Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการให้บริการสุขภาพคนข้ามเพศประเทศไทย

คู่มือการให้บริการสุขภาพคนข้ามเพศประเทศไทย

Published by mozard_mobius, 2020-09-08 02:45:44

Description: Transgent Guidebook

Search

Read the Text Version

คู่มือการใหบ้ ริการสุขภาพคนขา้ มเพศ ประเทศไทย จดั พมิ พ์โดย ศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของส�ำ นกั หอสมดุ แหง่ ชาติ คมู่ อื การใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพคนขา้ มเพศประเทศไทย.-พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1.-กรงุ เทพฯ : ศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 2563. 240 หนา้ พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1 : (กนั ยายน 2563) จ�ำ นวนทพ่ี มิ พ์ : 500 เลม่ ISBN: 978-616-407-532-0 บรรณาธกิ าร วรพล รตั นเลศิ กฤตมิ า สมทิ ธพ์ิ ล ศลิ ปกรรม วชั รนิ ทร์ อ�ำ ภาพนั ธ์ สรุ างคนา ขนุ คงเสถยี ร พมิ พท์ ่ี : กนั ตร์ พี เพรส จ�ำ กดั สงวนสทิ ธโ์ิ ดยศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั หา้ มลอกเลยี นไมว่ า่ สว่ นใดของคมู่ อื ฉบบั น้ี นอกจากไดร้ บั อนญุ าตจากผนู้ พิ นธ์ เอกสารฉบับน้ีได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณจากองค์การเพ่ือการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (United States Agency for International Development) ผา่ นโครงการ LINKAGES ประเทศไทย เลขทส่ี ญั ญา AID-0AA-14-00045 เนอ้ื หาของคมู่ อื ฉบบั นพ้ี ฒั นาโดยความรว่ มมอื ระหวา่ งสถาบนั เพอ่ื การวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นเอชไอวี (Institute of HIV Research and Innovation) และศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพ คนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (Center of Excellence in Transgender Health, Chulalongkorn University) ซง่ึ อาจจะไมไ่ ดส้ ะทอ้ นมมุ มอง และแนวคดิ ของรฐั บาลสหรฐั อเมรกิ า

ค�ำ นยิ ม Appreciation จากการทค่ี ลนิ กิ แทนเจอรนี (TangerineClinic) ซง่ึ เปน็ คลนิ กิ สขุ ภาพองคร์ วมส�ำ หรบั คนขา้ มเพศทด่ี �ำ เนนิ การ และบรหิ ารจดั การโดยชมุ ชนคนขา้ มเพศแหง่ แรกของประเทศไทยและเอเชยี ไดเ้ ปดิ ด�ำ เนนิ การมาระยะหนง่ึ ทค่ี ลนี คิ นิรนาม สภากาชาดไทย นอกจากจะก่อให้เกิดความสนใจในการมาใช้บริการจากคนข้ามเพศแล้ว ยังสร้างความ ตระหนัก และความสนใจให้แก่บุคลากรด้านการแพทย์ในหลาย ๆ ระดับ ท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ ทส่ี �ำ คญั ทส่ี ดุ คอื ความสนใจจากคณาจารยจ์ ากภาควชิ าตา่ ง ๆ ของคณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั อาทิเช่น ศัลยศาสตร์ จิตเวชศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ และสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา เป็นต้น คณาจารย์ท่มี ีความ เช่ียวชาญในหลากหลายด้านเหล่าน้ีได้มาร่วมประชุมปรึกษาหารือ ให้ข้อเสนอแนะในการดำ�เนินงานของคลินิก แทนเจอรนี และใหก้ ารดแู ลคนไขท้ ส่ี ง่ ตอ่ จากคลนิ กิ แทนเจอรนี จนสดุ ทา้ ย เกดิ ฉนั ทามตวิ า่ จะมารว่ มกนั ท�ำ งานกบั ทีมงานของคลินิกแทนเจอรีน ในการจัดต้ัง ศูนย์เช่ียวชาญเฉพาะทางด้านสุขภาพคนข้ามเพศ (Center of Excellence in Transgender Health) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ขน้ึ ทค่ี ณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เพ่อื ประโยชน์สูงสุดในการยกระดับการดูแลสุขภาพของคนข้ามเพศ และความก้าวหน้าด้านองค์ความร้เู ชิงวิชาการ ของคนข้ามเพศซ่ึงยังมีส่ิงท่ีไม่รู้อีกมากมาย กระผมในฐานะท่ีมีส่วนในการก่อต้ังคลินิกแทนเจอรีนต้องขอแสดง ความยนิ ดกี บั คณะแพทยศาสตร์ และศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางนด้ี ว้ ย สง่ิ หนง่ึ ทก่ี ระผมสงั เกตเหน็ คอื ทมี งานของศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางนท้ี �ำ งานเขม้ แขง็ มาก กอ่ ก�ำ เนดิ ขน้ึ มายงั ไม่ ครบปี กไ็ ดร้ ว่ มกนั สรา้ งสรรคห์ นงั สอื ขน้ึ มาเลม่ หนง่ึ คอื คมู่ อื การใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ ส�ำ หรบั ประเทศไทย ทท่ี า่ นถอื อยนู่ ้ี สงั เกตวา่ เขาใชค้ �ำ วา่ ‘ส�ำ หรบั ประเทศไทย’ เพราะผเู้ ขยี นน�ำ เอาประสบการณจ์ รงิ จากการใหบ้ รกิ ารคน ขา้ มเพศในประเทศไทยในชว่ งเวลาทผ่ี า่ นมา มาเปน็ ตวั ตง้ั ตน้ ในการเขยี นโดยอา้ งองิ กบั คมู่ อื ของตา่ งประเทศ แนน่ อน ปญั หาสขุ ภาพของคนขา้ มเพศในประเทศไทยยอ่ มแตกตา่ งจากปญั หาสขุ ภาพของคนขา้ มเพศในยโุ รป หรอื อเมรกิ า บุคลากรทางการแพทย์ไทยจึงน่าจะได้ประโยชน์จากคู่มือฯ ฉบับน้ีอย่างเต็มท่ี เน้ือหาของคู่มือเล่มน้ี ท่านผู้อ่าน คงเห็นด้วยกับกระผมว่ามีความครอบคลุมปัญหาสุขภาพของคนข้ามเพศครบทุกด้าน ท้ังด้านสุขภาพทางกาย ทางจติ ใจ และทางสงั คม ผนู้ พิ นธแ์ ตล่ ะทา่ นลว้ นมคี วามเชย่ี วชาญและประสบการณด์ า้ นนน้ั ๆ รวมทง้ั คณาจารยจ์ าก มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรก์ ไ็ ดม้ สี ว่ นในการใหว้ ทิ ยาทานในครง้ั นด้ี ว้ ย

คมู่ อื ฯ ฉบบั น้ี กระผมดแู ลว้ มคี วามสมบรู ณท์ างดา้ นเนอ้ื หาวชิ าการมาก นา่ จะเรยี ก ‘ต�ำ รา’ มากกวา่ คมู่ อื แตก่ เ็ ขา้ ใจผจู้ ดั ท�ำ ทต่ี อ้ งการใหบ้ คุ ลากรท่ีใหบ้ รกิ ารกบั คนขา้ มเพศ สามารถเปดิ พลกิ ดกู ารแก้ไขปญั หาอปุ สรรคตา่ ง ๆ ในการท�ำ งานไดง้ า่ ย ๆ จงึ เรยี กวา่ ‘คมู่ อื ’ กระผมเหน็ วา่ ผทู้ จ่ี ะไดป้ ระโยชนจ์ ากคมู่ อื ฯ ฉบบั นไ้ี มน่ า่ จะจ�ำ กดั อยเู่ ฉพาะ บคุ ลากรทางการแพทยท์ ใ่ี หบ้ รกิ ารกบั กลมุ่ คนขา้ มเพศเทา่ นน้ั แตบ่ คุ ลากรทางการแพทยท์ ว่ั ไป บคุ ลากรสาธารณสขุ และ ประชาชนทว่ั ไปทส่ี นใจกน็ า่ จะไดป้ ระโยชนจ์ ากคมู่ อื ฯ ฉบบั นด้ี ว้ ย อกี ทง้ั อยากจะเหน็ วา่ คณะผจู้ ดั ท�ำ จะไดม้ โี อกาสแปล คมู่ อื เลม่ นเ้ี ปน็ ภาษาองั กฤษ ท�ำ เปน็ e-book ในอนาคต เพอ่ื ทบ่ี คุ ลากรในประเทศก�ำ ลงั พฒั นาทม่ี ปี ญั หาสาธารณสขุ และสภาพเศรษฐกจิ สงั คม ทค่ี ลา้ ยกบั ประเทศไทยจะไดป้ ระโยชนจ์ ากคมู่ อื ฯ ฉบบั นด้ี ว้ ย สุดท้าย กระผมขอแสดงความช่ืนชมกับศูนย์เช่ียวชาญเฉพาะทางด้านสุขภาพคนข้ามเพศ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั และคลนิ กิ สขุ ภาพชมุ ชนแทนเจอรนี ทไ่ี ดร้ ว่ มจดั ท�ำ คมู่ อื การใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ ส�ำ หรบั ประเทศไทยนข้ี น้ึ และขอใหผ้ ลบญุ ทท่ี กุ ทา่ นได้ใหค้ วามรเู้ ปน็ วทิ ยาทานนจ้ี งสง่ ผลใหท้ กุ ทา่ นมคี วามสขุ ความเจรญิ ตลอด ไป ดว้ ยความปรารถนาดี ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ นายแพทยป์ ระพนั ธ์ ภานภุ าค 7 สงิ หาคม 2563

คำ�นิยม Appreciation การผา่ ตดั แปลงเพศแบบสมบรู ณ์ (Modern Sex Reassignment Surgery; SRS) ในประเทศไทย เรม่ิ ตน้ ในปี ค.ศ. 1978 จนถงึ ปจั จบุ นั (ค.ศ. 2020) ท�ำ กนั มาเกอื บครง่ึ ศตวรรษ ในสมยั นน้ั จติ แพทยแ์ ทบจะไมม่ บี ทบาท ในการวนิ จิ ฉยั และดแู ลคนไข้ คนไข้ในประเทศไทยจะดแู ลเปลย่ี นแปลงสรรี ะรปู รา่ งดว้ ยตนเอง สง่ิ เดยี วทไ่ี มส่ ามารถ เปลย่ี นแปลงดว้ ยตนเองได้ คอื อวยั วะเพศ แตพ่ วกเขามน่ั ใจวา่ เขาไมไ่ ดเ้ ปน็ “โรคจติ ” แพทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญฮอรโ์ มน (Endocrinologist) เชน่ เดยี วกนั จะเขา้ พบดว้ ยความยากล�ำ บาก คนไขจ้ ะปรกึ ษา กนั เอง ใชฮ้ อรโ์ มนตามทเ่ี พอ่ื นกลมุ่ เดยี วกนั ใชแ้ ลว้ ประสบความส�ำ เรจ็ ดงั นน้ั คนไขจ้ ะมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งสมบรู ณ์ (Self-Transitioning) เมอ่ื มาพบศลั ยแพทยห์ รอื จติ แพทย์ โดยคนไขจ้ ะมลี กั ษณะเปน็ หญงิ ทง้ั การแตง่ กาย, รปู รา่ ง, ผวิ พรรณ, ขนาดของเตา้ นม คนไขส้ ว่ นใหญจ่ ะใชเ้ วลาส�ำ หรบั Self-Transitioning เกนิ 5 ปขี น้ึ ไป จงึ งา่ ยในการทจ่ี ติ แพทย์ จะวนิ จิ ฉยั การปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑข์ อง WPATH (World Professional Association for Transgender Health) หรอื HBIGDA (Harry Benjamin International Gender Dysphoria Association) อยา่ งเครง่ ครดั จากประสบการณ์ ตง้ั แต่ ค.ศ. 1978 ในคนไขส้ ว่ นตวั มากกวา่ 3,000 ราย และในแพทยร์ ว่ มงานอกี มากกวา่ 2,000 ราย ไมม่ คี นไขแ้ มแ้ ต่ รายเดยี วทต่ี อ้ งการกลบั สเู่ พศเดมิ กอ่ นผา่ ตดั หรอื “เสยี ใจทเ่ี ขา้ รบั การผา่ ตดั แปลงเพศ” การใชฮ้ อรโ์ มน ทง้ั กอ่ นและ หลงั การผา่ ตดั แปลงเพศ เปน็ สง่ิ ทค่ี นไขจ้ ะตอ้ งไดร้ บั ตลอดชวี ติ ดงั นน้ั จะตอ้ งมผี ดู้ แู ลอยา่ งถกู ตอ้ ง

หนงั สอื เลม่ นเ้ี ปน็ เลม่ แรกในรอบศตวรรษ ทร่ี วบรวมบทความงา่ ยตอ่ การอา่ น, เขา้ ใจ ในแผนการรกั ษาดแู ล ซง่ึ ผสมผสานการรกั ษาทางจติ สงั คม, ฮอรโ์ มน และดแู ลใหค้ �ำ ตอบทางกฎหมาย โดยผเู้ ชย่ี วชาญทม่ี ปี ระสบการณอ์ ยา่ งสงู สามารถสรา้ งพน้ื ฐานการรกั ษาแกผ่ ู้ใหบ้ รกิ ารทางการแพทยก์ ลมุ่ ใหม่ ซง่ึ จะกระตนุ้ (Stimulation) ใหม้ คี วามคดิ ทจ่ี ะ สรา้ งแผนการรกั ษาทด่ี กี วา่ ปจั จบุ นั สอู่ นาคต สรา้ งชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ ในกลมุ่ คนพเิ ศษกลมุ่ น้ี ซง่ึ ความตอ้ งการในชวี ติ ของพวก เขาคอ่ นขา้ งซบั ซอ้ น สรา้ งการแกป้ ญั หาใหด้ ขี น้ึ ส�ำ คญั ทส่ี ดุ หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะสรา้ งแนวทางมาตรฐานในการแกป้ ญั หา ของ Transgenders ขอขอบคณุ (Gratitude) ทา่ นวทิ ยากร (Authors) ทกุ ทา่ น ท่ีใหค้ วามรอู้ นั มคี า่ (Valuable Contributions) ตอ่ การดแู ลรกั ษา คนไขก้ ลมุ่ น้ี ขอแสดงความยนิ ดอี ยา่ งสงู มายงั ทกุ ๆ ทา่ นในต�ำ ราเลม่ น้ี รองศาสตราจารย์ นายแพทยป์ รชี า เตยี วตรานนท์ อดตี หวั หนา้ หนว่ ยศลั ยศาสตรต์ กแตง่ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

คำ�นยิ ม Appreciation ในปจั จบุ นั ความกา้ วหนา้ ทางการแพทยด์ า้ นการดแู ลสขุ ภาพของบคุ คลขา้ มเพศมกี ารพฒั นารดุ หนา้ อยา่ งรวดเรว็ อกี ทง้ั หลากหลายประเทศในระดบั นานาชาตไิ ดม้ คี วามตน่ื ตวั และใหค้ วามส�ำ คญั กบั เรอ่ื งนอ้ี ยา่ งมาก ขา้ พเจา้ มคี วาม ยนิ ดเี ปน็ อยา่ งยง่ิ ทท่ี างคณาจารย์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และคลนิ กิ สขุ ภาพชมุ ชนแทนเจอรนี ภายใตก้ ารด�ำ เนนิ การของ “ศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ” จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รวมทง้ั ผทู้ รง คณุ วฒุ ทิ เ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดร้ ว่ มมอื กนั จดั ท�ำ “คมู่ อื การดแู ลสขุ ภาพคนขา้ มเพศประเทศไทย” ฉบบั นข้ี น้ึ มา สง่ิ นจ้ี ะเปน็ การ รวบรวมองคค์ วามรทู้ ถ่ี กู ตอ้ งและเชอ่ื ถอื ไดม้ าไว้ในแหลง่ เดยี วกนั เปน็ เสมอื นคลงั แหง่ ความรทู้ บ่ี คุ ลากรสาธารณสขุ รวม ถงึ กลมุ่ ผรู้ บั บรกิ ารคนขา้ มเพศเองทม่ี คี วามสนใจ สามารถน�ำ ไปปรบั ใชเ้ พอ่ื ใหส้ ามารถดแู ล รกั ษา และสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ทุ ธพิ งศ์ วชั รสนิ ธุ คณบดคี ณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผอู้ �ำ นวยการโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย

คำ�นยิ ม Appreciation การเขา้ ถงึ สขุ ภาพของคนขา้ มเพศและคนทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศในประเทศไทยในชว่ งหลายปที ผ่ี า่ นมา นม้ี แี นวโนม้ ไปในทางทด่ี ขี น้ึ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการทม่ี กี ารจดั ตง้ั องคก์ รชมุ ชนขน้ึ มาเพอ่ื ทจ่ี ะใหบ้ รกิ ารดา้ นเอชไอวแี ก่ ประชากรทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศ โดยกระทรวงสาธารณสขุ ใหก้ ารรบั รองการขน้ึ ทะเบยี นหนว่ ยบรกิ ารและรบั รอง สมรรถนะของคนท�ำ งานในชมุ ชน อาทเิ ชน่ คลนิ กิ สขุ ภาพชมุ ชนแทนเจอรนี (TangerineCommunityHealthClinic) ภายใตก้ ารบรหิ ารงานของสถาบนั เพอ่ื การวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นเอชไอวี (Institute of HIV Research and Innova- tion) โดยถอื เปน็ คลนิ กิ คนขา้ มเพศแหง่ แรกในภมู ภิ าคเอเชยี ทก่ี อ่ ตง้ั ขน้ึ มาเพอ่ื ใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพคนขา้ มเพศแบบองค์ รวม ทง้ั ในสว่ นของการขา้ มเพศอยา่ งปลอดภยั การใหค้ �ำ ปรกึ ษา การตรวจหาเอชไอวแี ละโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ อน่ื ๆ รวมไปถงึ สขุ ภาวะทางเพศและการสนบั สนนุ ทางดา้ นจติ สงั คม โดยบคุ ลากรทางการแพทยท์ ม่ี คี วามช�ำ นาญและ มคี วามเปน็ มติ ร นอกจากนผ้ี มไดร้ บั ทราบเรอ่ื งทน่ี า่ ยนิ ดมี าตลอดวา่ มหี นว่ ยงานทง้ั จากภาครฐั และเอกชนทง้ั ในและตา่ งประเทศ ใหค้ วามสนใจในรปู แบบบรกิ ารของคลนิ กิ แทนเจอรนี เพอ่ื น�ำ ไปถอดบทเรยี นและตอ่ ยอดในการใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพคน ขา้ มเพศในพน้ื ทข่ี องตน จนน�ำ ไปสคู่ วามรว่ มมอื กบั คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในการจดั ตง้ั ศนู ย์ เชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ (Center of Excellence in Transgender Health) ขน้ึ ในปี 2563 และ ผลผลติ แรกจากความรว่ มมอื จากภาคสว่ นของชมุ ชนและนกั วชิ าการน้ี ท�ำ ใหเ้ กดิ การพฒั นาคมู่ อื การใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพ ของคนขา้ มเพศเลม่ แรกขน้ึ ในประเทศไทย ซง่ึ ผมรสู้ กึ เปน็ เกยี รตทิ ไ่ี ดม้ โี อกาสเขยี นค�ำ นยิ มใหก้ บั หนงั สอื เลม่ น้ี และขอ แสดงความยนิ ดกี บั คณะท�ำ งานทกุ ทา่ นทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ผลงานทางวชิ าการทม่ี คี ณุ คา่ และมคี วามส�ำ คญั เปน็ อยา่ งยง่ิ ในฐานะผบู้ รหิ ารของกระทรวงสาธารณสขุ ผมหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ แนวทางในการใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพของคนขา้ ม เพศฉบบั นจ้ี ะน�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิใชแ้ ละตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ในวงการการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของชมุ ชนคนขา้ มเพศในประเทศไทยและในภมู ภิ าคของเราตอ่ ไป ดร. สาธติ ปติ เุ ตชะ รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ 13 สงิ หาคม 2563

บทสรปุ ผู้บริหาร Executive Summary ในบรบิ ทของประเทศไทยกอ่ นหนา้ น้ี การดแู ลรกั ษาทางดา้ นจติ ใจ อารมณ์ สงั คม ฮอรโ์ มน การผา่ ตดั รวมถงึ แงม่ มุ ทางกฎหมายของคนขา้ มเพศยงั เปน็ การดแู ลในกลมุ่ กนั เองและอาจมขี อ้ จ�ำ กดั หลายประการ ในปจั จบุ นั เปน็ ทน่ี า่ ยนิ ดที ว่ี งการแพทยท์ ง้ั ในประเทศไทยและนานาประเทศทว่ั โลกมกี ารตน่ื ตวั ในการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพคนกลมุ่ น้ีใหด้ ขี น้ึ จะเหน็ ไดจ้ ากมกี จิ กรรมทางวชิ าการ อาทเิ ชน่ การประชมุ สมั มนา หรอื การประชาสมั พนั ธ์ใหค้ วามรู้ อยา่ งแพรห่ ลาย มากข้นึ นอกจากนก้ี ารจัดต้งั คลินิกสุขภาพชมุ ชนแทนเจอรนี ซ่งึ นับเป็นศนู ย์สุขภาพชมุ ชนท่ีให้บริการดา้ นตา่ ง ๆ ส�ำ หรบั คนขา้ มเพศอยา่ งรอบดา้ น ซง่ึ ไดร้ บั ความสนใจจากทง้ั ผ้ใู หบ้ รกิ าร ผรู้ บั บรกิ าร รวมถงึ สอ่ื หลายแขนง เปน็ ตวั อยา่ ง ทส่ี �ำ คญั ของความตระหนกั ในการสง่ เสรมิ สขุ ภาพของคนกลมุ่ น้ี การจดั ท�ำ คมู่ อื การดแู ลสขุ ภาพคนขา้ มเพศประเทศไทย เปน็ สง่ิ ทอ่ี ยู่ในความตง้ั ใจของบคุ ลากรศนู ยเ์ ชย่ี วชาญ เฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ทกุ ทา่ น ทต่ี อ้ งการจะใหก้ ารดแู ลบคุ คลในกลมุ่ นอ้ี ยา่ งดี ทส่ี ดุ ปลอดภยั และไดม้ าตรฐานทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะเปน็ ไปได้ คมู่ อื ฉบบั นถ้ี อื เปน็ กา้ วแรกทท่ี มี คณาจารย์ในหลากหลายสหสาขาวชิ าชพี แพทย์ และบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดม้ า ร่วมมือกันจัดทำ�ข้ึน เพ่ือให้เป็นแนวทางปฏิบัติแก่ผู้ให้บริการทางการแพทย์ ผู้รับบริการ และประชาชนท่ีสนใจ ในเรอ่ื งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การขา้ มเพศอยา่ งครอบคลมุ โดยจดั ท�ำ เปน็ ภาษาทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ทิ ต่ี รงประเดน็ และสามารถนำ�ปฏิบัติในบริบทของประเทศไทยได้จริง ในฐานะหน่งึ ในทีมงาน มีความต่นื เต้นไม่น้อยท่ไี ด้ทำ�ส่งิ ท่ี เปน็ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนคนขา้ มเพศ ขอบคณุ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ กุ ทา่ นทร่ี ว่ มกบั เขยี นเนอ้ื หาทกุ บท อนง่ึ คมู่ อื ฉบบั นอ้ี าจ ยงั ไม่ใชฉ่ บบั ทส่ี มบรู ณท์ ส่ี ดุ แตก่ เ็ ปน็ กา้ วแรกแหง่ ความรว่ มมอื ทม่ี คี ณุ คา่ หวงั วา่ จะไดป้ ระโยชนต์ อ่ สงั คมไมม่ ากกน็ อ้ ย ทางทมี งานสญั ญาวา่ จะตอ้ งมกี า้ วตอ่ ไปทพ่ี ฒั นาใหด้ ยี ง่ิ ขน้ึ ในอนาคตภายหนา้ อยา่ งแนน่ อน แพทยห์ ญงิ พนู พศิ มยั สวุ ะโจ หวั หนา้ ศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

บทสรปุ ผู้บรหิ าร Executive Summary การจดั บรกิ ารเพอ่ื ดแู ลสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ เปน็ สง่ิ ทไ่ี มง่ า่ ย ดว้ ยอคตทิ ค่ี นทว่ั ไปยงั มตี อ่ ประเดน็ ความหลาก หลายทางเพศ และวถิ ชี วี ติ ทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งกบั การเปน็ คนขา้ มเพศ ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ การตตี ราและเลอื กปฏบิ ตั ทิ ง้ั ตอ่ คนขา้ มเพศ เอง และตอ่ บคุ ลากรผจู้ ดั บรกิ ารสขุ ภาพดา้ นตา่ ง ๆ แกค่ นขา้ มเพศ ดว้ ยการขาดความรู้ ความเขา้ ใจ หรอื ดว้ ยมคี วาม เชอ่ื ผดิ ๆ วา่ การเปน็ คนขา้ มเพศเปน็ สง่ิ ทเ่ี ลอื กทจ่ี ะไมเ่ ปน็ กไ็ ด้ หรอื ไมค่ วรสนบั สนนุ ผู้ใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพแกค่ นขา้ ม เพศจงึ มกั จะถกู มองวา่ เปน็ ผทู้ ท่ี �ำ ผดิ จรรยาบรรณในการสง่ เสรมิ ความผดิ ปกติ หรอื เปน็ การใหบ้ รกิ ารไปเพยี งเพอ่ื เสรมิ ความงามเทา่ นน้ั ทง้ั ทอ่ี งคค์ วามรู้ ทกั ษะ และศลิ ปะในการจดั บรกิ ารเหลา่ น้ี เปน็ ศาสตรเ์ ฉพาะทางทต่ี อ้ งอาศยั ขอ้ มลู จากการศกึ ษาวจิ ยั การฝกึ ฝน และการสง่ั สมประสบการณท์ ย่ี าวนาน จงึ อาจบน่ั ทอนก�ำ ลงั ใจของผู้ใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพ แกค่ นขา้ มเพศลงไดม้ าก การทค่ี ณาจารยค์ ณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ทม่ี จี ติ มงุ่ มน่ั ในการทจ่ี ะพฒั นาคณุ ภาพของการ ใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศในสาขาตา่ ง ๆ ไดร้ ว่ มแรงรว่ มใจกนั กบั คลนิ กิ สขุ ภาพชมุ ชนแทนเจอรนี ของสถาบนั เพอ่ื การวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นเอชไอวี เครอื ขา่ ยเพอ่ื นกะเทยไทย และ Asia Pacific Transgender Network ในการ จดั ท�ำ คมู่ อื การใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ ส�ำ หรบั ประเทศไทยฉบบั นข้ี น้ึ มา เปน็ สง่ิ ทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กดิ คณุ ปู การอยา่ ง ยง่ิ ยวด ทง้ั ส�ำ หรบั คนขา้ มเพศ และส�ำ หรบั ผู้ใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ คมู่ อื ฯ เลม่ น้ี มเี นอ้ื หาทง้ั หมด 16 บท ไลเ่ รยี งตง้ั แตก่ ารปพู น้ื ฐานในบทท่ี 1 ถงึ ความจ�ำ เปน็ และความเฉพาะตวั ในการใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ ตามดว้ ยบทท่ี 2 ถงึ 5 ทว่ี า่ ดว้ ยบรกิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั การขา้ มเพศ ตง้ั แตก่ ารวนิ จิ ฉยั ภาวะเพศสภาพไมต่ รงกบั เพศก�ำ เนดิ การใหฮ้ อร์โมนส�ำ หรบั คนขา้ มเพศ การผา่ ตดั เพอ่ื การขา้ มเพศ จนถงึ การเปลย่ี นเสยี งในผหู้ ญงิ ขา้ มเพศ สว่ นบทท่ี 6 ถงึ 14 จะเสรมิ ดว้ ยบรกิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ภาวะสขุ ภาพอน่ื ๆ ทพ่ี บบอ่ ยในบรบิ ทขอบคนขา้ มเพศ ไดแ้ ก่ สุขภาวะทางเพศ ท้งั เอชไอวี ไวรัสตับอักเสบ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ต่าง ๆ สุขภาพจิตของคนข้ามเพศ การดูแลคนข้ามเพศวยั เดก็ และวัยร่นุ การเจรญิ พันธ์ุ การตรวจคดั กรองมะเร็ง ผลระยะยาวของการได้รบั ฮอร์โมน เพศ และการใชส้ ารเสพตดิ แลว้ ปดิ ทา้ ยดว้ ยบทท่ี 15 ทช่ี ว่ ยขมวดการน�ำ องคค์ วามรทู้ ง้ั หมดไปจดั บรกิ ารทางสขุ ภาพ แกค่ นขา้ มเพศใหเ้ กดิ ขน้ึ ไดจ้ รงิ และบทท่ี 16 ทช่ี ้ีใหเ้ หน็ ถงึ บรบิ ทของสงั คม กฎหมาย และวฒั นธรรมไทยทม่ี ผี ลตอ่ บรกิ ารทางสขุ ภาพส�ำ หรบั คนขา้ มเพศ

จะเหน็ ไดว้ า่ คมู่ อื ฯ ฉบบั น้ี มเี นอ้ื หาเขม้ ขน้ และสามารถน�ำ ไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ จงึ นบั เปน็ การปฏวิ ตั ภิ าพลกั ษณข์ อง การจดั บรกิ ารสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ ใหเ้ ปน็ สง่ิ ทไ่ี ดร้ บั การมองเหน็ อยา่ งชดั เจน และแนน่ อนวา่ จะน�ำ พาใหผ้ ู้ใหบ้ รกิ าร สขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศสามารถท�ำ งานไดอ้ ยา่ งมคี วามภาคภมู ิใจ เปน็ ทย่ี อมรบั และชน่ื ชมของบคุ ลากรในสาขาวชิ าชพี อน่ื ทง้ั ยงั เปน็ ภาคสี �ำ คญั ในการขบั เคลอ่ื นสทิ ธทิ างดา้ นสขุ ภาพอนั เปน็ สว่ นประกอบพน้ื ฐานของสทิ ธมิ นษุ ยชนของผมู้ ี ความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย และในภมู ภิ าคเอเชยี แปซฟิ กิ ตอ่ ไปอกี ดว้ ย ดร.พญ.นติ ยา ภานภุ าค ผอู้ �ำ นวยการมลู นธิ สิ ถาบนั เพอ่ื การวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นเอชไอวี

ค�ำ น�ำ Preface นบั เปน็ ความรว่ มมอื ครง้ั ส�ำ คญั จากคณาจารยค์ ณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ชมุ ชนคนขา้ มเพศ ภายใตศ้ นู ยค์ วามเชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นแขนงตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง ในการจัดทำ� “ค่มู ือการให้บริการสุขภาพคนข้ามเพศประเทศไทย” ฉบับน้ขี ้นึ มาได้สำ�เร็จ ในปัจจุบัน สงั คมทง้ั ในประเทศไทยรวมถงึ ตา่ งประเทศเปดิ กวา้ งตอ่ ประเดน็ ความหลากหลายทางเพศมากขน้ึ อกี ทง้ั ความกา้ วหนา้ ทางการแพทยใ์ นการดแู ลสขุ ภาพคนขา้ มเพศไดร้ ดุ หนา้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อยา่ งไรกต็ ามการใหบ้ รกิ ารทางสาธารณสขุ แกค่ น ขา้ มเพศในประเทศไทยยงั มขี อ้ จ�ำ กดั ในหลายประเดน็ อาทเิ ชน่ ความละเอยี ดออ่ นและความรคู้ วามเขา้ ใจเรอ่ื งความ หลากหลายทางเพศ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ทางการแพทยเ์ กย่ี วกบั การดแู ลสขุ ภาพคนขา้ มเพศซง่ึ เปน็ เรอ่ื งทม่ี คี วามจ�ำ เพาะ เจาะจงสงู รวมทง้ั ประเดน็ ทางกฎหมายและสงั คมเกย่ี วกบั คนขา้ มเพศในดา้ นอน่ื ๆ การทไ่ี ดม้ กี ารรวบรวมองคค์ วาม รสู้ �ำ หรบั การบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพของคนขา้ มเพศมาไว้ในคมู่ อื ฉบบั น้ี เปน็ เสมอื นคมั ภรี แ์ ละแผนทน่ี �ำ ทางใหแ้ กบ่ คุ ลากร ทางการแพทย์ เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ และกลมุ่ คนขา้ มเพศเองไดศ้ กึ ษาและน�ำ ไปปรบั ใชเ้ พอ่ื ใหส้ ามารถสง่ เสรมิ สขุ ภาพ แบบองคร์ วมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ นายแพทยว์ รพล รตั นเลศิ กฤตมิ า สมทิ ธพ์ิ ล บรรณาธกิ าร

ผนู้ ิพนธ์ Authors นพ.กระเษียร ปญั ญาค�ำ เลศิ พบ. (เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั 1) วว. สตู ศิ าสตรแ์ ละนรเี วชวทิ ยา วว. เวชศาสตรก์ ารเจรญิ พนั ธ์ุ M.Sc. in Health development (Epidemiology), Chulalongkorn University รองศาสตราจารย์ ภาควชิ าสตู ศิ าสตรแ์ ละนรเี วชวทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กฤตมิ า สมทิ ธพ์ิ ล ครศุ าสตรบณั ฑติ (คบ.) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั Graduate Certificate in Hospitality Management, University of West London, United Kingdom หวั หนา้ คลนิ กิ สขุ ภาพชมุ ชนแทนเจอรนี มลู นธิ สิ ถาบนั เพอ่ื การวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นเอชไอวี และนกั วจิ ยั ประจ�ำ ศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พ.ญ.เจนจรี า ปรกึ ษาดี พบ. วว. รงั สวี ทิ ยาวนิ จิ ฉยั Visiting fellowship at breast center, UTMB at Galveston, Texas, USA Visiting fellowship at breast center, St. Peter Hospital/Washington university in St. Louis, Missouri, USA ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยพ์ เิ ศษ หนว่ ยวนิ ฉิ ยั โรคเตา้ นม ฝา่ ยรงั สวี ทิ ยา โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย เจษฎา แตส้ มบตั ิ ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ผ้อู ํานวยการมูลนิธิเครือข่ายเพ่อื นกะเทยเพ่อื สิทธิมนุษยชน และเจ้าหน้าท่บี ริหารงานท่วั ไป สํานักวิจัยและ บรกิ ารวชิ าการ คณะสงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

พญ.ฉนั ทส์ ดุ า พงศพ์ นั ธผ์ุ ภู้ กั ดี พบ. (เกยี รตนิ ยิ ม) วว. กมุ ารเวชศาสตร์ วว. กมุ ารเวชศาสตรต์ อ่ มไรท้ อ่ M.Sc. in Child and Adolescent Mental Health, Institute of Child Health, University College London (Merit) อาจารย์ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นพ.ธนภพ บ�ำ เพญ็ เกยี รตกิ ลุ พบ. (เกยี รตนิ ยิ ม) วว. สตู ศิ าสตรแ์ ละนรเี วชวทิ ยา วว. เวชศาสตรก์ ารเจรญิ พนั ธ์ุ อาจารยฝ์ า่ ยวชิ าการ ภาควชิ าสตู ศิ าสตรแ์ ละนรเี วชวทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พญ.ธนั ยวรี ์ ภธู นกจิ พบ. (เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั 1) ว.ว. กมุ ารเวชศาสตร์ ว.ว. กมุ ารเวชศาสตรโ์ รคตดิ เชอ้ื M.Sc. (Clinical investigation, Johns Hopkins University, Baltimore, USA) รองศาสตราจารย์ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นพ.ธติ ิ สนบั บญุ พบ. วท.ม. สาขาวชิ าตอ่ มไรท้ อ่ และเมตะบอลสิ ม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นพ.ธรี ยทุ ธ รงุ่ นริ นั ดร พบ. วว. จติ เวชศาสตร์ อว. จติ เวชศาสตรก์ ารเสพตดิ อาจารย์ ภาควชิ าจติ เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

ผู้นพิ นธ์ Authors พญ.นติ ยา ภานภุ าค พบ. (เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั 1) วว. ตจวทิ ยา Clinical Fellowship in HIV Dermatology, University of California, San Francisco Ph.D. in Medicine, University of Amsterdam, Netherlands ผอู้ �ำ นวยการมลู นธิ สิ ถาบนั เพอ่ื การวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นเอชไอวี และนกั วจิ ยั ประจ�ำ ศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทาง ดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นพ.นพิ ฒั น์ ธรี ตกลุ พศิ าล พบ. วว. สตู ศิ าสตรแ์ ละนรเี วชวทิ ยา ผอู้ �ำ นวยการฝา่ ยบรกิ ารดา้ นการแพทย์ มลู นธิ สิ ถาบนั เพอ่ื การวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นเอชไอวี พ.ต.ต.หญงิ ปองขวญั ยม้ิ สอาด พบ. วว. จติ เวชศาสตร์ อว. จติ เวชศาสตรก์ ารเสพตดิ นติ ศิ าสตรบณั ฑติ (นบ.) มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช Master of Science in Addiction Studies (Distinction), King’s College London, United Kingdom กลมุ่ งานจติ เวชและยาเสพตดิ โรงพยาบาลต�ำ รวจ พญ.เปรมสดุ า สมบญุ ธรรม พบ. วว. โสต ศอ นาสกิ วทิ ยา Clinical Fellowship in Laryngology, University of Toronto, Canada ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ภาควชิ าโสต ศอ นาสกิ วทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นพ.พนม เกตมุ าน วท.บ. พบ. ป.ชน้ั สงู (จติ เวชศาสตร)์ วว.(จติ เวชศาสตร)์ Diploma of Child and Adolescent Psychiatry, University of London and Institute of Psychiatry ผชู้ ว่ ยศาสตรจารย์ ภาควชิ าจติ เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

พญ.พนั ตรี เกดิ โชค พบ. วว. จติ เวชศาสตรเ์ ดก็ และวยั รนุ่ อาจารย์ ภาควชิ าจติ เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พว.พนิ ทสุ ร เกตวุ งศา พยาบาลศาสตรบณั ฑติ (พย.บ.) มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง เจ้าหน้าท่สี นับสนุนวิชาการ คลินิกสุขภาพชุมชนแทนเจอรีน มูลนิธิสถาบันเพ่อื การวิจัยและนวัตกรรมด้าน เอชไอวี พญ.พนู พศิ มยั สวุ ะโจ พบ. วว. ศลั ยศาสตร์ วว. ศลั ยศาสตรต์ กแตง่ และเสรมิ สรา้ ง อาจารย์ ภาควชิ าศลั ยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รณภมู ิ สามคั คคี ารมย์ วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) สาขาวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ (Health Science) คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ปรญิ ญาโท ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาสงั คมศาสตรก์ ารแพทยแ์ ละสาธารณสขุ (Medical and Health Social Sciences) คณะสงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ปรญิ ญาเอก ดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาสงั คมศาสตรก์ ารแพทยแ์ ละสาธารณสขุ คณะสงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ประธานมูลนิธิเครือข่ายเพ่ือนกะเทยเพ่ือสิทธิมนุษยชน และผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

ผู้นพิ นธ์ Authors รนี า่ จนั ทรอ์ �ำ นวยสขุ รฐั ศาสตรบณั ฑติ (รบ.) มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ MBA. International Public Services, University of Birmingham, United Kingdom ผ้จู ัดการโครงการ (สุขภาพกล่มุ ประชากรคนข้ามเพศ) คลินิกสุขภาพชุมชนแทนเจอรีน มูลนิธิสถาบันเพ่อื การวจิ ยั และนวตั กรรมดา้ นเอชไอวี และนกั วจิ ยั ประจ�ำ ศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั นพ.วรพล รตั นเลศิ พบ. วว. ศลั ยศาสตร์ วว. ศลั ยศาสตรต์ กแตง่ และเสรมิ สรา้ ง แพทยว์ จิ ยั (สขุ ภาพกลมุ่ ประชากรคนขา้ มเพศ) คลนิ กิ สขุ ภาพชมุ ชนแทนเจอรนี มลู นธิ สิ ถาบนั เพอ่ื การวจิ ยั และ นวตั กรรมดา้ นเอชไอวี และนกั วจิ ยั ประจ�ำ ศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พญ.วภิ าพร นาฏาลี ทรงทวสี นิ Bachelor of Medicine, Bachelor of Surgery, St George’s, University of London Diploma in Tropical Medicine and Hygiene, Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University วว. กมุ ารเวชศาสตร์ (จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ) ศนู ยเ์ ชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นวจิ ยั โรคตดิ เชอ้ื เดก็ และวคั ซนี จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นพ.ศริ ชยั จนิ ดารกั ษ์ พบ. (เกยี รตนิ ยิ ม) วว. ศลั ยศาสตรต์ กแตง่ และเสรมิ สรา้ ง Honorary Fellowship in Head and Neck Surgery, Royal Marsden Hospital, London, England รองศาสตราจารย์ ภาควชิ าศลั ยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

นพ.สรวศิ วยั นพิ ฐิ พงษ์ พบ. วว. จติ เวชศาสตร์ อาจารย์ ฝา่ ยจติ เวชศาสตร์ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย นพ.โสภาคย์ มนสั นยกรณ์ พบ. วว. ศลั ยศาสตร์ M.Sc. in Surgical Science, Imperial College London Ph.D. in Clinical Medicine, Imperial College London รองศาสตราจารย์ ภาควชิ าศลั ยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นพ.อมั รนิ ทร์ สวุ รรณ พบ. (เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั 1) วว. สตู ศิ าสตรแ์ ละนรเี วชวทิ ยา วว. อนสุ าขาเวชศาสตรก์ ารเจรญิ พนั ธ์ุ อาจารย์ ภาควชิ าสตู ศิ าสตรแ์ ละนรเี วชวทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

สารบญั 001 019 Content 027 045 ก(บHาeทรaใทlหt ่ีh1บ้ cรaกิreารSทerาvงicสeขุ sภfoาrพTแraกnค่ sgนeขnา้ dมeเrพPศeople) 065 (กบDาทiaรวgทนิn ่ี o2จิ sฉisยั oภfาGวeะnเdพeศrสDภyาspพhไoมriต่a)รงกบั เพศก�ำ เนดิ 069 (กบGาทeรnใทdห ่ีe3ฮ้ rอ-Aรf์โfมirmนiสn�ำgหHรoบั rmคนonขeา้ มTreเพaศtment in Transgender People) 077 บก(Gาทeรnผทdา่ ่ีe4ตrดั Aเfพfirอ่ืmกaาtรioขnา้ Sมuเrพgeศry) 089 ก(บVาทoรicเทปe ่ีล5Fย่ีeนmเinสiยีzaงtใiนonผหู้inญTrงิaขnา้sgมeเพndศer Women) ส(บSขุeทxภuทาa ว่ี l6ะHทeาaงltเhพiศnขTrอaงnบsgคุ eคnลdขerา้ มPeเพopศle: :เHอIชVไaอnวdแี ลHeะpไวaรtสiั tiตs)บั อกั เสบ ส(บSขุeทxภuทาa ว่ี l7ะHทeาaงltเhพiศnขTrอaงnบsgคุ eคnลdขerา้ มPeเพopศle: :โSรeคxตuaดิ llตyอ่ Trทaาnงsเmพitศteสdมั พInนfั eธc์tions) ส(บMขุ ทeภnทาta พ่ี 8lจHติeขalอthงคinนTขraา้ nมsgเพeศndวeยั rผAู้ใdหuญlts่ )

เ(บTดrทaก็ nแทsลg ่ี 9ะeวnยัdรeนุ่r ขCา้hมildเrพeศn and Adolescents) 099 แ(บGนทuวidททeา ่ีl1iงn0สes�ำ หfoรrบัPsบycคุ hลoาloกgรicทaาlงPสraขุ cภtiาcพe จwติithใTนraกnาsgรeทn�ำ dงeาrนCกhบัildเrดeก็nแaลnะdวAยั dรoนุ่ leขsา้cมeเnพtsศ) 111 (กบRาeทรpใทrหo ่ี d1บ้ u1รcกิ tาivรeคSนeขrvา้ icมeเพs fศoเrกTย่ีraวnกsบgั eกnาdรeเจr รPeญิ oพpนัleธ)์ุ 123 (แบCนทaวnททcา ่ีe1งr2ปScฏrบิeeตั nิใiนngกาinรตTraรวnจsgคeดั nกdeรอr Pงeโรoคpมleะ)เรง็ ส�ำ หรบั คนขา้ มเพศ 135 บผ(Loลทnรgทะ-ย ่ีT1eะ3rยmาEวfขfeอcงtsกoาfรGไดenร้ dบั eฮr-อAรf์โfiมrmนinเพgศHoในrmกoลnมุ่eคTrนeขatา้ mมeเnพtศin Transgender People) 145 บ(กSาuทรbใทsชta ่ี 1ส้ n4าcรeเสUพseตiดิnใTนraคnนsgขeา้ nมdเeพrศPopulation) 155 ก(บSาeทรrvเทตic ่ีร1eยี5Iมmคplวeาmมeพnรtaอ้ tมioใnนfกoาrรTใraหnบ้ sgรeกิ nาdรeทrาPงeสoขุ pภleา)พแกค่ นขา้ มเพศ 175 ค(บSนoทcขทiaา้ ่ีมl1, เL6พegศaใlนaบnรdบิ Cทuขltอuงraสlงั PคeมrspกeฎctหivมeาsยonแTลraะnวsฒั geนnธdรeรrมPไeทoยple) 189 205 ภ(Aาpคpผeนndวiกx)

อภิธานศพั ท์ คนขา้ มเพศ บุคคลท่ีมีอัตลักษณ์ทางเพศหรือมีการรับรู้ทางเพศจากภายในท่ีต่างจาก เพศก�ำ เนดิ หญงิ ขา้ มเพศ / บคุ คลทม่ี เี พศก�ำ เนดิ เปน็ ชายแตม่ อี ตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื มกี ารรบั รทู้ างเพศ ผหู้ ญงิ ขา้ มเพศ จากภายในเปน็ หญงิ ชายขา้ มเพศ / บคุ คลทม่ี เี พศก�ำ เนดิ เปน็ หญงิ แตม่ อี ตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื มกี ารรบั รทู้ างเพศ ผชู้ ายขา้ มเพศ จากภายในเปน็ ชาย เพศก�ำ เนดิ เพศทางชีวะวิทยาท่ียึดจากการวินิจฉัยทางการแพทย์ในวันท่ีบุคคลถือ (Anatomical Sex) ก�ำ เนดิ ซง่ึ เพศก�ำ เนดิ นน้ั ไม่ใชต่ วั ชว้ี ดั อตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื การแสดงออก ทางเพศของแตล่ ะบคุ คล โดยทว่ั ไปเพศก�ำ เนดิ จะมี3 ลกั ษณะ คอื เพศชาย, เพศหญงิ และบคุ คลทม่ี ลี กั ษณะทางสรรี ะทง้ั สองเพศ (Intersex) คนเพศก�ำ เนดิ /คนตรงเพศก�ำ เนดิ บุคคลท่ีมีอัตลักษณ์ทางเพศหรือมีการรับรู้ทางเพศจากภายในแบบเดียว (Cisgender) กบั เพศก�ำ เนดิ หญงิ เพศก�ำ เนดิ / บคุ คลทม่ี เี พศก�ำ เนดิ เปน็ หญงิ และมอี ตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื มกี ารรบั รทู้ าง ผหู้ ญงิ เพศก�ำ เนดิ เพศจากภายในเปน็ หญงิ ชายเพศก�ำ เนดิ / บคุ คลทม่ี เี พศก�ำ เนดิ เปน็ ชาย และมอี ตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื มกี ารรบั รทู้ าง ผชู้ ายเพศก�ำ เนดิ เพศจากภายในเปน็ ชาย อตั ลกั ษณท์ างเพศ เพศท่ีบุคคลรับรู้โดยธรรมชาติ โดยไม่ข้ึนอยู่กับเหตุผลหรือธรรมเนียม (Gender Identity) ปฏบิ ตั แิ ละความเชอ่ื ในสงั คมใด ๆ เปน็ การรบั รภู้ ายในของตวั ปจั เจกบคุ คล การแสดงออกทางเพศ การแสดงออกทางทา่ ท,ี ค�ำ พดู , อากปั กริ ยิ า และการแตง่ กายภายนอกท่ี (Gender Expression) เปน็ ไปตามความตอ้ งการโดยธรรมชาตขิ องปจั เจกบคุ คล การแสดงออก ทางเพศไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั อตั ลกั ษณท์ างเพศและเพศก�ำ เนดิ

รสนิยมหรือความดึงดูดทางเพศ ความรสู้ กึ ดงึ ดดู ทท่ี �ำ ใหต้ อ้ งการมเี พศสมั พนั ธด์ ว้ ย (sexual attraction) (Sexual Orientation or หรือความรู้สึกดึงดูดทางจิตใจเพียงอย่างเดียวท่ีไม่เก่ียวข้องกับการมี Attraction) กจิ กรรมทางเพศ(romanticattraction) หรอื หมายถงึ ทง้ั สองแบบรวมกนั หรอื ไมม่ แี รงดงึ ดดู ทางเพศกบั เพศใด ๆ Gender dysphoria ภาวะทม่ี คี วามไมส่ อดคลอ้ งอยา่ งมากและตอ่ เนอ่ื ง ระหวา่ งเพศสภาพทต่ี น รบั รกู้ บั เพศทถ่ี กู ก�ำ หนดมาแตก่ �ำ เนดิ Gender nonconformity การแสดงออกทางดา้ นเพศในลกั ษณะตา่ ง ๆ ซง่ึ ตา่ งไปจากบทบาทประจ�ำ เพศตามเพศก�ำ เนดิ ของตนทส่ี งั คมหรอื วฒั นธรรมคาดหวงั เชน่ การแตง่ กายบางรปู แบบ หรอื รสนยิ มทางเพศบางลกั ษณะ Male-to-female ค�ำ สรรพนามท่ีใชก้ ลา่ วถงึ หญงิ ขา้ มเพศ Female-to-male ค�ำ สรรพนามท่ีใชก้ ลา่ วถงึ ชายขา้ มเพศ Transgender female / หญงิ ขา้ มเพศ transgender woman Transgender male / ชายขา้ มเพศ transgender man

ระดบั ของคำ�แนะน�ำ เนอ้ื หาสว่ นหนง่ึ ภายในคมู่ อื ฉบบั น้ี เปน็ การแนะน�ำ แนวทางปฏบิ ตั สิ �ำ หรบั ผู้ใหบ้ รกิ ารทางสาธารณสขุ หรอื ค�ำ แนะน�ำ เพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพส�ำ หรบั ผรู้ บั บรกิ าร ทง้ั นท้ี างคณะผจู้ ดั ท�ำ ไดม้ กี ารแบง่ ระดบั ค�ำ แนะน�ำ ออกเปน็ 2 ระดบั โดยพจิ ารณาจาก1) ความนา่ เชอ่ื ถอื ของแหลง่ อา้ งองิ ท่ีใชป้ ระกอบค�ำ แนะน�ำ 2) ผลลพั ธ์ในเชงิ บวกของการปฏบิ ตั ติ าม ค�ำ แนะน�ำ 3) ผลกระทบในเชงิ ลบหรอื ภาวะแทรกซอ้ นของค�ำ แนะน�ำ และ 4) ความยอมรบั ในกลมุ่ บคุ คลทค่ี �ำ แนะน�ำ ตอ้ งการใหน้ �ำ ไปปฏบิ ตั ิ ค�ำ แนะน�ำ ระดบั ท่ี 1 หมายถงึ ค�ำ แนะน�ำ ทผ่ี อู้ า่ นพงึ น�ำ ไปปฏบิ ตั ติ ามอยา่ งเครง่ ครดั • ความนา่ เชอ่ื ถอื ของแหลง่ อา้ งองิ อยู่ในระดบั สงู • ผลลพั ธ์ในเชงิ บวกของการปฏบิ ตั ติ ามค�ำ แนะน�ำ มคี วามถกู ตอ้ งและคาดหวงั ไดส้ งู • ผลกระทบในเชงิ ลบหรอื ภาวะแทรกซอ้ นของค�ำ แนะน�ำ มนี อ้ ย • ไดร้ บั การยอมรบั ในกลมุ่ บคุ คลทค่ี �ำ แนะน�ำ นน้ั ตอ้ งการใหน้ �ำ ไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งกวา้ งขวาง ค�ำ แนะน�ำ ระดบั ท่ี 2 หมายถงึ ค�ำ แนะน�ำ ทผ่ี อู้ า่ นอาจน�ำ ไปปฏบิ ตั หิ รอื ไมก่ ็ได้ ทง้ั นข้ี น้ึ กบั ความพรอ้ ม และ บรบิ ทของสถานพยาบาลในแตล่ ะแหง่ • ความนา่ เชอ่ื ถอื ของแหลง่ อา้ งองิ อยู่ในระดบั ปานกลางถงึ ต�ำ่ • ผลลพั ธ์ในเชงิ บวกของการปฏบิ ตั ติ ามค�ำ แนะน�ำ อาจมคี วามไมแ่ นน่ อน • ผลกระทบในเชงิ ลบหรอื ภาวะแทรกซอ้ นของค�ำ แนะน�ำ มปี านกลางถงึ มาก ควรพจิ ารณาผลในเชงิ บวกเปรยี บ เทยี บกบั ผลกระทบในเชงิ ลบหรอื ภาวะแทรกซอ้ นของค�ำ แนะน�ำ • ยงั มคี วามคดิ เหน็ แตกตา่ งของการยอมรบั ในกลมุ่ บคุ คลทค่ี �ำ แนะน�ำ นน้ั ตอ้ งการใหน้ �ำ ไปปฏบิ ตั ิ

บทที่ 1 การใหบ้ รกิ แากรค่ทนางขสา้ ขุมภเพาพศ Healthcare Services for Transgender People กฤตมิ า สมทิ ธพ์ิ ล รนี า่ จนั ทรอ์ �ำ นวยสขุ มลู นธิ เิ อเชยี แปซฟิ คิ ทรานสเ์ จนเดอร์ เนตเวริ ค์ (APTN) ดร.พญ.นติ ยา ภานภุ าค

1. ค นขา้ มเพศ (trans/transgender people) 1ในบรบิ ทของประเทศไทย ขอ้ มลู จาก Asia Pacific Transgender Health Blueprint โดยมลู นธิ เิ อเชยี แปซฟิ คิ ทรานสเ์ จนเดอร์ เนตเวริ ค์ (Asia Pacific Transgender Network, APTN) ไดค้ าดประมาณการณว์ า่ มบี คุ คลขา้ มเพศอยจู่ �ำ นวน 9-9.5 ลา้ นคน ในภมู ภิ าคเอเชยี และแปซฟิ กิ 1 ส�ำ หรบั ประเทศไทย ขอ้ มลู จากกรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ ไดเ้ ปดิ เผยตวั เลข ว่ามีจำ�นวนหญิงข้ามเพศในประเทศไทยท้ังหมดอยู่ประมาณ 313,747 คน2 สำ�หรับจำ�นวนของชายข้ามเพศ ในประเทศไทยยงั ไมม่ ขี อ้ มลู ทแ่ี นช่ ดั และงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วกบั ชายขา้ มเพศยงั มจี �ำ กดั เชน่ กนั อย่างไรก็ตามเน่อื งจากยังไม่มีการออกกฎหมายรับรองเพศสภาพในประเทศไทย ประชากรคนข้ามเพศจึง ต้องประสบกับปัญหาการถูกตีตราและเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศในหลายมิติ จากผลการวิจัยเร่อื ง “การเคารพ ตอ่ สาวประเภทสองโดยเปรยี บเทยี บกบั การเกลยี ดกลวั คนขา้ มเพศในทว่ั โลก” ซง่ึ จดั ท�ำ ขน้ึ โดยมลู นธิ เิ ครอื ขา่ ยเพอ่ื น กะเทยเพอ่ื สทิ ธมิ นษุ ยชนและสหภาพคนขา้ มเพศยโุ รป3 พบวา่ คนขา้ มเพศถกู ท�ำ รา้ ยรา่ งกายโดยคนในครอบครวั 6% ถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศในโรงเรยี น 29% ถกู ปฏเิ สธการจา้ งงานดว้ ยเหตแุ หง่ อตั ลกั ษณท์ างเพศ 22% ซง่ึ สง่ ผลกระทบ ตอ่ สขุ ภาพจติ และการด�ำ เนนิ ชวี ติ ของคนขา้ มเพศในหลายมติ ิ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในบรบิ ทของการเขา้ ถงึ บรกิ ารทาง สุขภาพ ซ่ึงผลจากงานวิจัยเดียวกันได้แสดงให้เห็นว่าคนข้ามเพศเกือบคร่งึ หน่ึงของผ้เู ข้าร่วมการสำ�รวจไม่เคยพบ แพทยเ์ พอ่ื ปรกึ ษาเรอ่ื งสขุ ภาพทว่ั ไป รวมไปถงึ การขา้ มเพศอยา่ งปลอดภยั 3 และคนขา้ มเพศทเ่ี ขา้ รว่ มการส�ำ รวจอกี เกอื บครง่ึ หนง่ึ เชน่ กนั ทต่ี อ้ งพบกบั ประสบการณเ์ ชงิ ลบเมอ่ื ไปเขา้ รบั บรกิ ารทางสขุ ภาพเนอ่ื งจากการถกู ตตี ราและเลอื ก ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยเหตแุ หง่ เพศจากบคุ ลากรทางการแพทย3์ ยกตวั อยา่ งเชน่ การถกู ปฏบิ ตั โิ ดยไม่ใหเ้ กยี รตจิ ากผู้ใหบ้ รกิ าร ซ่งึ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเข้าถึงการบริการทางสุขภาพของคนข้ามเพศเป็นอย่างมาก นอกจากน้ียังมีรายงาน จากกระทรวงสาธารณสขุ ในประเดน็ ของการเขา้ ถงึ บรกิ ารดา้ นเอชไอวแี ละโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธข์ องคนขา้ มเพศ ซ่ึงพบว่าผู้ให้บริการทางสุขภาพมากกว่า 15% มีทัศนคติในแง่ลบต่อหญิงข้ามเพศท่ีมารับบริการด้านเอชไอวี4 ซ่ึงประสบการณ์เชิงลบเหล่าน้ีได้ถูกถ่ายทอดและส่ือสารภายในชุมชน ทำ�ให้คนข้ามเพศจำ�นวนมากรู้สึกอัดอัด เปน็ กงั วลใจ และรง้ั รอทจ่ี ะเขา้ รบั บรกิ ารทางสขุ ภาพ 2 บทท่ี 1 การใหบ้ รกิ ารทางสุขภาพแก่คนขา้ มเพศ

นอกจากรายงานตา่ ง ๆ ทช่ี ้ีใหเ้ หน็ ถงึ อปุ สรรคและความทา้ ทายในการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางสขุ ภาพของคนขา้ ม เพศในประเทศไทยแลว้ ยงั มรี ายงานทช่ี ้ีใหเ้ หน็ ถงึ ปญั หาในลกั ษณะเดยี วกนั ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในระดบั นานาชาตเิ ชน่ กนั โดย โครงการเอดสแ์ หง่ สหประชาชาติ (UNAIDS) ไดร้ ายงานในภาพรวมทว่ั โลกวา่ ประชากรหญงิ ขา้ มเพศจดั เปน็ หนง่ึ ใน กลมุ่ ผทู้ ม่ี คี วามเปราะบางตอ่ การตดิ เชอ้ื เอชไอว5ี ซง่ึ มสี าเหตสุ ว่ นหนง่ึ มาจากปญั หาและอปุ สรรคในการเขา้ ถงึ การบรกิ าร ทางสขุ ภาพตามทก่ี ลา่ วไวข้ า้ งตน้ เชน่ เดยี วกนั นอกจากปญั หา อปุ สรรคและความทา้ ทายในการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางดา้ นสขุ ภาพของคนขา้ มเพศ ซง่ึ มสี าเหตมุ า จากอคตทิ างเพศและความไมเ่ ขา้ ใจประเดน็ เรอ่ื งความหลากหลายทางเพศของผู้ใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพแลว้ สาเหตหุ ลกั ของอปุ สรรคและความทา้ ทายในการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางสขุ ภาพของคนขา้ มเพศอกี หนง่ึ ประการคอื ขอ้ จ�ำ กดั ของแหลง่ ขอ้ มลู ความรแู้ ละงานวจิ ยั ดา้ นสขุ ภาพของคนขา้ มเพศ รวมไปถงึ จ�ำ นวนของผู้ใหบ้ รกิ ารซง่ึ มอี ยเู่ ปน็ จ�ำ นวนจ�ำ กดั มาก เชน่ กนั บทที่ 1 การให้บริการทางสขุ ภาพแกค่ นข้ามเพศ 3

2. ว ตั ถปุ ระสงคแ์ ละการจดั ท�ำ แนวทาง การปฏบิ ตั ใิ นการใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพ 1แกค่ นขา้ มเพศ สบื เนอ่ื งจากรายงานหลายฉบบั ทง้ั ในระดบั ประเทศและนานาชาตทิ แ่ี สดงใหเ้ หน็ ตรงกนั ถงึ อปุ สรรคและความ ทา้ ทายในการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางดา้ นสขุ ภาพของคนขา้ มเพศ ซง่ึ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ทง้ั ในกลมุ่ ประชากร คนข้ามเพศ ผ้เู ก่ยี วข้อง และสังคมโดยรวม ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ประพันธ์ ภานุภาค ผ้อู ำ�นวยการ ศนู ยว์ จิ ยั โรคเอดส์ สภากาชาดไทย จงึ มดี �ำ รทิ จ่ี ะเปดิ การใหบ้ รกิ ารทางดา้ นสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพ ชวี ติ และเพม่ิ ขดี ความสามารถในการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางดา้ นสขุ ภาพใหก้ บั กลมุ่ ประชากรคนขา้ มเพศทกุ กลมุ่ เพ่ือให้สามารถเข้าใจถึงความต้องการบริการทางสุขภาพจากชุมชนอย่างแท้จริงศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทยจึงได้จัดการประชุมร่วมกับชุมชนคนข้ามเพศในเดือนกันยายนปีพุทธศักราช 2558 เพ่อื รับฟังเสียง จากสมาชิกในชุมชนว่ามีความต้องการการบริการทางด้านสุขภาพในรูปแบบใด ซ่ึงได้รับข้อสรุปจากชุมชนว่า ควรมีการเปิดคลินิกสำ�หรับคนข้ามเพศโดยเฉพาะข้ึน โดยให้มีการจัดการให้บริการทางสุขภาพแบบองค์รวม เข้าถึงได้ง่าย และเปิดกว้างให้ชุมชนมีส่วนร่วม รวมท้ังเปิดให้บริการโดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของคนในชุมชน อย่างแท้จริง และควรให้บริการอย่างไม่ตัดสิน และเคารพในศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ของผู้รับบริการทุกคน อยา่ งเทา่ เทยี ม คลนิ กิ คนขา้ มเพศ ภายใตช้ อ่ื “คลนิ กิ สขุ ภาพชมุ ชนแทนเจอรนี ” จงึ ไดถ้ อื ก�ำ เนดิ และเปดิ ใหบ้ รกิ ารเปน็ ครง้ั แรกเมอ่ื วนั ท่ี 27 พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช 2558 ภายใตง้ บประมาณสนบั สนนุ จากองคก์ รเพอ่ื การพฒั นาระหวา่ ง ประเทศของสหรฐั อเมรกิ า (USAID) โดยมกี ารใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพส�ำ หรบั คนขา้ มเพศแบบองคร์ วม มบี คุ ลากรผู้ให้ บรกิ ารทง้ั ทเ่ี ปน็ และไมเ่ ปน็ สมาชกิ จากชมุ ชนคนขา้ มเพศ ซง่ึ บคุ ลากรทกุ คนตอ้ งผา่ นการอบรมเรอ่ื งความละเอยี ดออ่ น ในการใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศกอ่ นจะสามารถเรม่ิ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ด้ โดยคลนิ กิ นย้ี งั ถอื เปน็ ตน้ แบบในการ ใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพโดยมชี มุ ชนเปน็ สว่ นรว่ ม และเนน้ ย�ำ้ ถงึ ความส�ำ คญั ในความรว่ มมอื ระหวา่ งบคุ ลากร ผู้ใหบ้ รกิ าร และพนั ธมติ รทง้ั ทเ่ี ปน็ และไมไ่ ดเ้ ปน็ สมาชกิ จากชมุ ชนคนขา้ มเพศอยา่ งเทา่ เทยี มกนั อยา่ งไรกต็ าม นบั ตง้ั แตอ่ ดตี เปน็ ตน้ มายงั ไมเ่ คยมกี ารจดั ท�ำ แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการใหบ้ รกิ ารทางดา้ นสขุ ภาพ แกค่ นขา้ มเพศส�ำ หรบั ในประเทศไทยมากอ่ น แพทยแ์ ละบคุ ลากรทางการแพทย์ รวมถงึ นกั วจิ ยั ทต่ี อ้ งท�ำ งานรว่ มกบั ชมุ ชนคนขา้ มเพศจงึ ตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทโ่ี ดยการอา้ งองิ คมู่ อื หรอื แนวทางปฏบิ ตั จิ ากตา่ งประเทศ ซง่ึ มคี วามเหมอื นและ ตา่ งจากบรบิ ทของประเทศไทยหลายประการ กอ่ ใหเ้ กดิ อปุ สรรคและความทา้ ทายในการใชง้ านจรงิ อยบู่ อ่ ยครง้ั ดว้ ย ความรว่ มมอื ของศนู ยค์ วามเชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพคนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั จงึ เกดิ แนวคดิ ใน การจดั ท�ำ แนวทางการปฏบิ ตั ิในการใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพคนขา้ มเพศส�ำ หรบั ประเทศไทยขน้ึ โดยเฉพาะ เพอ่ื เปน็ ตน้ แบบ 4 บทที่ 1 การให้บริการทางสุขภาพแกค่ นข้ามเพศ

ในการใชอ้ า้ งองิ ในการใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศในประเทศไทย ซง่ึ มงุ่ หวงั ใหส้ ามารถน�ำ ไปใช้ไดท้ ง้ั ในกลมุ่ ผู้ใหบ้ รกิ ารในระดบั ปฐมภมู แิ ละผู้ใหบ้ รกิ ารทม่ี คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะทางจากทกุ ภาคสว่ น อนง่ึ “คมู่ อื การใหบ้ รกิ าร สขุ ภาพคนขา้ มเพศ” ฉบบั น้ี นอกจากจะครอบคลมุ เนอ้ื หาของการใหบ้ รกิ ารทางการแพทยส์ �ำ หรบั การดแู ลสขุ ภาพของ คนขา้ มเพศแลว้ ยงั ครอบคลมุ ไปถงึ การดแู ลคณุ ภาพชวี ติ ของคนขา้ มเพศในแงม่ มุ อน่ื ดว้ ย เชน่ การดแู ลใหค้ �ำ ปรกึ ษา เรอ่ื งการขา้ มเพศในแบบทไ่ี ม่ใชย้ าหรอื ไมต่ อ้ งเขา้ รบั การผา่ ตดั การดแู ลคนในครอบครวั และผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั คนขา้ มเพศ การใหค้ �ำ ปรกึ ษาเกย่ี วกบั ขอ้ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การใชช้ วี ติ ของคนขา้ มเพศ ซง่ึ ถอื เปน็ องคค์ วามรทู้ ส่ี �ำ คญั ในการ ดแู ลสขุ ภาพของคนขา้ มเพศแบบองคร์ วม6 หลกั การส�ำ คญั ในการพฒั นาการใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ • ควรจดั ใหก้ ารบรกิ ารสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการใหบ้ รกิ ารโดยรฐั • ควรจดั ใหม้ ชี ดุ บรกิ ารทเ่ี หมาะสมและมคี ณุ ภาพ เขา้ ถงึ ไดส้ �ำ หรบั คนทกุ ฐานะ • สถานบรกิ ารควรมบี รรยากาศของการใหเ้ กยี รตแิ ละการยอมรบั • ควรมชี อ่ งทางในการใหข้ อ้ มลู การบรกิ ารและสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ บทท่ี 1 การใหบ้ ริการทางสุขภาพแก่คนข้ามเพศ 5

3. ทัศนคติและการแสดงออกในการ 1ใหบ้ ริการทางสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ การให้บริการทางสุขภาพแก่คนข้ามเพศน้ัน นอกจากจะต้องมีองค์ความรู้เก่ียวกับการดูแลสุขภาพของ คนขา้ มเพศทถ่ี กู ตอ้ งแลว้ ผู้ใหบ้ รกิ ารควรมที า่ ทแี ละทศั นคตทิ เ่ี หมาะสมในการใหบ้ รกิ ารเชน่ กนั หลกั ในการใหบ้ รกิ าร นน้ั ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ อ่ ผรู้ บั บรกิ ารทเ่ี ปน็ คนขา้ มเพศเปน็ พเิ ศษมากกวา่ ผรู้ บั บรกิ ารรายอน่ื ผู้ใหบ้ รกิ ารพงึ ใหบ้ รกิ ารคนขา้ มเพศดว้ ยความสภุ าพ ใหเ้ กยี รติ และมที า่ ทที เ่ี ปน็ มติ รเหมอื นกบั การใหบ้ รกิ ารผมู้ ารบั บรกิ ารทกุ ๆ คน อยา่ งไรกต็ ามเพอ่ื สรา้ งทศั นคตทิ ถ่ี กู ตอ้ งและทา่ ทที เ่ี หมาะสมในการใหบ้ รกิ ารคนขา้ มเพศ ผู้ใหบ้ รกิ ารควรศกึ ษาและ ท�ำ ความเขา้ ใจในประเดน็ ส�ำ คญั ตอ่ ไปน้ี 1. ท�ำ ความรจู้ กั วา่ คนขา้ มเพศคอื ใครและเรยี นรเู้ รอ่ื งความละเอยี ดออ่ นในการใชภ้ าษาเพอ่ื สอ่ื สาร กบั คนขา้ มเพศ • คนขา้ มเพศคอื ใคร คนขา้ มเพศถอื เปน็ บคุ คลกลมุ่ หนง่ึ ในกลมุ่ ของบคุ คลผมู้ คี วามหลากหลายทางเพศ โดยค�ำ นยิ ามคนขา้ ม เพศ คอื ผทู้ ม่ี อี ตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื มกี ารรบั รทู้ างเพศจากภายในทต่ี า่ งจากเพศก�ำ เนดิ ซง่ึ แบง่ เปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่ ไดแ้ ก่ 1. ผทู้ ม่ี เี พศก�ำ เนดิ เปน็ ชายแตม่ อี ตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื มกี ารรบั รทู้ างเพศจากภายในเปน็ หญงิ เรยี กวา่ “หญงิ ขา้ มเพศ” 2. ผทู้ ม่ี เี พศก�ำ เนดิ เปน็ หญงิ แตม่ อี ตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื มกี ารรบั รทู้ างเพศจากภายในเปน็ ชาย เรยี กวา่ “ชายขา้ มเพศ” คนข้ามเพศน้ันมีท้ังกลุ่มท่ีรับรู้อัตลักษณ์ทางเพศของตัวเองและได้ผ่านกระบวนการของการข้ามเพศ มาแลว้ เชน่ มกี ารใชฮ้ อรโ์ มนหรอื ท�ำ ศลั ยกรรมเพอ่ื การขา้ มเพศ เปน็ ตน้ จงึ มภี าพของการแสดงออกและการใชช้ วี ติ ทเ่ี ปน็ ไปตามเพศทต่ี วั เองรบั รจู้ ากภายใน แตก่ ย็ งั มกี ลมุ่ คนขา้ มเพศทอ่ี าจรอู้ ตั ลกั ษณท์ างเพศของตวั เอง แตย่ งั ไมไ่ ด้ ผา่ นหรอื ไมส่ ามารถเขา้ สกู่ ระบวนการในการขา้ มเพศได้ บคุ คลในกลมุ่ นจ้ี งึ อาจยงั มภี าพการแตง่ กายและการใชช้ วี ติ ตามเพศก�ำ เนดิ เดมิ อยู่ รวมถงึ อาจมคี นบางกลมุ่ ทย่ี งั ไมแ่ น่ใจในอตั ลกั ษณท์ างเพศของตนเองเชน่ กนั ซง่ึ ในกรณนี อ้ี าจ ตอ้ งเขา้ สกู่ ระบวนการรบั ค�ำ ปรกึ ษาจากผู้ใหบ้ รกิ ารทางการแพทยเ์ พอ่ื เรยี นรแู้ ละสรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความตอ้ งการ ของตนเอง อยา่ งไรกต็ ามกระบวนการในการขา้ มเพศและความคาดหวงั ตอ่ ผลลพั ธท์ ไ่ี ดอ้ าจแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะบคุ คล ผู้ใหบ้ รกิ ารควรท�ำ ความเขา้ ใจและใหบ้ รกิ ารโดยไมต่ ดั สนิ หรอื ตตี รา 6 บทท่ี 1 การใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ

อนง่ึ การใชฮ้ อร์โมนหรอื การท�ำ ศลั ยกรรม เพอ่ื การปรบั ลกั ษณะทางกายภาพอาจไมไ่ ดจ้ �ำ กดั อยเู่ พยี งใน กลมุ่ ของหญงิ หรอื ชายขา้ มเพศเทา่ นน้ั แตย่ งั มกี ลมุ่ บคุ คลผมู้ คี วามหลากหลายทางเพศกลมุ่ อน่ื ๆ ทอ่ี าจตอ้ งการการ เขา้ ถงึ บรกิ ารทางการแพทยเ์ พอ่ื ปรบั ลกั ษณะทางกายภาพใหเ้ ปน็ ไปตามเพศทต่ี อ้ งการเชน่ เดยี วกนั • ค�ำ เรยี กคนขา้ มเพศ มคี �ำ มากมายท่ใี ชเ้ รยี กคนขา้ มเพศทง้ั จากชายเปน็ หญงิ และจากหญงิ เปน็ ชายในสงั คมไทยและนานาชาติ อยา่ งไรกต็ ามค�ำ สว่ นใหญม่ กั มคี วามหมายเชงิ ลบ ลอ้ เลยี น หรอื ตคี วามไดห้ ลายอยา่ ง ในการใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพ แก่คนข้ามเพศ คำ�ท่ีแนะนำ�ให้ใช้ในการเรียกคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงคือคำ�ว่า “หญิงข้ามเพศ” และคำ�ว่า “ชายขา้ มเพศ” ส�ำ หรบั คนขา้ มเพศจากหญงิ เปน็ ชาย เนอ่ื งจากค�ำ ทง้ั สองค�ำ นม้ี คี วามหมายเปน็ กลาง ไมม่ คี วามหมาย แฝงเชงิ ลบและไมส่ ามารถตคี วามเปน็ อน่ื ได้ • สรรพนามและค�ำ น�ำ หนา้ นามของคนขา้ มเพศ การใชค้ �ำ สรรพนามหรอื ค�ำ ทเ่ี รยี กผมู้ ารบั บรกิ ารทเ่ี ปน็ คนขา้ มเพศอยา่ งเหมาะสมเปน็ สง่ิ ทม่ี คี วามส�ำ คญั มาก ในการแสดงการใหเ้ กยี รตแิ ละแสดงถงึ ความเคารพตอ่ ตวั บคุ คลขา้ มเพศ หากไมแ่ น่ใจควรสอบถามผรู้ บั บรกิ าร วา่ ตอ้ งการให้ใชส้ รรพนามหรอื ค�ำ เรยี กอยา่ งใดและควรใชต้ ามความประสงคข์ องผรู้ บั บรกิ ารโดยไมต่ ดั สนิ 7 ส�ำ หรบั ค�ำ น�ำ หนา้ นามนน้ั เบอ้ื งตน้ ผู้ใหบ้ รกิ ารควรใชค้ �ำ วา่ “คณุ ” แทนการใชค้ �ำ วา่ “นาย” หรอื “นาง” หรือ “นางสาว” เพ่อื เป็นการหลีกเล่ยี งการใช้คำ�นำ�หน้านามท่อี าจไม่ตรงกับอัตลักษณ์ทางเพศของผ้มู ารับบริการ เนอ่ื งจากค�ำ วา่ “คณุ ” เปน็ ค�ำ ทเ่ี ปน็ กลาง สภุ าพและสามารถใช้ไดก้ บั ผรู้ บั บรกิ ารทกุ คน บทที่ 1 การใหบ้ ริการทางสุขภาพแกค่ นข้ามเพศ 7

2. เขา้ ใจหลกั การส�ำ คญั ของการใหบ้ รกิ ารวา่ คนขา้ มเพศไม่ใชผ่ ปู้ ว่ ยจติ เวช ผู้ให้บริการพึงทำ�ความเข้าใจว่าบุคคลข้ามเพศไม่ใช่ผู้ป่วยจิตเวช การให้บริการทางสุขภาพแก่คนข้ามเพศ น้ันเป็นไปเพ่ือการสนับสนุนให้คนข้ามเพศสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีอิสระในวิถีความต้องการอันชอบธรรมของ ปจั เจกบคุ คล ไมพ่ ยายามทจ่ี ะเปลย่ี นแปลงอตั ลกั ษณท์ างเพศ รสนยิ มทางเพศ หรอื วถิ กี ารด�ำ เนนิ ชวี ติ ของคนขา้ มเพศ ซ่ึงนอกจากอาจจะไม่ได้ผลแล้วยังอาจส่งผลเสียต่อตัวบุคคลข้ามเพศเองด้วย8-10 การให้บริการเชิงสนับสนุนด้วย ความเขา้ ใจและไมม่ องวา่ คนขา้ มเพศเปน็ ผปู้ ว่ ย จงึ เปน็ หลกั การส�ำ คญั และสอดคลอ้ งกบั เจตนารมย์ในการถอดถอน ภาวะการขา้ มเพศออกจากอาการความผดิ ปกตทิ างจติ ขององคก์ ารอนามยั โลกในบญั ชจี �ำ แนกโรคฉบบั ท่ี11(ICD-11) ซง่ึ คาดวา่ จะมผี ลบงั คบั ใชท้ ว่ั โลกภายในปี พ.ศ.2565 น1้ี 1 (รปู ท่ี 1) รปู ท่ี 1: การถอดถอนภาวะการขา้ มเพศออกจากอาการความผดิ ปกตทิ างจติ ขององคก์ ารอนามยั โลกในบญั ชจี �ำ แนก โรคฉบบั ท่ี 11 (อา้ งองิ จาก World Health Organization) 8 บทที่ 1 การให้บริการทางสุขภาพแกค่ นขา้ มเพศ

3. เรยี นรแู้ ละท�ำ ความเขา้ ใจในเรอ่ื งของความหลากหลายทางเพศ ผู้ให้บริการพึงเรียนรู้และทำ�ความเข้าใจเร่ืองความหลากหลายทางเพศ เพ่ือให้เข้าใจว่าความหลากหลาย ทางเพศเปน็ เรอ่ื งปกติ ไม่ใชเ่ รอ่ื งนา่ รงั เกยี จ หรอื เปน็ อาการทางจติ แตอ่ ยา่ งใด ซง่ึ นอกจากจะชว่ ยลดอคตทิ างเพศ ซง่ึ มกั กอ่ ใหเ้ กดิ การตตี ราและเลอื กปฏบิ ตั แิ ลว้ ยงั มสี ว่ นชว่ ยใหผ้ ู้ใหบ้ รกิ ารมที า่ ทที เ่ี ปน็ มติ รโดยธรรมชาติ อนั เกดิ มาจาก การมคี วามเขา้ ใจและทศั นคตทิ ถ่ี กู ตอ้ งตอ่ เรอ่ื งความหลากหลายทางเพศ The Genderbread Person v4 Identity Attraction Expression Sex means a lack of what’s on the right side Identity Expression Sex Gender Sexual Orientation and/or (a/o) Genderbread Person Version 4 created and uncopyrighted 2017 by Sam Killermann For a bigger bite, read more at www.genderbread.org รปู ท่ี 2: The Genderbread Person (อา้ งองิ จาก Killermann S. The Genderbread Person v4. 2017.) บทท่ี 1 การให้บรกิ ารทางสุขภาพแก่คนข้ามเพศ 9

ผู้ใหบ้ รกิ ารควรท�ำ ความเขา้ ใจในเรอ่ื งของความหลากหลายทางเพศในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1. อตั ลกั ษณท์ างเพศ (Gender Identity) เนอ่ื งจากอตั ลกั ษณท์ างเพศเปน็ เรอ่ื งของการ หมายถงึ เพศทบ่ี คุ คลรบั รโู้ ดยธรรมชาติ โดยไมข่ น้ึ อยกู่ บั รบั รภู้ ายในของปจั เจกบคุ คล ผู้ใหบ้ รกิ ารพงึ เคารพ เหตผุ ลหรอื ธรรมเนยี มปฏบิ ตั แิ ละความเชอ่ื ในสงั คมใด ๆ เปน็ การรบั รู้ ในอตั ลกั ษณท์ างเพศของผรู้ บั บรกิ าร และยอมรบั ภายในของตวั ปจั เจกบคุ คล เชน่ การรบั รวู้ า่ เราเปน็ หญงิ หรอื เปน็ ชาย โดยไมต่ ง้ั ค�ำ ถามหรอื ตดั สนิ ใด ๆ หรอื ไมเ่ ปน็ หญงิ หรอื ชาย ซง่ึ เกดิ ขน้ึ เองโดยธรรมชาติ อนง่ึ อตั ลกั ษณ์ ทางเพศของบคุ คลอาจต่างจากเพศก�ำ เนิด และอาจมคี วามลน่ื ไหล เปลย่ี นแปลงได้ ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งอยกู่ บั ทเ่ี สมอไป 2. การแสดงออกทางเพศ (Gender Expression) หมายถึงการแสดงออกทางท่าที, คำ�พูด, อากัปกิริยา และการแต่งกายภายนอกท่เี ป็นไปตามความ ต้องการโดยธรรมชาติของปัจเจกบุคคล การแสดงออกทางเพศไม่จำ�เป็นต้องสอดคล้องกับอัตลักษณ์ทางเพศ, เพศก�ำ เนดิ และความคาดหวงั จากสงั คมเสมอไป เนอ่ื งจากเปน็ วถิ โี ดยธรรมชาตขิ องตวั ปจั เจกบคุ คล การแสดงออก ทางเพศสามารถลน่ื ไหลเปลย่ี นแปลงไดเ้ ชน่ เดยี วกนั ในหลายกรณีสังคมมักกำ�หนดบทบาทและท่าทีในการแสดงออกทางเพศของเพศชายและหญิงอย่างชัดเจนและตายตัว เช่น ผู้ชายควร แสดงออกถงึ ความเขม้ แขง็ ไมค่ วรรอ้ งไห้ ผหู้ ญงิ ควรแสดงออกถงึ ความออ่ นหวาน เรยี บรอ้ ย วา่ งา่ ย ซง่ึ เปน็ คา่ นยิ มทต่ี า่ งกนั ไปตามรากเหงา้ ของวัฒนธรรมในแต่ละสังคม แต่ท้ังน้ีการกำ�หนดบทบาทดังกล่าวมักมีสาเหตุมาจากการมองว่าโลกน้ีมีคนเพียงแค่สองเพศ หรือค่านิยมใน บางสังคมท่ีให้ความสำ�คัญกับเพศชายเป็นใหญ่ บางคร้ังการแสดงออกทางเพศท่ีต่างไปจากส่ิงท่ีสังคมคาดหวังจึงเป็นเร่ืองท่ีสังคมไม่ยอมรับ ในความเปน็ จรงิ แลว้ ปจั เจกบคุ คลพงึ มอี สิ ระในการแสดงออกทางเพศอยา่ งชอบธรรมตามวถิ ขี องตนเอง 3. เพศก�ำ เนดิ (Anatomical Sex) หมายถงึ เพศทางชวี ะวทิ ยาทย่ี ดึ จากการวนิ จิ ฉยั ทางการแพทย์ในวนั ทบ่ี คุ คลถอื ก�ำ เนดิ ซง่ึ เพศก�ำ เนดิ นน้ั ไม่ใช่ ตัวช้ีวัดอัตลักษณ์ทางเพศหรือการแสดงออกทางเพศของแต่ละบุคคล โดยท่ัวไปเพศกำ�เนิดจะมี 3 ลักษณะ คือ เพศชาย, เพศหญงิ และบคุ คลทม่ี ลี กั ษณะทางสรรี ะทง้ั สองเพศ (Intersex) 10 บทที่ 1 การใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ

4. รสนยิ มหรอื ความดงึ ดดู ทางเพศ (Sexual Orientation or Attraction) หมายถึงรสนิยมหรือความร้สู ึกดึงดูดทางเพศ ซ่งึ ในคนหน่งึ คนสามารถมีรสนิยมหรือความร้สู ึกดึงดูด ทางเพศไดท้ ง้ั ตอ่ คนเพศเดยี วกนั , คนตา่ งเพศ และคนทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศ ยกตวั อยา่ งเชน่ หญงิ ขา้ มเพศ อาจมคี เู่ ปน็ หญงิ ขา้ มเพศดว้ ยกนั หรอื ชายขา้ มเพศอาจ มีค่เู ป็นชายเพศกำ�เนิด รสนิยมทางเพศน้นั นอกจากจะ สมาคมจติ แพทยอ์ เมรกิ นั ไดถ้ อดถอนการรกั เพศเดยี วกนั ออก หมายถึงความรู้สึกดึงดูดท่ีทำ�ให้ต้องการมีเพศสัมพันธ์ จากการมอี าการผดิ ปกตทิ างจติ ในปี 197312 และองคก์ ารอนามยั ด้วยแล้ว (sexual attraction) ยังหมายถึงความร้สู ึก โลกได้ถอดถอนการรักเพศเดียวกันออกจากการมีอาการผิดปกติ ดึงดูดทางจิตใจเพียงอย่างเดียวท่ีไม่เก่ียวข้องกับการมี ทางจติ เชน่ เดยี วกนั ในปี 199013 นบั ตง้ั แตน่ น้ั เปน็ ตน้ มา การรกั เพศ กจิ กรรมทางเพศกเ็ ปน็ ได้ (romantic attraction) หรอื เดยี วกนั จงึ ไมถ่ อื เปน็ อาการปว่ ยทางจติ อาจจะหมายถงึ ทง้ั สองแบบรวมกนั นอกจากนม้ี คี นบาง กลมุ่ ทไ่ี มม่ รี สนยิ มหรอื แรงดงึ ดดู ทางเพศกบั เพศใด ๆ กลา่ วคอื รสนยิ มทางเพศนน้ั มคี วามแตกตา่ งไปตามธรรมชาติ ของตวั ปัจเจกบคุ คล ไม่จำ�เป็นวา่ คนเพศไหนจะต้องมคี วามร้สู กึ ดงึ ดดู ใจกับคนเพศไหนโดยเฉพาะ ไม่มกี ฎตายตวั มคี วามลน่ื ไหล ซง่ึ ถอื เปน็ เรอ่ื งธรรมชาติ ไมถ่ อื วา่ เปน็ เรอ่ื งผดิ ปกติ นอกจากความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งของความหลากหลายทางเพศแลว้ ผู้ใหบ้ รกิ ารควรท�ำ ความเขา้ ใจในเรอ่ื ง ตัวตนของบุคคลท่มี ีความหลากหลายทางเพศหรือคนข้ามเพศท่มี ักมีความเข้าใจผิดในสังคมอีกหลายประการเพ่ือ ปอ้ งกนั การเหมารวม เชน่ การมองวา่ คนขา้ มเพศเปน็ คนตลก เปน็ คนทฝ่ี กั ใฝ่ในเรอ่ื งเพศ เปน็ คนทม่ี คี วามสามารถ ในการเสรมิ ความงามหรอื มคี วามสามารถในการแสดง หรอื เปน็ ผทู้ ม่ี พี รสรรค์ในทางใดทางหนง่ึ มากกวา่ บคุ คลทว่ั ไป ซง่ึ ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งคอื ความสามารถพเิ ศษและความสนใจในเรอ่ื งตา่ ง ๆ เปน็ เรอ่ื งเฉพาะของบคุ คล คนขา้ มเพศ กม็ คี วามสามารถเฉพาะตวั และมคี วามสนใจทต่ี า่ งกนั ไป ไมไ่ ดม้ คี วามพเิ ศษไปกวา่ คนกลมุ่ อน่ื และมคี วามหลากหลาย เชน่ เดยี วกนั กบั ประชากรในสงั คมทว่ั ไป 4. ขอ้ ควรและไมค่ วรปฏบิ ตั ิในการใหบ้ รกิ ารกบั ผรู้ บั บรกิ ารทเ่ี ปน็ คนขา้ มเพศ ผ้ใู หบ้ รกิ ารพงึ มที า่ ทใี นการใชค้ �ำ พดู และค�ำ ถามในการสนทนาเพอ่ื สอ่ื สารกบั ผรู้ บั บรกิ ารทเ่ี ปน็ คนขา้ มเพศทส่ี ภุ าพ และเปน็ มติ ร หลกี เลย่ี งทา่ ทหี รอื การใชค้ �ำ พดู หรอื ประโยคทอ่ี าจสอ่ื ความหมายถงึ การตตี รา เหมารวมและไมเ่ คารพใน ตวั บคุ คล ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี บทท่ี 1 การใหบ้ ริการทางสุขภาพแกค่ นข้ามเพศ 11

1. ค�ำ น�ำ หนา้ นามส�ำ หรบั ผรู้ บั บรกิ ารทเ่ี ปน็ คนขา้ มเพศ เพ่ือหลีกเล่ียงการใช้คำ�นำ�หน้านามท่ีอาจไม่ตรงกับอัตลักษณ์ทางเพศของผู้รับบริการ เบ้ืองต้นควร ใชค้ �ำ น�ำ หนา้ นามวา่ “คณุ ” แทนการใชค้ �ำ วา่ “นาย” หรอื “นาง” หรอื “นางสาว” ในการสอ่ื สารกบั ผรู้ บั บรกิ าร หากไมแ่ น่ใจควรถามผมู้ ารบั บรกิ ารดว้ ยความสภุ าพวา่ ประสงคจ์ ะให้ใชค้ �ำ สรรพนามใด 2. ผู้ใหบ้ รกิ ารควรมที า่ ทที ส่ี ภุ าพและเปน็ มติ ร ไมค่ วรซบุ ซบิ แสดงทา่ ทรี งั เกยี จ แสดงทา่ ทขี บขนั 12 บทท่ี 1 การใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ

3. หลกี เลย่ี งการใชค้ �ำ หลกี เลย่ี งการใชค้ �ำ เรยี กผรู้ บั บรกิ ารทเ่ี ปน็ คนขา้ มเพศวา่ “ตวั เอง” “คนสวย” หรอื ค�ำ อน่ื ๆ ทส่ี อ่ื ความหมาย ไปในทางตตี ราหรอื ไมเ่ คารพในตวั บคุ คล 4. หลกี เลย่ี งบทสนทนาท่ีไมเ่ กย่ี วขอ้ ง หลีกเล่ียงบทสนทนาท่ีไม่เก่ียวข้องกับการมารับบริการของผู้รับบริการในวันน้ัน เช่น “สวยเหมือน ผหู้ ญงิ เลยคะ่ ” “ดไู มอ่ อกเลยนะคะ” “รตู้ วั วา่ เปน็ มาตง้ั แตเ่ มอ่ื ไหร”่ เนอ่ื งจากเปน็ ประโยคหรอื บทสนทนาทอ่ี าจมคี วาม หมายในทางการตตี รา ซง่ึ อาจท�ำ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารรสู้ กึ อดึ อดั ใจ บทท่ี 1 การให้บริการทางสขุ ภาพแกค่ นขา้ มเพศ 13

5. ไมค่ วรถามค�ำ ถามท่ีไมเ่ กย่ี วขอ้ ง ไม่ควรถามคำ�ถามหรือประวัติการทำ�ศัลยกรรมท่ีไม่เก่ียวข้องกับการมารับบริการในคร้ังน้ัน เช่น “สวยจังเลย ผ่าหรือยังคะ” “ทำ�หน้าอกท่ีหมอไหนคะ ราคาเท่าไหร่” หากจำ�เป็นต้องถามหรือซักประวัติให้ ขออนญุ าตกอ่ นอยา่ งสภุ าพ 6. ไมค่ วรตดั สนิ ไมค่ วรตดั สนิ ผรู้ บั บรกิ ารดว้ ยเหตแุ หง่ อาชพี เชอ้ื ชาติ ศาสนา ฐานะทางเศรษฐกจิ อตั ลกั ษณท์ างเพศ หรอื รสนยิ มทางเพศ ควรปฏบิ ตั ติ อ่ ผรู้ บั บรกิ ารทกุ คนดว้ ยความเทา่ เทยี มกนั 14 บทท่ี 1 การให้บรกิ ารทางสขุ ภาพแกค่ นข้ามเพศ

7. ไมเ่ หมารวมรสนยิ มทางเพศ  ไมเ่ หมารวมรสนยิ มทางเพศของผรู้ บั บรกิ าร เชน่ ผรู้ บั บรกิ ารทเ่ี ปน็ หญงิ ขา้ มเพศ อาจมคี ทู่ เ่ี ปน็ หญงิ ขา้ ม เพศเหมอื นกนั การแสดงทที า่ แปลกใจ ตง้ั ค�ำ ถาม หรอื ตดั สนิ อาจท�ำ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารรสู้ กึ อดึ อดั ใจ 5. การจดั เตรยี มการใหบ้ รกิ ารอน่ื ๆ นอกจากการใหค้ วามส�ำ คญั เรอ่ื งการจดั เตรยี มความพรอ้ มทางดา้ นทศั นคติใหก้ บั เจา้ หนา้ ทแ่ี ลว้ การเตรยี มชดุ บรกิ ารทต่ี อบสนองตอ่ ความตอ้ งการของคนขา้ มเพศ การจดั เตรยี มสถานท่ี และการพฒั นาแบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ ท่ีใช้ใน การลงทะเบยี นและเกบ็ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ มติ ร รวมถงึ การบรหิ ารจดั การอน่ื ๆ ในสถานบรกิ ารกเ็ ปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ทผ่ี ู้ใหบ้ รกิ าร ควรค�ำ นงึ ถงึ (ซง่ึ จะกลา่ วถงึ หวั ขอ้ นโ้ี ดยละเอยี ด ในบทท่ี 15) บทที่ 1 การใหบ้ ริการทางสขุ ภาพแก่คนข้ามเพศ 15

สรุป ค่มู ือการให้บริการสุขภาพคนข้ามเพศฉบับน้นี ับเป็นจุดเร่มิ ต้นของการบูรณาการและพัฒนาองค์ความร้เู ร่อื ง การดแู ลสขุ ภาพของคนขา้ มเพศ รวมถงึ การปฏบิ ตั ติ วั ของผู้ใหบ้ รกิ ารทเ่ี หมาะสม ซง่ึ ทง้ั หมดนเ้ี กดิ ขน้ึ จากความรว่ มมอื ของสหสาขาวชิ าชพี แพทยแ์ ละชมุ ชนคนขา้ มเพศ ภายใตค้ วามรว่ มมอื ของศนู ยค์ วามเชย่ี วชาญเฉพาะทางดา้ นสขุ ภาพ คนขา้ มเพศ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผนู้ พิ นธข์ อขอบคณุ ผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยทท่ี �ำ ใหก้ ารผลติ องคค์ วามรทู้ ส่ี �ำ คญั นเ้ี กดิ ผลส�ำ เรจ็ และจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผคู้ นในสงั คมและประเทศตอ่ ไป 16 บทที่ 1 การใหบ้ รกิ ารทางสุขภาพแก่คนขา้ มเพศ

เอกสารอ้างองิ 1. Health Policy Project, Asia Pacific Transgender Network, United Nations Development Programme. 2015. Blueprint for the Provision of Comprehensive Care for Trans People and Trans Communities. Washington, DC: Futures Group, Health Policy Project. 2. KP Size Estimation, MOPH, 2015. 3. มลู นธิ เิ ครอื ขา่ ยเพอื่ นกะเทยเพอ่ื สทิ ธมิ นษุ ยชน,Transgender Europe (TGEU). การเคารพตอ่ สาวประเภทสองโดยเปรยี บเทยี บกบั การเกลยี ดกลวั คนขา้ มเพศในทวั่ โลก. 2015. 4. Thailand. ส�ำ นักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวา่ งประเทศ. Report of a pilot : developing tools and methods to measure HIV-related stigma and discrimination in health care settings in Thailand. Bangkok: International Health Policy Program, Ministry of Public Health; 2014. ix, 134 pages p. 5. UNAIDS. Prevention Gap Report. 2016. 6. C avanaugh, T, Hopwood, R, Gonzalez, A, Thompson, J. The medical care of transgender persons. Boston, MA: Fenway Health; 2015 Oct. 38 p. 7. Rebchook G, Demmons S, Rapues J. Trans 101: Transgender People in Everyday Work and Life! Prevention Science, Department of Medicine, University of California, San Francisco: Center of Excellence for Transgender Health; [Available from: https:// prevention.ucsf.edu/transhealth/education/trans101. 8. Turban JL, Beckwith N, Reisner SL, Keuroghlian AS. Association Between Recalled Exposure to Gender Identity Conversion Efforts and Psychological Distress and Suicide Attempts Among Transgender Adults. JAMA Psychiatry. 2019:1-9. 9. The Lies and Dangers of Efforts to Change Sexual Orientation or Gender Identity: Human Rights Campaign; [Available from: https://www.hrc.org/resources/the-lies-and-dangers-of-reparative-therapy. 10. A nton, B. S. (2010). Proceedings of the American Psychological Association for the legislative year 2009: Minutes of the annual meeting of the Council of Representatives and minutes of the meetings of the Board of Directors. American Psychologist, 65, 385-475. doi:10.1037/a0019553 11. International Classification of Diseases 11th Revision: World Health Organization; [Available from: https://icd.who.int/en. 12. Psychiatrists, in a Shift, Declare Homosexuality No Mental Illness [press release]. The New York Times1973. 13. International Day against Homophobia, Transphobia and Biphobia: World Health Organization; 2017 [Available from: https:// www.who.int/life-course/news/events/intl-day-against-homophobia/en/. บทท่ี 1 การให้บรกิ ารทางสุขภาพแก่คนข้ามเพศ 17



บทท่ี 2 การวนิ ไมจิ ต่ฉัยรงภกาบัวะเเพพศศกส�ำ ภเนาพดิ Diagnosis of Gender Dysphoria นพ.สรวศิ วยั นพิ ฐิ พงษ์

บ ทน�ำ คนข้ามเพศ (transgender) หมายถึง ผ้ทู ่มี ีภาวะเพศสภาพไม่ตรงกับเพศกำ�เนิด (gender dysphoria) โดยการวนิ จิ ฉยั ภาวะนม้ี เี กณฑท์ ่ีใชก้ นั อยา่ งหลากหลาย ซง่ึ แตล่ ะเกณฑก์ ม็ กี ารเปลย่ี นแปลงและพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ปรบั เปลย่ี นใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจทต่ี รงกนั ระหวา่ งบคุ ลากรทางการแพทย์ในทกุ ภมู ภิ าคทว่ั โลก ตามบญั ชจี �ำ แนกโรคระหวา่ งประเทศ (ICD) ขององคก์ ารอนามยั โลก ใหก้ ารวนิ จิ ฉยั ผมู้ ภี าวะเพศสภาพไมต่ รง กบั เพศก�ำ เนดิ ไวแ้ ตกตา่ งกนั โดยในบญั ชจี �ำ แนกโรคฯ ฉบบั ท่ี 10 (ICD-10) เรยี กภาวะนว้ี า่ “transsexualism”1 และ บรรยายลักษณะทางคลินิกว่าเป็นภาวะท่มี ีความต้องการท่จี ะมีลักษณะภายนอกและบทบาททางสังคมเหมือนเพศ ตรงขา้ ม รวมถงึ ความตอ้ งการทจ่ี ะผา่ ตดั แปลงอวยั วะเพศของตนใหเ้ ปน็ ลกั ษณะเหมอื นเพศตรงขา้ ม โดยราชวทิ ยาลยั จติ แพทยแ์ หง่ ประเทศไทยก�ำ หนดศพั ทภ์ าษาไทยของภาวะนว้ี า่ ภาวะอยากแปลงเพศ2 ส�ำ หรบั บญั ชจี �ำ แนกโรคระหวา่ งประเทศ ฉบบั ท่ี11(ICD-11) ซง่ึ องคก์ ารอนามยั โลกวางแผนจะประกาศใช้ในปี ค.ศ. 2022 ไดม้ กี ารปรบั เปลย่ี นค�ำ โดยเรยี กภาวะนว้ี า่ “gender incongruence of adolescence or adulthood”3 และให้คำ�อธิบายไว้ว่า เป็นภาวะท่ีมีความไม่สอดคล้องอย่างมากและต่อเน่ือง (marked and persistent incongruence) ระหวา่ งเพศสภาพทต่ี นรบั รู้ (individual’s experienced gender) กับเพศทถ่ี กู กำ�หนดมาแต่ ก�ำ เนดิ (assigned sex) ซง่ึ น�ำ ไปสคู่ วามตอ้ งการทจ่ี ะเปลย่ี นไปใชช้ วี ติ และไดร้ บั การยอมรบั เชน่ เดยี วกบั เพศสภาพ ทต่ี นรบั รู้ โดยอาศยั การรกั ษาดว้ ยฮอรโ์ มน การผา่ ตดั หรอื การบรกิ ารทางสขุ ภาพอน่ื ๆ เพอ่ื ท�ำ ใหร้ า่ งกายของตนมี ลกั ษณะตามเพศสภาพทต่ี นรบั รู้ ทง้ั นไ้ี มส่ ามารถวนิ จิ ฉยั ภาวะนไ้ี ดก้ อ่ นทจ่ี ะเรม่ิ เขา้ วยั เจรญิ พนั ธ์ุ(puberty) หรอื อาศยั ขอ้ มลู จากพฤตกิ รรมหรอื รสนยิ มทางเพศเพยี งอยา่ งเดยี ว นอกจากน้ี ยังมีเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะเพศสภาพไม่ตรงกับเพศกำ�เนิดอีกฉบับหน่ึงซ่ึงถูกใช้อย่างแพร่ หลาย คอื เกณฑก์ ารวนิ จิ ฉยั DSM-5 (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, 5th Edition) 20 บทที่ 2 การวินจิ ฉยั ภาวะเพศสภาพไมต่ รงกบั เพศก�ำ เนดิ

ซง่ึ เปน็ ของสมาคมจติ แพทยอ์ เมรกิ นั 4 ซง่ึ ประกอบดว้ ยเกณฑก์ ารวนิ จิ ฉยั ดงั น้ี 1. ม คี วามไมส่ อดคลอ้ งอยา่ งมาก (marked incongruence) ระหวา่ งเพศสภาพทต่ี นรบั รหู้ รอื แสดงออก (experienced/expressed gender) และเพศก�ำ เนดิ (assigned gender) เปน็ ระยะเวลาอยา่ งนอ้ ย 6 เดอื น โดยอาจแสดงออกในอยา่ งนอ้ ย 2 ลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1 ม ีความไม่สอดคล้องอย่างมากระหว่างเพศสภาพท่ีตนรับรู้หรือแสดงออก กับลักษณะทางเพศ ทง้ั ปฐมภมู ิ และ/หรอื ทตุ ยิ ภมู ิ (primary and/or secondary sex characteristics) 1.2 มคี วามตอ้ งการอยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะก�ำ จดั ลกั ษณะทางเพศทง้ั ปฐมภมู ิ และ/หรอื ทตุ ยิ ภมู ิ เนอ่ื งจากมคี วาม ไมส่ อดคลอ้ งอยา่ งมากกบั เพศสภาพทต่ี นรบั รหู้ รอื แสดงออก 1.3 มคี วามตอ้ งการอยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะมลี กั ษณะทางเพศทง้ั ปฐมภมู ิ และ/หรอื ทตุ ยิ ภมู ขิ องอกี เพศหนง่ึ 1.4 มคี วามตอ้ งการอยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะเปน็ อกี เพศหนง่ึ (รวมถงึ เพศอน่ื นอกเหนอื จากเพศก�ำ เนดิ ของตน) 1.5 ม ีความต้องการอย่างย่ิงท่ีจะได้รับการปฏิบัติเช่นเดียวกับตนเป็นอีกเพศหน่ึง (รวมถึงเพศอ่ืน นอกเหนอื จากเพศก�ำ เนดิ ของตน) 1.6 มคี วามเชอ่ื มน่ั อยา่ งยง่ิ วา่ ตนมคี วามรสู้ กึ และการตอบสนองตา่ ง ๆ เหมอื นตนเปน็ อกี เพศหนง่ึ 2. ภาวะดงั กลา่ วกอ่ ใหเ้ กดิ ความทกุ ข์ใจอยา่ งมาก หรอื สง่ ผลตอ่ การท�ำ หนา้ ท่ีในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การเขา้ สงั คม การท�ำ งาน หรอื ดา้ นอน่ื ๆ ทง้ั น้ี เกณฑก์ ารวนิ จิ ฉยั ภาวะเพศสภาพไมต่ รงกบั เพศก�ำ เนดิ ขา้ งตน้ ใชส้ �ำ หรบั คนขา้ มเพศทเ่ี ปน็ ผู้ใหญห่ รอื วยั รนุ่ (transgender adults and adolescents) เทา่ นน้ั สว่ นในเดก็ ขา้ มเพศ (transgender children) มเี กณฑก์ าร วนิ จิ ฉยั ของสมาคมจติ แพทยอ์ เมรกิ นั โดยเฉพาะและมรี ายละเอยี ดแตกตา่ งกนั (รายละเอยี ดอยู่ในบทท่ี 10) บทท่ี 2 การวินจิ ฉยั ภาวะเพศสภาพไมต่ รงกบั เพศก�ำ เนดิ 21

1. บทบาทของจติ แพทย์ ในการวนิ ิจฉัย 2ภาวะเพศสภาพไม่ตรงกบั เพศกำ�เนิด ตามประกาศขอ้ บงั คบั แพทยสภาวา่ ดว้ ยการรกั ษาจรยิ ธรรมแหง่ วชิ าชพี เวชกรรม เรอ่ื ง เกณฑก์ ารรกั ษาเพอ่ื แปลงเพศ พ.ศ.25525 จติ แพทย์ เปน็ ผมู้ หี นา้ ท่ีในการประเมนิ วนิ จิ ฉยั และวนิ จิ ฉยั แยกโรค รวมถงึ ใหค้ �ำ ปรกึ ษาและ รบั รองส�ำ หรบั การใหก้ ารรกั ษาเพอ่ื แปลงเพศ โดยอาศยั การรบั รองจากจติ แพทยอ์ ยา่ งนอ้ ย 2 ทา่ น ค�ำ แนะน�ำ ส�ำ หรบั จติ แพทย์ในการวนิ จิ ฉยั ภาวะเพศสภาพไมต่ รงกบั เพศก�ำ เนดิ มขี อ้ แนะน�ำ ตามแนวทางปฏบิ ตั ิ ทว่ั ไปส�ำ หรบั จติ แพทยข์ องราชวทิ ยาลยั จติ แพทยแ์ หง่ ประเทศไทย6 ในการชว่ ยเหลอื ผมู้ ปี ญั หาเอกลกั ษณท์ างเพศ ดงั น้ี จติ แพทยเ์ ปน็ ผปู้ ระเมนิ ทางจติ เวชเพอ่ื การวนิ จิ ฉยั โรคทางจติ เวช วนิ จิ ฉยั แยกโรคหรอื ภาวะอน่ื ๆ และโรคท่ี พบรว่ ม รวมถงึ ปญั หาบคุ ลกิ ภาพ ปญั หาทางกาย ปญั หาในครอบครวั และระดบั การปรบั ตวั ในชวี ติ เพอ่ื ประกอบการ วางแผนชว่ ยเหลอื โดยขอ้ มลู ทใ่ี ช้ในการวนิ จิ ฉยั โรคควรไดจ้ ากหลายฝา่ ย ครอบคลมุ ตง้ั แตเ่ ดก็ จนถงึ วยั รนุ่ ในบรบิ ทตา่ ง ๆ ทบ่ี ง่ บอกถงึ การแสดงออกทางเพศ รวมถงึ ประวตั คิ รอบครวั หนา้ ทข่ี องครอบครวั (family function) ทศั นคตขิ อง ผู้ปกครอง การเล้ียงดู พัฒนาการทางเพศ บทบาทประจำ�เพศ (gender roles) ตลอดจนการตรวจร่างกาย เพอ่ื แยกโรคหรอื ภาวะทางกายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และการตรวจสภาพจติ (mentalstatusexamination) เพอ่ื ประเมนิ ปจั จยั ดา้ นเพศตา่ ง ๆ และพยาธสิ ภาพทางจติ (psychopathology) นอกจากน้ี จิตแพทย์ยังสามารถส่งตรวจการทดสอบทางจิตวิทยา (psychological test) และซักถาม ประวตั กิ ารทดลองใชช้ วี ติ แบบเพศตรงขา้ ม เชน่ การแตง่ กาย กจิ กรรม การเขา้ สงั คม ระยะเวลา ความตอ่ เนอ่ื ง และผลจากการทดลองใช้ชีวิต โดยกำ�หนดให้มีการ ทดลองใชอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งอยา่ งนอ้ ย 12 เดอื น พรอ้ มบนั ทกึ กรณศี กึ ษา: ขอ้ มลู ดงั กลา่ วอยา่ งละเอยี ด และสามารถตรวจสอบได้ ชายโสด 22 ปี นักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหน่ึง ถูกส่งมาพบ จติ แพทยเ์ พอ่ื ประเมนิ กอ่ นรบั ฮอรโ์ มนเพอ่ื การขา้ มเพศ ใหป้ ระวตั วิ า่ เรม่ิ แตง่ กายเปน็ หญงิ ไดป้ ระมาณ6 เดอื น เพราะมคี วามสขุ ทางเพศ การวินิจฉัยของจิตแพทย์สำ�หรับผู้มีภาวะเพศ และรสู้ กึ สบายใจเวลาแตง่ กายเปน็ หญงิ ยงั รบั รวู้ า่ ตนเปน็ เพศชาย สภาพไมต่ รงกบั เพศก�ำ เนดิ จะครอบคลมุ โรคทางจติ เวช แตต่ อ้ งการรบั ฮอร์โมนเพอ่ื ใหล้ กั ษณะภายนอกของตนคลา้ ยหญงิ ปัญหาบุคลิกภาพ โรคทางกายท่ีมีผลต่อการปรับตัว มากขน้ึ เปน็ บตุ รคนเดยี ว บดิ ามารดามอี ารมณร์ นุ แรง เคยมปี ระวตั ิ ปญั หาในครอบครวั การยอมรบั จากครอบครวั และระดบั รกั ษาซมึ เศรา้ และสมาธสิ น้ั สมยั ยงั เดก็ ตรวจสภาพจติ พบวา่ สวม ความสามารถในการปรับตัวในปัจจุบันและในระยะเวลา รองเทา้ นกั เรยี นหญงิ แตเ่ ครอ่ื งแตง่ กายอน่ื ๆ เปน็ เพศชาย ไมส่ บตา พดู คอ่ นขา้ งเรว็ สอบถามประวตั เิ พม่ิ เตมิ มปี ญั หาการเขา้ กบั เพอ่ื น 12 เดอื นกอ่ นหนา้ นน้ั มาตลอด จติ แพทย์ใหก้ ารวนิ จิ ฉยั เปน็ transvesticdisorder และ autistic spectrum disorders with family problems ใหก้ าร รกั ษาดว้ ยการใหค้ �ำ ปรกึ ษาและการบ�ำ บดั ครอบครวั 22 บทท่ี 2 การวินจิ ฉัยภาวะเพศสภาพไมต่ รงกับเพศก�ำ เนดิ

2. ก ารวนิ จิ ฉยั แยกโรค (differential diagnosis) 2เพอ่ื วนิ จิ ฉยั อาการทค่ี ลา้ ย gender dysphoria4,7 การไมเ่ ปน็ ไปตามบทบาทประจ�ำ เพศ (nonconformity to gender roles) หมายถงึ การแสดงออกทาง ดา้ นเพศในลกั ษณะตา่ ง ๆ ซง่ึ ตา่ งไปจากบทบาทตามเพศก�ำ เนดิ ทส่ี งั คมคาดหวงั เชน่ การแตง่ กายบางรปู แบบ หรอื รสนยิ มทางเพศบางลกั ษณะ การเกดิ อารมณท์ างเพศโดยการสวมใสเ่ ครอ่ื งแตง่ กายของเพศตรงขา้ ม (transvestic disorder) หมายถงึ กลมุ่ โรคกามวติ ถาร (paraphilic disorder) ชนดิ หนง่ึ ซง่ึ ใชก้ ารแตง่ กายเปน็ ลกั ษณะเพศตรงขา้ มเพอ่ื กระตนุ้ อารมณ์ ทางเพศ แตจ่ ะไมพ่ บความไมส่ อดคลอ้ งกนั ระหวา่ งเพศสภาพทต่ี นรบั รหู้ รอื แสดงออก กบั เพศก�ำ เนดิ โรคคดิ วา่ ตนเองมรี ปู รา่ งหรอื อวยั วะผดิ ปกติ (body dysmorphic disorder) หมายถงึ กลมุ่ โรคกลมุ่ ย�ำ้ คดิ ย�ำ้ ท�ำ (obsessive-compulsiveandrelateddisorder) ชนดิ หนง่ึ ทม่ี คี วามหมกมนุ่ เกย่ี วกบั สว่ นหนง่ึ ของของรา่ งกาย วา่ มคี วามผดิ ปกติในลกั ษณะตา่ ง ๆ ซง่ึ ผปู้ ว่ ยกลมุ่ นอ้ี าจตอ้ งการผา่ ตดั แก้ไขอวยั วะเพศ แตไ่ มไ่ ดเ้ ปน็ ผลจากความไม่ สอดคลอ้ งกนั ระหวา่ งเพศสภาพทต่ี นรบั รหู้ รอื แสดงออกกบั เพศก�ำ เนดิ โรคจติ เภท (schizophrenia and other psychotic disorder) หมายถงึ กลมุ่ อาการทม่ี คี วามผดิ ปกติ ของความคดิ เชน่ หลงผดิ (delusion) ในผปู้ ว่ ยบางรายอาจมคี วามคดิ หลงผดิ วา่ ตนเปน็ อกี เพศหนง่ึ รว่ มกบั อาการ ทางจติ อน่ื ๆ (psychosis) ผปู้ ว่ ยกลมุ่ นเ้ี มอ่ื รกั ษาอาการทางจติ จนดขี น้ึ แลว้ ความคดิ หลงผดิ จะหายไป ซง่ึ แตกตา่ ง จากภาวะเพศสภาพไมต่ รงกบั เพศก�ำ เนดิ อยา่ งไรกต็ ามผทู้ ม่ี ภี าวะเพศสภาพไมต่ รงกบั เพศก�ำ เนดิ อาจพบโรคจติ เภท รว่ มดว้ ยได้ บทท่ี 2 การวนิ ิจฉัยภาวะเพศสภาพไม่ตรงกบั เพศกำ�เนดิ 23

3. การวินจิ ฉยั โรคร่วม 2 (comorbidities)4, 7 ปัญหาสุขภาพจิตในคนข้ามเพศมีความแตกต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นผลมาจากทัศนคติและการ ตีตราจากสังคม (stigmatization) หรือการเลือกปฏิบัติ (discrimination) โดยพบความชุกของโรคร่วมในกล่มุ โรควติ กกงั วลและซมึ เศรา้ สงู ทส่ี ดุ รวมถงึ การฆา่ ตวั ตายและพฤตกิ รรมท�ำ รา้ ยตวั เอง และการใชส้ ารเสพตดิ ในเดก็ ข้ามเพศและกลุ่มวัยรุ่นข้ามเพศอาจพบกลุ่มอาการออทิสติก (autistic spectrum disorder) สูงกว่าเด็กท่ัวไป และพบรว่ มกบั กลมุ่ โรควติ กกงั วลและซมึ เศรา้ ไดบ้ อ่ ยเชน่ เดยี วกบั วยั ผู้ใหญ่ 24 บทที่ 2 การวนิ จิ ฉัยภาวะเพศสภาพไม่ตรงกับเพศก�ำ เนดิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook