Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสังคม ปรับปรุง ๖๕ รวมไฟล์แล้ว

หลักสูตรสังคม ปรับปรุง ๖๕ รวมไฟล์แล้ว

Published by Guset User, 2022-08-16 04:55:26

Description: หลักสูตรสังคม ปรับปรุง ๖๕ รวมไฟล์แล้ว

Search

Read the Text Version

ก หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นอนบุ าลกระสงั พทุ ธศักราช 25๖๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาบรุ ีรมั ย์ เขต 2 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ข ประกาศโรงเรยี นอนบุ าลกระสงั เรอื่ ง ใหใ้ ช้หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลกระสัง พุทธศกั ราช ๒๕๖5 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุง พุทธศักราช (2565) ................................................................................................................. โรงเรียนอนุบาลกระสัง สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบรุ ีรัมย์ เขต ๒ ได้ดาเนินการ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลกระสัง (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ตามหลักสูตร (2563 2551 แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช (ปรับปรุง พุทธศักราช (256๑ และเอกสารประกอบ หลักสูตรข้นึ เพ่อื ใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียนอนุบาลกระสงั โดยโรงเรียนได้จดั ทาและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลกั สูตรอิงมาตรฐาน คอื กาหนดมาตรฐาน การเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสานกึ ในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ มั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อนั มี พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข มคี วามรู้และทักษะพนื้ ฐาน รวมทงั้ เจตคติท่จี าเป็นต่อการศึกษาตอ่ การ ประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถ เรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองได้ตามศกั ยภาพ ท้ังนี้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลกระสัง ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานเม่ือวนั ท่ี 17 พฤษภาคม ๒๕๖5 จึงประกาศใหใ้ ช้หลกั สตู รโรงเรียนตั้งแต่บัดนเี้ ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ 19 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖5 ( นายอภิชาติ เรอื งจนิ ดาวลัย ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ( นายสมชาย ไกรศทุ ธิกานต์ ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นอนบุ าลกระสงั หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ค คานา จากการทบทวนหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ นาไปสู่การพัฒนา มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละสาระภูมิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖5) ทมี่ คี วามเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั การเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม สภาพแวดลอ้ ม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยที ี่เจริญก้าวหน้าอยา่ งรวดเรว็ เป็นการพัฒนาส่งเสรมิ ศักยภาพคนของชาติให้สามารถเพ่ิมขีด ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคณุ ภาพ และมาตรฐานระดบั สากล สอดคลองกบั ประเทศไทย ๔.๐ โลกในศตวรรษที่ ๒๑ และทัดเทยี มกบั นานาชาติ ผู้เรยี นมีศกั ยภาพในการแข่งขันและดารงชวี ิตอย่างสรา้ งสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง โรงเรียนจึงพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาด้วยการวางแผนและดาเนนิ การใชห้ ลกั สูตร การเพมิ่ พูน คุณภาพหลักสตู รด้วยการวจิ ยั และพฒั นา การปรับปรุงและพัฒนาหลกั สตู ร จดั ทาระเบียบการวัด และประเมินผล สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน สาระการเรียนรูทองถนิ่ สภาพปัญหา ในชมุ ชนและสังคม ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ และความต้องการของผู้เรียนโดยทกุ ภาคสว่ น โรงเรียนอนบุ าลกระสัง เปน็ โรงเรียนนารอ่ งการใช้หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ดังน้นั กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมโรงเรยี นอนุบาลกระสงั จึงออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ตาม กรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสตู รและจัดการเรียนการสอนตามตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางของสานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน เพ่ือมุ่งเน้นใหก้ ารสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เปน็ ไปอยา่ งสอดคล้องกบั กรอบและ ทศิ ทางทก่ี าหนดไว้ในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาัขน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 และเป็นเคร่อื งมอื ในการ พัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ การเรียนรแู้ ละมศี กยั ภาพในการเรียนรู้ และกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและ วฒั นธรรมโรงเรยี นอนุบาลกระสงั ยงั ได้จัดทา สาระการเรียนรู้เพม่ิ เติม เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนมี โอกาสท่ีจะไดเ้ รียนรู้ อย่างหลากหลายตามความถนัด ความสนใจและความแตกต่างระหวา่ งบุคคลทงั้ ระดับประถมศกึ ษา และ มธั ยมศึกษาตอนต้น ท้ังนี้ การจัดหลกั สูตรโรงเรยี นอนุบาลกระสงั (พุทธศกั ราช ๒๕๖5) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องต้องร่วม รับผิดชอบ โดยร่วมกันทาอย่างอย่างเป็นระบบและต่อเน่ืองในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุงแก้ไข เพอื่ พฒั นานกั เรยี นโรงเรียนอนุบาลกระสงั ให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการ เรยี นรู้และผลการเรยี นรู้ท่กี าหนดไว้ กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรยี นอนบุ าลกระสงั หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ง สารบญั หน้า ประกาศโรงเรยี นอนบุ าลกระสงั ......................................................................................................... ก คานา ................................................................................................................................................... ข สารบญั ............................................................................................................................................... ค ส่วนที่ ๑ ความนา ............................................................................................................................. ๑ ความสาคญั ของหลักสตู ร ............................................................................................... ๔ ลกั ษณะของหลักสูตรสถานศึกษา .................................................................................. ๔ วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ เป้าประสงค์ สปพ.บร 2 ................................................................... ๖ วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ รร.อนุบาลกระสัง ......................................................... ๘ มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ................................................................................... ๙ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียนและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ........................................... ๑๑ บรบิ ทของโรงเรียน ......................................................................................................... ๑๒ สภาพทั่วไป .................................................................................................................... ๑๓ ปรชั ญาโรงเรียน ............................................................................................................ ๑๕ ส่วนที่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ................................................. 16 สาระสาคัญ .................................................................................................................... 17 สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ .......................................... 18 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ....................................................................................... 19 คุณภาพผเู้ รยี น .............................................................................................................. 20 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง ............................................................................ ๒๒ สว่ นท่ี ๓ โครงสร้างหลกั สูตรกล่มุ สาระและคาอธบิ ายรายวชิ า ....................................................... ๘๘ โครงสรา้ งหลักสูตรกล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ................................... ๘๙ คาอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม .................................... ๙๑ สว่ นที่ ๔ โครงสร้างรายวชิ าหนว่ ยการเรยี นรู้ .................................................................................. ๑๓๗ โครงสร้างรายวิชาพน้ื ฐาน .............................................................................................. ๑๓๘ โครงสร้างรายวิชาเพ่มิ เตมิ .............................................................................................. ๑๙๕ ส่วนที่ ๕ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น.................................................................................... ๒๐๙ ภาคผนวก ............................................................................................................................. ........... ๒๑๙ อภธิ านศพั ท์ ................................................................................................................... ๒๒๐ คาสง่ั แต่งต้งั คณะกรรมการบริหารหลักสตู รสถานศึกษา ................................................ ๒๔๘ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

สว่ นที่ ๑ ความนา

2 ส่วนท่ี 1 ความนา พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๗ วรรค ๒ ไดก้ าหนดใหส้ ถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานมหี นา้ ท่จี ัดทาสาระของหลักสูตรในส่วนทเี่ ก่ยี วกบั สภาพปัญหา ในชุมชนและสังคม ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ เพ่ือเป็นสมาชิกที่ดขี องครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ กระทรวงศึกษาธิการได้มคี าสั่งให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในโรงเรยี นทัว่ ไป โดยปีการศึกษา ๒๕๕๓ ใหโ้ รงเรยี นท่วั ไปใช้หลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ในช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๖ สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาบุรรี ัมย์ เขต ๒ ได้กาหนดเป้าหมายและจุดเน้น ในการ พัฒนาผู้เรียน โดยมุ่งพฒั นาทักษะการอ่าน ใชป้ ระโยชน์จากการอา่ นเปน็ เหน็ คุณคา่ และรักการอา่ น มุ่งส่งเสรมิ การศึกษาเรยี นรตู้ ามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ม่งุ สง่ เสริม ใหเ้ กดิ ความตระหนักใน วฒั นธรรมประเพณี มุ่งพัฒนาองค์ความรู้ ประยุกต์ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ มุ่งส่งเสรมิ การใชค้ วามหลากหลาย ทางภาษาและวฒั นธรรม สร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน อยรู่ ่วมกันอย่างเปน็ สขุ กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศใชม้ าตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้วี ัด กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ในกลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ และคาสง่ั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเ้ ปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วดั กล่มุ สาระการ เรียนรคู้ ณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาส่ังใหโ้ รงเรยี นดาเนินการใช้หลกั สูตร ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ และ ๔ ต้ังแตป่ กี ารศึกษา ๒๕๖๑ และใช้ใน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๒ และ ๕ ต้ังแตป่ ีการศึกษา ๒๕๖๒ และในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ให้ใชค้ รบทุกระดับช้ัน ซึ่งจัดใหเ้ ป็นหลักสตู รแกนกลางของประเทศ โรงเรียนอนบุ าลกระสัง สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาบรุ รี มั ย์ เขต ๒ ได้ดาเนนิ การจัดทา หลกั สูตรโรงเรยี นอนบุ าลกระสงั พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยปรับวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ อัตลักษณ์ เอกลกั ษณ์ จดุ เน้น ปรับหลกั สตู รใหส้ อดคล้องกบั หลักสตู รอาเซียน เศรษฐกิจพอเพยี ง การลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ และแผนการศกึ ษาแห่งชาติ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ และปรบั ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่อื ง การบริหารจัดการเวลาเรียน ภาษาอังกฤษ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓ ในสถานศึกษาโดยการปรบั โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษาและเวลา เรียนใหเ้ หมาะสมกับการปฏิรูปการศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรยี นอนุบาลกระสัง จึงได้ทาการปรบั ปรงุ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ในกล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คม ศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ และปรับปรงุ ปี ๒๕๖๕ โดยจดั เพมิ่ รายวิชา เพ่ิมเติม หลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา ในรายวิชา การป้องกนั การทจุ รติ เพือ่ นาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบใน การวางแผนและพัฒนาหลกั สูตรของสถานศึกษาและจดั การเรยี นการสอน โดยมเี ปา้ หมายในการพฒั นา คุณภาพผเู้ รยี น ใหม้ ีกระบวนการนาหลกั สูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวสิ ยั ทศั น์ จุดหมาย สมรรถนะ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

3 สาคญั ของผูเ้ รียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ดั โครงสรา้ งเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวดั ประเมินผลใหม้ ีความสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสใหโ้ รงเรยี นสามารถ กาหนดทศิ ทางในการจัดทาหลกั สตู รการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบ แกนกลางเป็นแนวทางท่ชี ดั เจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มคี วามพร้อมในการกา้ วส่สู ังคม คุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จรงิ และมีทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัดท่ีกาหนดไวใ้ นเอกสารนี้ ช่วยทาให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในทกุ ระดับ เห็นผลคาดหวงั ทตี่ ้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึง่ จะสามารถชว่ ยให้ หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องในระดับท้องถน่ิ และสถานศึกษารว่ มกันพฒั นาหลักสตู รได้อยา่ งมนั่ ใจ ทาให้การจดั ทา หลกั สตู รในระดบั สถานศึกษามีคณุ ภาพและมคี วามเป็นเอกภาพย่งิ ขน้ึ อีกทัง้ ยังช่วยให้เกิดความชดั เจนเรอื่ งการ วัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และช่วยแก้ปญั หาการเทยี บโอนระหว่างสถานศกึ ษา โดยกาหนดจดุ หมาย และ มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปา้ หมายและกรอบทิศทางในการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนมีพฒั นาการเต็มตามศักยภาพ มคี ุณภาพและมที ักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายและเปา้ หมายของสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน และเพื่อใชเ้ ปน็ กรอบและทศิ ทางในการจดั การเรียนการสอน และเพื่อให้ กระบวนการนาหลักสตู รไปสู่การปฏบิ ตั อิ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมท้ังรว่ มกนั รับผดิ ชอบและทางานรว่ มกันอยา่ ง เป็นระบบ โดยจัดทาและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสตู รองิ มาตรฐาน คือ กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผเู้ รียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูท้ ก่ี าหนด ในหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรยี นทุกคนในด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มีจติ สานกึ ในความ เป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมขุ มีความรแู้ ละทกั ษะพนื้ ฐาน รวมท้งั เจตคติ ทีจ่ าเป็นตอ่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ การศกึ ษาตลอดชีวติ โดยมุง่ เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเช่ือวา่ ทุกคนสามารถเรียนรู้และพฒั นา ตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ (นายอภชิ าติ เรอื งจินดาวลัย) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน โรงเรียนอนบุ าลกระสงั หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

4 ความสาคญั ของหลักสูตรสถานศึกษา หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นอนุบาลกระสงั พุทธศักราช 256๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มีความสาคญั ในการพฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชี้วัด และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้เปน็ แนวทางใหผ้ บู้ รหิ ารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตลอดจน ผูเ้ กย่ี วขอ้ งกบั การจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในการจัดมวลประสบการณใ์ ห้แกผ่ ูเ้ รียนได้พฒั นาให้บรรลุถึง คณุ ภาพตามมาตรฐานในการพัฒนาเยาวชน ของชาติ นอกเหนือจากการใชเ้ ปน็ แนวทาง หรือขอ้ กาหนดใน การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษายังเป็นหลกั สูตร ทม่ี ีจดุ ม่งุ หมายให้ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ รในทอ้ งถ่นิ ท้ัง ภาครัฐและเอกชนเขา้ รว่ มจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยมแี นวทางสาคัญทีส่ ถานศึกษากาหนดไว้ใน หลกั สตู รสถานศึกษา ดงั นี้ 1. หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนอนบุ าลกระสัง พทุ ธศักราช 256๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ่ พฒั นาใหผ้ ้เู รยี นเกดิ ความสนุกสนานและความเพลดิ เพลนิ ในการเรยี นรู้เปรยี บเสมือนเป็นวิธสี ร้างกาลงั ใจ และเร้าใหเ้ กิดความกา้ วหน้าแก่ผ้เู รยี นให้มากท่ีสดุ มคี วามรสู้ งู สดุ ผู้เรียนทุกคนมีความเข้มแข็ง ความสนใจ มปี ระสบการณ์ และความม่นั ใจ เรียนและทางาน อยา่ งเปน็ อิสระและรว่ มใจกัน มที กั ษะในการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเปน็ รขู้ ้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยี ส่อื สาร สง่ เสรมิ จติ ใจทีอ่ ยากรู้อยากเห็น และมกี ระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล 2. หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นอนบุ าลกระสงั พุทธศักราช 256๕ ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สง่ เสรมิ การพัฒนาดา้ นจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และ วฒั นธรรม พัฒนาหลักการในการจาแนกระหวา่ งถูกและผิด เขา้ ใจและศรัทธาในความเชอ่ื ของตน ความเชือ่ และวฒั นธรรมท่ีแตกตา่ งกัน พฒั นาหลกั คุณธรรมและความอิสระของผเู้ รียน และช่วยใหเ้ ป็นพลเมอื งที่มีความ รับผดิ ชอบ สามารถช่วยพฒั นาสังคมให้เป็นธรรมขน้ึ มคี วามเสมอภาค พัฒนาความตระหนัก เขา้ ใจ และ ยอมรบั สภาพแวดล้อมที่ตนดารงชวี ิตอยู่ ยึดมัน่ ในข้อตกลงร่วมกนั ตอ่ การพัฒนาทยี่ ่ังยืนท้งั ในระดับส่วนตน ระดบั ท้องถน่ิ ระดบั ชาติ และระดับโลก สร้างให้ผูเ้ รยี นมีความพร้อมในการเป็นผ้บู รโิ ภคทีต่ ดั สนิ ใจแบบมี ขอ้ มลู เป็นอสิ ระ และมคี วามรับผดิ ชอบ ลักษณะของหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลกระสัง พุทธศักราช 25๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นอนบุ าลกระสงั พทุ ธศักราช 256๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เป็นหลักสตู รทสี่ ถานศกึ ษาได้พัฒนาขนึ้ เพื่อพฒั นาผูเ้ รยี นในระดับ ประถมศกึ ษา และมธั ยมศึกษาตอนตน้ โดยยดึ องคป์ ระกอบหลกั สาคัญ 3 สว่ นคอื หลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่ และสาระสาคญั ท่สี ถานศึกษาพัฒนา เพมิ่ เติม เปน็ กรอบในการจดั ทารายละเอยี ดเพ่ือใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานทก่ี าหนด เหมาะสมกบั สภาพชมุ ชนและท้องถ่ินและจุดเนน้ ของสถานศกึ ษา โดยหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นอนบุ าล กระสัง พุทธศกั ราช 256๕ ที่พัฒนาขนึ้ มลี กั ษณะของหลักสตู ร ดงั น้ี 1. เปน็ หลักสูตรเฉพาะของสถานศกึ ษาโรงเรียนอนุบาลกระสงั สาหรบั จัดการศึกษาในหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน จดั ระดับการศกึ ษาเป็น 2 ระดบั คือ ระดับประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6) และ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น (ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 – 3) 2. มคี วามเป็นเอกภาพ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นอนุบาลกระสงั พุทธศกั ราช 256๕ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

5 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เปน็ หลกั สูตรของสถานศกึ ษาสาหรบั ให้ ครูผ้สู อนนาไปจดั การเรียนร้ไู ด้อยา่ งหลากหลาย โดยกาหนดให้ 2.1 มีสาระการเรียนรทู้ ีส่ ถานศึกษาใช้เปน็ หลักเพ่อื สร้างพื้นฐานการคิด การเรยี นรู้ และการ แก้ปญั หา ประกอบด้วย ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2.2 มีสาระการเรียนร้ทู เ่ี สรมิ สรา้ งความเปน็ มนุษย์ ศักยภาพการคิดและการทางาน ประกอบดว้ ย สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ศลิ ปะ การงานอาชีพ และภาษาอังกฤษ 2.3 มสี าระการเรียนรเู้ พิม่ เติม โดยจดั ทาเป็นรายวิชาเพิ่มเติมตามความเหมาะสมและสอดคล้อง กบั โครงสรา้ งเวลาเรยี น สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ ความต้องการของผเู้ รียน และบริบทของสถานศึกษา 2.4 มกี จิ กรรมพัฒนาผู้เรียน เพอ่ื พัฒนาผูเ้ รียนท้ังด้านรา่ งกาย จิตใจ สติปญั ญา อารมณ์ และ สงั คม เสริมสรา้ งการเรียนรู้นอกจากสาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ และการพฒั นาตนตามศักยภาพ 2.5 มกี ารกาหนดมาตรฐานของสถานศกึ ษาทส่ี อดคล้องกับมาตรฐานระดับต่าง ๆ เพ่ือเป็น เป้าหมายของการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จดั ทารายละเอียดสาระการเรียนรู้ และจัด กระบวนการเรยี นรู้ใหส้ อดคล้องกับสภาพในชมุ ชน สงั คม และภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน 3. มีมาตรฐานการเรยี นรเู้ ป็นเป้าหมายสาคัญของการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลกระสัง พุทธศักราช 256๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เป็นหลกั สูตรท่มี ีมาตรฐานเป็นตัวกาหนดเก่ียวกบั คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น เพือ่ เป็นแนวทาง ในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมกี ารกาหนดมาตรฐานไวด้ งั น้ี 3.1 มาตรฐานหลกั สูตร เปน็ มาตรฐานด้านผู้เรยี นหรอื ผลผลิตของหลกั สูตรสถานศึกษา อันเกดิ จากการไดร้ บั การอบรมส่ังสอนตามโครงสร้างของหลักสูตรท้งั หมดใช้เปน็ แนวทางในการตรวจสอบคณุ ภาพ โดยรวมของการจัดการศึกษาตามหลักสตู รในทุกระดับ และสถานศึกษาต้องใชส้ าหรบั การประเมนิ ตนเองเพื่อ จัดทารายงานประจาปตี ามบทบญั ญตั ิในพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษา นอกจากนยี้ งั เปน็ แนวทางในการกาหนด แนวปฏิบัติในการส่งเสรมิ กากับ ติดตาม ดูแล และปรบั ปรุงคณุ ภาพ เพ่อื ให้ไดต้ ามมาตรฐานท่ีกาหนด 3.2 มีตวั ชี้วัดช้ันปเี ป็นเป้าหมายระบสุ ิ่งที่นักเรยี นพึงรู้และปฏิบัตไิ ด้ รวมทัง้ คุณลักษณะของผเู้ รียน ในแต่ละระดับชั้นซ่ึงสะท้อนถึงมาตรฐานการเรยี นรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็นรปู ธรรม นาไปใชใ้ น การกาหนดเน้ือหา จัดทาหน่วยการเรยี นรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัด ประเมนิ ผลเพ่ือตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบพัฒนาการผ้เู รียน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มอนั พงึ ประสงค์ และเปน็ หลักในการเทียบโอนความรู้และประสบการณจ์ าก การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั 3.3 มคี วามเปน็ สากล ความเป็นสากลของหลกั สูตรสถานศกึ ษา คือมงุ่ ให้ผ้เู รยี นมีความรู้ ความสามารถในเร่อื งเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาษาองั กฤษ การจัดการสิ่งแวดล้อม ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ มคี ณุ ลักษณะทจี่ าเปน็ ในการอย่ใู นสังคมได้แก่ ความซื่อสตั ย์ ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การเสียสละ การเอ้ือเฟื้อโดยอยู่บนพนื้ ฐานของความพอดรี ะหวา่ งการเป็นผู้นา และผตู้ าม การทางานเปน็ ทมี และการ ทางานตามลาพงั การแข่งขนั การรู้จกั พอ และการรว่ มมือกนั เพ่ือสังคม วิทยาการสมยั ใหม่ และภมู ปิ ัญญา ทอ้ งถนิ่ การรบั วัฒนธรรมตา่ งประเทศ และการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทยการฝึกฝนทักษะเฉพาะทาง และ การบูรณาการในลักษณะที่เป็นองค์รวม 4. มีความยืดหย่นุ หลากหลาย หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นอนุบาลกระสัง เป็นหลกั สตู รท่ี สถานศกึ ษาจัดทารายละเอยี ดต่าง ๆ ขน้ึ เอง โดยยดึ โครงสร้างหลักทีก่ าหนดไว้ในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นขอบข่ายในการจดั ทา จึงทาใหห้ ลกั สูตรของสถานศึกษามีความยืดหยนุ่ หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

6 หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของท้องถนิ่ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งมีความเหมาะสมกับ ตัวผเู้ รยี น 5. การวดั และประเมนิ ผลเน้นหลักการพืน้ ฐานสองประการคือการประเมินเพื่อพัฒนาผ้เู รยี นและเพ่ือ ตดั สินผลการเรยี น โดยผเู้ รยี นตอ้ งได้รบั การพฒั นาและประเมินตามตวั ช้ีวัดเพ่อื ให้บรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรู้ สะทอ้ นสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผ้เู รียนเป็นเป้าหมายหลักในการวดั และ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ในทกุ ระดบั ไม่ว่าจะเปน็ ระดบั ช้นั เรยี น ระดับสถานศึกษา ระดบั เขตพนื้ ท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน และใช้ผลการ ประเมินเปน็ ข้อมลู และสารสนเทศทแี่ สดงพัฒนาการ ความกา้ วหน้า และความสาเรจ็ ทางการเรยี นของผ้เู รยี น ตลอดจนข้อมลู ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ต่อการส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นเกดิ การพัฒนาและเรยี นรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ วิสยั ทศั น์ สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาบรุ ีรมั ย์ เขต 2 “ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล เสริมสร้างแรงบันดาลใจ ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาเปน็ ผ้นู าแห่ง การเรยี นรู้ สูผ่ ู้เรียนคุณภาพ” พนั ธกจิ 1. จัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งความมัน่ คงของสถาบันหลักของชาตแิ ละการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ 2. พฒั นาผ้เู รยี นให้มคี วามสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการเพ่อื สร้างขีดความสามารถในการ แข่งขัน 3. พฒั นาศกั ยภาพและคุณภาพผู้เรียนใหม้ ีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลกั ษณะ ในศตวรรษที่ 21 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้ า ให้ผูเ้ รียนทกุ คนไดร้ ับบรกิ ารทางการศึกษา อย่างทวั่ ถึงและเทา่ เทยี ม 5. พฒั นาผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ ปน็ มืออาชีพ 6. จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) 7. ปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษาทุกระดบั และจัดการศึกษาโดยใช้ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Technology) เพื่อพฒั นาม่งุ สู่ Thailand 4.0 เปา้ ประสงค์ 1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มีทศั นคตทิ ่ีถูกต้องต่อบ้านเมอื ง มหี ลกั คิดทถ่ี ูกต้อง และเป็นพลเมืองดี ของชาติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี า่ นยิ มท่พี ึงประสงค์ มจี ติ สาธารณะ รบั ผิดชอบต่อสังคมและผอู้ ่ืน ซ่อื สตั ย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ัย รกั ษาศลี ธรรม 2. ผ้เู รียนท่ีมีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศลิ ปะ ดนตรี กีฬา ภาษา และอื่น ๆ ได้รับการพฒั นาอย่างเต็มตามศักยภาพ 3. ผเู้ รยี นเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ คิดรเิ รมิ่ และสร้างสรรค์นวัตกรรม มคี วามรู้ มีทักษะ มสี มรรถนะตามหลักสตู ร และคุณลักษณะของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 มสี ุขภาวะท่ีเหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการพง่ึ พาตนเอง ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเป็นพลเมือง พลโลก หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

7 ท่ีดี (Global Citizen) พรอ้ มก้าวสสู่ ากล นาไปส่กู ารสร้างความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 4. ผู้เรยี นท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ (ผูพ้ ิการ) กลุ่มชาติพันธ์ุ กลมุ่ ผูด้ ้อยโอกาส และกลุ่มทอี่ ยู่ ในพน้ื ทีห่ า่ งไกลทรุ กันดาร ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เทา่ เทยี ม และมีคณุ ภาพ 5. ผูบ้ ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ มคี วามรู้ และจรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวิชาชพี 6. สถานศึกษาจดั การศึกษาเพ่ือการบรรลเุ ปา้ หมายการพัฒนาอย่างยงั่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) และสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ที่เปน็ มติ รกับส่งิ แวดล้อม ตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 7. สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศึกษา มสี มดุลในการบรหิ ารจัดการเชิงบูรณาการ มกี ารกากับ ติดตาม ประเมนิ ผล มีระบบข้อมูลสารสนเทศ ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ และการรายงานผลอยา่ งเป็น ระบบ ใช้งานวิจยั เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ในการขบั เคลื่อนคณุ ภาพการศึกษา กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ที่ 1 ดา้ นการจัดการศึกษาเพอื่ ความมนั่ คงของมนุษยแ์ ละของชาติ กลยุทธ์ที่ 2 ดา้ นการจัดการศึกษาเพ่อื เพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ กลยุทธ์ท่ี 3 ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ กลยุทธ์ท่ี 4 ด้านการสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา กลยุทธ์ที่ 5 ดา้ นการจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลยทุ ธท์ ่ี 6 ด้านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา นโยบายการจดั การศึกษา ๑. พฒั นาคุณภาพ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รียน ให้มที กั ษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ๒. เสริมสร้าง รกั ษาวฒั นธรรม และพฒั นาองค์กร ด้วยหลักธรรมมาภิบาล ๓. สนับสนนุ และสง่ เสริมการมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา และร่วมรบั ผิดชอบด้วยการบริหารแบบ CBM 4.1 และการสร้างเครือขา่ ยการทางาน ๔. เสรมิ สรา้ งและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ เทคโนโลยี สอ่ื และนวตั กรรมในการบรหิ ารจัด การศึกษา ๕. สง่ เสริมการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นฐานในการพฒั นาคนใหม้ ีคณุ ภาพ คุณธรรม จรยิ ธรรม และการดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

8 วิสัยทศั น์ พันธกจิ เปา้ ประสงค์ อตั ลกั ษณ์ และเอกลักษณข์ องโรงเรียนอนบุ าลกระสัง วสิ ยั ทัศน์ โรงเรียนอนุบาลกระสงั เป็นโรงเรียนคุณภาพของชุมชน มุ่งพฒั นาผเู้ รียนให้มีทักษะ การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 มีความรคู้ ู่คุณธรรม น้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พนั ธกจิ 1. พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม จดั การเรียนรู้ให้กา้ วทันตอ่ การเปล่ียนแปลง 2. พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรตู้ ามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และมที ักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษ ที่ 21 3. พัฒนาผู้เรียนให้มี คณุ ธรรม จริยธรรม สานึกความเปน็ ไทย ใสใ่ จส่ิงแวดลอ้ มและรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม 4. พฒั นานักเรยี นใหม้ ีทักษะอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. ส่งเสริม สนบั สนุน ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้มมี าตรฐานตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู 6. พฒั นาระบบบริหารจดั การใหท้ ันสมยั มีประสิทธภิ าพเหมาะสมกบั บริบทของโรงเรียน โดยการ มสี ว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนในการจัดการศกึ ษา เป้าประสงค์ 1. โรงเรยี นมีหลักสตู รสถานศึกษาทสี่ ง่ เสริมทางด้านวชิ าการ อาชพี เพื่อตอบสนองความถนัดและ ความตอ้ งการของผ้เู รียน ชุมชน และสังคม 2. ผเู้ รียนทกุ คนมคี วามร้ตู ามมาตรฐานการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3. ผู้เรียนทุกคนมีคุณธรรม จริยธรรม สานึกความเป็นไทย ใส่ใจสิ่งแวดลอ้ ม และรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 4. ผู้เรียนทุกคนได้รับการส่งเสริมทักษะทางด้านอาชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามีมาตรฐานตามมาตรฐานวชิ าชีพ 6. โรงเรียนมรี ะบบบริหารจัดการท่ีทนั สมัยและมีประสทิ ธภิ าพ กลยุทธ์ กลยทุ ธท์ ี่ 1 : พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรยี นรู้ให้ตอบสนองความถนัดและความ ตอ้ งการ ของผเู้ รยี นและชุมชน กลยุทธท์ ่ี 2 :พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาและมีทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 กลยทุ ธท์ ี่ 3 :สนับสนุนและสง่ เสริมให้ผเู้ รยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ใส่ใจส่ิงแวดลอ้ ม ดาเนินชวี ิต และมีทักษะอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยุทธท์ ่ี 4 : พฒั นาศักยภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสู่มาตรฐานวชิ าชีพ กลยทุ ธ์ท่ี 5 : พฒั นาระบบบริหารจดั การใหม้ ีประสิทธภิ าพกา้ วหน้าทนั เทคโนโลยี หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

9 จุดเน้น 1) ผเู้ รยี นมีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สูตรและค่านิยมพนื้ ฐาน 12 ประการ ของคนไทย 2) ระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพ่มิ ข้ึน 3) ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการจดั การศึกษาและแสวงหาความรู้ 4) พฒั นาระบบประกนั การคุณภาพภายในท่เี ขม้ แข็งและมีคณุ ภาพ 5) พัฒนารปู แบบการปฏบิ ตั งิ านของบุคลากรทุกคน 6) สรา้ งเครือข่ายความร่วมมือการพัฒนาการศึกษาและการให้บริการ 7) สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกบั ชุมชนและท้องถ่ิน อัตลักษณ์ ซื่อสตั ย์ มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ เอกลกั ษณ์ เสรมิ สร้างวนิ ัย ใฝ่คณุ ธรรม น้อมนาศาสตรพ์ ระราชา แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี น 1. จัดการศึกษาปฐมวยั ให้ได้รับมาตรฐานการพัฒนาด้านกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา 2. จัดการศึกษาข้นั พื้นฐาน (ระดับประถมศกึ ษา และมัธยมศกึ ษาตอนต้น) ให้ได้คุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ปณิธาน “สรา้ งนกั เรยี นเปน็ คนดี เนน้ คณุ ภาพการศึกษา” มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน คอื มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี น 1.2 คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผ้เู รยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ซง่ึ แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอียด ดงั น้ี มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผูเ้ รยี น 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คานวณ 2) มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคิดเหน็ และแก้ปัญหา หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

10 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม 4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 5) มผี ลสมั ฤทธ์ิในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 6) มคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติท่ีดตี ่องานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น 1) การมีวนิ ยั มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีความซอ่ื สตั ย์ ตามทีส่ ถานศึกษากาหนด 2) ภมู ิใจในบุรีรมั ย์และความเป็นไทย 3) การยอมรับทจ่ี ะอย่รู ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 มเี ป้าหมายวสิ ยั ทัศน์และพนั ธกิจท่สี ถานศกึ ษากาหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการท่เี นน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศึกษาและ ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเี่ อ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ 3.1 จัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตได้ 3.2 ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ 3.3 มีการบรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผ้เู รียน 3.5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การ เรยี นรู้ การจดั การและการบรหิ ารโรงเรยี นได้ดาเนนิ งานโดยบุคคล 3 ฝ่าย ได้แก่ ผ้บู ริหารโรงเรียน บคุ ลากร ในโรงเรยี น และคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ร่วมกนั ประชมุ วางแผน โดยมีขัน้ ตอนการบรหิ ารและมี ภารกิจหลักแบ่งออกเป็น 4 ฝ่าย โดยมผี ้รู ับผิดชอบแตล่ ะฝ่ายงาน ดงั น้ี 1. ฝา่ ยบริหารงานวชิ าการ นางสาลนิ ี กลุ วงษ์ เปน็ หวั หน้าฝา่ ยงาน 2. ฝ่ายบรหิ ารงานบคุ คล นางจันทริฐา หงษ์วชิ า เป็นหัวหน้าฝา่ ยงาน 3. ฝา่ ยบรหิ ารงบประมาณ นางผกามาศ ไชยฐนิ นต์ เป็นหวั หนา้ ฝา่ ยงาน 4. ฝ่ายงานบรหิ ารทัว่ ไป นางสภุ ารตั น์ ทองเกลีย้ ง เปน็ หัวหน้าฝา่ ยงาน ในแตล่ ะฝ่ายงานมีคณะทางาน โดยพิจารณาตามความรู้-ความสามารถและใหค้ ณะครเู ป็นผู้มีสว่ นร่วม ในการแตง่ ตงั้ ทุกฝ่ายงาน โดยมีแผนภมู กิ ารบริหารงานรวมทัง้ มคี าสง่ั มอบหมายงานในแตล่ ะฝา่ ยงานอย่าง ชดั เจนตลอดจนมีปฏทิ นิ การปฏบิ ัตงิ านเป็นรปู ธรรมส่งผลดีต่อผเู้ รียน โดยกาหนดเปา้ หมายคณุ ภาพผูเ้ รยี นซ่งึ เปน็ ผลผลิตหลกั ของโรงเรียนใหม้ ีประสทิ ธผิ ลเกิดประสทิ ธิภาพและได้มาตรฐาน หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

11 สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพฒั นาผ้เู รียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นอนุบาลกระสัง พุทธศกั ราช 25๖5 ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ่ เนน้ พฒั นาผู้เรยี นให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน ทกี่ าหนด ซ่ึงจะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคญั และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังน้ี สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นอนุบาลกระสัง พุทธศักราช 25๖๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ่ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการส่ือสาร เปน็ ความสามารถในการรับและสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการใช้ภาษา ถา่ ยทอดความคดิ ความรูค้ วามเขา้ ใจ ความรูส้ ึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลย่ี นข้อมูลขา่ วสารและ ประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทง้ั การเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลอื กรบั หรือไม่รบั ขอ้ มูลขา่ วสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถกู ต้อง ตลอดจนการ เลือกใชว้ ิธกี ารสื่อสาร ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบท่มี ตี ่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพอ่ื นาไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้หรอื สารสนเทศ เพอ่ื การตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ท่เี ผชญิ ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมบนพ้นื ฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เขา้ ใจ ความสัมพนั ธแ์ ละการเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรู้ มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจทมี่ ีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบ ทเ่ี กิดขึน้ ต่อตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ในการ ดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง การทางาน และการอย่รู ว่ มกนั ในสังคม ด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธอ์ นั ดรี ะหว่างบคุ คล การจัดการปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ตวั ใหท้ นั กับการเปลยี่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรูจ้ กั หลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึง ประสงค์ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู ื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลอื กและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรียนรู้ การส่อื สาร การทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสม และมคี ุณธรรม คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนอนบุ าลกระสงั พุทธศักราช 25๖5 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รียนให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยรู่ ่วมกบั ผ้อู ่นื ในสงั คมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซอื่ สัตยส์ จุ รติ 3. มีวินยั หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

12 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 6. มุ่งมน่ั ในการทางาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ บรบิ ทของโรงเรยี นอนุบาลกระสงั โรงเรยี นอนุบาลกระสัง (โรงเรยี นบ้านกระสงั ) ตั้งอยู่ ณ เลขท่ี 1 หมู่ 16 ถนนเทศบาล 6 ตาบล กระสัง อาเภอกระสัง จงั หวดั บรุ รี ัมย์ รหสั ไปรษณยี ์ 31160 สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษา บุรรี ัมย์ เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวนั ท่ี 9 ตลุ าคม พุทธศกั ราช 2477 ใชช้ ือ่ วา่ โรงเรยี นประชาบาลบา้ นกระสัง ตาบลสองชั้น สังกัดกรมสามญั กระทรวงศกึ ษาธิการ คณะกรรมผรู้ เิ ร่ิมในการจัดต้ังใหม้ ีโรงเรียนนีข้ ้นึ มา คือ คณะกรรมการอาเภอเมืองบรุ รี ัมย์ พ.ศ. 2477 เปิดทาการสอนตง้ั แต่ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1-4 มหี มูบ่ ้านในเขตบริการ คือ หมู่ที่ 1 บ้าน กระสงั หมทู่ ่ี 2 บา้ นน้อย โดยอาศัยศาลาการเปรยี ญวัดท่าสว่างเป็นท่ีเล่าเรยี นชวั่ คราว ซึง่ ต้ังอยู่ ณ ท่ตี ้ังวัดท่า สว่างในปจั จุบนั พ.ศ. 2488 ได้ยา้ ยสถานท่เี ล่าเรียนมาจดั ตั้ง ณ ที่ดนิ ธรณสี งฆ์วดั ทา่ สว่าง ในเนือ้ ท่ี 29 ไร่ 2 งาน 39 ตารางวา และได้มีการเปลยี่ นชื่อ โรงเรียนเปน็ โรงเรียนประชาบาลบ้านกระสงั ตาบลกระสงั พ.ศ. 2499 ทางราชการให้เปิดทาการสอนถงึ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 พ.ศ. 2504 เปลี่ยนจากการจัดการเรียนการสอนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1-3 เปน็ การจดั การศกึ ษา ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1-7 พ.ศ. 2509 ทางราชการได้โอนใหไ้ ปข้นึ ตรงต่อ องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั กระทรวงมหาดไทย และเปลี่ยนชื่อเปน็ โรงเรียนบ้านกระสัง โดยใช้อักษรย่อ คอื ก.บ.ร.1 พ.ศ. 2521 ทางราชการได้ยุบช้ันประถมศึกษาปที ่ี 7 ให้จัดการเรยี นการสอนจากชนั้ ประถมศึกษา ปีที่ 1-6 เท่านน้ั พ.ศ. 2523 ทางราชการโอนให้ขึ้นตรงต่อ สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2526 ทางราชการอนุญาตใหเ้ ปิดทาการสอนชั้นอนุบาลศึกษา พ.ศ. 2540 ทางราชการอนุญาตให้เปดิ รับนกั เรยี นชน้ั อนุบาล 3 ขวบ จานวน 2 หอ้ งเรียน และขยายโอกาสทางการศึกษา โดยจัดการศกึ ษาถงึ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พ.ศ. 2542 ทางราชการใหเ้ ปล่ียนช่ือโรงเรยี น จากโรงเรียนประชาบาลบา้ นกระสงั เปน็ โรงเรียน อนบุ าลกระสัง ซึ่งเป็นโรงเรยี นเครอื ข่ายสหวทิ ยาเขตมหามงคล พ.ศ. 2546 ทางราชการไดโ้ อนไปสังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวง ศึกษาธิการ เปิดสอนหลักสูตรการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตัง้ แตช่ ้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 – ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 พ.ศ. 2551 โรงเรียน เป็นแกนนาการใชห้ ลักสตู รสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2550 หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

13 ภารกิจของสถานศกึ ษา (ภารกจิ ตามกฎหมาย) โรงเรียนอนุบาลกระสัง มภี ารกิจในการดาเนินการจัดการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน คือ 1. การจดั การศึกษาปฐมวยั กาหนดใหม้ หี ลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยเปน็ การเฉพาะ มีจดุ มุ่งหมายเพ่ือ เปน็ การเสรมิ สร้างพฒั นาการและเตรยี มผู้เรียนให้มีความพร้อมในการเขา้ เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 2. การจดั การศกึ ษาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เปน็ การจัดการศึกษาโดยใช้หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียน อนุบาลกระสงั พทุ ธศักราช 2551 โดยยึดตามหลักสตู รแกนกลางของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 มีการจัดการศึกษา 2 ระดบั คือ ระดับประถมศึกษา และระดับมธั ยมศึกษา ตอนต้น สภาพท่วั ไป โรงเรยี นอนบุ าลกระสัง มเี นอื้ ที่ 29 ไร่ 2 งาน 39 ตารางวา (เปน็ ท่ีของวดั ทา่ สวา่ ง) เปดิ ทาการสอน 3 ระดบั คือ ระดบั อนุบาลศกึ ษา ระดับประถมศกึ ษา และมัธยมศกึ ษาตอนต้น มีอาคารเรียนจานวน 7 หลงั อาคารห้องประชุมจานวน 1 หลงั อาคารอเนกประสงค์ จานวน 2 หลัง ลานอเนกประสงค์ จานวน 2 แห่ง หอ้ งนา้ -ห้องสว้ ม จานวน 7 แห่ง มีไฟฟา้ ให้แสงสวา่ งในหอ้ งเรียนอย่างเพยี งพอ มนี า้ ประปาใชส้ ะดวกสบาย มี รัว้ รอบโรงเรียน ทศิ เหนือ ติดกบั ท่ีธรณสี งฆข์ องวัดทา่ สว่าง ทิศใต้ ติดกบั เขตรางรถไฟสายอุบลราชธานี-กรุงเทพฯ ทศิ ตะวันออก ติดกบั ชุมชนตลาดเหนอื ที่ธรณีสงฆ์ของวดั ท่าสวา่ ง ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กับ บ้านเรอื นของชมุ ชนหมทู่ ี่ 16 ซง่ึ ตั้งอย่ใู นท่ธี รณสี งฆ์ของวดั ท่าสว่าง สภาพชมุ ชน 1. สภาพชมุ ชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมลี กั ษณะหม่บู ้านขนาดใหญ่ มปี ระชากรประมาณ 6,050 คน บริเวณใกลเ้ คียงโดยรอบโรงเรยี นได้แก่ ชมุ ชนหมู่ที่ 15 และชมุ ชนหมู่ที่ 16 อาชีพหลกั ของชมุ ชน คอื รบั จ้าง ทานา คา้ ขาย รับราชการ สว่ นใหญน่ บั ถือศาสนาพทุ ธ ประเพณี / ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นทเี่ ป็นทร่ี ู้จกั โดยทว่ั ไป คือ แซนโดนตา ลอยกระทง การเทศน์มหาชาติ 2. ผู้ปกครองสว่ นใหญจ่ บการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพหลัก คอื เกษตรกรรม ฐานะทาง เศรษฐกิจปานกลาง / รายไดเ้ ฉลีย่ ต่อครอบครวั ต่อปี 20,000 บาท จานวนคนเฉล่ยี ต่อครอบครวั 4-6 คน 3. โอกาสของสถานศกึ ษากับความร่วมมอื ในดา้ นต่าง ๆ ของชมุ ชน คอื อยใู่ กลแ้ หลง่ เรยี นรู้ อยใู่ กลว้ ัด สถานท่รี าชการ ได้รบั การสง่ เสรมิ สนบั สนุนจากชมุ ชน ผนู้ าชุมชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ เห็นความสาคัญ ของการศึกษา ข้อจากัดของสถานศึกษากบั ความรว่ มมือของชุมชน คือ ผปู้ กครองประกอบอาชีพหลากหลายมีฐานะ เศรษฐกิจยากจน ถงึ ปานกลาง กลมุ่ ทีม่ ฐี านะยากจนบางคร้ังทาใหเ้ กิดปญั หานกั เรยี นขาดเรียน เนื่องจาก ผู้ปกครองต้องอพยพไปทางานทตี่ า่ งถิ่น ทิ้งลกู หลานให้อยใู่ นความดูแลของปู่ ย่า ตา ยาย หรอื ผสู้ งู อายุ ทาให้ การดูแลไม่สมบรู ณเ์ ทา่ ทค่ี วรสง่ ผลใหพ้ ฤตกิ รรมเบี่ยงเบนและมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นต่า หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

14 ความสนใจดา้ นการศึกษาชองชุมชน ถงึ แม้ในอดีตทผี่ ่านมาประชาชนยังไมเ่ หน็ ความสาคญั ของการศึกษาไม่ยอมส่งบุตรหลานเขา้ โรงเรียน เพราะต้องนาไปใชแ้ รงงานในการประกอบอาชีพเป็นส่วนใหญ่ แตใ่ นปจั จบุ ันประชากรเร่มิ เหน็ ความสาคัญทาง การศกึ ษามากข้ึน เพราะทางโรงเรียนได้เปิดขยายโอกาสทางการศึกษา ต้องการให้บตุ รหลานได้มคี วามรู้มาก ขน้ึ และถ้ามโี อกาสก็จะสง่ บุตรหลานไดเ้ รียนสงู ข้นึ แต่ยังไม่ให้ความสาคญั ในการเขา้ ไปมสี ่วนร่วมในการจัด การศึกษาโดยเฉพาะการให้การสนบั สนุนปจั จัยทมี่ ีสว่ นในการลงทุนดา้ นการจดั การศึกษาทัง้ น้อี าจจะมีสาเหตุ มาจากฐานะความเป็นอย่ทู ่ยี ังยากจนอยู่ สภาพการคมนาคม ระยะทางจากโรงเรยี นอนุบาลกระสงั ถึงทเ่ี ทศบาลตาบลกระสัง ระยะทาง 400 เมตร จากโรงเรยี นอนุบาลกระสัง ถึงสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาบรุ รี มั ยเ์ ขต 2 ระยะทาง 47กิโลเมตร จากโรงเรียนอนบุ าลกระสัง ถึงจังหวดั บุรีรมั ยร์ ะยะทาง 30 กิโลเมตร ตราสญั ลักษณ์ของโรงเรียนอนบุ าลกระสัง ดอกบัว หมายถึง ดอกไมท้ ่ีมีความหมายในทางพทุ ธศาสนา ซ่ึงเปรียบเสมือนกับการเรียนรู้ เหมอื น ดอกบัวประเภทตา่ ง ๆ ท่ีกาลังจะบานปรม่ิ นา้ ซึ่งหมายถึงเด็ก ๆ เม่ือไดร้ บั ฟงั คาสงั่ สอนอบรมพร้อมท้งั สอื่ การ สอนตา่ ง ๆ ประกอบแล้วนัน้ เด็กๆ ก็พร้อมท่ีจะเขา้ ใจและนาไปปฏบิ ตั ิไดเ้ ป็นอย่างดี สีประจาโรงเรยี นแสด – ขาว สแี สด หมายถึงความสดใสร่าเริงความมีชวี ิตชวี า ความเจรญิ งอกงามของนักเรยี นโรงเรยี นอนุบาล กระสัง สขี าว หมายถงึ นักเรียนโรงเรียนอนบุ าลกระสงั ทุกคนเป็นเยาวชนที่มคี ุณธรรมจริยธรรมมีวัฒนธรรม ทั้งกายวาจาใจมจี รรยามารยาทงามเสียสละมีน้าใจอนุรักษ์ความเป็นไทยพัฒนาตนให้เป็นคนดีแก่สังคมและ ประเทศชาตสิ บื ไป หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

15 คาขวัญโรงเรียนอนุบาลกระสงั “เรียนดี กฬี าเด่น เนน้ วินยั ใฝส่ ะอาด มาดคณุ ธรรม นาประชาธปิ ไตย” ปรัชญาของโรงเรียน โรงเรียนอนุบาลกระสังได้กาหนดปรชั ญาของโรงเรยี นขนึ้ มาเพ่อื เป็นแนวทางในการจัดการศกึ ษาเพ่ือ ม่งุ หวังให้นักเรียนมีคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ตามปรัชญาและมุ่งหวังทีจ่ ะสรา้ งคนใหม้ ีความรูค้ คู่ ุณธรรมเพ่ือคา้ จนุ สงั คมเร่ิมตง้ั แตก่ ารสรา้ งค่านยิ มใหเ้ ปน็ สงั คมไทยและให้ระลกึ ถงึ ความเปน็ ไทย เรยี นดี หน้าทขี่ องนักเรียนคือการเรยี นนักเรียนมีผลการเรยี นที่ดซี ึ่งจะดีไดน้ น้ั จะต้องเป็นคนมหี ัวใจ ของนักปราชญ์ “ สุ จิ ปุ ลิ ” สุ สุ ตะ ฟงั รจู้ ักรับฟังและฟงั อย่างมวี จิ ารณญาณ จิ จิต ตะ เอาจิตใจจดจ่อมีความต้ังใจสม่าเสมอ ปุ ปุจฉา ถามเม่ือไม่แจม่ แจง้ ย่อมมีการซกั ถามเพ่ือใหไ้ ด้ความแจม่ แจง้ และเสรมิ สรา้ งปญั ญา ของตน ลิ ลิขิตเขียนการจดบนั ทึกเป็นสง่ิ จาเป็นในการเรียนทุกอย่างเปน็ หลักประกนั ในการท่ีจะทาให้ ไม่ลืมในภายหนา้ สามารถนามาคน้ ควา้ ทบทวนไดด้ ังนั้นเม่ือทกุ คนมีหวั ใจนกั ปราชญ์ย่อมท่ีจะทาใหก้ ารเรียนดี กีฬาเด่น การกีฬาถือว่าเปน็ กิจกรรมทจ่ี ะสร้างให้นักเรียนเป็นคนท่ีมีสุขภาพแข็งแรงทั้งสขุ ภาพกายและ สุขภาพจติ ทง้ั ยงั สรา้ งคนให้เป็นคนทม่ี นี า้ ใจนักกีฬารจู้ ักการแพ้ชนะและการใหอ้ ภยั ซึง่ กนั และกนั ท้ังยังสามารถ สรา้ งช่อื เสียงใหก้ ับตนเองและสถาบันอกี ด้วย เน้นวนิ ัย การมวี นิ ยั เป็นนโยบายของโรงเรียน โดยเฉพาะวนิ ยั ในตนเอง ให้มคี วามรับผิดชอบทั้งต่อ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและสังคม ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบของโรงเรียน ตลอดจนกฎระเบียบของสงั คม มี ความประพฤติและมารยาทดี สามารถดาเนินชวี ิตกบั ผู้อ่นื อย่างมคี วามสุข ใฝส่ ะอาด การจดั สภาพแวดล้อมให้สะอาด สวยงาม น่าดู นา่ อยู่ น่ามอง เอ้ือต่อการเรียนรู้ของนกั เรียน ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน โดยเนน้ ให้โรงเรียนสะอาดรม่ รื่นและสภาพแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพของ นกั เรียน มาดคุณธรรม ความดีงามทีจ่ ะทาใหผ้ ู้ถือปฏิบตั ิ มเี กียรติ มศี ักดิ์ศรี มคี วามสงา่ งาม ทงั้ กายและท้ังใจ นาประชาธปิ ไตย เป็นแบบอยา่ งในการนาความรู้ที่ไดไ้ ปเผยแพรแ่ ก่ชมุ ชน หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ส่วนท่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๑๗ สาระสาคญั หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนอนุบาลกระสัง พุทธศักราช ๒๕๖๕ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับใน ความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดี มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสมประกอบด้วยสาระสาคญั ดงั นี้ ๑. ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรม ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลกั ธรรมคาสอนไปปฏิบตั ิในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบาเพ็ญประโยชนต์ ่อ สงั คมและสว่ นรวม ๒. หนา้ ท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปัจจุบันการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็นพลเมือง ดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวฒั นธรรม คา่ นิยม ความเช่อื ปลกู ฝงั คา่ นิยมด้านประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธหิ น้าที่ เสรภี าพการดาเนินชวี ิตอยา่ งสนั ตสิ ุขในสงั คมไทยและสงั คมโลก ๓. เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ๔. ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ผลกระทบท่ีเกิดจาก เหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ในอดีต ความเป็นมา ของชาตไิ ทย วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย แหลง่ อารยธรรมที่สาคญั ของโลก ๕. ภมู ศิ าสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ แหลง่ ทรพั ยากร และภมู อิ ากาศ ของประเทศไทย และภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก การใช้แผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของ สิ่งต่าง ๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขน้ึ การนาเสนอข้อมลู ภมู สิ ารสนเทศ การอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดล้อมเพือ่ การพฒั นาทีย่ ง่ั ยนื หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๑๘ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมใน การใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลด ปัญหาความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลอื กใช้วิธีการส่อื สาร ทม่ี ีประสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีตอ่ ตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การ คิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้าง องค์ ความร้หู รอื สารสนเทศเพอ่ื การตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธอ์ ันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การมีเหตุผล กตัญญูกตเวที การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จัก หลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงคท์ ีส่ ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อนื่ การรกั และภมู ใิ จในความเป็นไทยและรักษ์ ท้องถ่ิน ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. ซ่ือสตั ย์สจุ รติ ๓. มีวนิ ัย ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มงุ่ ม่ันในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มีจิตสาธารณะ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๑๙ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง สันติสขุ มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถือ สาระท่ี ๒ หนา้ ท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหนา้ ทีข่ องการเปน็ พลเมืองดี มีค่านิยมทด่ี ีงาม และธารง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวติ อยรู่ ่วมกนั ในสังคมไทยและสังคมโลกอยา่ งสนั ตสิ ุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จบุ ัน ยึดมัน่ ศรัทธา และธารงรักษา ไว้ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ ดารงชีวิตอย่างมดี ลุ ยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจ และความจาเป็นของการรว่ มมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก สาระท่ี ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถ ใช้วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ ่าง ๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่ เกดิ ขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรักความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย สาระท่ี ๕ ภมู ิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันใช้ แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมสิ ารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการ สรา้ งสรรคว์ ถิ ีการดาเนินชวี ิต มีจิตสานกึ และมสี ่วนรว่ มในการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนา ท่ยี งั่ ยนื หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๒๐ คุณภาพผูเ้ รียน จบช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓ ๑. ได้เรียนรูเ้ รื่องเกย่ี วกบั ตนเองและผูท้ ีอ่ ยูร่ อบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถน่ิ ท่ีอยู่อาศัย และเช่อื งโยงประสบการณ์ไปส่โู ลกกว้าง ๒. ผูเ้ รยี นได้รับการพฒั นาให้มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลทีจ่ าเป็นตอ่ การพฒั นา ใหเ้ ป็นผูม้ ี คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ประพฤติปฏบิ ตั ิตามหลกั คาสอนของศาสนาทตี่ นนบั ถือ มคี วามเป็นพลเมอื งดี มีความ รบั ผิดชอบ การอยรู่ ่วมกนั และการทางานกับผู้อนื่ มีสว่ นร่วมในกิจกรรมของหอ้ งเรียน และได้ฝึกหดั ในการ ตัดสนิ ใจ ๓. ได้ศึกษาเรือ่ งราวเก่ียวกับตนเอง ครอบครวั โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผ้เู รยี น ได้เข้าใจแนวคิดเก่ียวกับปัจจุบันและอดีต มีความรู้พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเก่ียวกับรายรับ-รายจ่ายของ ครอบครวั เขา้ ใจถงึ การเปน็ ผูผ้ ลติ ผ้บู ริโภค รจู้ ักการออมข้นั ตน้ และวิธกี ารเศรษฐกิจพอเพียง ๔. ไดร้ บั การพฒั นาแนวคดิ พน้ื ฐานเกย่ี วกับศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม หน้าทพี่ ลเมอื ง เศรษฐศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และภูมปิ ัญญา เพ่ือเปน็ พนื้ ฐานในการทาความเข้าใจในขน้ั ทีส่ ูงต่อไป ๕. มีความรู้เก่ียวกับลกั ษณะทางกายภาพของส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตัวและชมุ ชน และสามารถปรบั ตวั เทา่ ทนั การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ และมสี ว่ นร่วมในการจัดการทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อมใกล้ตวั จบชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๑. ได้เรียนรู้เรื่องของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะทาง กายภาพ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม รวมท้ังการเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจโดยเน้นความเป็น ประเทศไทย ๒. ได้รับการพัฒนาความรู้และความเข้าใจ ในเร่ืองศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลัก คาสอนของศาสนาทต่ี นนับถือ รวมท้งั มีส่วนร่วมศาสนพิธี และพิธกี รรมทางศาสนา มากย่ิงขึน้ ๓. ได้ศึกษาและปฏิบัตติ นตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของทอ้ งถิ่น จังหวดั ภาค และประเทศ รวมท้ังได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ของท้องถิ่นตนเอง มากยิง่ ข้ึน ๔. ได้ศึกษาเปรียบเทียบเร่ืองราวของจังหวัดและภาคตา่ ง ๆ ของประเทศไทยกับประเทศเพ่ือนบ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ และภูมิศาสตรเ์ พ่ือขยายประสบการณ์ไปสู่การทาความเข้าใจ ในภูมิภาคซีกโลกตะวันออกและ ตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การ ดาเนนิ ชีวิต การจดั ระเบยี บทางสงั คม และการเปล่ยี นแปลงทางสังคมจากอดตี สูป่ จั จุบัน ๕. มีความรู้เก่ียวกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ใน จังหวัด ภาค และประเทศไทย สามารถเตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพกับภัยพิบัติต่าง ๆ ใน ประเทศไทยและหาแนวทางในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ ม จบชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๑. มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศใน ภูมิภาคต่างๆในโลก เพอ่ื พฒั นาแนวคดิ เรื่องการอยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ตสิ ขุ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๒๑ ๒. มีทักษะท่ีจาเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนาแนวคิด และขยาย ประสบการณ์ เปรียบเทียบระหวา่ งประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย ออสเตรเลยี โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเช่ือ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการทาง ประวตั ิศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ ๓. รู้และเข้าใจแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใช้เป็นประโยชน์ ในการดาเนินชีวิตและวางแผนการดาเนินงานได้อยา่ งเหมาะสม ๔. มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมใน ภูมิภาคต่างๆของโลก ความร่วมมือด้านทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมระหว่างประเทศ เพ่ือเตรียมรับมือภัยพิบัติ และการจดั การทรพั ยากร และสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๒๒ ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระที่ ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ี ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดม่ันและปฏิบัติตามหลักธรรมเพ่ืออยู่ รว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุข ชัน้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. บอกพทุ ธประวัติ หรือประวตั ขิ องศาสดาท่ี ➢ พุทธประวัติ ตนนับถอื โดยสังเขป  ประสูติ  ตรสั รู้  ปรินพิ พาน ๒. ชนื่ ชมและบอกแบบอย่างการดาเนนิ ชวี ิต  สามเณรบัณฑิต และข้อคิดจากประวตั ิสาวก ชาดก/เรื่องเลา่  วัณณปุ ถชาดก และศาสนกิ ชนตวั อย่างตามท่ีกาหนด  สุวัณณสามชาดก  พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว ภูมิพลอดลุ ยเดช  เจ้าพระยาสธุ รรมมนตรี (หนูพรอ้ ม) ๓. บอกความหมาย ความสาคญั และเคารพ ➢ พระรตั นตรยั พระรัตนตรยั ปฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรมโอวาท ๓ใน  ศรัทธา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระพทุ ธศาสนา หรอื หลกั ธรรมของศาสนาท่ีตน ➢ โอวาท ๓ นบั ถอื ตามทีก่ าหนด  ไมท่ าชว่ั o เบญจศลี  ทาความดี ° เบญจธรรม ° สงั คหวตั ถุ ๔ ° กตัญญูกตเวทตี อ่ พ่อแม่ และครอบครวั ° มงคล ๓๘ - ทาตวั ดี - ว่างา่ ย - รบั ใช้พ่อแม่  ทาจิตให้บรสิ ุทธิ์ (บริหารจติ และเจริญ ปญั ญา) ➢ พทุ ธศาสนสุภาษิต  อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ ตนแลเปน็ ทพ่ี งึ่ ของตน  มาตา มติ ฺต สเก ฆเร มารดาเป็นมติ รในเรือนของตน หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๒๓ ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๔. เหน็ คณุ คา่ และสวดมนต์ แผเ่ มตตา มีสติ ➢ ฝกึ สวดมนต์และแผ่เมตตา ทีเ่ ป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา  รูค้ วามหมายและประโยชนข์ องสติ หรอื การพฒั นาจติ ตามแนวทางของ  ฟงั เพลงและร้องเพลงอยา่ งมสี ติ ศาสนาท่ตี นนบั ถือ  เล่นและทางานอยา่ งมีสติ ตามทกี่ าหนด  ฝกึ ใหม้ ีสตใิ นการฟัง การอ่าน การคิด การ ถามและการเขยี น ป.๒ ๑. บอกความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา  พระพุทธศาสนาเปน็ เอกลักษณ์ ของ หรอื ศาสนาที่ตนนับถือ ชาตไิ ทย ๒. สรปุ พุทธประวตั ิตัง้ แต่ประสูติ จนถึง การ ➢ สรุปพุทธประวัติ ออกผนวชหรือประวตั ิศาสดา ท่ีตน  ประสูติ นับถือตามทีก่ าหนด o เหตุการณ์หลงั ประสตู ิ o แรกนาขวญั o การศกึ ษา o การอภิเษกสมรส o เทวทูต ๔ o การออกผนวช ๓. ช่นื ชมและบอกแบบอยา่ งการดาเนินชีวิต  สามเณรราหลุ และข้อคดิ จากประวัตสิ าวก ชาดก/เร่อื งเลา่  วรณุ ชาดก และศาสนกิ ชนตวั อย่างตามท่ีกาหนด  วานรินทชาดก  สมเดจ็ พระญาณสงั วร (ศุข ไก่เถ่ือน)  สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) ๔. บอกความหมาย ความสาคญั และเคารพ ➢ พระรัตนตรยั พระรตั นตรยั ปฏิบตั ติ ามหลักธรรมโอวาท ๓  ศรทั ธา ในพระพุทธศาสนา หรอื หลักธรรม ➢ โอวาท ๓ ของศาสนา ท่ตี นนบั ถอื  ไมท่ าชั่ว ตามท่กี าหนด ° เบญจศลี  ทาความดี ° เบญจธรรม ° หิริ-โอตตปั ปะ ° สังคหวัตถุ ๔ ° ฆราวาสธรรม ๔ ° กตัญญูกตเวทตี อ่ ครู อาจารย์ และโรงเรียน ° มงคล ๓๘ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๒๔ ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - กตัญญู - สงเคราะห์ญาติพนี่ อ้ ง  ทาจติ ให้บรสิ ุทธิ์ (บรหิ ารจิตและเจรญิ ปัญญา) ➢ พุทธศาสนสุภาษิต  นมิ ติ ตฺ สาธุรปู าน กตญฺญ กตเวทติ า ความ กตัญญ กตเวทีเป็นเครื่องหมาย ของ คนดี  พรฺ หมฺ าติ มาตาปติ โร มารดา บดิ าเปน็ พรหมของบตุ ร ๕. ช่ืนชมการทาความดีของตนเอง บคุ คลใน ◆ ตัวอยา่ งการกระทาความดีของตนเองและ ครอบครวั และในโรงเรยี น ตามหลักศาสนา บุคคลในครอบครวั และในโรงเรยี น (ตาม สาระในข้อ ๔) ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา ◆ ฝกึ สวดมนตไ์ หว้พระและแผเ่ มตตา มสี ติท่เี ป็นพ้นื ฐานของสมาธใิ นพระพทุ ธ-ศาสนา  รู้ความหมายและประโยชนข์ องสตแิ ละสมาธิ หรือการพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน  ฝึกสมาธิเบอ้ื งตน้ นับถอื ตามท่ีกาหนด  ฝึกสติเบ้ืองต้นด้วยกิจกรรมการเคลอื่ นไหว อย่างมสี ติ  ฝกึ ให้มสี มาธใิ นการฟงั การอ่าน การคดิ การถาม และการเขียน ๗. บอกช่ือศาสนา ศาสดา และความสาคัญของ ➢ ช่อื ศาสนา ศาสดา และคมั ภีร์ของ ศาสนา คมั ภรี ์ของศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น ๆ ตา่ ง ๆ ◆ พระพทุ ธศาสนา o ศาสดา : พระพุทธเจา้ o คมั ภรี ์ : พระไตรปิฎก  ศาสนาอสิ ลาม o ศาสดา : มฮุ ัมมัด o คมั ภีร์ : อัลกรุ อาน  คริสตศ์ าสนา o ศาสดา : พระเยซู o คัมภรี ์ : ไบเบลิ  ศาสนาฮนิ ดู o ศาสดา : ไมม่ ศี าสดา o คัมภรี ์ : พระเวท พราหมณะ อปุ นษิ ัท อารัณยกะ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๒๕ ชัน้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป.๓ ๑. อธบิ ายความสาคญั ของพระพุทธศาสนา หรือ  ความสัมพันธข์ องพระพุทธศาสนากับ ศาสนาทตี่ นนบั ถือ ในฐานะท่ีเปน็ รากฐาน การดาเนินชวี ิตประจาวนั เช่น สาคญั ของวฒั นธรรมไทย การสวดมนต์ การทาบุญ ใส่บาตร การ แสดงความเคารพ การใช้ภาษา  พระพุทธศาสนามีอิทธพิ ลตอ่ การสรา้ งสรรค์ ผลงานทางวัฒนธรรมไทย อันเกดิ จาก ความศรัทธา เช่น วดั ภาพวาด พระพทุ ธรปู วรรณคดี สถาปัตยกรรมไทย ๒. สรปุ พทุ ธประวตั ิตงั้ แต่การบาเพ็ญเพยี ร  สรุปพทุ ธประวตั ิ (ทบทวน) จนถึงปรินิพพาน หรอื ประวัติของศาสดาท่ีตน  การบาเพญ็ เพียร นับถอื ตามท่กี าหนด  ผจญมาร  ตรสั รู้  ปฐมเทศนา  ปรนิ พิ พาน ๓. ช่นื ชมและบอกแบบอย่างการดาเนนิ ชีวติ  สามเณรสังกิจจะ และข้อคิดจากประวตั ิสาวก ชาดก/เร่อื งเลา่  อารามทูสกชาดก และศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง ตามที่  มหาวาณิชชาดก กาหนด  สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (โต พรฺ หมฺ รส)ี  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ๔. บอกความหมาย ความสาคญั ของ  ความสาคญั ของพระไตรปิฎก เชน่ พระไตรปิฎก หรอื คัมภรี ข์ องศาสนา ที่ เป็นแหลง่ อา้ งองิ ของหลกั ธรรมคาสอน ตนนบั ถือ ๕. แสดงความเคารพพระรตั นตรัย ➢ พระรัตนตรยั และปฏิบัตติ ามหลกั ธรรมโอวาท ๓  ศรทั ธา ในพระพุทธศาสนา หรอื หลกั ธรรม ของ ➢ โอวาท ๓ ศาสนาที่ตนนบั ถือตามทก่ี าหนด  ไมท่ าช่ัว ° เบญจศลี  ทาความดี ° เบญจธรรม ° สติ-สัมปชัญญะ ° สังคหวตั ถุ ๔ ° ฆราวาสธรรม ๔ หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๒๖ ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ° อตั ถะ ๓ (อัตตัตถะ, ปรตั ถะ, อุภยตั ถะ) ° กตญั ญูกตเวทีต่อชุมชน, ส่งิ แวดลอ้ ม ° มงคล ๓๘ - รจู้ ักให้ - พดู ไพเราะ - อยใู่ นสงิ่ แวดลอ้ มที่ดี  ทาจติ ให้บริสทุ ธ์ิ (บริหารจิตและเจริญ ปญั ญา) ➢ พุทธศาสนสุภาษติ  ททมาโน ปโิ ย โหติ ผ้ใู หย้ อ่ มเปน็ ท่รี กั  โมกโฺ ข กลยฺ าณิยา สาธุ เปล่งวาจาไพเราะให้สาเร็จประโยชน์ ๖. เหน็ คุณคา่ และสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสตทิ ี่ ◆ ฝึกสวดมนต์ ไหวพ้ ระ สรรเสริญคุณพระ เป็นพ้ืนฐานของสมาธิในพระพทุ ธศาสนา หรอื รัตนตรยั และแผเ่ มตตา การพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั  รูค้ วามหมายและประโยชน์ของสตแิ ละสมาธิ ถอื ตามทกี่ าหนด  ร้ปู ระโยชนข์ องการฝกึ สติ  ฝกึ สมาธเิ บ้อื งต้นด้วยการนบั ลมหายใจ  ฝกึ การยนื การเดิน การน่ัง และ การนอน อย่างมีสติ ◆ ฝึกให้มสี มาธใิ นการฟัง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน ๗. บอกช่ือ ความสาคัญและปฏิบตั ิตน ◆ ชือ่ และความสาคญั ของศาสนวัตถุ ไดอ้ ย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถานและ ศาสนบุคคล ศาสนสถาน และศาสนบุคคลของ ในพระพทุ ธศาสนา ศาสนาอสิ ลาม ครสิ ต์ ศาสนาอน่ื ๆ ศาสนา ศาสนาฮินดู ◆ การปฏิบตั ติ นทเี่ หมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคล ใน ศาสนาอนื่ ๆ ป.๔ ๑. อธิบายความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา หรอื  พระพุทธศาสนา ในฐานะทีเ่ ปน็ ศาสนาท่ีตนนับถือ ในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจ เครอ่ื งยึดเหนี่ยวจติ ใจ ของศาสนิกชน  เป็นศูนยร์ วมการทาความดี และพัฒนาจติ ใจ เชน่ ฝกึ สมาธิ สวดมนต์ ศึกษาหลักธรรม หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๒๗ ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง  เปน็ ทป่ี ระกอบศาสนพธิ ี (การทอดกฐนิ การ ทอดผา้ ป่า การเวยี นเทียน การทาบุญ)  เป็นแหล่งทากิจกรรมทางสงั คม เชน่ การจดั ประเพณีท้องถิน่ การเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร ชุมชน และ การส่งเสริมพฒั นาชมุ ชน ๒. สรปุ พุทธประวัตติ งั้ แต่บรรลธุ รรมจนถงึ  สรปุ พุทธประวัติ (ทบทวน) ประกาศธรรม หรือประวตั ศิ าสดา ที่  ตรสั รู้ ตนนบั ถอื ตามที่กาหนด  ประกาศธรรม ได้แก่ ° โปรดชฎลิ ° โปรดพระเจา้ พิมพสิ าร ° พระอคั รสาวก ° แสดงโอวาทปาฏิโมกข์ ๓. เห็นคุณคา่ และปฏบิ ตั ติ นตามแบบอย่างการ  พระอรุ เุ วลกัสสปะ ดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัตสิ าวก ชาดก/  กฏุ ิทูสกชาดก เร่ืองเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อย่าง ตามที่กาหนด  มหาอุกกุสชาดก  สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ๔. แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย ปฏบิ ัติ ➢ พระรัตนตรยั ตามไตรสิกขาและหลกั ธรรมโอวาท ๓ ใน o ศรัทธา ๔ พระพุทธศาสนา หรอื หลักธรรมของศาสนาท่ี  พระพุทธ ตนนบั ถอื ตามที่กาหนด ° พุทธคุณ ๓  พระธรรม ° หลักกรรม  พระสงฆ์ ➢ ไตรสกิ ขา  ศีล สมาธิ ปัญญา ➢ โอวาท ๓  ไม่ทาช่วั o เบญจศลี o ทจุ รติ ๓  ทาความดี o เบญจธรรม หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๒๘ ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง o สจุ รติ ๓ o พรหมวิหาร ๔ o กตญั ญูกตเวทีต่อประเทศชาติ o มงคล ๓๘ - เคารพ - ถ่อมคน - ทาความดใี ห้พร้อมไวก้ ่อน  ทาจิตใหบ้ ริสุทธ์ิ (บรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญา) ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษิต  สขุ า สงฆฺ สฺส สามคคฺ ี ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกดิ สขุ  โลโกปตถฺ มภฺ กิ า เมตตฺ า เมตตาธรรม คา้ จนุ โลก ๕. ช่นื ชมการทาความดขี องตนเอง ◆ ตวั อย่างการกระทาความดีของตนเองและ บุคคลในครอบครัว โรงเรียนและชมุ ชน ตาม บคุ คลในครอบครัว ในโรงเรียน และใน หลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏบิ ัติ ชมุ ชน ในการดาเนินชีวติ ๖. เห็นคุณคา่ และสวดมนต์ แผ่เมตตา ◆ สวดมนต์ไหวพ้ ระ สรรเสริญ มสี ตทิ เ่ี ป็นพื้นฐานของสมาธใิ นพระพุทธศาสนา คุณพระรัตนตรยั และแผเ่ มตตา หรือการพฒั นาจติ  รคู้ วามหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิและ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ปัญญา ตามทกี่ าหนด  รวู้ ิธีปฏบิ ตั ขิ องการบรหิ ารจติ และเจริญ ปัญญา  ฝกึ การยนื การเดิน การนั่ง และการนอน อย่างมสี ติ  ฝกึ การกาหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตาเห็นรปู หู ฟงั เสียง จมูกดมกลนิ่ ล้ินลมิ้ รส กายสัมผสั สิ่งที่มากระทบ ใจรับรู้ธรรมารมณ์  ฝึกใหม้ สี มาธิในการฟัง การอ่าน การคิด การ ถาม และการเขยี น หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๒๙ ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๗. ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา ทต่ี น ◆ หลกั ธรรมเพอื่ การอยูร่ ่วมกันอยา่ งสมานฉนั ท์ นบั ถอื เพ่อื การอยู่รว่ มกันเปน็ ชาติ ได้ o เบญจศีล – เบญจธรรม อย่างสมานฉันท์ o ทุจรติ ๓ – สจุ ริต ๓ o พรหมวหิ าร ๔ o มงคล ๓๘ - เคารพ - ถ่อมตน - ทาความดใี ห้พร้อมไวก้ ่อน o พุทธศาสนสภุ าษิต : ความพร้อมเพรียง ของหมู่ให้เกิดสุข เมตตาธรรมคา้ จนุ โลก  กตญั ญกู ตเวทีตอ่ ประเทศชาติ ๘. อธบิ ายประวตั ิศาสดาของศาสนาอนื่ ๆ  ประวตั ิศาสดา โดยสงั เขป o พระพทุ ธเจา้ ป.๕ ๑. วิเคราะหค์ วามสาคญั ของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถือ ในฐานะท่เี ป็น o มุฮมั มัด มรดกทางวัฒนธรรม และหลักในการ พัฒนาชาติไทย o พระเยซู ➢ มรดกทางวัฒนธรรมทไี่ ด้รบั จาก พระพุทธศาสนา o มรดกทางดา้ นรปู ธรรม เช่น ศาสนสถาน โบราณวตั ถุ สถาปตั ยกรรม o มรดกทางด้านจิตใจ เช่น หลกั ธรรม คาสง่ั สอน ความเช่ือ และคุณธรรมตา่ ง ๆ  การนาพระพทุ ธศาสนาไปใช้เปน็ แนวทางใน การพฒั นาชาติไทย o พัฒนาดา้ นกายภาพ และสิง่ แวดลอ้ ม เช่น ภาวนา ๔ (กาย ศลี จิต ปัญญา) ไตรสกิ ขา (ศีล สมาธิ ปญั ญา) และอริยสจั สี่ o พฒั นาจติ ใจ เชน่ หลักโอวาท ๓ (ละความช่ัว ทาดี ทาจติ ใจให้ หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๓๐ ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง บริสทุ ธ์)ิ และการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา ๒. สรุปพทุ ธประวัตติ ้ังแต่ เสดจ็  สรุปพทุ ธประวตั ิ (ทบทวน) กรุงกบิลพสั ด์จุ นถงึ พุทธกิจสาคัญ  โปรดพระพทุ ธบดิ า (เสด็จกรงุ กบลิ พสั ด์ุ) หรอื ประวัตศิ าสดาทตี่ นนับถือตามทกี่ าหนด  พุทธกจิ สาคัญ ไดแ้ ก่ โลกัตถจรยิ า ญาตตั ถ จรยิ า และพุทธัตถจริยา ๓. เห็นคณุ คา่ และประพฤตติ นตามแบบอยา่ ง  พระโสณโกฬิวสิ ะ การดาเนนิ ชีวิตและข้อคิดจากประวตั ิสาวก  จูฬเสฏฐชิ าดก ชาดก/เรือ่ งเลา่ และศาสนกิ ชน  วณั ณาโรหชาดก ตัวอย่าง ตามท่ีกาหนด  สมเด็จพระสังฆราช (สา)  อาจารย์เสถียร โพธนิ นั ทะ ๔. อธิบายองค์ประกอบ และความสาคญั ของ ➢ องคป์ ระกอบของพระไตรปฎิ ก พระไตรปิฎก หรอื คัมภีรข์ องศาสนาทีต่ นนบั ถือ  พระสตุ ตนั ตปฎิ ก  พระวินัยปฎิ ก  พระอภธิ รรมปฎิ ก ➢ ความสาคญั ของพระไตรปฎิ ก ๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ➢ พระรตั นตรัย และปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลกั ธรรมโอวาท o ศรทั ธา ๔ ๓ ในพระพทุ ธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนา  พระพุทธ ทีต่ นนับถือ o พทุ ธจรยิ า ๓ ตามทก่ี าหนด  พระธรรม o อริยสัจ ๔ o หลกั กรรม  พระสงฆ์ ➢ ไตรสกิ ขา  ศลี สมาธิ ปญั ญา ➢ โอวาท ๓  ไมท่ าชว่ั o เบญจศีล o อบายมุข ๔  ทาความดี o เบญจธรรม o บุญกิรยิ าวตั ถุ ๓ o อคติ ๔ o อทิ ธิบาท ๔ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๓๑ ชัน้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง o กตญั ญูกตเวทตี อ่ พระพุทธศาสนา o มงคล ๓๘ - ใฝร่ ู้ ใฝ่เรยี น - การงานไม่อากลู - อดทน  ทาจติ ใหบ้ ริสุทธ์ิ (บรหิ ารจติ และเจริญปัญญา) ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษติ  วิรเิ ยน ทุกฺขมจเฺ จติ คนจะลว่ งทุกขไ์ ด้เพราะความเพียร  ปญญฺ า โลกสมฺ ิ ปชฺโชโต ปัญญา คือ แสงสวา่ งในโลก ๖. เหน็ คุณคา่ และสวดมนต์แผเ่ มตตา ➢ สวดมนตไ์ หว้พระ สรรเสริญ มสี ตทิ เ่ี ปน็ พ้นื ฐานของสมาธิในพระพทุ ธศาสนา คณุ พระรตั นตรยั และแผ่เมตตา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ตี น  รคู้ วามหมายของสตสิ มั ปชญั ญะ สมาธิและ นบั ถอื ตามทก่ี าหนด ปญั ญา  รวู้ ิธปี ฏบิ ตั ิและประโยชน์ของ การ บรหิ ารจิตและเจริญปัญญา  ฝกึ การยนื การเดิน การนั่ง และ การนอน อย่างมสี ติ  ฝกึ การกาหนดรคู้ วามรสู้ ึก เมือ่ ตา เห็นรูป หูฟังเสยี ง จมกู ดมกลิ่น ลิ้นลมิ้ รส กายสัมผัสส่งิ ทมี่ ากระทบใจรับร้ธู รรมารมณ์  ฝึกใหม้ ีสมาธิในการฟงั การอา่ น การคิด การถามและการเขยี น ๗. ปฏิบัตติ นตามหลักธรรมของศาสนาทต่ี นนับ ◆ โอวาท ๓ (ตามสาระการเรยี นร้ขู อ้ ๕) ถือ เพื่อการพฒั นาตนเองและสงิ่ แวดลอ้ ม ป.๖ ๑. วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของพระพุทธ- ศาสนา ◆ พระพทุ ธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจา ในฐานะเป็นศาสนาประจาชาติ หรอื ชาติ เช่น เปน็ เอกลกั ษณ์ของชาตไิ ทย เป็น ความสาคัญของศาสนาทีต่ นนับถือ รากฐานทางวัฒนธรรมไทย เปน็ ศนู ย์ รวมจติ ใจ เปน็ มรดกทางวฒั นธรรมไทย และ เปน็ หลักในการพฒั นาชาตไิ ทย ๒. สรปุ พทุ ธประวตั ิตง้ั แตป่ ลงอายุสังขารจนถงึ  สรปุ พทุ ธประวตั ิ (ทบทวน) สงั เวชนียสถาน หรือประวัติศาสดาทีต่ นนับถือ  ปลงอายสุ งั ขาร  ปัจฉมิ สาวก หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๓๒ ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ตามที่กาหนด  ปรนิ พิ พาน ๓. เห็นคณุ คา่ และประพฤตติ นตามแบบอย่าง  การถวายพระเพลิง  แจกพระบรมสารรี ิกธาตุ การดาเนินชีวติ และข้อคิดจากประวัตสิ าวก  สงั เวชนียสถาน ๔ ชาดก/เรอื่ งเลา่ และ ศาสนิกชน  พระราธะ  ทฆี ตี โิ กสลชาดก ตวั อยา่ งตามท่กี าหนด  สพั พทาฐชิ าดก  พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ๔. วิเคราะหค์ วามสาคัญและเคารพ พระ  สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้ากรม-พระปรม นชุ ติ รตั นตรยั ปฏบิ ตั ิตามไตรสิกขาและหลักธรรม โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรอื หลักธรรม ชโิ นรส ของศาสนาทีต่ น นับถือตามทก่ี าหนด ➢ พระรตั นตรยั o ศรัทธา ๔  พระพทุ ธ o พทุ ธกจิ ๕  พระธรรม o อริยสจั ๔ o หลกั กรรม  พระสงฆ์ ➢ ไตรสิกขา  ศลี สมาธิ ปัญญา ➢ โอวาท ๓  ไมท่ าชัว่ o เบญจศีล o อบายมขุ ๖ o อกศุ ลมูล ๓  ทาความดี o เบญจธรรม o กศุ ลมูล ๓ o พละ ๔ o คารวะ ๖ o กตญั ญูกตเวทีต่อพระมหากษัตรยิ ์ o มงคล ๓๘ - มีวนิ ยั - การงานไม่มโี ทษ - ไมป่ ระมาทในธรรม หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๓๓ ชัน้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง  ทาจติ ใหบ้ รสิ ุทธ์ิ (บรหิ ารจติ และเจรญิ ๕. ชนื่ ชมการทาความดขี องบุคคลในประเทศ ปัญญา) ตามหลกั ศาสนา พรอ้ มทั้งบอกแนวปฏิบตั ิใน ➢ พทุ ธศาสนสุภาษติ  สจฺเจน กิตฺตึ ปปโฺ ปติ การดาเนินชวี ติ คนจะไดเ้ กียรตดิ ้วยสัจจะ ๖. เหน็ คณุ คา่ และสวดมนต์แผ่เมตตา และ  ยถาวาที ตถาการี บริหารจิตเจริญปญั ญา มีสตทิ ่ีเปน็ พน้ื ฐานของ พดู เชน่ ไร ทาเช่นน้ัน  ตวั อย่างการกระทาความดีของบุคคล สมาธิในพระพทุ ธศาสนา หรอื การ ในประเทศ พฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนา ที่  สวดมนตไ์ หว้พระ สรรเสริญ คณุ พระรตั นตรัยและแผ่เมตตา ตนนับถอื ตามที่กาหนด  รคู้ วามหมายของสตสิ มั ปชญั ญะ สมาธแิ ละ ปัญญา  รวู้ ิธีปฏบิ ัติและประโยชนข์ อง การบริหารจติ และเจริญปญั ญา  ฝกึ การยืน การเดิน การนงั่ และ การนอนอยา่ งมีสติ  ฝึกการกาหนดรู้ความรสู้ ึกเม่ือตาเหน็ รูป หู ฟังเสียง จมกู ดมกล่ิน ลิน้ ลิ้มรส กาย สัมผัสส่งิ ท่มี ากระทบ ใจรบั รู้ธรรมารมณ์ ◆ ฝกึ ใหม้ สี มาธิในการฟงั การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน ๗. ปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมของศาสนา ◆ หลกั ธรรม : อรยิ สจั ๔ หลักกรรม ทตี่ นนบั ถือ เพื่อแก้ปัญหาอบายมขุ ◆ โอวาท ๓ : เบญจศีล – เบญจธรรม และ สิ่งเสพตดิ อบายมุข ๖ อกุศลมลู ๓ กุศลมลู ๓ ๘. อธิบายหลกั ธรรมสาคัญของ ➢ หลกั ธรรมสาคญั ของศาสนาต่าง ๆ ศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป ◆ พระพทุ ธศาสนา : อริยสจั ๔ โอวาท ๓ ฯลฯ ◆ ศาสนาอสิ ลาม : หลกั ศรทั ธา หลกั ปฏิบัติ หลักจรยิ ธรรม ◆ ครสิ ตศ์ าสนา : บัญญตั ิ ๑๐ ประการ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๓๔ ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ๙. อธบิ ายลักษณะสาคญั ของศาสนพิธพี ธิ กี รรม ➢ ศาสนพิธีของศาสนาต่าง ๆ ของศาสนาอนื่ ๆ และปฏบิ ัติตนได้อย่าง ◆ พระพุทธศาสนา เหมาะสมเมือ่ ต้องเข้าร่วมพธิ ี o ศาสนพธิ ที เ่ี ป็นพุทธบญั ญตั ิ เช่น บรรพชา อปุ สมบท o ศาสนพิธีทีเ่ กย่ี วเน่ืองกบั พระพุทธศาสนา เช่น ทาบุญพิธีเนอ่ื งในวนั สาคัญทาง ศาสนา o ศาสนาอสิ ลาม เชน่ การละหมาด การถือศลี อด การบาเพ็ญฮจั ญ์ ฯลฯ o ครสิ ตศ์ าสนา เช่น ศลี ลา้ งบาป ศลี อภัยบาป ศีลกาลงั ศลี มหาสนทิ ฯลฯ o ศาสนาฮินดู เชน่ พิธศี ราทธ์ พิธบี ูชา เทวดา ม.๑ ๑. อธบิ ายการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาหรอื  การทาสงั คายนา ศาสนาทต่ี นนบั ถือสปู่ ระเทศไทย  การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ ส่ปู ระเทศไทย ๒. วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา  ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อสงั คมไทย ในฐานะเป็น หรือศาสนาทตี่ นนับถือทีม่ ีต่อสภาพแวดลอ้ ม ใน - ศาสนาประจาชาติ สังคมไทย รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว - สถาบนั หลักของสงั คมไทย ๓. วิเคราะห์พทุ ธประวัตติ ั้งแตป่ ระสตู จิ น ถึง - สภาพแวดลอ้ มที่กวา้ งขวางและครอบคลุม บาเพญ็ ทุกรกิรยิ าหรือประวตั ิศาสดา สงั คมไทย ทตี่ นนบั ถือตามท่กี าหนด - การพฒั นาตนและครอบครัว ๔. วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอยา่ งการ  สรุปและวิเคราะหพ์ ุทธประวัติ ดาเนินชีวติ และข้อคิดจากประวัตสิ าวก ชาดก - ประสูติ เร่อื งเล่าและศาสนิกชนตวั อย่างตามที่กาหนด - เทวทตู 4 ๕. อธิบายพทุ ธคุณ และข้อธรรมสาคญั ในกรอบ - การแสวงหาความรู้ อรยิ สจั ๔ หรอื หลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนบั ถือ - การบาเพญ็ ทกุ กรกริ ยิ า ตามทก่ี าหนด เห็นคณุ คา่ และนาไปพัฒนา  พุทธสาวก พทุ ธสาวิกา - พระมหากสั สปะ แก้ปัญหาของตนเองและครอบครัว ๖. เหน็ คณุ ค่าของการพฒั นาจติ เพือ่ การเรยี นรู้ - พระอบุ าลี - อนาถบิณฑิกะ และการดาเนินชวี ติ ด้วยวธิ ีคิดแบบโยนโิ ส มนสกิ ารคือ วิธคี ดิ แบบคุณค่าแท้-คุณคา่ เทียม - นางวิสาขา  ชาดก หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๓๕ ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง และวิธีคดิ แบบคุณ-โทษและทางออก หรือการ - อมั พชาดก พฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือ - ติตติรชาดก ๗. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บรหิ ารจิตและเจรญิ  ศาสนิกชนตัวอยา่ ง ปญั ญาดว้ ย อานาปานสตหิ รือตามแนวทาง - พระเจา้ อโศกมหาราช ของศาสนาทตี่ นนับถอื ตามท่ีกาหนด - พระโสณะและพระอุตตระ ๘. วิเคราะหแ์ ละปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมทาง  พระรัตนตรัย ศาสนาท่ีตน นับถือในการดารงชวี ิตแบบ - พทุ ธคุณ 9 พอเพยี งและดูแลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ มเพ่ือการอยู่  อริยสัจ 4 ร่วมกนั ได้อยา่ งสันติสขุ - ทกุ ข์ (ธรรมทค่ี วรรู้) : ขันธ์ 5 : ธาตุ 4 ๙. วเิ คราะหเ์ หตุผลความจาเป็นทที่ กุ คนตอ้ ง - สมุทยั (ธรรมท่คี วรละ) : หลักกรรม : ศกึ ษา เรียนรศู้ าสนาอ่ืนๆ ความหมายและคณุ คา่ : อบายมขุ 6 ๑๐. ปฏิบตั ิตนต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ - นโิ รธ (ธรรมท่ีควรบรรลุ) : สุข 2 (กายิก ตา่ งๆ ได้อยา่ งเหมาะสม เจตสิก) : คหิ สิ ุข ๑๑. วิเคราะห์การกระทาของบุคคลที่เปน็ - มรรค (ธรรมที่ควรเจรญิ ) : ไตรสกิ ขา : แบบอย่างด้าน ศาสนสัมพันธ์ และนาเสนอ กรรมฐาน 2 : ปธาน 4 : โกศล 3 : มงคล 38 แนวทางการปฏบิ ตั ิของตนเอง - ไมค่ บคนพาล - คบบัณฑิต - บูชาผูค้ วรบูชา • พทุ ธศาสนสภุ าษติ - ย เว เสวติ ตาทิโส : คบคนเช่นใดย่อม เปน็ เชน่ นน้ั - อตตฺ นา โจทยตฺตาน : จงเตือนตนดว้ ย ตนเอง - นิสมฺม กรณ เสยฺโย : การใครค่ รวญ ก่อนแลว้ จึงทาดีกวา่ - ทรุ าวาสา ฆรา ทุกขฺ า : เหย้าเรอื นที่ ปกครองไมด่ ีนาทุกข์มาให้  โยนโิ สมนสิการ - วธิ คี ิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทยี ม - วธิ ี คิดแบบคุณ-โทษ และทางออก  สวดมนตแ์ ปลและแผเ่ มตตา หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๓๖ ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - วิธีปฏบิ ตั ิและประโยชน์ของการ ม.๒ ๑. อธบิ ายการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาหรือ บริหารจิตและเจริญปัญญา การฝึกบรหิ ารจิต ศาสนาทต่ี น นับถอื สู่ประเทศเพื่อนบา้ น และเจรญิ ปัญญา ตามหลกั สตปิ ัฏฐานเนน้ อานา ๒. วเิ คราะห์ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนา ปานสติ หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือที่ช่วยเสรมิ สร้างความ - นาวิธกี ารบรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญา เขา้ ใจอนั ดีกับประเทศเพ่ือนบ้าน ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั  พระรตั นตรัย - พทุ ธคุณ 9  อรัยสจั 4 - ทกุ ข์ (ธรรมท่ีควรร)ู้ : ขนั ธ์ 5 ธาตุ 4 - สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) : หลักกรรม ความหมายและคุณคา่ อบายมขุ 6 - นิโรธ (ธรรมท่คี วรบรรลุ) : สขุ 2 (กา ยิก เจตสิก) คิหิสขุ - มรรค (ธรรมทคี่ วรเจริญ) : ไตรสิกขา กรรมฐาน 2 ปธาน 4 โกศล 3 มงคล 38 (ไม่คบคนพาล คบบณั ฑติ บชู าผคู้ วร บูชา)  ศาสนิกชนของศาสนาต่างๆ มีการประพฤติ ปฏบิ ัติตนและวิถกี ารดาเนินชวี ติ แตกตา่ งกนั ตาม หลกั ความเชอื่ และคาสอนของศาสนาที่ตนนับถอื  การปฏิบตั อิ ยา่ งเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นใน สถานการณต์ ่างๆ  ตัวอยา่ งบุคคลในท้องถน่ิ หรือประเทศทป่ี ฏิบัติ ตนเป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธห์ รอื มีผลงาน ดา้ นศาสนสมั พันธ์  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าส่ปู ระเทศ เพ่อื นบ้านและการนับถือพระพุทธศาสนาของ ประเทศเพื่อนบ้านในปจั จุบนั  ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาที่ช่วย เสริมสรา้ งความเข้าใจอนั ดีกบั ประเทศเพื่อนบ้าน หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๓๗ ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๓. วเิ คราะห์ความสาคญั ของระพุทธศาสนาหรือ  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาตอ่ ศาสนาทต่ี นนับถือในฐานะท่เี ปน็ รากฐานของ สงั คมไทยในฐานะเป็น - รากฐานของวัฒนธรรม วฒั นธรรมเอกลกั ษณ์ของชาติและมรดกของ - เอกลักษณ์และมรดกของชาติ ชาติ  ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนากบั การ ๔. อภปิ ราย ความสาคญั ของพระพุทธ ศาสนา พัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม หรอื ศาสนาทีต่ น นับถือกบั การพัฒนาชมุ ชน  สรปุ และวเิ คราะหพ์ ุทธประวตั ิ และการจดั ระเบยี บสงั คม - การผจญมาร , การตรสั รู้ , การสงั่ สอน ๕. วเิ คราะห์พทุ ธประวตั หิ รือประวตั ศิ าสดาของ  พทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า - พระสารบี ตุ ร , พระโมคคัลลานะ , นางขชุ ชุตต ศาสนาทตี่ นนับถือตามทก่ี าหนด ๖. วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอยา่ งการ รา , พระเจ้าพมิ พสิ าร ดาเนนิ ชวี ิตและข้อคดิ จากประวัติสาวก ชาดก  ชาดก เรอ่ื งเล่าและศาสนกิ ชนตัวอย่างตามที่กาหนด - มติ ตวินทุกชาดก , ราโชวาทชาดก ๗. อธิบายโครงสรา้ ง และสาระ สังเขปของ  ศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง พระไตรปิฏก หรือคมั ภีร์องศาสนาทตี่ นนับถือ - พระมหาธรรมราชา(ลิไทย) , สมเดจ็ พระมหา ๘. อธบิ ายธรรมคณุ และข้อธรรมสาคญั ในกรอบ สมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส อรยิ สัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาทตี่ นนบั ถือ  พระรัตนตรยั ตามทก่ี าหนดเห็นคณุ คา่ และนาไปพัฒนา - ธรรมคุณ 6 แกป้ ัญหาของชุมชนและสังคม  อรยิ สจั 4 ๙. เห็นคุณค่าของการพฒั นาจิตเพื่อการเรยี นรู้ - ทกุ ข์ (ธรรมที่ควรรู้) , ขนั ธ์ 5 , อายตนะ และดาเนนิ ชวี ติ ด้วยวิธีคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร - สมทุ ัย (ธรรมท่คี วรละ) , หลักกรรม , สมบัติ 4 คือวธิ คี ิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม และวธิ คี ดิ , วบิ ตั ิ 4 , อกุศลกรรมบถ 10 , อบายมุข 6 แบบอรรถธรรมสมั พันธ์ หรอื การพัฒนาจิตตาม - นิโรธ (ธรรมทีค่ วรบรรล)ุ , สขุ 2 (สามสิ นิรา แนวทางของศาสนาท่ตี นนับถือ มิส) ๑๐. สวดมนต์ แผ่เมตตา บรหิ ารจิตและเจริญ - มรรค (ธรรมท่ีควรเจริญ) , บพุ พนิมิตของ ปญั ญาดว้ ยอานาปานสติหรอื ตามแนวทางของ มชั ฌมิ าปฏิปทา , ดรณุ ธรรม 6 , กุลจิรัฏฐติ ิ ศาสนาทต่ี นนบั ถือ ธรรม 4 , กุศลกรรมบถ 10 , สตปิ ฏั ฐาน 4 , ๑๑. วเิ คราะห์การปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมทาง มงคล 38 , ประพฤติธรรม , เว้นจากความช่ัว , ศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการดารงตนอย่าง เว้นจากการดื่มน้าเมา เหมาะสมในกระแสความเปล่ียนแปลงของโลก  โครงสรา้ ง และสาระสังเขปของพระวินัย ปิฎก พระสตุ ตันตปฎิ ก และพระอภิธรรมปฎิ ก และการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันติสขุ  พุทธศาสนสภุ าษติ หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๓๘ ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - กมมฺ ุนา วตฺตตี โลโก : สตั วโ์ ลกย่อม เปน็ ไปตามกรรม - กลฺยาณการี กลยฺ าณ ปาปการี จ ปาปก : ทาดีได้ดี ทาชวั่ ได้ชัว่ - สุโข ปญุ ญฺ สฺส อจุ จฺ โย : การสั่งสมบญุ นา สขุ มาให้ - ปชู โก ลภเต ปชู วนทฺ โก ปฏวิ นทฺ น : ผู้ บชู าเขายอ่ มได้รับการบชู าตอบ ผู้ไหวเ้ ขาย่อม ไดร้ บั การไหว้ตอบ  พฒั นาการเรียนรู้ดว้ ยวิธคี ิดแบบโยนโิ ส มนสิการ 2 วธิ ี คือ วิธคี ดิ แบบอุบายปลกุ เรา้ คุณธรรม และวธิ ีคดิ แบบอรรถธรรมสัมพนั ธ์  สวดมนต์แปลและแผ่เมตตา - รแู้ ละเข้าใจวธิ ปี ฏบิ ัติและประโยชน์ของ การบริหารจิตและเจรญิ ปัญญา - ฝกึ การบรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญาตาม หลกั สติปัฏฐานเนน้ อานาปานสติ - นาวิธีการบรหิ ารจิตและเจรญิ ปัญญาไป ใช้ในชีวิตประจาวัน ม.๓ ๑. อธบิ ายการเผยแผ่พระพทุ ธ ศาสนาหรอื  การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศ ศาสนาทต่ี นนบั ถือสูป่ ระเทศต่างๆ ท่วั โลก ตา่ งๆ ทั่วโลก และการนบั ถือพระพุทธศาสนา ๒. วเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา ของประเทศเหลา่ นั้นในปัจจบุ ัน  ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาในฐานะท่ี หรือศาสนาท่ีตนนับถือในฐานะท่ีชว่ ยสรา้ งสรรค์ ช่วยสรา้ งสรรค์อารยธรรม และความสงบสขุ อารยธรรมและความสงบสขุ แก่โลก ใหแ้ กโ่ ลก ๓. อภิปรายความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา  ศกึ ษาพทุ ธประวตั ิจากพระพุทธรูปปางต่างๆ หรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถือกับปรชั ญาของเศรษฐกิจ เช่น พอเพยี งและการพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื - ปางมารวชิ ยั , ปางปฐมเทศนา , ปางลีลา , ปาง ๔. วเิ คราะห์พุทธประวตั จิ ากพระพุทธรปู ปาง ประจาวนั เกดิ  สรปุ และวิเคราะหพ์ ทุ ธประวัติ ตา่ ง ๆ หรือประวัตศิ าสดาที่ตนนบั ถอื ตามท่ี - ปฐมเทศนา , โอวาทปาฏิโมกข์ กาหนด  พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า ๕. วิเคราะห์และประพฤตติ นตามแบบอย่างการ - พระอัญญาโกณฑญั ญะ , พระนางมหาปชาบดี ดาเนนิ ชีวติ และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก โคตรมีเถร,ี พระเขมาเถรี , พระเจา้ ปเสนทิโกศล หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๓๙ ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง เร่อื งเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอย่างตาม ที่  ชาดก กาหนด - นันทิวสิ าลชาดก , วัณณหังสชาดก ๖. อธิบายสงั ฆคุณ และข้อธรรมสาคญั ในกรอบ  ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง - หมอ่ มเจ้าหญิงพนู พิศมัย ดิศกลุ , ศาสตราจารย์ อริยสจั ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาทีต่ นนบั ถือ สญั ญา ธรรมศักดิ์ ตามที่กาหนด  พระรตั นตรัย ๗. เหน็ คณุ ค่าและวเิ คราะห์การปฏิบัตติ นตาม - สงั ฆคณุ 9 หลักธรรมในการพฒั นาตนเพื่อเตรียม พร้อม  อริยสัจ 4 สาหรบั การทางานและการมคี รอบครัว - ทุกข์ (ธรรมท่ีควรรู้) , ขันธ์ 5 , ไตรลักษณ์ ๘. เหน็ คุณค่า ของการพัฒนาจิต เพ่ือการเรียนรู้ - สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) , หลักกรรม , วัฏฏะ 3 และดาเนนิ ชีวติ ด้วยวธิ ีคดิ แบบโยนิโสมนสิการ , ปปัญจธรรม 3 (ตัณหา, มานะ, ทฏิ ฐ)ิ คอื วธิ ีคดิ แบบอริยสัจ และวธิ คี ิดแบบสืบสาวเหตุ - นโิ รธ (ธรรมทีค่ วรบรรล)ุ , อัตถะ 3 ปจั จัยหรือการพฒั นาจติ ตามแนวทางของ - มรรค (ธรรมที่ควรเจรญิ ) , มรรคมีองค์ 8 , ปญั ญา 3 , สปั ปรุ สิ ธรรม 7 , บญุ กริ ยิ าวตั ถุ 10 ศาสนาทต่ี นนับถือ ๙. สวดมนตแ์ ผเ่ มตตา บริหารจติ และเจริญ , อุบาสกธรรม 7 , มงคล 38 , มีศลิ ปวิทยา , ปัญญาด้วยอานาปานสตหิ รือตามแนวทางของ พบสมณะ , ฟงั ธรรมตามกาล , สนทนาธรรมตาม กาล ศาสนาทตี่ นนบั ถือ ๑๐. วิเคราะหค์ วามแตกต่างและยอมรบั วถิ ีการ  การปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม  พุทธศาสนสภุ าษติ ดาเนินชวี ิตของศาสนิกชนในศาสนาอ่ืนๆ - อตฺตา หเว ชติ เสยฺโย : ชนะตนนน่ั แลดีกวา่ - ธมฺมจารี สุข เสติ : ผู้ประพฤติธรรมยอ่ มอยู่เป็น สุข - ปมาโท มจฺจุโน ปท : ความประมาทเป็นทาง แหง่ ความตาย - สุสสฺ สู ลภเต ปญญฺ : ฟังดว้ ยดียอ่ มไดป้ ัญญา - เรือ่ งนา่ รจู้ ากพระไตรปฎิ ก : พุทธปณธิ าน 4 ใน มหาปรินพิ พานสูตร สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป.๑ ๑. บาเพ็ญประโยชนต์ ่อวัด ➢ การบาเพ็ญประโยชนต์ อ่ วัด หรอื หรือศาสนสถานของศาสนาท่ีตนนับถือ ศาสนสถาน  การพฒั นาทาความสะอาด หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๔๐ ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง  การบรจิ าค  การรว่ มกิจกรรมทางศาสนา ๒. แสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ หรือแสดงตน ➢ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ เป็นศาสนิกชนของศาสนาทตี่ นนบั ถอื  ขนั้ เตรียมการ  ข้ันพิธีการ ๓. ปฏบิ ตั ิตนในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม ➢ ประวตั โิ ดยสังเขปของวันสาคัญ และวนั สาคญั ทางศาสนา ตามทีก่ าหนดได้ ทางพระพุทธศาสนา ถูกต้อง  วนั มาฆบูชา  วนั วสิ าขบชู า  วนั อาสาฬหบูชา  วนั อฏั ฐมบี ูชา ➢ การบูชาพระรัตนตรัย ป.๒ ๑. ปฏบิ ัตติ นอยา่ งเหมาะสมต่อสาวกของศาสนา ➢ การฝกึ ปฏิบัตมิ รรยาทชาวพุทธ ทต่ี นนบั ถือ ตามที่กาหนดไดถ้ ูกตอ้ ง  การพนมมือ  การไหว้  การกราบ  การน่งั  การยนื การเดนิ ๒. ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม  การเข้ารว่ มกจิ กรรมและพธิ กี รรม ที่ แลวนั สาคญั ทางศาสนา ตามท่กี าหนด เก่ยี วเน่อื งกับวันสาคญั ทางพุทธศาสนา ได้ถูกตอ้ ง  ระเบียบพธิ ีการบชู าพระรัตนตรยั  การทาบญุ ตักบาตร ป.๓ ๑. ปฏบิ ัติตนอยา่ งเหมาะสมต่อสาวก ศาสน ➢ ฝกึ ปฏบิ ตั มิ รรยาทชาวพุทธ สถาน ศาสนวัตถขุ องศาสนาที่ตนนับถือ ตามท่ี  การลุกข้ึนยนื รับ กาหนดได้ถูกต้อง  การตอ้ นรบั  การรับ – ส่งส่ิงของแก่พระภกิ ษุ ๒. เห็นคุณคา่ และปฏิบัตติ นในศาสนพธิ ี  มรรยาทในการสนทนา พิธกี รรม และวันสาคัญทางศาสนา ตามที่  การสารวมกิริยามารยาท การแตง่ กายที่ กาหนดได้ถูกต้อง เหมาะสมเมอื่  อย่ใู นวัดและพุทธสถาน  การดูแลรกั ษาศาสนวัตถุและ ศาสนสถาน  การอาราธนาศลี  การสมาทานศลี  เคร่อื งประกอบโต๊ะหมู่บูชา การจัดโต๊ะหมู่ บูชา หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๔๑ ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ๓. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรอื แสดงตน ➢ ความเปน็ มาของการแสดงตน เป็น เปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาทต่ี นนบั ถือ พุทธมามกะ ➢ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ  ขั้นเตรยี มการ  ข้ันพธิ กี าร ป.๔ ๑. อภปิ รายความสาคญั และมีส่วนรว่ ม  ความรเู้ บื้องตน้ และความสาคญั ของ ศาสน ในการบารงุ รักษาศาสนสถานของศาสนาท่ตี น สถาน นับถือ  การแสดงความเคารพต่อศาสนสถาน  การบารงุ รักษาศาสนสถาน ๒. มีมรรยาทของความเปน็ ศาสนิกชนท่ดี ี ตามท่ี  การปฏิบัตติ นที่เหมาะสมตอ่ พระภกิ ษุ กาหนด  การยืน การเดนิ และการนงั่ ที่เหมาะสมใน โอกาสต่าง ๆ ๓. ปฏบิ ตั ิตนในศาสนพธิ ี พิธกี รรมและวัน  การอาราธนาศีล สาคัญทางศาสนา ตามที่กาหนดไดถ้ ูกตอ้ ง  การอาราธนาธรรม  การอาราธนาพระปริตร  ระเบยี บพิธีและการปฏิบัติตน ใน วนั ธรรมสวนะ ป.๕ ๑. จัดพิธกี รรมตามศาสนาที่ตนนบั ถอื  การจัดพิธกี รรมทีเ่ รยี บง่าย ประหยดั อย่างเรียบงา่ ย มปี ระโยชน์ และปฏบิ ัตติ น มปี ระโยชน์ และถูกตอ้ งตามหลกั ถกู ต้อง ทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ๒. ปฏิบัตติ นในศาสนพธิ ี พิธีกรรม และ  การมสี ว่ นร่วมในการจดั เตรยี มสถานท่ี วนั สาคัญทางศาสนา ตามท่ีกาหนด และ ประกอบศาสนพิธี พิธีกรรมทางศาสนา อภปิ รายประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการเขา้ รว่ ม  พธิ ีถวายสงั ฆทาน เครื่องสังฆทาน กจิ กรรม  ระเบียบพิธีในการทาบุญงานมงคล  ประโยชน์ของ การเข้ารว่ มศาสนพธิ ี พธิ ีกรรมทางศาสนา หรือกจิ กรรม ในวันสาคัญทางศาสนา ๓. มมี รรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี ตามท่ี  การกราบพระรตั นตรยั กาหนด  การไหวบ้ ดิ า มารดา ครู/อาจารย์ ผู้ที่เคารพนับถือ  การกราบศพ ป.๖ ๑. อธิบายความรู้เก่ียวกับสถานทีต่ ่าง ๆในศา  ความรู้เบอื้ งต้นเกย่ี วกบั สถานทต่ี ่าง ๆภายใน สนสถาน และปฏิบตั ติ นได้อย่างเหมาะสม วดั เชน่ เขตพุทธาวาส สังฆาวาส  การปฏิบัตติ นท่ีเหมาะสมภายในวัด หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๔๒ ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. มมี รรยาทของความเป็นศาสนกิ ชนทด่ี ี ตามท่ี  การถวายของแก่พระภิกษุ กาหนด  การปฏบิ ัติตนในขณะฟังธรรม  การปฏบิ ตั ิตนตามแนวทางของ พุทธศาสนกิ ชน เพื่อประโยชน์ตอ่ ศาสนา ๓. อธบิ ายประโยชน์ของการเขา้ รว่ ม ใน  ทบทวนการอาราธนาศลี อาราธนาธรรม ศาสนพธิ ี พธิ กี รรม และกจิ กรรม ในวัน และอาราธนาพระปรติ ร สาคัญทางศาสนา ตามที่กาหนด และ  พธิ ที อดผา้ ป่า ปฏบิ ัติตนไดถ้ ูกตอ้ ง  พธิ ที อดกฐิน  ระเบียบพธิ ใี นการทาบุญงานอวมงคล  การปฏิบัติตนท่ถี กู ต้องในศาสนพธิ พี ิธกี รรม และวนั สาคัญทางศาสนา เช่น วนั มาฆบชู า วันวิสาขบชู า วนั อัฐมีบชู า วันอาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะ  ประโยชนข์ องการเข้ารว่ มในศาสนพิธ/ี พธิ ีกรรม และวนั สาคัญทางศาสนา ๔. แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ หรือแสดงตน ➢ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ เปน็ ศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนบั ถือ ° ขนั้ เตรียมการ ° ข้ันพธิ ีการ ม.๑ ๑. บาเพญ็ ประโยชนต์ ่อศาสนสถานของศาสนา ➢ การบาเพ็ญประโยชนแ์ ละการ ท่ีตนนบั ถือ บารุงรกั ษาวัด ๒. อธบิ ายจรยิ วตั รของสาวกเพอื่ เปน็ แบบอย่าง ในการประพฤติปฏบิ ตั ิ และปฏิบัติตนอยา่ ง ➢ วิถีชวี ิตของพระภกิ ษุ เหมาะสมต่อสาวกของศาสนาทีต่ นนับถือ ๓. ปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆตาม ➢ บทบาทของพระภกิ ษใุ นการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา เช่น การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม การ หลกั ศาสนา ท่ตี นนับถือตามท่ีกาหนด ประพฤตติ นใหเ้ ปน็ แบบอยา่ ง ➢ การปฏบิ ตั ิตนที่เหมาะสม ๔.จดั พิธีกรรมและปฏิบตั ิตนในศาสนพธิ ี - การเข้าพบพระภิกษุ พิธกี รรมไดถ้ กู ตอ้ ง - การแสดงความเคารพ การประนมมือ ๕. อธิบาย ประวัติความ สาคัญและปฏบิ ัตติ นใน การไหว้ การกราบ การเคารพพระ วนั สาคัญทางศาสนาท่ีตนนับถือตามทกี่ าหนดได้ รัตนตรัย ถูกต้อง - การฟงั เจริญพระพทุ ธมนต์ การฟัง สวดพระอภิธรรม การฟังพระธรรม เทศนา หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๔๓ ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ➢ การปฏบิ ตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อเพื่อน ตามหลกั พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนับถือ ➢ การจดั โต๊ะหมู่บูชา แบบหมู่ 4 หมู่ 5 หมู่ 7 หมู่ 9 ➢ การจดุ ธูปเทียน การจดั เครื่องประกอบ โตะ๊ หม่บู ชู า ➢ คาอาราธนาต่างๆ ➢ ประวัตแิ ละความสาคญั ของวันธรรม สวนะ วนั เขา้ พรรษา วันออกพรรษา วนั เทโวโรหณะ ➢ ระเบยี บพธิ ี พิธีเวยี นเทยี น การปฏบิ ตั ิ ตนในวันมาฆบูชา วันวิสาบชู า วันอฏั ฐ มีบูชา วนั อาสาฬหบชู า ม.๒ ๑. ปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่าง ๆตาม ➢ การเป็นลกู ที่ดตี ามหลักทิศเบื้องตน้ ใน หลกั ศาสนาท่ตี นนบั ถือตามท่ีกาหนด ทิศ 6 ๒. มมี รรยาทของความเป็นศาสนกิ ชนที่ดตี ามท่ี ➢ มารยาทของศาสนกิ ชน กาหนด - การตอ้ นรบั (ปฏิสนั ถาร) ๓. วเิ คราะหค์ ุณคา่ ของศาสนพิธีและปฏิบตั ติ น - มารยาทของผ้เู ป็นแขก ได้ถูกต้อง - ฝกึ ปฏบิ ตั ริ ะเบยี บพธิ ี ปฏิบตั ิตอ่ พระภกิ ษุ การให้ทีน่ ัง่ การเดินสวน การสนทนา ๔. อธิบายคาสอนท่เี ก่ียวเน่อื งกับวันสาคญั ทาง การรบั สิง่ ของ ศาสนาและปฏบิ ัตติ นได้ถูกต้อง - การแตง่ กายไปวดั การแต่งกายไป ๕. อธบิ ายความแตกตา่ งของศาสนพิธีพิธีกรรม งานมงคล งานอวมงคล ตามแนวปฏบิ ัติของศาสนาอ่ืนๆเพ่ือนาไปสูก่ าร ➢ การปฏิบตั ติ นอย่างเหมาะสม ยอมรับ และความเข้าใจซงึ่ กันและกัน - การทาบุญตกั บาตร - การถวายภตั ตาหาร สิ่งของท่ีควร ถวาย และส่งิ ของต้องหา้ มสาหรับพระภิกษุ - การถวายสังฆทาน เคร่ืองสังฆทาน - การถวายผา้ อาบนา้ ฝน - การจดั เครอ่ื งไทยธรรม เคร่ือง ไทยทาน - การกรวดนา้ - การทอดกฐนิ การทอดผ้าป่า หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๔๔ ช้นั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ➢ หลักธรรมเบอ้ื งตน้ ที่เกีย่ วเนื่องในวัน มาฆบชู า วนั วสิ าขบูชา วันอฏั ฐมบี ชู า วนั อาสาฬหบูชา วนั ธรรมสวนะ และเทศกาลสาคญั ➢ ระเบยี บพิธีและการปฏบิ ตั ิตนในวนั ธรรมสวนะ วนั เข้าพรรษา วันออกพรรษา วันเท โวโรหณะ ➢ ศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม แนวปฏบิ ตั ขิ องศาสนา อ่นื ๆ ม.๓ ๑. วเิ คราะหห์ นา้ ทแ่ี ละบทบาทของสาวกและ ➢ หนา้ ทขี่ องพระภิกษุในการปฏิบัติตามหลกั ปฏบิ ัติตนต่อสาวกตามท่ีกาหนดได้ถูกตอ้ ง พระธรรมวินยั และจรยิ วัตรอย่างเหมาะสม ๒. ปฏิบตั ติ นอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตาม ➢ การปฏิบตั ิตนตอ่ พระภิกษุในงานศาสนพิธีที่ บา้ น การสนทนา การแตง่ กาย มารยาทการพดู หลักศาสนาตามท่ีกาหนด กบั พระภกิ ษุตามฐานะ ๓. ปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องศาสนิกชนทด่ี ี ➢ การเปน็ ศษิ ย์ทีด่ ตี ามหลักทิศเบอ้ื งขวาในทิศ ๔. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พธิ ีกรรมได้ถูกต้อง 6 ของพระพทุ ธศาสนา ๕. อธิบาย ประวตั วิ นั สาคญั ทางศาสนาตามท่ี ➢ การปฏบิ ัติหน้าท่ชี าวพทุ ธตามพุทธปณธิ าน กาหนดและปฏิบตั ติ นได้ถูกต้อง 4 ในมหาปรินพิ พานสตู ร ๖. แสดงตน เป็นพุทธมามกะหรอื แสดงตน ➢ การแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ เปน็ ศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ - ข้นั เตรียมการ ๗. นาเสนอแนวทางในการธารงรักษาศาสนาท่ี - ขน้ั พธิ กี าร ตนนบั ถอื ➢ การศึกษาเรยี นรเู้ ร่อื งองค์ประกอบของ พระพุทธศาสนา นาไปปฏิบตั ิและเผยแผต่ าม โอกาส ➢ การศกึ ษาการรวมตวั ขององค์กรชาวพทุ ธ ➢ การปลกู จติ สานึกในดา้ นการบารงุ รกั ษาวัด และพุทธสถานให้เกิดประโยชน์ ➢ ปฏบิ ตั ิตนในศาสนพธิ ี - พิธีทาบญุ งานมงคล และงานอวมงคล - การนิมนต์พระภิกษุ การ เตรียมทต่ี งั้ พระพทุ ธรูปและเคร่ืองบูชา การวง ด้ายสายสญิ จน์ - การปลู าดอาสนะ การเตรียมเครอื่ ง รบั รอง การจดุ ธปู เทียน หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๔๕ ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง - ข้อปฏบิ ัตใิ นวนั เลีย้ งพระ การถวายขา้ ว พระพุทธ การถวายไทยธรรม การกรวดนา้ ➢ ประวัติวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาใน ประเทศไทย - วันวิสาขบูชา (วนั สาคัญสากล) - วันธรรมสวนะและเทศกาลสาคญั ➢ พัฒนาการเรยี นรดู้ ้วยวธิ คี ิดแบบโยนิโส มนสิการ 2 วิธี คือ วธิ คี ดิ แบบอรยิ สจั และวิธีคิด แบบสืบสาวเหตปุ จั จัย ➢ สวดมนตแ์ ปลและแผ่เมตตา - รแู้ ละเขา้ ใจวิธปี ฏิบัตแิ ละประโยชนข์ อง การบริหารจิตและเจริญปญั ญา - ฝกึ การบริหารจติ และเจริญปญั ญาตาม หลกั สติปัฏฐานเน้นอานาปานสติ - นาวิธีการบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญาไป ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ➢ สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและการพัฒนาอยา่ งย่ังยืน ➢ วิถีการดาเนินชวี ิตของศาสนิกชนศาสนา อ่นื ๆ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๔๖ สาระที่ ๒ หน้าทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าทขี่ องการเปน็ พลเมืองดี มคี า่ นิยมท่ีดีงามและธารงรกั ษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยรู่ ่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยา่ งสันตสิ ุข ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป.๑ ๑. บอกประโยชนแ์ ละปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชกิ ท่ดี ี  การเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของครอบครวั และ ของครอบครัวและโรงเรียน โรงเรียน เช่น - กตญั ญูกตเวทแี ละเคารพรับฟังคาแนะนา ของพ่อแม่ ญาติผใู้ หญ่ และครู - รู้จักกลา่ วคาขอบคณุ ขอโทษ การ ไหว้ผใู้ หญ่ - ปฏิบตั ิตาม ขอ้ ตกลง กตกิ า กฎ ระเบียบ ของครอบครัวและโรงเรียน - มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมของครอบครวั และ โรงเรียน - มเี หตผุ ลและยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของ ผ้อู น่ื - มีระเบียบ วินยั มนี ้าใจ  ประโยชน์ของการปฏิบตั ิตนเป็นสมาชกิ ท่ดี ี ของครอบครวั และโรงเรียน ๒. ยกตัวอย่างความสามารถและความดี ของ  ลกั ษณะความสามารถและลกั ษณะ ความดี ตนเอง ผู้อื่น และบอกผล ของตนเองและผอู้ ่ืน เช่น จากการกระทานนั้ - ความกตัญญูกตเวที - ความมีระเบยี บวนิ ยั - ความรับผดิ ชอบ - ความขยนั - การเอือ้ เฟ้อื เผอื่ แผ่และชว่ ยเหลือผู้อืน่ - ความซื่อสตั ย์สจุ ริต - ความเมตตากรุณา  ผลของการกระทาความดี เช่น - ภาคภมู ิใจ - มคี วามสขุ - ได้รับการชื่นชม ยกย่อง ป.๒ ๑. ปฏบิ ตั ติ นตามขอ้ ตกลง กติกา กฎ ระเบียบ  ขอ้ ตกลง กติกา กฎ ระเบียบ หนา้ ท่ที ่ตี อ้ ง และหนา้ ทีท่ ี่ตอ้ งปฏบิ ัติในชีวติ ประจาวนั ปฏบิ ัตใิ นครอบครัว โรงเรียน สถานท่ี สาธารณะ เช่น โรงภาพยนต์ โบราณสถาน ฯลฯ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook