Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Thai Telecentre: ศูนย์ที่ต้องเคลื่อนด้วย “ใจ” ของชุมชน

Thai Telecentre: ศูนย์ที่ต้องเคลื่อนด้วย “ใจ” ของชุมชน

Published by CCDKM, 2018-03-14 03:54:31

Description: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน ศูนย์ฯ ที่ต้องเคลื่อนด้วย “ใจ” ของชุมชนนับว่าเป็นความตั้งใจของทีมมดงานทีมเล็ก ๆ ของศูนย์วิจัยการจัดการความรู้การสื่อสารและการพัฒนา หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า CCDKM มสธ. ที่ตั้งใจจะมอบให้ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนเพื่อเป็นการตอบแทนน้ำใจไมตรีที่ยิ่งใหญ่ที่ชุมชนเจ้าของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนทั่วประเทศไทยมอบให้แก่พวกเราเสมอมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 - 2551 จวบจนปัจจุบัน ทุกความรู้ที่เป็น “ทุนเดิม” ที่น่าภาคภูมิใจของท่าน ทุกความร่วมมือที่เป็นความเอื้ออาทรที่อบอุ่นเสมอมา ทุกรอยยิ้มที่จริงใจ ทุกความคิดถึงและระลึกถึงที่ส่งมาให้มิได้ขาดหาย ทุกความสัมพันธ์ฉันท์พี่น้องที่สร้างร่วมกัน ทุกกิจกรรมที่ร่วม “ก่อการดี” เพื่อสรรสร้างความดีงามต่าง ๆ ให้กับผืนแผ่นดินไทย

Search

Read the Text Version

Thai Telecentre: ศูนยทีต่ องเคลือ่ นดว ย “ใจ” ของชมุ ชน สงิ่ พิมพ 2552 CCDKM พมิ พค ร้งั ท่ี 1 พฤษภาคม 2552 ISBN 978-611-505-067-3 คําสาํ คญั 1. Telecentre 2. ศนู ยก ารเรียนรู ICT ชุมชน 3. ส่ือชมุ ชน จดั พิมพและ ศูนยว จิ ยั การจัดการความรกู ารสือ่ สารและการพัฒนา เผยแพร (CCDKM) มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช ถนนแจง วฒั นะ ตําบลบางพูด อาํ เภอปากเกรด็ จังหวดั นนทบรุ ี 11120 โทร. 02-504-8755, 02-504-8392 โทรสาร 02-504-8756 Website: http://www.ccdkm.org e-mail: [email protected] พมิ พท ี่ โรงพมิ พ 21 เซ็นจูรี่ บจก..

แทนคําคารวะและคาํ ขอบคุณ ศูนยการเรียนรู ICT ชุมชน ศูนยฯ ท่ีตองเคลื่อนดวย “ใจ” ของชุมชนนับวาเปนความต้ังใจของทีมมดงานทีมเล็ก ๆ ของศูนยวิจัยการจัดการความรูการส่ือสารและการพัฒนา หรือที่เรียกยอ ๆ วา CCDKM มสธ. ที่ตั้งใจจะมอบใหศูนยการเรียนรู ICT ชุมชนเพ่ือเปนการตอบแทนนํ้าใจไมตรีท่ียิ่งใหญท่ีชุมชนเจาของศูนยการเรียนรู ICT ชุมชนท่ัวประเทศไทยมอบใหแกพวกเราเสมอมานับต้ังแตป พ.ศ.25502551 จวบจนปจจุบัน ทุกความรูท่ีเปน “ทุนเดิม” ท่ีนาภาคภูมิใจของทาน ทุกความรวมมือท่ีเปนความเอื้ออาทรท่ีอบอุนเสมอมา ทุกรอยย้ิมท่ีจริงใจ ทุกความคิดถึงและระลึกถึงท่สี ง มาใหม ิไดข าดหาย ทกุ ความสัมพันธฉนั ทพ ี่นอ งที่สรา งรวมกนั ทุกกิจกรรมท่ีรว ม “กอการดี” เพอ่ื สรรสรางความดงี ามตาง ๆ ใหกบั ผืนแผนดนิ ไทย 1 ปที่ผานมาของการรอคอยท่ีจะพบกัน พวกเราจึงไดต้ังใจที่จะสรางสรรคหนังสือเลมน้ีข้ึนมา เพื่อมุงหวังที่จะใหประสบการณท่ีทรงคุณคาของศูนยฯ รุนพี่ไดถายทอดไปสูศูนยฯ รุนนอง เพื่อที่จะใหศูนยฯ รุนนองไดเรียนรูและภาคภูมิใจในส่ิงท่ีศูนยฯ รุนพี่ไดสรางสรรคไว หนังสือเลมนี้จึงเนนท่ีการเขียนในลักษณะมุมกวางที่ตองการที่จะฉายภาพใหรุนนองอีก 200 ศูนยฯ ใหมปนี้ไดเห็นภาพรวมของศูนยการเรียนรู ICT ชุมชน เนนการพูดคุย เนนการใหกําลังใจ เนนการคิดตางเพื่อใหเกิดการสรางสรรคอยางตอเน่ือง เพ่ือท่ีศูนยฯ รุนนองจะไดใชเปนแนวทางในการกาวเดินตอไปโดยมี “ใจ” ของพวกเรา “ครอบครัว ICT ชุมชน” รวมกันไปตลอด เพราะ “ใจ” เทานั้นท่ีจะสามารถทาํ ใหพวกเรากา วขามปญ หาและอปุ สรรคตาง ๆ ได อกี ทง้ั “ใจ” เทา นน้ั ทจี่ ะสามารถนาํ ทางสคู วามสาํ เร็จตา ง ๆ รว มกนั ได

ในปหนาฟาใหมที่พวกเราจะพบกันอีก พวกเราชาว CCDKM ขออาสาท่ีจะถอดบทเรียนท่ีเปนกลยุทธเด็ด ๆ มาใหเพื่อเปนของขวัญแทนใจ แทนคําขอบคุณ และขอคารวะในทุกความดีงามที่ทุกทานไดรวมกันทํางานหนัก เพ่ือสรรสรางการพัฒนาชมุ ชนไทยใหเปน ชุมชนทเี่ ทาทนั และเทา เทียมตอ ไป ขอขอบพระคณุ สํานักสง เสรมิ และพฒั นาการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ท่ีไดใหโอกาสพวกเราไดทํางานเพ่ือรวมสรางสังคมแหงการเรียนรู และสังคมแหง การเทา เทยี มใหกับคนทุกกลุม ทุกชมุ ชนของประเทศไทย ศนู ยวจิ ยั การจัดการความรูก ารสื่อสารและการพฒั นา มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช 2552

สารบญั หนาตอนท่ี 1 : ICT มาชว ยพัฒนาชุมชนไดอ ยา งไร? 1ตอนที่ 2 : โครงการศนู ยก ารเรยี นรู ICT ชมุ ชนใน - ตา งประเทศ 14 1) โครงการศูนยการเรยี นรู ICT ชุมชนในประเทศไทย : มีอะไรบา ง? 14 2) โครงการศูนยการเรียนรู ICT ชมุ ชนในตางประเทศ : เขาทําอยา งไรกันบาง? 25ตอนท่ี 3 : สรุปการบริหารจดั การศนู ยฯ ICT ชมุ ชนในองคกรประเภทตา งๆ 66 1) เพราะวัดไมม ีกําแพง... ศนู ยการเรยี นรู ICT ชุมชนในวดั จึงเขม แขง็ 66 2) “โรงเรียน” อกี บทบาทสําคญั ของการเปน ศนู ยก ารเรียนรู ICT ชมุ ชน 78 3) สถาบนั อดุ มศกึ ษาทองถน่ิ : บทบาทใหมในการบรกิ ารชุมชนผานศูนยฯ ICT ชมุ ชน 87 4) ศนู ยก ารเรยี นรู ICT ชุมชน ใน “โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม” 94 5) โรงเรยี น ตชด. : โรงเรียนเพือ่ ชุมชนในพืน้ ทีห่ างไกล 103 6) ศูนยก ารเรยี นรู ICT ชุมชน : การศกึ ษานอกโรงเรียน (กศน.) 113 7) ศนู ยก ารเรียนรู ICT ชุมชน : อกี เครื่องมือสําคัญขององคกรปกครองสว นทองถนิ่ 122 8) ศูนยการเรียนรู ICT ชมุ ชน : โดยการเติมเต็มขององคก รพฒั นาเอกชน 132 9) ศนู ยก ารเรียนรู ICT ชุมชน : ในมติ ขิ องทหารและมติ สิ ื่อ 140ตอนที่ 4 : ถา จะต้งั ศูนยเ ทเลเซ็นเตอรใ นประเทศไทยใหย่ังยนื ? 148ตอนที่ 5 : สรปุ บทเรียน 155 1) สรปุ บทเรียนทีไ่ ดจ ากตา งประเทศ : มี How To ดี ๆ ท่ีนาสนใจอะไรบา ง? 155 2) สรุปบทเรียนทไี่ ดจากประเทศไทยเอง : มี How To ดี ๆ ท่นี า สนใจอะไรบา ง? 163 3) สรุปบทเรยี นโดยภาพรวม 168รายการอางองิ 173

Thai Telecentre: ศนู ยท ่ตี อ งเคลอื่ นดว ย “ใจ” ของชุมชน ตอนที่ 1 ICT มาพฒั นาชุมชนไดอยางไร? “เมอ่ื โลกเปลี่ยน คนกเ็ ปลยี่ น ชุมชนก็เปลี่ยน” “เม่อื โลกชุมชนของเรา ตอ งพง่ึ พาโลกสารสนเทศมากขนึ้ เรื่อย ๆ” การเปลี่ยนแปลง (Change) ที่มุงไปสูสิ่งท่ีดีกวาคือ “การพัฒนา” การพัฒนาที่ยั่งยืนคือการพัฒนาที่อยูบนฐานของสารสนเทศ ฐานของขอมูลขาวสารความรตู าง ๆ แลว ICT จะไปชวยชุมชนในการปรับเปล่ียนตัวเองสูโลกแหงความรู โลกแหงขอมูลขาวสาร หรือโลกแหงสารสนเทศไดอยางไร? ซ่ึงการท่ีจะตอบโจทยเกี่ยวกับการใช ICT เพอื่ การพัฒนาชุมชนไดอยางไร? เราอาจจะตองเรม่ิ ทําความเขาใจเกยี่ วกบัความหมายของคําสาํ คัญตา ง ๆ ที่เกย่ี วขอ ง ดังเชน “การพัฒนา?” คือกระบวนการเปล่ียนแปลงที่มุงสูเปาหมายท่ีต้ังไวรวมกันอยางชัดเจนภายในระยะเวลาท่ีกําหนด และจากผลการพิสูจนจากนักคิดทั่วโลกตางยอมรับรวมกันวา การพัฒนาท่ียั่งยืนคือ “การพัฒนาคน” โดยใหคนเปนศูนยกลางของการพัฒนา ท้ังน้ีเพราะทั้งคําถามและคําตอบของการพัฒนาลวนอยูท่ี “คน” และคนกอ็ ยทู ่ี “ชมุ ชน” จึงเปน ไปไมไ ดเลยวางานพัฒนาจะสําเร็จลงได ถาคนขาดการรับรูขาดความเขาใจ ขาดการมีสวนรวมและเปน เจาของในงานพฒั นานัน้ ๆ J.Gray กลา ววา “ถาตองการทีจ่ ะรุงเรืองหนึ่งปใหปลูกขาว แตถาตองการท่ีจะรงุ เรืองตลอดไปใหพัฒนาคน” 1  

Thai Telecentre: ศูนยทต่ี องเคลอ่ื นดว ย “ใจ” ของชมุ ชน แลว การพฒั นา “คน” นนั้ มีหลกั การอะไรบาง? 1) ตองเคารพสิทธิในความเปนมนุษยที่เทาเทียมของกันและกัน ความเสมอภาค และความเปน ธรรม โดยไมมกี ารเลอื กปฏิบัติ 2) ตองเอื้อใหเกิดการรูจัก รักกัน สื่อสารสรางความสัมพันธเชิงสรางสรรคระหวางกันและกันในชุมชน ภายใตกติกาและกลไกตาง ๆ รวมกันคิด รวมกันกําหนดรวมกันสรางข้ึนมาเอง เชน การทํากิจกรรมตาง ๆ รวมกัน การกอต้ังกลุม “ผูกอการดี”ตาง ๆ ทั้งน้ีเปนเพราะวาทายท่ีสุดแลว งานพัฒนาท่ีเปนงานใหญนั้น สมาชิกของชุมชนเทานั้นที่จะสามารถท่ีจะเคล่ือนได เพราะทุกคนรับรู เขาใจ จึงสามารถท่ีจะรวมมือกันในรูปแบบและวิธีการตาง ๆ ตามท่ีตนถนัด ตามท่ีตนพรอม และท่ีสําคัญคือตามท่ีตนตองการ 3) ตองใชห ลกั และกระบวนการมีสวนรว ม โดยจะเริ่มตั้งแตเริม่ รับรูรว มกัน เชนมีอะไรเกิดขึ้นในชุมชน ชุมชนกําลังจะทําอะไร มีปญหาอะไร ตองการอะไร ฯลฯจากน้นั ก็จะเปนการรว มรบั ฟง รวมสนทนา รว มคดิ รว มวางแผน รวมดําเนนิ การ รวมติดตาม รวมประเมินผล รวมปรับเปลี่ยนหรือรวมพัฒนาสิ่งตาง ๆ ข้ึนมาใหม ซ่ึงถาสมาชิกของชุมชนมีสวนรวมในชุมชนของตนไดมากท่ีสุด ก็จะสงผลตอการพัฒนาทงั้ ตัวพวกเขาเอง และตอการพัฒนาชมุ ชนของพวกเขาโดยภาพรวมแนนอน 2  

Thai Telecentre: ศูนยท ่ตี องเคล่ือนดวย “ใจ” ของชุมชน“ชมุ ชน?” คอื ทุกคาํ ตอบของการพัฒนา เพราะชมุ ชนมี “ทนุ เดิม” ของตวั เอง “ชุมชน” คือศูนยกลางของชีวิตและจิตใจ ศูนยกลางของ “ทุนเดิม” หรือ“ทรพั ยากรตา ง ๆ” ไมว า จะเปนภาษา ความเช่ือ วัฒนธรรม ประเพณี การทํามาหากินการสรางสรรคศิลปวัฒนธรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม รวมท้ังผูรู หรือปราชญของชุมชนในดา นตาง ๆ ดวย หรือท่ีเรามักเรียกรวม ๆ กันวา “ภูมิปญญา” ซ่ึงสิ่งนี้แหละท่ีนบั วา เปน ฐานสาํ คัญที่จะตองไดร ับการหยิบยกขึ้นมาเพื่อใชเปนฐานรากในการพัฒนาชุมชนในแตละชมุ ชนนั่นเอง “ทุนเดิม” จะสามารถนําไปใชเพื่อเปนฐานรากของการพัฒนาชุมชนไดอยางไร? มีหลกั คดิ พนื้ ฐานอะไรบา ง? 1) ตองบํารุงรักษาและสงเสริมทุนเดิม ภูมิปญญาชุมชน หรือภูมิปญญาทองถิ่นใหเขมแข็งกอน เชน การนําไปใชในการพัฒนาอาชีพ การผลิตและพัฒนาสินคาที่เปนเอกลักษณของตนเอง เร่ืองราวของความภาคภูมิใจ ฯลฯ ซึ่งสิ่งตาง ๆเหลาน้ี นอกจากจะเปนการนําภูมิปญญา หรือทุนเดิมมาใชประโยชนเพื่อการพัฒนาชมุ ชนเองแลว ยงั เปน การเพม่ิ คณุ คา และตอ อายุภูมิปญญาดังกลาวสูคนของชุมชนในรนุ ตอ ไป 3  

Thai Telecentre: ศูนยท ีต่ องเคลอ่ื นดวย “ใจ” ของชมุ ชน 2) ตองสงเสริมการพ่ึงตนเอง สงเสริมการพัฒนาบนฐานของความพอเพยี งควบคูก ับการพัฒนาอยางสรางสรรค ท้งั นเ้ี ปนเพราะการทชี่ มุ ชนจะเขมแขง็ ไดกาวแรกที่เปนฐานสําคัญของความเขมแข็งคือ ชุมชนตองรูจักตนเองอยางดีพอ รูจักทุนเดิม หรือภูมิปญญาของตนเอง รูปญหาของตนเอง รูความตองการของตนเองฯลฯ เม่ือชุมชนมีความชัดเจนเกี่ยวกับตนเอง เขาก็จะสามารถท่ีจะคิด วางแผนบริหารจัดการชุมชนของพวกเขาเองได บนฐานของการรูจักตนเอง การพึ่งตนเอง การใชห ลกั ของความพอเพยี ง ฯลฯ สงิ่ ตาง ๆ เหลานี้ ลว นสง ผลตอ การรวมคิด รว มทาํ รว มบริหารจัดการใหชุมชนเตบิ โตอยา งเทา เทยี มและยงั่ ยนื รว มกัน 3) ตองสงเสริมการพัฒนา “คน” ในชุมชนทุกระดับอยางตอเน่ือง โดยสงเสริมการพัฒนาศักยภาพของชุมชนในทกุ รูปแบบตามท่ีสอดคลองกับความตองการของเขา ตามที่เขาถนัด ตามที่เขาตองการ ตามท่ีเขาพรอม เพื่อประโยชนรวมกัน เชนการศึกษาดูงาน การอบรม การประชุม การศึกษาตอทั้งในและนอกระบบ เชน การอบรมเกี่ยวกับบัญชีครัวเรือน การซอมและประกอบคอมพิวเตอร การสรางเว็บไซตฯลฯ ตามท่ีตนเองตองการโดยเปน “การเรียนรูตลอดชีวิต” ทั้งนี้เปนเพราะเม่ือชีวิตตองเปลี่ยน ความรูท่ีจะใชในการดํารงชีวิตก็จําเปนที่จะตองเปล่ียนดวย ซ่ึงก็จะเหมอื นกบั ชมุ ชนน่นั เองที่จะตอ งมีการปรบั เปลย่ี นดวยเชน กนั 4  

Thai Telecentre: ศนู ยทต่ี องเคลอื่ นดวย “ใจ” ของชมุ ชน“ชมุ ชน” ตอ งการทจ่ี ะพฒั นาอะไรบา ง? ถาเราจะถามถึงความตองการของชุมชน ก็จะเหมือนกับเราถามวา แลวผูคนในชุมชนตองการอะไร? เพราะคนคือชุมชนน่ันเอง ซึ่งนักคิดที่ไดรับการยอมรับและอางองิ มากท่ีสุดก็นาจะเปนมาสโลว (Maslow’s Hierarchical Theory of Motivation)ท่ีกลาววา ความตองการของมนุษยนั้นติดตัวมาแตกําเนิด โดยจะเรียงลําดับข้ันตั้งแตข้ันแรกไปสูขึ้นที่สูงขึ้นไปตามลําดับ โดยสรุปวา มนุษยทุกคนลวนมีความตองการพื้นฐานที่เหมือนกัน แตความตองการของแตละคนก็จะมีลําดับที่แตกตางกันออกไปตามความสามารถหรือความพรอมท่ีจะเติมเต็มความตองการของตนเอง โดยเริ่มจากความตองการข้นั ตน ท่สี ุดคือ 1) ความตอ งการทางดานรา งกาย (Physiological needs) นับวาเปนความตองการพ้ืนฐานท่ีสุด เชน อาหาร ท่ีอยูอาศัย ยารักษาโรค เงินทองเพื่อการยังชีพ เพ่ือการศกึ ษาของตนเอง ของลกู หลาน สวสั ดิการพื้นฐานตางๆ ทจ่ี าํ เปน ตอการยังชพี ฯลฯ 2) ความตองการความปลอดภัย (Safety needs) ไมวาจะเปนความปลอดภัยเก่ียวกับชีวิต ทรัพยสิน ที่เร่ิมตั้งแตของตนเอง ของครอบครัวและของกลุมของชุมชนตนเอง 5  

Thai Telecentre: ศูนยท ตี่ องเคลือ่ นดว ย “ใจ” ของชุมชน 3) ความตองการความรักและความเปนเจาของ (Belongingness andlove needs) โดยเปนความตองการท่สี งู ขึน้ มาเรอ่ื ย ๆ หลังจากที่ผานความตองการข้ันพนื้ ฐานมาแลว เชน เมื่อมีบา นอยู มขี าวกินแลว มีความปลอดภัยแลว คนก็เร่ิมท่ีจะนึกถึงความรกั ตอ งการทจี่ ะรัก และไดรบั ความรัก อยากเปน เจา ของ ฯลฯ 4) ความตองการไดรับความนับถือยกยอง (Esteem needs) เปนความตองการท่ีจะไดรับการยอมรับนับถือ การยกยองสรรเสริญ จากผูคนรอบขาง เชน การเปน ผนู ํา การเปนคนเกง การเปน ผเู สียสละ ฯลฯ 5) ความตอ งการท่ีเปน ตัวตนของตนเองอยา งแทจริง (Self-actualizationneeds) นับวาเปนความตองการในลําดับท่ีสูงสุด คือ การเขาใจตนเอง ความรูลึกและม่ันคงในสิ่งท่ตี นเองตองการ ในสิง่ ที่ตนเองทํา ในส่งิ ทีต่ นเองพูด เชน เราอยากที่จะเปนกลมุ ผูก อ การดีในการรวมสรางความสําเร็จของศูนยการเรียนรู ICT ชุมชนของประเทศไทยใหประสบความสําเร็จอยางย่ังยืน เราอยากที่จะเปนผูรู ผูเขาใจ (guru) เก่ียวกับการบริหารจัดการศูนยฯ ฯลฯ ตราบใดก็ตามที่มนุษยสามารถที่จะเดินไตบันไดของความตองการมาถึงจุดน้ีแลว ส่ิงท่ีเขาคิด ส่ิงที่เขาทําจะถูกผนวกดวยแรงบันดาลใจ จะถูกผนวกดวยฝนที่เต็มพลัง ผนวกดวยความทุมเท ฯลฯ ทายท่ีสุดก็จะเกิดเปนพลังที่ผลักดันสิ่งนั้น ๆ ออกมาจนได ดงั เชน อัศวินหรือวรี บุรษุ ท้ังในประเทศไทยเราเองและวีรบุรุษท่ัวโลกที่เห็นกันอยูท่ัวไป (ทั้งท่ียังมีชีวิตอยูและที่สวนใหญเสียชีวิตไปแลว) ประมาณวาปาฏิหารยตาง ๆจะสามารถเกิดขึ้นไดจากพลังท่ีแรงกลาของความตองการในขั้นนี้ ดังคําพูดที่วา “เช่ือในสิ่งที่ทํา ทําในส่ิงท่ีเชื่อ” หรือถาเปนภาษาตางประเทศก็นาจะเปน “เชื่อในสิ่งที่เฮ็ดเฮ็ดในสิ่งทเี่ ชือ่ ” ประมาณนั้นเลย! ใชเลย! 6  

Thai Telecentre: ศนู ยท ีต่ อ งเคลือ่ นดวย “ใจ” ของชมุ ชน ทีนี้ก็จะยอนกลับมาที่คําถามเดิมวา “ชุมชน” ตองการที่จะพัฒนาอะไรบาง? ชุมชนไทยมีความหลากหลายและเช่ือมโยงกัน เพราะถาเรากลับมายอนดูตวั เราเองและคนรอบขา งในชุมชนของเรา เราจะพบวา ชมุ ชนไทยเปนชุมชนทมี่ คี วามเปน เอกลักษณของตนเอง คือ สามารถที่จะยืดหยุน ปรับปรนความตองการของตนเองไดดีกวาตามที่ทฤษฎีท่ีพวกฝรั่งคิดไว ดังเชน เราจะเห็นทั่วไปวา แมชุมชนจะยากจนทรัพยสิน แตเขาก็ยังสามารถที่จะเจือจานส่ิงที่เขามีอันนอยนิดมาแบงปนคนอื่น ๆ ไดอีก เชน การใสบาตร การใหทาน การลงแรงหรือการ “ลงแขก” เพื่อชวยงานสวนรวมฯลฯ แตถาถามวา ชุมชนตองการที่จะไดรับการพัฒนาอะไรบาง? ถาดูโดยภาพรวมของชมุ ชนบา นเรา ชมุ ชนของเรายังตองการสิ่งพนื้ ฐาน ปจจัยพื้นฐานเพื่อการยังชีพอยูเปนจํานวนมาก จึงอาจตอบโดยภาพรวมในนามของชุมชนไทยในขณะนี้ไดดังตอไปน้คี ือ 1) ความตองการเกี่ยวกับอาชีพ เพ่ือที่จะทําใหสามารถที่จะมีรายไดไปใชเพอ่ื ซ้ือหาสงิ่ จาํ เปน ตาง ๆ ในชวี ติ เชน อาหาร ท่อี ยูอาศัย ยารกั ษาโรค ฯลฯ 2) ความตองการเกี่ยวกับสวัสดิการตาง ๆ เพื่อท่ีจะทําใหชีวิตสามารถที่จะดํารงอยูไดอยางมั่นคง เทาเทียม และมีหลักประกันใหกับชีวิต เชน สวัสดิการเกีย่ วกับสขุ ภาพ เกย่ี วกบั การศกึ ษาลูกหลาน เก่ยี วกบั การทาํ งาน ฯลฯ 3) ความตองการที่จะไดร บั การยอมรบั ในคุณคาของความเปนมนุษยท่ีเทาเทียมกับคนอ่ืน ๆ เชน ความยุติธรรม การเคารพสิทธิ การไดรับการปฏิบัติอยางเทา เทยี ม ฯลฯ 7  

Thai Telecentre: ศูนยทต่ี อ งเคลื่อนดว ย “ใจ” ของชุมชน ซึ่งเราจะเหน็ ไดวา ความตองการของชมุ ชนไทย กไ็ มตางกับความตองการของมนุษยทั่วโลก หรือชุมชนท่ัวโลก แตเสนหท่ีโดดเดนของความเปนคนไทยคือ น้ําใจไมตรี ความโอบออมอารี ความเอื้ออาทร การแบงปน การใหเกียรติ การเคารพนบนอบ ฯลฯ ส่ิงตาง ๆ เหลาน้ีทําใหชุมชนไทย หรือสังคมไทยสามารถท่ีจะดํารงอยูอยางยนื ยาวจวบจนปจ จุบนั และถาถามตอวา ความตองการของชุมชนที่กลาวมาขางตน เปนโจทยที่ยากหรือไม? ก็ขอตอบไดทันทีเลยวา ไมใชโจทยท่ียาก แตเปนส่ิงท่ีตองรวมกันทําหลายฝา ย เพราะเปน เร่อื งทีต่ อ งทาํ อยา งตอเนอื่ ง พรอม ๆ กบั ตอ งมีการปรับเปลี่ยนอยูเสมอซ่ึงสื่อ ICT หรือส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร นับวาเปนอีกหน่ึงในเคร่ืองมือสําคัญที่จะชวยเช่ือมตอเพ่ือเติมเต็มความตองการดังกลาวใหกับชุมชนไดอยางท่ัวถึงตอ เนือ่ ง เทาทัน และเทา เทียม Thomas Carlyle กลา ววา “งานทยี่ ่งิ ใหญ มักเปนส่ิงท่ีคนคิดวาเปนไปไมไดในตอนแรกเสมอ” ถา เปนความเชื่อของคนไทยก็ประมาณวา “ปาฎิหารยเกิดข้ึนได ถาใจแนวแน”“ICT” คอื อะไร? มีแนวคิดและหลักการอะไรบาง? สื่อ ICT หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร จะประกอบดวย3 องคป ระกอบสาํ คญั คือ I = information นับวาเปนหัวใจดวงที่ 1 เหมือนที่เรามักไดยินคําพูดบอย ๆวา “Information is the King” หมายถึงวา เนื้อหา ขอมูลขาวสารคือสิ่งที่สําคัญท่ีสุดโดยเฉพาะถาเน้ือหาน้ันสามารถที่จะตอบโจทยในส่ิงท่ีชุมชนตองการได จึงอาจกลาวไดว า เน้ือหาทีส่ าํ คัญที่สุดคอื เนือ้ หาทชี่ มุ ชนตอ งการท่ีสุด 8  

Thai Telecentre: ศูนยท ีต่ อ งเคล่อื นดวย “ใจ” ของชมุ ชน C = Communication นบั วา เปน หัวใจดวงท่ี 2 เพราะการสื่อสารคอื การสรางใหเกิดความเขาใจรวมกัน (common understanding) ยิ่งส่ือสารก็ย่ิงเขาใจ ถาเราสามารถที่จะสื่อสารกันไดอยางเขาอกเขาใจแลว การหลอมรวมพลังก็จะเกิดขึ้น อาจกลาวไดวา ถาการส่ือสารสามารถท่ีจะนําพาเนื้อหาท่ีชุมชนตองการไปถึงชุมชน ใหชมุ ชนสามารถเขาใจและนําไปใชในการพฒั นาตนเองได เม่ือน้ันการพัฒนาอยางยง่ั ยนืจะสามารถเกิดขึ้นไดอยางไมยากเลย แตสิ่งที่เราเห็นโดยท่ัวไปในสังคม หรือแมแตในชุมชนของเราในปจจุบันคือ ยิ่งสื่อสารกัน เหมือนจะยิ่งทําใหตีกัน หรือขุนของหมองใจฯลฯ ท้ังนี้เปน เพราะอาจจะมีผูสงสารบางคนที่ไปบดิ เบอื นใหกระบวนการสื่อสารเพี้ยนไป ความเพ้ียนหรือความไมเขาใจกันจึงเกิดข้ึน ดังน้ันถาจะสรางพลังของการพัฒนารวมกัน พวกเราตองชวยกันสรางกระบวนการสื่อสารที่สามารถสรางความรู ความเขาใจท่ชี ดั เจนรวมกันใหได T = Technology นับวาเปนหัวใจดวงที่ 3 เทคโนโลยี หมายถึง เคร่ืองมือส่ิงประดิษฐตาง ๆ ท่ีมนุษยประดิษฐ คิดคนกันขึ้นมาเพ่ือชวย หรือเพ่ือเอื้อใหมนุษยสบายขึ้น ทํางานไดมากขึ้น มีชีวิตความเปนอยูท่ีดีข้ึน และถาเปนเทคโนโลยีเก่ียวกับการสอ่ื สารขอ มลู ตาง ๆ ก็จะหมายถงึ อปุ กรณ เคร่ืองมือการสื่อสารใด ๆ ก็ตามที่ทําใหมนุษยสื่อสารกันไดดีขึ้น ไมวาจะเปนอินเทอรเน็ต โทรทัศน วิทยุ ดาวเทียม หอกระจายขาว เสียงตามสาย หนังสือพิมพหรือละครออนไลนตาง ๆ รวมทั้งเทคโนโลยีในรูปแบบของการบูรณาการ (convergence) เชน ศูนยการเรียนรู ICT ชุมชน ท่ีจะประกอบดวย “คน” “วัสดุ” และ”อุปกรณ” (people-ware, software, hardware) เพื่อที่วาทายที่สุดก็คือ การเปนศูนยกลางของการส่ือสาร (one stop service) ขอมูลขา วสารตา ง ๆ ของชมุ ชนนัน่ เอง 9  

Thai Telecentre: ศนู ยท ี่ตองเคลอ่ื นดว ย “ใจ” ของชุมชนแนวคิดและทฤษฎีเกย่ี วกับ ICT ? แนวคิดเกี่ยวกับเรื่องนี้นับวาเปนเรื่องใหมที่เติบโตและเปลี่ยนแปลง หรือพฒั นาอยา งตอเนอื่ ง ตงั้ แตป พ .ศ. 2548 กมลรัฐ อินทรทัศน เห็นวาการมีความรู ความเขา ใจเกยี่ วกบั ทไ่ี ปทีม่ าเร่ือง ICT นาจะมคี วามจาํ เปนเพื่อทเี่ ราจะไดสามารถทจี่ ะเขา ใจและนําไปใชหรือพัฒนาตอยอดไปไดอีก โดยไดทําการศึกษาและจัดกลุมแนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารออกเปนกลุมหลกั 4 กลมุ คอื 1) กลุมทฤษฎีสารสนเทศ เปนกลุมแรกท่ีมีแนวคิดหลักเก่ียวกับประเภทและการพัฒนาศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ จะเนนการพัฒนาสิ่งประดิษฐหรือนวัตกรรมตาง ๆ ขึ้นมาใหมนุษยใช เชน โทรศัพทมือถืออยางท่ีเห็นในปจจุบัน ท่ีเริ่มจากการเปนเคร่ืองมือส่ือสาร จนกระท่ังเปนเครื่องมือส่ือสาร ความบันเทิงและใชงานในรูปแบบตาง ๆ เชน molbile life ซ่ึงจะหมายถึงการใชโทรศัพทมือถือที่สามารถตอบสนองกับวถิ ีชวี ติ ทีเ่ คลื่อนไหวอยูตลอดเวลาของคนในสังคมปจจบุ นั เปนตน 2) กลุมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ีกําหนดสังคม โดยเชื่อวาเทคโนโลยีคือส่งิ ทก่ี าํ หนดสังคมหรือชี้นําสังคม กําหนดกฎเกณฑตาง ๆ ใหกับสังคม(Technological Determinism) พวกนี้เชื่อวาเทคโนโลยีคือพระเจาที่จะบงการหรือเปล่ียนชีวิตผูคน สังคมได เชน สื่ออินเตอรเน็ตในปจจุบันท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตผูคน เปล่ียนวิธีการหาแฟน เปล่ียนวิธีการติดตอส่ือสาร เปลี่ยนวิธีการทํางานในสังคมปจ จุบันเปนอยา งมาก 3) กลมุ สงั คมทีก่ าํ หนดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุมน้ีเช่ือวาสังคมตางหากที่เปนตัวกําหนดการเปล่ียนแปลงตาง ๆ ในสังคมน้ัน ๆ สวนเทคโนโลยีตาง ๆ ที่เกิดข้ึนในสังคม เปนเพียงผลท่ีเกิดขึ้นจากการกําหนดหรือนโยบาย 10  

Thai Telecentre: ศนู ยทต่ี อ งเคลือ่ นดวย “ใจ” ของชุมชนของสังคมนั้น ๆ เชน นโยบายเปดเสรีส่ือ นโยบายพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT คือถาไมมนี โยบายก็เกิดข้นั ไดยาก เปน ตน 4) กลุมทฤษฎีบูรณาการ : เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และสังคม เชือ่ วาทัง้ สงั คมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารจําเปนที่จะตองบูรณาการซงึ่ กันและกนั เพอื่ ท่จี ะสามารถเออื้ ใหเกิดประโยชนตอกนั และกันไดอ ยางลงตัวมากที่สดุ ดงั เชน ศูนยก ารเรียนรู ICT ชมุ ชนท่ีจะไมสามารถขาดปจจยั ใดปจจัยหน่ึงไดเลยคือทง้ั คน ชุมชน สงั คม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ อยางไรก็ตาม แนวคิดและทฤษฎีดังกลาวเปนการศึกษามาตั้งแตปพ.ศ. 2548กระแสการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนา ICT เกิดข้ึนอยางตอเน่ืองตลอดเวลา แตอยางไรก็ตาม น้ําหนักของแนวคิดทฤษฎีก็ยังคงอยูท่ีกลุมนี้ คือ คน ชุมชน สังคมวัฒนธรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศตองเดินไปดวยกัน ตองเอื้อกัน จึงสามารถที่จะเอือ้ ใหเกิดการพฒั นาทตี่ องการรวมกันอยางยัง่ ยืนได“ICT” จะไปชวยใหเกดิ การพัฒนาชมุ ชนไดอยา งไร? ดังท่ีไดกลาวขางตนแลววา ICT เปนส่ือที่บูรณาการระหวางหัวใจ 3 ดวงท่ีประกอบดวยสาร การส่ือสาร และเทคโนโลยี ถาหนวยงานที่เกี่ยวของ นักพัฒนาหรือแกนนําชุมชนสามารถท่ีจะนํา ICT ที่สามารถบูรณาการอยางลงตัวมาใชเพื่อการ 11  

Thai Telecentre: ศนู ยท ่ตี องเคลื่อนดว ย “ใจ” ของชมุ ชนตอบโจทยในส่ิงที่ชุมชนตองการได ไมวาจะเปนเร่ืองอาชีพหรือเร่ืองการทํามาหากินเรอื่ งสวสั ดกิ ารหรอื ความเปนอยูที่ดีขึ้น และเร่ืองศักด์ิศรีความเปนมนุษยท่ีเทาเทียมกันการยอมรับและเคารพในศักดิ์ศรีของกันและกัน อาจกลาวโดยสรุปไดวา ICT ที่จะสามารถชวยเปนเคร่ืองมือท่ีจะเอื้อใหเกิดการพัฒนาชุมชนไดนั้นตองสอดคลองและสนับสนุนแนวทางการพัฒนาของชุมชนน้ัน ๆ คือตองไปทางเดียวกัน โดยหลัก ๆแลว ICT ตองทาํ หนา ที่ในฐานะเครอื่ งมอื ของการพฒั นาชมุ ชนดังตอ ไปนี้ เชน 1) ชวยสงขอ มลู ขาวสารจากทง้ั จากภายนอกสูช มุ ชน (ท่ีชมุ ชนตองการ)และจากชุมชนสูภายนอก เริ่มตั้งแตขอมูลขาวสารที่ชุมชนตองรู ท่ีควรจะรู เชน ขอมูลขาวสารเก่ียวกับระเบียบ กฎกติกา สวัสดิการ ประกาศ นโยบาย ขอกําหนด ขอหามราคาประกันพืชผล โรคระบาด อาชญากรรม ภยั พบิ ัติ ฯลฯ นับวาเปนขอมูลที่จําเปนที่ชุมชนตองมีสิทธิที่จะไดรับอยางเทาทัน เทาเทียม และตอเนื่อง เพ่ือที่จะนําขอมูลดงั กลาวไปใชต ามท่ตี นตอ งการ อยางเทา ทนั และเกดิ ประโยชนส งู สุด 2) ชวยเรื่องการประสานงาน การรับ-สงขอมูลขาวสารระหวางชุมชนกับหนวยงานตางๆ และเครือขายภาคี โดย ICT จะสามารถท่ีจะเอ้ือใหเกิดการตดิ ตอสื่อสารท่ีหลากหลาย ไมเกิดภาวะการผูกขาดการสื่อสาร เพราะชุมชนสามารถที่จะสืบเสาะคนหา สอบถาม ประสานงาน ติดตอ ตรวจเช็คเพ่ือความถูกตองหรือเพื่อปอ งกนั การถูกลอ ลวงตาง ๆ ทาํ ใหทุกฝายท่ีทํางานรวมกัน และกับชุมชนสามารถท่ีจะประสานงาน แลกเปล่ียนเรียนรูระหวา งกนั และกันไดต ลอดเวลา ลดขั้นตอน ลดการใชทรพั ยากรในการทาํ งานรวมกัน เชน การประชมุ ออนไลน กระดานขา ว ฯลฯ 3) ชว ยเรื่องการขยายชองทางการทํามาหากิน การเพ่ิมชองทางการตลาดการเสาะหาวัตถุดิบ การเรียนรูจากคูแขง การประชาสัมพันธ การโฆษณา การคาขายออนไลน การแลกเปลยี่ นเรียนรูระหวางกลุม ฯลฯ 12  

Thai Telecentre: ศนู ยทีต่ องเคลือ่ นดว ย “ใจ” ของชมุ ชน 4) ชวยเรื่องการขยายเครือขาย การแลกเปลี่ยนเรียนรู เพราะ ICT จะสามารถทําใหกลุมคน ชุมชนท่ีมีความสนใจรวมกันสามารถท่ีจะ “มองเห็น” กันไดสามารถท่ีจะแลกเปลี่ยนเรียนรู สามารถที่จะชวยเหลือกันได ดังตัวอยางที่เห็นเปนรปู ธรรมระหวางเครือขายศนู ยการเรียนรู ICT ชุมชนของพวกเรา ทท่ี กุ ศูนยฯ ลวนตางมีเครื่องมือในการท่ีจะสามารถเชื่อมตอ ประสานงาน แลกเปล่ียนเรียนรู และสามารถที่จะชว ยเหลือ ปรกึ ษาหารอื ระหวา งกันและกันไดต ลอด เปน ตน 5) ชวยเรื่องการเขาถึง (access) เรื่องราวและทรัพยากรตางๆที่หลากหลาย เชน ชวยใหเขาถึงแหลงทรัพยากรตาง ๆ ไมวาจะเปนประกาศเก่ียวกับสวัสดกิ ารตาง ๆ แหลงทนุ แหลงอบรมพัฒนาตาง ๆ รวมทง้ั การเขาถึงแหลงหนวยงานตาง ๆ ในการทจ่ี ะรับ หรือสงปญหาความตอ งการของตนเองสูสงั คมภาคนอก เชน การรองทกุ ข การขอความชว ยเหลือ ฯลฯ 6) ชวยเรื่องการเรียนรูหรือการพัฒนาตนเองไดตลอดชีวิต เพราะในปจจุบัน ความรู ขอมูลขาวสารท่ีทันสมัยตาง ๆ ลวนอยูในอินเทอรเน็ตท่ีทุกคนสามารถที่จะเขาถึงไดตลอดเวลา ไมวาจะอยูในสถานที่ใดก็ตาม ทําใหชุมชนไดรับความเทาเทียมในการเขาถึงขอมูลขาวสารเพื่อการเรียนรูและการพัฒนาตนเองไดตลอดชีวิต 13  

Thai Telecentre: ศูนยทต่ี องเคล่อื นดวย “ใจ” ของชมุ ชน ตอนที่ 2 ศนู ยก ารเรยี นรู ICT ชุมชน ในประเทศไทยและในตา งประเทศ1) ศนู ยก ารเรียนรู ICT ชมุ ชนในประเทศไทย : มอี ะไรบา ง? ในประเทศไทยไดม กี ารจดั ตง้ั ศนู ยก ารเรยี นรู ICT ชมุ ชนหรอื IT ในรปู แบบและชื่อเรียก และหนวยงานทีเ่ ปน ผูริเร่ิมทหี่ ลากหลาย ต้ังแตภ าครัฐ ภาคเอกชน และองคก รพัฒนาเอกชน องคกรอาสาสมัคร ฯลฯ โดยเร่ิมต้ังแตปพ.ศ. 2544 และตอเนื่องมาจนปจจุบันทั้งน้ีเปนเพราะไดมีการกําหนดกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการพฒั นาประเทศไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ในปพ.ศ. 2544 – 2553 ของประเทศไทย (สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ,2545) ซึ่งไดมีการกําหนดองคประกอบท่ีสําคัญของนโยบาย 3 องคประกอบหลักไดแ ก 1. การลงทนุ ในการเสรมิ สรางทรพั ยากรมนุษยใ หมคี วามรูเปน พนื้ ฐานสาํ คัญ 2. สงเสริมใหม นี วัตกรรมในระบบเศรษฐกิจและสงั คม 3. ลงทุนในโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศและสงเสริมอุตสาหกรรมสารสนเทศ นโยบายดังกลาวจึงเปนที่มาของยุทธศาสตรการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเพ่ือสนับสนุนการสรา งชมุ ชนแหงการเรยี นรู ดงั ตอไปน้ีคือ 1. สนบั สนนุ การสรางความรู ถายทอดความรู และใชค วามรขู องชมุ ชน 2. สนับสนุนและสรางเครือขายชุมชนใหมีการแลกเปล่ียนประสบการณและความรูอยา งตอเนื่องและท่ัวถึง เพอื่ สรา งชุมชนเขมแข็ง 14  

Thai Telecentre: ศนู ยทีต่ องเคลื่อนดวย “ใจ” ของชุมชน 3. พัฒนาระบบสารสนเทศท่ีสนับสนุนเครือขายภูมิปญญาไทยเพ่ือพัฒนาองคความรูและภูมิปญญาไทยอยางเปนระบบ (สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหง ชาต,ิ 2545) การสรางศูนยการเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะศูนยการเรียนรูสารสนเทศ ศูนยการเรียนรู ICT ชุมชน ฯลฯ จึงมีช่ือเรียกท่ีแตกตางกันไปแลวแตหนวยงานที่ต้ัง แตโดยเปาหมายโดยรวมก็คือ เพ่ือนําไปสูการพัฒนาชุมชนเพื่อใหเปนชุมชนแหงการเรยี นรูทวั่ ประเทศ เชน 1. ศูนยสารสนเทศชุมชน โดยวิทยาลัยการสาธารณสุข จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ใชศูนยฯ เพื่อใหเปนชองทางของการพัฒนา โดยเฉพาะการถายทอดขอมูลขาวสารสูชุมชน โดยทําเปนโครงการนํารองในเขตพื้นท่ีอําเภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง ในนามของ “โครงการแมเ มาะเฉลมิ พระเกยี รต”ิ จาํ นวน 4 แหง ไดแก - ศูนยส ารสนเทศชมุ ชนเฉลมิ พระเกียรตบิ า นหางฮงุ ศาลาเอนกประสงค บานหางฮุง หมู 3 อาํ เภอแมเมาะ จงั หวดั ลาํ ปาง - ศูนยสารสนเทศชุมชนเฉลิมพระเกียรติบานใหมนาแขม- ทาประตุน ศาลาเอนกประสงค หมู 7 อาํ เภอแมเมาะ จังหวดั ลําปาง - ศูนยสารสนเทศชุมชนเฉลิมพระเกียรติบานหวยคิง โรงเรียนบานหวยคิง หมู6 อําเภอแมเ มาะ จงั หวดั ลาํ ปาง - ศูนยสารสนเทศชุมชนเฉลิมพระเกียรติบานหัวฝาย ศาลาประชาคม อําเภอแมเมาะ จงั หวัดลําปาง 2. โครงขายพัฒนาชนบทไทย เทเลเซ็นเตอรฉบับนักศึกษา ภายใตการสนับสนุนขององคกรพัฒนาเอกชน โดยเริ่มจากกลุมนักศึกษามหาวิทยาลัย 15  

Thai Telecentre: ศนู ยทตี่ องเคลอื่ นดวย “ใจ” ของชุมชนธรรมศาสตร เร่ิมจากเงินบริจาคตาง ๆ ทั้งภายในและตางประเทศ โดยทําเปนลักษณะศนู ยนํารองในรปู แบบตา ง ๆ ตามบริบทที่ชุมชนตอ งการ จาํ นวน 5 ศูนยฯ เชน - อทุ ยานแหงชาติ แจซ อ น อาํ เภอเมืองปาน จงั หวดั ลําปาง - บา นคลองเรือ อําเภอพะโตะ จงั หวดั ชุมพร - เครือขายปาชาวบา น อาํ เภอสตึก จังหวดั บุรีรมั ย - กลุม ยุวเกษตรกรทานดั สามคั คี อาํ เภอดาํ เนนิ สะดวก จังหวดั ราชบรุ ี 3. กลุมศิลปวัฒนธรรมกระจกเงา โดยองคกรพัฒนาเอกชน ที่เนนการเขา ถึงส่ือ ICT ใหก ับกลมุ คนชายขอบ (marginal groups) หรือคนทีโ่ อกาสนอ ยกวา คนอ่ืน (the less) เพื่อใชเปนเครื่องมือในการสื่อสารและการพัฒนา โดยเนนการประยุกตใช ICT เพื่อการสืบคนขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนตอชุมชน โดยใชวิธีการที่หลากหลาย เชน ใหช มุ ชนเขามาสืบคนเองโดยตรง การใหเด็กเยาวชนเขา มาใช รวมทง้ัการนําขอมูลขาวสารดังกลาวมาผลิตเปนสื่อรูปแบบตาง ๆ ที่เหมาะสมกับชุมชนรวมทงั้ ยังใช ICT เพอ่ื เปน เคร่ืองมอื ในการสื่อสารเร่ืองราวตา ง ๆ ของชุมชนออกสูสังคมภายนอก รวมทง้ั การระดมทุน การคา ขายผลติ ภัณฑต าง ๆ ของชมุ ชน 4. บานสามขาเทเลเซ็นเตอร เปนตัวอยางของศูนยท่ีเนนการประสานงานเนนการมีสวนรวม โดยเปนความรวมมือระหวางศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคเหนือ เครือซีเมนตไทย มูลนิธิศึกษาพัฒน มูลนิธิไทยคม ชุมชน โรงเรียนประถมศกึ ษาในพื้นที่ แกนนําชมุ ชน ลูกหลานในชมุ ชนเอง และหนว ยงานพเี่ ลี้ยงตาง ๆจากภายนอก เนนการใชศูนยฯ เพื่อใหเปนเครื่องมือในการแกปญหาและเพ่ือการพัฒนาตนเอง แนวการใชจ ะคลายคลงึ กับกลุมศิลปวัฒนธรรมกระจกเงา คือเนนชุมชนเปน ฐานในการใชศนู ยฯ เพอ่ื การพฒั นาตนเอง (community-base utilization) 16  

Thai Telecentre: ศูนยทีต่ อ งเคล่ือนดวย “ใจ” ของชุมชน 5. ศูนยขอมูลและสารสนเทศชุมชน โดยสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน(พอช.) ทาํ เปน ศูนยฯ นาํ รองเพื่อใหเปนเครอ่ื งมือในการพัฒนาประมาณ 2-3 พน้ื ที่ เชน - ศูนยเทคโนโลยีขอมูลขาวสาร ตั้งอยูท่ีที่ทําการชมรมเครือขายออมทรัพยเพื่อการผลติ อําเภอละหานทราย จังหวดั บรุ รี ัมย - ศูนยปฏิบัติการขอมูลสารสนเทศ ต้ังอยูที่ที่ทําการเครือขายประมงชายฝงอาํ เภอเมือง จังหวัดชมุ พร 6. โครงการนํารองศนู ยโทรคมนาคมและสารสนเทศในชนบท โดยบรษิ ทั ลอ็ กซเลย จาํ กดั นับวา เปน “เทเลเซ็นเตอรภ าคเอกชน” ในชว งแรก ๆ โดยไดร บัการสนบั สนนุ บางสว นจากประเทศแคนาดา (GAIA : Global Alliance forInfostructure Advancement Corporation, Canada) ท่ีนาํ รอ งอยู 5 พน้ื ทที่ วั่ ประเทศเชน - มลู นธิ ิจกั ราชพฒั นา อาํ เภอจกั ราช จงั หวดั นครราชสมี า - ศูนยเทคโนโลยีสารสารเทศเพื่อชนบท ไทยแคนาดา (บานแม T Centre)อําเภอสนั ปา ตอง จังหวัดเชยี งใหม - ศนู ยปงเทเลเซน็ เตอร อาํ เภอปง จังหวัดพะเยา - บา นเขาขาด T- Centre อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค - ไทย- แคนาดา T Centre วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินี อําเภอเมืองจงั หวดั แมฮ องสอน 7. ศูนยสงเสริมการเรียนรูคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต – บานนานอย โดยมูลนิธิศึกษาพัฒน มูลนิธิไทยคม อําเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย เพ่ือลดชองวาง การเขาถึง และใชเปนเครื่องมือในการพัฒนา โดยเฉพาะการศึกษาของเด็กเยาวชนในชุมชน ขอมูลการพัฒนาประเด็นตาง ๆ ฯลฯ แนวการใชจะคลายคลึงกับ 17  

Thai Telecentre: ศูนยท ต่ี อ งเคลือ่ นดวย “ใจ” ของชมุ ชนกลุมศิลปวัฒนธรรมกระจกเงา คือเนนชุมชนเปนฐานในการใชศูนยฯ เพื่อการพัฒนาตนเอง (community-base utilization) 8. โครงการอินเทอรเน็ตตําบล กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เนนการกระจายการเขาถึง ICT สูทุกชุมชนท่ัวประเทศไทยผานองคการบริหารสวนตําบล(อบต.) 9. ศูนยบริการสารสนเทศชุมชนนํารองเนคเทค หรือศูนยเทคโนโลยีอีเล็คทรอนิคสและคอมพิวเตอรแหงชาติ หรือมักเรียกกันส้ัน ๆ วา เนคเทคเทเลเซ็นเตอรที่ทําเปน โครงการนาํ รอ งในชุมชนจํานวน 4 แหง คือ - ศูนยบานฟอนเทเลเซ็นเตอร โรงเรียนชุมชนบานฟอนวิทยา อําเภอเมืองจังหวดั ลาํ ปาง - บานอินเทอรเน็ต ที่ทําการกลุมออมทรัพยสตรีทอผาไหมเพื่อการผลิต บานสวายจะ อาํ เภอเมือง จังหวดั สรุ นิ ทร - เกวียนหักอนิ เทอรเน็ต ศนู ยเ ศรษฐกจิ ชมุ ชน อําเภอขลงุ จงั หวดั จันทบรุ ี - ศูนยบริการอินเทอรเน็ตทาตาล องคการบริหารสวนตําบล อําเภอบางกระทุม จงั หวดั พษิ ณุโลก 10. อินเทอรเน็ตสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ โดยบริษัท ทีโอที จํากัด(มหาชน) หรือท่ีเรียกวา “เน็ตหมูบาน” เปนการนํารอง มีการดําเนินการอยูในพ้ืนที่ตาง ๆ เชน จังหวัดขอนแกน จังหวัดหนองคาย จังหวัดบุรีรัมย เปนตน นอกจากนี้ยังมี “ตูอ นิ เทอรเ น็ตสาธารณะ” ตามสถานทตี่ าง ๆ 11. ศูนยคอมพิวเตอรเคล่ือนท่ี วัดสุทธิวาตวราราม จังหวัดสมุทรสาครเปนเพียงโครงการนํารองเพ่ือทดสอบความเปนไปไดเพ่ือการเขาถึง ICT ในชุมชนใหมากย่งิ ข้ึน โดยเฉพาะกลมุ เด็ก เยาวชนในชนบท 18  

Thai Telecentre: ศนู ยท ่ีตอ งเคลือ่ นดวย “ใจ” ของชุมชน 12. ศูนยการเรียนรู ICT ชุมชน ป พ.ศ. 2550 นับวาเปนจุดเปลี่ยนที่สําคัญคือ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารหรือท่ีมักเรียกกันสั้น ๆ จนติดปากวา “กระทรวง ICT” ไดกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยเพ่ือเขาสูสังคมแหงการสรางภมู ปิ ญ ญาและการเรียนรู (Knowledge Based Society) และการสรางคนในประเทศใหมีความรู ความสามารถเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงอยางเทาเทียมกันทั่วประเทศ โดยจัดทําโครงการจัดต้ังศูนยการเรียนรู ICT ชุมชน จํานวน 20 ศูนยฯ ตามดวย 40 ศูนยฯ และ 200 ศูนยฯ ในป พ.ศ.2550-2552 ตามลําดับ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแหลงการเรียนรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของเด็ก เยาวชนและชุมชน สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต และลดชองวางในการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ อีกทั้งการตอบโจทยในเรื่องของการสราง การสงเสริม และการชวยบํารุงรักษา “ทุนเดิม” หรือ”ภูมิปญญา” ของชุมชนโดยเปดโอกาสใหชุมชนสามารถท่ีจะนําภูมิปญญา ภูมิรูของตนเองออกเผยแพรสูสังคมภายนอกผานเว็บไซตศูนยกลางความรขู องชาติ (Thailand Knowledge Center: KTC) ที่ http://www.ktc.go.thวตั ถุประสงคข องการจัดตง้ั ศนู ยก ารเรยี นรู ICT ชุมชนของกระทรวง ICT 1. เพ่ือจัดต้ังศูนยการเรียนรู ICT ชุมชน ในสถานท่ีสาธารณะตาง ๆ ในชุมชนที่เหมาะสม เพ่ือพัฒนาศักยภาพของประชาชนและชุมชน ใหมีความรูเรื่องเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตเพื่อคนควาขอมูล ตอยอดความรู และสงเสรมิ การเรยี นรูตลอดชีวติ 2. เพ่ือสรางผูชํานาญการในชุมชนใหมีความรู ความชํานาญดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสามารถดูแลศูนย ฯ ไดดวยตนเอง 19  

Thai Telecentre: ศูนยที่ตอ งเคล่ือนดว ย “ใจ” ของชุมชน 3. เพื่อรวบรวมความรูภูมิปญญาทองถิ่น และสารสนเทศท่ีมีประโยชนตอการดํารงชีวิต การสรางงาน สรางอาชีพ ตลอดจนสนับสนุนการตัดสินใจของคนในชุมชนไดโดยมุง สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4. เพ่ือเปนส่ือกลางการแลกเปล่ียนขอมูลของคนในแตละชุมชน และระหวางชุมชน โดยเฉพาะเร่ืองภูมิปญญาทองถิ่น เกษตรกรรม การสรางอาชีพ แลกเปล่ียนประสบการณ และตอ ยอดความรูของชมุ ชน 5. เพื่อลดชองวางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Digital Divide)โดยประชาชนสามารถเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ และมีการสอดแทรกคุณธรรมวัฒนธรรมอันดีงามที่เหมาะสมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศใหเยาวชน รวมถึงเปนชองทางการเขาถึงบรกิ ารภาครฐั (e-Services)เปาหมายของโครงการศูนยก ารเรยี นรู ICT ชุมชนของกระทรวง ICT มุงที่จะใหชุมชนทั่วประเทศ โดยเฉพาะชุมชนที่มีโอกาสนอยกวาชุมชนอ่ืน(the Less) แตมีความพรอมที่จะเรียนรูและตองการท่ีจะนํา ICT ไปใชเพ่ือใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาชุมชนรวมกัน ดังน้ันเปาหมายหลักของโครงการศูนยการเรียนรู ICT ชุมชนจงึ ประกอบดว ยประเดน็ หลัก ๆ ดังตอ ไปนีค้ อื 1. สรางศูนยการเรียนรู ICT ชุมชน เพื่อท่ีจะใหชุมชนสามารถเขาถึงและใชประโยชนจากขอมูลตาง ๆ ที่มีอยูอยางมากมาย และเปนแหลงสืบคนขอมูลประจําชมุ ชน สามารถแลกเปล่ียนความรู ประสบการณระหวา งชมุ ชนได 2. เปนศูนยกลางของคนในชุมชนในการแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณและใหคาํ ปรกึ ษาในเรอื่ งตาง ๆ เชน สุขภาพ อาหาร อาชีพ เกษตรกรรม กฎหมาย ฯลฯตามทช่ี มุ ชนตองการ 20  

Thai Telecentre: ศนู ยที่ตอ งเคลื่อนดว ย “ใจ” ของชมุ ชน 3. เปนชองทางสําหรับการจัดจําหนายสินคา ผลิตภัณฑของชุมชน เชนสินคา OTOP รวมทั้งสามารถที่จะแลกเปล่ียนความรูประสบการณเกี่ยวกับสินคา การเพม่ิ ชองทางทางการตลาด ฯลฯ 4. เปนสถานที่รับบริการของภาครัฐ (e-Services) ในรูปแบบตาง ๆ ไมวาจะเปนขอมูล เชน ขอมูลทะเบียนราษฎร สุขภาพ หรือบริการตาง ๆ ที่ภาครัฐไดพัฒนาในรูปแบบอิเล็กทรอนกิ ส เชน การชาํ ระภาษี การจดทะเบยี นนติ บิ ุคคลขนั้ ตอนการดําเนินงานการจดั ตั้งศนู ยก ารเรียนรู ICT ชมุ ชนของกระทรวง ICT 1. ประชาสมั พันธศนู ยการเรียนรู ICT ชมุ ชน 2. สํารวจขอมูลจากชุมชน เพื่อทราบขอมูลพื้นฐาน ความตองการ ความจําเปน และศกั ยภาพในการบริหารงานศนู ยฯ 3. คัดเลือกชุมชนท่ีมีศักยภาพและสามารถดูแลศูนยฯ ในปตอ ๆ ไปได โดยกระทรวงฯ สนบั สนนุ งบประมาณพื้นฐานเฉพาะในปแรกท่ีศูนยฯ ไดรับการจัดสรร โดยเนนพื้นที่ที่โอกาสนอยกวาพื้นที่อื่น ไดแก 1) ในพ้ืนท่ีหางไกล หรือบนพื้นที่สูง ตามสถานีโครงการ หรือโครงการตามพระราชดําริ หรือมูลนิธิ หรือโรงเรียนที่อยูนอกระบบการศึกษาปกติ 2) ในชนบทหางไกล เพ่ือสงเสริมประชาชนในกลุมเกษตรกรรม และสงเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ 3) ในชุมชนสําหรับผูดอยโอกาส หรือชุมชนแออดั ท้งั ในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด 4. ดาํ เนนิ การจดั หาและติดต้ังระบบคอมพิวเตอรในชุมชนดังกลาว แยกเปน 4ขนาด คือ ขนาดเลก็ (S) ชมุ ชนละ 6 เคร่อื ง ขนาดกลาง (M) ชมุ ชนละ 11 เคร่ือง ขนาดใหญ (L) ชุมชนละ 16 เคร่ือง ขนาดใหญมาก (XL) ชมุ ชนละ 21 เครือ่ ง 21  

Thai Telecentre: ศนู ยทตี่ องเคลื่อนดวย “ใจ” ของชุมชน 5. พัฒนาระบบสารสนเทศที่สามารถจัดเก็บ รวบรวมความรูตาง ๆ รวมถึงภูมิปญญาทองถ่ิน และสามารถใหสารสนเทศที่เหมาะสม เพื่อประโยชนสําหรับชุมชนและการตดั สินใจของคนในชมุ ชน 6. จัดสัมมนาเพ่ือสรางความเขาใจเกี่ยวกับหนาที่ ความรับผิดชอบของผูดูแลศนู ยฯ 7. จัดการอบรมดานเทคนิคใหแกผูดูแลศูนยฯ เพ่ือใหสามารถดูแลศูนยฯ และจดั อบรมใหก ับคนในชุมชน โดยจะอบรมในหลกั สตู รตา ง ๆ ไดแก คอมพิวเตอรเ บอ้ื งตนและอินเทอรเน็ต การออกแบบเว็บไซต การดูแลเว็บไซต ระบบเครือขายและการดูแลการประกอบและซอมคอมพิวเตอร 8. จัดอบรมใหแกคนในชุมชน ผูดูแลศูนยฯ โดยเนนกระบวนการใหเกิดการเรียนรู สามารถใหประชาชนสืบคนขอมูลท่ีจําเปน สามารถแลกเปล่ียนความรูประสบการณระหวา งชุมชนได 9. นําความรูจากชุมชนเผยแพรในศูนยกลางความรูของชาติ (ThailandKnowledge Center: TKC) http://www.tkc.go.th 22  

Thai Telecentre: ศนู ยท ี่ตอ งเคลื่อนดวย “ใจ” ของชมุ ชนสรุปภาพรวมศนู ยเทเลเซน็ เตอรใ นประเทศไทย ชื่อโครงการ หนวยงานหลัก ที่ติดตอศนู ยสารสนเทศชมุ ชน วิทยาลยั การสาธารณสุข จุฬาฯ www.maemoh.comโครงขา ยพัฒนาชนบทไทย เทเลเซ็นเตอรฉ บับนกั ศกึ ษา www.thairuralnet.orgโครงการสง เสรมิ อาชพี มลู นิธกิ ระจกเงา www.ebannok.com(รานอบี านนอก)บานสามขาเทเลเซน็ เตอร ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคเหนอื อ.แมท ะ จ. ลาํ ปาง เครอื ซีเมนตไ ทย มูลนธิ ศิ ึกษาพัฒน มูลนธิ ิศนู ยขอ มูลและสารสนเทศ ไทยคม www.codi.or.thชุมชน สถาบันพฒั นาองคกรชมุ ชน (พอช.)ศูนยเ รยี นรูช ุมชน www.ccdweb.go.th สาํ นักสง เสริมและพฒั นาศกั ยภาพชุมชนโครงการนาํ รองศนู ย กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย www.t-centre.comโทรคมนาคมและ บรษิ ทั ล็อกซเลย จํากัด มหาชนสารสนเทศในชนบท www.bacc.or.thศูนยเรยี นรูครูเกษตร ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณ การเกษตร www.microsoft.com/tศูนยก ารเรยี นรไู อทีเพ่อื บริษัทไมโครซอฟต hailand/ชมุ ชน (Microsoft unlimitedpotential/Unlimited Potential)ศูนยสงเสรมิ การเรียนรู มลู นิธิศกึ ษาพัฒน มูลนธิ ิไทยคม อ.นางรอง จ. บุรีรมั ยคอมพวิ เตอรและ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย www.dola.go.thอินเทอรเ นต็ –บานนา นอยโครงการอินเทอรเนต็ ตาํ บล 23  

Thai Telecentre: ศนู ยท ต่ี องเคล่ือนดว ย “ใจ” ของชมุ ชน ชอื่ โครงการ หนวยงานหลัก ทตี่ ิดตอ www.khonthai.com\"หนง่ึ ชมุ ชน หน่งึ ศนู ยก าร สาํ นักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม www.thaihealth.or.th/เรียนรู\" กญุ แจสูสงั คม สุขภาพ (สสส.)เขมแข็ง www.tot.co.thอินเทอรเนต็ สาธารณะ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน)เฉลมิ พระเกยี รติ www.chonglom.comศูนยคอมพวิ เตอรเ คล่อื นที่ วดั สุทธิวาตวราราม จ.สมุทรสาคร www.thaitelecentre.ศนู ยการเรียนรู ICT ชมุ ชน กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ org สือ่ สาร \"หน่งึ ชมุ ชน หน่ึงศูนยก ารเรียนรู\" กุญแจสูสงั คมเขม แขง็ศนู ยก ารเรยี นรไู อทเี พื่อชุมชน 24  

Thai Telecentre: ศนู ยท ี่ตอ งเคล่อื นดว ย “ใจ” ของชมุ ชน2) ศูนยก ารเรยี นรู ICT ชมุ ชนในตางประเทศ :เขาทาํ อยา งไรกนั บาง? เปนการศกึ ษาจากศูนยเ ทเลเซน็ เตอรท่ดี าํ เนินการในประเทศตาง ๆ ท่ีมีผลงานที่ไดรับการยอมรับวาประสบความสําเร็จในระดับหน่ึง และสามารถเปนตัวอยางใหกับศูนยการเรียนรู ICT ชุมชนของไทยหรือศูนยเทเลเซ็นเตอรของไทยได ดังที่ Thorntonกลาววา “จงเรียนรูจากสิ่งท่ีย่ิงใหญหรือสําเร็จมาแลว เพื่อที่จะพัฒนาในสวนของเราตอ ไป” ก็จะคลาย ๆ กับคนไทยท่ีมักสอนลูกหลานใหดูตัวอยางท่ีดี มีเพ่ือนท่ีดี เปนตนในท่ีนี้ก็จะเร่ิมท่ีประเทศอินเดีย เพราะเปนประเทศในทวีปเอเชียที่มีการพัฒนาและใชประโยชนจากศูนยฯ ในระดับสูง เพราะมีการดําเนินงานของศูนยฯ ท่ีสามารถเขาถึงประชากรกลุมเปาหมายไดอยางหลากหลาย ตามดวยบราซิลซ่ึงถือเปนตัวแทนกลุมประเทศลาตินอเมริกาที่ประสบความสําเร็จ และบางประเทศในกลุมทวีปแอฟริกาใตนอกจากน้ันก็จะกลุมประเทศท่ีพัฒนาแลว เชน โครงการ Telework ของประเทศญ่ีปุนโครงการ RCST ของประเทศแคนาดา ประเทศฮังการี ฯลฯ ดังตัวอยางโดยสังเขปตอ ไปนี้คือ 25  

Thai Telecentre: ศูนยท่ีตอ งเคล่ือนดว ย “ใจ” ของชุมชน ประเทศอนิ เดีย จากสถิติของศูนยวิจัยเพ่ือการพัฒนาในระดับสากล (InternationalDevelopment Research Centre : IDRC) ในปค.ศ.2008 หรือพ.ศ.2551 ท่ีทําการศึกษาพบวา การเติบโตของเทเลเซ็นเตอรในทวีปเอเชียนับวาสูงที่สุดในโลกในปจจุบัน โดยเฉพาะในประเทศอินเดียที่มีการใชเทเลเซ็นเตอรในรูปแบบที่หลากหลายและคอนขางประสบความสําเร็จในการชวยลดชองวาง (digital gap) รวมทั้งการทําหนา ที่ในสว นของการสรางเสรมิ ศกั ยภาพของคนในระดบั ตา ง ๆ โดยเฉพาะคนในระดับชมุ ชนใหส ามารถทจี่ ะพฒั นาตนเอง พัฒนาโอกาส เพ่ือการเปนอยูท่ีดีขึ้นและเทาเทียมมากขึน้ ดงั ตัวอยา งบางโครงการฯ เชน 26  

Thai Telecentre: ศนู ยท ต่ี องเคลื่อนดว ย “ใจ” ของชุมชน1) โครงการ Akshaya Telecentres Akshaya หรืออานวา “อักชายา” เปนโครงการของรัฐบาลในรัฐ Kerala ซ่ึงเริ่มตนขึ้นในป ค.ศ.2002 โดยมีจังหวัดนํารองคือ Malappuram ซึ่งเปนจังหวัดท่ีอยูทางใตของรัฐ Kerala โครงการนี้ไดรับทุนสนับสนุนจากรัฐบาลเพ่ือใหจัดการรณรงคเก่ียวกับการเรียนรูสื่อ ICT (e-literacy) ดังน้ันโครงการน้ีจึงมุงสอนทักษะทางคอมพิวเตอรใหแกบุคคลอยางนอย 1 คนตอ 1 ครอบครัว ในเวลา 1 ป หรือคิดเปนประชากรมากกวาครึ่งลาน และประมาณรอยละ 65 ของประชากรดังกลาวเปนผูหญิงโดยจัดใหมกี ารอบรมเก่ยี วกับทักษะคอมพิวเตอรเ บอ้ื งตน รูปแบบการบริหารจัดการ : เปนรูปแบบของผูไดรับสัมปทานเอกชน และดําเนินงานในรูปแบบของบริษัทเอกชน โดยท่ีรัฐบาลจะเปนผูใหกูเงินเพ่ือกอต้ังศูนยฯข้ึนมา แตละศูนยฯ จะมีผูเรียนโดยประมาณ 1,000 คน และเสียคาใชจาย 3.26ดอลลารสหรัฐตอผูเรียน 1 คน (คิดเปนเงินไทยประมาณ 100 กวาบาท) สําหรับหลักสูตรคอมพิวเตอรเบ้ืองตน คาใชจายน้ีจะจายโดยสวนราชการทองถ่ิน 2.79ดอลลารสหรัฐ และผเู รยี น 0.47 ดอลลารส หรฐั เปน ระยะเวลาประมาณ 1 ป 27  

Thai Telecentre: ศนู ยท่ตี องเคลอื่ นดวย “ใจ” ของชมุ ชน การใหบริการท่ีศูนย Akshaya : โดยทั่วไปศูนย Akshaya จะใชวิธีการจางพนักงานประจําประมาณ 3-4 คน และมีคอมพิวเตอรประมาณ 5-9 เคร่ือง โดยศูนยฯจะใหบรกิ ารหลกั ๆ ดังตอไปน้ี 1. การใหความรเู ก่ียวกับการใชค อมพิวเตอรใ นโปรแกรมตา ง ๆ (e-literacy) 2. การใหความรูโดยใสเนื้อหา (e-Contents) เชน ดานการศึกษาจะใสเกีย่ วกบั หลักสูตรของโรงเรยี น ของมหาวิทยาลัย เปนตน นอกนน้ั ก็จะเปนเน้ือหาตาง ๆท่ีชุมชนตองการ เชน ดานสุขภาพ ดานการพัฒนาอาชีพ ดานการดําเนินชีวิต ดานการเกษตร ดานกฎหมาย ฯลฯ 3. ใหบริการคอมพิวเตอร เชน ภาพถายดิจิตัล การพิมพ การคนขอมูลทางอนิ เทอรเนต็ เปน ตน 4. ใหบริการทางการเงิน เชน ธนาคารและการประกนั การจา ยเงินผานระบบอินเทอรเน็ตเพ่ือชําระคาบริการตาง ๆ เชน คาโทรศัพท คานํ้า คาไฟ คาประกัน คาดอกเบีย้ ฯลฯ 5. ใหบริการสงขาวสําคัญ หรือขาวท่ีเปนเฉพาะบุคคล เฉพาะเร่ือง เฉพาะองคกรท่จี ะตอ งเสยี คาบรกิ ารพเิ ศษ 6. ใหบริการพิเศษหรืออํานวยความสะดวกสําหรับชมรมเด็ก ชมรมผูหญิงชมรมเกษตรกร ฯลฯ 7. ใหบ รกิ ารเกีย่ วกับการทาํ แผนท่สี ุขภาพของชุมชน 8. ใหบริการเก่ียวกับการทําแผนท่ีทรัพยากรของชุมชน การทําแผนท่ีความหลากหลายทางชีวภาพชมุ ชน ฯลฯ 28  

Thai Telecentre: ศนู ยท ต่ี องเคลื่อนดว ย “ใจ” ของชุมชน ปจ จยั ทท่ี ําใหศ นู ย Akshaya ยงั่ ยืน : 1. การเรียนรูและตอยอดจากประสบการณ โดยมีขยายผลอยางเปนระบบและตอเน่ือง บนฐานบทเรียนหรือการเรียนรูและประสบการณที่ไดทําแลวจากศูนยฯ นาํ รอง 600 แหง โดยขยายท้ังขนาดและจาํ นวนศนู ยฯ มากขนึ้ ครอบคลมุ ทว่ั ทงั้รัฐ Kerala โดยมจี ดุ มงุ หมายอยทู ่ี 6,000 ศนู ยฯ 2. แหลงทุนสนับสนุน โครงการนี้ไดรับทุนสนับสนุนขั้นตนสวนหน่ึงจากรัฐบาล อีกสวนหน่ึงมาจากผูเขารับการอบรม รวมท้ังจากกิจกรรมการหารายไดอ่ืน ๆของศนู ยฯ เอง 3. การดําเนินการในรูปแบบบริษัทเอกชน ทําใหศูนยฯ สามารถบริหารจัดการและเล้ียงตัวเองได ทํากําไรได ซึ่งถือเปนปจจัยหน่ึงท่ีกอใหเกิดความยั่งยืนในระยะยาว 4. อุปสรรคในการดําเนินงาน ปญหาหน่ึงในการดําเนินการ คือ เร่ืองของพลังงานที่ไมเพียงพอ โดยเฉพาะในพื้นท่ีชนบทที่หางไกล ซ่ึงปญหาน้ีสามารถแกไขไดโดยการใชพ ลังงานแสงอาทิตย 5. การติดตาม ประเมินผลโครงการฯ เปนโครงการฯ ท่ีเนนการพึ่งพาตัวเอง โดยไดรับการสนับสนุนในข้ันตนจากรัฐบาล แลวมอบใหเอกชนทําสัมปทานตอจากนั้นทางศูนยฯ ตองรายงานผลการดําเนินงานเพ่ือใหรัฐบาลทราบ จึงอาจกลาวไดวา ผลสําเร็จของการดําเนินงานขึ้นอยูกับการสนับสนุนในขั้นตนจากรัฐบาล จากน้ันจะเปนการบริหารจัดการที่เนนการดําเนินงานท่ีพึ่งตนเอง บนฐานของความตองการของชมุ ชน “การอยไู ดของศูนยฯ” จงึ เปนตัวชว้ี ัดทีใ่ ชในการประเมินโครงการฯ การพัฒนาที่ชัดเจนเกิดจาก นโยบายท่ีชัดเจน เกิดจากการเรียนรูและประสบการณที่ชัดเจน อันจะนําพาไปสูความสําเร็จของการพัฒนาที่ชัดเจนตามที่ตองการรว มกนั 29  

Thai Telecentre: ศูนยท ่ตี อ งเคลือ่ นดว ย “ใจ” ของชุมชน2) โครงการ E-Choupal : ศูนยฯ ทมี่ งุ พัฒนาการเกษตร E- Choupal หรืออานเปนภาษาไทยวา “อี โชปอล” เปนอีกตัวอยางหน่ึงที่นาสนใจในการใช ICT เพ่ือการพัฒนาเกษตรกรของอินเดีย โดยเริ่มต้ังแตการเปดโอกาสใหเกษตรกรสามารถที่จะเขาถึงเทคโนโลยีและอินเทอรเน็ตกอน ทั้งน้ีเปนเพราะวา ประชากรมากกวารอยละ 72 ของประเทศอินเดียอาศัยอยูในหมูบานมากกวา600,000 แหง และดําเนินชีวิตดวยการทาํ การเกษตร ถึงแมวาจะมีการพัฒนาตามแนว“ปฏิวัติเขียว” (การปลูกพืชเชิงเดี่ยวจํานวนมากเพื่อขาย/สงออก) มาต้ังแตป ค.ศ.1960-1970 แตประชากรสวนใหญของประเทศยังคงมีฐานะยากจน เพราะสวนใหญเปนเกษตรกรท่ีขาดอํานาจในการตอรองราคาเมื่อมีการซื้อขายผลิตภัณฑทางการเกษตร ทั้งนี้เปนเพราะขาดการเขาถึงขอมูลท่ีแทจริงเก่ียวกับราคา ขาดขอมูลสําคัญเก่ียวกบั การผลติ เชน สภาพอากาศ หรือขาวสารอื่น ๆ ท่ีจะสามารถเอ้ือตอการตัดสินใจ หรือการพัฒนากระบวนการทําการเกษตรได กลุมเปาหมายหลักของโครงการนจ้ี ึงเปน กลุมเกษตรกร รูปแบบของการบริหารจัดการของ E-Choupal : เกษตรกรทองถ่ินจะทําหนาท่ีเปนผูประสานงานเพื่อดําเนินโครงการศูนย e-Choupal และบอยครั้งศูนยฯ จะตั้งอยูในบานของผูประสานงานรวมกับหนวยงานในทองถ่ิน คาใชจายสําหรับการกอต้ังแตละศูนยฯ ในโครงการฯ จะอยูระหวาง 3,000 ถึง 6,000 ดอลลารสหรัฐฯ คิดเปนเงินไทยประมาณ 100,000-200,000 บาท และคาใชจายในการบํารุงรักษาจะอยูประมาณ 100 ดอลลารสหรัฐตอป คิดเปนเงินไทยประมาณ 3,500 บาท เกษตรกรไมตองเสียคาใชจายในการใชระบบบริการดังกลาว แตผูประสานงานจะมีคาใชจายในการดําเนินงานและถอื เปนหนาท่ีรับผิดชอบทจ่ี ะตอ งบรกิ ารท้งั ชมุ ชน ซ่งึ ผูประสานงาน 30  

Thai Telecentre: ศูนยท ี่ตอ งเคล่อื นดว ย “ใจ” ของชุมชนจะไดรับผลประโยชนจากบารมีและเครือขายที่เพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ รวมท้ังคานายหนาจากการซอ้ื ขายของที่เกิดขึน้ ในศูนย e-Choupal ทั้งหมด เทคโนโลยี ICT ที่ใช : คอมพิวเตอรโดยท่ัวไปจะติดต้ังในบานของเกษตรกรและเช่ือมตอกับระบบอินเทอรเน็ตผานสายโทรศัพท หรือโดยการติดตอผานระบบดาวเทียม (VSAT connection) และใหบริการแกเกษตรกรโดยเฉล่ีย 600 คน ใน 10หมูบานท่ีอยูรอบ ๆ ในรัศมี 5 กิโลเมตร ปญหาสําคัญคือพลังงานไมเพียงพอหรือpower supply มีคุณภาพตํ่า แบตเตอร่ีท่ีใชเปนระบบ UPS แมจะสามารถทําการback up ไดตลอดเวลาดว ยพลังงานแสงอาทติ ยก ย็ ังไมเ พยี งพอกบั การใชง าน การใหบรกิ ารท่ศี นู ย e-Choupal : 1. การตรวจสอบราคาพืชผลในแตละวัน หรือหาขอมูลเก่ียวกับเทคนิคหรือเทคโนโลยีใหม ๆ ทางการเกษตรไดอ ยา งหลากหลาย 2. การส่ังซอ้ื เมลด็ พนั ธุ ปยุ และผลติ ภัณฑอ ่นื ๆ จากบรษิ ัทหุนสวนในราคาท่ีต่ํากวาพอคาคนกลาง และเม่ือถึงเวลาเก็บเก่ียว ศูนยฯ ก็จะเสนอซ้ือผลผลิตโดยตรงจากเกษตรกรที่ราคาปดของวันกอนหนา ซ่ึงเกษตรกรจะขนสงพืชผลทางการเกษตรของตนเองไปยังศูนยฯ เพ่ือทําการชั่งนํ้าหนักและประเมินคุณภาพ หลังจากน้ันเกษตรกรจะไดรบั เงนิ สาํ หรบั พชื ผลทางการเกษตรพรอ มคา ธรรมเนยี มในการขนสง นอกจากน้ียังมีระบบใหรางวัลหรือเพ่ิมราคา ตลอดจนบริการพิเศษตาง ๆ(Bonus point) สําหรับพืชผลทางการเกษตรท่ีมีคุณภาพสูงกวาทั่วไป และสามารถนํามาแลกเปล่ียนเปนผลิตภัณฑที่ศูนยฯ มีขายหรือใหบริการอยู รวมท้ังการใหบริการในการส่ังซอ้ื จากสวนกลาง หรอื จากเครอื ขา ย ซง่ึ จะทําใหไ ดรับราคาท่ถี กู มากยิง่ ข้ึน 31  

Thai Telecentre: ศนู ยทีต่ อ งเคล่ือนดว ย “ใจ” ของชมุ ชน ปจจัยทีท่ าํ ใหศ ูนย e-Choupal เกดิ ความย่ังยืน: ระบบการบริหารจัดการของศูนย e-Choupal สามารถพัฒนาเกษตรกรไดอยางหลากหลายมิติ โดยเฉพาะการฝกใหเกษตรกรสามารถวางแผนและควบคุมระบบการผลิตรวมทั้งระบบอื่น ๆ ที่เก่ียวของดวยตนเอง เชน พวกเขาจะสามารถตัดสินใจไดถูกตองมากขึ้นวาควรจะปลูกอะไร ราคาเทาไหรที่จะสามารถขายได ผลกําไรสูงสุดตอผลผลิตที่ควรจะได ขอมูลเกี่ยวเทคโนโลยีเพ่ือการปรับปรุงผลผลิตตาง ๆคณุ ภาพผลผลิต ซงึ่ ทาํ ใหร ะบบการเกษตรของอินเดยี สามารถพัฒนาขีดความสามารถสกู ารแขงขนั ที่สูงขน้ึ เร่ือย ๆ นอกจากนี้หมูบา นหรือชมุ ชนก็ยงั ไดรับประโยชนใ นรปู แบบท่ีหลากหลาย เชน เด็กใชคอมพิวเตอรบอยข้ึนเพ่ือทําการบานและเพ่ือใหไดรับขอมูลเก่ยี วกับผลการทดสอบของโรงเรียน ปจจุบันศูนย e-Choupal มีอยูจํานวน 5,200 แหงในรัฐ Madhya, Pradesh,Karnataka, Andhra Pradesh, Uttar Pradesh, Maharashtra และ Rajastha มีเครือขายเกษตรกรมากกวา 3.5 ลานคนใน 31,000 หมูบาน และแตละศูนยฯ สามารถใหบริการไดจํานวน 10 หมูบานภายในรัศมี 5 กิโลเมตร อีกทั้งยังไดมีการกําหนดวิสัยทัศนหรือแผนการพัฒนาในอีก 10 ปขางหนาวาจะขยายศูนยฯ ออกไปในอีกพ้ืนที่15 รัฐ และสามารถทจ่ี ะใหบรกิ ารทท่ี วั่ ถึงท้ัง 100,000 หมูบา น และกอใหเกดิ ประโยชนตอการพฒั นาเกษตรกร และประชากรโดยรวมท้ังหมดประมาณ 10 ลา นคน โครงการ e-Choupal เปนโครงการที่ไดรับการกลาวขาน และไดรับรางวัลในการพัฒนาเกษตรกร และชุมชนชนบททั้งในระดับประเทศ และในระดับสากลอยางตอ เนือ่ งจวบจนกระท่ังปจ จบุ ัน 32  

Thai Telecentre: ศนู ยท ี่ตองเคล่อื นดว ย “ใจ” ของชุมชน3) โครงการ TARAhaat TARAhaat หรืออานเปนภาษาไทยวา “ตาราฮัท” หมายถึง “ตลาดชั้นนํา”หรือ “ตลาดติดดาว” ท่ีมีการใช ICT ในการเช่ือมโยงระหวางชาวบาน ขอมูลขาวสารการบริการตาง ๆ ของสังคม ภาคบันเทิงและรูปแบบการขายการตลาดท่ีหลากหลายดวยการใชเครือขายเฟรนไชสของศูนย ICT ตาง ๆ หรือระบบสัมปทาน (a network offranchised cyber centres) โดยมีลักษณะเดนคือ ทุกศูนยฯ สามารถปรับระบบจากสวนกลางเปนภาษาของตนและกําหนดประเภทของการบริการตาง ๆ ใหสอดคลองกับความตองการของชมุ ชนได หลักการสําคัญ 3 ประการของการขายหรือใหบริการ คือ 1) ตองเปนเน้ือหาที่ชุมชนตองการ 2) ตองทําใหเกิดการเขาถึงบริการ รวมทั้งการเอ้ือใหเกิดการเขาถงึ เนอ้ื หา 3) ตองสามารถทจ่ี ะเตมิ เต็มในสิง่ ท่ชี มุ ชนตอ งการไดอ ยางชดั เจน รูปแบบการบริหารจัดการของ TARAhaat.com จะมีการกําหนดเว็บไซตหลัก (portal web) ข้ึนมาเพื่อใหเปนจุดเชื่อมประสานเนื้อหาและบริการตาง ๆ ที่เพิ่มข้นึ และเปนปจจุบันอยา งตอ เนือ่ งตลอดเวลา การบรหิ ารจดั การเนอื้ หาตามทมี่ กี ารรองขอใชบริการ ดูแลเร่ืองการเขาถึงบริการตาง ๆ โดยทําการเชื่อมประสานระหวาง 33  

Thai Telecentre: ศนู ยทตี่ องเคล่ือนดว ย “ใจ” ของชมุ ชนศูนยกลางกบั รานคา จากแตละทอ งถนิ่ (local enterprises) และในการใหบ รกิ ารตาง ๆไมวาจะเปนบริการดานเนื้อหา ขอมูลขาวสาร สินคาผลิตภัณฑ ตลอดจนงานบริการตา ง ๆ จะบริหารจัดการโดยใชบริษัทรับ-สงสินคาและบริการในพื้นท่ีหรือในทองถ่ินน้ัน ๆหรือใชบริการของเครือขาย เชน TARAvans หรือรถรับสงท่ีเปนเครือขายของTARAhaat เอง ท้ังน้ีเว็บไซตหลักจะเปนศูนยกลางในการรายงาน เชื่อมประสาน รวมท้ังใหคําปรึกษาในกรณีท่ีมีการรองขอมาจากเครือขาย โดยการใชบริการก็จะมีการคิดคา บริการตามทีใ่ ชบ ริการจริง (user charge basis) กลุมเปาหมาย: เนนกลุมชุมชนชนบท กลุมเด็กเยาวชน กลุมนักเรียนนักศกึ ษา กลุมคาขายผลิตภณั ฑช มุ ชนและท่วั ไป ท้งั คาสง และคาปลีก เทคโนโลยีที่ใช: หลักการคือ การใชเว็บไซตเปนเคร่ืองมือท่ีสามารถเขาถึงคนทุกกลุมใหไดมากที่สุด โดยเฉพาะกลุมเปาหมายที่เปนชุมชนชาวชนบทท้ังท่ีเปนกลุม ทจ่ี นที่สุดและกลมุ ทีอ่ ยูในเมอื ง กลุม อุตสาหกรรม รวมทั้งกลุมคนทั่วไปและกลุมที่รวยท่ีสุด นับวาเปนโครงการที่มีการใชเทคโนโลยี ICT ท่ีมีความโดดเดนเฉพาะตัว มีความลงตัวกับผูใช โดยการออกแบบระบบแม (portal) หรือระบบกลางท่ีสามารถ 34  

Thai Telecentre: ศูนยทตี่ อ งเคลื่อนดว ย “ใจ” ของชุมชนรองรับการขยายตัวไดท้ังระดับแนวต้ังและระดับแนวราบ (vertical and horizontalportals) โดยออกแบบใหเชื่อมกับศูนย ICT ในรูปแบบตาง ๆ ท่ีกระจายอยูทั่วไปในพื้นที่หรือตามหมูบานตาง ๆ (rural kiosks, village cyber café) ท่ีตองการจะลงทุนรว ม รวมท้งั การเชื่อมโยงกับระบบการรับ-สงสินคา บรกิ ารตา ง ๆ ท่ลี งตัว จุดเดน หรือจุดที่สําคัญท่ีสุดคือ การใช Telecentre หรือศูนย ICT ในรูปแบบตาง ๆ ท่ีกระจายอยูท่ัวไปใหเปนจุดเช่ือมตอท่ีชุมชนสามารถท่ีจะเขามารับบริการตาง ๆโดยเฉพาะในพ้ืนท่ีท่ีไมสามารถเขาถึงดวยวิธีการท่ีปกติได แนวคิดและกลยุทธในการเชื่อมตอกับเครือขายอื่น ๆ หรือการผูกเชื่อมเปนเครือขายสัมปทานเดียวกัน(franchised telecenters : TARAkendras) จึงนับวาเปนกลยุทธที่สําคัญเพ่ือใหเกิดการเชอื่ มโยงสกู ารใหบ รกิ ารท่ีทั่วถงึ และเทา เทยี มมากทส่ี ุด การใหบริการที่ศูนย TARAhaat : ศูนย TARAhaat จะเนนการใหบริการและสินคาตาง ๆ รวมทั้งสินคาท่ีเปนนวัตกรรมตาง ๆ หรือสินคา / บริการที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา การปรับเปล่ียนเกี่ยวกับการใหบริการตาง ๆจะสามารถปรับเปลี่ยนไดตลอดเวลาบนฐานของความตองการของกลุมลูกคาท่ีหลากหลาย โดยประเภทของการใหบริการในศูนยฯ มักจะมุงเนนประเด็นหลัก ๆดังตอไปน้ี - บริการเก่ียวกับการศึกษาในรูปแบบตาง ๆ เชน หลักสูตรตาง ๆ เพ่ือการพัฒนาฝมือแรงงาน ท้ังในระบบ online และ offline ฯลฯ นับวาเปนรายไดหลักของศูนยฯ ในแตล ะพืน้ ท่ี - บริการเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารและการสรางสังคมโปรงใสเปนธรรมหรือสังคมเทาเทียม (e-governance) เชน ขอกําหนด กฎหมายตาง ๆ สุขภาพ วิถีชีวิตขอ มลู ขา วสารเกี่ยวกับประเภทสินคา และการใหบ รกิ ารตาง ๆ 35  

Thai Telecentre: ศูนยที่ตอ งเคลอื่ นดว ย “ใจ” ของชุมชน ตัวอยางประเภทสินคาและเครือขายการใหบริการตาง ๆ ที่มีใหบริการหลัก ๆในเวบ็ ไซตห ลัก (portal web) คือ - TARAdhaba ใหบริการเกย่ี วกบั การเขา ถึงโลกภายนอกทุกรูปแบบแกชุมชนหรือลูกคาท่ีอยูใ นชนบท เชน การตดิ ตอ สอ่ื สาร การใชอ นิ เทอรเ น็ต ฯลฯ - TARAbazaar ใหบริการเพื่อการเขาถึงสินคาและการบริการตาง ๆ ระหวางชมุ ชนกบั รา นคา อุตสาหกรรม และเกษตรกร เปน ลกั ษณะของรา นคาสง หรอื การคาสง - TARAvan ใหบรกิ ารเก่ยี วกบั การรบั -สงสินคาตามท่มี ีการส่งั มา - TARAdak ใหบริการเก่ียวกับการเชื่อมประสานการแตงงานของลูกสาวในครอบครัวชนบทตา ง ๆ - TARAguru บริการใหคําปรึกษาหรือใหคําแนะนําเก่ียวกับการทําธุรกิจชุมชน การคาขายหรือการประกอบกจิ การตาง ๆ - TARAscouts / TARAreporter การรวบรวมขอมูล เน้ือหาตาง ๆ เพื่อการใหบ รกิ ารตามท่มี ีการขอ หรือการซ้อื ทเี่ ปนลักษณะพิเศษหรือสงั่ พเิ ศษ - TARAvendor การใหบริการสินคาปลีกหรือผลิตภัณฑตาง ๆ โดยการเช่ือมประสานกับ TARAbazaar - TARAcard การใหบ ริการชุมชนในการซือ้ ขายสนิ คา ดวยเงินเชอื่ (credit) ปจจยั ทที่ าํ ใหโ ครงการ TARAhaat เกดิ ความยั่งยืน: 1. มกี ารพฒั นาศกั ยภาพใหกับเครือขา ยทุกกลมุ ทง้ั ระบบอยา งมืออาชพี 2. มีระบบการดูแลเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมืออาชีพ พรอมใชงานตลอด24 ช่วั โมงและมกี ารโยงใยเชอ่ื มตอกนั ทั้งระบบทวั่ ประเทศ 36  

Thai Telecentre: ศูนยท่ตี อ งเคลอื่ นดว ย “ใจ” ของชุมชน 3. มีการบริหารจัดการระบบท่ีเปนองครวม เพ่ือใหการดําเนินการสามารถท่ีจะเทาทันและตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ได ไมวาจะเปนกลุมลูกคา กลุมคูคา กลุม อตุ สาหกรรมและกลุมเทคโนโลยีตาง ๆ รวมท้งั กลมุ นโยบายตา ง ๆ อปุ สรรคในการดาํ เนนิ งาน: เน่ืองดว ยโครงการ TARAhaat เปนองคกรขององคกรพัฒนาภาคเอกชน (NGOs) การที่จะไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐมีนอยมากและการท่ี TARAhaat เนนที่การทําธุรกิจชุมชน การพ่ึงพาตนเอง กิจกรรมดังกลาวจึงยังไมเหมาะสมกับบางพื้นที่ที่อยูหางไกลมากหรือบางพ้ืนท่ีที่ยังไมมีความพรอม หรือพื้นท่ีท่ีไมมีกําลังซ้ือมากพอหรือไมคุมทุน เพราะการดําเนินงานของศูนยฯ ตองมีกําไรไวเ พื่อเลี้ยงและพฒั นาตวั เองอยา งตอเนอ่ื ง4) โครงการ MS SWAMINATHAN (MSSRF) : The Village Knowledge Centres โครงการ MS SWAMINATHAN (MSSRF) หรือเรียกวา “โครงการสะแวมมินาธาน” หรือ “โครงการศูนยความรูของหมูบาน” (The Village KnowledgeCentres) ต้ังอยูที่รัฐ Chennai เปนองคกรพัฒนาภาคเอกชน (NGO) ที่ดําเนินการมามากกวา 20 ป โดยมุงสรางความเทาเทียมใหกับสังคม เพื่อนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืนรวมกัน จุดเดนของโครงการนี้คือ การเนนหลักการของการพัฒนาอยางมีสวนรวม MSSRF เริ่มมีการจัดตั้ง “ศูนยความรูของหมูบาน” (Village Knowledge Centre: VKCs) ท่เี มอื ง Pondicherry ในป ค.ศ.1998 รูปแบบการบริหารจัดการ: MSSRF เริ่มโครงการครั้งแรกดวยการสํารวจความตองการของชุมชนอยางจริงจัง โดยทําการสํารวจชุมชนจํานวน 5,000 ครัวเรือนจาก 13 หมูบาน เปนจํานวนทั้งหมด 20,000 คน เพื่อประเมินปญหา ความตองการความจําเปนตาง ๆ ความยากจน การศึกษา และการรูเทาทันในเรื่องตาง ๆ เพ่ือการ 37  

Thai Telecentre: ศูนยท่ีตอ งเคล่ือนดวย “ใจ” ของชุมชนเอาตัวรอดหรือเพื่อการยังชีพ รวมท้ังการสํารวจระบบโครงสรางพื้นฐานทางโทรคมนาคม วิถีชีวิต ชองทางการสื่อสารตาง ๆ ท้ังนี้ก็เพ่ือตองการตรวจสอบชองวางตาง ๆ ที่มีอยูอยางชัดเจนดวย จากนั้นจึงนําไปสูการวางแผนเพื่อเติมเต็มความตองการตา ง ๆ ใหไ ดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพมากทส่ี ดุ ประเดน็ ทเ่ี ปนพ้ืนฐานของความสําเร็จอยางย่ังยืนของโครงการน้ีคือ การศึกษาชุมชนกอ น โดยเฉพาะเร่ืองปญหา ความตอ งการของชุมชน จากนั้นจึงทําการออกแบบรวมทั้งพัฒนาเน้ือหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับชุมชน วิธีการเขาถึงและใชประโยชนจากเนือ้ หาเหลา น้ันทงั้ เพอื่ การยังชพี และเพื่อการพฒั นาตอ ยอดไปเร่อื ย ๆ ดังนน้ั รปู แบบแรกทเี่ กิดขึน้ คือ “ศนู ยก ลางการสื่อสารของหมูบาน” (Hub-and-Spoke Model with one village) เพ่ือท่ีจะใหเปนจุดในการเช่ือมประสานกับเครือขายอ่ืน ๆ ดวยระบบอินเทอรเนต็ กลุมเปาหมาย: เนนกลุมชุมชนชนบทท่ีไมสามารถที่จะเขาถึงขอมูลขาวสารท่ีจําเปนตาง ๆ เชน ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับความอยูรอด เกี่ยวกับการพัฒนาตนเองเกยี่ วกับการพฒั นาชมุ ชน เทคโนโลยี ICT ที่ใช: ระบบอินเทอรเน็ตและเครือขายการเช่ือมโยงขอมูลขาวสารทีเ่ ก่ียวของจากแหลง ทรพั ยากรตาง ๆ รวมทงั้ จากหนว ยงานตา ง ๆ การใหบริการท่ีศูนย MSSRF: เปนการใหบริการเกี่ยวกับขอมูลขาวสารเปนหลัก ตามดวยการใหบริการเกี่ยวกับการใหคําปรึกษาในประเด็นการพัฒนาตาง ๆ ที่ชุมชนตองการ รวมทั้งการทําหนาที่ในการเปนจุดเชื่อมประสานกลาง (hub) ของทุกหนวยงาน และทุกพื้นที่หรือหมูบานตาง ๆ ท่ีเขามาทํางานเพ่ือชุมชน รวมทั้งการใชบริการตา ง ๆ รวมกนั เพอื่ ใหเ กิดประโยชนสงู สดุ รว มกนั 38  

Thai Telecentre: ศนู ยท ่ตี อ งเคลอื่ นดวย “ใจ” ของชุมชน ปจจัยทที่ ําใหศ ูนยฯ MSSRF ย่งั ยืน: 1. กลยุทธของการมีสว นรวม นับวาเปน กลยุทธห ลักของโครงการฯ การใหชุมชนเปนเจาของ และการมเี นอื้ หาทเ่ี กยี่ วขอ งกบั ความตองการของชุมชนท่ีแทจริง 2. กลยุทธของการใชระบบอาสาสมัคร การแลกเปลี่ยน การรวมใชทรัพยากรตาง ๆ ท่ีมีอยูในชุมชน หรือในพื้นที่รวมกันไมวาจะเปนหนวยงานตาง ๆ ที่เก่ยี วของ และระหวางชมุ ชนดว ยกนั เอง ขอ สังเกตเก่ยี วกบั การดําเนินงานของศูนยฯ MSSRF: เน่ืองดวยโครงการ MSSRF เปนองคกรพัฒนาท่ีมุงเนนการพัฒนาเพ่ือสรางความเทาเทียม การใหบริการจนถึงปจจุบันไมมีการเก็บคาบริการ เพราะองคกรไดรับการยอมรบั และไดร ับการสนับสนุนจากหลายองคกรทัว่ โลก รวมท้งั ไดร บั การสนบั สนนุจากองคกรภาครัฐดวย แตการใหบริการฟรี หรือการท่ีไมเก็บคาใชจายน้ัน นับวาเปนประเดน็ ท่ีทาํ ใหศ นู ยฯ มคี วามเสย่ี งเพราะไมสามารถทาํ นายอนาคตของตนเองเกยี่ วกบัความยั่งยืนได ประเด็นนี้นับวาเปนประเด็นสําคัญที่เร่ิมมีการปรับเปลี่ยน เม่ือใดก็ตามที่ไมไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานอื่น ๆ ก็จะหมายถึง การพึ่งพาตนเองไมไดของศูนยฯ น่ันเอง และที่สําคัญคือแมวาชุมชนจะไดรับประโยชนจากขอมูลตาง ๆ แตความรูสึกในการรวมเปนเจาของ รวมบริหารจัดการ รวมสนับสนุนยังนับวานอยอยูมาก จึงอาจกลาวไดวา ความสําเร็จของศูนยสะแวมมินาธาน หรือ “โครงการศูนยความรูของหมูบาน” (The Village Knowledge Centres) ท่ีสําเร็จอยางย่ังยืนมากวา 10 ป จวบจนถึงปจจุบนั เพราะการเริ่มจากจุดท่ีสําคัญที่สุดกอน คือ การเร่ิมท่ีชุมชน วามีความตองการอะไร มีปญหาหรือความเดือดรอนอะไร และมีศักยภาพอะไรจากน้ันจึงเริ่มทํางานกับชุมชน เปนพี่เลี้ยงที่ดีและตอเน่ือง ใหชุมชนรวมทํา รวมคิดบน 39  

Thai Telecentre: ศนู ยท ี่ตอ งเคลือ่ นดว ย “ใจ” ของชุมชนฐานที่เขาตองการ บนฐานความพรอมของเขา เพราะแทจริงแลว ท้ังปญหา และคําตอบทั้งหมดลวนอยูท่ีชุมชนนั่นเอง ศูนยความรูของหมูบานเปนเพียงอีกหนึ่งเครื่องมือที่ทําใหชุมชนสามารถที่จะเขาถึง ตระหนัก รับรูในสิ่งที่เขามี ในส่ิงท่ีเขาเปนจากนัน้ เมือ่ ความเขาใจเก่ียวกับปญ หา ความตอ งการ ความเปนไปตา ง ๆ เกิดขึ้นอยางชัดเจน ชุมชนก็จะสามารถเปนผูนํา เปนผูรวมกระบวนการพัฒนาชุมชนของเขาเองไดไมใชเปน เพียงผูตาม หรอื ผทู ่ีถกู มองขามอยา งท่ีเคยเปนมา5) โครงการศนู ยเทเลเซน็ เตอรก บั IGNOU : (Inthira Ghandi Open University) โครงการ IGNOU Telelearning Centres อาจเรียกทับศํพทวา “อิกนู” เปนโครงการที่ริเร่ิมโดยมหาวิทยาลัยเปดแหงชาติอินทิราคานธี ท่ีกอตั้งมาต้ังแตป ค.ศ.1987 เพ่ือสงเสริมและใหโอกาสทางการศึกษาระบบทางไกลที่มีคุณภาพแกประชาชนทั่วประเทศ โดยภาพรวมแลว IGNOU จะมีศูนยฯ ที่ใหบริการการศึกษาอยูท่ัวประเทศจํานวน 22 รัฐ โดยมีศูนยฯ ท่ีใหบริการการศึกษาแกชุมชน แกนักศึกษาทั่วประเทศ 40  

Thai Telecentre: ศูนยท่ีตองเคลอื่ นดว ย “ใจ” ของชมุ ชนจาํ นวน 561 ศูนยฯ โดยใชหลักของการบริหารรวมกับหนวยงานตาง ๆ ท่ีมีความพรอมทวั่ ประเทศ รปู แบบการบรหิ ารจัดการศนู ยเทเลเซน็ เตอรกับ IGNOU: IGNOU เร่ิมโครงการเทเลเซ็นเตอรดวยจุดแข็งที่ไดรับการยอมรับวาเปนมหาวิทยาลัยที่มีความรูความชํานาญเก่ียวกับเร่ืองการใหบริการการศึกษาระบบทางไกลท่ีเนนการเปนมหาวิทยาลัยเสมือนจริง (virtual university) โดยใชระบบการเรียนการสอนระบบทางไกล รวมท้ังการเรียนการสอนผานศูนยตาง ๆ ที่กระจายอยูท่ัวประเทศ (Telelearning centers: TLCs) ในป ค.ศ.1999 ดวยความรวมมือกับประเทศอังกฤษที่ใชฐานของศูนยฯ เพ่ือเปนศูนยกลางในการใหบริการชุมชนหางไกลในแตละพื้นที่ท่ีชุมชนตองการท่ีจะเรียน และพ้ืนที่มีความพรอม (Community-base Center)โดยเนนท่ีการใชระบบอินเทอรเน็ตในการใหบริการการศึกษาในรูปแบบของการใหบ รกิ ารแบบออนไลน (Online Services) ในปจ จบุ นั มีศูนย TLCs ท่ีทําหนาท่ีในการใหบริการการศึกษาทางไกลในพ้ืนที่ตาง ๆ จํานวน 28 ศูนยฯ กระจายอยูท่ัวประเทศ โดยใหหนวยงานตาง ๆ รวมทั้งหนวยงานภาคเอกชนเขามาเปนผูบริหารจัดการศูนยฯ ดังกลาวดวย โดยรวมกันออกแบบการบรหิ ารจัดการโดยใหส ว นหนง่ึ ของศนู ยฯ เปนการใหบริการการศึกษาสายตรงจาก IGNOU ในขณะท่ีอีกหลาย ๆ สวนของศูนยฯ จะเนนการบริหารจัดการและการใหบริการท่ีแตละศูนยฯ สามารถที่จะปรับเปลี่ยนไปตามความตองการของแตละพื้นที่เอง เพื่อท่ีจะสามารถทําใหเกิดรายได และสามารถเล้ียงตัวเองรวมท้ังตัวศูนยฯเองไดดวย กลุมเปาหมาย: เนนศูนยฯ ในพื้นที่ที่มีหนวยงาน มีกลุมที่ตองการเขาถึงการศึกษา ตองการท่ีจะเรียนกับ IGNOU ตองการท่ีจะเขาถึงการใหบริการความรู 41  

Thai Telecentre: ศนู ยที่ตองเคลอื่ นดวย “ใจ” ของชุมชนขาวสารขอมูลตาง ๆ โดยจะเปนการจัดต้ังศูนยฯ ตามความพรอมจากแตละหนวยงานในแตละพืน้ ท่ี แตละชมุ ชนทร่ี อ งขอมา ท้งั ชุมชนในชนบทและในชมุ ชนเมอื งทั่วประเทศ เทคโนโลยี ICT ท่ีใช: เทคโนโลยี ICT ท่ีใชคือ ระบบดาวเทียมโครงขาย(Live Interactive Satellite-Base) ท่ีเอื้อตอการใหบริการระบบอินเทอรเน็ตและเครอื ขายการเช่อื มโยงขอ มูลขาวสารทเ่ี ก่ียวขอ งตาง ๆ อีกท้ังการใหบริการในระบบ Offline ท่ี back up ระบบ Online ตา ง ๆ ที่บางพนื้ ท่ีอาจจะยังไมสะดวกหรอื ยงั มรี าคาสงู ฯลฯ การใหบริการที่ศูนย IGNOU: เปนการใหบริการเกี่ยวกับการศึกษาของมหาวิทยาลัยเปนหลัก ตามดวยการใหบริการตาง ๆ ที่แตละพื้นที่ท่ีเปนที่ตั้งของศูนยTLCs เพ่ือที่จะทําใหศ ูนยฯ มรี ายได และสามารถทีจ่ ะเล้ยี งตัวเองได ปจจัยท่ีทําใหศูนยฯ IGNOU ยั่งยืน: เร่ิมจากการคัดเลือกศูนยฯ ที่มีความพรอม มีความตองการของชุมชนท่ีจะเรียนกับ IGNOU ดังน้ันศูนยฯ ที่พรอมจะเปนศูนยที่ใหบริการรวมกับ IGNOU นั้นจะตองเปนศูนยฯ ที่มีความพรอมในระดับหนึ่งคือสามารถที่จะพึ่งพาตนเองได มีคณะกรรมการในการบริหารจัดการรวมกัน มีบริการเสรมิ อ่นื ๆ ใหกับชุมชน ทีจ่ ะเปนรายไดท ศ่ี ูนยฯ สามารถจะนาํ ไปใชเพอ่ื การเลีย้ งตวั ได ขอสงั เกตในการดาํ เนนิ งานของศูนย IGNOU: แมวาศูนยฯ IGNOU จะมีแนวคิดและหลักการในการบริหารจัดการท่ีดี แตก็จะมีปญหาเกี่ยวกับความไมท่ัวถึงในการควบคุมดูแลเพื่อใหการบริหารจัดการศูนยTLCs สามารถที่จะทําหนาท่ีตามเจตนารมณของศูนยฯ ได คือ ทําหนาที่ในการใหบ ริการการศึกษาระดบั มหาวิทยาลัยจากมหาวทิ ยาลัยเปดแหงชาติสูชุมชนทุกระดับทั่วประเทศ รวมทงั้ การใหบรกิ ารขอมลู ขา วสารอื่น ๆ ตามทชี่ มุ ชนตอ งการ อกี ทง้ั บรกิ ารอ่ืน ๆ ที่ชุมชนไดรับประโยชนในขณะท่ีศูนยฯ ตองมีรายไดเพื่อการเล้ียงตัวเองดวย 42  

Thai Telecentre: ศนู ยท ีต่ องเคลื่อนดว ย “ใจ” ของชุมชนเพราะเปนระบบการบริหารท่ีตองเล้ียงตัวเอง ดังน้ันสวนใหญศูนยฯ จะเนนการบริหารจัดการโดยภาคเอกชน ทําใหบางศูนยฯ ละเลยเกี่ยวกับการใหบริการดานการศึกษาหรืออาจทําธุรกิจอ่ืน ๆ ที่อาจจะไมเหมาะสมกับบริการการศึกษาที่เปนประเด็นหลักของศนู ยฯ เพราะเปนเรือ่ งที่ตอ งไดรบั ท้งั ความนา เช่ือถือและคณุ ภาพ อยางไรก็ตาม ณ ปจจุบัน ศูนย IGNOU ท่ีกระจายตัวอยูท่ัวประเทศอินเดียบนความคาดหวังของการพัฒนาดานกําลังคนดวยระบบการศึกษาทางไกลใหกับประชากรนับเปนพันลานคน นับวาเปนเร่ืองที่ทาทายมาก IGNOU จึงไดรวมมือกับIDRC (International Development Research Centre) ศูนยวิจัยเพื่อการพัฒนาระดับสากลท่สี นับสนนุ โดยรัฐบาลแคนาดา และรฐั บาลอนิ เดีย ตลอดจนหนวยงานทุกประเภทที่เก่ียวของกับการพัฒนาคนดวยกระบวนการเรียนรู เพื่อทําการพัฒนาตอยอดหลักสูตรเฉพาะทางข้ึนมาภายใตโครงการ การจัดทําหลักสูตรสําหรับศูนยเทเลเซ็นเตอรโดยเฉพาะ (Global Telecentre Academy) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อมุงเนนการพัฒนาคนที่ดูแลศูนยเทเลเซ็นเตอรท่ัวโลก มุงเนนการพัฒนาศูนยเทแลเซ็นเตอรเพ่ือใหเกิดความยั่งยืนรวมกัน เพื่อมุงที่จะใหศูนยเทเลเซ็นเตอรเปนฐานหลักในการใหการบริการท่ีดีแกชุมชนของตนเอง ณ ปจจุบัน (พ.ศ. 2551) มีจํานวน 13 ประเทศท่ีรวมในโครงการนี้ รวมทั้งประเทศไทยดวยที่นําทีมโดยกระทรวง ICT และศูนยวิจัยการจัดการความรกู ารสือ่ สารและการพฒั นา (CCDKM) มสธ. 43  

Thai Telecentre: ศนู ยที่ตอ งเคล่อื นดว ย “ใจ” ของชมุ ชน6) โครงการ Media Lab Asia เปนองคกรระดับนโยบายของภาครัฐท่ีทํางานเชิงเครือขายระดับประเทศ เปนอีกโครงการหนึ่งที่นาสนใจ แมวาจะไมเกี่ยวของกับศูนยเทเลเซ็นเตอรโดยตรง แตก็มีกิจกรรมที่เก่ียวของ และสามารถเปนตัวอยางในแงของการสรางสรรคกิจกรรมการใชICT เพอื่ การพัฒนาในรปู แบบตาง ๆ ได โดยเฉพาะการพัฒนาเกีย่ วกบั นวัตกรรมตา ง ๆดา น ICT ทีม่ งุ เนนเพอ่ื การพัฒนาชนบทของอินเดีย วิสัยทัศนองคกร: การพัฒนาศักยภาพใหชีวิต การใชเทคโนโลยี ICT ตาง ๆและการเขาถึงเพอื่ การพฒั นาชนบทของประเทศอนิ เดยี เปาหมายองคการ: การสรางนวัตกรรมเพือ่ การใชสื่อดิจติ ลั และ ICT รว มกัน ภารกจิ หลักของ Media Lab Asia: คือ การทําวิจัย การประยุกตและพัฒนาเก่ียวกับการใช ICT เพื่อโครงการใหญ ๆ หรือโครงการที่มุงใหเกิดผลในระดับประเทศทั้งนี้จะเนนการทํางานในรูปแบบของเครือขายภาคีตาง ๆ เชน สถาบันวิจัยภาคอุตสาหกรรม ภาคประชาสังคมและโดยเฉพาะหนวยงานภาครัฐดวยกันเอง โดยมีภารกิจหลักที่ยึดเปนหลักในการทํางานขององคกรคือ “Lab to Land” หรือการเอาความรูที่ไดจากหองทดลองสูการปฏิบัติจริงในพ้ืนที่ บนพื้นฐาน การทํางานเช่ือมประสานกบั ทกุ หนวยงานทเ่ี กี่ยวของ 44  


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook