ โมเดลโครงสร้างของสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนมีความสอดคลอ้ งหรอื กลมกลนื กบั ขอ้ มูลเชิงประจักษ์ และสามารถน�ำ ไปใช้อธบิ ายสมรรถนะของผ้เู รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นได้ ตอนที่ 2 ผลการทดลองนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศึกษา 2.1 กระบวนการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน พบว่า โรงเรียนมีแนวทาง ในการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนใกลเ้ คียงกนั โดยมีข้นั ตอนหลัก คือ 1) ทบทวน และสร้างความเข้าใจ 2) เลือกแนวทางการออกแบบการเรียนการสอน 3) ออกแบบการเรียน การสอน จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และประเมนิ ผล 4) ติดตามผลและให้ความช่วยเหลือ ทั้งน้ี ในแต่ละโรงเรียนจะมคี วามแตกตา่ งกนั ในสว่ นของลกั ษณะของกิจกรรมในแต่ละขนั้ ตอน 2.2 การเลือกแนวทางในการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน จากการวเิ คราะหแ์ ผนการจดั การเรยี นรใู้ นภาพรวม พบวา่ ครสู ว่ นใหญเ่ ลอื กใชแ้ นวทางที่ 1 งานเดมิ เปน็ ฐานผสานสมรรถนะ รองลงมาเลอื กใชแ้ นวทางท่ี 2 สมรรถนะเปน็ ฐานผสานตวั ชวี้ ดั และแนวทางท่ี 3 บูรณาการผสานหลายสมรรถนะ และน้อยที่สดุ คอื แนวทางที่ 4 สมรรถนะชีวิตในกิจวัตรประจ�ำ วัน (2)รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

บทสรุปส�ำ หรับผู้บรหิ าร 2.3 การนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปใช้ออกแบบการเรียนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ และประเมนิ ผล พบวา่ ทกุ สมรรถนะหลกั ไดน้ �ำ ไปใชใ้ นการออกแบบการเรยี นการสอนทงั้ 4 แนวทาง โดย สมรรถนะหลกั ด้านภาษาไทยเพอ่ื การส่อื สาร สมรรถนะหลกั ดา้ นคณิตศาสตรใ์ นชวี ิตประจำ�วนั สมรรถนะหลกั ดา้ นการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาองั กฤษ เพอื่ การสื่อสาร พบในแผนการจัดการจดั การเรยี นรู้แนวทางที่ 1 มากที่สุด สว่ นสมรรถนะหลักด้าน ทกั ษะชวี ติ และการเจรญิ แหง่ ตน สมรรถนะหลกั ดา้ นทกั ษะอาชพี และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ สมรรถนะ หลกั ดา้ นทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู และนวตั กรรม สมรรถนะหลกั ดา้ นการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั สมรรถนะหลกั ด้านการทำ�งานแบบรวมพลัง เป็นทมี และภาวะผู้นำ� และสมรรถนะหลกั ด้านพลเมอื ง ที่เขม้ แข็ง/ตนื่ รู้ทมี่ สี �ำ นกึ สากล พบในแผนการจดั การจดั การเรียนร้แู นวทางที่ 3 มากที่สุด 2.4 การเปลี่ยนแปลงท่เี กิดขึ้นกับผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู และนักเรียน ไดแ้ ก่ 2.4.1 การเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นกับครู ความคิดเห็นในภาพรวมพบว่า ครูมี การเปลย่ี นแปลงด้านการออกแบบการสอน ลกั ษณะ/เทคนิคการสอนท่ีครนู ำ�มาใช้ การจัดกจิ กรรม การเรียนการสอน การใชส้ ่อื และแหลง่ ทรพั ยากร การประเมินผล และดา้ นอน่ื ๆ ดงั น้ี ด้านการออกแบบ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และประเมินผล พบว่า ครสู ว่ นใหญม่ กี ารวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร ตวั ชวี้ ดั และสมรรถนะทส่ี อดคลอ้ งกนั ปรบั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ การปฏบิ ตั จิ รงิ และกระบวนการกลมุ่ มากขน้ึ เชอื่ มโยงสมรรถนะและสถานการณต์ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั เปลยี่ นบทบาทครเู ปน็ ผอู้ �ำ นวยความสะดวก นกั เรยี นไดค้ ดิ ไดส้ อื่ สาร มกี ารตรวจสอบวา่ ท�ำ แลว้ นกั เรยี น เกิดสมรรถนะหรอื ไม่ มกี ารเชื่อมโยงและใชค้ ำ�ถามเพื่อใหน้ กั เรียนไดส้ มรรถนะทีต่ อ้ งการ กระตุ้นให้ นักเรียนได้ใช้สมรรถนะอื่นมากขึ้น และมีการบริหารจัดการช้ันเรียนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญมากขึ้น ด้านการประเมินผลตามสมรรถนะ มีการประเมินท่ีหลากหลายขึ้น โดยมีการประเมินจากผลการ ปฏบิ ตั ขิ องนกั เรยี น ประเมนิ จากผลงานนกั เรยี น และประเมนิ จากการมสี ว่ นรว่ มของนกั เรยี น มากขนึ้ ด้านลักษณะและเทคนิคการสอนทค่ี รนู �ำ มาใช้ จากการวิเคราะหแ์ ผนการจดั การเรยี นรแู้ ละสงั เกตการสอน พบวา่ ครสู ว่ นใหญม่ กี ารปรบั กจิ กรรมเปน็ การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยมวี ธิ กี ารและเทคนคิ การสอน เชน่ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ ฝกึ ปฏบิ ตั หิ นา้ ชน้ั เรยี น ลองผิดลองถูก ทดลอง กระบวนการกลุ่ม ค�ำ ถามเพือ่ กระตุ้นนกั เรียน กิจกรรมการเลน่ เกม ปริศนา คำ�ทาย คำ�คล้องจอง ร้องเพลง บทบาทสมมติ ใช้ส่ือการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับวัย เช่น ของจริง นิทาน รูปภาพ ส่ือจาก YouTube  ช่วยในการเรียนรู้ของนักเรียน เน้นการอนุรักษ์ ส่งิ แวดล้อมรอบตัว ทักษะปฏบิ ัติจริง และกระบวนการกลมุ่ ดา้ นอนื่ ๆ ครมู กี ารปรบั เปลยี่ นโดยท�ำ งานรว่ มกบั เพอื่ นครมู ากขนึ้ มกี ารพฒั นา ตนเองในด้านการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน พัฒนาสื่อการเรียนรู้ และนำ�ชุมชน แห่งการเรียนรู้เชงิ วิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) มาใชเ้ ป็นกระบวนการ ในทำ�งานและเรียนรู้ร่วมกัน ปรับเปลี่ยนบทบาทของครูเป็นผู้แนะนำ�และอำ�นวยความสะดวก เกิดความสมั พันธท์ ดี่ รี ะหวา่ งครูและนกั เรียนมากขึน้ (3)รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

บทสรุปส�ำ หรบั ผบู้ ริหาร 2.4.2 การเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ กบั นกั เรยี น ในภาพรวมผลทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั นกั เรยี นตาม สมรรถนะหลกั ยงั ไม่ปรากฏชัดเจน เนือ่ งด้วยระยะเวลาดำ�เนนิ การอันสัน้ แตผ่ บู้ ริหารและครผู ูส้ อน สว่ นใหญ่ พบวา่ ผเู้ รยี นมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการเรยี น ตงั้ ใจเรยี น เขา้ ใจบทเรยี นมากขน้ึ ไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิ สามารถ น�ำ ไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ ไดม้ ากขน้ึ แกป้ ญั หาในสถานการณจ์ รงิ ไดจ้ ากการเชอื่ มโยงกจิ กรรมในหอ้ งมาใชป้ ฏบิ ตั ิ นอกหอ้ งเรยี น สนกุ สนาน กลา้ แสดงออก กลา้ คดิ มากขน้ึ ไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ่ ท�ำ ใหเ้ กดิ การท�ำ งานรว่ มกนั มีการปรึกษากัน ช่วยเหลือกัน รู้จักบทบาทตนเอง เห็นศักยภาพของตนเอง รู้จักคุณค่าในตนเอง มากขึ้น ผู้เรียนได้ออกไปนำ�เสนอหน้าช้ันเรียน เกิดทักษะการส่ือสาร การแก้ไขปัญหา สามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจ�ำ วนั ได้ และเกดิ ความผกู พันกบั ครูมากข้นึ มคี วามสุขในการเรยี นร้มู ากขนึ้ 2.5 บทบาทของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา พบว่า ผ้บู ริหารสว่ นใหญม่ บี ทบาทหลัก ดังนี้ 2.5.1 ผบู้ รหิ ารเปน็ ผนู้ �ำ ในการวางแผนด�ำ เนนิ งาน เปน็ ผนู้ �ำ ใหแ้ กค่ รใู นการน�ำ กรอบ สมรรถนะหลกั ไปใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี น มกี ารจดั ประชมุ ชแ้ี จง สรา้ งความเขา้ ใจใหแ้ กค่ รแู ละผเู้ กยี่ วขอ้ ง รว่ มวเิ คราะหส์ มรรถนะหลกั และสมรรถนะยอ่ ยเพอ่ื เพมิ่ ความเขา้ ใจใหค้ รนู �ำ สมรรถนะไปใชอ้ อกแบบ การเรียนการสอนได้ดีข้ึน ร่วมวางแผนและกำ�หนดแนวทางกับครูในการนำ�กรอบสมรรถนะหลัก ไปใชใ้ นช้นั เรยี น โดยออกแบบการเรียนการสอนและจดั ทำ�แผนการจัดการเรยี นรู้ 2.5.2 ผูบ้ ริหารเป็นทป่ี รกึ ษา ใหค้ วามรู้ ค�ำ แนะนำ� ให้กำ�ลังใจ และอ�ำ นวยความ สะดวก มีบทบาทโดยเป็นที่ปรึกษาและให้คำ�แนะนำ�การวางแผนนำ�สมรรถนะไปใช้ในแต่ละวิชา ให้เหมาะสมกับหน่วยการเรียนรู้ของแต่ละระดับช้ัน และจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ สนับสนุน การด�ำ เนนิ งาน สอื่ และทรพั ยากรทจี่ �ำ เปน็ ใหก้ �ำ ลงั ใจ และอ�ำ นวยความสะดวกในดา้ นตา่ ง ๆ ใหแ้ กค่ รู 2.5.3 ผู้บริหารเป็นผู้นิเทศ กำ�กับ ติดตามผลการดำ�เนินงาน ตรวจแผนการจัด การเรยี นรู้ นิเทศ ดแู ลช่วยเหลอื ครกู รณีพบปญั หาขณะทดลองและตดิ ตามผลการด�ำ เนินงานของครู 2.6 ปัญหาที่พบและวิธีแก้ไข การนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนา ผูเ้ รยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ ในสถานศกึ ษา พบวา่ 2.6.1 ด้านการออกแบบการเรียนการสอน ครูบางคนยังขาดความชำ�นาญและ ขาดความมน่ั ใจ ยงั ไมเ่ ขา้ ใจค�ำ อธบิ ายสมรรถนะ และการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใชใ้ นการออกแบบการเรยี น การสอน เชน่ สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาไทยเพอื่ การสอ่ื สารมสี มรรถนะยอ่ ยทค่ี ลา้ ยกนั สมรรถนะหลกั ดา้ น ทกั ษะชวี ติ และความเจรญิ แหง่ ตนกบั สมรรถนะพลเมอื งตนื่ รทู้ มี่ สี �ำ นกึ สากลมรี ายละเอยี ดคลา้ ยกนั มาก ครยู งั ไมค่ นุ้ กบั สมรรถนะท�ำ ใหไ้ มม่ นั่ ใจวา่ ท�ำ แผนการจดั การเรยี นรถู้ กู หรอื ไม่ ตวั บง่ ชบี้ างตวั ยงั คลมุ เครอื อธบิ ายยงั ไมค่ รอบคลมุ ท�ำ ใหด้ งึ มาใชไ้ มถ่ กู ครพู ยายามตอ่ ยอดใหอ้ อกแบบการเรยี นการสอนไดห้ ลาย สมรรถนะแตบ่ างครงั้ ท�ำ ไดไ้ มค่ รบ ยงั คดิ ไมอ่ อกวา่ จะแทรกสมรรถนะในกจิ กรรมอยา่ งไร ครบู างสว่ นยงั ไมค่ อ่ ยมนั่ ใจวา่ แผนการจดั การเรยี นรคู้ รอบคลมุ สมรรถนะหรอื ไม่ บางครง้ั ใสส่ มรรถนะไปแตไ่ มเ่ กดิ กลบั ไปเกดิ สมรรถนะอนื่ เพราะครยู งั ไมเ่ ขา้ ใจกรอบสมรรถนะ ครไู มเ่ ขา้ ใจแนวทางการน�ำ สมรรถนะไปพฒั นา ผู้เรียนในบางแนวทาง ยังหว่ งเน้ือหาและการวัดผลทต่ี อ้ งเกบ็ คะแนนตามตัวชีว้ ดั มีการแกป้ ญั หาโดย 1) โรงเรียนจัดประชุมเพื่อทำ�ความเข้าใจร่วมกัน 2) ครูร่วมกันศึกษาคู่มือศึกษากรอบสมรรถนะ (4)รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

บทสรปุ ส�ำ หรับผ้บู รหิ าร 3) ครูวิเคราะห์ว่าในแต่ละระดับช้ันควรเกิดสมรรถนะใดแค่ไหน 4) ใช้กระบวนการ สร้างชุมชน แห่งการเรียนรเู้ ชิงวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) ในการเรยี นร้รู ว่ มกัน 5) ปรกึ ษาร่วมกับเพือ่ นและผู้บรหิ าร 6) ปรกึ ษาศึกษานิเทศกเ์ พอ่ื ขอคำ�แนะน�ำ 2.6.2 ด้านเวลา เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไม่เพียงพอ เพราะมี กจิ กรรมหลากหลายมากขน้ึ เพื่อให้นักเรียนเกดิ สมรรถนะ จงึ ต้องใช้เวลามากข้นึ มกี ารแก้ปญั หาโดย 1) ปรบั เพม่ิ เวลา โดยใชเ้ วลาในคาบกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 2) บรู ณาการบทเรยี นโดยใชส้ มรรถนะและตวั ชวี้ ดั เป็นหลัก ยึดเนื้อหาน้อยลง 3) ยืดหยุ่นเวลาในการสอน บางครั้งต้องใช้เวลาของวิชาอ่ืนที่ตนสอน หรอื ใชเ้ วลาสอนของเพอื่ นครู บางครงั้ กจิ กรรมไมต่ อ่ เนอ่ื งกนั และมกี ารปรบั กจิ กรรมใหมใ่ หอ้ ยใู่ นเวลา 2.6.3 ดา้ นการบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี น เวลาจดั กจิ กรรมในชน้ั เดก็ เลก็ ครจู ะเหนอ่ื ยมากกวา่ ช้ันเด็กโต เพราะต้องอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ นักเรียนยังไม่คุ้นเคยกับการฟังคำ�ส่ังและทำ�กิจกรรม ต่าง ๆ ในการใช้สมรรถนะเป็นหลัก มีปัญหาในการจัดงานให้นักเรียนทำ�  เลือกจัดกลุ่มนักเรียน แลว้ ตอ้ งคดิ กจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกบั ความสามารถทต่ี า่ งกนั อกี ทง้ั ในบางโรงเรยี นมจี �ำ นวนนกั เรยี นมาก มขี อ้ จำ�กัดในการใชพ้ ้ืนทแ่ี ละการให้นกั เรียนทำ�งานกลุ่ม มีการแกป้ ัญหาโดย 1) ฝกึ ใหน้ กั เรียนคุน้ เคย กบั การฟงั ค�ำ สงั่ และการท�ำ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง 2) วเิ คราะหน์ กั เรยี นและเตรยี มงานทเ่ี หมาะกบั นกั เรยี นเพมิ่ เตมิ 3) ใชพ้ น้ื ทใี่ นการเรยี นรทู้ งั้ ในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรยี นเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 2.6.4 ด้านการบริหารจัดการเวลาในการทำ�งานของครู ครูมีภาระงานมากข้ึน ไม่มีเวลาเต็มท่ีในการเตรียมสมรรถนะและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สมรรถนะ ครู 1 คน สอนทุกวิชาใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ต้องเตรียมผู้เรียนเพื่อทดสอบ O-NET, NT ในชั้น ป.1 ต้องพัฒนานักเรียนให้อ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น โรงเรียนแก้ปัญหาโดยการจัดประชุม ร่วมทำ� การเข้าใจหลักการ รายละเอียดของสมรรถนะ และแนวทางการจัดการเรียนการสอน 4 แนวทาง แล้วนำ�มาร่วมกันวางแผนเลือกแนวทางในการนำ�มาใช้จัดการเรียนการสอนตามท่ีโรงเรียน มีความพรอ้ มและบริบทเอ้อื ต่อการท�ำ งาน 2.7 ส่ิงที่ครูและโรงเรียนต้องการความช่วยเหลือ การนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลอง ใชใ้ นการพฒั นาผเู้ รยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ พบวา่ สงิ่ ทคี่ รแู ละโรงเรยี นตอ้ งการความชว่ ยเหลอื มีดงั นี้ 2.7.1 ดา้ นการใหค้ วามรแู้ ละพฒั นาความสามารถของครใู นการออกแบบการเรยี น การสอน ควรมีการให้ความรู้และใช้เวลาให้ครูฝึกออกแบบการเรียนการสอนมากข้ึน เพ่ือให้เข้าใจ แนวคดิ และแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอนในทกุ แนวทาง ควรมีการพัฒนาครใู นการจัด กิจกรรมทีแ่ ทรกสมรรถนะได้อยา่ งหลากหลาย เทคนิคการจัดการช้ันเรียน และเน้นรปู แบบการสอน ในแต่ละแนวทางให้มากขน้ึ 2.7.2 ด้านตัวช้ีวัด ควรมีการกำ�หนดรายละเอียดของสมรรถนะย่อยแต่ละตัวแยก ตามระดับชน้ั ให้เหมอื นกบั ตัวชีว้ ดั ในหลักสูตรแกนกลาง (5)รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

บทสรปุ สำ�หรบั ผู้บริหาร 2.7.3 ด้านคู่มือและตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ ควรมีคู่มือและคำ�แนะนำ� ด้านการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ในแนวทางต่าง ๆ ที่ชัดเจนและควรมีรูปแบบไปใน แนวเดียวกัน ควรมีตัวอย่างกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเป็นรูปธรรมและมีตัวอย่างแผนการจัด การเรยี นรู้ ทหี่ ลากหลาย ควรมตี วั อยา่ งตามแนวทางที่ 1-4 เพม่ิ เตมิ เพอ่ื ใหค้ รมู แี นวทางในการท�ำ งาน เพม่ิ ขนึ้ ในสว่ นของตวั อยา่ งแนวทางท่ี 4 ควรมตี วั อยา่ งการน�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั มาออกแบบในลกั ษณะ การบูรณาการในภาพรวมโดยไม่แยกเป็นกิจกรรมย่อย ๆ และครูบางส่วนต้องการแผนการจัด การเรยี นร้สู �ำ เรจ็ รปู ใหค้ รบทกุ วิชา 2.7.4 ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล ครตู อ้ งการแนวทางการวดั และประเมนิ ผลสมรรถนะ ทีช่ ัดเจน เห็นภาพตอ่ เนื่อง และสอดคลอ้ งกับการวัดผลระดบั ชาติ 2.7.5 ด้านการให้คำ�แนะนำ�และช่วยเหลือ ควรมีการนิเทศ ติดตาม ให้ข้อแนะนำ� ให้ค�ำ ปรึกษาอยา่ งต่อเนื่อง ท้ังจากบคุ ลากรภายในโรงเรียนและบคุ คลภายนอก 2.8 สิ่งที่ครูคิดว่าเป็นปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดความสำ�เร็จ จากการนำ�กรอบสมรรถนะหลัก ไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา พบว่า สิ่งที่ครูคิดว่า เป็นปจั จัยที่ทำ�ให้เกดิ ความส�ำ เรจ็ มีดงั น้ี 2.8.1 กรอบสมรรถนะและรายละเอียด กรอบสมรรถนะท้งั 10 สมรรถนะ มคี วาม สำ�คัญในการส่งเสริมนักเรียน  หากมีรายละเอียดและแนวทางในการนำ�ไปใช้ที่ชัดเจนจะช่วยให้ครู เขา้ ใจและนำ�ไปพัฒนานักเรยี นได้ตรงเป้าหมายมากข้นึ 2.8.2 ผบู้ รหิ าร ควรใหค้ วามส�ำ คญั ใหก้ ารหนนุ เสรมิ  จะชว่ ยใหก้ ารท�ำ งานคลอ่ งตวั ขนึ้ เวลาจัดอบรม/รบั รู้ขอ้ มูล ต้องการใหผ้ บู้ ริหารรว่ มรับรดู้ ้วยเพื่อสนับสนนุ การด�ำ เนนิ งาน 2.8.3 ครผู ู้สอน ต้องเขา้ ใจชัดเจนและออกแบบการเรียนรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกบั สมรรถนะ ทสี่ ดุ ความเขา้ ใจของครใู นการน�ำ สมรรถนะไปจดั การเรยี นการสอนแตล่ ะแนวทางจะชว่ ยใหค้ รวู างแผน และเตรียมความพร้อมในการสอนได้ดีขึ้น โดยครูจะต้องมีความมุ่งม่ันพยายาม หาความรู้เพิ่มเติม  เพอ่ื ใหส้ ามารถออกแบบกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย เปลยี่ นจาก teacher-centered เปน็  child-centered มกี ารฝกึ ปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั สมรรถนะและน�ำ สมรรถนะมาออกแบบการจดั การเรยี นการสอนแตล่ ะแนวทาง มกี ารวดั ผลประเมนิ ผลตามสมรรถนะและตวั ชว้ี ดั ทมี่ ใี นหนว่ ยการเรยี นรเู้ ดมิ ครตู อ้ งใสใ่ จนกั เรยี นมากขน้ึ พัฒนาตนเองอย่เู สมอ ท�ำ ส่ือ ใกลช้ ดิ นักเรียนมากขึ้น คดิ ว่าจะทำ�อยา่ งไรให้บรรลุเป้าหมายทีต่ ้องการ 2.8.4 การท�ำ งานเปน็ ทมี ของโรงเรยี น การวเิ คราะหส์ มรรถนะและน�ำ มาบรู ณาการใน การออกแบบการเรยี นการสอนรว่ มกนั ท�ำ ใหช้ ว่ ยลดเวลา และเดก็ ไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ สมรรถนะมากขนึ้ 2.8.5 ระยะเวลา มชี ว่ งเวลาในการศกึ ษาหาความรู้ สรา้ งความเขา้ ใจและฝกึ ประสบการณ์ ในการน�ำ สมรรถนะไปใชจ้ ัดการเรียนการสอนใหน้ านกวา่ น้ี 2.8.6 การไดร้ บั ขอ้ มลู เกย่ี วกบั สภาพปญั หาของนกั เรยี นอยา่ งตรงจดุ /มขี อ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ จะชว่ ยให้พัฒนานักเรียนได้ตรงจุดมากขึน้ 2.8.7 ผ้ปู กครอง รับรูก้ ารเปลีย่ นแปลงของการเรียนการสอน และเข้าใจวา่ การสอน นกั เรยี นให้เกดิ สมรรถนะตอ้ งใชเ้ วลา และผ้ปู กครองมเี วลาใกล้ชิดกบั เด็ก (6)รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

บทสรปุ ส�ำ หรบั ผู้บรหิ าร 2.8.8 การนิเทศติดตาม คณะวจิ ยั มกี ารนเิ ทศติดตามใหม้ ากขนึ้ 2.8.9 มแี ผนการจดั การเรยี นรสู้ �ำ เรจ็ รปู ใหค้ รเู ปน็ แบบอยา่ ง เพอื่ ทคี่ รจู ะไดม้ ตี น้ แบบ น�ำ ไปพฒั นารูปแบบการเรียนการสอนไดช้ ดั เจนและตรงตามเปา้ ประสงคท์ ีก่ ำ�หนด  2.9 ข้อเสนอแนะ จากการนำ�กรอบสมรรถนะหลักไปทดลองใช้ในการพัฒนาผู้เรียนระดับ ชน้ั ประถมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา บทสรุปสุดท้ายเพอื่ นำ�ไปสูก่ ารปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นรปู ธรรม มดี ังน้ี 2.9.1 ดา้ นการใหค้ วามรูแ้ ละสร้างความเขา้ ใจ 1) ให้ความรเู้ ก่ยี วกบั สมรรถนะและมีตัวอยา่ งการน�ำ ไปใชท้ ีห่ ลากหลาย 2) เพิ่มเวลาอบรมเพื่อให้เข้าใจมากข้ึนและมีการทดลองปฏิบัติ แลกเปลี่ยน เรยี นร้รู ่วมกนั ก่อนนำ�ไปใชจ้ รงิ 3) มกี ารพฒั นาครใู นการน�ำ สมรรถนะไปใชพ้ ฒั นาผเู้ รยี น โดยเนน้ เรอ่ื งการออกแบบ กจิ กรรมใหเ้ ด็กเกดิ หลายสมรรถนะและเกิดผลกับเด็กมากทส่ี ดุ 2.9.2 ดา้ นหลักสูตรและโครงสรา้ ง 1) มีตัวช้ีวัดตั้งต้นเพราะสมรรถนะเป็นก้อนใหญ่ หากไม่มีตัวชี้วัดเหมือน ไมม่ ีจดุ เริม่ 2) ตัวชี้วัดมีความชัดเจน เข้าใจง่าย เช่ือมโยงกับการทดสอบระดับชาติ NT / O-NET 3) ปรบั ลดรายวชิ าทซ่ี า้ํ ซอ้ น หลอมรวมสงิ่ ทซ่ี าํ้ กนั เชน่  วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา สขุ ศกึ ษา ใชส้ มรรถนะเป็นฐานโดยบรู ณาการ  4) ในชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ควรปรบั โครงสรา้ งเวลาเรยี นใหม้ ชี ว่ั โมงภาษาไทย เพ่ิมมากขึ้นอย่างน้อยวันละ 2 ช่ัวโมง เนื่องจากเวลาท่ีมีไม่สัมพันธ์ กับการปลูกฝังให้เกิดสมรรถนะการอ่าน-เขียน โดยโรงเรียนท่ีมี ผลการอา่ นดเี ยย่ี มจะมกี ารจดั ตารางในภาคเชา้ สอนภาษาไทย-คณติ ศาสตร์ ส่วนวิชาอ่ืนใช้การบูรณาการ 2.9.3 ดา้ นบรหิ ารจดั การ หากครูประจ�ำ ชั้นสอนทกุ วชิ า จะสามารถยดื หยุ่นการจัด กิจกรรมไดง้ า่ ยกว่า แต่ถา้ ครูสอนเป็นวชิ าท�ำ ใหย้ ดื หยุ่นเวลาได้ยาก 2.9.4 ด้านการวัดและประเมินผล ครูยังมีความกังวลเร่ืองผลสัมฤทธิ์ของเด็กเวลา ทดสอบระดบั ชาติ ยงั ไม่เหน็ หลกั สูตรตลอดแนว ไม่รู้วา่ จะวัดและประเมนิ ผลอยา่ งไร  2.9.5 ดา้ นระยะเวลาในการทดลอง ระยะเวลาคอ่ นขา้ งนอ้ ย ทดลองใช้แผนการจัด การเรียนรู้ จำ�นวน 1 - 2 แผน ยังไม่ค่อยเห็นผล ครูยังไม่ทะลุปรุโปร่งว่าคืออะไร ทำ�ให้เช่ือมโยง ยังไมถ่ กู ตอ้ ง  2.9.6 ดา้ นคมู่ ือ สื่อ และแหลง่ ทรัพยากรการเรยี นรู้ มีข้อเสนอแนะ ดังน้ี 1) จดั ท�ำ เอกสารเก่ียวกับสมรรถนะเพ่ิมเติม และมตี วั อยา่ งแผนการจัดการเรียนรใู้ นแต่ละแนวทางใหม้ ากขนึ้ เพื่อให้ครูใช้ในการศึกษาและเป็นแนวทางในการทำ�งาน 2) หากมีแผนการจัดการเรียนรู้สำ�เร็จรูป ให้ดูเปน็ แนวทาง ครจู ะหยบิ ใชไ้ ด้งา่ ยและน�ำ มาปรับได้ ชว่ ยลดภาระให้ครู  (7)รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

บทสรปุ ส�ำ หรับผูบ้ ริหาร 2.10 ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูต่อการนำ�แนวทาง การใช้กรอบสมรรถนะผ้เู รยี นระดับประถมศกึ ษาตอนต้นในการพัฒนาผู้เรียน 2.10.1 ดา้ นจดุ แขง็ ของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 พบว่า สถานศกึ ษาในภาพรวมสามารถนำ�หลกั สตู รไปใช้ได้และครนู �ำ สู่การปฏิบัตไิ ด้งา่ ยขึ้น มีตัวชีว้ ดั ชดั เจน ครอบคลุม ท�ำ ใหค้ รูมีเปา้ หมายในการสอนและประเมนิ ผลไดค้ รอบคลุม ด้านจุดอ่อน พบว่า หลักสูตรแกนกลางฯ มีตัวชี้วัดมากเกินไปและทับซ้อน ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โครงสร้างเวลาเรียนขาดความยืดหยุ่น จำ�นวนชั่วโมงตามโครงสร้าง หลกั สตู รและวชิ าเรยี นควรลดลง เนอ้ื หามาก และไมส่ ามารถเชอ่ื มโยงความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้ ด้านความต้องการปรับเปล่ียน พบว่า หลักสูตรควรลดมาตรฐานการเรียนรู้ และจำ�นวนตัวช้ีวัด เนื้อหาและเวลาเรียนควรยืดหยุ่นมากขึ้น ส่งเสริมความถนัด เน้นการปฏิบัติ แกป้ ญั หา เรยี นรสู้ ง่ิ ทน่ี กั เรยี นถนดั สามารถน�ำ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั หรอื ประกอบอาชพี ได้ ควรยดื หยนุ่ ในการนำ�หลักสูตรไปใช้ให้สถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ในแตล่ ะพน้ื ที่ ควรหลอมรายวชิ าเปน็ แนวบรู ณาการ ระบเุ พยี งเนอื้ หาและสาระส�ำ คญั เออ้ื ใหม้ กี จิ กรรม ทล่ี งมือทำ�มากขนึ้ ควรลดเวลาเรียนเพิ่มเวลาเล่นและเพ่มิ ดา้ นทักษะชวี ิต 2.10.2 ด้านการดำ�เนินการนำ�กรอบสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติในห้องเรียน พบว่า สถานศึกษาในภาพรวม ประชุมวางแผนร่วมกันโดยกำ�หนดสมรรถนะหลักและการนำ�สมรรถนะ ไปใช้ จดั กจิ กรรม PLC สรา้ งความเขา้ ใจใหต้ รงกนั บรู ณาการสมรรถนะสกู่ ารปฏบิ ตั กิ บั นโยบายโรงเรยี น คดั เลอื กครผู สู้ อน แบง่ ปนั ความรรู้ ะหวา่ งเพอื่ นครู จดั รปู แบบกจิ กรรมใหม่ ๆ ทห่ี ลากหลาย ใหก้ �ำ ลงั ใจ เปน็ ทปี่ รกึ ษาใหค้ รทู �ำ แผนการสอน ประเมนิ การสอนรว่ มกนั และนเิ ทศก�ำ กบั ตดิ ตาม ดา้ นการน�ำ สมรรถนะ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นหอ้ งเรยี น พบวา่ ในภาพรวมครสู ามารถน�ำ ไปใชไ้ ดโ้ ดยน�ำ สมรรถนะมาใชต้ ามแนวทาง ตา่ ง ๆ คนละ 2 - 4 แนวทาง บางโรงเรียนยังขาดการปรึกษาและรว่ มมอื กนั ตอ่ เนือ่ ง ครเู ขยี นแผน การจัดการเรียนรู้และส่งแผนให้ผู้บริหารตรวจ มีประชุมเพ่ือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประเมิน แผนของครเู พอ่ื ใหเ้ กดิ ความถกู ตอ้ ง ดา้ นวธิ กี ารแกป้ ญั หากรณคี รยู งั ไมส่ ามารถน�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ไิ ด้ พบวา่ สถานศกึ ษาในภาพรวมแก้ปญั หาโดยครรู วมกลมุ่ ท�ำ PLC อยา่ งเข้มแขง็ เพอื่ เรยี นรแู้ ลกเปลีย่ น ความคดิ เหน็ ซงึ่ กนั และกนั ประชมุ ปรกึ ษาทงั้ แบบเปน็ พธิ กี ารและแบบกลั ยาณมติ รเพอ่ื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื และการลดภาระงานของครู 2.10.3 ข้อแตกต่างการทำ�งานของครูในการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ ในภาพรวม พบวา่ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ มคี วามยดื หยนุ่ สงู กวา่ และเปดิ โอกาสครใู หค้ ดิ วธิ กี ารและแนวทางการจดั การเรยี นการสอนรปู แบบใหม่ ๆ เพม่ิ ขน้ึ มกี ารเรยี นรโู้ ดยรว่ มมอื กนั เปลยี่ นแปลงตนเอง ดา้ นการออกแบบ การเรยี นรู้ ครจู ดั ท�ำ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ลี่ ะเอยี ดมกี จิ กรรมทห่ี ลากหลายสอดคลอ้ งกบั การพฒั นา สมรรถนะ มกี ารใชเ้ ทคนคิ ในการสอน ตลอดจนใชส้ อื่ และสถานการณต์ า่ ง ๆ ในการจดั การเรยี นรมู้ ากขน้ึ มคี วามยดื หยนุ่ ในการแกป้ ญั หา นกั เรยี นไดท้ �ำ งานเปน็ กลมุ่ สนกุ สนาน สนใจเรยี น มคี วามสขุ และมเี จตคติ ทด่ี ใี นการเรยี นรมู้ ากขึ้น ด้านการวดั ผลประเมนิ ผล เป็นการวดั ผลที่บรู ณาการตัวชีว้ ัดกบั สมรรถนะ (8)รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

บทสรปุ ส�ำ หรับผบู้ รหิ าร เข้าด้วยกัน มีการประเมินตามสภาพจริงมากขึ้น ลดการใช้ข้อสอบ แต่ครูบางคนมีความเห็นว่า การวดั ผลประเมินผลยงั ไมช่ ัดเจนและใชเ้ วลามาก 2.10.4 การช่วยเหลือ นิเทศ และสนับสนุนให้ครูจัดทำ�แผนการสอนและการนำ� แผนการจดั การเรียนร้ไู ปใชใ้ นหอ้ งเรยี น พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาในภาพรวม ให้การชว่ ยเหลอื นิเทศ และสนับสนุนให้ครูจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ และการนำ�ไปใช้ในห้องเรียน จัดประชุม สมํ่าเสมอเพื่อสร้างความเข้าใจ ใช้กระบวนการ PLC ต้ังแต่การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ สังเกต การสอน และสะท้อนผลร่วมกัน ใช้การ Open Class เข้าไปสังเกตการสอนในชั้นเรียนเพื่อนิเทศ ตดิ ตามเปน็ ระยะ ๆ สง่ เสรมิ การแบง่ ปนั การจดั กจิ กรรมและสอ่ื และการจดั ทมี งานชว่ ยเหลอื แนะน�ำ ครู 2.10.5 ปัญหาอุปสรรคที่พบในการสนับสนุนการทำ�งานของครู ด้านการพัฒนา หลักสูตร ครูไม่มีความรู้เรื่องการพัฒนาหลักสูตรเพราะมองว่าเป็นเร่ืองไกลตัว ด้านการออกแบบ การเรียนการสอน ครูขาดความม่ันใจในการจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีครอบคลุมสมรรถนะ ท่ีเลอื กไวแ้ ละใช้คมู่ ือเป็นหลกั ยึดตดิ กับตวั อยา่ งในคู่มือ ทำ�ให้ไมม่ ีความหลากหลายในการออกแบบ ครหู ลายทา่ นใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรสู้ �ำ เรจ็ รปู ของส�ำ นกั พมิ พต์ ามหนงั สอื แบบเรยี น ท�ำ ใหน้ �ำ สมรรถนะ ไปใช้ได้ยาก ดา้ นการวัดผลประเมนิ ผล พบวา่ ครูไม่แนใ่ จว่าการวดั ผลประเมนิ ผลดา้ นสมรรถนะทดี่ ี ควรด�ำ เนนิ การอยา่ งไร วธิ กี ารแกไ้ ขเมอ่ื มปี ญั หาอปุ สรรค พบวา่ ครสู ว่ นใหญศ่ กึ ษาวธิ กี ารออกแบบการเรยี น การสอนและการประเมนิ ผลโดยคน้ หาจากอนิ เทอรเ์ นต็ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาชว่ ยครคู ดิ วเิ คราะหก์ ารท�ำ งาน มคี วามจ�ำ เป็นตอ้ งมีผ้รู ู้ในโรงเรยี นเพื่อพาครใู นโรงเรยี นท�ำ การใช้ระบบโทรทศั นท์ างไกล (Distance Learning Television : DLTV) ในการพัฒนาครูและใชเ้ ป็นแบบอยา่ งในการวัดและประเมินผล 2.10.6 ช่วงเปล่ียนผ่านหรือรอยต่อการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ สมรรถนะ ทั้ง 10 สมรรถนะเหมาะสมกับเด็กยุคใหม่ ควรจัดทำ�หลักสูตรฐานสมรรถนะตั้งแต่ระดับปฐมวัย ใหส้ ถานศกึ ษามอี สิ ระดา้ นการจดั หลกั สตู ร ลดกลมุ่ สาระการเรยี นรเู้ ดมิ ทม่ี ากเกนิ ไป ระบรุ ายละเอยี ด สมรรถนะยอ่ ยในแตล่ ะระดบั ชน้ั ทชี่ ดั เจนไปสสู่ มรรถนะหลกั ปรบั ตารางเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาตอนตน้ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเสริมสมรรถนะเหมาะสมกับเด็กเล็ก ใช้สมรรถนะต่อควบคู่ไปกับ ตวั ช้วี ัด และนำ�การประเมนิ สมรรถนะไปปรบั ใชก้ บั ผเู้ รียน มีค่มู ือเพราะทำ�ให้เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ดา้ นสมรรถนะทตี่ รงกนั ดา้ นการด�ำ เนนิ การใชส้ มรรถนะตอ่ เนอ่ื ง จะน�ำ สมรรถนะไปใชต้ อ่ ควบคกู่ บั ตวั ชว้ี ดั เดมิ เน้นกิจกรรมที่ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงให้มากขึ้น ทดลองนำ�สมรรถนะมาใช้ต่อเน่ืองโดยเร่ิมจาก ระดบั ชนั้ อนบุ าลปที ่ี 3 และชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ เพอื่ เปน็ การสง่ ตอ่ ในชว่ งเปลย่ี นผา่ น ใชก้ ารประเมนิ ตามสภาพจริงให้มากขึ้นไม่ได้ใชข้ ้อสอบปลายภาค 2.10.7 การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบสมรรถนะมาใชใ้ นโรงเรยี น ประการแรก คือ การให้ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับสมรรถนะให้ชัดเจนโดยผู้บริหารสถานศึกษา เห็นความสำ�คัญ ให้การสนับสนุนและสามารถเป็นที่ปรึกษาได้ มีการรวมกลุ่ม PLC อย่างเข้มแข็ง การ Coaching โดยทมี พ่ีเล้ียงชว่ ยเติมเตม็ ความรู้เพ่มิ ความชัดเจน ประการตอ่ มา คอื ครูตอ้ งเปิดใจ ศรัทธา ใฝ่รู้ มีคู่มือการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมสมรรถนะ ตัวอย่างกิจกรรมที่นำ�ไปสู่สมรรถนะและ (9)รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

บทสรปุ ส�ำ หรบั ผู้บริหาร แผนการจดั การเรยี นรู้ ประการสดุ ทา้ ย คอื การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ จากผบู้ รหิ าร ความชว่ ยเหลอื จาก ผู้เช่ยี วชาญทีร่ ู้จริงและมาชว่ ยเหลอื ให้คำ�แนะนำ�ในการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอน 2.10.8 สิ่งท่ีโรงเรียนต้องการความช่วยเหลือในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ ควรมีผู้เชี่ยวชาญหรือพี่เลี้ยงช้ีแนะในการออกแบบกิจกรรมและ การจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสมรรถนะ มีคู่มือการออกแบบการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล และเทคนคิ /กลยทุ ธใ์ นการน�ำ สมรรถนะไปใช้ มแี ผนการจดั การเรยี นรกู้ ลางทม่ี คี วามยดื หยนุ่ ครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ สาระ มแี หลง่ การเรยี นรอู้ อนไลน์ ทเี่ ผยแพรเ่ ทคนคิ การสอนหรอื กลยทุ ธท์ ส่ี ง่ เสรมิ สมรรถนะไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั โดยใหค้ รสู ามารถเขา้ ถงึ ไดต้ ลอดเวลา มีงบประมาณสนบั สนุนเพอื่ การจดั ซ้อื ส่ือสนบั สนุนการสอน มีศูนย์รวมขอ้ มูลหลกั สตู รฐานสมรรถนะ เพม่ิ แหลง่ คน้ ควา้ หาความรโู้ ดยมแี หลง่ การเรยี นรอู้ อนไลนท์ ค่ี รสู ามารถเขา้ ถงึ ไดต้ ลอดเวลาและสอื่ สาร กบั ภาคแี ละผ้เู กย่ี วข้อง มีคมู่ ือการวดั และประเมินผลและเกณฑก์ ารตัดสินผลการเรยี นที่ชดั เจน และ เช่ือมโยงการประเมนิ สมรรถนะกบั การสอบ O-NET 2.10.9 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ หนว่ ยงานทพ่ี ฒั นาหลกั สตู ร เปน็ หนว่ ยงานกลางในการวางระบบ ลดงานนโยบาย ทซี่ าํ้ ซอ้ นกนั จดั ท�ำ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ น�ำ กรอบสมรรถนะไปใชแ้ ละจดั ท�ำ เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล จดั ท�ำ คมู่ อื สมรรถนะ ประสานงานหนว่ ยงานตา่ ง ๆ อบรมใหค้ วามรใู้ นเรอ่ื งสมรรถนะ ก�ำ หนดเปา้ หมาย คณุ ภาพผเู้ รยี นใหส้ อดคลอ้ งกนั ทกุ หนว่ ยงาน ปรบั ระเบยี บการใชง้ บประมาณในการสนบั สนนุ การสอน การพฒั นาเทคโนโลยใี หเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการสง่ เสรมิ สมรรถนะ พฒั นาเทคโนโลยใี หเ้ ขา้ มามบี ทบาท ในการสง่ เสรมิ สมรรถนะ การวางระบบการน�ำ สมรรถนะไปใช้ เชน่ การทดสอบระดบั ชาติ การรบั เดก็ เขา้ ศกึ ษาตอ่ ปรบั เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลระดบั ประถมศกึ ษาเปน็ “ผา่ น” “ไมผ่ า่ น” และใชก้ ารประเมนิ ตามสภาพจรงิ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ก�ำ หนดเปา้ หมายคณุ ภาพผเู้ รยี นใหช้ ดั เจนและสอดคลอ้ ง กันทุกหน่วยงาน การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบสมรรถนะให้กับครู แก้ไขระเบียบ งบประมาณทย่ี งุ่ ยากใหม้ คี วามยดื หยนุ่ สรา้ งขอ้ ทดสอบทตี่ อบสนองตอ่ บรบิ ทพน้ื ทที่ มี่ คี วามหลากหลาย และวัดตามพฒั นาการ หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา การกำ�หนดนโยบายในระยะยาวและ ต่อเนอ่ื ง ลดนโยบายทซี่ า้ํ ซอ้ นและลดการส่ังการจากสว่ นกลาง ใหท้ ้องถ่นิ บรหิ ารจดั การดว้ ยตนเอง และส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นได้อย่างอิสระ ยืดหยุ่นการใช้งบประมาณของโรงเรียน มีความชัดเจนเกี่ยวกับความรู้ด้านสมรรถนะ สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ควรรวบรวมต้นแบบของโรงเรียนสาธิตต่าง ๆ ให้ผู้สนใจศึกษาทางออนไลน์อบรมให้ความรู้กับครู เก่ียวกบั กรอบสมรรถนะใหค้ วามร้คู วามเขา้ ใจกบั ผเู้ กย่ี วข้อง (10)รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

บทสรปุ ส�ำ หรับผู้บริหาร 2.11 ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอื่น ๆ ในการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการน�ำ กรอบสมรรถนะไปใช้ ควรมกี ารประเมนิ หลกั สตู รเดมิ กอ่ นการปรบั เปลย่ี นหลกั สตู ร และมคี วามชดั เจน แนวทางการด�ำ เนินการของสมรรถนะ ใชก้ ระบวนการ ชมุ ชนการเรียนรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) และการศึกษาผ่านบทเรียน (Lesson Study) การพัฒนาครู ควรมีผู้รู้จริงมาให้วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องเพราะการส่งต่อผ่านศึกษานิเทศก์ อาจทำ�ให้คลาดเคล่ือน เม่ือต้องไปตรวจ นิเทศ ติดตาม ทำ�ให้ปฏิบัติผิดทาง จัดทำ�เว็บไซต์กลางเพื่อการสืบค้นข้อมูล หรือแลกเปลยี่ นข้อมลู ดา้ นสมรรถนะ หน่วยงานหลกั สตู รตอ้ งประสานงานกับ กระทรวงศึกษาธกิ าร และหน่วยงานต้นสังกัดต่าง ๆ เพื่อการทำ�งานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีการประชาสัมพันธ์ อย่างทว่ั ถงึ จดั ทำ�คมู่ อื การใชห้ ลกั สูตรฐานสมรรถนะใหก้ ับครู ระบุแหลง่ เรยี นรแู้ ละหนังสอื ประกอบ ทจ่ี ะท�ำ ใหค้ รคู น้ หาความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง มสี อื่ และแหลง่ เรยี นรปู้ ระกอบการเรยี นการสอน ควรประเมนิ ผล การใช้หลกั สูตรฐานสมรรถนะ เพื่อตดิ ตามและปรบั ปรุงแกไ้ ขเปน็ ระยะๆ ตอนที่ 3 ข้อเสนอเชิงนโยบายในการนำ�กรอบสมรรถนะผู้เรียนสำ�หรับหลักสูตร การศึกษาขนั้ พื้นฐานสู่การปฏบิ ตั ิ 3.1 ข้อเสนอแนะต่อการพฒั นาหลกั สตู ร 3.1.1 กำ�หนดให้มีเป้าหมายร่วมที่ชัดเจน ซึ่งเป็นเป้าหมายท่ีทุกคนสามารถรับรู้ และเข้าใจได้ตรงกันในลักษณะของผลการเรียนรู้ท่ีพึงประสงค์ (Desirable outcomes) ท่ีชัดเจน เขา้ ใจได้ไมย่ าก และไมม่ ากจนเกนิ ไป ผทู้ ี่มหี น้าทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การจัดการศึกษาสามารถเหน็ ภาพใหญ่ (Big picture) รว่ มกันและมุ่งไปท่ีเปา้ หมายเดียวกัน ซ่ึงสามารถใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนทีเ่ สนอใน การวจิ ยั ครงั้ นเ้ี ปน็ ฐานในการก�ำ หนดจดุ มงุ่ หมายดา้ นผเู้ รยี น โดยอาจพจิ ารณาทบทวนสมรรถนะหลกั สมรรถนะยอ่ ย ทง้ั ในแงข่ องจ�ำ นวนสมรรถนะและระดบั ความเขม้ ขน้ ของสมรรถนะทมี่ คี วามเหมาะสม กบั ผเู้ รยี นในแตล่ ะระดบั ซงึ่ สามารถศกึ ษาวจิ ยั และท�ำ ประชาพจิ ารณเ์ พม่ิ เตมิ ได้ โดยการก�ำ หนดเปา้ หมาย ร่วมนี้ ท้ังการกำ�หนดเป้าหมายร่วมระดับชาติ ระดับท้องถิ่น / เขตพื้นท่ี และระดับสถานศึกษา โดยให้เป้าหมายในทกุ ระดบั มีความสัมพันธเ์ ช่ือมโยงกนั 3.1.2 พฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะในระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานตามกระบวนการ วจิ ยั โดยควรมงุ่ เปา้ หมายใหไ้ ดห้ ลกั สตู รทกี่ �ำ หนดจดุ มงุ่ หมายเชงิ สมรรถนะ เสนอแนวทางการพฒั นา สมรรถนะ และแนวทางการวดั และประเมนิ ผลสมรรถนะ ในลกั ษณะของการใชผ้ ลการวจิ ยั ชนี้ �ำ นโยบาย (Research-led policy) บนพ้ืนฐานของการมหี ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์และระบบขอ้ มูลที่ชัดเจนทน่ี �ำ ไป สู่การปรบั ปรุงนโยบาย นอกจากนี้ ควรใหม้ กี ารศกึ ษาเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหวา่ งหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กบั หลกั สตู รฐานสมรรถนะ เพอื่ ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ ในการปรบั เปลย่ี น องคป์ ระกอบหลกั สูตรบางองค์ประกอบน้นั มไิ ด้เปน็ สิ่งทยี่ ากลำ�บาก (11)รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สูตรการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

บทสรุปส�ำ หรับผู้บริหาร 3.1.3 ปลดลอ็ ค“โครงสรา้ งเวลาเรยี น” ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ ทสี่ ถานศกึ ษามอี สิ ระจดั โครงสรา้ งหลกั สตู รรายวชิ าพน้ื ฐานหลกั ที่จำ�เป็นต่อการเรียนรู้ตามวัยที่สอดคล้องกับจุดเน้นและความต้องการตามบริบทของสถานศึกษา และชมุ ชนอยา่ งแทจ้ รงิ ทงั้ นี้ แมว้ า่ ไดม้ ปี ระกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง การบรหิ ารจดั การเวลาเรยี น ของสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 และค�ำ สง่ั ส�ำ นักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน เร่ือง การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางฯ ลงวันท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 แลว้ หากแตผ่ ใู้ ชห้ ลกั สตู รในระดบั สถานศกึ ษาจ�ำ นวนหนึ่งยังไมไ่ ด้รับรู้และ เกิดความเข้าใจในวงกว้าง รวมท้ังคำ�สั่งฉบับดังกล่าวยังมีข้อกำ�หนดถึงโครงสร้างเวลาเรียนเฉพาะ สาระประวัติศาสตร์ 40 ช่ัวโมงตอ่ ปี และรายวิชาพ้นื ฐาน 840 ชัว่ โมงตอ่ ปี 3.1.4 ตรวจสอบทบทวนตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560 ท้ังนี้เน่ืองจากผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนได้ให้ข้อมูลว่า ตัวชี้วัดของบางกลุ่มสาระ การเรียนรู้มีจำ�นวนมากและซ้ําซ้อนกัน เน้นด้านความรู้มาก ทักษะที่กำ�หนดในตัวชี้วัดเป็นทักษะ ย่อย ๆ ส่วนด้านเจตคติ ค่านิยมมีน้อย ทำ�ให้การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการวัดผล ประเมนิ ผลของครเู ป็นการพฒั นาและประเมินดา้ นความรแู้ ละทกั ษะยอ่ ย ๆ ทไ่ี มเ่ กดิ เป็นสมรรถนะ 3.1.5 จดั รายวชิ าพนื้ ฐานแบบเนน้ รายวชิ าหลกั ใหม้ คี วามเขม้ ขน้ ระดบั ชนั้ ประถม ศกึ ษาตอนตน้ (ป.1-3) ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ และภาษาองั กฤษ ซงึ่ เปน็ รายวชิ าทเี่ ปน็ เครอื่ งมอื ในการเรียนรู้ศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความจำ�เป็นต่อการนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน และจัดกลุ่มสาระ การเรยี นรอู้ น่ื ๆ เปน็ รายวชิ ารอง ไดแ้ ก่ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ประวตั ศิ าสตร์ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา การงานอาชพี และเทคโนโลยี โดยจดั ในลกั ษณะการบรู ณาการทน่ี �ำ สมรรถนะทงั้ 10 สมรรถนะเปน็ ฐาน ในการออกแบบการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการทง้ั รายวชิ าหลัก รายวิชารอง และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ทง้ั นี้ ตงั้ แตร่ ะดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.4-6) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.1-3) และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4-6) ควรคอ่ ย ๆ เติมความเขม้ ข้นในรายวชิ าพืน้ ฐาน และรายวิชาเพ่ิมเติมท่ีจำ�เป็นต่อการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพตามศาสตร์เฉพาะในลักษณะ ความเข้มข้นไตร่ ะดบั โดยใช้สมรรถนะทั้ง 10 สมรรถนะ เป็นฐาน 3.1.6 ใชส้ มรรถนะ 10 สมรรถนะ เป็นฐานสำ�คญั ไปส่กู ารพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยเนน้ การเชอื่ มตอ่ หลกั สตู รระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และระดบั การอดุ มศกึ ษา ในลกั ษณะของสมรรถนะเชอ่ื มโยงตอ่ เนอ่ื งกนั เพอ่ื สรา้ งคณุ ภาพของเดก็ ไทยใหเ้ ขม้ แขง็ ไดร้ บั การพฒั นา ทสี่ อดคลอ้ งตอ่ เนอ่ื งตามความสามารถและความถนดั เฉพาะทาง โดยมเี ปา้ หมายในการสรา้ งพลเมอื งไทย ในอนาคตจากฐานสมรรถนะที่จำ�เป็นต่อการด�ำ เนนิ ชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 3.1.7 ระดมความรว่ มมือจากทกุ ภาคส่วนทุกสังกัดทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษา เพื่อให้มขี ้อมูลสภาพปัญหาผู้เรยี น การจัดการศึกษา และข้อมูลสำ�คญั จำ�เป็นอน่ื ๆ อย่างหลากหลาย มมุ มอง หลากมติ ิ และน�ำ มาสู่การก�ำ หนดวสิ ัยทัศนร์ ่วมกัน (Share Visions) พรอ้ มท้งั ระดมขอ้ มูล แนวปฏบิ ตั ทิ นี่ า่ สนใจและใช้ได้ผลเพ่อื นำ�มาสู่การกำ�หนดนโยบาย (Practice to Policy) (12)รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสูตรการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

บทสรุปส�ำ หรับผบู้ ริหาร 3.2 ขอ้ เสนอแนะตอ่ การบริหารจัดการหลกั สตู รและการนำ�หลกั สูตรไปใช้ 3.2.1 ดา้ นการสือ่ สารและประชาสมั พันธ์หลกั สูตร เนอื่ งจากการวจิ ยั ครง้ั นม้ี ขี อ้ คน้ พบประการหนงึ่ วา่ ผบู้ รหิ ารและครจู �ำ นวนมาก ไมท่ ราบขอ้ มลู ความเคลอ่ื นไหวและการปรบั ปรงุ หลกั สตู ร ดงั นน้ั ตอ้ งหายทุ ธวธิ ใี นการประชาสมั พนั ธ์ ส่ือสารเพื่อสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้องตรงกันในการใช้หลักสูตรแกนกลางฯ แนวทางหลักสูตรฐาน สมรรถนะ การบริหารจัดการหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน และการวดั และประเมินผล ในระดบั ช้ันเรยี นที่มีความยืดหยนุ่ หลากหลายแก่สถานศกึ ษาในทุกสังกัด เพอื่ ใหผ้ ใู้ ชแ้ ละผพู้ ฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาสามารถใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รไดต้ ามเจตนารมณ์ ใหเ้ กดิ ผลจากภาคนโยบายสู่ภาคปฏิบตั ิได้อย่างแทจ้ ริง ทั้งน้ี การสื่อสารต้องมรี ปู แบบทที่ นั สมยั เข้าถงึ ง่าย หลากหลายช่องทางที่เหมาะสมกับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้องท่ีมีหลายช่วงวัยและ มคี วามแตกตา่ งดา้ นประสบการณใ์ หส้ ามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และเขา้ ใจวธิ ที �ำ งานไดด้ ว้ ยตนเอง ทง้ั ในลกั ษณะ ของการจดั ท�ำ เอกสาร คมู่ อื แหลง่ เรยี นรู้ การจดั สมั มนา การมที ป่ี รกึ ษา การสรา้ งสารสนเทศออนไลน์ เชน่ เวบ็ ไซต์ เฟซบกุ๊ แฟนเพจ แอปพลเิ คชนั วดี ทิ ศั น์ Call-center รวมถงึ การเปดิ พน้ื ทสี่ าธารณะ เชน่ กระดานขา่ ว ออนไลน์ การตั้งกระทู้ เพื่อช่วยให้ผู้มีหน้าท่ีในการใช้หลักสูตร อาทิ ครู บุคลากรทางการศึกษา สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งสะดวก สามารถศกึ ษาท�ำ ความเขา้ ใจหลกั สตู รไดอ้ ยา่ งละเอยี ด และสามารถ ให้ข้อมูลสะท้อนปัญหาการใช้หลักสูตรดังกล่าว เพ่ือใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร ของสถานศกึ ษาไดต้ อ่ ไป 3.2.2 ดา้ นการใชห้ ลกั สตู ร การออกแบบการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล การออกแบบการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะตอ้ งก�ำ หนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เชงิ สมรรถนะทเ่ี หมาะสมกบั พฒั นาการตามชว่ งวยั และใชส้ ถานการณแ์ ละชวี ติ หรอื กจิ วตั รประจ�ำ วนั ของผู้เรียนเป็นตัวตั้ง โดยการเขียนจุดประสงค์เชิงสมรรถนะน้ีเป็นการระบุส่ิงที่ผู้เรียนต้องทำ�หรือ แสดงออก ซง่ึ เปน็ การผสมผสานทั้ง ทกั ษะ ความรู้ และคุณลกั ษณะทผี่ เู้ รียนต้องใชใ้ นการทำ�งานหรอื ใช้ในสถานการณ์เงื่อนไขน้ัน ๆ และการออกแบบการเรียนการสอนและการพัฒนาหลักสูตรสถาน ศึกษาตอ้ งใช้ “บรบิ ทชวี ติ จริง” ของผู้เรียนเปน็ ฐาน โดยมุ่งเนน้ สมรรถนะทีผ่ เู้ รยี นสามารถใช้ไดจ้ รงิ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ซงึ่ มกั เปน็ การออกแบบการเรยี นการสอนทตี่ อบสนองตอ่ ความแตกตา่ งหลากหลาย ของผู้เรียน (differentiated instruction) รวมถึงต้องกำ�หนดแนวทางการวัดและประเมินผล ท่ีเน้นการประเมินเพ่ือพัฒนาโดยเน้นการประเมินตามสภาพจริงท่ีใช้สมรรถนะเป็นฐาน ทั้งน้ี ในส่วนของการประเมนิ ระดบั ชาตกิ ็ตอ้ งใชก้ ารประเมนิ ฐานสมรรถนะเชน่ กัน 3.2.3 ข้อเสนอแนะต่อการจัดต้ังองค์กรหรือคณะบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูป หลักสูตร เสนอใหม้ ีสถาบนั หน่วยงานกลาง หรือคณะบคุ คลทำ�หน้าท่ีวางแผนก�ำ หนด ทศิ ทาง การพฒั นาคณุ ภาพเดก็ ไทยอยา่ งเปน็ องคร์ วมของทกุ กระทรวง ทกุ สงั กดั หนว่ ยงาน และองคก์ ร ที่เก่ียวขอ้ งกับการจัดการศกึ ษา โดยอาจมีองคค์ ณะบคุ คลทปี่ ระกอบด้วย ผู้แทนระดบั นโยบายและ ระดบั ผปู้ ฏบิ ตั จิ ากหนว่ ยงานทจี่ ดั การศกึ ษา เพอื่ ใหร้ ะดบั ผปู้ ฏบิ ตั ทิ มี่ หี นา้ ทนี่ �ำ หลกั สตู รไปใชม้ เี ปา้ หมาย (13)รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

บทสรปุ สำ�หรับผู้บรหิ าร ร่วมกันในการจัดการศึกษาให้เด็กแต่ละวัยตามบทบาทหน้าที่ ภายใต้เป้าหมายในทิศทางเดียวกัน มีการวางแผนการเชื่อมต่อหลักสูตรแต่ละระดับอย่างกลมกลืนและมีประสิทธิภาพแต่ละระดับ การศกึ ษา เห็นความสมั พนั ธ์สอดคล้องตลอดทง้ั ระบบการพัฒนาหลักสตู ร ตัง้ แตก่ ารรา่ ง การใช้ และการประเมินผล ตลอดจนเป็นสื่อกลางในการส่ือสารประชาสัมพันธ์ให้สถานศึกษาทุกสังกัด เขา้ ใจตรงกันทง้ั ในดา้ นหลักสูตร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล รวมทัง้ เปน็ หน่วยงานที่ ระดมทรัพยากรและวางระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ โดยเฉพาะแนวคิด แนวทาง และนวตั กรรมทนี่ ่าสนใจจากสถานศึกษาในทุกสังกัด หนว่ ยงานขา้ งตน้ นต้ี อ้ งมบี คุ ลากรเปน็ นกั วชิ าการดา้ นหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล ท่ีสามารถให้คำ�ปรึกษาและตอบปัญหาด้านบริหารจัดการหลักสูตร การจดั การเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผลแกผ่ บู้ รหิ ารและครใู นสถานศกึ ษาได้ รวมถงึ ควรเพมิ่ บุคลากรท่ีดแู ล ใหค้ ำ�ปรึกษา แนะน�ำ ในดา้ นน้ีแก่คณะครแู ตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ทัง้ ในระดับชาติ และระดบั ท้องถ่นิ ใหเ้ พียงพอด้วย 3.2.4 ข้อเสนอแนะต่อการพฒั นาวิชาชีพครู ความส�ำ เรจ็ ของการใชห้ ลกั สตู รมไิ ดอ้ ยทู่ อี่ ยกู่ ารผลติ ตวั เลม่ หลกั สตู รไดแ้ ลว้ เสรจ็ หากแตอ่ ยทู่ กี่ ารพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพไดบ้ รรลตุ ามจดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร ซง่ึ ผทู้ มี่ บี ทบาทส�ำ คญั ก็คือครทู ่ตี ้องทำ�หน้าที่เปน็ ผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลง (Change agent) ดังนนั้ จงึ จำ�เป็นต้องพฒั นาครู และผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาในเรอ่ื งหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการจดั การเรยี นการสอนใหเ้ ขา้ ใจชดั เจน และมกี ารนเิ ทศตดิ ตามอยา่ งสมา่ํ เสมอจรงิ จงั ซง่ึ ปจั จยั ทหี่ นว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งตอ้ งชว่ ยสนบั สนนุ ใหค้ รู ทำ�งานได้ประสบผลส�ำ เรจ็ ได้แก่ 1) การสรา้ งความเขา้ ใจแกค่ รทู กุ คน ใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งชดั แจง้ วา่ ตนตอ้ งด�ำ เนนิ การ อยา่ งไรใหน้ ักเรยี นบรรลเุ ป้าหมาย รวมทง้ั การเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจและพฒั นาทักษะเพม่ิ เติมแก่ครู ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ส�ำ หรบั ครรู ะดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ที่ต้องเข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงสมรรถนะของเด็กปฐมวัยกับกรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ซ่งึ ตอ้ งพฒั นาสมรรถนะดังกล่าวใหม้ ีความเช่ือมโยงกัน 2) การจดั เตรยี มเครอื่ งมอื และสอ่ื การเรยี นการสอน ทชี่ ว่ ยใหค้ รสู ามารถจดั การเรยี น การสอนได้ ดว้ ยการน�ำ แนวทางการสอนทดี่ แี ละมปี ระสทิ ธภิ าพมาใช้ มากกวา่ เนน้ ใหค้ รพู ฒั นาเนอ้ื หา บทเรยี น โดยกจิ กรรมทจ่ี ะใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ ควรมคี มู่ อื หรอื ขอ้ ความแนะน�ำ วธิ ดี �ำ เนนิ การหรอื ทศิ ทาง ของกจิ กรรมนน้ั ๆ ส�ำ หรบั ครู อาทิ คมู่ อื แนวทางการใชร้ ปู แบบ วธิ ี หรอื แนวการสอนเพอ่ื พฒั นาสมรรถนะ ดา้ นตา่ ง ๆ คมู่ อื แนวทางการวดั และประเมนิ ผลสมรรถนะดา้ นตา่ ง ๆ รวมทง้ั ตวั อยา่ งเครอ่ื งมอื วดั สมรรถนะ 3) การจดั เตรยี มขอ้ มลู ผลการประเมนิ ทบี่ อกไดว้ า่ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี นเปน็ อยา่ งไร เปน็ ขอ้ มลู การเปรยี บเทยี บทอ่ี า้ งองิ กบั ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั โดยเนน้ ทปี่ ระสทิ ธภิ าพการสอนของครู ในลกั ษณะของการประเมนิ เพอื่ การเรยี นรู้ (Assessment for Learning) ใหค้ รเู กดิ การเรยี นรรู้ ว่ มไปกบั ผเู้ รยี น ชว่ ยใหค้ รยู อ้ นกลบั มามองการสอนของตนเองและปรบั การสอนดว้ ยตนเองได้ (ออกแบบเครอื่ งมอื พฒั นาใหค้ รสู ามารถท�ำ งานไดด้ ว้ ยตนเอง) หรอื อาจโดยการจดั ตง้ั คณะกรรมการประเมนิ หลกั สตู รภายใน (14)รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

บทสรุปส�ำ หรบั ผูบ้ ริหาร โรงเรยี น ซง่ึ สามารถสะทอ้ นผลการใชห้ ลกั สตู รในระดบั ชนั้ เรยี นตอ่ ผบู้ รหิ ารและตน้ สงั กดั อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั เพ่อื เอ้อื อ�ำ นวยใหผ้ ูด้ ูแลระดับบริหารสถานศึกษาสามารถน�ำ ข้อมลู ต่าง ๆ นี้ ไปศึกษาวิจยั เพ่อื พัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาต่อไปในอนาคต 4) การพัฒนาครแู กนน�ำ ครผู ้เู ชีย่ วชาญเฉพาะดา้ นหลักสตู รและการเรยี นการสอน ทส่ี ามารถเสนอแบบอยา่ ง วธิ แี ละแนวทางการพฒั นาหลกั สตู รและการสอนทไ่ี ดผ้ ล ซง่ึ เปน็ วธิ กี ารสอน ทไี่ ดร้ บั การทดลอง และมผี ลการวจิ ยั ยนื ยนั ถงึ ประสทิ ธภิ าพของวธิ ดี งั กลา่ วแลว้ เพอื่ ใหค้ รไู ดศ้ กึ ษาและ เปรียบเทียบกับวิธีการสอนของตนแล้วนำ�ไปสู่การปรับเปลี่ยนเพ่ือเป็นแนวทางการพัฒนาหลักสูตร และการสอนใหก้ ับเพอื่ นครู 5) การสนับสนนุ และสรา้ งแรงผลักดนั จากเพอ่ื นครูรว่ มวิชาชพี โดยการสรา้ งชมุ ชน แหง่ การเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชพี ทม่ี กี ารแลกเปลยี่ นวธิ สี อนและสะทอ้ นผลการสอนรว่ มกบั ครมู อื อาชพี เพอื่ การพฒั นาการสอน 6) การมผี นู้ �ำ และผู้บริหารสถานศึกษาช่วยสนบั สนุนการทำ�งานและสร้างแรงผลกั ดัน ใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์ทดี่ ี 7) การให้ชุมชนได้รับทราบถึงความคาดหวังหรือเป้าหมายของสถานศึกษา โรงเรียนต้องแสดงความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ท่ีชุมชนคาดหวัง โดยท้ังผู้บริหารสถานศึกษาและ ครูต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้สามารถแสดงถึงความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาแก่ สังคมและชมุ ชนได้ 8) การวิจัย การติดตาม และการประเมินผลในการนำ�หลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ ในหอ้ งเรยี นอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ พฒั นาและรปู แบบวธิ กี ารสอนใหม่ ๆ ทส่ี รา้ งความมน่ั ใจในการจดั การ ศกึ ษาได้ว่าวิธกี ารสอนใดดกี ว่าวธิ ีท่ีใชอ้ ยู่ ทงั้ น้ี ในการวจิ ยั ครงั้ นมี้ ขี อ้ คน้ พบวา่ กลมุ่ ผเู้ กยี่ วขอ้ งมหี ลายลกั ษณะ อาทิ 1) ไมย่ อมรบั รู้ ความเปลีย่ นแปลง 2) รับรู้ แต่ไมอ่ ยากเปล่ยี นแปลง หรือ 3) รบั รู้ อยากเปลย่ี นแปลง แต่ไม่กลา้ ปรบั เปลย่ี น ซง่ึ การพฒั นาบคุ ลากรแตล่ ะกลมุ่ จงึ ตอ้ งมกี ลยทุ ธท์ แ่ี ตกตา่ งกนั ในกลมุ่ เปา้ หมายเหลา่ นี้ ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยครงั้ ต่อไป 1. การศึกษาวิจัยปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำ�เร็จในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในศตวรรษ ที่ 21 ท่มี ่งุ เนน้ สมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะตามหลักสตู รสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ัด ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560 2. การศึกษาวจิ ัยกระบวนการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะระดับสถานศกึ ษาของทุกสังกดั 3. การศกึ ษาวจิ ยั กระบวนการน�ำ หลกั สตู รฐานสมรรถนะไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษาทมี่ ผี ล การปฏบิ ตั ิที่เป็นเลศิ เพื่อค้นหาโรงเรียนแกนน�ำ หรอื ต้นแบบในแต่ละจงั หวดั และภูมภิ าค 4. การศึกษาปัจจัยความต้องการจำ�เป็นในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ทเี่ ข้มแข็งของสถานศกึ ษาทม่ี คี วามแตกตา่ งกันตามขนาด บรบิ ทและสงั กดั ในแตล่ ะพ้ืนท่ี 5. การศึกษาวิจัยการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการหลักสูตรฐานสมรรถนะและ การจัดการเรียนการสอน โดยใช้หลกั การมสี ว่ นรว่ มของผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี (15)รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน



บทที่ 1 บทน�ำ หลกั การและเหตผุ ล รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยมาตรา 258 จ. ด้านการศึกษาบัญญัติให้มีการปฏิรูป ประเทศด้านการศึกษา และมาตรา 261 บัญญัติให้การปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ด้านการศึกษา มีคณะกรรมการท่ีมีความเป็นอิสระคณะหน่ึงที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง ดำ�เนินการศึกษาและจัดทำ� ขอ้ เสนอแนะและรา่ งกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งในการด�ำ เนนิ การใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายเพอ่ื เสนอคณะรฐั มนตรี ดำ�เนินการต่อไป เป็นผลให้เกิดคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาและคณะอนุกรรมการ เพอ่ื ด�ำ เนนิ การตามภารกจิ ทรี่ ฐั ธรรมนูญได้กำ�หนดไว้ คณะอนุกรรมการด้านการจัดการเรียนการสอนได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการอิสระ เพ่อื การปฏิรูปการศึกษาใหด้ �ำ เนินการศกึ ษาหาแนวทางในการปฏิรูปการศกึ ษาดา้ นการจดั การเรยี น การสอน ซงึ่ ครอบคลมุ ประเดน็ การปฏริ ปู ดา้ นหลกั สตู ร การเรยี นการสอน และการวดั และประเมนิ ผล รวมท้ังรับฟังความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว จากผล การศึกษาและการรับฟังความคิดเห็นที่จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และกรุงเทพมหานคร รวมทั้งการศึกษาดูงานในโรงเรียนและสถานศึกษาต่าง ๆ ทำ�ให้ได้ข้อมูล ความคิดเห็น แนวทางและข้อเสนอแนะจำ�นวนมาก โดยมีประเด็นปัญหาสำ�คัญส่วนหน่ึงท่ีควร มกี ารดำ�เนนิ การอยา่ งเปน็ รปู ธรรมดังน้ี 1) ดา้ นหลักสตู ร พบวา่ การทหี่ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไดก้ ำ�หนดใหผ้ ูเ้ รียนระดับชน้ั ประถมศึกษาตอนตน้ ต้องเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยมีตวั ชี้วดั จำ�นวนมากนั้น ทำ�ให้เกิดปัญหาแก่ครูและผู้เรียน ครูจำ�เป็นต้องเร่งสอน จึงทำ�ให้ผู้เรียนไม่ประสบ ความส�ำ เรจ็ ในการเรียน ไมม่ คี วามสขุ ในการเรียนและเกิดผลกระทบอื่น ๆ ตามมา ครูจ�ำ นวนมาก เห็นว่าควรลดสาระการเรียนรู้ให้น้อยลงและให้เวลากับการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น เพราะเปน็ ฐานทสี่ �ำ คัญของการเรียนรู้ในเรอื่ งอื่น ๆ นอกจากน้นั ตามหลักพัฒนาการผเู้ รียน ผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้น (อายุ 6 - 9 ป)ี นนั้ อยู่ในช่วงรอยเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งผู้เรียนปฐมวยั (0 - 6 ป)ี และประถมศึกษา ซึ่งเป็นช่วงท่ีผู้เรียนอยู่ในระหว่างการปรับตัว จึงควรมีการปรับหลักสูตรและ การเรยี นการสอนใหม้ คี วามยดื หยนุ่ สงู เพอื่ ชว่ ยใหค้ รสู ามารถพฒั นาผเู้ รยี นทมี่ คี วามพรอ้ มแตกตา่ งกนั มากในช่วงวยั น้ไี ดพ้ ฒั นาไปตามล�ำ ดบั ขั้น โดยเฉพาะผู้เรียนในเขตพ้ืนท่ีหา่ งไกลทีม่ คี วามแตกต่างกนั หลากหลายทางดา้ นภูมิสังคมและบริบท 1รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

บทท่ี 1 บทนำ� 2) ดา้ นการเรยี นการสอน พบวา่ ครยู งั จดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ การใหเ้ นอ้ื หาความรเู้ ปน็ หลกั การสอนของครูยังไปไม่ถึงการช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและเกิดสมรรถนะท่ีต้องการ ผู้เรียน ยงั ไมส่ ามารถน�ำ ความรไู้ ปใช้ให้เกิดประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำ�วนั 3) ด้านการวดั และประเมนิ ผล พบวา่ การวดั และประเมินผลท�ำ ใหค้ รูต้องเรง่ สอน ผู้เรียน จ�ำ นวนไมน่ อ้ ยไมป่ ระสบความส�ำ เรจ็ ในการเรยี น และขาดความสขุ ในการเรยี น รวมทัง้ การประเมิน โรงเรียนด้วยเครือ่ งมอื และมาตรฐานเดียวกนั หมด ท�ำ ใหเ้ กิดความไม่เป็นธรรมโดยเฉพาะกบั โรงเรียน ทมี่ ีบริบทและปัจจัยสนับสนุนที่ไม่เอื้อตอ่ การพฒั นา ในการปฏิรูปการเรียนการสอน นอกจากจะต้องแสวงหาแนวทางแก้ปัญหาดังกล่าวแล้ว ยงั ตอ้ งค�ำ นงึ ถงึ ความตอ้ งการของสงั คมประเทศและโลกในยคุ ปจั จบุ นั และอนาคตทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลง อย่างรวดเร็วในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะการเปล่ียนแปลงด้านเทคโนโลยีท่ีส่งผลต่อวิถีชีวิตรอบด้าน เด็กไทยในปจั จบุ ันตอ้ งการความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะชดุ ใหมท่ แี่ ตกต่างไปจากเดิม จึงเป็นหน้าที่ ของการศึกษาท่ีจะตอ้ งตอบสนองความตอ้ งการดังกลา่ ว รวมไปถึงการตอบสนองตอ่ ยุทธศาสตร์ชาติ ในการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจที่ต้องการให้ประเทศไทยเข้าสู่ ความเปน็ ไทยแลนด์ 4.0 ซง่ึ ตอ้ งการพลเมอื งทมี่ คี วามสามารถในการคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละผลติ นวตั กรรมได้ จากประเด็นปัญหาและความต้องการข้างต้น คณะอนุกรรมการด้านการเรียนการสอนจึงเห็น ควรให้มีการจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบายเสนอต่อคณะรัฐมนตรีและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ให้มี การพิจารณาดำ�เนินการปรับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ใหม้ ุ่งเน้น การพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ สมรรถนะชดุ ใหมท่ เ่ี หมาะสมกบั ยคุ สมยั และแนวโนม้ ในอนาคต และเพอื่ ใหเ้ หน็ แนวคดิ และแนวทางในการดำ�เนนิ การตามขอ้ เสนอเชิงนโยบายอยา่ งเปน็ รูปธรรม คณะอนุกรรมการ ด้านการเรียนการสอนจึงจัดให้มีคณะทำ�งานวางแผนจัดทำ�กรอบสมรรถนะหลักสูตรการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานข้ึน เพื่อดำ�เนินงานดังกล่าว ซึ่งคณะทำ�งานฯ ได้พิจารณาแล้ว เห็นควรให้ดำ�เนินการ ในลักษณะของโครงการวิจัยเพื่อพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น เป็นการน�ำ รอ่ ง เพราะระดบั นี้เปน็ จดุ เริม่ ตน้ ท่เี ปน็ ฐานสำ�คญั ในการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น และเป็นระดับ ท่ีควรมีการลดสาระการเรียนรู้ และปรับหลักสูตรให้มีความยืดหยุ่นเพื่อตอบสนองความแตกต่าง หลากหลายของผเู้ รยี นและบรบิ ท รวมทง้ั ใหส้ อดรบั กบั พฒั นาการของเดก็ ในชว่ งรอยเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ ง ปฐมวัยและประถมศึกษา โดยคณะทำ�งานได้วางแผนจัดทำ�กรอบสมรรถนะหลักสูตรการศึกษา ขั้นพืน้ ฐานโดยยดึ หลักส�ำ คญั ดงั น้ี 1) ตอบสนองนโยบายระดับชาติ อาทิ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนปฏริ ูปประเทศดา้ นต่าง ๆ นโยบายและแผนการศกึ ษา มาตรฐานการศึกษา 2) มุ่งเตรียมผู้เรียนให้สามารถดำ�รงชีวิตอย่างมีคุณภาพในโลกปัจจุบันและอนาคตท่ีมี การเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็ว 3) สง่ เสริมการใช้ศาสตร์พระราชา รวมท้งั พระราโชบายทสี่ มเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวรัชกาลที่ 10 ไดพ้ ระราชทานแกร่ ัฐบาลและประชาชน 2รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

บทท่ี 1 บทน�ำ 4) ใหค้ วามส�ำ คญั กบั การด�ำ รงรกั ษาความเปน็ ไทยในโลกสากล การท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ศาสนา ความดีงาม และความเปน็ ชาติไทย 5) ใหม้ คี วามเหมาะสมกบั ผเู้ รยี นตามหลกั พฒั นาการ และสามารถตอบสนองความแตกตา่ ง ทีห่ ลากหลายของผ้เู รยี น วถิ ชี ีวติ ภมู สิ ังคม และบริบท 6) มงุ่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาให้ไดม้ าตรฐานสากล ผลการศึกษาวิจัยตามโครงการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษา ตอนต้นส�ำ หรับหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน จะท�ำ ใหไ้ ด้กรอบสมรรถนะผู้เรียนในระดับชนั้ ประถม ศึกษาตอนต้น รวมท้ังกระบวนการและแนวทางในการนำ�กรอบสมรรถนะไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดสมรรถนะดังกล่าว ผ่านการด�ำ เนินการวิจัยในการนำ�กรอบสมรรถนะผู้เรียนโรงเรียนทดลอง โดยน�ำ ผลจากการศึกษาพฒั นาและการทดลองใชก้ รอบสมรรถนะผู้เรียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไปจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบายในการนำ�กรอบสมรรถนะ ผเู้ รยี นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานสกู่ ารปฏบิ ตั เิ พอื่ น�ำ เสนอตอ่ คณะรฐั มนตรแี ละหนว่ ยงาน ที่เกย่ี วข้องไดพ้ จิ ารณาด�ำ เนนิ การต่อไป วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย 1. เพอ่ื พฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน 2. เพื่อนำ�เสนอแนวทางการใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น ในการพัฒนาผู้เรยี น 3. เพ่ือทดลองใชก้ รอบสมรรถนะผูเ้ รียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น ในการพัฒนาผเู้ รียน 4. เพื่อจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบายในการนำ�กรอบสมรรถนะผู้เรียน สำ�หรับหลักสูตร การศึกษาข้นั พน้ื ฐานสกู่ ารปฏบิ ัติ คำ�ถามการวิจยั การวจิ ัยครง้ั นม้ี ีคำ�ถามการวิจยั 4 ประการ คือ 1. กรอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษา ขนั้ พื้นฐาน ควรเปน็ อยา่ งไร 2. กรอบสมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะ มีความเหมาะสมในการพฒั นาผเู้ รียนระดบั ประถม ศกึ ษาตอนต้นหรือไม่ 3. มีกระบวนการและแนวทางอะไรบ้างท่ีเหมาะสมในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะ ท่ีตอ้ งการ 3รายงานผลการวิจัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน

บทท่ี 1 บทน�ำ 4. ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายในการน�ำ กรอบสมรรถนะผเู้ รยี นส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สู่การปฏบิ ัติ ควรเปน็ อยา่ งไร ขอบเขตการวิจัย 1. การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ เป็นการวิจัยและพัฒนาที่ใช้กระบวนการวิจัยแบบพหุวิธี (Multimethods research) ประกอบด้วย การศึกษาเอกสาร (Documentary study) การศกึ ษาภาคสนาม (Field study) และการสนทนากลุม่ (Focus group interview) และมีการเก็บ รวบรวมข้อมลู ด้วยวิธีการทีห่ ลากหลาย (Multi-instrument approach) 2. การวิจัยนี้มุ่งศึกษาการพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น และแนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ในโรงเรียนทดลองใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตรการศึกษา ข้ันพื้นฐาน รวม 6 โรงเรียน สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, สังกัดสำ�นัก การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร, สงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน, สงั กดั องคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถนิ่ และสงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ครอบคลมุ ใน 4 ภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้ รวมจำ�นวนผบู้ รหิ าร 8 คน และจำ�นวนครู 36 คน รวมจำ�นวนผูเ้ ขา้ ร่วมวจิ ยั ท้งั สน้ิ 44 คน 3. การวิจัยในครั้งนี้ มุ่งศึกษากระบวนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน โดยใช้สมรรถนะเป็นฐานรวมถึงแนวทางที่เหมาะสมในการนำ�กรอบสมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะ ในช้ันประถมศึกษาตอนต้นไปใช้ โดยได้วิเคราะห์ข้อคิดเห็น ข้อค้นพบ ในการใช้กรอบสมรรถนะ เพอื่ การจดั การเรยี นการสอนของครู และการนเิ ทศ ก�ำ กบั ตดิ ตามประเมนิ ผล หนนุ เสรมิ ของผบู้ รหิ าร สถานศึกษาและคณะที่ปรึกษา และนำ�ไปสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนากรอบสมรรถนะ ของผเู้ รยี นระดบั ประถมศึกษาตอนต้นตอ่ ไป ขอ้ จำ�กดั ในการวจิ ัย 1. สมรรถนะหลักและสมรรถนะย่อยตามกรอบสมรรถนะที่พัฒนาขึ้นเป็นกรอบกว้าง ๆ ดงั นน้ั เมอื่ ตอ้ งน�ำ สกู่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ จ�ำ เปน็ จะตอ้ งวเิ คราะหส์ มรรถนะยอ่ ยอยา่ งละเอยี ดกอ่ น และจดั ท�ำ ลำ�ดับของสมรรถนะ ระดับพฤติกรรมของผู้เรียน และรายละเอียดในการวัดและประเมินผลอ่ืน ๆ เพื่อสะดวกสำ�หรับครูผู้สอนที่จะนำ�ไปออกแบบการจัดการเรียนการสอน และการประเมินคุณภาพ ของผเู้ รียนตอ่ ไป 2. ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการดำ�เนนิ การทดลองเปน็ ระยะเวลาสน้ั เพียง 3 เดอื น จึงไมส่ ามารถเห็น ความเปลย่ี นแปลงท่ีเกิดขน้ึ ของผเู้ รยี นไดอ้ ย่างชัดเจน 4รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

บทที่ 1 บทน�ำ ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ บั 1. ได้รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำ�หรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซึ่งประกอบด้วย กรอบสมรรถนะผู้เรียน ผลการทดลองใช้ กรอบสมรรถนะผเู้ รยี นในการพฒั นาผเู้ รยี น และขอ้ เสนอเชงิ นโยบายในการน�ำ กรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ส�ำ หรับหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ไปใชใ้ นการขับเคลื่อนเพอ่ื พัฒนาผูเ้ รียน 2. หนว่ ยงานและผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง สามารถน�ำ ผลการวจิ ยั ดงั กลา่ วไปใชใ้ นการพฒั นาครใู หม้ คี วาม สามารถในการพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ สี มรรถนะ เปน็ ผเู้ รยี นทมี่ คี ณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ (คณุ ลกั ษณะของ คนไทย 4.0 ) ตามที่กำ�หนดไว้ในมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ นิยามศัพท์เฉพาะ สมรรถนะ (Competencies) หมายถงึ ความสามารถของบคุ คลในการน�ำ ความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะตา่ ง ๆ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นงาน หรือในสถานการณต์ ่าง ๆ ซึ่งแสดงออก ทางพฤติกรรม การปฏิบัตทิ สี่ ามารถวัดและประเมินผลได้ สมรรถนะเป็นผลรวมของความรู้ ทกั ษะ เจตคติ คณุ ลกั ษณะ และศกั ยภาพตา่ ง ๆ ทที่ �ำ ใหบ้ คุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คล ประสบความส�ำ เรจ็ ในการท�ำ งาน สมรรถนะหลัก (Core Competencies) หมายถงึ สมรรถนะทีม่ ีความสำ�คัญ เน่ืองจาก เป็นสมรรถนะที่จำ�เป็นสำ�หรับผู้เรียนทุกคน เพื่อใช้ในการเรียนรู้ การทำ�งาน และการใช้ชีวิตอย่าง มคี ุณภาพในครอบครัว ชมุ ชน สงั คม ประเทศ และโลก นอกจากนน้ั ยงั หมายรวมถงึ ลกั ษณะของ ความเป็นกลางทีส่ ามารถพัฒนาขา้ มกลุ่มหรือผา่ นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ หรอื นำ�ไปประยุกต์ ใชก้ ลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ ได้ สมรรถนะหลกั ด้านภาษาไทยเพอ่ื การสอื่ สาร (Thai Language for Communication) หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทยเป็นเครื่องมือ ในการติดต่อ เก่ียวข้องกับบุคคลรอบ ตวั ผ่านการฟงั ดู พดู อ่าน และเขยี น เพื่อรับ แลกเปลย่ี น และ ถา่ ยทอดข้อมลู ความรู้ ความรู้สึก นึกคิด โดยใช้ความรู้ทางหลักภาษา และการใช้ภาษา ร่วมกับประสบการณ์ของตน ตามช่วงวัย ผา่ นการคดิ วเิ คราะห์ ไตรต่ รอง และแกป้ ญั หา อยา่ งมสี ติ เทา่ ทนั และสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารมชี วี ติ ท่ีมีคุณภาพ และการทำ�ประโยชน์ ให้แก่ตนเอง และสังคมไทยรวมทั้งการใช้ภาษาไทยผ่านการฟัง ดู พดู อ่าน และเขยี น ในการเขา้ ถงึ องค์ความรู้ของสังคมไทย ภาคภูมิ ผกู พนั และสืบสานส่ิงทีด่ ีงาม อกี ท้ังสะทอ้ นความเปน็ ไทยออกมาในผลงานตา่ ง ๆ ทต่ี นผลติ สมรรถนะหลกั ด้านคณิตศาสตรใ์ นชวี ติ ประจำ�วัน (Mathematics in Everyday Life) หมายถึง การบูรณาการเน้ือหาสาระของคณิตศาสตร์กับอีก หลาย ๆ สาขาวิชาเข้าด้วยกันเพ่ือให้ เกิดการเรยี นรอู้ ย่างมีความหมาย เปน็ การนำ�ความร้ไู ปเชือ่ มกบั ปัญหา สถานการณ์ในชวี ิตประจำ�วนั ทผ่ี เู้ รยี นพบ ท�ำ ใหผ้ เู้ รยี นมองเหน็ สะพานเชอ่ื มระหวา่ งคณติ ศาสตรก์ บั โลกทเ่ี ปน็ จรงิ เปน็ การประยกุ ต์ เพ่ือน�ำ ไปใชใ้ นชีวิตประจ�ำ วนั หรอื ใช้ในการท�ำ งานท่ีเหมาะสมตามวัย 5รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

บทที่ 1 บทน�ำ สมรรถนะหลักด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) หมายถึง ความสามารถในการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือการแสวงหาความรู้หรือคำ�ถามท่ีต้องการ อาจมีการใช้และสร้างแบบจำ�ลอง เพื่อความเข้าใจ เร่อื งราวในธรรมชาติ มีการใชเ้ หตผุ ลเพ่อื สนับสนุน หรอื คัดค้านสู่การตดั สินใจ ไดค้ ำ�ตอบ ตลอดจน สร้างนวตั กรรมเพ่อื แกป้ ญั หาชวี ติ ประจ�ำ วัน ดว้ ยการเปน็ ผสู้ นใจใฝร่ ู้ มเี หตผุ ล รวมท้งั มีจินตนาการ สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร (English for Communication) หมายถงึ ความสามารถใชภ้ าษาองั กฤษในการรับสาร และการสง่ สาร การมปี ฏสิ มั พันธ์ มกี ลยทุ ธใ์ นการติดตอ่ ส่ือสาร สามารถสื่อสารได้ถูกต้องเหมาะสม กับบริบททางสังคมและวัฒนธรรม มีเจตคติท่ีดีต่อ การเรียนร้แู ละการใชภ้ าษาองั กฤษ สามารถสื่อสาร แลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความคิด ประสบการณ์ และวฒั นธรรมไทย ไปยังสังคมโลกได้อยา่ งสรา้ งสรรค์และมั่นใจ สมรรถนะหลักด้านทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) หมายถึง ความสามารถท่ีจำ�เป็นในการใช้ชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข โดย การนอ้ มน�ำ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชส้ รา้ งความสมดลุ และพอดใี นการใชช้ วี ติ มกี ารรจู้ กั ตนเองทง้ั จดุ เดน่ และจดุ บกพรอ่ งและนำ�มาใช้ในการกำ�หนดเป้าหมายของชีวติ กนิ อยู่ ดู ฟัง เปน็ มีสติสัมปชัญญะ บริหารจัดการ และดำ�เนินชีวิตสู่เป้าหมาย มีการน้อมนำ�หลักศาสนาที่ตนนับถือ มาเปน็ เครอื่ งยดึ เหนยี่ วในการด�ำ รงชวี ติ มกี ารปรบั ตวั และฟนื้ คนื สภาพอยา่ งรวดเรว็ เมอื่ เผชญิ กบั ปญั หา และความเปลยี่ นแปลง สามารถปอ้ งกนั และหลกี เลย่ี ง จากภยั ตา่ ง ๆ สรา้ งปฏสิ มั พนั ธท์ ด่ี ี พรอ้ มเกอื้ กลู ช่วยเหลือเพ่ือน ครอบครัว และผู้เก่ียวข้อง เพื่อความสุขในการอยู่ร่วมกัน ปฏิบัติหน้าท่ีต่อสังคม ไดเ้ หมาะสมกบั บทบาทและหนา้ ทม่ี กี ารพฒั นาตนเองใหม้ ชี วี ติ อยา่ งสมดลุ ทกุ ดา้ น ทงั้ ทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม สติปญั ญาและสนุ ทรยี ะ มีความพึงพอใจในการใชช้ วี ติ นับถือตนเอง พึ่งพา ตนเอง และพัฒนาตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี มีสุนทรียภาพ ชื่นชมความงามของธรรมชาติและ ศิลปวฒั นธรรม เห็นความสำ�คัญ มีส่วนร่วม ในการรกั ษา สบื ทอด ส่งต่อ ทะนุบ�ำ รงุ รักษาวฒั นธรรม ให้ด�ำ รงสืบทอดตอ่ ไปได้ สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) หมายถึง ความสามารถของบุคคลท่ีมุ่งเน้นการสร้างความพร้อมสำ�หรับ การทำ�งาน การประกอบอาชีพ และเป็นผู้ประกอบการที่เกื้อกูลสังคม โดยบุคคลต้องรู้จักความ ถนัด และความสนใจของตนเอง และนำ�สู่การเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง การพัฒนาทักษะ ในการท�ำ งาน การทำ�งานดว้ ยการพึง่ พาตนเอง ยดึ หลกั การบรหิ ารจดั การ และการนำ�หลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงในการปฏบิ ัตงิ านดา้ นการเงิน เป็นการประกอบการทเี่ น้นนวัตกรรม การสรา้ ง ผลติ ภัณฑเ์ ชิงสรา้ งสรรคท์ ี่มีคณุ ภาพสงู มีจรรยาบรรณพรอ้ มรบั ผิดชอบสงั คม 6รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

บทท่ี 1 บทนำ� สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะการคิดขัน้ สงู และนวตั กรรม (Higher Order Thinking Skills and Innovation: HOTS Critical Thinking, Problem Solving, Creative Thinking) หมายถงึ ทักษะการนิยาม การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ การหาแบบแผน การจัดระบบโครงสร้าง การสร้าง การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ แบ่งออกเปน็ ทักษะยอ่ ย 3 ด้าน ได้แก่ 1) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นกระบวนการคิดท่ีมุ่งไปที่การตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูล เหตุผล และหลักฐานของเร่ืองท่ีพิจารณาว่ามีความน่าเช่ือถือเพียงใด มปี ระเดน็ อะไร ทเ่ี ปน็ จดุ ออ่ น สามารถโตแ้ ยง้ ไดโ้ ดยมหี ลกั ฐานสนบั สนนุ ซง่ึ ผลการวพิ ากษ์ และประเมนิ ข้อมูลนี้ จะเป็นข้อมลู ส�ำ คัญ ท่ีน�ำ ไปพิจารณารว่ มกบั ขอ้ มลู ดา้ นอ่นื ๆ เช่น ความเหมาะสมตามหลัก กฎหมาย ศลี ธรรม คณุ ธรรม คา่ นยิ ม ความเชอ่ื และบรรทดั ฐานทางสงั คมและวฒั นธรรม อนั จะน�ำ ไปสู่ การตดั สินใจอย่างมวี ิจารณญาณ 2) ทักษะการแก้ปัญหา เป็นกระบวนการคิดท่ีมุ่งไปท่ีความเข้าใจเหตุและผลของปัญหา การแกป้ ัญหาให้ได้ผลจะต้องหาต้นเหตุของปญั หาน้นั และขจัดทเ่ี หตซุ ึง่ ตอ้ งอาศัยวิธีการทเ่ี หมาะสม เม่ือได้วิธีการท่ีน่าจะดีท่ีสุดแล้ว ก็ต้องวางแผนดำ�เนินการแก้ไขปัญหานั้นอย่างเป็นลำ�ดับข้ันตอน และลงมอื ท�ำ ตามแผนนนั้ เกบ็ และวเิ คราะหข์ อ้ มลู สรปุ ผล ปรบั ปรงุ จนบรรลผุ ลตามเปา้ หมายทตี่ อ้ งการ 3) ทกั ษะการคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ เปน็ กระบวนการคดิ ทต่ี อ้ งอาศยั จนิ ตนาการ และทกั ษะพน้ื ฐาน ดา้ นการคดิ คลอ่ ง คดิ ยดื หยนุ่ คดิ หลากหลาย รวมทงั้ การคดิ วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ เพอื่ ใหไ้ ดส้ งิ่ ใหม่ ที่แตกต่างไปจากเดิม ดีกว่า มีประโยชน์ มีคุณค่ามากกว่าเดิม การคิดริเริ่มอาจเป็นการปรับ หรอื ประยกุ ต์ของเดิมใหอ้ ยู่ในรูปแบบใหม่ หรืออาจเปน็ การตอ่ ยอดจากของเดมิ หรือเปน็ การรเิ ร่มิ สิ่งใหมข่ ึน้ มาเลยกไ็ ด้ สมรรถนะหลักดา้ นการรูเ้ ท่าทนั สื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ลั (Media, Information and Digital Literacy: MIDL) คือ ความสามารถในการเขา้ ถงึ เขา้ ใจ สรา้ ง และใชส้ อื่ สารสนเทศและ เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการเรียนรู้และใช้เป็นเครื่องมือในการเปล่ียนแปลงสังคมอย่างรู้เท่าทันตนเอง รู้เท่าทันสื่อ และรู้เท่าทันสังคม โดยเฉพาะสื่อซึ่งมีการพัฒนาอย่างซับซ้อน กลายเป็นส่ือหลอม รวม (Convergence) สามารถจำ�แนกสมรรถนะของผู้เรียนตามช่องทางและลักษณะของส่ือได้ 3 ประการคือ 1) การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) คือ ความสามารถในการอ่านส่ือให้ออก มที กั ษะ ในการเขา้ ถงึ สอื่ วเิ คราะหส์ อื่ ตคี วามเนอื้ หาของสอื่ ประเมนิ คณุ คา่ และเขา้ ใจผลกระทบของสอ่ื และสามารถใช้สื่อให้เกิดประโยชน์ได้ 2) การรู้เท่าทันสารสนเทศ (Information Literacy) คือ ความสามารถในการประเมนิ เลอื กใช้ และสอื่ สารขอ้ มลู ในหลากหลายรปู แบบไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง และเรียนรู้ตลอดชีวิต และ 3) การรู้เท่าทันดิจิทัล (Digital Literacy) คอื ความสามารถในการ ใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล เครือ่ งมอื สอ่ื สาร สอื่ ออนไลน์ต่าง ๆ เพือ่ คน้ หาขอ้ มูล ประมวลผล และสร้างสรรค์ข้อมูลได้ หลากหลายรปู แบบ 7รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

บทท่ี 1 บทนำ� สมรรถนะหลักดา้ นการทำ�งานแบบรวมพลัง เปน็ ทมี และมีภาวะผู้น�ำ (Collaboration Teamwork and Leadership) หมายถงึ การรว่ มกันทำ�งาน ตามบทบาทเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย ทกี่ �ำ หนดรว่ มกนั อกี ทง้ั สง่ เสรมิ บม่ เพาะความสมั พนั ธท์ างบวก โดยผเู้ กยี่ วขอ้ งตระหนกั ในการสนบั สนนุ แบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้และความคิด พร้อมสนับสนุน เกื้อกูลกันทุกด้าน นอกจากน้ีต้องใส่ใจ ในการประสานความคิด ประนปี ระนอม เสนอทางเลือก และแนวปฏิบตั ิที่ทุกฝ่ายยอมรบั สร้าง และรักษาความสัมพันธ์ทางบวกกับสมาชิก โดยต้องมีภาวะผู้นำ� ซ่ึงเป็นคุณลักษณะของบุคคล ทส่ี ามารถแกป้ ญั หาและใชม้ นษุ ยสมั พนั ธท์ ด่ี เี พอ่ื ชแี้ นะแนวทางใหไ้ ปสเู่ ปา้ หมาย และสรา้ งแรงบนั ดาลใจ ให้ผู้อน่ื ได้พัฒนาตนเองและน�ำ จุดเด่นของแต่ละคนมาใชป้ ฏบิ ัติงาน ในฐานะสมาชกิ กลุ่มที่ดี เพอ่ื ให้ บรรลุผลส�ำ เร็จรว่ มกนั สมรรถนะหลกั ดา้ นพลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ / ตน่ื รทู้ มี่ สี �ำ นกึ สากล (Active Citizen with Global Mindedness) หมายถึง พลเมืองท่ีตระหนักในศักยภาพของตนเอง ศรัทธา และเช่ือเร่ืองศักดิ์ศรี ความเปน็ มนษุ ย์ การอยรู่ ว่ มกนั ทา่ มกลางความหลากหลาย มคี วามรู้ ความสามารถเชงิ การเมอื งทเี่ ออื้ ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกนั และปกครองกนั เอง ภายใตร้ ะบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ตระหนกั ในบทบาทและหน้าที่ สทิ ธิและเสรีภาพ ความเทา่ เทียมและเป็นธรรม มีความเป็น เหตเุ ปน็ ผล มสี �ำ นกึ การเปน็ เจา้ ของประเทศ รว่ มกนั ปรกึ ษาหารอื เพอ่ื แสวงหาแนวทางการแกป้ ญั หา/ ความขัดแย้งด้วยสันติวิธี หรือพัฒนาสร้างสรรค์สังคมโดยรวมร่วมกันในระดับต่าง ๆ ได้แก่ ชุมชน ทอ้ งถ่นิ ประเทศชาติ อาเซยี นและโลก เห็นความเกี่ยวเนอ่ื งเช่ือมโยงที่ส่งผลถึงกันและกนั ท้ังหมด แนวทางการนำ�กรอบสมรรถนะหลักสู่ห้องเรียน หมายถึง วิธีการในการออกแบบการจัด การเรียนการสอนโดยนำ�กรอบสมรรถนะหลัก มาสู่การพัฒนาผู้เรียนในช้ันเรียนและในโรงเรียน ซ่ึงสามารถเลือกใชต้ ามความถนัด ความพร้อม และบรบิ ทโรงเรยี น โดยแบง่ ออกได้ 4 แนวทาง คือ แนวทางท่ี 1 : งานเดิมเป็นฐาน ผสานสมรรถนะ (การนำ�สมรรถนะมาสอดแทรก ในการสอนปกติ) เป็นการสอนตามปกติที่สอดแทรกสมรรถนะซ่ึงครูเห็นว่าสอดคล้องกับบทเรียน นน้ั เขา้ ไป และอาจปรับกจิ กรรมหรือคิดกิจกรรมต่อยอด เพ่ือให้ผ้เู รยี นไดพ้ ัฒนาสมรรถนะนนั้ ยงิ่ ขนึ้ หรอื ไดส้ มรรถนะอน่ื เพม่ิ มากข้ึน แนวทางท่ี 2 : สมรรถนะเป็นฐาน ผสานตัวช้ีวัด (การออกแบบการสอนท่ีบูรณาการ ท้ังสมรรถนะ สาระการเรียนรู้และตัวบ่งช้ีของหลักสูตร) เป็นการสอนโดยน�ำ สมรรถนะและตัวช้ีวัด ที่สอดคล้องกันมาออกแบบการสอนร่วมกัน เพ่ือให้เด็ก ๆ ได้เรียนรู้ ทั้งเนื้อหาสาระและทักษะ ตามที่ตวั ชี้วัดกำ�หนดไว้ พร้อมกับการพฒั นาสมรรถนะหลักที่จ�ำ เป็นต่อชีวติ ของเขา แนวทางท่ี 3 : บูรณาการ ผสานหลายสมรรถนะ (การออกแบบการสอน หน่วยบรู ณาการ ท่ีครอบคลุมการสอนสมรรถนะท้ังสิบด้าน) เป็นการสอนโดยนำ�สมรรถนะหลักทั้งสิบด้านเป็นตัวต้ัง และวิเคราะห์ตัวชวี้ ดั ทเ่ี กีย่ วข้อง แล้วออกแบบการสอนท่ีมลี ักษณะเปน็ หนว่ ยบูรณาการ ท่ีชว่ ยให้ เด็กได้เรียนร้อู ยา่ งเปน็ ธรรมชาตแิ ละเห็นความสัมพันธร์ ะหวา่ งวชิ า / กลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ า่ งๆ 8รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรับหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

บทที่ 1 บทนำ� แนวทางท่ี 4 : สมรรถนะชวี ติ ในกจิ วตั รประจ�ำ วนั (การพฒั นาผเู้ รยี นผา่ นกจิ วตั รประจ�ำ วนั ในโรงเรียน) เป็นการอบรมส่ังสอนที่ครูจงใจสอดแทรกการพัฒนาสมรรถนะเข้าในกิจวัตรประจำ�วัน ของผ้เู รียน โรงเรยี นรว่ มทดลอง หมายถงึ สถานทท่ี จี่ ดั การศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ จ�ำ นวน 6 โรงเรยี น สงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน, สงั กดั ส�ำ นกั การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร, สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน, สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ สังกดั สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครอบคลมุ ใน 4 ภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และภาคใต้ กกรรออบบแแนนววคคิดใิดนใกนำกรวาิจรยั วิจัย - การประมวลความคิดเหน็ เก่ยี วกับหลกั สูตรและการจัดการเรียนการสอน จากกลมุ่ ผู้เกยี่ วข้องผา่ นทางไลน์ กอปศ. และการประชมุ รับฟังความคิดเห็น - การศกึ ษาวรรณคดที ่เี ก่ียวขอ้ งและการศกึ ษาประสบการณ์จากวทิ ยากร/ผูเ้ ชีย่ วชาญ - การวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของสมรรถนะหลกั ผู้เรียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานกบั หลกั การสาคัญ 6 ประการ - กระบวนการกาหนดสมรรถนะหลักของผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ กรอบสมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะ 11. .ดดา้ า้นนภภาาษษาาไไททยยเเพพอ่ื อ่ื กกาารสือ่ สาร 6. ด้านท6ัก.ษดะ้าอนาทชกั พี ษแะลอะาชกพีารแเลปะ็นกผาปู้รเรปะ็นกผอู้ปบรกะากรอบการ 22. .ดด้าา้นนคคณณิติตศศาาสสตตรรใ์ ใ์ นนชชีวติ ประจาำ�วนั 7. ดา้ นท7กั .ษดะา้ กนาทรกั คษดิ ะขก้นั าสรคงู แดิ ลขะนั้ นสวงู แัตลกะรนรวมตั กรรม 33. .ดด้าา้นนกกาารรสสบื ืบสสออบบททาางงววิททิ ยยาาศศาาสสตตรรแ์์แลละะจจติ ิตววทิ ทิ ยยาาศศาาสสตตรร์ ์ 8. ด้านก8า.รดร้าู้เทนา่กทารนั รสเู้ ท่ือ่าสทานั รสส่อื นเสทาศรสแนลเทะดศจิ แทิ ลลั ะดจิ ิทัล 4554.. ..ดดดด้าา้ า้า้นนนนภททภาักกาัษษษษาะาะอชอชงั ีวงัวกี ิตกติฤแฤแษษลลเะเพะพคคอ่ือ่ื ววกกาาาามมรรเเสจสจ่ือรอ่ืรญิญิสสาาแแรรหห่ง ง่ ตตนน 91.0.ดดา้ น้านก19พา0.รล.ดทเดา้ม�ำ นา้งือนกางนพาทรแล่ีเทขเบมาม้ บงอืแารงขนวต็งมแนื่ บ/พรบทู้ลตรี่มงัืน่ วีสรเมปาทู้ พนน็่ีมลกึ ทสี ังสมีำ�าเนกปแึกลน็ ลสทะามีมกีภลแาลวะะภผาูน้ วำ�ะผู้นา • • การพกัฒำรนพาัฒแนนำวแทนาวงทกำางรกนำรำ�นกำรกอรบอบสสมมรรรรถถนนะะหลัก กกาำรรททดดลลอองใงชใ้กชรก้ อรบอสบมสรมรรถรนถะนแะลแะตลิดะตาิดมตผำลมผล กกาำรรววเิ คิเคราระำหะ์/หส/์ งัสเงัคเรคาระำหะแ์ หลแ์ ะลถะอถดอบดทเรียน ส่หู อ้ งหเลรักียสนู่หอแ้ งลเระียตนัวแอลยะตา่ งัวอแยผ่ำนงแกผานรกสำอรสนอน • ก•ากรอำรบอรบมรปมฏปบิ ฏตั ิบิกัตาิกรำครรคูแรลแู ะลผะบู้ผู้บรหิรหิารำสรสถถาำนนศศกึ ึกษษาำ - บทกาเรรยีศนกึ ษา วเิ คราะห/์ สงั เคราะห์ ขอ้ มลู จาก แแนนววททาำงงทท่ี 1 งงาานนเเดดิมเป็นฐาานนผผสสาานนสสมมรรถรนถะนะ 11)) สสรรา้ า้งงคคววาามมรรู้ ู้คคววาามมเเขขา้้าใใจจ เเกกีย่ีย่ ววกกับบั สสมมรรรรถถนนะะหหลลักัก - กกาารรศนึกิเทษศาตวิดเิตคารมาะปหร/์ ะสเงัมเินคผรลาะหหน์ ขุนอ้ เสมรูลิม แแนนววททาำงงทท่ี 2 สสมมรรรรถถนะเปน็ ฐฐาานนผผสสาานนตตวั ชัวี้วชัดว้ี ดั 22)) สสรร้า้างงคคววาามมเขเข้า้าใจใจในในกากรานรานสำ�มสรมรถรนระถสนูก่ ะาสรู่กจัดารกจารัดเกรยีานรเกราียรน -- -เจสากกโGกรกดาาาrิมกยรoรรวถคาวuโเิอดรเิณคpคดนรยะราบิเคผะาททณหู้วะศเจิ/์รหะตสยีัย์/ผงัิดนสเวู้ คตกงัจิ ราาเัยาครมะดรหาปา์เขะรนอ้หะนิ มเ์งลมูขาจินอ้นาขมผกอลูลกงาจโหรราFงนกเoรนุ cยี uนs แนแวนทวทางำทงที่ 3ี่ 3บูรบณูรณากากาารรผผสสาานนหหลลาายยสสมมรรรถรนถะนะ สอกนา4รสแอนนวท4าแงนวทาง การ Focus Group แนแวนทวทางำทงที่ 4ี่ 4สมสรมรรถรถนนะะชชีวีวติ ติ ใในนกกจิ ิจววัตตั รรปประรจะาจวำ�นั วนั 2•3•112311 )))))))) คกคคกน••คคคนาารรริเรรรเิ ททกกอูจูทูรรจูทูอู ศำนทำศัดดัออดดรรตตททิเกดกลลนททดิิดแแาลาออเิดศแตแบตบงองทลตผกาผกาบบงศมอนามิดนาใกกตรชงรกตกาปาดิจปใจก้าราารชัรดตรัดรจรมรจะก้กะำสกอัดสัดเรมาเอปมากบอมกอรนรินารนสปินเาบเรรนะผรรนมผรสเียเาลียเระารมลรมนสยีนเสรียินหมรมกนหถกมนรนผานิรกานนรถรกรุนลผารรุนสะนถารเสลถผอสนรเหะสอสนสนรู้เผะหอนรนระมิอสโ้เูนนยีนุิมรดโสนู่หดโนนุยีเยหู่4ด้อโสยนเชใ4ดอ้ยสงรชใแชัน้ยเงชผริมแ้สรนั้นเผิม้บู้สรนียมปวแู้บมรยีนรวปทแ.นหิรรน1รทา.นหิรถา1ะ-งา3ะถรนน-าง3นนระำ�ำะ - การถอดบทเรยี นการดาเนนิ งานของ • • กการำรจจดั ดั ทท�ำ ำสสือ่ อ่ื ตต้นน้ แแบบบบ สสือ่ ่ือICICTT แแลละะแแหหลลง่ ง่เรเรยี ียนนรู้รู้ 2) นิเทศตดิ ตาม ประเมินผล หนนุ เสรมิ โดยคณะผ้วู ิจัย โรงเรียน 1. กรอบสมรรถนะหลักของผูเ้ รียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น สาหรบั หลกั สูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 2. ความเหมาะสมของกรอบสมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะ ในการพัฒนาผูเ้ รยี นระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ 3. กระบวนการและแนวทางทเ่ี หมาะสมในการพัฒนาผูเ้ รยี นใหเ้ กดิ สมรรถนะท่ตี ้องการ 4. ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายในการจดั ทาหลักสตู รฐานสมรรถนะเพอ่ื พฒั นาผูเ้ รยี นระดับประถมศึกษาตอนต้น ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั 9รายงานผลการวจิ ยั และพัฒนากภรอาบพสทมรี่ ร1ถนแะผสูเ้ รยีดนงกรอบแนวรคะดิดบั ปใรนะถกมาศึกรษวาตจิ อยั นตน้ สำ�หรับหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน



บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กยี่ วข้อง การดำ�เนินการวิจัยตามโครงการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษา ตอนตน้ ส�ำ หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ในครง้ั นี้ คณะผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วข้อง ดังน้ี 1. บริบทการศกึ ษาไทย 2. ความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกบั หลักสตู ร 3. หลักสูตรการศึกษาของประเทศไทย 4. สมรรถนะและหลักสตู รฐานสมรรถนะ 4.1 ความหมายของสมรรถนะ 4.2 ความส�ำ คัญของสมรรถนะ 4.3 ประเภทของสมรรถนะ 4.4 สมรรถนะส�ำ คญั ของประเทศต่าง ๆ 4.5 หลักสตู รฐานสมรรถนะ 1) ความหมายของหลกั สตู รฐานสมรรถนะ 2) ความเปน็ มาของหลกั สูตรฐานสมรรถนะ 3) วัตถุประสงคข์ องหลกั สูตรฐานสมรรถนะ 4) ลกั ษณะสำ�คญั ของหลกั สตู รฐานสมรรถนะ 5) การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 6) แนวคดิ สำ�คญั ท่บี ง่ บอกการจดั การศกึ ษาฐานสมรรถนะ 7) แนวคดิ การจัดทำ�แผนการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 8) ลักษณะของการจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 9) กลวธิ ีการจัดการเรียนการสอน (Delivery Strategies) 10) แนวโน้มการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 11) การวัดและประเมินผลการเรยี นร้ฐู านสมรรถนะ 12) หลักสตู รฐานสมรรถนะของประเทศตา่ ง ๆ 13) หลักสตู รฐานสมรรถนะของประเทศไทย 11รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผ้เู รียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วขอั ง 5. งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง 5.1 งานวจิ ัยในประเทศ 5.2 งานวจิ ัยในตา่ งประเทศ 1. บริบทการศกึ ษาไทย การพัฒนากรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนสำ�หรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้ความ สำ�คัญกับบริบทการศึกษาของไทย คือ นโยบายและความต้องการระดับชาติ ในที่นี้ประกอบด้วย 6 ประการคือ 1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 2) ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 3) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 4) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 5) มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ. 2561 และ 6) ข้อกำ�หนดคุณภาพด้านการศกึ ษา รายละเอยี ด ดังน้ี 1) รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 ไดร้ ะบปุ ระเด็นต่าง ๆ ไว้ดังน้ี หมวด 4 หน้าท่ีของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 ปวงชนชาวไทยมีหนา้ ที่ 10 ประการ ไดแ้ ก่ (1) พทิ กั ษ์รักษาไว้ซงึ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (2) ป้องกันประเทศ พิทกั ษร์ กั ษาเกยี รตภิ มู ิ ผลประโยชน์ของชาติ และสาธารณสมบตั ขิ องแผ่นดิน รวมทง้ั ใหค้ วามรว่ มมอื ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (3) ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั (4) เข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ (5) รับราชการทหารตามที่กฎหมายบัญญัติ (6) เคารพและไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น และไม่กระทำ�การใดที่อาจก่อให้เกิดความ แตกแยกหรือเกลียดชังในสังคม (7) ไปใช้สิทธิเลือกต้ังหรือลงประชามติอย่างอิสระโดยคำ�นึงถึง ประโยชน์ส่วนรวมของประเทศเป็นสำ�คัญ (8) ร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และคุ้มครอง สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมท้ังมรดกทางวัฒนธรรม (9) เสียภาษอี ากรตามที่กฎหมายบัญญัติ (10) ไม่ร่วมมือหรือสนบั สนนุ การทุจรติ และประพฤติมชิ อบ ทกุ รูปแบบ หมวด 5 หนา้ ที่ของรัฐ มาตรา 53 รัฐตอ้ งดูแลใหม้ กี ารปฏบิ ตั ติ ามและบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั มาตรา 54 รัฐต้องดำ�เนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ กอ่ นวยั เรยี นจนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั อยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย โดยวรรคสามไดก้ ลา่ วถงึ รฐั ต้องดำ�เนนิ การให้ประชาชนได้รับการศกึ ษาตามความตอ้ งการในระบบต่าง ๆ รวมท้ังสง่ เสรมิ ให้มี 12รายงานผลการวจิ ัยและพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรับหลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวขัอง การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ และจดั ใหม้ กี ารรว่ มมอื กนั ระหวา่ งรฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และภาคเอกชน ในวรรคสี่ กลา่ วถงึ การศกึ ษาทงั้ ปวงตอ้ งม่งุ พัฒนาผเู้ รยี นให้เป็นคนดี มวี นิ ัย ภมู ิใจในชาติ สามารถ เชย่ี วชาญไดต้ ามความถนดั ของตน และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรฐั มาตรา 57 วรรคสอง กลา่ วถึง รฐั ตอ้ งอนรุ กั ษ์ ฟ้ืนฟู และส่งเสรมิ ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถ่ินและของชาติ และจัดให้มีพ้ืนที่ สาธารณะสำ�หรบั กิจกรรมทีเ่ ก่ียวข้อง รวมทง้ั ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้ประชาชน ชมุ ชน และองค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ไดใ้ ช้สิทธแิ ละมสี ว่ นรว่ มในการดำ�เนินการดว้ ย มาตรา 63 รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิดจาก การทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมี ประสิทธภิ าพเพอ่ื ป้องกันและขจดั การทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบดงั กลา่ วอย่างเข้มงวด รวมทง้ั กลไก ในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตวั กันเพือ่ มสี ่วนรว่ มในการรณรงค์ใหค้ วามรู้ ต่อตา้ น หรอื ชี้เบาะแส โดยได้รบั ความคุม้ ครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา 69 รัฐพึงจัดให้มีและส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ ศิลปวทิ ยาการแขนงตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ ความรู้ การพัฒนา และนวัตกรรม เพ่ือความเข้มแข็งของสังคม และเสริมสร้างความสามารถของคนในชาติ มาตรา 71 วรรคสอง รฐั พงึ สง่ เสรมิ และพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยใ์ หเ้ ปน็ พลเมอื งทด่ี มี คี ณุ ภาพ และความสามารถสูงขึน้ มาตรา 74 กล่าวถงึ รฐั พงึ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนมคี วามสามารถในการท�ำ งานอยา่ งเหมาะสม กบั ศักยภาพและวัยและใหม้ ีงานท�ำ มาตรา 75 รัฐพึงจัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนมีโอกาสได้รับประโยชน์จาก ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ไปพร้อมกนั อยา่ งท่ัวถงึ เปน็ ธรรม และย่ังยืน สามารถพ่งึ พาตนเอง ได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขจัดการผูกขาดทางเศรษฐกิจที่ไม่เป็นธรรม และพัฒนา ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประชาชนและประเทศ และในวรรคสาม ระบุว่า ในการพัฒนาประเทศ รฐั พงึ ค�ำ นงึ ถงึ ความสมดลุ ระหว่างการพฒั นาดา้ นวตั ถกุ บั การพฒั นาด้านจิตใจ และความอยู่เย็นเปน็ สขุ ของประชาชน ประกอบกนั มาตรา 78 รัฐพึงส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ และมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นา ประเทศด้านต่าง ๆ การจัดทำ�บริการสาธารณะท้ังในระดับชาติและระดับท้องถ่ิน การตรวจสอบ การใชอ้ ำ�นาจรัฐ การต่อต้าน การทจุ ริต และประพฤตมิ ิชอบ รวมตลอดทง้ั การตดั สนิ ใจทางการเมอื ง และการอนื่ ใดที่อาจมผี ลกระทบตอ่ ประชาชนหรือชุมชน (สำ�นักงานเลขาธิการวฒุ ิสภา, 2560) 13รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวขัอง จากการศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 สามารถสรุปเก่ียวกับ หน้าท่ขี องปวงชนชาวไทย หนา้ ทีข่ องรฐั และแนวนโยบายแหง่ รัฐ ได้ว่า คนไทยมหี นา้ ทีพ่ ทิ กั ษ์รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ รักษาผลประโยชน์ของชาติ และสาธารณสมบัติ ร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และคุ้มครอง สง่ิ แวดลอ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาติ ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย เคารพและไมล่ ะเมดิ สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คลอนื่ และเข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ นอกจากคนไทยจะมีความรู้และทักษะแล้ว ยังควรมีการเปน็ พลเมอื งทีเ่ ข้มแข็ง / ตืน่ รู้ (Active Citizen) ทั้งน้ี รฐั มีหนา้ ท่ีส่งเสริม สนับสนนุ การ พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความสามารถในการทำ�งานอย่างเหมาะสมกับ ศกั ยภาพและวยั พรอ้ มทง้ั จดั ใหม้ กี ารรว่ มมอื กนั ระหวา่ งรฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และภาคเอกชน 2) ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 - 2580 อนาคตประเทศไทยปี พ.ศ. 2579 บนพ้ืนฐานการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้ม ในดา้ นตา่ ง ๆ ทง้ั ภายในประเทศและภายนอกประเทศ ทบี่ ง่ ชถ้ี งึ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส และความเสยี่ ง รวมถึงภัยคุกคาม ความท้าทายในด้านต่าง ๆ การขับเคล่ือนการพัฒนาให้ประเทศเจริญก้าวหน้า ไปในอนาคต ท้ังจากมุมมองด้านสภาพสังคมไทย คุณลักษณะของคนไทย ความก้าวหน้า ของการพัฒนา ลักษณะปัจจัยพื้นฐานเชิงยุทธศาสตร์ของการพัฒนาระบบบริหารราชการแผ่นดิน รูปแบบทางธุรกิจและฐานะทางเศรษฐกิจ และสาขาการผลิตและบริการท่ีโดดเด่น ประกอบด้วย (1) คนไทยคุณภาพและมคี วามเป็นสากล มีรายได้สงู มีความเปน็ อยูท่ ดี่ แี ละมคี วามสุข (2) สงั คมไทย ท่มี ีคณุ ภาพและเปน็ ธรรม การพัฒนามคี วามครอบคลุมท่ัวถงึ ไม่ทิ้งใครไว้ขา้ งหลัง (3) ประเทศไทย มีความสามารถในการแขง่ ขนั ในเวทโี ลก บนพ้นื ฐานของความรู้ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม มีความโดดเด่นในเศรษฐกิจฐานชีวภาพและอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต เป็นแหล่ง ท่องเที่ยว และบริการสุขภาพคุณภาพสูง โดยมีลักษณะของสังคมประกอบการที่ผลิตได้ขายเป็น และเศรษฐกิจฐานรากของประเทศมีความหลากหลาย ครอบคลุม และแข็งแกร่ง (4) พ้ืนท่ีพัฒนา พิเศษ ภาคและเมืองมีความ โดดเด่น มีเมืองสีเขียว แข่งขันได้ และน่าอยู่ส�ำ หรับทุกคนกระจาย ท่ัวท้ังประเทศ (5) สังคมและเศรษฐกิจไทยที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม) (6) ประเทศไทยมีความเป็น สากล เปน็ หนุ้ สว่ นการพฒั นาท่ีมบี ทบาทสร้างสรรค์ และมบี ทบาทสำ�คญั ในเวทโี ลก (7) มคี วามมนั่ คง ในด้านอาหาร นา้ํ และพลังงาน และเป็นประเทศที่มีความมนั่ คงปลอดภยั ในทกุ ระดับและทุกด้าน และ (8) มีภาครัฐที่กระทัดรัด ทันสมัย โปร่งใส มีประสิทธิภาพ ซึ่งในการที่จะก้าวเดินไป ให้บรรลุเป้าหมาย ประชาชนไทยทุกภาคส่วนจะต้องร่วมมือกันในการขับเคลื่อนการพัฒนา ด้านต่าง ๆ อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง โดยมีประเด็นการพัฒนาสำ�คัญที่เป็นคานงัดหรือ ตัวพลิกโฉมประเทศประเด็นแรก คือ การพัฒนาคน/ทรัพยากรมนุษย์ ในทุกช่วงวัย และเป็น การพฒั นาในทกุ มติ ิ ทง้ั ดา้ นความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติ สขุ ภาพกายและจติ ใจ และจติ วญิ ญาณอยา่ งจรงิ จงั เพ่อื ใหค้ นไทยเป็นคนคณุ ภาพอย่างแท้จริง 14รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รยี น ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ส�ำ หรับหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขัอง เมื่อพิจารณาด้านคุณภาพของคนไทย พบว่า คนไทยทุกกลุ่มวัยยังมีปัญหาด้านคุณภาพ โดยจำ�นวนเด็กปฐมวัยลดลงอย่างต่อเน่ือง และมีปัญหาพัฒนาการไม่สมวัยกว่าร้อยละ 27.5 สาเหตุส่วนใหญ่มาจากครอบครัวไม่มีความรู้และเวลาในการเล้ียงดู อีกท้ังยังมีปัญหาเรื่องคุณภาพ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั สว่ นกลมุ่ เดก็ วยั เรยี นมปี ญั หาดา้ นความสามารถทางเชาวนป์ ญั ญา (IQ) และ ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ทมี่ ีคา่ เฉลีย่ ตา่ํ กว่ามาตรฐาน โดยมีระดับ IQ เทา่ กับ 93.1 ระดบั EQ เทา่ กบั 45.12 รวมถงึ มีคะแนน O-NET ตํา่ กวา่ ร้อยละ 50 มีคะแนน PISA ปี 2015 ต่ํากวา่ ค่าเฉลีย่ OECD ค่อนข้างมาก และตง้ั แต่ปี 2000 ถงึ 2015 พบว่า คะแนน PISA ในทัง้ สามด้านทใี่ ชใ้ นการสอบ มแี นวโนม้ ลดลง สว่ นวยั รนุ่ มปี ญั หาการตงั้ ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควร ปญั หายาเสพตดิ ส�ำ หรบั กลมุ่ วยั แรงงาน มปี ญั หาผลติ ภาพแรงงานตา่ํ โดยจากการจดั ล�ำ ดบั ของ IMD ในปี 2017 พบวา่ ประเทศไทยมผี ลติ ภาพ แรงงานอยู่ลำ�ดับท่ี 57 จาก 63 ประเทศ มีสาเหตุสำ�คัญจากทักษะและสมรรถนะไม่สอดคล้อง กับความต้องการของตลาดแรงงาน (Mismatching) และแรงงานไทยทั้งที่เป็นแรงงานฝีมือและ แรงงานก่ึงฝีมือยังมีทักษะต่ํากว่าความคาดหวังของผู้ประกอบการ ท้ังทักษะด้านภาษาต่างประเทศ การใช้คอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์และการคำ�นวณ ทักษะการส่ือสาร การบริหารจัดการ และความ สามารถเฉพาะในวชิ าชพี ในขณะทกี่ ลมุ่ ผสู้ งู อายมุ ปี ญั หาทางสขุ ภาพและมแี นวโนม้ อยคู่ นเดยี วมากขนึ้ นอกจากนี้ คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทยยังอยู่ในระดับค่อนข้างตํ่า คนไทย ไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาสูงขึ้น โดยมจี ำ�นวนปีทค่ี าดว่าจะไดร้ ับการศึกษา (Expected Years of Schooling) เพม่ิ จาก 11.2 ปี ในปี 2543 เปน็ 13.6 ปี ในปี พ.ศ. 2559 อย่างไรกต็ ามการศึกษาไทย ทกุ ระดบั ยงั มปี ญั หาเชงิ คณุ ภาพทต่ี อ้ งเรง่ แกไ้ ข เพราะมปี ญั หาเรอ่ื งหลกั สตู รและระบบการเรยี นการสอน ทเี่ นน้ การทอ่ งจ�ำ ไมส่ อนกระบวนการคดิ ท�ำ ใหข้ าดความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละทกั ษะทจ่ี �ำ เปน็ อนื่ ๆ ปจั จยั สนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอน และครทู มี่ คี ณุ ภาพยงั กระจายไมท่ ว่ั ถงึ โดยเฉพาะในพนื้ ทหี่ า่ งไกล ขณะเดียวกันคนไทยส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสำ�คัญกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการใช้อินเทอร์เน็ต ของคนไทยเพ่ิมสูงขึ้นเป็น 26 ล้านคน แต่เป็นการใช้เพ่ือการอ่านหาความรู้ เพียงร้อยละ 31.7 และอัตราการอ่านหนงั สอื ของคนไทยอยทู่ ่รี อ้ ยละ 81.8 โดยอา่ นเฉล่ยี วันละ 37 นาที ในส่วนของสถานการณ์และแนวโนม้ ของพัฒนาการด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคต องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ส่ังสมมาอย่างต่อเน่ือง ประกอบกับความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานแขนงใหม่ เช่น วิทยาการรับรู้ (Cognitive Science) ซ่ึงเป็นการทำ�งาน ระหว่างสมองและจิตใจ ความสัมพันธ์ระหว่างความคิด อารมณ์ และการกระทำ� เป็นต้น มีความ สำ�คัญต่อการสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ที่จะส่งผลให้เกิดการพลิกโฉมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการดำ�รงชีวิตของมนุษย์แบบก้าวกระโดด (Disruptive Technology) โดยมีแนวโน้ม วา่ เทคโนโลยพี น้ื ฐาน ใน 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ เทคโนโลยีชวี ภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีวสั ดุศาสตร์ พลงั งานและสงิ่ แวดลอ้ ม และเทคโนโลยสี ารสนเทศ การสอื่ สาร และดจิ ทิ ลั จะสง่ ผลใหเ้ กดิ การพฒั นา เทคโนโลยใี หม่ เชน่ อนิ เทอรเ์ นต็ เคลื่อนที่ โปรแกรมอจั ฉรยิ ะที่ สามารถคิดและทำ�งานแทนมนุษย์ 15รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผูเ้ รยี น ระดบั ประถมศึกษาตอนต้นส�ำ หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วขัอง เทคโนโลยีหุ่นยนต์ขน้ั ก้าวหน้า (Advanced Robotics) ยานพาหนะไร้คนขับ (Autonomous and Near - Autonomous Vehicles) เทคโนโลยพี ลังงานทดแทน เปน็ ตน้ แนวโน้มการเปลย่ี นแปลง ทางเทคโนโลยีดังกลา่ ว ส่งผลกระทบตอ่ ประเทศท้ังในมติ เิ ศรษฐกจิ และสงั คม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ. ศ. 2561 - 2580) ได้กลา่ วถงึ การพฒั นาและแสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ ทรพั ยากรมนษุ ยไ์ วใ้ นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 โดยมเี ปา้ หมายการพฒั นาคอื คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ พรอ้ มส�ำ หรบั วถิ ชี วี ติ ในศตวรรษท่ี 21 และสงั คมไทยมสี ภาพแวดลอ้ มทเี่ ออ้ื และสนบั สนนุ ตอ่ การพฒั นาคน ตลอดชว่ งชวี ิต นอกจากน้ี ยังได้มกี ารก�ำ หนดประเดน็ ยุทธศาสตรไ์ ว้ 6 ประการ ไดแ้ ก่ 1) การปรับเปล่ียนคา่ นิยมและวฒั นธรรม มงุ่ เนน้ ให้สถาบันทางสังคมรว่ มปลูกฝงั ค่านยิ ม วฒั นธรรมที่พึงประสงค์ โดยบรู ณาการร่วมระหว่าง “ครอบครวั ชมุ ชน ศาสนา การศกึ ษา และสอื่ ” ในการหลอ่ หลอมคนไทยใหม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม ในลักษณะทเี่ ปน็ “วถิ ”ี การด�ำ เนินชีวติ 2) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ตัง้ แตช่ ว่ งการต้งั ครรภ์ ปฐมวยั วัยเดก็ วัยรนุ่ วัยเรยี น วัยผ้ใู หญ่ วยั แรงงาน และวัยผู้สงู อายุ เพือ่ สร้างทรัพยากรมนุษยท์ ี่มศี กั ยภาพ มที กั ษะความรู้ เปน็ คนดี มวี นิ ัย เรยี นรูไ้ ดด้ ้วยตนเองในทุกชว่ งวัย มคี วามรอบรทู้ างการเงนิ มคี วามสามารถในการวางแผนชวี ติ และการวางแผนทางการเงนิ ทเี่ หมาะสม ในแตล่ ะช่วงวัย และความสามารถในการด�ำ รงชวี ิตอยา่ งมีคณุ ค่า รวมถึงการพฒั นาและปรบั ทัศนคติ ให้คนทุกช่วงวัยท่ีเคยกระทำ�ผิดได้กลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างสงบสุขและเป็นกำ�ลังสำ�คัญ ในการพฒั นาประเทศ 3) ปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรทู้ ต่ี อบสนองตอ่ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยมงุ่ เนน้ ผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปลย่ี นบทบาทครู การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา และการพฒั นาระบบการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ การสรา้ งความตนื่ ตวั ใหค้ นไทยตระหนกั ถงึ บทบาท ความรบั ผดิ ชอบ และการวางต�ำ แหนง่ ของประเทศไทยในภูมภิ าคเอเชียอาคเนยแ์ ละประชาคมโลก การวางพ้ืนฐานระบบรองรับการเรยี นรู้ โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม และการสร้างระบบการศึกษาเพ่อื เปน็ เลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ 4) การตระหนกั ถงึ พหปุ ญั ญาของมนษุ ยท์ ห่ี ลากหลาย อาทิ ภาษา ตรรกะ และคณติ ศาสตร์ ด้านทัศนะและมิติ ดนตรี กีฬาและการเคล่ือนไหวของร่างกาย การจัดการตนเอง มนุษยสัมพันธ์ รวมถึงผู้มีความสามารถอันโดดเด่นด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน โดยการพัฒนาและรักษา กลมุ่ ผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษของพหปุ ญั ญาแตล่ ะประเภท การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มและระบบสนบั สนนุ ประชากรไทยมีอาชีพบนฐานพหุปัญญา การสร้างเสริมศักยภาพผู้มีความสามารถพิเศษให้สามารถ ตอ่ ยอดการประกอบอาชพี ไดอ้ ยา่ งม่นั คง 5) การเสรมิ สรา้ งใหค้ นไทยมสี ขุ ภาวะทดี่ ี ครอบคลมุ ทง้ั ดา้ น กาย ใจ สตปิ ญั ญา และสงั คม มงุ่ เนน้ การเสรมิ สรา้ งการจดั การสขุ ภาวะในทกุ รปู แบบ ทน่ี �ำ ไปสกู่ ารมศี กั ยภาพในการจดั การสขุ ภาวะ ทด่ี ไี ดด้ ว้ ยตนเอง พรอ้ มทงั้ สนบั สนนุ ใหท้ กุ ภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งเสรมิ ใหค้ นไทยมสี ขุ ภาวะทดี่ ี และมีทกั ษะด้านสุขภาวะทีเ่ หมาะสม 16รายงานผลการวิจยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผูเ้ รียน ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวขอั ง 6) การสร้างสภาพแวดล้อมท่เี อือ้ ตอ่ การพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ มุ่งเน้นการสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย การส่งเสริมบทบาทในการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน ครอบครัว และชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การปลูกฝังและพัฒนาทักษะ นอกหอ้ งเรียน และการพฒั นาระบบฐานข้อมลู เพือ่ การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ ในยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี แสดงให้เห็นถงึ สภาพของคุณภาพคนไทยในปัจจบุ ันทยี่ งั มปี ัญหา ดา้ นทกั ษะ รวมทงั้ สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ของพฒั นาการดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นอนาคต ซึ่งก้าวกระโดดไปอย่างรวดเร็ว จึงต้องมีการพัฒนาคนเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงในโลกอนาคต ทงั้ ดา้ นความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะทีจ่ ำ�เปน็ ในการดำ�รงชวี ิตอย่างมีความสุข 3) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) หลักการพัฒนาประเทศท่ีสำ�คัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยึดหลัก “ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” “การพัฒนาที่ยั่งยืน” และ “คนเป็นศนู ยก์ ลางการพฒั นา” โดยมวี สิ ัยทัศน์ ทส่ี อดคลอ้ งกบั กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ คอื “ประเทศไทยมคี วามมนั่ คง มง่ั คง่ั ยง่ั ยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” มวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ีิ (สาํ นกั งานคณะกรรมการ การพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ, 2560) 1) เพอื่ วางรากฐานใหค้ นไทยเปน็ คนทส่ี มบรู ณ์ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวนิ ยั คา่ นยิ ม ท่ีดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจน เปน็ คนเก่งทมี่ ีทกั ษะความรคู้ วามสามารถและพัฒนาตนเองได้ตอ่ เนื่องตลอดชีวิต 2) เพอ่ื ใหค้ นไทยมคี วามมนั่ คงทางเศรษฐกจิ และสงั คม ไดร้ บั ความเปน็ ธรรมในการเขา้ ถงึ ทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งชุมชน มคี วามเขม้ แข็งพง่ึ พาตนเองได้ 3) เพอื่ ใหเ้ ศรษฐกจิ เขม้ แขง็ แขง่ ขนั ได้ มเี สถยี รภาพ และมคี วามยงั่ ยนื สรา้ งความเขม้ แขง็ ของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมท่ีเข้มข้นมากข้ึน สร้างความเขม้ แขง็ ของเศรษฐกจิ ฐานราก และสรา้ งความมั่นคงทางพลงั งาน อาหาร และน้ํา 4) เพ่ือรกั ษาและฟนื้ ฟทู รัพยากรธรรมชาตแิ ละคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มให้สามารถสนับสนนุ การเติบโตท่ีเปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อมและการมีคุณภาพชวี ติ ท่ีดขี องประชาชน 5) เพื่อใหก้ ารบริหารราชการแผน่ ดนิ มีประสทิ ธภิ าพ โปรง่ ใส ทนั สมยั และมกี ารท�ำ งาน เชงิ บูรณาการของภาคกี ารพัฒนา 6) เพ่อื ให้มกี ารกระจายความเจรญิ ไปสภู่ มู ภิ าค โดยการพัฒนาภาคและเมอื งเพอ่ื รองรับ การพฒั นายกระดบั ฐานการผลติ และบริการเดิมและขยายฐานการผลติ และบรกิ ารใหม่ 7) เพอื่ ผลักดันให้ประเทศไทยมคี วามเชื่อมโยงกับประเทศตา่ ง ๆ ท้ังในระดับอนภุ ูมภิ าค ภูมิภาค และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ประเทศไทยมีบทบาทและ สร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆ ท้ังในระดับ อนุภูมภิ าค ภมู ิภาค และโลก 17รายงานผลการวิจยั และพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรยี น ระดับประถมศึกษาตอนต้นสำ�หรบั หลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วขอั ง ทงั้ นี้ ไดม้ กี ารก�ำ หนดเปา้ หมายการพฒั นาของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ในดา้ นการพฒั นาคน โดยมงุ่ เนน้ ใหค้ นไทยมคี ณุ ลกั ษณะเปน็ คนไทยทส่ี มบรู ณ์ มวี นิ ยั มที ศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมตามบรรทดั ฐาน ทด่ี ขี องสงั คม มคี วามเปน็ พลเมอื งทเี่ ขม้ แขง็ /ตน่ื รู้ มคี วามสามารถในการปรบั ตวั ไดอ้ ยา่ งรเู้ ทา่ ทนั สถานการณ์ มีความรับผิดชอบและทำ�ประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความเจริญงอกงาม ทางจิตวิญญาณ มีวิถีชีวิตที่พอเพียง และมีความเป็นไทย ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึง ทรพั ยากร การประกอบอาชพี และบรกิ ารทางสงั คมทม่ี คี ณุ ภาพอยา่ งทวั่ ถงึ และเปน็ ธรรม ยทุ ธศาสตร์ ท่เี ก่ยี วข้องกับการพัฒนาคน ไดแ้ ก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ให้ความสำ�คัญกับ การวางรากฐานการพฒั นาคนใหม้ คี วามสมบรู ณ์ เพอื่ ใหค้ นไทยมที ศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมตามบรรทดั ฐาน ทด่ี ขี องสงั คม ไดร้ บั การศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพสงู ตามมาตรฐานสากล และสามารถเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ ง ต่อเนอื่ ง มีสุขภาวะทีด่ ีขนึ้ คนทุกช่วงวยั มีทกั ษะ ความรู้ และความสามารถเพม่ิ ข้ึน รวมทง้ั สถาบัน ทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศเพิ่มขึ้น โดยมีแนวทางการพัฒนา ทส่ี �ำ คญั ไดแ้ ก่ ปรบั เปลย่ี นคา่ นยิ มคนไทยใหม้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มวี นิ ยั จติ สาธารณะ และพฤตกิ รรม ท่ีพึงประสงค์ ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม ความมีระเบียบวนิ ยั และจิตสาธารณะ พัฒนาศักยภาพคนใหม้ ที กั ษะ ความรู้ และความ สามารถในการดำ�รงชีวิตอย่างมีคุณค่า ส่งเสริมเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่าง เปน็ ระบบ ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต ลดปจั จัยเสี่ยงด้านสุขภาพ รวมทัง้ ผลกั ดนั ใหส้ ถาบนั ทางสงั คมมสี ่วนร่วมพัฒนาประเทศอย่างเข้มแขง็ ยุทธศาสตร์ท่ี 8 ยุทธศาสตร์การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม เน้นเร่ืองการเพิ่มความเข้มแข็งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ และการเพ่ิมความ สามารถในการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพ่ือยกระดับความสามารถ การแขง่ ขันของภาคการผลิตและบริการ และคุณภาพชวี ติ ของประชาชน (สำ�นกั งานคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ, 2559) 4) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 จากการศกึ ษาแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ไดม้ กี ารทบทวนผลการพัฒนา การศึกษาในชว่ งปี พ.ศ. 2552 - 2559 พบวา่ ประเทศไทยยงั มปี ญั หาทต่ี อ้ งไดร้ ับการพฒั นาอยา่ ง เร่งด่วนอีกหลายด้าน รวมท้ังด้านคุณภาพการศึกษา ซ่ึงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานมคี ะแนนตาํ่ กวา่ คา่ เฉลยี่ มาก และตา่ํ กวา่ หลายประเทศในแถบเอเชยี สว่ นประเดน็ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของเด็กและเยาวชนยังตอ้ งมีการพัฒนาเพมิ่ ข้ึน นอกจากน้ี คุณภาพของก�ำ ลงั แรงงานอายุ 15 ปขี นึ้ ไป ไมต่ รงกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน ท�ำ ให้เกดิ ปัญหาด้านแรงงาน แนวคิดการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยึดหลัก สำ�คัญในการจัดการศึกษา ประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพ่ือปวงชน (Education for All) หลกั การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความเทา่ เทยี มและทว่ั ถงึ (Inclusive Education) หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ 18รายงานผลการวจิ ัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรบั หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอั ง พอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม (All for Education) อกี ทงั้ ยดึ ตามเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs 2030) ประเดน็ ภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนทุกช่วงวัย การเปลย่ี นแปลง โครงสรา้ งประชากรของประเทศ ความเหลือ่ มล้ําของการกระจายรายได้ และวกิ ฤติดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม โดยนำ�ยุทธศาสตร์ชาติ (National Strategy) มาเป็นกรอบความคิดสำ�คัญในการจัดทำ�แผน การศกึ ษาแหง่ ชาติ โดยก�ำ หนดวสิ ัยทัศน์ (Vision) ไว้ คือ “คนไทยทกุ คนได้รับการศึกษาและเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ อยา่ งมคี ณุ ภาพ ด�ำ รงชวี ติ อยา่ งเปน็ สขุ สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ การเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21” มีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา 4 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อพัฒนา คนไทยใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี มคี ณุ ลกั ษณะ ทกั ษะ และสมรรถนะทสี่ อดคลอ้ งกบั บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ 3) เพอ่ื พฒั นาสงั คมไทย ใหเ้ ปน็ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ และคณุ ธรรม จรยิ ธรรม รรู้ กั สามคั คี และรว่ มมอื ผนกึ ก�ำ ลงั มงุ่ สกู่ ารพฒั นา ประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 4) เพ่ือนำ�ประเทศไทยก้าวข้าม กบั ดกั ประเทศรายไดป้ านกลาง และความเหลือ่ มลํ้าภายในประเทศลดลง เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น แผนการศึกษา แห่งชาติ ได้วางเป้าหมายไว้ 2 ด้าน คือ เป้าหมายด้านผู้เรียนและเป้าหมายของการจัดการศึกษา ในเปา้ หมายด้านผเู้ รยี น (Learner Aspirations) มุง่ พฒั นาผู้เรยี นทุกคนใหม้ ีคุณลกั ษณะและทกั ษะ การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs 8Cs) ประกอบดว้ ย ทักษะและคณุ ลักษณะตอ่ ไปนี้ 3Rs ได้แก่ การอา่ นออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) การคดิ เลขเป็น (Arithmetics) 8Cs ไดแ้ ก่ ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ญั หา (Critical Thinking and Problem Solving) ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross – Cultural Understanding) ทกั ษะ ดา้ นความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และการรู้เท่าทันส่ือ (Communications, Information and Media Literacy) ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning Skills) และความ มเี มตตา กรณุ า มวี นิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติได้ก�ำ หนดยทุ ธศาสตร์ในการพัฒนาการศกึ ษาภายใต้ 6 ยทุ ธศาสตร์ หลักที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพื่อให้แผนการศึกษาแห่งชาติบรรลุเป้าหมายตามจุด มุ่งหมาย วิสัยทัศน์ และแนวคิดการจัดการศึกษาดังกล่าว โดยมีการกล่าวถึงการผลิตและพัฒนา คณุ ภาพคนในยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 และยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 ดงั น้ี ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การผลิตและพัฒนากำ�ลังคน การวิจัย และนวัตกรรรม เพื่อสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ มีเป้าหมาย คือ กำ�ลังคนมีทักษะท่ีสำ�คัญจำ�เป็น มีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 19รายงานผลการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผเู้ รียน ระดับประถมศึกษาตอนตน้ สำ�หรับหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook