Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เพศศึกษาแบบองค์รวม

เพศศึกษาแบบองค์รวม

Description: เพศศึกษาแบบองค์รวม

Search

Read the Text Version

183 2.2 ไม่เปิดเผยร่างกายเพื่อยั่วยวน ในการปฏิบัติตัวของเพศหญิง เช่น การแต่งกายท่ี ยว่ั ยวน ใสเ่ สื้อผ้าสายเด่ียว เสื้อที่คอกว้างเกินไป โชว์สัดส่วนรูปรา่ งมากเกนิ ไป กระโปรง กางเกงท่ีส้ัน มาก ๆ ทาให้เพศชายเกิดความรู้สึกและอารมณ์ทางเพศได้ง่าย ซึ่งจะนาไปสู่การก่อคดีอาชญากรรม ข่มขืน และการมเี พศสัมพันธ์ท่ีไม่พงึ ประสงค์ได้ 2.3 รู้จักปฏิเสธ เพศหญิงจะต้องรู้จักหลักการปฏิเสธบ้าง คือจะต้องฝึกพูด 3 คาคือ ไมน่ ะ.... อย่านะ......หยุดนะ......ให้เปน็ โดยตง้ั สติใหแ้ น่วแนช่ ัดเจน 2.4 เรยี นรู้การเจรจาต่อรอง ถ้าจะชวนมีเพศสัมพันธ์จะต้องหาวิธีป้องกันการตั้งครรภ์ เช่น ใส่ถุงยางอนามัย (Condom) หรอื งัดไม้ตายมาใช้ เช่น “ถ้าคุณรักจริง ควรรอเม่ือพรอ้ ม แล้วฉัน จะยอมเธอทกุ อย่าง” เปน็ ตน้ ถ้าเขารกั เราจรงิ ๆ ไมห่ วังเรอื่ งการมีเพศสมั พันธอ์ ย่างเดยี ววธิ ีน้ีคงไดผ้ ล 2.5 เรยี นการป้องกนั ถา้ ท้ัง 2 ฝ่ายยินยอมพร้อมใจกันและอยากมเี พศสัมพันธ์ ตอ้ งรู้จัก การปอ้ งกัน การติดเช้อื โรคเอดส์ (HIV) และป้องกันการตั้งครรท่ีไมพ่ ึงประสงค์ ซ่ึงจะมีปัญหาติดตาม อกี มากมาย เช่น การตั้งครรภ์ เรียนไม่จบ การทาแทง้ เปน็ ต้น ความขดั แยง้ ในสัมพันธภาพทางเพศ สมั พันธภาพของวยั รุ่นทั้งในครอบครวั ในโรงรียน และในสังคมภายนอก แตล่ ะสถานภาพ วัยรุ่นมีการแสดงบทบาทที่แตกต่างกัน ดังนั้นวัยรุ่นจึงมีความคาดหวังท่ีแตกต่างกันด้วย เมื่อความคาดหวังต่างกันระหว่างเพศต่างกัน ความขัดแย้งย่อมเกิดข้ึนในใจ ความขัดแย้งนี้จะทาให้ เกดิ ความบาดหมางกันข้ึน ดังนี้ (กิจจา บานช่ืน ฐณิ ีวรรณ วุฒิวกิ ัยการ และวรฑา ไชยาวรรณ, 2562, น. 46-48) 1. ความหมายและลักษณะความขัดแย้งทางเพศ ความขัดแยง้ ทางเพศ คือ การไม่เข้าใจของบคุ คลสองคน หรอื กล่มุ บุคคลอันเน่ืองมาจาก ความแตกต่างในเร่ืองความคิด การกระทาการตัดสนิ ใจในเร่ืองเพศ ซงึ่ มาจากความคาดหวังที่ต่างกัน ซงึ่ กอ่ ให้เกิดผลกระทบตอ่ สมั พันธภาพของกล่มุ หรอื ของบุคคลทัง้ สอง สัมพันธภาพแห่งความเป็นเพื่อนนั้น บางคร้ังความต้องการของคนสองคนไม่ตรงกัน จึงต้องมีความขัดแย้งกันเกิดขึ้นบ้าง เมื่อเกิดความขัดแยังแล้วเราก็ต้องมาถกเถียงอภิปรายกัน ตรงนเ้ี ป็นส่งิ ทสี่ าคัญ ตอ้ งมีฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงยอมเป็นผแู้ พ้ เพราะถ้าหากท้ังสองฝ่ายไมม่ ีใครคดิ ท่ีจะยอม แพ้เลย คิดแต่จะเอาชนะโดยไม่ฟังเหตุผล เอาอารมณ์เป็นที่ต้ัง หวังจะได้ในสิ่งท่ีตนคาดหวัง ถ้าหากต่างคนตา่ งเป็นเช่นน้ี สมั พันธภาพแห่งความเปน็ เพ่อื นคงไม่ราบรน่ื ตา่ งฝา่ ยจะต้องแยกออกไป เพ่ือคบหาคนทยี่ อมแพ้ตนเอง

184 วัยรุ่นในสังคมไทยเรา ปัญหาของความรักอย่างน้ีมีมาต้ังแต่เริ่มสัมพันธภาพแห่ง ความเป็นเพ่ือน เพราะแต่ละคนเมื่อมีความสนิทสนมกัน ย่อมมีความคาดหวังในการคบหา ที่แตกต่างกัน วัยรุ่นชายจะมีความคาดหวังที่จะได้วัยรุ่นหญิงเป็นคู่รัก ขณะท่ีฝ่ายหญิงยังเกิด ความขัดแย้งในใจท่ียังไม่พร้อม ตลอดจนประเพณีและวัฒนธรรมไท ยท่ีถูกอบรมเล้ียงดูมา ทาให้วัยรุ่นหญิงอาจจะคิดว่า หากปล่อยให้เป็นไปอย่างท่ีฝ่ายวัยรุ่นชายคาดหวัง จะทาให้ตนเอง เสียโอกาสที่จะพบเจอคนที่ดีกว่า ความขัดแย้งดังกล่าวจึงเกิดข้ึน พฤติกรรมนี้เป็นส่ิงท่ีควรตระหนัก กันให้ดี การเอาชนะกันในเรือ่ งของความรักโดยไร้เหตุผล ให้รอจนกว่าทุกอย่างจะพร้อม และเม่ือถึง วันทท่ี งั้ สองรอคอย จะมีความสขุ มากกว่าความคาดหวงั ในปัจจุบัน 2. สาเหตขุ องความขัดแยง้ ในเร่ืองเพศ 2.1 จากการมองโลกต่างกัน ความคาดหวังท่ีต่างกัน ฝ่ายหญิงคิดอย่างหน่ึง ฝ่ายชาย คิดอกี อยา่ งหนึ่ง 2.2 จากค่านิยมต่างกัน ค่านิยมทางสังคมที่ฝ่ายหญิงถูกปลูกฝังมาให้รักนวลสงวนตัว ในขณะที่ฝ่ายชายถือว่าการเป็นชายเป็นเพศที่ได้เปรียบทางสังคม จึงไม่สนใจในค่านิยมดังกล่าว ของฝ่ายหญิง 2.3 วิธีคิดต่างกัน ระดับการศึกษา ฐานะทางศรษฐกิจ ฐานะทางสังคม ทาให้ชาย และหญงิ มีแนวคดิ และวิธีคิดที่แตกต่างกนั 2.4 วัฒนธรรมประเพณตี ่างกัน ปัจจุบันวัฒนธรรมประเพณีตะวันตกไดแ้ ทรกซึมเข้ามา ในสังคมไทอย่างมาก การจับมือถือแขน หรือแม้กระทั่งการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของสังคม ตะวันตกถือเป็นเรื่องปกติ ซึ่งต่างจากสังคมไพย หากวัยรุ่นฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดยึดถือประเพณีและ วฒั นธรรมตะวนั ตก ย่อมเกิดปัญหาความขัดเย้งข้นึ ได้ 3. แนวทางในการแกป้ ญั หาหรอื ลดความขดั แยง้ ความขัดแย้ง เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ซ่ึงเป็นเรื่องธรรมดา การที่วัยรุ่นจะใช้ชีวิตอยู่ใน สังคมโดยเฉพาะในหมู่เพ่ือนให้มีความสุขและรู้จักกับความผิดหวังจากการคาดหวังที่ไม่ประสบ ผลสาเรจ็ จนเกิดความขัดแย้งข้ึนในจิตใจ จาเป็นจะตอ้ งเรียนรู้วธิ ีขจัดความขัดแย้งในใจให้ได้ การขจัด ความขัดแย้ง ถือว่าเป็นการเรียนรู้ถึงความเป็นปกติของชีวิตประจาวัน ซ่ึงวิธีขจัดความขัดแย้ง ใน เรือ่ งเพศ สามารถทาได้ดังน้ี 3.1 ศึกษาถึงสาเหตุแห่งปัญหาของความข้ดแย้ง แก้ปัญหาให้ถูกจุด หากเป็นปัญหา ทางเพศ ให้คิดเสมอว่าความพร้อมเร่ืองเวลา กวามพร้อมทางฐานะทางเศรษฐกิ จ ความพร้อม ทางสังคม และค่านิยมประเพณีและวัฒนธรรมจะเป็นตัวแปรท่ีสาคัญท่ีทาให้เราสมหวัง ต้องยอมรับ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ทาใจไว้เสมอว่าคนทุกคนย่อมแตกต่างกัน วัตถุสิ่งเดียวกันหากมอง

185 ตา่ งมุม วัตถนุ ั้นย่อมไม่เหมอื นกัน การท่ีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ยอมรับสิ่งที่เราคาดหวัง อาจเป็นเพราะเขา มองต่างมุมกับเรา 3.2 สร้างบรรยากาศที่ดีในการส่ือสาร โดยหันหน้าเข้าหากัน เปิดใจคุยกัน บอกถึง ความคาดหวงั ของตนอง ความรู้สึก และทาใจใหไ้ ด้เมอื่ ถกู ตอบปฏิเสธ โดยคดิ ไวว้ ่า เพศตรงขา้ มอาจยัง ไม่พร้อม และมีความคาดหวงั แตกตา่ งจากเรา 3.3 ร่วมกันแก้ปัญหาด้วยความเห็นใจกัน โดยต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของสัมพันธภาพแห่ง ความเป็นเพื่อน ระลึกไว้เสมอว่า หากยังไม่เป็นไปตามที่เราคาดหวัง อย่างน้อยเราก็มีเพ่ือนท่ีดี เพ่ิมข้นึ มาอีกคนหนงึ่ 3.4 มคี วามจรงิ ใจในการขจัดความขัดแย้งที่เกดิ โดยมุ่งมน่ั ทจ่ี ะทาความเข้าใจอย่างมสี ติ และระลกึ ไว้ว่า ส่งิ ที่เราคาดหวังจากเพศตรงข้ามมใิ ชว่ า่ จะได้ทุกครง้ั ท้ังนเี้ พราะต้องคานึงถงึ ความรู้สึก เวลา และความพร้อมของอีกฝา่ ยหนง่ึ ดว้ ย 3.5 จงเป็นผู้ฟังท่ีดี วัยรุ่นเป็นวัยท่ีมีอารมณ์ฉุนเฉียวรุนแรง บางครั้งหากไม่ได้อย่างท่ี ตนเองคาดหวงั จะโวยวายโดยไม่ฟังเสียงอกี ฝ่ายหนึ่ง การนงิ่ การรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายตรงข้าม จะเป็นการลดความขดั แย้งได้ในระดับหนึ่ง การสมรสหรือการแต่งงาน เม่ือบุคคลตา่ งเพศหรอื เพศเดียวกันได้พบกับบุคคลท่ีตนรกั และปรารถนา อันมคี ุณลักษณะ ตรงเกณฑ์การเลือกคู่ครอง ซ่ึงมีอยู่ในใจของตนแล้ว เมื่อไม่มีอุปสรรคใด ๆ เกิดข้ึนก็ตัดสินใจท่ีจะใช้ ชวี ติ อยูร่ ว่ มกันฉันทส์ ามีภรรยา โดยอาจมีการปฏิบัติพิธีกรรมต่าง ๆ ตามขนบธรรมเนยี มและประเพณี การแต่งงาน อันดีงามของสังคมที่ตนยึดถืออยู่ เพื่อเป็นการประกาศให้สังคมได้รับรู้ถึงการเริ่มต้นใช้ ชวี ิตคู่ของตน ดังน้ี (จันทร์วภิ า ดิลกสัมพนั ธ์, 2548, น. 114-122) 1. ความหมายของการสมรส การแต่งงานหรอื การสมรส คือ การท่ีบุคคลต่างเพศหรือเพศเดียวกันตกลงใจและแสดง ให้ประจักษ์ว่าจะใช้ชีวิตคู่อยู่ร่วมกันในฐานะสามีและภรรยา โดยยินยอมปฏิบัติตามขนบธรรมเนียม ประเพณีและกฎหมายที่ใช้อยู่ในสังคมของตน การแต่งงานจึงถือเป็นการเริ่มต้นชีวิตครอบครัว อยา่ งแท้จรงิ

186 2. ความสาคญั ของการสมรส การแตง่ งานหรือการสมรสนับเป็นการตอบสนองความต้องการที่จาเปน็ ของชีวิตมนุษย์ (Basic Needs) ในหลายด้านทเี่ ป็นความปรารถนาสงู สุดอย่างหน่งึ ของมนษุ ย์ทัง้ ชายและหญิง ไม่วา่ จะ เป็นการตอบสนองความรู้สึกทางเพศหรือกามารมณ์ หรือตอบสนองความรู้สึกทางจิตใจ นั่นคือ ความภาคภูมิใจที่ได้แสดงให้สังคมประจักษ์ว่าตนเป็นบุคคลท่ีมีความสาคัญ เป็นท่ีรักและปรารถนา ของใครคนหนึ่งแลว้ นอกจากนก้ี ารแตง่ งานยังเป็นการแสดงถึงความเป็นผู้ใหญ่จะต้องพ่ึงตนเอง และ จะต้องมีภาระรับผิดชอบมากขึ้น เพราะไดพ้ ้นจากความเปน็ โสดมามีภาระผูกพัน มีครอบครัวเป็นของ ตนเองขาดจากการปกครองบังคับบัญชาของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ดังน้ันการแต่งงานจึงมีความสาคัญต่อ ชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก ก่อนท่ีจะตัดสินใจแต่งงานจึงต้องไตร่ตรองอย่างมีเหตุมีผล ต้องพินิจ พิจารณาให้ถ่ีถ้วนในการเลือกคู่ครอง ศึกษากันอย่างถ่องแท้ เพราะการไปใช้ชีวิตร่วมกันในชีวิต ครอบครัวหรือชีวิตการสมรสน้ัน หากสามารถประคับประคองให้ชีวิตราบร่ืนได้ก็ย่อมแสดงถึง ความสามารถ ความสาเร็จของชีวิตอย่างหนึ่ง ดังที่มีผู้รู้กล่าวไว้ในหลักการครองเรือนที่ว่า ความสุข หรอื ความทุกข์ ความเจริญ หรอื ความเสอ่ื มในชีวติ ของคนเรากอ็ ยูท่ ่ีการแต่งงานนน่ั เอง 3. เปา้ หมายของการสมรส ในการตัดสินใจทาการสมรสของแต่ละบุคคลหรือแต่ละสังคม อาจจะมีเป้าหมาย แตกต่างกันออกไป หรืออาจจะมีความคล้ายคลึงกันอยู่บ้าง แต่เมื่อพิจารณาถึงการปฏิบัติชีวิตของ มนุษยแ์ ล้ว จะพบว่าสว่ นใหญส่ มรสเพือ่ ผลตอบแทนที่แตกต่างกัน (Beel, 1971, p. 266) ดงั นี้ 3.1 เพ่อื ความรัก ความรักอาจเป็นสาเหตุสาคัญท่ีทาให้คนคิดถึงเร่ืองการแต่งงาน โดยเฉพาะ ความรักแท้ท่ีท้ังสองฝ่ายมีความรักต่อกัน และปรารถนาจะใช้ชีวิตอยู่ร่ วมกันอย่างใกล้ชิดตลอดไป ความรักจึงเปน็ พน้ื ฐานทีส่ าคัญทีท่ าให้คนตัดสินใจใช้ชวี ติ สมรสร่วมกนั 3.2 เพอ่ื ความพึงพอใจในเพศสัมพนั ธ์ การสมรสกันจะช่วยให้ท้ังชายและหญิงได้ตอบสนองความต้องการทางเพศรส ได้อย่างถูกต้องตามครรลองของสังคม เพราะสังคมโดยท่ัวไปถือบรรทัดฐานว่า การท่ีชายและหญิง จะมาอยู่ร่วมกัน มีสัมพันธภาพทางเพศกันอย่างเป็นที่ยอมรับของสังคมได้นั้น ก็ต่อเมื่อทั้งคู่ได้มี การสมรสกันแล้วเท่านนั้ 3.3 เพื่อไดส้ ถานภาพผใู้ หญ่ การเป็นสามีภรรยาจะมีบทบาทท่ีพึงปฏิบัติต่างไปจากคนโสด ซึ่งคนส่วนใหญ่ ก็ยอมรับว่าคนที่สมรสแล้วมีความเป็นผู้ใหญ่อย่างเต็มที่ เพราะจะต้องมีความรับผิดชอบต่อชีวิต ครอบครวั ดว้ ยตนเอง และได้แยกครอบครัวเปน็ อิสระไปจากพอ่ แม่

187 3.4 เพอื่ ผลตอบแทนทางจติ ใจ ผลตอบแทนนี้จะได้จากความสัมพันธ์ในชีวิตสมรสระหว่างสามีภรรยา หรือ ระหว่างลูก ๆ กับพ่อแม่ ซึ่งผลตอบแทนในด้านน้ีจะไม่สามารถแสวงหาได้จากแหล่งอ่ืน นอกจาก ในชวี ติ สมรสเทา่ นน้ั 3.5 เพอ่ื การมลี ูกและได้เปน็ พ่อแม่ คนส่วนใหญ่ถือว่าการมีบุตรนัน้ นอกจากจะเป็นการดาเนินชีวติ ตามธรรมชาติแล้ว ยงั เป็นการอทุ ิศตนโดยทาหน้าทีใ่ นการสบื ทอดเผ่าพนั ธุ์เพอ่ื ความม่นั คงของมนุษยชาติอีกด้วย 3.6 เพอ่ื ความม่ันคงทางเศรษฐกจิ บางคนมีฐานะดั้งเดิมยากจนจึงต้องตัดสินใจแต่งานกับคนท่ีร่ารวย มีฐานะม่ันคง ซ่ึงก็เป็นเหตุผลอย่างหนึ่งที่สมรสเพ่ือยกฐานะทางเศรษฐกิจให้สูงข้ึนกว่าเดิม หรือเมื่อสมรสไปแล้วก็ ถือว่าสามีภรรยาเป็นบุคคลเดียวกันท่ีจะต้องช่วยกันบากบ่ันทางานหาเงินหกอง เก็บหอมรอมริบ เพ่อื ความมัน่ คงของชวี ิตครอบครวั นอกจากน้ีแลว้ ยังมเี ป้าหมายหรือเหตุผลในการแต่งงานอ่ืน ๆ อีกมากมาย เชน่ บางคน อาจจะแตง่ เพอื่ ต้องการเพ่อื นชวี ิต ตอ้ งการคู่คดิ คู่ปรกึ ษา หรือเบ่อื ความเปน็ โสด คงจะไมม่ ใี ครแต่งงาน เพื่อเหตุผลใดเหตุผลเดียว อย่างไรก็ดีข้อควรสังวรสาหรับสังคมปัจจุบันท่ีมีปัญหาความเบี่ยงเบน ทางเพศเข้ามาเกี่ยวข้องก็คือ คนบางคนที่มีพฤติกรรมทางเพศที่สังคมเห็นว่าตนเองสามารถมี ครอบครัวได้ตามปกติ หรือแต่งงานเพื่อมิให้กระทบกระเทือนถึงตาแหน่งหน้าที่การงานของตน ซ่งึ เป้าหมายในการแตง่ งานเชน่ นถ้ี อื วา่ เป็นการหลอกลวงคสู่ มรส อนั จะทาให้ชวี ติ สมรสล้มเหลวไดใ้ น ท่ีสุดถ้าความจริงถูกเปิดเผยออกมา ดังน้ันการตัดสินใจท่ีจะแต่งงานจึงไม่ควรจะกระทาด้วยเหตุผลท่ี ต้องการปกปิดหรือหนีปัญหา เพราะการแต่งงานย่อมไม่ใช่การแก้ปัญหาในชีวิตได้ แต่การแต่งงาน จะต้องเผชิญกับปัญหาด้านต่าง ๆ อีกมากมายจากการท่ีคนสองคนซ่ึงมาจากครอบครัวที่มีพ้ืนฐาน แตกต่างกันในเกือบจะทุกด้าน แต่ต้องมาใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน ดังน้ัน เหตุผลในการตัดสินใจ ในการแต่งงานจึงควรจะสอดคลอ้ งต้องกันและควรมคี วามเปิดเผยจริงใจต่อกัน พร้อมที่จะรบั ผิดชอบ และเผชญิ กับปญั หาในชีวิตรว่ มกัน 4. การปรบั ตวั ในชีวิตสมรส ชีวิตครอบครัวของสามีภรรยาได้เริ่มตน้ ขึน้ แลว้ ภายหลังการแต่งาน ซง่ึ ในระยะแรกของ ชีวิตครอบครัวจาเป็นท่ีสามีภรรยาต้องปรับตัวเข้าหากัน เพราะการท่ีคนสองคนท่ีมีพื้นฐานจาก การอบรมเลี้ยงดูและภูมหิ ลังท่ีแตกตา่ งกันเมื่อตอ้ งมาใช้ชีวิตอยรู่ ่วมกันก็ย่อมต้องมคี วามขัดแยังกนั บ้าง แต่ในระยะแรก ๆ ของการสมรส ปัญหาการกระทบกระท่ังขัดแย้งกันอาจไม่เกิดข้ึนมากนัก ก็จะมองเห็นความดีและไม่ดีของกันและกันได้ชัดเจนข้ึน ซ่ึงปัญหาเหล่านี้แท้จริงแล้วก็เป็นเร่ือง

188 ธรรมดาไม่ควรไปถือว่าเป็นเรือ่ งร้ายแรงแต่อยา่ งใด เพราะคนเราย่อมตอ้ งมีสง่ิ ท่ดี ีอยู่บ้ง บกพร่องบ้าง ปะปนกันไป ไม่ควรมาน่ังจ้องจับผิดกัน สามีภรรยาควรจะคดิ หาวิธีการทจ่ี ะทาให้ชวี ิตสมรสดาเนนิ ไป ดว้ ยความราบรน่ื มสี ขุ พอสมควรกับสภาพ ซึ่งความราบร่ืนเป็นสุขของชีวิตสมรสไม่มสี ตู รสาเรจ็ ตายตัว และไม่ใช่สิ่งท่ีจะเกิดข้ึนได้เอง แต่อยู่ที่ความพยายามร่วมกันสร้างข้ึนของคู่สมรส และเม่ือเกิดปัญหา ขดั แย้งกันข้ึนก็ต้องร่วมมอื กันขจัดและแก้ไข เพื่อลดปญั หาความขัดแย้งทั้งหลายทั้งปวง คู่สมรสต้อง พยายามปรับตัวเข้าหากัน บางคู่อาจใช้เวลานานกว่าท่ีจะปรับตัวเข้าหากันได้ บางคู่อาจใช้เวลา ไม่นานนัก ซ่ึงระยะเวลาของการปรับตัวก็มีความสัมพันธ์กับความสุขความราบร่ืนของชีวิตสมรส หากคู่สมรสปลอ่ ยให้ความขัดแย้งหรือความไม่พึงพอใจต่ออีกฝ่ายหน่ึงคา้ งคาอยู่ในใจเนิ่นนานออกไป มากเท่าไร ก็จะเป็นเครื่องบั่นทอนความราบรื่นเป็นสุขของครอบครัวให้ลดน้อยถอยลงมากเท่าน้ัน นอกจากคู่สมรสจะต้องมกี ารปรับตัวเขา้ หากันระหวา่ งสามีภรรยาแล้วยังจาเปน็ ต้องปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับ สภาพแวดล้อมใหม่ด้วย อาทิ เครือญาติ การครองชีพ การสมาคม กรจัดการบ้านเรือน ซึ่งปัญหา เหล่าน้ีล้วนเป็นสิ่งสาคัญที่คู่สมรสจะต้องช่วยกันหาวีธีการท่ีถูกต้องมาแก้ไขให้ได้ ถ้าคู่สมรสใดทาได้ สาเร็จรวดเร็วเท่าไรชีวิตก็ย่อมมีสุข และแม้ว่าจะสามารถปรับตัวเข้าหากันได้หรือสามารถปรับตัวให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมอื่นได้สาเร็จในระยะแรกก็มิได้หมายความว่าภาระนี้จะส้ินสุดลงแล้ว เพราะบุคคลและสภาพแวดล้อมย่อมมีการเปล่ียนแปลงไปได้ตลอดเวลา การปรับตัวของคู่สมรส จึงเป็นกิจกรรมท่ีต้องกระทาอย่างต่อเนื่องกันไปตลอดชีวิต โดยเฉพาะการปรับตัวในเร่ืองต่อไปน้ี (จันทร์วภิ า ดิลกสมั พนั ธ,์ 2548, น. 117-119) 4.1 การปรับตวั ด้านความสมั พนธ์ทางเพศ สามีภรรยาย่อมมีความสัมพันธ์ทางเพศต่อกัน การร่วมเพศของสามีภรรยา เป็นเร่ืองที่สังคมยอมรับ อีกทั้งยังเป็นความต้องการและความพึงพอใจของสามีภร รยาเองด้วย เพราะทุกคนย่อมมีความต้องการทางเพศตามธรรมชาติอยู่แล้ว แต่ก็อาจสร้างปัญหาใหม่ให้แก่ คู่สมรสได้ อาทิเช่น เร่อื งอารมณ์ ความต้องการทางเพศของคู่สมรส ความคิดเห็นต่อการร่วมเพศของ คู่สมรส หากมีความสอดคล้องกัน ความขัดแย้งเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางเพศก็จะน้อยลง แต่ถ้ามี ความขัดแย้งหรือไม่สมดลุ กันก็อาจจะมีปัญหาเกิดข้ึนได้ ดงั น้นั สามีภรรยาจึงต้องพยายามปรบั ตัวเข้า หากัน ซึ่งสามารถทาความเข้าใจและพูดคุยกันในเรื่องน้ีได้ เพราะถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ได้รับ การตอบสนองอย่างสมบูรณ์ ต้องหักห้ามหรือเก็บกดความต้องการทางเพศไว้ ย่อมมีผลเสียต่อ สัมพันธภาพระหว่างกัน แม้ว่าความไม่ราบร่ืนของชีวิตสมรส อาจเกิดขึ้นจากปัญหาหลายประการ แต่ปัญหาเรอ่ื งความสมั พนั ธท์ างเพศก็จัดว่าเปน็ ปัญหาที่มีความสาคัญประการหนึ่งด้วยเสมอ 4.2 การปรับตวั ทางอารมณ์ เมื่อคู่สมรสต้องมาใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน จาเป็น ต้องรู้จักผ่อน ส้ันผ่ อนยาว ร้จู ักประนปี ระนอม ถนอมนา้ ใจซึ่งกันและกัน ต้องไม่วู่วา่ มเอาแต่ใจตนเอง ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์

189 หรือใช้อารมณม์ าตัดสนิ ปัญหาหรือความขัดแยง้ ทเ่ี กิดขึ้นในครอบครวั ก่อนแต่งงานอาจเคยทาอะไรได้ ตามใจตนเอง แต่เม่ือแต่งานแล้วต้องรู้จักการควบคุมอารมณ์และระงับความรู้สึก รู้จักไตร่ตรอง เพือ่ ให้พฤติกรรมหรอื การแสดงออกของตนนาความพอใจมาสู่ตนเองและคู่สมรสด้วย 4.3 การปรบั ตัวทางเศรษฐกจิ ปญั หาการเงินที่จะนาความยุ่งยากใจให้กับคู่สมรสที่เพิ่งเร่ิมต้นชีวิตครอบครัวก็คือ ความไม่สมดุลระหว่างรายจ่ายกับรายได้ ซึ่งคู่สมรสเองจะต้องปรึกษาหารือและรับผิดชอบร่วมกัน ควรมีการวางแผน พดู คุยตกลงกันต้ังแต่กอ่ นแต่งงาน โดยเฉพาะคู่สมรสแต่ละฝ่ายอาจมีพันธะผูกพัน กับครอบครัวเดิมของตน ต้องส่งเสียอุปการะทางบ้าน จาเป็นจะต้องบอกกล่าวให้อีกฝ่ายหน่ึงได้ รับทราบ ถ้าหากมาทราบภายหลังอาจสร้างความไม่พอใจให้กับอีกฝ่ายหนึ่งได้ เพราะเป็นการเพิ่ม ภาระให้กับครอบครัวใหม่ สังคมไทยแต่เดิมสามีเป็นฝ่ายหารายได้มาให้กับครอบครัว สามีจึงมักมี อานาจในการตดั สนิ ใจในการใช้จา่ ย แต่ปจั จบุ ันภรรยามีอยู่ไม่น้อยท่ีออกไปทางานนอกบ้าน หาเงนิ มา จุนเจือครอบครัวด้วยอกี แรงหน่ึง อานาจในการตัดสนิ ใจในการใชจ้ ่ายก็ควรจะมาจากทั้งสองฝ่ายหรือ ขึน้ อยูก่ บั ข้อตกลงระหวา่ งสามีภรรยา นอกจากการวางแผนตกลงกันระหว่างสามีภรรยาในเรื่องรายได้รายจ่ายแล้ว นิสัยและวิธีปฏิบัติของคู่สมรสแต่ละฝ่ายท่ีเคยทามาก่อนแตง่ งาน ย่อมมผี ลต่อเน่ืองไปถงึ รายจ่ายของ ครอบครัวด้วย ถ้าคู่สมรสต่างก็มีรายได้สูงทั้งสามีและภรรยาอาจใช้จ่ายได้ปกติตามนิสัยเดิมของตน แต่ถ้าหากมีรายได้จากัดทั้งสองฝ่ายอาจต้องตัดรายจ่ายให้ลดน้อยลง โดยปรับนิสัยการใช้จ่ายให้ สอดคล้องกับรายได้ ซง่ึ จะต้องคานึงถึงการออมทรัพย์ เพราะถ้าเกดิ การเจ็บป่วยหรือมีบุตรเกิดข้ึนใน วันขา้ งหน้าจะได้ไม่เดอื ดร้อน และความม่ันคงทางเศรษฐกิของครอบครวั คือทั้งคู่จะต้องซื่อตรงตอ่ กัน เปดิ เผยตอ่ กัน และถา้ มีปญั หาใด ๆ เกิดขน้ึ ควรหันหนา้ ปรึกษาหารอื กันเพอ่ื หาทางแก้ไขร่วมกัน 4.4 การปรับตัวด้านการแบง่ งานภายในบา้ น งานบ้านงานเรอื นเป็นงานที่ชบั ซ้อนและหนักพอควร ถ้ามอบหมายให้ภรรยาทาแต่ ผเู้ ดียวอาจเป็นภาระท่ีหนักเกินไป ยิ่งถ้าภรรยาต้องออกไปทางานนอกบ้านด้วยก็จะทาให้เกิดปัญหา มากขึ้น แนวโน้มท่ีจะสามารถหาลูกจ้างมาช่วยทางานบ้านได้ก็จะน้อยลงไปเร่ือย ๆ จึงต้องมี การแบ่งงานกันภายในครอบครัว โดยสามีจาเป็นต้องช่วยแบ่งเบาภาระ เช่น การดูแลต้นไม้ การทาความสะอาดบริเวณบ้าน และการเลี้ยงดูอบรมลูก เพราะถ้ามีการช่วยแบ่งเบาภาระ ซ่ึงกันและกันภายในบ้าน ความเรียบร้อยลงตัวก็จะเกิดข้ึน บ้านช่องก็จะเป็นระเบียบน่าดูน่าอยู่ แต่ถ้าให้ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงโดยเฉพาะภรรยารับภาระเพียงฝ่ายเดียว เม่ือเกิดความเหน็ดเหนื่อยมาก ๆ เข้า ก็จะทาใหอ้ ารมณ์เสีย หงดุ หงิด ข้ึบ่น บรรยากาศในครอบครัวก็จะเสยี และอาจเป็นสาเหตุท่ีทาให้ กลายเป็นข้ออ้างว่าบ้านไม่น่าอยู่ บรรยากาศไม่ดี จึงต้องออกไปหาความสุขนอกบ้าน ความร้าวฉาน ในครอบครวั อาจเกดิ ขึ้นได้

190 4.5 การปรบั ตวั เข้ากบั เครอื ญาติ ปัญ ห าเรื่อง ความ สัมพั น ธ์กั บเครือญ าติค งจะ เป็น เร่ือ งท่ี ไม่อาจจะ ห ลีกเลี่ยงไ ด้ ยิ่งถ้าฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงเป็นครอบครัวใหญ่มีญาติพ่ีน้องหลาย ๆ คน ปัญหาย่อมมากข้ึนตามไปด้วย การปรับตัวในเร่ืองนี้จึงขึ้นอยู่กับคู่สมรสเป็นสาคัญ ถ้าได้มีการวางแผนในเรื่องน้ีร่วมกันปัญหา การกระทบกระทั่งระหว่างคู่สมรสกับเครือญาติก็คงจะลดน้อยลง หรืออาจจะไม่เกิดข้ึนเลย เช่น เม่ือแต่งงานแล้วสามารถแยกไปสร้างครอบครัวใหม่ปัญหาการกระทบกระท่ังในเรื่องเครือญาติก็จะ ลดน้อยลง แต่ถ้าอยู่ในฐานะท่ีไม่อาจแยกไปสร้างครอบครัวใหม่ได้ต้องอยู่กับครอบครัวเดิมของ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ท้ังคู่ก็ต้องมีความอดทนอดกล้ัน ให้ความเคารพนับถือญาติของอีกฝ่ายหน่ึง หากมีเรอื่ งกระทบกระทง่ั ทีเ่ กดิ จากเครอื ญาติ สามีภรรยาตอ้ งพูดคยุ กันเหน็ อกเห็นใจกนั และพยายาม วางตัวให้เขา้ กบั เหตุการณ์ให้ดีท่สี ุดเท่าที่จะทาได้ 5. ความไมร่ าบรื่นของชวี ิตสมรส ความไม่ราบรื่นของชีวิตสมรส แม้ว่าจะมิได้เป็นสิ่งท่ีคู่สมปรารถนา แต่มีโอกาสจะ เกดิ ขึน้ ไดเ้ สมอ เพราะการที่คนสองคนซึ่งมีพื้นฐานทางครอบครัว นิสัยใจคอและค่านยิ มท่แี ตกตา่ งกัน และแม้ว่าจะผ่านการพิจารณาเลือกคู่ครองมาแล้วก็ตาม ในส่วนปลีกย่อยรายละเอียดก็ย่อมจะยังมี ความแตกต่างกันอยู่น่ันเอง และข้อบกพร้องบางอย่างท่ีคู่สมรสพยายามปิดบังเอาไว้ยังมี ดังนั้น เม่ือต้องมาใช้ชวี ิตร่วมกัน ความขัดแย้งกระทบกระท่งั กันย่อมเกิดข้ึนได้เสมอ ยง่ิ ถ้าคู่สมรสไมห่ ันหน้า มาร่วมกันพิจารณาแกไ้ ขปญั หาข้อขดั แยง้ ดว้ ยสติ หรือปลอ่ ยใหค้ นอ่ืนนอกครอบครัวเขา้ มามีสว่ นสรา้ ง ความขัดแย้งแตกร้าวในครอบครวั แล้ว ความไม่ราบรนื่ ในชีวิตสมสกจ็ ะเกิดข้ึนตามมา และอาจนาไปสู่ การหย่าร้างเลิกรากันได้ ดังน้ันคู่สมรสจึงควรตระหนักถึงข้อขัดแย้งบางประการ อันเป็นสัญญาณ อันตรายท่อี าจนาไปสจู่ ุดจบของชวี ติ สมรส ดังน้ี 5.1 การขาดความเขา้ ใจและเห็นอกเหน็ ใจซึง่ กันและกนั หากคู่สมรสมีความเห็นแก่ตัวเป็นท่ีตั้ง ไม่เสียสละ ต้องการเรียกร้องเพ่ือตนเอง หวงั กอบโกยความสุขความสบายใหก้ บั ตัวเอง โดยไมร่ ู้จักเออ้ื เฟ้ือเผ่ือแผ่ใหก้ ับสมาชกิ ในครอบครัวและ เครือญาตบิ ้าง กจ็ ะทาใหอ้ ีกฝ่ายผิดหวงั หมดความอดทน เป็นปากเป็นเสียงทะเลาะเบาะแว้งกนั และ นาไปสคู่ วามแตกแยกได้ 5.2 ขาดความรับผิดชอบ หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งขาดความรับผิดชอบต่อการทาหน้าที่ของสามีหรือภรรยาท่ีดี เช่น เล่นการพนัน ด่ืมเหล้า ใช้จ่ายเงนิ ทองฟุ่มเฟือย ก่อหน้ีก่อสิน การกระทาดงั น้ีนับเป็นพฤติกรรมท่ี เปน็ ปฏปิ กั ษต์ อ่ การครองเรอื นและนาไปสจู่ ุดจบของชีวิตสมรสได้ (อรุณรุ่ง บุญธนันตพงศ์, 2535, น.2)

191 5.3 ฝา่ ยใดฝ่ายหน่ึงใชก้ าลงั หรอื วาจาก้าวร้าว เมื่อไมล่ งรอยกันในทางความคดิ ความเหน็ แทนท่จี ะหันมาเจรจาปรบั ความเข้าใจกัน ด้วยสติและเหตุผล ถ้าอีกฝ่ายกาลังมีอารมณ์ฉุนเฉียว อีกฝ่ายควรยุติการโต้แย้งต่อปากต่อคา ปัญหาก็จะยตุ ิลงได้ แต่ถา้ ต่างฝ่ายตา่ งใช้อารมณ์โต้ตอบกันก็จะเกิดการทะเลาะเบาะแว้งจนถึงขั้นทุบตี ใช้กาลังกัน ถ้าไมอ่ าจระงับหรือควบคุมอารมณ์ไวไ้ ด้ ความรา้ วฉานในครอบครัวกจ็ ะเกดิ ขน้ึ 5.4 สามีหรือภรรยาจ๊จู ี้ขี้บ่น ก่อให้เกิดความราคาญ คู่สมรสอาจทนฟังกันได้บ้างเป็นคร้ังคราว แต่ต้องระลึกไว้ เสมอว่าความอดทนของคนเราย่อมมีขีดจากัด ถ้าบ่นพร่าเพรื่อ บ่นซ้า ๆ ซาก ๆ ไม่เป็นเร่ืองเป็นราว อาจทาให้ถงึ จุดสน้ิ สดุ ความอดทนได้ และเปน็ อกี สาเหตุหน่ึงท่ีมกั จะถกู ยกมาอ้างเสมอว่าทาให้บ้านไม่ นา่ อยู่ บรรยากาศไม่ได้ 5.5 ความหึงหวงอยา่ งไร้เหตผุ ล ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงแสดงความหึงหวงโดยไร้เหตุผล ไม่เลือกเวลาหรือสถานท่ี คอยติดตามหึงหวงไปทุกหนทุกแห่ง จนอกี ฝ่ายหนึ่งเกิดความรูส้ ึกขาดความเป็นอิสระ ขาดความเป็น สว่ นตัว รู้สึกเปน็ เร่ืองน่าราคาญ น่าเบื่อหน่าย รู้สึกเป็นการไมเ่ ชอื่ ใจ และเป็นการไม่ให้เกียรติกนั แล้ว กจ็ ะนาไปสู่ความไม่สงบสุขและความไม่ราบรน่ื ของชวี ติ สมรส 5.6 การใชช้ วี ิตสังคมและการพกั ผ่อนหย่อนใจร่วมกันน้อยเกนิ ไป ถ้าสามีภรรยต่างคนต่างไปคนละทาง มีความชอบและความสนใจแตกต่างกัน มีเพ่ือนต่างกลุ่มกัน ความคิดความอ่านต่างกัน เม่ือพูดคุยกันก็ไปกันไม่ได้ก็จะเป็นการใช้ชีวิต แบบตา่ งคนต่างอยู่ ไมใ่ ชใ่ ช้ชีวิตแบบคน ๆ เดยี วกันดังความหมายของคาว่า การสมรส อกี ต่อไป 5.7 การขาดความสขุ ทางเพศรส ถ้าฝ่ายใดฝา่ ยหนงึ่ ล้มหลวในเรื่องเพศรส ไม่มคี วามสุข โดยที่อีกฝ่ายหน่งึ ไม่สนใจต่อ ความรู้สึก ไม่พยายามแก้ไขปรับตัวเข้าหากัน ไม่มีการพูดจาปรึกษาหารือกันอย่างจริงใจในเร่ืองเพศ ซึง่ ถ้าไม่อาจแก้ไขกันเองได้ก็ควรจะพากนั ไปปรึกษาแพทย์ หรือถ้าเป็นปญั หาเกี่ยวข้องกับสภาพจิตใจ ก็ควรปรึกษากับจิตแพทย์ สามีภรรยาควรระลึกเสมอว่าสิทธิของสามีและภรรยาควรเท่าเทียมกัน ในทุกเร่ืองแม้แต่ในเรื่องเพศ ถ้าจะให้ฝ่ายหญิงที่จะต้องอดทน เก็บงาความรู้สึกไว้เหมือนสมัยก่อน คงเป็นไปไม่ได้แล้ว แม้ว่าเร่ืองเพศไม่ใช่เรื่องท่ีสาคัญที่สุดในความม่ันคงของชีวิตสมรส แต่ถ้าไม่มี ความสุขทางเพศรสก็จะเป็นสาเหตุที่จะนาไปสู่ความเย็นชาเข้าหากัน เกิดความเบ่ือหน่าย และ หย่าร้างกนั ได้ในทส่ี ุด

192 5.8 การไม่มีบตุ รดว้ ย บุตรเป็นสายสัมพันธ์แห่งความรกั ความผูกพันของสามีและภรรยา คุณค่าของบุตร มีมากมายต่อชีวิตครอบครัว ถ้าขาดบุตรย่อมทาให้สามีภรรยาขาดสิ่งผูกพันต่อกัน ขาดความห่วงใย ขาดความรบั ผิดชอบ หนทางทีจ่ ะเลิกร้างตอ่ กันจงึ ง่ายยง่ิ ขน้ึ 5.9 ปญั หาเครอื ญาติเป็นตน้ เหตุ อาจเกิดความเข้าใจผิดระหว่างสามีภรรยาได้จากปัญหาระหว่างแม่ผัวกับลูกสะใภ้ ลูกเขยกับพ่อตา ระหว่างสะใภ้ด้วยกัน หรือมีปัญหากับพ่ี ๆ น้อง ๆ ของฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง เมื่อเกิด ความไม่ลงรอยกันข้ึน ขาดความเคารพนับถือต่อกัน หรือขาดความสานึกในสิทธิของแต่ละฝ่าย ปัญหาเหล่านี้จะนาไปสู่ความขัดแย้งและหย่าร้างได้ในท่ีสุด ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งขาดเหตุผล ขาดความอดทนและขาดความหนักแนน่ 5.10 ปญั หาการนอกใจกนั ไม่ซอ่ื สตั ย์กนั นับเป็นปัญหาความขัดแย้งในชีวิตสมรสที่เกิดขึ้นมากท่ีสุดในยุคปัจจุบัน โดยที่ อีกฝ่ายไปให้ความสนใจต่อหญิงอ่ืนหรือชายอ่ืน นอกจากจะเป็นการไม่ซื่อสัตย์และไม่ให้เกียรติกับ อีกฝ่ายหน่ึงแล้ว การนอกใจ ไม่ซ่ือสัตย์ทางเพศยังเป็นเรื่องท่ีผิดศีลธรรมอย่างรุนแรง ซ่ึงเม่ือเกิดขึ้น การให้อภัยต่อกันมักเกิดข้ึนได้ยาก โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันสถานภาพของผู้หญิงเปล่ียนแปลงไป จากอดีต การพ่ึงพาสามีน้อยลง ผู้หญิงจงึ มักจะไม่ยอมทนกับพฤติกรรมการนอกใจของสามอี ีกต่อไป เมื่อไม่ใหอ้ ภัยตอ่ กนั การหย่ารา้ งก็มักจะถูกนามาใช้เปน็ ทางออกของปญั หาชวี ิตสมรสเสมอ ความขัดแย้งในชีวิตสมรสเป็นเรื่องธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้นได้ แต่ไม่ว่า ความขัดแย้งจะมาจากสาเหตุใดก็ตาม สามีภรรยาเท่านั้นท่ีจะเป็นผู้ขจดั ความขดั แย้งให้หมดไป หรือ จะเป็นผู้ท่ีจะทาให้ความขัดแย้งเพิ่มความรุนแรงมากย่ิงขึ้น จนกลายเป็นสาเหตุถึงข้ันแตกหักกันได้ ดงั นัน้ สามีภรรยาควรจะร่วมมือร่วมใจหาทางปอ้ งกันและขจัดความขัดแย้งเหล่านั้นเสียตั้งแต่เริ่มแรก เมื่อเกิดปัญหาต้องรีบคล่ีคลายโดยเร็ว อย่าปล่อยให้ค้างคาใจอยู่จนนาไปสู่ข้อขัดแย้งอ่ืน ๆ ทั้งคู่ต้อง เปิดเผยต่อกันอย่างจริงใจและมีเหตุผล พอใจไม่พอใจอะไรต้องพูดจากัน ต้องมีความอดทนอดกล้ัน และใจเย็น ไม่วู่วาม ไมห่ เู บา และประเด็นสาคัญคอื ตอ้ งรจู้ กั ให้อภยั ตอ่ กนั 6. ผลเสียของการหย่าร้าง ก่อนที่คู่สมรสจะตัดสินความขัดแย้งในชีวิตสมรสด้วยการหย่าร้าง ควรจะได้ พินิจพิจารณาว่า การหย่าเป็นการส้ินสุดของชีวิตสมรส เป็นการแตกแยกของบุคคลท่ีเคยมี ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด เป็นการทาลายความรักความเชื่อของบุคคลที่เคยผูกพันกันอย่างลึกซึ้ง ดังน้ันก่อนตัดสินใจหย่าขาดจากกันควรชัง่ ใจให้ดีระหว่างผลดแี ละผลเสีย อย่ายดึ ถือความเอาความสุข ของตนเองเป็นท่ีต้ัง เพราะผลของการหย่าร้างมิได้กระทบเฉพาะตัวสามีภรรยาเท่าน้ัน ผลกระทบยอ่ ม

193 มีทั้งครอบครัว โดยเฉพาะมีบตุ รดว้ ยกัน ผลเสียของการหย่าร้างที่คู่สามีภรรยาควรพิจารณา (อานนท์ อาภาภิรมย์, 2546, น. 138) มีดงั น้ี 6.1 นามาซงึ่ ความผิดหวังใหก้ ับท้ังสองฝ่ายหรือฝ่ายใดฝา่ ยหนึ่ง 6.2 เป็นทคี่ รหานินทาของสังคม 6.3 เสียบคุ ลกิ ภาพอนั เกิดจากความทกุ ข์ทรมานใจ ความเครยี ด 6.4 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งญาติพ่นี ้องของทัง้ สองฝา่ ยย่อมหมางเมินต่อกัน 6.5 ก่อให้เกิดปัญหากับสังคมได้ เช่น ปัญหาเด็กเร่ร่อน จรจัด ขอทาน โสเภณี การทารา้ ยทางเพศ เปน็ ตน้ ดังน้ันคู่สามีภรรยาพึงตระหนักอยู่เสมอว่า การกระทบกระท่ังกันระหว่างสามีภรรยา เป็นเร่ืองธรรมดาของชีวิตคู่ ไม่มีปัญหาใดจะอยู่เหนือความตั้งใจต่อการแก้ไขได้ การหย่าร้างควรเป็น ทางออกสุดทา้ ย ถา้ ความขดั แย้งในชีวติ สมรสไม่อาจจะแกไ้ ขโดยหนทางใด ๆ ไดแ้ ลว้ บทสรุป สัมพันธภาพทางเพศ เป็นการที่ชายและหญิงประพฤติหรือปฏิบัติต่อกัน เพื่อสร้าง สัมพันธภาพอันดีระหว่างกันในสถานการณ์ต่างๆ เช่น ฐานะเพื่อน ฐานะคนรัก หรือฐานะคู่ครอง ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ ม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมในสงั คมนัน้ ๆ ซงึ่ สัมพันธภาพ ทางเพศ มี 2 ลักษณะ คือ สัมพันธภาพฉันทเ์ พื่อน และสัมพนั ธภาพฉันท์คนรัก ส่วนปัจจัยที่สนับสนุน ให้เกิดสัมพันธภาพทางเพศ ได้แก่ อิทธิพลจากตอ่ มไรท้ ่อในร่างกาย อิทธพิ ลทางสังคม สื่อสารมวลชน อายุของการมีวุฒิภาวะทางเพศ และโอกาสในการเรียนรู้ความสัมพนธ์ระหว่างเพศ โดยมีหลักพน้ื ฐาน ในการสร้างสัมพันธภาพทางเพศ 3 ประการ คือ ความรู้สึกเท่าเทียมกัน ต้องมีความรู้สึกต้องการ ติดต่อสัมพนั ธ์กัน และการลงมือติดต่อสัมพันธ์ ส่วนอารมณ์และความรู้สึกท่เี กี่ยวข้องกับสัมพันธภาพ ทางเพศ ประกอบด้วย ความพึงพอใจ ความรัก และความใคร่ ซึ่งขั้นตอนการพัฒนาสัมพันธภาพ ทางเพศท่ีสาคัญ ได้แก่ การเกี้ยวพาราสี การนัดหมาย การไปมาหาสู่เป็นประจา การหมั้น และการแตง่ งานหรอื การสมรส สัมพันธภาพในการวางตัวต่อเพศตรงข้าม การที่ชายและหญิงประพฤติปฏิบัติต่อกัน เพ่ือ สร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างกันในสภาพต่างๆ กัน นับว่าเป็นส่ิงสาคัญท่ีช่วยทาให้เราสามารถ ปรับตัวให้เข้ากับเพศตรงข้ามได้ง่ายขึน้ อาจแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ฐานะคอื การวางตวั ต่อเพศตรงข้ามใน ฐานะเพ่ือน และการวางตัวตอ่ เพศตรงข้ามในฐานะคู่รกั ในบางคร้ังการมสี ัมพนั ธภาพทางเพศอาจเกิด ความขัดแย้งข้ึนได้ ซึ่งความขัดแย้งทางเพศ คือ การไม่เข้าใจของบุคคลสองคน หรือกลุ่มบุคคล อันเน่ืองมาจากความแตกต่างในเร่ืองความคิด การกระทาการตัดสินใจในเรื่องเพศ ซ่ึงมาจาก

194 ความคาดหวังท่ีต่างกันซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสัมพันธภาพของกลุ่มหรือของบุคคลท้ังสอง จงึ ควรขจดั ความขดั แย้งเหล่าน้ใี หล้ ดลงไป สัมพันธภาพทางเพศของชายหญิงอาจนาไปสู่การสมรสหรือการแต่งงาน ซ่ึงการแต่งงาน หรือการสมรส เป็นการท่ีชายและหญิงตกลงใจและแสดงใหป้ ระจักษ์ว่าจะใช้ชีวิตคู่อยู่รว่ มกันในฐานะ สามแี ละภรรยา โดยยินยอมปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนียมประเพณีและกฎหมายทใ่ี ชอ้ ยู่ในสังคมของตน การแต่งงานจึงถือเปน็ การเริ่มต้นชวี ติ ครอบครัวอยา่ งแทจ้ ริง

195 กิจกรรมการเรยี นรู้ “รักออกแบบได้” ขัน้ ตอนการดาเนนิ การ 1. ผู้จัดการเรียนรู้ชวนคุยเพื่อนาเข้าสู่บทเรียน เชน่ “ใครมีคนรักอยู่ในตอนนี้” “ใครเคยมี คนรักแต่เลิกรากันไปแล้วบ้าง” จากนั้นจึงแจกกระดาษเอสี่ให้ผู้เรียนคนละ 1 แผ่น เพ่ือวาดภาพ การ์ตูน 5 ช่อง ที่บ่งบอกพัฒนาการความสัมพันธ์ระหว่างตัวเรากับคนรักตามช่วงเวลาที่ผ่านไปเป็น ระยะ ให้เวลา 10 นาที 2. แบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม คละเพศหญิงชาย จากนั้นให้แต่ละคนพูดถึงภาพวาดของตนเอง ให้เพ่ือนในกลุ่มฟัง ให้เวลากลุ่มย่อย 3 นาที เม่ือเสร็จแล้วให้ทุกคนกลับเข้าท่ีและขออาสาสมัคร แนะนาเรือ่ งของเพื่อนท่นี ่าสนใจ หรอื เล่าเรื่องของตนเองจากภาพท่ีวาด 3. ผู้จัดการเรียนรู้ชวนคุยโดยถามว่า “เรามีข้อสังเกตอย่างไรกับการแลกเปล่ียนกับ เพ่ือนบ้าง” ทั้งนี้กระตุ้นให้ผู้เรียนตอบ และนาไปสู่การสรุปให้เห็นลาดับข้ันตอนของการสร้าง สัมพันธภาพของมนุษย์ ซึ่งมักเริ่มจากคนสองคนมาพบกัน ถูกใจและคบหากัน เรียนรู้ซ่ึงกันและกัน ในท่สี ุดก็ตดั สินใจใชช้ ีวิตครอบครัวและสร้างฐานะให้ม่นั คง แต่ในบางครง้ั ความสมั พันธก์ ็อาจไมเ่ ป็นไป อย่างที่คาดคิด ซึ่งอาจเกิดจากปัจจัยที่เราไม่สามารถควบคุมได้ หรือเก่ียวข้องกับคนอื่น เช่น ญาติ เพอื่ น ผ้ใู หญข่ องแต่ละฝา่ ย

196 กิจกรรมการเรยี นรู้ สถานการณ์จาลอง “สลับบทบาท” ข้ันตอนการดาเนินการ 1. ผู้จัดการเรียนรู้แบ่งกลุ่มอีกคร้ังเป็น 4 กลุ่ม แยกเป็นเพศชาย 2 กลุ่ม หญิง 2 กลุ่ม เพ่ือให้แต่ละกลุ่มระดมสมองถึงวิธีการจัดการกับสถานการณ์ที่สมมติขึ้นหรือโจทย์ท่ีได้รับ ให้เวลา 20 นาที โดยมอบหมายบทบาทแต่ละกลุม่ ดงั น้ี ในสถานการณท์ ี่ 1 มอบหมายให้ กลมุ่ ชาย 1 สมมติบทบาทเป็นฝา่ ยชกั ชวนผหู้ ญิง กล่มุ ชาย 2 สมมตบิ ทบาทเป็นฝา่ ยถกู หลอกลอ่ ให้ซื้อ มอื ถอื ในสถานการณท์ ี่ 2 มอบหมายให้ กลมุ่ หญงิ 1 สมมติบทบาทเป็นฝ่ายถกู ชักชวน กลมุ่ หญิง 2 สมมตบิ ทบาทเปน็ ฝ่ายหลอกลอ่ ให้ซื้อ มือถือ กลมุ่ ชาย 1 และกลุม่ หญงิ 1 สถานการณท์ ี่ 1 “ให้คิดถงึ วีธกี ารและข้ันตอนอย่างละเอยี ดเพอื่ ชักชวนเพื่อนหญงิ ให้ยอมไปไหนสองต่อสอง และยนิ ยอมมีเพศสมั พนั ธ์ด้วยในท่สี ดุ ” กล่มุ ชาย 2 และกลมุ่ หญงิ 2 สถานการณ์ท่ี 2 “ใหค้ ิดถึงวิธีการและขนั้ ตอนอยา่ งละเอียดเพอื่ ชักชวนเพ่ือนชาย ให้หลงรกั และยอมจ่ายเงินซอื้ มือถือเครือ่ งใหม่ให้” 2. ให้เวลาแต่ละกลุ่มนาเสนอ 3 นาที โดยให้เสนอทีละกรณี เพ่ือเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มหญิงและชาย 3. ผู้จัดการเรยี นรู้ชวนคยุ โดยใช้คาถาม เชน่ - วิธกี ารแต่ละแบบ คิดวา่ จะทาได้สาเรจ็ หรือไม่ เพราะเหตุใด - วธิ กี ารใด น่าจะได้ผลกวา่ กัน เพราะอะไร - จุดเด่นและจุดด้อยของแตล่ ะวิธีการ คืออะไร - ในกรณที ่ี 1 ผหู้ ญิงฟังแลว้ คิดหรือร้สู กึ อยา่ งไร - ในกรณที ่ี 2 ผู้ชายฟังแลว้ คดิ หรือรู้สกึ อย่างไร - คิดวา่ ท้งั สองสถานการณ์สามารถเกิดขึน้ กบั เราไดห้ รือไม่

197 4. จากนั้นให้โจทย์ท่ี 2 โดยให้สมาชิกแต่ละกลุ่มกลับไประดมสมอง เพื่อแก้ไขปัญหา จากโจทย์เดิม ใหเ้ วลากล่มุ ยอ่ ยคิด 20 นาที - กลุ่ม 1 จะทาอย่างไรจึงจะไม่ถูกหลอกลวงจากเพื่อนชาย โดยไม่ต้องการให้ สัมพันธภาพเกนิ เลยไปถึงการมีเพศสมั พนั ธ์ และยงั เป็นเพ่อื นท่คี บหากันได้ - กลุ่ม 2 จะทาอย่างไรจึงจะไม่ถูกเอาเปรียบจากฝ่ายหญิง และยังเป็นเพื่อนท่ีคบหา กันได้ 5. ใหแ้ ต่ละกลมุ่ นาเสนอ กลมุ่ ละ 3 นาที จากนัน้ ชวนคุยโดยใช้คาถาม เชน่ - สถานการณ์ใดทีส่ ามารถแก้ไขได้งา่ ยหรือสะดวกกว่ากัน - มีอะไรบ้างที่เรารสู้ ึกคาดไม่ถึงวา่ คนเราจะปฏบิ ัตติ ่อกนั ได้ - อะไรทีจ่ ะเปน็ สาเหตุใหต้ วั เราตกเป็นเหย่อื ของการเอาเปรยี บ หลอกลวง - วธิ ีการที่จะทาให้มีสมั พนั ธภาพที่ไม่เอาเปรียบ ทารา้ ยกัน มีอะไรบ้าง - จรงิ หรอื ไมท่ เ่ี พศหญิงเทา่ นนั้ ท่ีจะถูกเอาเปรยี บทางเพศ 6. ผู้จัดการเรียนรูค้ วรชวนสังเกตถึงวิธีคิดและวิธีการดาเนินความสัมพันธ์เพ่ือทาให้แต่ละ ฝ่ายหลงเชื่อที่แตกต่างกันของหญิงและชาย เช่น การทาให้ตายใจโดยการเอาอกเอาใจ การสร้าง สถานการณ์แบบบังเอิญ หรอื โอกาสท่ีจะอยู่ด้วยกัน การวางเง่ือนไขต่อรอง การเสนอข้อแลกเปล่ียน การรู้เท่าทันในวิธีการดงั กลา่ วจะทาใหอ้ กี ฝา่ ย สามารถแกไ้ ขปญั หาที่อาจเกิดขนึ้ ได้ 7. ใช้คาถามเพื่อประเมินการเรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างสัมพันธภาพท่ีดีต่อกันโดยใช้คาถาม ดงั นี้ - รสู้ กึ อยา่ งไรจากการไดท้ ากิจกรรมน้ี - ส่งิ ท่ตี ัวเราไดเ้ รียนรู้จากกจิ กรรมน้ี และนาไปใชไ้ ด้มีอะไรบ้าง - ในการสร้างสัมพันธภาพกับคนรัก มีปจั จัยอะไรบ้างที่เป็นเรอื่ งสาคัญ เราควรคานึงถึง เร่ืองอะไรบา้ ง - เราคิดว่ามีวิธีการอะไรบ้าง ที่จะทาให้วัยรุ่นไม่ถูกล่อลวงหรือฉกฉวยโอกาสจาก ความสมั พนั ธ์ทางเพศ

198 กิจกรรมการเรยี นรู้ “นยิ ามและความคาดหวงั ” ข้นั ตอนการดาเนนิ การ 1. ให้จับคู่คุยกัน เพื่อนาเข้าสู่บทเรียนเรื่องสถานภาพทางเพศ โดยคุยกันในหัวข้อ “หลัง เรียนจบปีที่ 5 แล้ว คิดวา่ ชวี ติ ตนเองจะเป็นอย่างไร” ให้เวลา 3 นาที เม่อื หมดเวลาแลว้ ให้สมุ่ ถาม - ใครที่คดิ ว่าตัวเองยังเปน็ โสด หรือใครท่คี ดิ ว่าตวั เองแตง่ งานเรยี บร้อยแลว้ เพราะอะไร - ในอกี 10 ปขี ้างหน้า คิดวา่ จากน้ันชวี ติ เราจะเป็นอย่างไร - เวลาท่ีผา่ นไปแล้ว 10 ปี ใครทีย่ งั คิดวา่ สถานภาพตวั เองยังไม่เปลย่ี นแปลง - ใครทีค่ ดิ วา่ จะเลือกใช้ชวี ิตค่โู ดยไม่แต่งงาน - ใครทีค่ ิดวา่ จะยังอยกู่ ับคคู่ นเดิมไมเ่ ปล่ยี นแปลง - ใครทไ่ี ม่มัน่ ใจและคดิ วา่ อาจมีการเปลยี่ นแปลงเกิดขึ้นได้ - คนท่ีเปลย่ี นแปลงสถานภาพ มีเหตผุ ลอะไรทที่ าให้เป็นแบบนั้น 2. สรุปจากคาตอบของผู้เรียนใหเ้ ข้าใจว่าการเลือกสถานภาพทางเพศของคนเราย่อมขึ้นอยู่ กับเหตุผลของแต่ละคน และอาจมกี ารเปลี่ยนแปลงไดเ้ มอ่ื ระยะเวลาผ่านไป 3. แบ่งกล่มุ เปน็ 4 กลุ่ม คละเพศชายหญิง ใหโ้ จทย์สถานภาพทางเพศของบุคคลท่แี ตกต่าง กันสาหรับแต่ละกลุ่ม ได้แก่ “คนโสด” “มีคู่” “แต่งงาน” “หย่าร้าง” ใช้เวลา 15 นาที เพ่ือตอบ คาถามดงั ต่อไปนี้ - นยิ ามหรือความหมาย - วถิ ีการดาเนินชีวิต - ข้อดีและขอ้ เสียของสถานภาพที่ไดร้ ับน้ันคืออะไร - ถา้ เราต้องเลอื กสถานภาพน้นั เปน็ เพราะอะไร/มีสาเหตุใด 4. แต่ละกลุ่มนาเสนอ ใช้เวลากลุ่มละ 3 นาที และชวนคุยเพื่อให้เข้าใจเร่ืองอคติต่อ สถานภาพทางเพศแต่ละรูปแบบ การเผชิญปัญหาหรอื ผลกระทบทีไ่ ดร้ ับ เชน่ ชายโสดอายุมากถูกมอง ว่าเป็นเกย์ หญิงโสดอายุมากถูกมองว่าเป็นคนมีมาตรฐานสูงเกินไป หญิงหมายเป็นคนไม่ดี มขี อ้ บกพรอ่ ง เป็นต้น โดยใชค้ าถาม เชน่ - ถ้าใชช้ วี ิตโสด จะเผชญิ กบั อะไรบา้ ง - ตัวเราคดิ วา่ ถา้ เราจะเลือกใช้ชวี ิตโสดเราจะทาอย่างไร - หญงิ หรือชายท่เี ลือกอยดู่ ว้ ยกันเฉย ๆ ไดร้ ับผลกระทบทีแ่ ตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร - วิธกี ารแกไ้ ขหรือลดปญั หาจากการหยา่ ร้างทาอะไรได้บา้ ง

199 5. สรุปการเรียนรู้จากกิจกรรม เพ่ือให้เข้าใจถึงการเลือกสถานภาพทางเพศว่าเป็น ความต้องการส่วนบุคคล มีหลากหลายรูปแบ และทุกรูปแบบมีท้ังข้อดีข้อเสีย ผู้หญิงอาจได้รับ ผลกระทบมากกวา่ ชายจากการหย่ารา้ ง การเลือกเป็นโสด ในขณะเดียวกันความคิดเร่ือง “ครอบครัว ท่ีสมบูรณ์” ซึ่งต้องมีพ่อแม่ลูก หรือพ่อแม่เป็นชายจริงหญิงแท้ เป็นการปิดก้ันและกระทบความรู้สึก ของเด็กทเี่ ผชญิ ปัญหาครอบครวั หยา่ ร้าง หรอื มเี พยี งพอ่ หรือแมเ่ ท่านัน้ โดยใชค้ าถาม ดังนี้ - สถานการณ์ท่ีเป็นจริงในสังคม มีสถานภาพใดอีกบ้างที่เราไม่ได้พูดถึง (ก๊ิก ชู้ ม่าย หย่าแลว้ กลับมาใช้ชวี ติ รว่ มกนั ) - เรามีข้อสงั เกตอยา่ งไรบา้ ง จากการแลกเปลีย่ นกันในเร่ืองสถานภาพทางเพศ - ส่ิงทไ่ี ดเ้ รยี นรเู้ ป็นประโยชน์ตอ่ ตัวเราอย่างไรบา้ ง - เราจะจดั การเรยี นรูส้ าหรบั เด็กเกยี่ วกับเร่อื งสถานภาพทางเพศอยา่ งไร

200 กิจกรรมการเรยี นรู้ การจัดการความสัมพันธ์ “อบุ ตั เิ หตุรัก” ขัน้ ตอนการดาเนินการ 1. แบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม แยกชายหญิง ชาย 2 กลมุ่ หญิง 2 กล่มุ โดยชายกลุ่ม 1 และหญิง กลุ่ม 1 เป็น “เอ” และชายกลุ่ม 2 และหญิงกลุ่ม 2 เป็น “บี” โดยแต่ละกลุ่มระดมความคิด บนพนื้ ฐานของเพศหญงิ หรือเพศชายทต่ี นเองเป็นอยู่ ให้เวลา 20 นาที สถานการณ์: “เอกับบี นักศึกษาปี 3 ทั้งคู่คบหาดูใจและมีความสัมพันธ์ทางเพศกันมานานเกือบปี เดอื นที่ผ่านมาเอมคี นอ่ืนเขา้ มาในชีวิตและกาลังพัฒนาความสัมพันธ์ โดยท่เี อยังลังเลว่าจะเล่าใหบ้ ีฟัง หรือไม่ บีก็เริ่มรู้สึกว่าเอเปล่ียนไปจากเดิม เช่น วางโทรศัพท์ไว้ใกล้ตัวตลอด หรือไปรับโทรศัพท์ใน หอ้ งน้า” คาถาม: เมื่ออ่านสถานการณแ์ ล้วให้กลุ่มเลือกตดั สินใจก่อนว่า คุยหรือไม่คยุ แล้วจงึ ระดมความเห็น ตามข้อตอ่ ไปนี้ - ถา้ “คยุ ” เพราะอะไร มีข้อดขี อ้ เสยี อย่างไร ผลทีต่ ามมาคอื อะไร - ถา้ “ไม่คยุ ” เพราะอะไร มขี ้อดี ข้อเสียอยา่ งไร ผลที่ตามมาคอื อะไร 2. แต่ละกล่มุ นาเสนอ ใชเ้ วลากลุม่ ละ 3 นาที หลังจากนั้นแต่ละกล่มุ คัดเลอื กตัวแทน 1 คน เพื่อออกมาแสดงบทบาทสมมติการพูดคุยกัน 2 คู่ คือ คู่ “เอ-ชายกับบี-หญิง” และคู่ “เอ-หญิงกับ บ-ี ชาย” โดยให้สมาชิกกลมุ่ ช่วยวางแผนเตรียมการเจรจาใหก้ ับตวั แทน โดยตอ้ งไม่ใหก้ ลุ่มอ่นื รคู้ าตอบ หรือเปา้ หมายในการเจรจาใหเ้ วลา 5 นาที 3. แสดงบทบาทสมมติตามที่เตรยี มมา ให้วลาคู่ละ 3 นาที หรือมากกว่าท่ีกาหนดขนึ้ อย่กู ับ สถานการณ์หรือวธิ ีการเจรจาของแตล่ ะคู่ โดยผู้จัดการเรียนรู้บันทึกคาสนทนาของคู่หญิงชาย เพ่ือใช้ ในการชวนคยุ โดยใช้คาถาม เชน่ - เหตุผลที่นามาใช้คืออะไร - ทง้ั ค่บู รรลุสิ่งท่ตี ง้ั เปา้ หมายหรือคาดหวงั ไวห้ รือไม่ - แผนทีเ่ ตรยี มไว้กับส่งิ ท่ีเกิดขึ้นจรงิ แตกต่างกันหรือมีความเปลย่ี นแปลงหรอื ไม่ อย่างไร - เรารูส้ ึอย่างไรกบั การใช้คาพดู และคาพูดไหนทีท่ าให้อารมณ์เปล่ียนได้ - สง่ิ ที่ทาให้การสนทนาราบรืน่ คืออะไร

201 4. สรุปการเรียนรู้ เพ่ือให้เขา้ ใจถงึ การแกไ้ ขปญั หาทีเ่ กดิ จากการเปลยี่ นแปลงความสัมพันธ์ โดยไม่ใช้ความรุนแรงว่า เป็นการรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของแต่ละฝ่าย การพูดคุยส่ือสาร อย่างตรงไปตรงมา ไม่ปิดบัง และสร้างความไวว้ างใจต่อกนั โดยใช้คาถาม ดังน้ี - เรามีขอ้ สังเกตอยา่ งไรกับเรือ่ งการสื่อสารในกรณที ี่ความสัมพันธ์มปี ัญหาเกดิ ขึน้ - ในบางช่วงของการสนทนา อะไรท่ีนาไปสคู่ วามรนุ แรงได้บา้ ง - ถ้าความสมั พนั ธ์ต้องยตุ ลิ ง มสี าเหตุจากอะไรบา้ ง - ผลของการส่อื สารจะออกมาในแบบไหนไดบ้ า้ ง - เราจะยุตคิ วามสัมพันธอ์ ย่างไรเพื่อไมน่ าไปสคู่ วามรนุ แรง 5. ใชค้ าถามและแลกเปลี่ยนเพือ่ ประเมินการเรยี นรูร้ ว่ มกนั จากกิจกรรมดังนี้ - เราคิดว่า วิธีการที่จะทาให้ยอมรับกาตัดสินใจของคู่ในกรณีที่ต้องการยุติหรื อ เปลย่ี นแปลงความสัมพันธค์ วรเปน็ อย่างไร - หากเราต้องจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กหรือวัยรุ่น เราจะนาแนวคิดอะไรบ้าง จากการ เรยี นรู้ในเรื่องการเปลยี่ นแปลงความสัมพันธไ์ ปสร้างการเรยี นรู้ เพ่ือให้เขาเข้าใจเรื่องการเปล่ียนแปลง ของครอบครัว หรือการหยา่ รา้ ง - ประเดน็ สาคัญในเรื่องนมี้ อี ะไรบ้าง

202 คาถามทา้ ยบท จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี โดยอธบิ ายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ 1. จงอธิบายความหมาย และความสาคญั ของสมั พันธภาพทางเพศ 2. ลักษณะของสัมพันธภาพทางเพศมีกลี่ กั ษณะ จงอธบิ าย 3. ปจั จัยท่ีสนับสนนุ ให้เกดิ สัมพันธภาพทางเพศประกอบดว้ ยสง่ิ ใดบา้ ง 4. จงอธบิ ายหลักพน้ื ฐานในการสร้างสัมพนั ธภาพทางเพศ 5. จงระบอุ ารมณ์และความรูส้ ึกท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั สัมพันธภาพทางเพศ 6. ขั้นตอนการพัฒนาสมั พนั ธภาพทางเพศมกี ่ขี นั้ ตอน จงอธบิ าย 7. จงอธบิ ายและยกตวั อยา่ งสมั พนั ธภาพในการวางตวั ตอ่ เพศตรงขา้ ม 8. จงอธิบายความขัดแย้งในสมั พันธภาพทางเพศ เกดิ ขน้ึ ได้อยา่ งไร และใช้วิธใี ดลดความ ขดั แยง้ ข้ึนไดบ้ ้าง และยกตัวอย่าง 9. จงอธิบายความขัดแย้งในสัมพนั ธภาพทางเพศ 10. จงอธบิ ายการสมรสหรอื การแตง่ งานมาพอสังเขป

203 เอกสารอา้ งองิ กิจจา บานชืน่ ฐิณวี รรณ วุฒิวิกยั การ และวรฑา ไชยาวรรณ. (2562). เพศวถิ ีศกึ ษา. นนทบุรี: รตั นโรจน์การพมิ พ์. จนั ทรว์ ิภา ดิลกสัมพันธ์. (2548). เพศศกึ ษา. พมิ พค์ ร้ังที่ 3. กรงุ เทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร. ชมุ าภรณ์ ฝาชัยภมู ิ. (2562). เพศวิถศี กึ ษา. กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยเู คชัน่ . ชยั วัฒน์ ปญั จพงษ์ และคณะ. (2524). คยุ กับหมอเรอ่ื งลูก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรสัมพนั ธ์. ทวี บณุ ยะเกตุ. (2516). การครองเรือน. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์เฟื่องอักษร. บุญลอื วันทายนต์. (2520). ครอบครวั และวงศ์วาน. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. ประสาท อิศรปรีดา. (2523). จิตวทิ ยาวยั รนุ่ . กรุงเทพฯ: ศึกษิตสยาม. วิทยา นาควัชระ. (2537). “คยุ เร่อื งชีวิต”. สกลุ ไทย. (มนี าคม 2537): 69. วนั ทนยี ์ วาสกิ ะสิน. (2527). เพศศกึ ษาเรื่องนา่ รู้ ใน นติ ยสารหมอชาวบ้าน. 61(5): 12-15. ศิยพร กลา่ ทวี และประพล นลิ ใหญ่. (2562). เพศวถิ ีศึกษา. นนทบรุ ี: รตั นโรจน์การพิมพ์. สรรค์ ศรเี พ็ญ. (2514). เพศศาสตร์ศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ สุขติ เผา่ สวัสดิ์ และคณะ. (2534). นรีเวชวิทยา. พิมพค์ รัง้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: ภาควิชาสูตศิ าสตร์- นรเี วชวทิ ยา คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . สุพร เกิดสวา่ ง. (2536). “Adolescent Reproductive Health.” ใน รายงานการประชมุ ใหญท่ าง วิชาการแหง่ ศิริราชครงั้ ที่ 7. หน้า 274-285. กรงุ เทพฯ: ชวนพิมพ.์ สุพตั รา สุภาพ. (2531). สงั คมวทิ ยา. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . อรุณร่งุ บญุ ธนนั ตพงศ์. (2535). พฤติกรรมและตัวชว้ี ดั ความสัมพันธ์ระหวา่ งคู่สมรสในเขต กรุงเทพมหานคร ท่ีจะนาไปสูค่ วามตอ้ งการหยา่ ร้าง. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยมหิดล. อานนท์ อาภาภริ มย์. (2546). สงั คมวทิ ยา. กรงุ เทพฯ: แพรพ่ ิทยา. อทุ ุมพร แก้วสามศรี และคณะ. (2562). เพศวถิ ศี ึกษา. นนทบุรี: รตั นโรจนก์ ารพมิ พ.์ IDRC. (1989). Human Sexuality. Canada: Report of a Workshop Held at International Development Research Center. Kinsey, A.C., et al. (1953). Sexual Behavior in the Human Female. Philadelphia: W.B. Saunders. Muuss, R.E. (1990). Adolescent Behavior and Society. 4th ed. Singapore: McGraw-Hill. Schulz, B. Bohrnstedt., et al. “Explaining Premarital Sexual Intercourse Amon College Students: A Causal Model.” Social Forces. xxxxxvi (1977) : 148 - 165.

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 5 พฤตกิ รรมทางเพศ วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เมื่อศึกษาบทเรยี นนจี้ บแล้ว นักศึกษาควรมีพฤตกิ รรมดงั นี้ 1. อธบิ ายจติ วิทยากบั การกาหนดลักษณะทางเพศของวัยรนุ่ ได้ 2. ระบกุ ารเกิดอารมณท์ างเพศของวยั ร่นุ ได้ 3. บอกการแสดงออกทางเพศได้ 4. ระบอุ ทิ ธิพลท่มี ผี ลต่อพฤตกิ รรมทางเพศได้ 5. อธบิ ายการตอบสนองทางเพศและการมเี พศสัมพนั ธ์ได้ 6. บอกความสมั พนั ธข์ องวัยรุ่นกับเพศสัมพนั ธ์ได้ 7. อธิบายความรับผิดชอบทางเพศได้ 8. ระบลุ ักษณะพฤติกรรมการแสดงออกทางเพศท่ีเหมาะสมได้ เนอ้ื หาสาระ เนอื้ หาสาระในบทนี้ประกอบดว้ ย 1. จติ วิทยากับการกาหนดลักษณะทางเพศของวัยรุ่น 2. การเกิดอารมณท์ างเพศของวยั ร่นุ 3. การแสดงออกทางเพศ 4. อิทธิพลท่ีมีผลต่อพฤติกรรมทางเพศ 5. การตอบสนองทางเพศและการมีเพศสมั พนั ธ์ 6. วยั รนุ่ กับเพศสัมพันธ์ 7. ความรับผิดชอบทางเพศ 8. ลกั ษณะพฤตกิ รรมการแสดงออกทางเพศทเี่ หมาะสม

206 กิจกรรมการเรยี นการสอน กิจกรรมการเรยี นการสอนเรือ่ งพฤตกิ รรมทางเพศ มดี ังน้ี สัปดาห์ท่ี 8 (3 ชวั่ โมง) 1. ผู้สอนทบทวนเนื้อหาบทที่ 4 ท่ีเรยี นมาของสัปดาห์ก่อน พรอ้ มช้ีแจงวัตถุประสงค์ และ เนือ้ หาประจาบทเรยี นบทท่ี 5 เพอื่ ให้ผ้เู รียนรับรภู้ าพรวมของเนือ้ หาสาระในบทเรียนนี้ 2. ผู้สอนบรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศ ในหัวข้อ จิตวิทยากับการกาหนด ลักษณะทางเพศของวยั รุ่น การเกิดอารมณ์ทางเพศของวัยรนุ่ การแสดงออกทางเพศ และอิทธิพลที่มี ผลตอ่ พฤตกิ รรมทางเพศ 3. ผู้เรียนรับฟังบรรยายสรุปเนื้อหาสาระ รว่ มกับศึกษาเนื้อหาเร่ือง “พฤตกิ รรมทางเพศ” ในหัวขอ้ ดงั กลา่ วจากเอกสารคาสอน พรอ้ มทง้ั ซักถามและตอบคาถามระหว่างการฟงั บรรยาย 4. ผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ “เล้ียงเด็ก” และ “คิดอย่างไร” แล้วร่วมกันสรุป สาระสาคัญทไ่ี ด้รับ 5. ผู้สอนให้ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย สรุปเน้ือหาพฤติกรรมทางเพศและ แนวทางการนาไปประยกุ ต์ใช้ รวมท้ังเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นซักถามในหัวข้อ / ประเด็นที่สงสยั 6. ผู้สอนชีแ้ จงหวั ข้อที่จะเรียนในคร้ังต่อไป เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนไปศึกษากอ่ นลว่ งหน้า 7. ผู้สอนเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมใหก้ ับนกั ศกึ ษาก่อนเลกิ เรียน สัปดาหท์ ่ี 9 (3 ชัว่ โมง) 1. ผูส้ อนทบทวนเนอื้ หาท่เี รียนมาของสปั ดาหก์ ่อน 2. ผู้สอนบรรยายเนื้อหาเก่ียวกับพฤตกิ รรมทางเพศ ในหัวข้อ การตอบสนองทางเพศและ การมีเพศสัมพันธ์ วัยรุ่นกับเพศสัมพันธ์ ความรับผิดชอบทางเพศ และลักษณะพฤติกรรมการ แสดงออกทางเพศท่เี หมาะสม 3. ผู้เรียนรับฟังบรรยายสรุปเน้ือหาสาระ รว่ มกับศึกษาเน้ือหาเรอ่ื ง “พฤติกรรมทางเพศ” ในหัวข้อดังกล่าวจากเอกสารคาสอน พร้อมทงั้ ซักถามและตอบคาถามระหวา่ งการฟังบรรยาย 4. ผูส้ อนจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ “จดุ ยืน” และ “คาพิพากษา” แล้วร่วมกนั สรปุ สาระสาคัญ ท่ีได้รับ 5. ผู้สอนให้ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย สรุปเน้ือหาพฤติกรรมทางเพศและ แนวทางการนาไปประยกุ ตใ์ ช้ รวมท้ังเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนซักถามในหวั ข้อ / ประเดน็ ที่สงสัย 6. ผสู้ อนมอบหมายให้ผู้เรียนทาคาถามท้ายบท และกาหนดวนั ส่ง 7. ผสู้ อนชแี้ จงหัวขอ้ ทจ่ี ะเรียนในครัง้ ตอ่ ไป เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนไปศกึ ษาก่อนลว่ งหน้า

207 8. ผู้สอนเสริมสร้างคณุ ธรรมและจริยธรรมให้กับนกั ศึกษาก่อนเลกิ เรียน สื่อการเรยี นการสอน 1. เอกสารคาสอน เพศศึกษาแบบองคร์ วม 2. เอกสาร ตารา หนงั สือ และงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้องกบั เพศศึกษาแบบองค์รวม 3. สไลด์นาเสนอความรู้ประเด็นสาคัญทุกหัวข้อเรื่อง ด้วยส่ือทางคอมพิวเตอร์ Microsoft Power Point 4. วสั ดแุ ละอปุ กรณส์ าหรบั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 4.1 กระดาษฟลปิ ชาร์ท 4.2 ปากกาเคมี 4.3 เคร่ืองหมายหรอื ป้ายเขยี นข้อความ “เหน็ ดว้ ย” “ไม่เห็นดว้ ย” “ไม่แนใ่ จ” 4.4 สถานการณ์และใบงาน 4 เร่ือง 5. คาถามทา้ ยบท การวดั ผลและการประเมินผล วัตถปุ ระสงค์ วิธีการ/เครอ่ื งมอื การวัดผลและการประเมินผล 1. อธิบายจิตวทิ ยากับการกาหนด ลกั ษณะทางเพศของวัยรุ่นได้ 1. ซกั ถาม-ตอบคาถาม 1. นักศกึ ษาตอบคาถาม และ 2. ระบกุ ารเกดิ อารมณ์ทางเพศของ วยั รุ่นได้ อภปิ ราย แลกเปลีย่ น อภิปรายไดถ้ กู ตอ้ ง รอ้ ยละ 80 3. บอกการแสดงออกทางเพศได้ 4. ระบอุ ทิ ธิพลท่ีมผี ลตอ่ พฤติกรรม และการสนทนาร่วมกนั 2. นักศกึ ษามีความสนใจ/ ทางเพศได้ 5. อธบิ ายการตอบสนองทางเพศและ 2. สังเกตพฤติกรรม ความรว่ มมอื และความ การมเี พศสัมพนั ธ์ได้ 6. บอกความสมั พนั ธข์ องวยั รุน่ กับ การรว่ มกจิ กรรม กระตือรนื รน้ ในการร่วม เพศสมั พนั ธ์ได้ 7. อธิบายความรับผิดชอบทางเพศได้ 3. สังเกตการนาเสนอผล กจิ กรรมอยู่ในระดับดี การทางานหน้าชน้ั เรยี น 3. นักศึกษามีความพรอ้ ม/ 4. ใบงานในกจิ กรรมการ ความตัง้ ใจและความกลา้ เรยี นรู้ แสดงออกในการนาเสนอผล 5. คาถามทา้ ยบท การทางานหน้าชน้ั เรียนอยู่ใน ระดับดี

208 วตั ถปุ ระสงค์ วิธีการ/เครอ่ื งมอื การวัดผลและการประเมินผล 8. ระบลุ ักษณะพฤตกิ รรม 4. นักศกึ ษาทาใบงานไดถ้ ูกตอ้ ง การแสดงออกทางเพศที่เหมาะสมได้ ครบสมบูรณ์ และเสร็จตาม เวลาท่กี าหนด รอ้ ยละ 80 5. นักศึกษาตอบคาถามท้าย บทเรยี นได้ รอ้ ยละ 80

209 บทที่ 5 พฤตกิ รรมทางเพศ ในกระบวนการให้การศึกษา เพศมิใช่เป็นเพียงลักษณะทางกายภาพของความเป็นชาย และหญิงเท่านั้น แต่รวมถึงระดับจิตใจและคุณภาพชีวิตภายในอีกด้วย ซึ่งจะปรากฏออกมา จากการแสดงออกของพวกเขา ความผิดแผกแตกต่างดังกล่าวน้ีเมื่อได้รับการเสริมเติมกันและ จากการเป็นหญิงและชายแล้ว ย่อมทาให้สามารถสนองตอบต่อบุคลิกภาพทางเพศได้อย่างเต็มท่ี เพศจึงมิใช่เป็นเพียงมิติทางด้านกายภาพเท่าน้ัน แต่ยังคงครอบคลุมไปทั่วท้ังตัวบุคคล ด้วยเหตุนี้เอง เมื่อกล่าวถึงเพศ จึงหมายถึงความสัมพันธ์กับส่วนประกอบอ่ืนๆ ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ ศีลธรรม และ จิตใจ จึงจาเป็นท่ีจะต้องเข้าใจในความหมายของคาว่าเพศให้ถูกต้อง เพราะเป็นการง่ายที่จะทาให้ เรื่องนก้ี ลับกลายเปน็ สิ่งที่ด้อยคณุ คา่ และสร้างความสบั สนในแนวคดิ ได้ จิตวิทยากับการกาหนดลกั ษณะทางเพศของวยั รนุ่ จิตใจของวัยรุ่นมีความสลับชับซ้อนมาก เพราะเกี่ยวข้องกับการเปล่ียนแปรข้อมูล และ ประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ท่ีผ่านมาเข้าในชีวิต และอาจส่งผลให้วัยรุ่นเกิดความผิดปกติในการรับรู้ ทางเพศ การพิจารณาปัยจยั น้ีตอ้ งใช้ทฤษฎีทางจติ วิทยา และจะต้องอาศัยผู้เชีย่ วชาญเฉพาะด้าน เช่น นักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์ เป็นต้น การกาหนดวา่ วัยรนุ่ นั้นเปน็ หญิงหรือชายมีปัจจัยเก่ียวข้องดังท่ีได้ กลา่ วมา แต่สาหรับรสนิยมทางเพศยังมคี าว่า วถิ ีแห่งเพศ (Sexual Orientation) เข้ามาเก่ียวข้องดว้ ย โดยสมาคมจิตวิทยาแห่งอเมริกา (American Psychological Association) ให้ความหมายของคาว่า วิถแี ห่งเพศ ไวด้ ังน้ี (กิจจา บานชน่ื ฐณิ ีวรรณ วุฒวิ กิ ยั การ และวรฑา ไชยาวรรณ, 2562, น. 59-61) วิถีแห่งเพศ คือ ความรู้สึกดึงดูดความสนใจทางเพศที่มีต่อบุคคลเพศใดเพศหนึ่งอย่างไม่ เปลี่ยนเเปลง วิถที างเพศเป็นองค์ประกอบหนง่ึ ในสีข่ องกจิ กรรมทางเพศ (Sexuality) องคป์ ระกอบอื่น ๆ อีกสามส่วน คือ เพศเชิงกายภาพ (Biological Sex) ความรู้สึกนึกคิดในการเป็นหญิงหรือชาย (Gender Identity) และส่วนท่ีส่ื คือ การแสดงออกทางเพศในสังคม (Social Sex Role) ซึ่งถูก กาหนดโดยบรรทดั ฐานทางสังคมให้มพี ฤติกรรมการแสดงออกถึงความเปน็ ชายเละความเปน็ หญงิ

210 วิถีทางเพศท่ีรจู้ ักกนั โดยท่ัวไปแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. รักเพศเดียวกัน (Homosexual) พฤติกรรมทางเพศของพวกรักเพศเดียวกัน หมายถึง ความสัมพนั ธ์ทางเพศระหว่างคนสองคนทเี่ ปน็ เพศเดยี วกนั ไมว่ ่าจะเปน็ ชายรกั ชายหรอื หญงิ รกั หญิง 2. รักต่างเพศ (Heterosexual) หมายถึง ความรักทั้งในทางโรแมนติกและทางเพศ ระหว่างบุคคลสองคนที่เป็นเพศตรงข้าม รักต่างเพศถือเป็นรสนิยมทางเพศอย่างหน่ึง ซ่ึงตรงกันข้าม กับพวกรักเพศเดียวกัน โดยจะมีความรักทั้งในทางโรแมนติกและทางเพศกับบุคคลเพศตรงข้ามหรือ มคี วามรกั เฉพาะทางโรแมนตกิ เพยี งอยา่ งเดยี ว โดยไม่มคี วามสนใจในเรือ่ งเพศเลยกไ็ ด้ 3. รักท้ังสองเพศหรือไบเซ็กชวล (Bisexual) เป็นรสนิยมทางเพศที่ชอบคนทั้งสองเพศ ท้งั ชายและหญงิ คนที่มรี สนยิ มแบบไบเซ็กชวลอาจมีประสบการณท์ างเพศ ภาวะอารมณ์ ความรักกับ ทัง้ เพศตวั เองเละเพศตรงข้าม อย่างไรก็ตามวิถีทางเพศก็มีความแตกต่างจากพฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) เพราะวิถีทางเพศ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดว่าตัวเองเป็นใคร ซ่ึงคนเราแต่ละคนอาจมีพฤติกรรม ในการแสดงความรู้สึกน้ันออกมาหรือไม่ก็ได้ ดังน้ัน ในผู้ที่รักเพศเดียวกันอาจแสดงออกหรือไม่ แสดงออกกไ็ ด้ หากวิเคราะห์ข้อดีข้อจากัดของแต่ละเพศเล้ว ทาให้ เห็นว่าแต่ละคนแต่ละเพศ มีความแตกต่างกัน และความแตกต่างไม่ได้เป็นส่ิงกาหนดความดี ความชั่ว ถูกหรือผิดเป็นเพียง ความแตกต่างทางธรรมชาติ เหมือนสีในโลกน้ี มีหลายสี รสชาติท่ีมีหลายเบบ ไม่ได้แปลว่าสีใดดีกว่า สีใด หรือรสใดดีกว่ารสใด แต่เป็นความชอบของแต่ละบุคคลซึ่งมีรสนิยมท่ีแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็น หญิงชาย คนรักเพศเดียวกันหรือคนรักสองเพศ ต่างกไ็ มม่ ขี ้อเสยี ตราบใดที่ไมท่ าใหใ้ ครเดือดรอ้ น การเกดิ อารมณ์ทางเพศของวยั รุ่น ระยะวัยรุ่นเป็นวัยที่กาลังมีการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายสูงสุดและมีการเปลี่ยนแปลง ทางอารมณ์ การเข้าสังคม ความต้องการทางเพศ วัยรุ่นเป็นวัยแห่งการแสวงหาเพื่อตอบสนอง ความต้องการและการเปลี่ยนแปลงของตนเอง การเปล่ียนแปลงอย่างหน่ึงของวัยรุ่นท่ีมีผลอย่างมาก ต่อวิถีการดาเนนิ ชีวติ คอื การเปล่ียนแปลงในเร่อื งของอารมณ์ทางเพศ อารมณ์ทางเพศของวัยรุ่นเป็นพัฒนาการอย่างหน่ึงท่ีแสดงให้เห็นถึงความพร้อมของ รา่ งกายท่ีจะสืบทอดและดารงไว้ซึ่งเผ่าพันธุ์ โดยมีส่ิงสาคัญใน 2 ลักษณะประกอบด้วย ลักษณะของ ปัจจัยท่ีเป็นสิ่งเร้าภายใน (Intrinsic Stimulus) และลักษณะของปัจจัยท่ีเป็นส่ิงเร้าภายนอก (Extrinsic Stimulus) ดังน้ี (กิจจา บานช่ืน ฐิณีวรรณ วุฒิวิกัยการ และวรฑา ไชยาวรรณ, 2562, น. 61-64)

211 1. ลักษณะของปัจจัยทีเ่ ปน็ สิ่งเร้าภายใน ปจั จัยท่ีเป็นส่ิงเร้าภายใน หมายถึง สงิ่ เร้าซึง่ เป็นผลท่ีเกิดจากกระบวนการเปล่ียนแปลง ต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขึ้นในร่างกาย โดยได้รบั อิทธิพลมาจากการทางานของระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งผลิตฮอร์โมน ออกมาเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง ต่อมไร้ท่อที่ทาหน้าที่ควบคุม กระตุ้นและผลิตฮอร์โมนทางเพศที่สาคัญ ได้แก่ ต่อมใต้สมอง (Pituiary Gland) และต่อมเพศ (Gonads) 2. ลกั ษณะของปัจจยั ทเ่ี ปน็ สิ่งเร้าภายนอก ปจั จัยที่เป็นสิ่งเรา้ ภายนอก หมายถึง สภาพแวดลอ้ มภายนอกต่าง ๆ ท่ีสามารถกระตุ้น ผทู้ ่รี บั ร้ใู ห้เกดิ อารมณ์ทางเพศขึ้น ซ่ึงสงิ่ เหล่าน้มี ีหลายรปู แบบ ไดแ้ ก่ 1) ส่ือในรูปแบบต่าง ๆ ปัจจุบันมีส่ือหลากหลายรูปแบบที่กระตุ้นให้วัยรุ่นเกิดอารมณ์ ทางเพศ โดยเฉพาะสื่อทางเพศ เป็นส่ือท่ีนาเสนอภาพหรือข้อมูลท่ีให้ความรู้เรื่องเพศ มีท้ังสื่อท่ี สร้างสรรค์และไม่สร้างสรรค์ สื่อท่ีสร้างสรรค์คือ สื่อท่ีให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศ ได้แก่ การมีเพศสัมพันธ์ที่ถูกวิธี การป้องกันตนเองจากการตั้งครรภ์ เป็นต้น ส่วนสื่อที่ไม่สร้างสรรค์ แบ่งออกได้เป็น 2 ระดับ คือ ระดับของส่ือทางเพศที่ห้ามเผยแพร่ในสังคมไทยอย่างเด็ดขาด ส่วนระดับท่ีสองเป็นสื่อทางเพศท่ีต้องห้ามเนื่องจากเป็นผลมาจากศีลธรรมอันดีงามของสังคมไทย ความหลากหลายของส่ือท่ีกล่าวมาข้างต้นน้ัน วัยรุ่นบางคนก็ไม่สามารถแยกแยะสื่อท่ีสร้างสรรค์กับ สื่อท่ีไม่สร้างสรรค์ได้ จึงได้รับเอาข้อมูลเร่ืองเพศมาจากสื่อทั้งสองประเภท ส่ือท่ีไม่สร้างสรรค์จึงมี การผลิตและเผยแพร่มากข้ึนทกุ วัน ทงั้ ในรปู แบบหนังสอื วารสาร วซี ดี ี และภาพยนตร์ ที่สาคัญอย่างยิ่งคือ ปัจจุบันระบบอินเทอร์เน็ตได้ถูกนามาใช้เป็นสื่อทางเพศ อีกช่องทางหน่ึง บางกรณีก็นาเสนอผ่านเว็บไซต์ บางกรณีก็นาเสนอในรูปแบบเกมออนไลน์ และ จะเห็นได้ว่าระบบนี้บางทีก็ขาดการดูแล และการจัดการท่ีดี จึงทาให้มีการ เผยแพร่ลุกลาม อย่างรวดเร็วนอกจากจะยั่วยุและกระตุ้นให้วัยรุ่นเกิดอารมณ์ทางเพศได้ง่ายและรวดเร็วขึ้นแล้ว ยังอาจนาไปสู่การมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศอีกด้วย จากความสาคัญของสื่อในรูปแบบต่าง ๆ ที่กล่าว มา อาจกล่าวได้ว่าส่ือท่ีกล่าวมาจัดเป็นส่ิงเร้าภายนอกท่ีสาคัญ ซ่ึงผู้เก่ียวข้องตลอดจนวัยรุ่นต้องให้ ความสาคัญในการระมัดระวังในการเลอื กรับสอ่ื ทถ่ี ูกประเภทด้วย 2) สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมที่เปล่ียนไปในปัจจุบันคงต้องยอมรับกันว่าสภาพทาง สังคมและวฒั นธรรมไทยได้เปล่ียนไป เน่อื งจากการรับเอาวัฒนธรรมของชาวตะวันตกเข้ามามบี ทบาท ในการดาเนินชีวิตประจาวันมากข้ึน ทาให้วัยรุ่นไทยมีความกล้าแสดงออกมากขึ้น ท้ังทาง ด้านการแตง่ กาย การคบเพ่ือนต่างเพศ ซง่ึ มีอสิ ระมากขนึ้ นอกจากน้ีปัจจุบันสภาพของครอบครัวไทย เปล่ียนไป ผู้ปกครองมีเวลาใกล้ชิดกับบุตรหลานน้อยลง ซ่ึงเป็นผลมาจากสภาพของภาวะทาง

212 เศรษฐกจิ นอกจากนี้ยังพบว่าความมอี ิสระของส่อื ต่อการนาเสนอเรอ่ื งราวท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั เพศ ส่ิงตา่ ง ๆ เหล่านี้จัดได้ว่าเป็นส่ิงเร้าภายนอกที่สาคัญที่สามารถจะเร้าและกระตุ้นให้วัยรุ่นเกิดความต้องการ ทางเพศข้ึนได้ โดยเฉพาะหากขาดการดแู ลและการควบคุมท่ถี ูกตอ้ งเหมาะสม 3) ค่านิยมและพฤติกรรมที่ไม่หมาะสมในบางลักษณะของวัยรุ่นจากสภาพทางสังคม และวัฒนธรรมทางสังคมไทยท่ีเกี่ยวข้องกับเร่ืองเพศที่เปลี่ยนไป ส่งผลให้วัยรุ่นไทยมีค่านิยมและ มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในหลายลักษณะ อาทิ ค่านิยมในเรื่องการแต่งกายตามสมัยนิยมท่ี มากเกินไปของวัยรุ่น โดยไม่คานึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เช่น การสวมเสื้อผ้าที่รัดรูปทาให้เห็น ส่วนเว้าส่วนโค้งหรือการเปิดเผยสัดส่วนของร่างกายมากเกินไปของเพศหญิง นอกจากนี้ยังพบว่า วัยรุ่นมักจะมีค่านิยมเก่ียวกับความต้องการในการแสดงออกโดยอิสระ เป็นต้นว่าการเที่ยวเตร่ ในเวลากลางคืน การสัมผัสร่างกายของเพศตรงข้ามหรือการจับมือถือแขน การกอดจูบกันในที่ สาธารณะ การอยู่ลาพงั สองต่อสอง เป็นต้น ซงึ่ สิง่ ต่าง ๆ เหล่าน้ถี ือว่าเป็นปจั จัยภายนอกท่ีสาคัญมาก เพราะถอื ว่าเป็นความคดิ ของวยั รุน่ ท่ีเป็นวยั ที่อยูใ่ นชว่ งหัวเลย้ี วหวั ต่อ ถา้ ได้รับการเรยี นรู้มาแบบผดิ ๆ และไม่สามารถควบคมุ อารมณ์ทางเพศไว้ไดก้ ็อาจทาใหเ้ กิดความผิดพลาดครง้ั ยิ่งใหญ่ของชีวติ เลยก็ได้ วยั รุ่นจงึ ควรตระหนักในการควบคุมอารมณ์ทางเพศให้อยู่ในสภาวะท่เี หมาะสม และควรมีสตยิ ง้ั คิดอยู่ ตลอดเวลาด้วย นอกจากนี้ อทุ ุมพร แกว้ สามศรี และคณะ (2562, น. 100) ได้กล่าวถึง สิ่งเรา้ ภายนอกเป็น ตวั กระตนุ้ ทาใหเ้ กดิ อารมณท์ างเพศ ดงั น้ี 1) การเห็นภาพ เป็นภาพที่ยั่วยุอารมณ์ทางเพศ เช่น ภาพจากหนังสือ นิตยสาร ภาพจาก วีดโี อ วิซดี ี ภาพยนตร์ ซง่ึ เปน็ ประเภทส่อื ลามก 2) การได้กล่ิน กล่ินหอมบางอยา่ งสามารถกระตนุ้ ให้เกิดอารมณ์ทางเพศได้ 3) การอ่าน หรือฟัง การได้อ่านหรือฟังเร่ืองท่ียั่วยุอารมณ์ทางเพศ อาจทาให้เกิด จินตนาการจนทาใหเ้ กดิ อารมณ์ทางเพศได้ 4) การคิด และจินตนาการ เม่ือสมองว่างอาจคิดและจินตนาการในเร่ืองท่ีย่ัวยุอารมณ์ ทางเพศ ก็อาจทาใหเ้ กิดอารมณท์ างเพศได้ 5) การสัมผัสเพศตรงขา้ ม การได้ถกู เน้ือต้องตัวเพศตรงข้ามโดยเฉพาะคนท่ีเรารัก หรืออาจ มิใชค่ นรกั กไ็ ด้ ถ้าได้เกิดการสมั ผัสกันกม็ กั จะทาให้เกดิ อารมณท์ างเพศได้ 6) การสัมผัสตนเอง ถ้าไดม้ ีการสมั ผสั จุดที่ไวตอ่ ความรู้สึกทางเพศ เช่น บรเิ วณอวัยวะเพศ กจ็ ะทาให้เกดิ อารมณ์ทางเพศได้ 7) การฝัน ในขณะนอนหลับถ้าฝันเกี่ยวกับเร่ืองท่ียั่วยอุ ารมณ์ทางเพศก็จะทาให้เกิดอารมณ์ ทางเพศขนึ้ ได้ ถ้าผูช้ ายฝันอาจถงึ จดุ สุดยอดกลายเป็นฝนั เปียกได้

213 8) การเห็นสัดส่วนร่างกายของเพศตรงข้าม การแต่งกายท่ีไม่รัดกุมปิดบางส่วนให้เห็น เน้ือหนัง รัดรูปจนเหน็ สัดสว่ นชดั เจนหรือแต่งกายแบบท่ียั่วยกุ ิเลส ก็อาจทาให้ผทู้ ี่พบเห็น โดยเฉพาะ ผู้ชายเกิดอารมณท์ างเพศได้ 3. กลไกการเกดิ อารมณเ์ พศ อารมณ์เพศ เกิดข้ึนตามกลไก การเกิดอารมณ์เพศสามารถ โดยเริ่มจากตัวกระตุ้น ได้แก่ รูปรสกลิ่นเสียงและสัมผัสตัวกระตุ้นเหล่านี้ส่งสัญญาณตรงไปยังอวัยวะรับความรู้สึก ได้แก่ ตา ล้ิน จมูก หู กาย ตามลาดับเม่ืออวยั วะรับความรู้สกึ ก็จะส่งต่อไปยงั สมองและระบบประสาทอัตโนมัติเกิด เป็นความต้องการทางเพศท่รี ่างกายพร้อมทจี่ ะแสดงออกทางเพศหรือระบายทางเพศ ขณะเดียวกันก็ จะมีปัจจัยอ่ืนๆ เช่น อารมณ์ สติปัญญา ความย้ังคิด และความสมบูรณ์ของร่างกายท่ีจะเสริมหรือ ยับย้ังการแสดงออกทางเพศ เช่น เมื่อวัยรุ่นเห็นรูปโป๊ก็จะมีความต้องการทางเพศ อวัยวะเพศเกิด แข็งตัวพร้อมปฏิบัติการ แต่วัยรุ่นมีสติคิดว่ายังไม่เหมาะสมก็จะเป็นปัจจัยยับย้ังไม่ให้มีปฏิบัติการ ทางเพศไดใ้ นทางตรงกนั ขา้ ม หากวัยรุน่ ได้รบั การกระตุ้นจนเกดิ อารมณเ์ พศและถ้าอยู่ในสถานท่ลี ับตา กับคนท่ีชอบพอสองตอ่ สองก็จะเปน็ ปัจจยั เสริมใหม้ ปี ฏบิ ัตกิ ารทางเพศโดยไม่ไดต้ งั้ ใจ ภาพท่ี 5.1 แสดงกลไกการเกดิ อารมณ์เพศ ทม่ี า: อทุ มุ พร แก้วสามศรี และคณะ, 2562, น.101

214 4. วงจรกระบวนการตอบสนองทางเพศ การกระตุ้นและตอบสนองต่อการเร้าอารมณ์ทางเพศจัดเป็นสัญชาตญาณพ้ืนฐาน เพ่ือการสืบพันธ์ุ โดยได้แบ่งการตอบสนองต่อการกระตุ้นเป็น 5 ข้ัน ดังนี้ (อุทุมพร แก้วสามศรี และ คณะ, 2562, น. 101-102) ข้ันท่ี 1 ขั้นความต้องการ (Desire Phase) เป็นระยะที่ชายและหญิงจะถูกดึงดูด เข้าหากันด้วยส่ิงกระตุ้นต่าง ๆ เช่น การได้เห็น สบตากัน ได้ยินเสียง ได้กลิ่นน้าหอมท่ีใช้สิ่งเหล่านี้ อาจเกิดโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัวในระยะท่ีร่างกายอาจจะยังไม่มีการตื่นตัวตอบสนองมีแต่ความต้องการ ท่ีเขา้ หาใกลช้ ิดซึ่งกันและกนั ขั้นตอนท่ี 2 ขั้นความต่ืนตัวทางเพศ (Excitement Phase) ระยะน้ีเป็นระยะที่อวัยวะ ของร่างกายมีความตอบสนองความต้องการทางเพศ ต้องการมีความสนทิ สนมทางกายภาพอนั นาไปสู่ การมีเพศสมั พนั ธต์ ่อไป ซึ่งการเปลยี่ นแปลงของร่างกายในระยะน้จี ะตื่นตวั โดยการตอบสนองในผู้ชาย เช่น องคชาตแข็ง เป็นต้น การตอบสนองในผู้หญงิ เชน่ หวั นมตง้ั ขึน้ เปน็ ต้น ข้ันท่ี 3 ข้ันก่อนจุดสุดยอด (Plateau Phase) เป็นระยะท่ีความรู้สกึ เร้ากายและใจเพ่ิม สงู จนไม่สามารถควบคุมตนเองได้ ถ้าการกระตุ้นทางเพศยังคงดาเนินต่อไปก็จะเปลี่ยนไปสู่ข้ันต่อไป โดยมีการตอบสนองในผ้ชู าย เช่น ต่อมคาวเปอร์หลัง่ น้าหล่อลื่น ผู้หญิงตอ่ มบาร์โธลิน (อยู่ 2 ข้างของ ปากชอ่ งคลอด) จะหล่งั นา้ หล่อล่ืนออกมา คลติ อริสผลุบเข้าข้างใน ชีพจรเต้นเรว็ ข้ึน ฯลฯ ข้ันที่ 4 ขัน้ จุดสดุ ยอด (Orgasmic Phase) เป็นระยะทถ่ี งึ ประสงค์ของการมเี พศสัมพันธ์ โดยเฉพาะฝ่ายชายจะมีการหลั่งน้าอสุจิ มีการหลั่งสารเอ็นดอร์ฟิน ทาให้เกิดความสุขและปิติ ลดความเครียดทางใจลง ในฝ่ายหญิงความรู้สึกจะคล้ายฝ่ายชายแต่การแสดงออกอาจแตกต่างไป ระหว่างบุคคลและไม่สามารถควบคุมตนเองได้ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายในระยะจุดสุดยอด (Orgasmic Phase) การตอบสนองในผู้ชาย ไม่สามารถกลั้นการหลั่งของน้าอสุจิได้ มีการบีบตัวของ หลอดอสจุ ถิ งุ น้าเล้ียงอสุจิ ตอ่ มลูกหมากและหลอดปสั สาวะเพอ่ื ขบั น้าอสุจอิ อกมา ข้ันท่ี 5 ข้ันผ่อนคลาย (Resolution Phase) เป็นระยะที่ต่อจากขั้นท่ีแล้วทั้งหญิงและ ชายจะร้สู ึกเหนือ่ ยมากเพราะได้ปลดปล่อยพลังงานจานวนมากและรวดเร็วในระยะท่ีผ่านมาแต่ในแง่ ความรักแล้วระยะน้ีจะเป็นระยะท่ีความสามารถควบคุมตัวเองกลับมาอีกครั้งของทั้งหญิงและชาย การแสดงความรักทั้งภาษากายและใจช่วงน้ีจึงจัดเป็นช่วงพิเศษที่สุดการเปล่ียนแปลงของร่างกายใน ระยะผอ่ นคลาย 5. แนวทางในการจดั การกับอารมณ์ทางเพศของวัยรุ่น อารมณ์ทางเพศเป็นเรื่องธรรมชาติของเพศชายและเพศหญิง แต่เม่ือเกิดแล้วก็ควร จะต้องมีการจัดการกับอารมณ์ทางเพศอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับตนเอง และจะไม่ก่อให้เกิด

215 ปญั หาต่าง ๆ ตามมา จะเกดิ ขึน้ เมอ่ื ใดเปน็ เรือ่ งไมแ่ น่นอน แล้วแต่สถานการณว์ ่าจะมีสิ่งเร้ามากระตุ้น ให้เกิดอารมณท์ างเพศหรือไม่ การจดั การกบั อารมณ์ทางเพศนั้นสามารถแบ่งออกเปน็ 3 ระดับ ไดด้ ังน้ี ระดับท่ี 1 การควบคุมอารมณ์ทางเพศสามารถปฏบิ ตั ิ ได้ดงั นี้ 1) การควบคุมจิตใจของตนเอง ต้องพยายามควบคุมจิตใจตนเอง มิให้เกิดอารมณ์ ทางเพศ โดยการยึดมั่นศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย ควรฝึกนั่งสมาธิ ซ่งึ เป็นการควบคุมเพ่มิ มใิ หเ้ กิดอารมณ์ทางเพศได้ดีวธิ หี นึง่ 2) การปฏิบัติเพื่อระงับอารมณ์ทางเพศ โดยหลีกเล่ียงจากสิ่งเร้า เพื่อมิให้เกิดอารมณ์ ทางเพศ ซึ่งปฏบิ ัติได้ดังน้ี 2.1) หลีกเลี่ยงการดม การได้กลิ่น การอ่าน การฟัง การคิด และจินตนาการ ตลอดจนการสัมผสั ส่ิงที่จะนาไปสู่การเกิดอารมณ์ทางเพศ 2.2) ไม่ควรอยู่กันลาพังกับเพศตรงข้าม โดยฉพาะคนท่ีเป็นคู่รัก เพราะเป็นโอกาส ทีจ่ ะทาให้เกิดอารมณท์ างเพศ อาจมเี พศสัมพันธ์กนั ได้ 2.3) หลีกเลี่ยงการดูหนังสือหรือภาพยนตร์หรือส่ืออินเทอร์เน็ต ท่ีมีภาพหรือ ขอ้ ความทแ่ี สดงออกทางเพศซึง่ เป็นการย่วั ยใุ หเ้ กิดอารมณท์ างเพศ 2.4) หลีกเล่ียงสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดโอกาสการสัมผัสในลักษณะต่าง ๆ กับเพศ ตรงขา้ ม ซ่ึงการกระทาดังกล่าวมักก่อให้เกิดอารมณ์ทางเพศ อาจมีเพศสัมพันธ์ได้ เช่น การจับมือถือ แขน (10%) การกอดจบู (60%) การลบู คลา (80%) การเลา้ โลม (100%) 2.5) หลีกเลี่ยงและรู้จักปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนให้อยู่ในสถานท่ีที่จะนาไปสู่การเกิด อารมณ์ทางเพศได้ เช่น สถานเริงรมย์ต่าง ๆ สถานขายบริการทางเพศ การด่ืมแอลกอฮอล์ เครื่องดื่ม มึนเมาตา่ ง ๆ เป็นตน้ ระดับที่ 2 การเบย่ี งเบนอารมณท์ างเพศ เป็นการเปล่ียนแปลงพลังงานทางเพศให้อยใู่ น รปู ของกิจกรรมทีส่ ร้างสรรคต์ ่าง ๆ ซงึ่ มีหลายประการ ดงั นี้ 1) การประกอบกิจกรรมนันทนาการ คือ กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีทาให้บุคคลมีความรู้สึก สนกุ สนาน เพลิดเพลิน เกิดการพักผ่อน เชน่ การไปเท่ยี ว การรอ้ งเพลง การฟังเพลง การดูภาพยนตร์ การเลี้ยงปลา เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้เป็นส่ิงที่จาเป็นสาหรับมนุษย์ เพราะจะทาให้ใช้พลังงานของ ร่างกายไปกับกิจกรรมท่ดี สี ามารถชว่ ยลดอารมณท์ างเพศได้เปน็ อย่างดี 2) การเล่นกฬี าหรือออกกาลังกาย จัดเป็นกิจกรรมนันทนาการอย่างหน่ึง ท่ีทาให้ผู้เล่น ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน และทาให้ร่างกายแข็งแรง เป็นการใช้พลังงานท่ีเกิดประโยชน์ต่อ ร่างกาย เมือ่ ออกกาลังกายแลว้ จะเกิดการผอ่ นคลายความตึงเครยี ดทางเพศด้วย

216 3) ให้ความสนใจในเรื่องศิลปะและดนตรี การทางานศิลปะหรือการเล่นดนตรีจัดเป็น กิจกรรมนันทนาการอย่างหนึ่ง ทาให้เกดิ สนุ ทรยี ท์ างอารมณ์ทสี่ นุกสนาน เพลิดเพลิน ทาให้ไม่หมกมุ่น เกี่ยวกับเรือ่ งเพศ 4) การทางานต่าง ๆ เช่น งานบ้าน งานอดิเรก ทางานในวันหยุดหรือนอกเวลาเรียน การบาเพญ็ ประโยชน์ เป็นต้น เป็นการใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ และชว่ ยผ่อนคลายความตึงเครียด ทางเพศได้ ระดับที่ 3 การปลดปล่อยหรือระบายอารมณ์ทางเพศ หากเกิดอารมณ์ทางเพศขึ้น มาแล้ว ไม่สามารถเบ่ียงเบนอารมณ์ทางเพศได้ หรือไม่คิดท่ีจะเบี่ยงเบนอารมณ์เพศ สามารถที่จะ ปลดปลอ่ ยหรือระบายอารม์ทางเพศได้ สาหรบั วยั รนุ่ จะต้องรู้จักปลดปล่อยหรือระบายอารณ์ทางเพศ ที่ถกู ต้องและเหมาะสม ซงึ่ โดยท่ัวไปสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 วธิ ี คอื 1) การระบายโดยฝันเปียก โดยเฉพาะเพศชาย เรียกว่า ฝันเปียก (Wet Dream) แต่ก็ ไม่สามารถบังคับตนเองให้ฝืนได้ แต่การฝันอาจเกิดจากการนึกคิดถึงเรื่องทางเพศ หรืออาจเกิดจาก การมีน้าอสุจิที่อยู่ในถุงอสุจิถูกผลิตออกมาจะล้นไหลออกมาเป็นปกติ แต่การท่ีน้าอสุจิจะไหลมา ในขณะนอนหลับ หรือการฝันเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ ถือเป็นการปลดปล่อยและระบายอารมณ์ ทางเพศท่ดี อี ย่างหน่ึง 2) การระบายโดยการสาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง (Masturbation) เป็นการกระทาต่อ อวัยวะเพศของตนเอง ด้วยการกระตุ้นรู้สึกทางเพศ ซึ่งเป็นเรื่องปกติของมนุษย์ทั้งเพศชายและเพศ หญิงไม่ใช่เร่ืองน่าละอาย การสาเร็จความใคร่ด้วยตนเองเป็นการระบายความเครียดทางกามารมณ์ เม่ือกระทาแล้วรู้สึกผ่อนคลาย แต่ไม่ควรกระทาบ่อยและไม่ควรหมกมุ่นกับเร่ืองน้ีมากไป ควรทา กจิ กรรมอื่น ๆ ท่สี ร้างสรรค์ เชน่ เลน่ กฬี า เล่นดนตรี เปน็ ตน้ การสาเร็จความใคร่ด้วยตนเองน้ี นักจิตวิทยาส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่า ไม่มี ผลร้ายแรงต่อสุขภาพ แต่การบาบัดด้วยวิธีการท่ีถูกต้องเหมาะสมยังส่งผลให้สุขภาพทางกายและ ทางจิตของบุคคลดีข้ึนได้อีกด้วย แต่ก็ไม่ควรปฏิบัติบ่อยจนเกิคความหมกมุ่นในเร่ืองดังกล่าว ซึ่งก่อให้เกิดเป็นลักษณะนิสัยที่อาจส่งผลลบต่อบุคลิกภาพเละความเข้มแข็งทางด้านการควบคุม อารมณท์ ่ดี ีได้ ควรระลกึ ถงึ หลกั การปฏบิ ัตทิ ี่เกี่ยวข้องใน 5 ลักษณะสาคัญ คือ (สุชา จันทรเ์ อม, 2544) 2.1) คานงึ ถึงหลักความสะอาดเปน็ พนื้ ฐาน 2.2) คานกึ ถึงสถานท่ใี นการปฏิบตั ิ ความเปน็ สว่ นตวั ไมป่ ระเจดิ ประเจ้อ 2.3) ต้องไม่ปฏิบัติด้วยวิธีการรุนแรงเพราะอาจทาให้เกิดบาดแผลมีการอักเสบ ตดิ เช้อื ได้ 2.4) ไมห่ มกมุ่นเร่อื งนีม้ ากเกินไป

217 2.5) เม่ือทาไปแล้วไม่ควรวิตกกังวลว่าจะเกิดผลร้ายเพ ราะเป็นเร่ืองของ การปลดปล่อยอารมณ์ทางธรรมชาตทิ ่ไี ม่เปน็ อันตรายต่อรา่ งกาย การสาเร็จความใคร่ด้วยตนเองเป็นพฤติกรรมท่ีทาให้อารมณ์ทางเพศ ได้รับ การตอบสนองอย่างปกติ ข้ึนอยู่กับความแข็งแรงสมบูรณ์ และระดับฮอร์โมนทางเพศด้วย ผลเสียท่ี อาจจะเกิดข้ึนจากการสาเร็จความใคร่ด้วยตนเองก็มีเหมือนกัน ถ้าทามากเกินไปร่างกายเละจิตใจ อาจอ่อนเพลียและเสียเวลา หน้าท่ีการงานอื่น ๆ เพราะการมวั หมกมุ่นกับเรื่องเพศมากไปจะทาให้มี ความต้องการทางเพศมากจนไม่มีเวลาไปคิดเรื่องอื่นๆ ท่ีเป็นประโยชน์ ควรช่วยตัวเองแต่พอควร ถ้ายังมีอารมณ์ทางเพศอยู่ก็หาวิธีเบ่ียงเบนจิตใจไปสู่เร่ืองอ่ืน ๆ เช่น ทากิจกรรมกับเพ่ือน เล่นกีฬา หลีกเลี่ยงการอยู่ตามลาพังคนเดียวเพราะจติ ใจจะฟงุ้ ซ่าน คิดไปถึงเรื่องเพศไดง้ า่ ย การแสดงออกทางเพศ ทางออกทางเพศ (Sexual Outlet) เป็นวิธีการต่างๆ ท่ีมนุษย์ใช้เพ่ือความสมปรารถนา ในความพึงพอใจทางเพศ (Sexual Pleasure) โดยกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกทางเพศและตอบสนอง จนถึงจุดสุดยอด ทางออกทางเพศเป็นการปลดเปล้ืองความเครียดทางเพศ (Sexual Tension) อย่างไรก็ตาม เม่ือร่างกายถูกกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกทางเพศแล้ว จะโดยจงใจหรือไม่ก็ตาม มนุษย์อาจระงบั ความรสู้ ึกนี้ได้ โดยอาศัยสติปัญญาของบคุ คลน้ันและภาวะแวดลอ้ ม แตโ่ ดยท่ัวไปแล้ว ถ้าไม่มีความขัดข้องทางด้านวลา สถานท่ี และบุคคลแล้ว มนุษย์ส่วนใหญ่มักจะปฏิบัติทางออกทาง เพศน้ี ซึ่งก็มีได้หลาย ๆ รูปแบบ ดังนี้ (กิจจา บานชื่น ฐิณีวรรณ วุฒิวิกัยการ และวรฑา ไชยาวรรณ, 2562, น. 64-65) 1. ทางออกทางเพศท่อี าศัยตนเอง (Solitary Actives) 1.1 การสาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง (Masturbation) มนุษย์รู้จักวีธีนี้ ในการแสวงหา ความสมปรารถนทางเพศ ด้วยการกระตุ้นและตอบสนองการกระตุ้นทางเพศด้วยตนเองให้สมบูรณ์ จนถึงจุดสุดยอดมาต้ังแต่ระยะวัยแตกหนุ่มแตกสาว สาหรบั เพศชายนั้นมีอัตรา ไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ 90 ท่ีเคยใช้วิธีนี้เม่ืออายุ 15 ปี อัตราจะเพ่ิมเป็นเกือบร้อยละ 100 เม่ืออายุ 20 ปี ไม่ว่าจะเป็นสังคมใด ส่วนเพศหญงิ จะขนึ้ อย่กู บั สภาพของสังคม การสาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง สาหรับหนุ่ม ๆ การช่วยตัวเอง หรือท่ีมักพูดกัน ด้วยคาสแลงว่า “ชักว่าว” ก็คือ การสาเร็จความใคร่ด้วยตัวเองน่ันเอง หลายคนมักจะสงสัยหรือเกิด คาถามว่า การช่วยตัวเองไม่เป็นอันตรายไม่ว่าจะทาแบบไหน บ่อยเพียงไรก็ไม่มีปัญหา และไม่ทาให้ ตาบอดหรือเป็นบ้าอย่างที่เคยได้ยินโบราณเขาว่ากัน ท้ังยังไม่ทาให้ปวดหัวหรือเป็นโรคประสาทแต่ อย่างใด ท่ีสาคัญไม่ทาให้เตี้ยลงอย่างท่ีบางคนเข้าใจด้วย วัยรุ่นบางคนอาจมีการช่วยตัวเองบ่อย

218 นัน่ ไม่ถือว่าเป็นโรคทางจติ แต่อย่างใด เพราะไม่มีใครกาหนดวา่ ก่ีครั้งต่อวนั จึงจะถือวา่ บ่อย ขึ้นอยู่กับ ระดับความต้องการของแต่ละคนซ่ึงไม่เท่ากัน เหมือนการกินอาหารมากน้อยต่างกันน่ันเอง ท้ังนี้เพราะวัยรุ่นจะมีฮอร์โมนทางเพศสูง ระบบประสาทและระบบไหลเวียนของโลหิตทางานดี การตื่นตัวทางเพศและกิจกรรมทางเพศจึงมีมาก ถือเป็นภาวะปกติทางเพศ แต่หากรู้สึกวา่ การตื่นตัว ทางเพศเป็นส่ิงที่รบกวนจิตใจ และกิจกรรมทางเพศเปน็ เหตุทาให้คณุ เสยี เวลาในชีวิตมากขน้ึ ก็คงตอ้ ง พยายามหลกี เลีย่ งส่งิ เร้าอารมณ์ทางเพศดังกล่าวมาแลว้ ข้างตน้ สาหรับหญิงสาว มักพบว่าผู้หญิงส่วนใหญ่ไม่ค่อยยอมคุยถึงเรื่องนี้กันนักเพราะ กลัวถูกมองว่าเป็นผู้หญิงไฟแรงสูง หรือมีความต้องการทางเพศสูง แต่ในความเป็นจริงตามการวิจัย พบว่าผู้หญิงส่วนใหญ่มักจะสาเร็จความใคร่ด้วยตนเองกันท้ังน้ัน การช่วยตัวเองจึงเป็นสิ่งท่ีผู้หญิง ส่วนมากไม่ต้องการที่จะพูดถงึ แต่ก็ปฏบิ ัตกิ นั การช่วยตัวเองของผหู้ ญิงกม็ ีเป้าหมายเดยี วกันกับผชู้ าย นัน่ เพราะผู้หญิงเองก็มีความต้องการทางเพศเหมือนกัน การช่วยตวั เองสาหรับผู้หญิง คือ การลูบคลา บรเิ วณคลิตอริส หรอื ใช้น้ิวมือเคลอื่ นไหวเข้าออกในช่องคลอดจนถึงจุดสุดยอด ซึ่งจะมลี กั ษณะอาการ กลา้ มเน้อื บริเวณชอ่ งคลอดจะเกิดอาการรอ้ นผ่าว เกรง็ และเกดิ ความรสู้ ึกมีความสุขไปท่ัวทั้งร่างกาย การช่วยตัวเองสาหรับผู้หญิงไม่ใช่สิ่งท่ีเลวร้ายหรือส่ิงผิด แต่เป็นเรื่องของ การเรียนรู้ว่าอะไรเป็นส่ิงที่ตัวเองช่ืนชอบและยงั เป็นการสารวจร่างกายของตนเองอีกดว้ ย นอกจากน้ี มันยังช่วยให้ไม่เกิดการตั้งครรภ์ ไม่ติดโรคทางเพศสัมพันธ์ รวมทั้งโรคเอดส์ การช่วยตัวเองจึงเป็น ทางเลือกของผู้หญิงว่าจะเลือกทาหรือไม่ เราอาจสาเร็จความใคร่ด้วยตนเองหรือช่วยทาให้กับคู่ ของเราแทนการมเี พศสัมพนั ธก์ ันก็ได้ ก า ร ช่ ว ย ต น เอ ง เป็ น พ ฤ ติ ก ร ร ม ท่ี ท า ให้ อ าร ม ณ์ ท าง เพ ศ ได้ รั บ ก าร ต อ บ ส น อ ง อย่างปกติ ขึ้นอยู่กับความแข็งแรง สมบูรณ์ และระดับฮอร์โมนทางเพศด้วย ผลเสียท่ีอาจจะเกิดข้ึน จากการช่วยตัวเองก็มีเหมือนกัน ถ้าช่วยตัวเองมากไปร่างกายและจิตใจอาจออ่ นเพลียและเสียหน้าท่ี ดา้ นอ่ืน ๆ เพราะการหมกมุ่นกับเรื่องเพศมากไปจะทาให้มีความต้องการทางเพศมากจนไม่มีเวลาไป คิดเร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ ควรช่วยตัวเองแต่พอควร ถ้ายังมีอารมณ์ทางเพศอยู่ก็หาวิธีเบี่ยงเบน จิตใจไปสู่เรื่องอ่ืน ๆ เช่น หากิจกรรมกีฬา เพ่ือหลีกเลี่ยงการอยู่ตามลาพังคนเดียวเพราะจิตใจ จะฟุ้งซ่านคดิ ไปถึงเร่อื งเพศได้งา่ ย 1.2 การฝันทางเพศ (Nocturnal Sex Dream) เกิดขึ้นเองในขณะนอนหลับ ทั้งใน เพศชายและเพศหญิง แต่เพศชายมักจะมีการหล่ังอสุจิร่วมด้วย จึงเรียกว่า ฝันเปียก (Wet Dream) สว่ นเพศหญิงมแี ต่การถงึ จดุ สดุ ยอด 2. ทางออกทางเพศท่ีอาศยั ผูอ้ ื่น (Sociosexual Actives) 2.1 การมีความสัมพันธ์ทางเพศกับเพศตรงข้าม ได้แก่ การกอด จูบ ลูบคลา และ การมีเพศสัมพนั ธ์กบั ผ้อู นื่

219 2.2 การมีความสัมพันธ์ทางเพศกับเพศเดียวกัน ได้แก่ การมีความสัมพันธ์ทางเพศ ได้เฉพาะกับเพศเดียวกันเทา่ นั้น และการมีความสัมพันธท์ างเพศไดท้ ัง้ สองเพศ อทิ ธิพลทม่ี ีผลต่อพฤตกิ รรมทางเพศ อิทธิพลท่ีมีผลต่อพฤติกรรมทางเพศ มีดังนี้ (อุทุมพร แก้วสามศรี และคณะ, 2562, น. 104-105) 1. อิทธิพลจากครอบครัว การอบรมเล้ียงดูและได้รับความรู้ต่าง ๆ จากพ่อแม่และบุคคล ในครอบครัวซึ่งเป็นสถาบันแรก ถ้าครอบครัวใดท่ีพ่อ แม่และบุคคลในครอบครัวมีการศึกษา และถ่ายทอดสิ่งท่ีดีมีคุณค่ากับเด็ก เด็กก็จะได้รับการซึมซับส่ิงท่ีดีมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ แต่เด็ก ที่เกิดในครอบครัวท่ีเป็นแบบอย่างในทางไม่ดี พ่อแม่มีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เช่น พูดจาหยาบคาย ไม่สุภาพ และมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม เด็กก็จะซึมซับเอาพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องนั้นมาเป็น พฤติกรรมของตนเอง 2. อิทธิพลจากเพื่อน วัยรุ่นจะเป็นวัยที่ติดเพื่อน เชอ่ื ฟัง ความชอบพอรักใครข่ องเด็กที่อยู่ ในวัยเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน มีรสนยิ มและสนใจเรื่องตา่ ง ๆ เหมือนกนั เพื่อนจงึ มีอทิ ธพิ ลอย่างมาก ท้ังทางดีและไม่ดี ถ้าคบเพ่ือนที่ดีมาจากครอบครัวท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดี ก็จะได้เพ่ือนท่ีดี ชักชวนกันทา กจิ กรรมทด่ี มี ปี ระโยชนอ์ ยใู่ นกรอบระเบยี บท่ีดขี องสงั คม 3. อิทธิพลทางสังคม สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วจนทาให้คนในสังคม แตกต่างกัน ได้แก่ กลุ่มท่ีด้อยโอกาสทางการศึกษาอีกกลุ่มหนึ่งเกิดจากวิกฤติทางเศรษฐกิจ ทาให้มี สถานภาพทางสังคมเปล่ียนไปและกลุ่มที่ตามยุคสมัยจนเกินไป การเลียนแบบพฤติกรรมเบี่ยงเบน ทางเพศและพฤติกรรมผิด ๆ จากส่ือส่ิงพิมพ์ สื่อโทรทัศน์และอินเทอร์เน็ตมากจนเกินไปจึงทาให้ เกิดปัญหายากท่ีจะควบคุมได้เช่นในปัจุบัน วัยรุ่นปล่อยเน้ือปล่อยตัวมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่ยังเป็น นักเรยี น เป็นตน้ ในกรณที ไ่ี มส่ ามารถหลกี เล่ียงการมีเพศสัมพนั ธ์ได้จรงิ ๆ ก็ควรมีเพศสัมพันธอ์ ย่างปลอดภัย การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยมีความสาคัญ อย่างมากในการช่วยป้องกันปัญ หาจาก การมีเพศสัมพันธ์ คือ ป้องกันต้ังครรภ์ท่ีไม่พึงประสงค์ และป้องกันการการติดเช้ือโรคติดต่อจาก การมเี พศสัมพันธ์

220 การตอบสนองทางเพศและการมีเพศสมั พันธ์ เม่ือมนุษย์มีความต้องการทางเพศหรือถูกกระตุ้นอารมณ์ทางเพศ จะเกิดการเปลยี่ นแปลง ทางสรรี วิทยาของร่างกายเพ่ือให้พร้อมที่จะร่วมเพศได้ เรียกวา่ การตอบสนองทางเพศ ซงึ่ จะเกิดขึ้น ตามธรรมชาติและเป็นไปโดยอัตโนมัติเป็นขั้น ๆ ไปจนจบดว้ ยความสุขสุดยอด โดยทั่วไปแลว้ ลักษณะ การตอบสนองทางเพศของชายและหญงิ จะคล้ายกนั แตร่ ะยะเวลาของการตอบสนองทางเพศในแตล่ ะ คนอาจแตกต่างกันไป ท้ังนี้ก็ข้ึนอยู่กับวัย ประสบการณ์ การฝึกฝนจนเป็นนิสัย สภาพของอารมณ์ จติ ใจ ส่ิงแวดล้อม ตลอดจนสุขภาพรา่ งกายและผลของยาหรือสารบางอย่าง มาสเตอร์และจอห์ น สัน (William H. Masters and Virginia E. Johnson) ซึ่งเป็น สตู นิ รีแพทย์และนกั สังคมสงเคราะหช์ าวอเมรกิ ัน ได้ศึกษาการเปลยี่ นแปลงทางร่างกายต่อการกระตุ้น อารมณ์เพศของมนุษย์อย่างละเอียดท้ังชายและหญิง จานวน 600 คน ท่ีมีอายุระหว่าง 18-89 ปี โดยทาการทดลองมากกวา่ 2,500 คร้ัง (สุขติ เผา่ สวสั ด์ิ และคณะ, 2534, น. 440) พบวา่ เม่ือมนษุ ย์มี ความตอ้ งการทางเพศ หรอื ถกู กระต้นุ ทางเพศจะเกิดกระบวนการเปล่ียนแปลงของร่างกาย 2 ประการ คือ (จนั ทรว์ ิภา ดิลกสมั พันธ์, 2548, น. 90-100) 1. เกิดการคงั่ ของเลอื ดดาทัว่ ร่างกาย โดยเฉพาะที่บริเวณอวยั วะเพศ 2. เกดิ การบบี รดั ตัวเปน็ จังหวะของกล้ามเนื้อทีอ่ วัยวะเพศ และกลา้ มเน้ือใกล้เคียง ซึง่ กระบวนการทั้งสองนี้ถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของร่างกายท้ังชายและหญิง เม่ือมีการตอบสนองทางเพศ และการมีเพศสัมพันธ์เป็นลาดับข้ันตอน 4 ระยะ ได้แก่ 1. ระยะกระตุ้นหรือระยะตื่นตัวทางเพศ (Excitement Phase) เป็นระยะที่เริ่มเกิดความรู้สกึ ทางเพศ อันอาจเน่ืองมาจากการกระตุ้นด้วยรูป รส กล่ิน เสียง สัมผัส หรือความคิดฝัน ร่างกายท่ัวไปจะเกิดความเครียด เห็นได้จากมีการค่ังของเลือดดา และการตงึ ตัวของกล้ามเนอื้ ลดลง มกี ารหายใจถีแ่ รง การเตน้ ของหัวใจและความดันเลือดเพิ่มขนึ้ ฝ่ายชาย เม่ือได้รับการกระตุ้นทางเพศไม่ว่าจะด้วยวิธีการใด ๆ องคชาตจะขยายใหญ่ และต้ังแข็ง เน่ืองจากมีการค่ังของเลอื ดดาภายในองคชาต ผิวหนังท่ีหุ้มอัณฑะจะหนาขึ้น และอัณฑะ จะเคล่ือนสูงกว่าระดับปกติ เพราะมีการหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื ทีย่ ดื อยู่ ฝ่ายหญิง เพียง 10-30 วินาทีของการกระตุ้นทางเพศก็จะมีน้าเมือกใส ๆ ซึมออกมา ตามผนังของช่องคลอดเป็นเม็ด ๆ คล้ายเหงื่อ น้าเมือกน้ันนอกจากจะช่วยหล่อลื่นช่องคลอดเพ่ือ เตรียมรับการสอดใส่ขององคชาตแล้ว ยังมีสภาพเป็นดา่ งอ่อนๆ เพ่ือลดสภาพความเปน็ กรดตามปกติ ภายในช่องคลอดให้เปน็ กลาง ซงึ่ จะชว่ ยอสจุ ใิ หม้ ีชีวิตอยไู่ ด้

221 ระยะนี้อาจใช้เวลาตั้งแต่เป็นนาทีจนถึงเป็นช่ัวโมง ซึ่งความรวดเร็วและปริมาณของ การเปลย่ี นแปลงดงั กลา่ วขา้ งต้น จะขึ้นกบั แต่ละบคุ คลและวิธีการกระตนุ้ อารมณเ์ พศ 2. ระยะเสยี ว (Plateau Phase) ระยะน้ีใช้เวลาประมาณ 30 วินาทีถึง 3 นาที ถ้าเป็นการมีเพศสัมพันธ์อย่างปกติก็จะ เร่ิมต้ังแต่ฝ่ายชายสอดใส่องคชาตเข้าไปในช่องคลอดของฝ่ายหญิง และมีการเสียดสีกันระหว่าง องคชาตและช่องคลอด เป็นระยะที่ตื่นตัวทางเพศอยู่ในระดับสูงจนใกล้จะถึงจุดสุดยอด การค่ังของ เลอื ดดาจะถงึ ขีดสดุ กล้ามเนอ้ื จะเกร็งตวั มาก ฝ่ายชาย องคชาตจะขยายตัวเต็มที่ อัณฑะจะขยายใหญ่ข้ึนประมาณครึ่งหน่ึงของ ขนาดปกติ มีการหดตัวของกล้ามเนื้อท่ีถุงอัณฑะและกล้ามเน้ือที่ยึดอัณฑะ ทาให้พวงอัณฑะถูกยก สงู ขน้ึ และอาจมีน้าเมือก 2 - 3 หยดไหลออกมาจากต่อมขบั นา้ เมือก ซง่ึ กอ็ าจมตี วั อสจุ ิปนออกมาด้วย ฝ่ายหญิง น้าเมอื กจะหล่ังออกมาจากผนังช่องคลอดและต่อมขับน้าเมือกมากขึ้นกว่าใน ระยะกระตุ้น เพ่ือช่วยหล่อลื่นให้การเคล่ือนเข้า-ออกขององคชาตในช่องคลอดเป็นไปได้ดีขึ้น ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายท่ีเด่นชัดที่สุดในระยะน้ีก็คือผิวหนัง โดยเฉพาะหญิงท่ีมีผิวขาว ผิวจะกลายเป็นผ่ืนสีชมพู เป็นจุด ๆ เรียกว่า เซ็กซ์ชัว (Sexual Flush) ซ่ึงมักจะเร่ิมเกิดขึ้นที่บริเวณ หน้าท้อง แล้วค่อย ๆ แผ่ไปท่ีบริเวณเต้านม อก คอ ใบหน้า และอาจแผ่ไปท่ีแขน ต้นขา หรือก้น ลักษณะคลา้ ยกบั ผ่นื แดงในเดก็ ท่ีเป็นหัด 3. ระยะออร์กาสซมึ หรอื ระยะจุดสดุ ยอด (Orgasmic Phases) ระยะนี้กินเวลาเพียงแค่ 3 - 15 วินาทีเท่านั้น เป็นระยะท่ีมีความสุขมากที่สุด ชีพจร จะเต้นเร็วข้ึนเป็น 110 – 180 ครั้งต่อนาที อัตราการหายใจเร็วขึ้นถึง 40 คร้ังต่อนาที และ ความดันโลหติ สูงขึน้ ฝา่ ยชาย มกี ารเปลย่ี นแปลงท่แี บง่ ไดเ้ ป็น 2 ระยะ คือ - ระยะทม่ี ีความรู้สกึ เหมือนจะกลั้นการหลั่งน้ากามไว้ไมไ่ ดแ้ ลว้ เพราะน้าจากส่วนต่าง ๆ ของระบบสืบพันธ์ุชาย เช่น จากต่อมลูกหมาก จากท่อน้าอสุจิจะไหลไปอยู่ที่ท่อปัสสาวะส่วนต้น ทาให้เกิดความรู้สึกอยากหลั่งน้ากามเต็มที่ ความรู้สึกนี้จะเกิดอยู่ราว 4 วินาที แล้วก็จะกล้ันไม่ได้ ซงึ่ ระยะน้ีฝ่ายชายมกั จะส่งเสยี งร้องออกมาดว้ ย - ระยะที่มีการหล่ังน้ากามจริงๆ เนอื่ งจากมีการหดรัดตัวของกล้ามเน้ือของทอ่ ปสั สาวะ สว่ นที่อยใู่ นองคชาตเป็นจังหวะ ๆ ประมาณ 3 – 7 ครั้ง ห่างกันครั้งละประมาณ 0.8 วินาที ร่วมกับ การปิดของหูรูดกระเพาะปัสสาวะ ทาให้น้าอสุจิพุ่งออกมาและร่างกายจะสั่น ซ่ึงความรุนแรงของ การพุ่งน้ีข้ึนอยู่กับอายุ ถ้าอายนุ ้อยจะพุ่งไปได้ไกลถึง 12 - 24 เซนติเมตร แตถ่ ้าอายุมากน้าอสุจิอาจ แค่ไหลซมึ ออกมาเทา่ นนั้

222 ฝ่ายหญิง ผ่ืนสีชมพูท่ีเกิดข้ึนตามส่วนต่างๆ ของร่างกายในระยะเสียวนั้นจะมีสีเข้มขึ้น และจะเด่นชัดท่ีสดุ เมื่อลว่ งมาถึงระยะออรก์ าสซมึ น้ี ในขณะท่ีมีออร์กาสซึม กล้ามเนอื้ มดั ใหญ่ๆ ในรา่ งกายแทบทัง้ หมดทเ่ี ร่ิมเกรง็ ตัวมากขึ้น เร่ือย ๆ ต้ังแต่ในระยะกระตุ้นและระยะเสียว จะมีการเกร็งตัวสูงสุดจนถึงขึ้นสปาสซึม (Spasm) เมือ่ บรรลุจุดสุดยอด โดยเฉพาะกล้ามเนือ้ บริเวณใบหน้าจะบิดเบี้ยวเขม็งเกลียว มองดูเหมือนคนกาลัง ได้รับความเจ็บปวดอย่างสุดขีด กล้ามเน้ือหน้าท้องก็จะมีการเกร็งตัวอย่างมาก รวมทั้งกล้ามเน้ือ บริเวณแก้มก้นด้วย กล้ามเนื้อบริเวณนิ้วมือ น้ิวเท้า ข้อมือ และข้อเท้า จะมีการหดเกร็งอยา่ งมากถึง ขั้นสปาสซึม ทาให้มือเท้าหงิกงอ โดยเฉพาะนิ้วมือจะเกร็งหงิก แข็ง การหดเกร็งและสปาสซึมของ กล้ามเนื้อต่าง ๆ จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ท่าของการร่วมเพศ แต่ส่วนมากจะรุนแรงจากการสาเร็จ ความใครด่ ้วยตนเอง หรอื การกระตุ้นดว้ ยวธิ อี ื่น ๆ มากกวา่ การมีเพศสัมพนั ธ์โดยตรง ในขณะกาลังถึงจุดออร์กาสซึมน้ัน ความร้สู ตจิ ะเลือนไปชั่วขณะหนึ่ง ประสาทรบั สมั ผัส ทั้งห้าและสมองแทบจะไม่ยอมรับรอู้ ะไรในสิ่งแวดล้อมรอบตัวขณะนัน้ แต่ไม่ถึงกับหมดสติเสียทีเดียว การหายใจเข้าออกซ่ึงเริ่มถี่ข้ึนในช่วงหลังของระยะเสียวก็ยิ่งหายใจหอบถ่ีข้ึน เม่ือถึงออร์กาสซึม ออร์กาสซึมย่ิงรุนแรงการหายใจก็ยิ่งหอบถ่ีมากขึ้น จนอาจถึง 40 ครั้งต่อนาที (ยามปกติอัตรา การหายใจประมาณ 12 คร้ังต่อนาที) อัตราการเต้นของหัวใจขณะออร์กาสซมึ อาจเร็วถึง 110 - 180 คร้ังต่อนาที (ยามปกติอัตราการเต้นของหัวใจประมาณ 70 - 80 คร้ังต่อนาที) ความดันเลือดในขณะ ออร์กาสซมึ นจ้ี ะเพ่ิมข้ึนจากเดิม 40 - 100 มิลลิเมตรปรอท ในขณะหัวใจบีบตัว (Systolic Pressure) และเพ่ิมข้ึนจากเดิม 20 - 50 มิลลิเมตรปรอท ในขณะที่หัวใจคลายตัว (Dyastolic Pressure) ซ่ึง การเปล่ียนแปลงทั้งหมดน้ีแสดงให้เห็นว่า เมื่อถึงจุดสุดยอด ปอดและหัวใจต้องทางานหนักข้ึน อยา่ งมาก แต่กเ็ พียงช่วั ระยะวลาไมก่ วี่ นิ าทเี ทา่ น้ัน เมอื่ ผ่านจดุ สดุ ยอดไปแล้วก็จะเขา้ สู่ระยะคืนกลบั 4. ระยะคนื กลบั (Resolution phase) เป็นระยะสุดท้ายของการตอบสนองทางเพศ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายโดยท่ัวไป และท่ีอวยั วะเพศจะกลับคนื สู่สภาพปกติ เลอื ดจะไหลกลับออกไปจากอวัยวะเพศและการคง่ั ของเลอื ด จะลดลง ซ่ึงกินเวลาเพียง 10 – 15 นาที แต่หากเพศสัมพันธ์น้ันมีอุปสรรคด้วยเหตุใดก็ตาม ทาให้อารมณ์เพศสะดุดหยุดลงจนไม่สามารถไปถงึ จุดสุดยอดได้ ระยะคืนกลับนี้ก็จะต้องใช้เวลานาน กวา่ ปกติจนอาจนานเปน็ วัน ๆ ก็ได้ ฝ่ายชาย องคชาตจะค่อย ๆ อ่อนตัวและลดขนาดลง เพราะการคั่งของเลือดดาลดลง ขนาดขององคชาตจะลดขนาดลงเร็วขึ้นเม่ือฝ่ายชายอายุมากขึ้น การอ่อนตัวขององคชาตจะต้อง เกิดขึน้ อยู่ระยะหน่ึงก่อนที่จะสามารถแข็งตัวขึ้นใหม่ได้ เรียกว่า ระยะพักฟื้น (Refractory Perinod) ซึ่งระยะนจ้ี ะยาวนานข้ึนเม่ืออายมุ ากข้นึ เช่นเดยี วกัน

223 ฝ่ายหญิง หญิงบางคนอาจมีความสุขสุดยอดได้หลายๆ คร้ังโดยไม่ต้องมีระยะพักฟ้ืน ถ้าฝ่ายชายสามารถกระตุ้นอารมณ์เพศได้นานพอหรือใช้เคร่ืองมือช่วย ในระยะคืนกลับน้ีผื่นสีชมพู ตามผิวหนังส่วนต่าง ๆ จะเริ่มเลือนหายไป โดยผืนในบริเวณที่เกิดทีหลังจะจางหายไปก่อนผื่นที่เกิด ทีแ่ รกพรอ้ มกบั มีเหงือ่ ซึมออกมาบาง ๆ แทนท่ี การตอบสนองทางเพศของชายและหญิงประกอบด้วย 4 ระยะเหมือนกัน แต่ลักษณะ และความรุนแรงของการตอบสนองทางเพศจะแตกต่างกันออกไป ผู้ชายส่วนใหญ่ลักษณะและ ความรุนแรงของการตอบสนองทางเพศเกิดคล้ายๆ กัน จะผดิ กนั ก็ตรงท่ีระยะเวลา เชน่ บางคนระยะ ต่ืนตัวทางเพศและระยะเสียวสั้น ทาให้หลั่งน้ากามเร็ว แต่บางคนสองระยะนี้นาน โดยทั่วไปก็ ประมาณ 3-4 นาที และคนที่หลั่งน้ากามได้จะมีความสุขทางเพศเหมือน ๆ กัน ยกเว้นกรณีที่มี การหลั่งน้ากามหลายคร้ังในระยะเวลาใกล้ ๆ กัน ความสุขสุดยอดจากการร่วมเพศคร้ังหลงั ๆ อาจไม่ เท่าคร้ังแรก จึงมีผู้ตั้งข้อสังเกตว่า ความรุนแรงของความสุขสุดยอดทางเพศ อาจมีความสัมพันธ์กับ จานวนน้ากามที่หล่งั ออกมาก็ได้ สาหรับผู้หญิงแต่ละคน ความรุนแรงของความสุขสุดยอดแตกต่างกันมาก บางคนอาจ รู้สึกเหมือนกับแผ่นดินไหว ในขณะท่ีบางคนรู้สึกเพียงซู่ซ่าเท่านั้น นอกจากความรุนแรงแล้ว ระยะเวลาและลักษณะของความสุขสุดยอดของผู้หญิงแต่ละคนยังแตกต่างกันด้วย บางคน การตอบสนองทางเพศอาจเกิดขน้ึ รวดเรว็ ใชเ้ วลาไม่นานกถ็ ึงระยะท่ีมีความสุขสุดยอดและก็จะลดลง อย่างรวดเร็วเช่นกัน บางคนความรู้สึกทางเพศค่อย ๆ เพ่ิมขึ้นจนถึงระยะเสียวก็หยุดไม่ดาเนินต่อไป ถึงขั้นมีความสุขสุดยอด คงอยู่ระดับน้ันสักพักแล้วจึงค่อย ๆ ลดลงช้า ๆ แต่บางคนค่อย ๆ เพิ่มข้ึน จนถึงระยะเสียวและระยะท่ีมีความสุขสุดยอด แล้วจึงค่อย ๆ ลดลงมาระดับหนึ่งซ่ึงไม่ถึงระดับปกติ และกลบั ข้ึนไปสรู่ ะยะทีม่ คี วามสุขสุดยอดใหม่ไดอ้ ีกหลาย ๆ คร้งั ตดิ ตอ่ กัน

224 ภาพที่ 5.2 การเปลยี่ นแปลงของอวยั วะสบื พนั ธ์ุเพศชายเมือ่ มีเพศสมั พนั ธ์ ที่มา: จันทรว์ ิภา ดลิ กสัมพันธ์ (2548, น. 91)

225 ภาพท่ี 5.3 การเปล่ยี นแปลงของอวัยวะสบื พนั ธุ์เพศหญิงเมอ่ื มเี พศสัมพันธ์ ท่มี า: จันทรว์ ภิ า ดิลกสมั พันธ์ (2548, น. 92) ผชู้ ายทั่วไปจะมีความต้องการและสมรรถภาพทางเพศสงู ในวัยรุ่น บางคนความต้องการ อาจสูงถึง 4 - 8 ครั้งใน 1 วัน และสามารถร่วมเพศได้เกือบจะติดต่อกันวนั ละหลาย ๆ ครั้ง แตพ่ อเริ่ม เข้าสู่วัยผู้ใหญ่ความต้องการและสมรรถภาพทางเพศจะค่อย ๆ ลดลง ซึ่งตรงกันข้ามกับผู้หญิง ความต้องการและการตอบสนองทางเพศกลับดีข้ึนเม่ืออายุมากข้ึน โดยเฉพาะระหว่างปลายอายุ 30 ถึง ต้นอายุ 40 ปี ท้งั นี้เพราะการตอบสนองทางเพศของผู้หญิงข้นึ กบั ประสบการณ์และความม่นั ใจ ในชีวิตสมรสมากกว่าความสมบูรณ์ของร่างกายเช่นในผู้ชาย ยิ่งกว่าน้ันความสามารถในการหลั่ง น้ากามของผู้ชาย ยิ่งกว่านั้นความสามารถในการหล่ังน้ากามของผู้ชายยังลดลงตามอายุด้วย ในผชู้ ายสูงอายุองคชาตอาจแข็งตวั ได้แต่ไม่สามารถหลัง่ น้ากาม ซ่ึงผดิ กับฝ่ายหญิงที่สามารถมคี วามสุข สุดยอดได้จนถึงวัยชรา อย่างไรก็ตามเมื่ออายุมากขึ้นแรงกระตุ้นทงเพศและความสมบูรณ์หรือ ความรุนแรงของการตอบสนองทางเพศจะลดลงเหมอื น ๆ กันทง้ั ชายและหญงิ

226 ตารางที่ 5.1 ลกั ษณะของอารมณเ์ พศและการตอบสนองทางเพศของผชู้ าย ลักษณะ การตอบสนอง อารมณ์เพศและการตอบสนอง รุนแรงทส่ี ุดเมอื่ อายนุ ้อย (วัยรุ่น) การแข็งตัวขององคชาต ในวยั รุน่ จะแขง็ ตัวได้เรว็ มาก แตเ่ มื่ออายุมากขน้ึ ความสขุ สดุ ยอดทางเพศ อาจตอ้ งอาศยั การกระตุ้นทอ่ี งคชาตช่วย - ความตอ้ งการทางเพศ สูงสุดในวยั หนมุ่ อาจถึง 4 - 8 ครั้งตอ่ วนั - ความแรงในการหล่งั นา้ กาม เมอ่ื อายุ 30 ปขี ึน้ ไปความตอ้ งการจะลดลง และเม่ืออายุ 50 - 60 ปีอาจเหลือเพียง - การลดขนาดและการอ่อนตวั ขององคชาต 1 - 2 คร้งั ต่อสปั ดาห์ หลงั จากการหลั่งนา้ กาม ในวยั ร่นุ อายุ 17 - 18 ปี จะแรงมากถึง ระยะพักฟน้ื 12 - 24 ซม. แล้วจะค่อย ๆ อ่อนลงตามอายุ เม่ืออายุ 60 ปหี รือสูงกว่านัน้ จะเพยี งแค่ไหลซึม ออกมา ในวยั รุน่ จะช้า แต่เม่อื อายมุ ากขน้ึ จะเรว็ ขึ้น ในวยั ร่นุ จะสน้ั มากเพยี งไมก่ ีว่ นิ าที - 1นาที แต่เมอื่ อายุมากข้ึนระยะน้จี ะนานข้นึ เรอื่ ย ๆ เม่อื อายุมากกวา่ 50 ปี ระยะนี้จะนานประมาณ 12 - 24 ชั่วโมงหลงั หลั่งนา้ กาม ตารางท่ี 5.2 ลักษณะของอารมณเ์ พศและการตอบสนองทางเพศของผู้หญงิ ลกั ษณะ การตอบสนอง ความตอ้ งการทางเพศ ค่อยๆ ลดลงเม่ืออายมุ ากขึน้ การตอบสนองทางเพศ จะสูงสดุ ในปลายอายุ 30 ปถี งึ ต้นอายุ 40 ปี และยังคงอยถู่ า้ มโี อกาสที่จะรว่ มเพศตอ่ ไป ในวยั 50 ปี ถ้าไมม่ โี อกาสรว่ มเพศ การตอบ สนองทางเพศกจ็ ะลดลงอยา่ งรวดเร็ว

227 ลกั ษณะ การตอบสนอง - น้าหลอ่ ล่ืนในชอ่ งคลอด จะน้อยลงเมอื่ อายมุ ากขนึ้ - ความสขุ สดุ ยอดทางเพศ สามารถมไี ดจ้ นถงึ วัยชรา ในปลายอายุ 30 ปี ถึงต้นอายุ 40 ปี ผหู้ ญงิ จะมีความสขุ สดุ ยอด - กาารรัดตวั ของกล้ามเน้อื ขณะมคี วามสขุ ได้งา่ ยและรุนแรงกว่าวัยอ่นื สดุ ยอด จานวนคร้ังและความแรงจะลดนอ้ ยลงจาก 5 -6 คร้งั เมื่ออายุ 30 ปี เป็น 1 - 3 คร้งั เมื่ออายุ 70 ปี สาเหตุของการมเี พศสมั พันธ์ การมีเพศสมั พันธ์ของมนุษยม์ สี าเหตจุ ากปจั จยั 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ปจั จยั ด้านชวี วทิ ยา (Biology) อิทธิพลของฮอร์โมนเพศมีผลต่อการเปล่ียนแปลงทั้งด้านร่างกายและจิตใจของวัยรุ่น หนุ่มสาว ทาให้เกิดแรงขับทางเพศ (Sex drive) โดยธรรมชาติ ทาให้สนใจอยากรู้อยากเห็นในเร่ือง เพศมากขน้ึ จนถึงขน้ั อยากทดลองมเี พศสัมพันธ์ และมีเพศสัมพันธใ์ นทส่ี ดุ 2. ปจั จยั ดา้ นจติ วทิ ยา (Phychology) จิตสานึกของความเป็นหญิง (Feminity) ที่ทาให้เกิดความรู้สึกต้องการมีบทบาทเป็น ภรรยา (Role of wife) และบทบาทเปน็ มารดา (Role of mother) จะผลกั ดันให้ผู้หญิงมีเพศสมั พนั ธ์ ได้เช่นเดียวกับจิตสานึกของความเป็นชาย (Masculinity) ที่ทาให้เกิดความรู้สึกต้องการมีบทบาท เป็นสามี (Role of Husband) และบทบาทเป็นพ่อ (Role of Father) ก็จะมีผลเช่นเดียวกัน ซึ่งโดยธรรมชาติของมนุษย์ทุกคนย่อมต้องการความรัก ต้องการท่ีจะรักและเป็นผู้ถูกรัก ต้องการเป็นเจ้าของ และต้องการความอบอุ่นทางใจ ดังนั้นถ้ าบุคคลใดประสบปัญหาขาด ความสัมพันธ์ท่ีดีกับครอบครัว ขาดความรัก ขาดความอบอุ่น ขาดคนเข้าใจ หรือมีปัญหา กระทบกระเทือนจิตใจไม่ว่าในทางใด ๆ ก็ตาม ก็อาจทาให้ต้องแสวงหาความสัมพันธ์กับเพศตรงข้าม เพอื่ มาชดเชยหรือสร้างความพึงพอใจใหแ้ ก่ตนเอง และมเี พศสัมพนั ธต์ ามมาได้ 3. ปัจจยั ดา้ นสงั คมวิทยา (Sociology) สังคมเป็นผกู้ าหนดบทบาทและการแสดงออกทางเพศ ซ่ึงปัจจุบนั อารยธรรมตะวันตกได้ เข้ามามีอิทธิพลอย่างมากในสังคมไทย รูปแบบการดาเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ชายและหญิงมีอิสระ ในการติดต่อคบหากันมากข้ึน เกิดมีสถานบริการและสถานเริงรมย์ในรูปแบบใหม่ ๆ ที่ส่งเสริม ความใกล้ชดิ และความสัมพันธ์ระหว่างชายหญิง รวมท้ังสื่อสารมวลชนแขนงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์ นิตยสารหรอื สิ่งตีพิมพ์อื่น ๆ ท่ีเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเก่ียวข้องกับ

228 ความรัก ความใคร่ การมคี ู่รัก ความสุขสนุกสนานในการมีคู่รกั คู่ควง มีการแสดงออกถงึ ความใกล้ชิด สนิทสนมระหว่างชายหญิงกันมากขึ้น การแสดงออกทางเพศท่ีเป็นการรักนวลสงวนตัวน้อยลง การได้เห็นแบบอย่างตามกระแสอารมณ์และสังคมเหล่านี้ ย่อมมีผลต่อพฤติกรรมทางเพศและ ผลักดันใหม้ เี พศสมั พันธก์ นั ได้ จงึ พบว่าการมีเพศสัมพันธ์หรือการได้เสียกันกอ่ นแต่งงานของหนมุ่ สาวในปจั จบุ ัน มีโอกาส เกิดขึ้นมากกว่าในอดีต และสาเหตุชักนาท่ีทาให้ชายและหญิงมีหรือไม่มีเพศสัมพันธ์กันก่อนแต่งงาน (Kinsey, et al. 1953, p. 307 - 309) มีดงั นี้ 1) เปน็ การสนองความตอ้ งการทางเพศของชายและหญิง 2) เปน็ การพสิ ูจน์ความสามารถทางเพศ 3) เพื่อความสนกุ สนาน สนองความต้องการทางกายและใจ 4) เปน็ การเตรยี มตัวก่อนเข้าสภู่ าวะสมรสจริง 5) เป็นการปรบั ความตอ้ งการทางเพศทัง้ สองฝา่ ยเขา้ หากนั 6) เพ่อื จะไดท้ ราบถงึ ปัญหาและความต้องการของอกี ฝ่ายหนงึ่ กอ่ นการสมรส 7) เพอ่ื เปน็ การทดสอบว่าจะไปกนั ไดห้ รือไม่ในเร่ืองเพศรส 8) เป็นการทดสอบว่าตนมีความปกติทางเพศหรือไม่ คือ มีความต้องการร่วมเพศกับ เพศตรงข้าม (Heterosexual Intercourse) ไดเ้ ปน็ ปกติ 9) เพือ่ เป็นการผกู มดั ฝา่ ยตรงขา้ มไว้ 10) เป็นพฤตกิ รรมทแ่ี สดงความนิยมของสงั คม สว่ นสาเหตุทีท่ าใหไ้ มม่ เี พศสัมพนั ธก์ อ่ นแต่งงาน มดี งั น้ี 1) กลวั การต้ังครรภ์นอกสมรส 2) กลัวอนั ตรายจากการทาแท้ง 3) กลวั ติดโรคทางเพศสัมพนั ธ์ 4) มคี วามละอายใจ รสู้ ึกผดิ 5) กลัวเสียชือ่ เสียง กลัวจะล่วงร้ถู งึ คนอนื่ 6) กลัวจะขัดกับค่านิยมของสังคมที่ยังเชื่อว่า การมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงานเป็น เร่อื งผิดศลี ธรรม 7) กลวั ว่าจะตอ้ งแตง่ งานโดยทีย่ งั ไมต่ ้องการอยา่ งแท้จรงิ 8) กลัวถกู ทอดทงิ้ รงั เกียจ หรือหมดรัก หมดเยื่อใย หมดคณุ ค่า 9) กลวั ว่าไม่มีคนมาขอแต่งงานดว้ ย (โดยเฉพาะผูห้ ญงิ ) 10) อาจไม่มีโอกาสท่ีจะไดก้ ระทา

229 การที่หญงิ ชายจะมีเพศสัมพนั ธ์กันกอ่ นแต่งงานหรือไม่นั้น ย่อมขน้ึ อยู่กับเหตุผลของตนเอง เป็นสาคัญ เพราะถ้าเป็นความต้องการของทั้งสองฝ่ายก็คงจะไม่มีใครสามารถท่ีจะควบคุมได้ แมแ้ ตส่ ถาบันครอบครัว ซ่ึงในปัจจุบันไม่อาจจะทาหน้าที่ในการติดตามดแู ลพฤตกิ รรมของหนุ่มสาวได้ อย่างใกล้ชิดเหมือนอดีตได้ แต่อย่างไรก็ดีการที่ชายหญิงจะมีพฤติกรรมทางเพศดังกล่าวหรือไม่นั้น ส่วนหนึง่ กข็ ้ึนอยู่กับพื้นฐานการอบรมส่ังสอนของครอบครัวเปน็ สาคัญโดยเฉพาะในเร่ืองเพศ บทบาท การวางตวั และการปฏบิ ตั ติ ่อเพศตรงขา้ ม วัยรนุ่ กบั เพศสมั พันธ์ เพศสัมพันธ์เป็นข้ันตอนหน่ึงของการสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นสิ่งที่เกิดข้ึนจากปัจจัย ทางธรรมชาติของร่างกายเพื่อการสืบเผ่าพันธุข์ องมนษุ ยน์ ่ันเอง เม่ือมีการรว่ มเพศกนั จนถึงจุดสดุ ยอด ตวั อสุจิของชายหนุ่มก็หล่ังออกมาภายในช่องคลอดของหญิงสาว จากนั้นตัวอสุจิจะแหวกว่ายเขา้ ไปใน มดลูกเพื่อไปพบกับ “ไข่” ของหญิงสาว ตัวอสุจิท่ีแข็งแรงท่ีสุดเพียง 1 ตัว สามารถไชเข้าไปภายใน ไข่ได้ และผสมกับไข่เกิดเป็นตัวอ่อนของเด็ก เราเรียกการผสมระหว่างตัวอสุจิและไข่น้ีว่ า “การปฏิสนธิ” วัยรุ่นเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่วุฒิภาวะท้ังร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม จึงนับวา่ เป็นวิกฤติช่วงหนงึ่ ของชีวติ เนื่องจากเป็นช่วงตอ่ ของวัยเดก็ และผู้ใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ระยะต้นของวัยจะมีการเปล่ียนแปลงมากมายเกิดขึ้น ซ่ึงการเปล่ียนแปลงดังกล่าวจะมีผลต่อ ความสัมพันธ์ระหว่างวัยรุ่นด้วยกันเอง และบุคคลรอบข้าง หากกระบวนการเปล่ียนแปลงดังกล่าว เป็นไปอย่างเหมาะสม โดยการดูแลเอาใจใสใ่ กล้ชดิ จะช่วยให้วัยรุ่นสามารถปรับตัวได้อยา่ งเหมาะสม บรรเทาปัญหาต่าง ๆ ท่ีอาจจะเกิดข้ึน และเป็นท้ังแรงผลักดันและแรงกระตนุ้ ให้พฒั นาการด้านอื่น ๆ เปน็ ไปดว้ ยดี วัยรุ่นเป็นวัยท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งร่างกายจิตใจ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลง ทางเพศ วัยรุ่นจะเริ่มให้ความสนใจต่อเพศตรงข้ามเร่ิมมีความรู้สึกทางเพศ ประกอบกับเป็นวัยท่ี อยากรู้อยากลอง มีการแสดงออกทางอารมณ์ท่ีรุนแรงและอาจยังมีความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องนักใน เร่ืองเพศ รวมท้ังสภาพแวดล้อมในปัจจุบันท่ีมีปัจจัยและสถานการณ์ท่ีย่ัวยุชักนาให้ว้รุ่นมีพฤติกรรม ทางเพศทไี่ ม่เหมาะสมได้ง่าย และอาจนามาซ่งึ การมีเพศสัมพันธ์และการต้ังครรภโ์ ดยไม่ต้ังใจท่ีจะทา ให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ตามม เช่น เป็นโรคเอดส์ วัยรุ่นจึงควรมีการแสดออกทางเพศที่เหมาะสม รู้จักหลีกเล่ียงและป้องกันตนเองจากปัจจัยและสถานการณ์เสี่ยงท่ีจะนาไปสู่การมีเพศสัมพันธ์และ การตัง้ ครรภ์โดยไมต่ ั้งใจเพื่อทีจ่ ะไดม้ ีชีวิตอย่างสดใสในช่วงวัยรนุ่ และเติบโตไปสผู่ ู้ใหญ่อย่างมีความสุข การเปล่ียนแปลงของสังคมในปัจจุบันนามาซึ่งปัจจัยและสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีล่อแหลมและอันตราย

230 ตอ่ วยั รนุ่ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ พฤตกิ รรมทางเพศเปน็ ปัญหาที่สาคัญประการหนึ่งของวยั รนุ่ หากวัยรนุ่ มี พ ฤติ ก รร มทางเพ ศท่ี ไม่เหมาะสมจน เกิ ดก าร มีเพ ศสั มพั น ธ์อ าจท าให้เกิ ดปัญ หาก าร ติ ดโ ร คเอ ดส์ และโรคทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ ตามมา และในวัยรุ่นหญิงอาจทาให้เกิดการต้ังครรภ์โดยไม่ตั้งใจได้ ดังนั้นนักเรียนซ่ึงอยู่ในวัยรุ่นจึงควรเรียนรู้ถึงการหลีกเลี่ยงและป้องกันตนเองจากปัจจัยและ สถานการณ์เส่ียงต่อการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์โดยไม่ต้ังใจเพ่ือท่ีจะนาไปปฏิบัติได้อย่าง เหมาะสม ในเร่ืองเก่ยี วกับวัยรุ่นกับเพศสัมพันธ์ มีรายละเอียดดังน้ี (สมพงษ์ จิตระดับ, 2551, น. 25 และปานเดชา ทองเลิศ, 2562, น. 35-37) 1. สาเหตขุ องการมีเพศสัมพนั ธต์ ัง้ แต่อายุยงั น้อย 1.1 วยั รุ่น ปัจจัยทเ่ี กย่ี วข้องกับการมเี พศสัมพันธต์ ั้งแต่อายยุ ังน้อยเก่ียวข้องกับตัววัยรุ่น เองท้ังทางชีวภาพและจิตสังคม เช่น การเข้าสู่วัยรุ่นหนุ่มสาวเร็วสัมพันธ์กับการมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่ อายุน้อย ส่วนปัจจัยด้านจิตสังคมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองต่า การพัฒนา ด้านคุณธรรมต่า อารมณ์ผูกพันต่อพ่อแม่ที่ไม่มั่นคง ความรู้สึกขาดรัก ซึ่งสัมพันธ์กับการเลี้ยงดูมา ตั้งแต่วัยเด็ก และลักษณะบุคลิกภาพบางอย่าง เช่น หุนหันพลันแล่น ชอบความเร้าใจและ เส่ียงอันตราย นอกจากนี้ยังสัมพันธ์กับอารมณ์ซึมเศร้า ระดับสติปัญญา ความสาเร็จด้านการเรียน การขาดทักษะในชีวิตด้านต่าง ๆ การขาดความรู้เร่ืองเพศศึกษา และประวัติการถูกทารุณกรรม ทางเพศ พบว่าการที่วัยรุ่นสนใจเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาสม่าเสมอ หรือเป็นนักกีฬา เป็นปัจจยั ที่ ชว่ ยปอ้ งกันการมีเพศสมั พนั ธ์ตัง้ แตอ่ ายุยงั นอ้ ย 1.2 ครอบครัว ปัจจัยด้านครอบครัวท่ีสัมพันธ์กับการมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อยมี 2 ด้าน คือ ลักษณะโครงสร้างทางครอบครัว และการทาหน้าที่ของครอบครัว ลักษณะโครงสร้าง ครอบครัว ได้แก่ ครอบครัวท่ีมีพ่อหรอื แม่คนเดียว การหย่ารา้ งของพ่อแม่ ระดับการศึกษาต่า ฐานะ ทางเศรษฐกิจและสังคมต่า เป็นต้น (ปานเดชา ทองเลิศ, 2562, น. 35) ด้านการทาหน้าที่ของ ครอบครัวนั้น ครอบครัวที่ลูกวัยรุ่นมีโอกาสเสี่ยงน้อยต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ต้องมี การติดตามพฤติกรรมของลูกวัยรุ่นอย่างเหมาะสม มีความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่กับลูกดีและ มกี ารสื่อสารท่ีดที ี่ทาใหพ้ ่อแม่สามารถถ่ายทอดค่านิยม ดา้ นพฤติกรรมทางเพศตอ่ วัยรุ่นได้ ครอบครัว ในปัจจุบันพ่อแม่มีเวลาให้กับลูกน้อยตั้งแต่การเลี้ยงดู ในวัยเด็กจนถึงวัยรุ่น และวัยรุ่นมีกิจกรรม นอกบา้ นมากขึ้น ทาให้พ่อแม่สามารถตดิ ตามพฤตกิ รรมของวัยรนุ่ ได้น้อย แตก่ ารติดตามที่ทาใหว้ ัยรุ่น รูส้ ึกถูกควบคุมมากเกินไป จนวัยรนุ่ เสียความเป็นตัวของตัวเองกลับทาให้มีโอกาสเส่ียงสงู ขึ้น วัยรุ่นท่ี รู้สึกพึงพอใจในความสัมพันธ์กับพ่อแม่ มีโอกาสมีเพศสัมพันธ์ต้ังแต่อายุน้อยต่ากว่าวัยรุ่นท่ีรู้สึกไม่ พอใจกับความสัมพันธ์กับพอ่ แม่หลายเท่า นอกจากน้ียงั สัมพันธก์ ับแบบอยา่ งพฤติกรรมทางเพศของ พอ่ แมด่ ว้ ย

231 1.3 สังคม ปัจจยั ด้านสังคมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการในช่วงวัยรุ่นมาก อิทธิพลด้านสังคม ต่อพฤติกรมทางเพศมาจากหลายด้าน ต้ังแต่กลุ่มเพ่ือน วัยรุ่นท่ีมีเพ่ือนมีปัญหาพฤติกรรมและ มีเพศสัมพันธ์ต้ังแต่อายุน้อยมีโอกาสเส่ียงสูง ค่านิยมทางด้านพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นเอง กลุ่มเพื่อน และสังคมล้วนมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น และในปัจจุบันวัยรุ่นยังได้รับ อิทธพิ ลจากสื่อต่าง ๆ รวมท้ังอนิ เทอร์เน็ตท่กี ระตนุ้ ให้วัยรุ่นเร่ิมมีเพศสมั พนั ธ์ตั้งแตอ่ ายนุ ้อยลงกว่าเดิม ผลการศึกษาในต่างประเทศวัยรนุ่ ร้อยละ 76 ตอบว่าสาเหตุหน่ึงทที่ าให้มีเพศสัมพันธ์ คือสื่อโทรทัศน์ และภาพยนตรท์ าให้รู้สกึ วา่ เรื่องนี้เปน็ เรอื่ งปกติสาหรับวัยรนุ่ 2. ผลกระทบของปญั หาทม่ี ตี อ่ สังคม 2.1. ปัญหาเร่ืองของการตอ่ ต้านผู้ใหญ่ เป็นเรื่องของวัยวัยรุ่นด้วย ไม่ค่อยเชื่อฟังในสง่ิ ท่ี ผู้ปกครองบอก ส่วนใหญ่จะเช่ือเพ่ือนและไปตามเพื่อน อารมณ์ความรุนแรงของวัยรุ่นทาให้เกิด ผลกระทบและปญั หาตา่ ง ๆ ตามมามากมาย 2.2 ปัญหาทางด้านการเรียน การใช้สมอง สติปัญญา ในการเรียนจะลดน้อยลง เนื่องจากเด็กวัยรนุ่ บางคนเท่ยี วกลางคนื และไมม่ ีเวลาพักผ่อน ความคิดก็ไม่ไปกับส่ิงที่กาลังเรียนอยู่ ทาให้จติ ใจเหมอ่ ลอย ไม่มีสตใิ นการเรยี น ทาใหม้ ีผลกระทบต่ออนาคตของวยั รนุ่ 2.3 การมีรักในวัยเรียนของวัยรุ่น วัยรุ่นบางคนมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ซึ่งทาให้ เกิดปญั หาต่าง ๆ ตามมา เชน่ การทาแท้ง การติดโรคจากการมเี พศสัมพนั ธ์ โรคเอดส์ 2.4 ปัญหาการติดยาเสพติด การเร่ิมเข้าไปใช้ยาเสพติดของวัยรุ่นยังเป็นเรื่องของ ความ “อยากลอง” ความเป็นวัยรุ่นของเขาทาใหเ้ ขาอยากลองในสิ่งแปลกใหม่ ร่วมกับอกี ปัญหาหน่ึง คือการ “ตามเพ่ือน” ปัจจุบันมีเด็กบางคนหันเข้าไปหายาเสพติด เพียงเพราะรู้สึกว่าใคร ๆ เขาก็ทากัน เป็นเร่ืองธรรมดา ไม่เห็นจะแปลกอะไร ทาให้ตัดสินใจผิดพลาด กลายเป็นเหย่ือของ สารเสพติด และเปน็ ปญั หาของสังคมท่ยี ังแก้ไม่หาย 3. ปญั หาที่นามาซง่ึ การมีเพศสัมพันธ์ ในปัจจุบันสังคมของประเทศก้าวเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ ข้อมูลข่าวสารของโลกสมัยใหม่ แพร่กระจายสู่สังคมต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ทาให้อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกได้ครอบงาวิถีชีวิต ของวัยรุ่นไทยจานวนไม่น้อยท้ังในด้านการรับประทานอาหารฟาสต์ฟู้ด การแต่งกาย การคบเพ่ือน ต่างเพศ สังคมของวัยรนุ่ ไทยกลายเปน็ สังคมบริโภคทีแ่ ทบจะไมม่ ีประโยชน์ตอ่ การพัฒนาประเทศ เด็กและเยาวชนถือเป็นกาลังสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต แต่ในสภาพ สังคมไทยปัจจุบันมปี ัจจัยหลายด้านที่สง่ ผลกระทบท่ีเปน็ ปญั หาและอุปสรรคตอ่ การสรา้ งคุณภาพชวี ิต ท่ีดีของเด็กและเยาชนไทย พฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นในปัจจุบันน้ี ออกนอกกรอบด้ังเดิมมากข้ึน

232 ทกุ ที เช่น การเลือกคู่ครอง จะถือเอาความรกั เป็นสาคัญ ไม่ชอบการคลุมถุงชน การคบเพื่อนต่างเพศ เป็นไปอย่างอิสระเสรี เพราะเห็นว่าไม่ใช่เรื่องน่าละอาย หญิงสาวให้ความสาคัญในการครองตัว เปน็ หญิงพรหมจรรยถ์ ึงวันแตง่ งานนอ้ ยลง ประกอบกบั ความเข้าใจทีไ่ มถ่ ูกตอ้ งในเรอ่ื งเพศ ทาใหว้ ยั รุ่น มีพฤติกรรมทางเพศท่ีไม่ถูกต้องเหมาะสม เช่น การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เป็นต้น และ เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ และปัญหา การทาแทง้ 4. แนวทางการแกป้ ญั หา สภาวะที่เป็นอยู่ในปัจุบันเมื่อเกิดปัญหา ผู้ใหญ่ท่ีเกี่ยวข้องมักหาทางออกด้วย การจบั เดก็ ที่ตงั้ ครรภแ์ ตง่ งานและอย่กู ินฉนั ท์สามภี รรยากับฝา่ ยชายท่มี ักจะเป็นเด็กด้วยกันท้ังสองฝา่ ย ในความเป็นจริงการแต่งงานมิได้แก้ไขปัญหา เนื่องจากเด็กท้ังสองฝ่ายยังไม่มีวุฒิภาวะเพียพอท่ีจะ ปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะสามีภรรยารวมท้ังการเป็นพ่อแม่ ที่สาคัญคือพวกเขายังต้องพึ่งพาผู้ปกครอง ในฐานะท่ียังเป็นเด็กจึงยังไม่อาจพ่ึงตนเองได้ ดังน้ัน ทางแก้ไขจึงควรจะพิจารณาถึง (ปานเดชา ทองเลิศ, 2562, น. 43-45) 4.1 ความรับผิดชอบของทั้งเด็กผู้หญิงและเด็กผู้ชาย โดยมีครอบครัวและญาติพ่ีน้อง ของทั้งสองฝ่าย ร่วมกันให้ความสนับสนุนและช่วยเหลืออย่างเต็มกาลัง ช่วยถ่ายทอดทักษะท่ีจาเป็น ต่อการเลี้ยงดูเด็กทารก หากสมาชิกในครอบครวั ไม่อาจช่วยเหลือถ่ายทอดด้วยตนเอง จะต้องแสวงหา ความชว่ ยเหลือจากผู้มที กั ษะเชี่ยวชาญจากภายนอก ทัง้ นี้หน่วยงานตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งควรจะเข้าไปให้ ความช่วยเหลือหรือแนะนาวิถกี ารดาเนินชีวติ ของทงั้ สองฝ่าย 4.2 ความรับผิดชอบของท้ังเด็กผู้หญิงและเด็กผู้ชาย รวมถึงครอบครัวของท้ังสองฝ่าย ในการแก้ไขผลกระทบทีต่ ามมาจากการตัง้ ครรภ์ร่วมกันอย่างไร เช่น การดูแลสุขภาพอนามัยของเด็ก ในครรภ์และแม่วัยเด็ก การพยายามสร้างโอกาสและเงื่อนไขให้แม่วัยเด็กสามารถดาเนินชีวิต เรื่องการศึกษาการฝึกอาชีพต่อไปได้โดยไม่ติดขัด ร่วมกันแก้ไขปัญหาความกดดันจากสังคมที่มีต่อ แม่ตั้งครรภ์ในวัยเด็ก การสร้างสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ทาให้แม่วัยเด็กมีความรู้สึกผ่อนคลาย ไม่มีความทกุ ขค์ วามเครยี ดความกังวล 4.3 ความรับผิดชอบต่อตนเองท่ีต้องเร่งพัฒนาตนเพ่ือสามารถพ่ึงตนเองโดยเร็ว รวมท้ังสามารถเป็นที่พ่ึงของเด็กทารกได้ด้วย ท้ังน้ีขณะก่อนการต้ังครรภ์ เด็กท้ังคู่มีแต่ภาระเฉพาะ การพฒั นาตนข้นึ มาจนสามารถพงึ่ ตนเองและเป็นท่ีพึ่งใหแ้ กส่ มาชิกคนอื่น ๆ ในครอบครวั 4.4 รับการบาบัดและฝึกฝนเพื่อสามารถจัดการกับอารมณ์เพศได้อย่างสร้างสรรค์ แทนการมีเพศสัมพันธ์ การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรน้ัน จะทาให้ความสามารถในการควบคุม ตนเองในเร่ืองเพศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอารมณ์เพศกระทาได้ยากหรืออาจไม่ได้เลย เป็นเหตุให้

233 เด็กขาดแรงจูงใจที่จะพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ หันมาหมกมุ่นแต่เร่ืองเพศ มีงานวิจัยจานวนมาก ชี้ให้เห็นว่าเด็กที่มีเพศสัมพันธก์ ่อนวัยอันควร ส่วนมากจะไมป่ ระสบความสาเรจ็ ในด้นการศึกษาและ อาชพี การงาน ในการดาเนนิ งานที่เก่ียวกับวัยรุ่นเพือ่ ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ไม่พร้อมและ ลดอตั ราการติดเช้ือโรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธ์และโรคเอดส์นัน้ กองอนามัยการเจริญพันธ์ กรมอนามัย (2550) ได้จัดทาโครงการเครือข่ายวัยรุ่นอาสาวางแผนครอบครัว เพ่ือส่งเสริมให้วัยรุ่นไทยมีความรู้ เกิดความตระหนักและใช้บริการวิธีคุมกาเนิดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ พร้อมท้ัง พัฒนศักยภาพแกนนาวัยรุ่นให้สามารถให้การปรึกษาเก่ียวกับเพศศึกษาได้ ภายใต้แนวคิด “เข้าใจ เขา้ ถงึ ช่วยเหลอื ” โดยใช้ 3 ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การส่อื สารสาธารณะ เพื่อสรา้ งความตระหนกั ต่อปัญหาการตง้ั ครรภใ์ น วัยรุ่น รวมท้ังการให้ความรู้ ความเข้าใจท่ีถูกต้องแก่พ่อแม่ ผู้ปกครองและวัยรุ่น ให้วัยรุ่นตัดสินใจ ชะลอการมีเพศสัมพันธอ์ อกไปจนกว่าจะถงึ เวลาทเี่ หมาะสม และให้กลุ่มที่ตดั สินใจจะมีเพศสัมพันธ์ได้ มคี วามรใู้ นการปอ้ งกันเพอื่ ลดปัญหาทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึนตามมาไมว่ ่าจะเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธห์ รือ การต้ังครรภ์ไม่พร้อมก็ตาม ซึ่งจะร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ท่เี ก่ียวกับเพศศกึ ษาและทักษะชวี ิตในโรงเรียน พฒั นาสือ่ การเรยี นการสอนทีต่ รงกบั ความตอ้ งการของ วยั รุ่น พฒั นาศักยภาพครูใหม้ ีความรู้ ทักษะ ความมั่นใจ ในการให้ความรู้ รวมท้ังการสือ่ สารกับสังคม เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจและทัศนคติทด่ี ี ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การเข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธ์ุโดยจะสร้างระบบบริการ ที่ครอบคลุมทุกความต้องการของกลุ่มวัยรุ่น ได้แก่ บริการให้คาปรึกษา ให้ความรู้ บริการคุมกาเนิด เน้นต้องเข้าถึงได้ง่าย ซึ่งกรมอนามัยจะร่วมกับกรมควบคุมโรคและกรมสุขภาพจิต สนับสนุนให้ โรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ระบบการดูแลและช่วยเหลือเมื่อเกิดปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อมขึ้น เป็นบริการให้คาปรึกษาแบบมีทางเลือก ท้ังเลือกที่จะต้ังครรภ์ต่อไปหรือท่ีจะยุติการต้ังครรภ์ ท่ีไมป่ ลอดภัย ซ่งึ สมยั ก่อนสงั คมจะมองว่าการให้บริการแบบน้ีเป็นการสง่ เสริมใหว้ ยั รุ่นยตุ ิการตั้งครรภ์ มากข้ึน ปัญหาน้ีถ้าภาครัฐไม่จัดให้มีระบบดูแลช่วยเหลือก็เท่ากับผลักไสให้วัยรุ่นไปเสาะหาบริการ ด้วยตัวเอง ซ่ึงนอกจากจะเปน็ สถานบริการทผี่ ิดกฎหมายนาไปสกู่ ารยตุ ิการตั้งครรภ์ท่ีไม่ปลอดภัยแล้ว ยังมภี าวะแทรกซอ้ นทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามมามากมาย แนวทางการช่วยเหลือ การแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ต้ังแต่อายุยังน้อยอย่างได้ผล ต้องดาเนินการในทุกระดับ ต้ังแต่วยั รุ่นเอง ครอบครัว สังคม และระดับชาติไปพร้อม ๆ กัน โดยต้อง เน้นการป้องกันปัญหามากกว่าการแก้ไขหรือฟื้นฟู ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับบทบาทของแพทย์ ควรประกอบด้วย